เมดิคอลไทม์ ฉบับ 416

Page 1



»‚·Õè 20 ©ºÑº·Õè 416 »ÃШíÒà´×͹ ¡.¤. - Ê.¤. 2564

28 ข อมูลสุขภาพ

4 บทบรรณาธิการ 5 Cover Story

32 News in Medicine

âäàºÒËÇÒ¹ 2021 : ¤ÇÒÁÃعáçã¹Çԡĵâ¤ÇÔ´-19 ¡Ñº¡ÅÂØ·¸ ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ

10 Journal Watch ÂÒá¡ŒÍÑ¡àʺ·ÕèäÁ‹ãª‹ÊàµÕÂÃÍ´ äÁ‹ÁռŠµ‹ÍÀÒÇÐàÅ×Í´ÍÍ¡ËÅѧ¼‹ÒµÑ´ ¼ÅÃÐÂÐÂÒǢͧ¡ÅØ‹ÁÍÒ¡ÒÃÍÑ¡àʺËÅÒÂÃкºã¹à´ç¡ 㪌¤ÇÒÁàÂ繨Õéà¹×éͧ͡ÃÑ¡ÉÒÁÐàÃç§àµŒÒ¹Á·ÕèÁÕ¤ÇÒÁàÊÕ觵èíÒ ÂÒÃÑ¡ÉÒ¡ÒÃá¢ç§µÑǢͧàÅ×Í´äÁ‹ãËŒ»ÃÐ⪹ ¼»ÙŒ dž  COVID-19 áÅÐÁÕ D-Dimer ÊÙ§

14 รายงานพ�เศษ

14

â»ÃµÕ¹à¹×éÍàÂ×èÍà¡ÕèÂǾѹµ‹ÍÊÙŒ¡ÒõԴàª×éÍẤ·ÕàÃÕÂ

16 หนึ่งโรค หนึ่งรู ÍÂً䴌͋ҧÁÕÊØ¢ËÒ¡Ãٌ෋ҷѹ ¡Ñº “ÎÕâÁ¿‚àÅÕ” âäàÅ×Í´ÍÍ¡§‹ÒÂËÂØ´ÂÒ¡ ÍѹµÃÒÂã¹à´ç¡

19 บทความพ�เศษ 23 Medical Technology ¾Ñ²¹ÒÊàµç¹· ¨Ò¡ÈÔŻеѴ¡ÃдÒÉÊ‹§ÂÒãËŒ·Ò§à´Ô¹ÍÒËÒà à¤Ã×èͧÁ×ÍãËÁ‹ãªŒÍÑŵÃÒ«Òǹ´ ¼ÊÒ¹¾Ñ¹¸ØÈÒʵà ¡Ãе،¹à«ÅÅ ÊÁͧʋǹÅÖ¡ ¼ŒÒÍѨ©ÃÔÂлÅʹẵàµÍÃÕèµÃǨÊÀÒÇÐÊØ¢ÀÒ¾¼ÙŒãªŒä´Œ

10

16

23


ปีที่ 20 ฉบับที่ 416 ประจำ�เดือน ก.ค. - ส.ค. 2564

ADVISORY BOARD

รศ.ภญ.ธิดา นิงสานนท์ รศ.ดร.ภก.สุนิพนธ์ ภุมมางกูร ดร.ภญ.พร้อมจิต ศรลัมพ์ ภญ.อุไร หนุนภักดี พรวิทย์ พัชริทร์ตนะกุล ภญ.ปรานี ภิญโญวัฒยากร รศ.ดร.ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ ภก.ทวีศักดิ์ สีทองสุรภณา ภก.สมเกียรติ มหพันธ์ ภก.นิพนธ์ ศิริชัยพหรหม ภญ.พนิดา ปัญญางาม ภก.คทา บัณฑิตานุกูล พ.อ.ภก.สมโชค แดงบรรจง ภก.ประวิทย์ ตันติสุวิทย์กุล รศ.ดร.ภญ.เฉลิมศรี ภุมมางกูร

EXECUTIVE EDITOR พจ.วันชัย คุปต์วาทินกุล

ADVERTISING MANAGER จารุวัล สุริโย

EDITORIAL DEPARTMENT รักษ์ชนม์ จิตระทาน

บริษัท เมดิ เจอร์นัล จำ�กัด

เลขที่ 158 ซ.บางขุนนนท์ 29 ถ.บางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0 2424 3434 แฟกซ์ 0 2434 3434 E-mail : medijournal999@gmail.com

PRINTING

บริษัท บี.เค.อินเตอร์พริ้นท์ จำากัด 12/2 ซอยโชติวัฒน์ 8 ริมคลองประปา เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 0 2587 1609

(ข้ อ ความและเนื้ อ หาที่ ป รากฏในวารสารเมดิ ค อลไทม์ เ ป็ น ความ คิดเห็นและทรรศนะเฉพาะตัวของผู้เขียนจึงอยู่เหนือความรับผิดชอบ ของผู้จัดทำา ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจรับทราบข้อมูล ด้วยตนเอง)

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ทัว่ โลกตัง้ แต่ปี 2562 เป็นวิกฤตทีก่ อ่ ให้เกิดผลกระทบรุนแรง ทัง้ ระบบสาธารณสุข ระบบเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สังคมและชุมชน และนำาไปสูก่ ารบัน่ ทอน ทำาลายคุณภาพชีวติ ของประชากรอย่างสาหัส โดยทีร่ ะบบการเมืองและการบริหาร ในหลายประเทศต้องประสบความยากลำาบากในการรับมือกับโรคระบาดและ ปัญหาต่าง ๆ ที่ตามมา วิกฤตการณ์ครั้งนี้นำาไปสู่ความจำาเป็นที่จะต้องทบทวน ระบบและกลไกในมิติต่าง ๆ ที่ทุกประเทศมีอยู่ และพิจารณาแนวทางในการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างและความรู้ที่มีอยู่ เพื่อหาทางออกจากวิกฤตในปัจจุบัน พัฒนาระบบและกลไกที่สามารถป้องกันวิกฤตในอนาคตได้ ให้ประชากรได้มีวิถี การดำาเนินชีวิตที่มีคุณภาพและยั่งยืนต่อไป หนึ่งในความเคลื่อนไหวที่สำาคัญ คือ การทำางานของสภาเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุขแห่งองค์การอนามัยโลกเพือ่ ทุกคน (WHO Council on the Economics of Health for All) ซึ่งประกอบด้วยนักเศรษฐศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญชั้นนำาจาก ทั่วโลก สภาแห่งนี้ได้เรียกร้องให้รัฐบาล ชุมชนวิทยาศาสตร์ และผู้นำาภาคเอกชน ร่วมกันออกแบบระบบนิเวศนวัตกรรมด้านสุขภาพ (health innovation ecosystem) กันใหม่ให้มุ่งสู่การสร้างและให้บริการเทคโนโลยีสุขภาพ (health technologies) เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ในข้อสรุปครั้งแรกของสภาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขฯ ได้เรียกร้องให้ภาครัฐและเอกชนร่วมมือกันทำางานเพือ่ ส่งวัคซีน วิธกี ารรักษา การวินจิ ฉัย โรค และสิ่งจำาเป็นอื่น ๆ ด้านสุขภาพให้ประชาชนที่ควรจะได้รับอย่างเท่าเทียมกัน โดยเสนอให้ดำาเนินการในทันที รวมทั้งในระยะยาวด้วย เร่งให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ช่วยกันสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมด้านสุขภาพในลักษณะหุ้นส่วนร่วมกันของภาครัฐ และเอกชนที่เอื้อประโยชน์ต่อกันและขับเคลื่อนไปด้วยวัตถุประสงค์ โดยมีประโยชน์ ส่วนรวมเป็นศูนย์กลาง ข้อสรุปกล่าวว่า การปรับแก้ไขระบบที่มีอยู่ในเวลานี้จะไม่ ได้ผล เราจำาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงในระดับลึก ทั้งวิธีบริหารควบคุมสิทธิของ ทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อผลักดันให้มีปัญญาร่วม (collective intelligence) จาก การร่วมมือกัน การจัดโครงสร้างของบรรษัทภิบาล (corporate governance) กันใหม่ พัฒนาวิธีการแบ่งปันประโยชน์จากการลงทุนสาธารณะเพื่อหลีกเลี่ยงการเล่นแร่แชร์ ความเสี่ยงร่วมกัน แต่กลับโอนผลประโยชน์ที่ได้รับไปให้ภาคเอกชน นอกจากเสนอให้มีการวางโครงสร้างสำาคัญ เพื่อสร้างระบบนิเวศนวัตกรรม สาธารณสุขที่ครอบคลุมทั้งกระบวนการเพื่อให้บริการเทคโนโลยีทางการแพทย์ แก่ทุกคนอย่างเท่าเทียมกันแล้ว ยังมีข้อเรียกร้องให้มีการดำาเนินการเร่งด่วนใน 4 ประการ คือ (1) ควรจัดการกระจายวัคซีนที่มีอยู่กันใหม่ในทันที โดยไม่ใช่ทำาแบบ การกุศล แต่เป็นเรื่องจำาเป็นที่ต้องร่วมมือกันเพื่อควบคุมโรคระบาดและให้ทุกคนได้ เข้าถึงวัคซีนอย่างเท่าเทียมกันและยั่งยืน (2) ต้องสนับสนุนและระดมทุนให้กับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและการพัฒนาความสามารถในการผลิต โดยไม่ใช่เป็นหน้าที่ ความรับผิดชอบหรือทรัพย์สินของคน ๆ เดียว แต่เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบร่วม กัน เพื่อสร้างความมั่นคงให้มากขึ้นและการฟื้นฟูระบบสาธารณสุขในทุกภูมิภาคโดย บริหารจัดการเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม (3) ไม่ควรสงวนความรู้ให้เป็นทรัพย์สิน ทางปั ญ ญาของเอกชนภายใต้ ร ะบบผู ก ขาด แต่ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ข องส่ ว นรวม จากกระบวนการสร้างประโยชน์ร่วมกัน เพื่อแบ่งปันและแลกเปลี่ยนอย่างเปิดเผย และ (4) เพื่อจัดการในสิ่งที่กล่าวมา จึงกำาหนดกลไกปัจจุบันขึ้นมา เช่น COVAX, ACT-Accelerator และ Covid Technology Access Pool โดยควรนำามาใช้ ประโยชน์และเสริมสร้างให้แข็งแกร่ง ไม่ใช่เพื่อแก้ไขความล้มเหลวของตลาด แต่เป็น จุดเปลี่ยนเพื่อสร้างวิธีการจัดรูปแบบของตลาดขึ้นใหม่ สถานการณ์โรคระบาดใหญ่ครั้งนี้มีพลังอย่างมากในการผลักดันให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ จากความล้มเหลวของระบบบริหารประเทศและระเบียบโลก เป็นเหตุการณ์ที่ส่งสัญญาณเตือนว่าโลก (คือประชากรทุกคน ทุกประเทศ) จะไป ไม่รอด ถ้าไม่เปลี่ยนความคิด ระบบ และวิธีการทั้งหลายที่เน้นประโยชน์และความ มั่งคั่งส่วนบุคคล (เห็นแก่ตัว) เป็นสำาคัญ ไปสู่ความคิด ระบบ และวิธีการที่มุ่งสู่ ประโยชน์และความสุขของส่วนรวม (เห็นแก่ส่วนรวม)


Cover Story โรคเบาหวาน 2021: ความรุนแรงในวิกฤตโควิด-19 กับกลยุทธการรักษา การประชุมสมาคมโรคเบาหวานแหงอเมริกา ADA, HealthDayNews

สมาคมโรคเบาหวานแหงอเมริกา (American Diabetes Association: ADA) ไดจดั การประชุมประจําปแบบออนไลน เมื่อวันที่ 25 ถึง 29 มิ.ย. 2564 มีผูเขารวมประชุมมากกวา 11,500 คนจากทั่วโลก ประกอบดวยแพทย นักวิชาการ ผู  ป ระกอบวิ ช าชี พ สุขภาพ และผูสนใจในโรคเบาหวาน การประชุมครั้งนี้ไดเนนถึงความกาวหนาลาสุดในการวิจัย โรคเบาหวานและการพัฒนายาในการรักษาพยาบาลผูปวย เรื่องที่ไดรับการนําเสนอจะเนนขอแนะนําในการรักษาและ ความกาวหนาตาง ๆ ในเทคโนโลยีการจัดการกับโรคนี้ Liraglutide กับ Insulin ใหประสิทธิผลสูงกวายาอื่นในการ รักษาระดับนํ้าตาลในเลือด ในการศึกษาระยะยาวของโครงการ The Glycemia Reduction Approaches in Diabetes: A Comparative Effectiveness Study (GRADE) เพื่อเปรียบเทียบความ แตกตางของยาในการรักษาโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 Dr. David Nathan แหง Massachusetts General Hospital และ Harvard Medical School Boston และคณะผูรวมงาน พบวา insulin glargine และยา liraglutide มีประสิทธิผล สูงกวายา glimepiride และ sitagliptin ในการรักษาระดับ hemoglobin A1c ใหอยูในขอบเขตของเปาหมาย

การศึกษาครั้งนี้ซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก National Institutes of Health แสดงผลการคนพบจากการศึกษาขนาดใหญที่สุดและใชเวลา มากทีส่ ดุ ดวยการเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาทีใ่ ชกนั ทัว่ ไปในการรักษา โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2

¡.¤.-Ê.¤. 2564

5


Cover Story การควบคุ ม ระดั บ นํ้ า ตาลในเลื อ ดในระยะยาวเป น ปญหาใหญสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 โครงการ การศึกษา GRADE ครอบคลุมประชากรที่มีความหลาก หลายมาก โดยครอบคลุมถึงประชากรผูปวยผิวดํารอยละ 20 และละติโนรอยละ 18 โดยศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผล ของยาลดกลูโคสในการรักษาระดับกลูโคสในเลือดโดยเฉลี่ย ให อ ยู ใ นขอบเขตของเป า หมายเพื่ อ ลดความเสี่ ย งต อ ภาวะ แทรกซอนในระยะยาวได GRADE ไดดําเนินการเปรียบเทียบกลุมยา 4 กลุม ที่มัก ใชรวมกับยา metformin มากที่สุด และไดพิจารณาความ สามารถของยาเหล า นี้ ใ นการรั ก ษาระดั บ กลู โ คสในเลื อ ด โดยเฉลี่ยใหอยูในขอบเขตของเปาหมายตามขอแนะนําที่แสดง ดวยระดับ A1C (มาตรวัดคาเฉลี่ยกลูโคสในเลือด) ตํ่ากวา รอยละ 7 นอกเหนือจากยา metformin ซึ่ง ADA แนะนําสําหรับ การเริ่มตนใชรักษาโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ยังมียาอื่นที่มีความ จําเปนตอการรักษาโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 เพื่อชวยลดระดับ ของ A1C การเปรียบเทียบในครั้งนี้ประกอบดวย ยาชนิด รับประทาน 2 ชนิด คือ (1) ยา sulfonylurea glimepiride กับ (2) ยา DPP-4 inhibitor sitagliptin และยาฉีด 2 ชนิด ไดแก (1) ยา insulin glargine กับ (2) ยา GLP-1 receptor agonist liraglutide โดยมีการตรวจภาวะแทรกซอนและ ผลขางเคียงจากยารักษาเบาหวานแตละกลุมดวย

การศึกษาครั้งนี้ไดสรรหาผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 มากกวา 5,000 คน อายุเฉลี่ย 57 ป และระยะเวลาที่เปน โรคเบาหวานเฉลีย่ 4 ป มีการสุม ใหผปู ว ยประมาณ 1,250 คน ไดรับยาแตละชนิด โดยดําเนินการศึกษา GRADE เปนเวลา เฉลี่ย 5 ป และสูงสุดมากกวา 7 ป 6

¡.¤.-Ê.¤. 2564

ผลการศึกษาของ GRADE แสดงใหเห็นวา ยา liraglutide และ insulin มีประสิทธิผลมากที่สุดจากบรรดายาทั้ง 4 กลุม ในการรักษา ระดับ A1C ใหตํ่ากวารอยละ 7 ยา glimepiride ใหผลนอยกวา และ ยา sitagliptin แสดงผลนอยที่สุด โดยมีความถี่สูงสุดในการเกิดระดับ A1C ที่มากกวารอยละ 7 ยา insulin glargine มีประสิทธิผลมาก ที่สุดในการรักษาระดับ A1C ไดตํ่ากวารอยละ 7.5 ซึ่งเปนผลลัพธ ทุติยภูมิของการศึกษานี้ ผลการศึกษาปรากฏเหมือนกันในผูชายและ ผูหญิง และระหวางเชื้อชาติกับชาติพันธุ รวมทั้งกลุมอายุที่แตกตางกัน ผลการคนพบเพิ่มเติม ไดแก • การลดนํ้าหนัก โดยเฉลี่ย ผูเขารวมการศึกษาที่ไดรับยา liraglutide และ sitagliptin มีนํ้าหนักลดลงมากกวาผูที่ไดรับยา glimepiride ใน ขณะที่ผูเขารวมการศึกษาที่ไดรับยา insulin glargine มีนํ้าหนักคงที่ ตลอดระยะเวลาของการศึกษา • ผลขางเคียงและความเสี่ยง ยา liraglutide มีผลขางเคียงตอระบบ ทางเดินอาหาร เชน อาการคลื่นไส ปวดทอง และทองรวง มากกวายาอีก 3 กลุม ยา glimepiride มีความสัมพันธกับความเสี่ยงตอภาวะกลูโคสใน เลือดตํ่ามากกวายาอื่น • ผลดีตอ ภาวะแทรกซอน เมือ่ พิจารณาจากผลการศึกษาเบือ้ งตน พบวา ยา liraglutide ใหผลคอนขางดีเมื่อเทียบกับยาอีก 3 กลุม ในการลดการ เกิดรวมกันของโรคหัวใจวาย โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซอน อื่นของหัวใจและหลอดเลือด “เปาหมายสุดทายของ GRADE เพื่อชวยแพทยเลือกวิธีการรักษาที่ ใหผลดีที่สุดสําหรับผูปวยแตละคน เพราะการรักษาโรคเบาหวานไมใช การใชยาขนาดเดียวใหรักษาไดกับทุกคน” Dr.David M. Nathan ผูอํานวยการศูนยโรคเบาหวาน Massachusetts General Hospital, ศาสตราจารยสาขาการแพทย Harvard Medical School, กรุงบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส และเปนผูนําการศึกษาครั้งนี้ กลาว “เราเชื่อวา ผลการศึกษาดังกลาวจะใหประโยชนทั้งผูปวยและ ผูใหบริการ เมื่อตองตัดสินใจเลือกยาที่จําเปนตองใชเพื่อบรรลุเปาหมาย การรักษาระดับกลูโคสในเลือดที่เหมาะสม และเรามั่นใจวาจะสามารถใช การคนพบนี้กับผูปวยที่มีความแตกตางหลากหลาย” “การศึ ก ษาทดลองเปรี ย บเที ย บประสิ ท ธิ ผ ลเช น ในโครงการ GRADE มีความสําคัญตอการชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีที่จะบริหาร และรักษาโรคเรื้อรังอยางเบาหวาน ชนิดที่ 2” Dr.Henry Burch นักวิทยาศาสตรแหง National Institute of Diabetes and Digestive and Kidney Diseases (NIDDK) เพื่อการศึกษา กลาว “National Institute of Health (NIH) สนับสนุน GRADE และ การศึกษาตาง ๆ ในลักษณะเดียวกันเพื่อชวยผูปวยและแพทยในการ ตัดสินใจเลือกอยางมีขอมูลระหวางยาชนิดตาง ๆ โดยอยูบนพื้นฐาน ความจําเปนของผูปวยแตละคนและคุณสมบัติเฉพาะของยา” ผูเขียนรายงานกลาววา การวิเคราะหในอนาคตตอผลลัพธจากผูเขา รวมการศึกษาของ GRADE ซึ่งมีความหลากหลายจะชวยใหการใชยา


Cover Story ลดกูลโคสในผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 มีความเหมาะสมกับ ผูปวยแตละบุคคล ชี้เด็กเริ่มปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 เขา ร.พ. เพิ่มเปน 2 เทา ระหวาง COVID-19 ระบาด ในการศึกษาอีกชิน้ หนึง่ Dr.Daniel S. Hsia รองศาสตราจารย แหง Pennington Biomedical Research Center ในแบตันรูช รัฐลุยเซียนา และคณะรวมงาน พบวา ผูปวยเด็กไดรับการ วินิจฉัยวาเปนโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ระหวางการระบาดของ โควิด-19 (มี.ค.- ธ.ค. 2020) และตองเขารักษาในโรงพยาบาล เมื่อไดรับการวินิจฉัยโรคในจํานวนมากขึ้นเมื่อเทียบกับชวงเวลา เดียวกันในป 2019

ข อ มู ล ใหม แ สดงว า อุ บ ั ต ิ ก ารณ แ ละความรุ น แรงของ โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในผูปวยเด็กรายใหม ไดเพิ่มสูงขึ้นอยาง มีนัยสําคัญระหวางที่การระบาดของโรค COVID-19 พุงขึ้นสูงสุด โดยผูปวยเด็กเขารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นจากเดือน มี.ค.- ธ.ค. 2020 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันในป 2019 คําสั่งใหกักตัวอยูที่บานเนื่องจากการระบาดของ COVID-19 ไดทําใหปจจัยเสี่ยงตอโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 รุนแรงยิ่งขึ้น ไดแก การออกกําลังกายที่จํากัด การเพิ่มเวลาอยูจอมากขึ้น และพฤติกรรมของการนั่งจนเคยชิน การนอนหลับไมสนิท และ รับประทานอาหารแปรรูปมากขึ้น ทั้งหมดนี้ทําใหนํ้าหนักเพิ่มขึ้น ความจริงแลว คนอเมริกันที่เปนโรคเบาหวานมากกวา 1 ใน 4 บอกวา โรคระบาดขัดขวางความสามารถของตนในการได อาหารที่ดีตอสุขภาพ แนวโนมที่นากังวลอยางการเพิ่มนํ้าหนัก ทีละนอยในชวงเวลาสั้น ๆ สามารถเพิ่มความเสี่ยงตอผลลัพธ ในระยะยาวได เชน โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 และโรคหัวใจและ หลอดเลือด โดยที่ยังไมมีขอมูลเกี่ยวกับอุบัติการณหรือความ รุนแรงของโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่อุบัติใหมในประชากรเด็ก ระหวางการระบาดของ COVID-19

การศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ด เ ปรี ย บเที ย งตั ว เลขและความจํ า เป น ต อ ง เข า รั ก ษาในโรงพยาบาลของโรคเบาหวาน ชนิ ด ที ่ 2 ในเด็ ก จากเดือน มี.ค.-ธ.ค. 2019 กับชวงเดียวกันในป 2020 ที่ Our Lady of the Lake Children’s Hospital ในเบตันรูช Baton Rouge, LA. ผลการวิเคราะหขอมูลแสดงใหเห็นวา • ในป 2019 อัตราการเขารักษาตัวในโรงพยาบาลสําหรับผูปวยใหม ในโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 เทากับรอยละ 0.27 (ผูปวย 8 คน จาก 2,964 คน ที่เขารักษาในโรงพยาบาล) เทียบกับรอยละ 0.62 (17 คน จาก 2,729 คน) ในป 2020 • เด็กที่เขารักษาตัวในโรงพยาบาลในป 2020 มีอาการโรคเบาหวาน รุนแรงกวา โดยมีนํ้าตาลในเลือดสูง ระดับ A1C สูงกวา (ตัวบงชี้นํ้าตาล ในเลือดในรอบ 3 เดือน) และมีการสูญเสียนํ้ามากกวา เมื่อเทียบกับเด็ก ที่เขาโรงพยาบาลในป 2020 • ในป 2020 เด็กทีม่ อี าการรุนแรงซึง่ จําเปนตองเขารักษาในหอผูป ว ยหนัก (I.C.U.) มีจํานวนมากกวา เมื่อเทียบกับป 2019 เชน ภาวะเลือดเปน กรดจากระดับนํ้าตาลในกระแสเลือดสูง (diabetic ketoacidosis 8 เทียบกับ 3 คน) และภาวะช็อกจากนํา้ ตาลในเลือดสูง (hyperosmolar hyperglycemic syndrome 2 เทียบกับ 0 คน) • เด็ก 23 จาก 25 คน เปนแอฟริกนั อเมริกนั และ 19 คน เปนเด็กชาย “แมการศึกษาของเราตรวจสอบการเขารักษาในโรงพยาบาลดวย โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในเด็กที่โรงพยาบาลศูนยแหงเดียว แตผลลัพธ ที่ไดอาจเปนสวนเล็ก ๆ ที่สะทอนถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับโรงพยาบาลเด็กแหง อื่น ๆ ทั่วประเทศ” รศ. นพ. Daniel S. Hsia และผูนําการเขียนรายงาน การศึกษากลาว “โชคไมดีที่โรค COVID-19 เขามารบกวนการดําเนินชีวิตของเรา มากกวาที่เราจะตระหนักรู การศึกษาของเราไดเนนถึงความสําคัญของ การปกปองดูแลการดําเนินชีวิตเพื่อสุขภาพที่ดีสําหรับเด็ก ๆ เอาไว แมในสถานการณที่ยากลําบากก็ตาม” ไมใชยาควบคุมเบาหวานมีโอกาสปวย COVID-19 รุนแรง นักวิจัยพบผูปวยติดเชื้อ COVID-19 และไมใชยาควบคุมเบาหวาน ใหดี มีการติดเชื้อรุนแรงและตองเขารักษาตัวในโรงพยาบาล รวมทั้งใช เวลาพักฟนนานกวาผูที่ควบคุมสุขภาพของตนดวยยา การศึกษาครั้งใหมซึ่งนําโดย Dr. Sudip Bajpeyi, ผูอํานวยการ MiNER laboratory แหง University of the Texas ที่ El Paso เปดเผยวา การที่ผูปวยโรคเบาหวานไมใชยาควบคุมอาการเปนปจจัย สําคัญที่นําไปสูความรุนแรงและภาวะแทรกซอนของโรค COVID-19 โดยเฉพาะในประชากรกลุมฮิสปานิกและละติน คณะผูวิจัยพบวา รอยละ 40 ของคนอเมริกันที่เสียชีวิตจากโรค COVID-19 เปนโรคเบาหวาน และ 1 ใน 10 ของผูปวยโรคเบาหวาน ซึง่ เขารักษาตัวในโรงพยาบาลเสียชีวติ ภายใน 1 สัปดาห ทําใหโรคเบาหวาน เปนโรครวมที่มีความเสี่ยงสูง

¡.¤.-Ê.¤. 2564

7


Cover Story

เมื่อปลอยโรคไวโดยไมรักษา โรคเบาหวานจะทําใหภาวะ แทรกซอนตอสุขภาพโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น แตเกือบ 1 ใน 5 ของคนอเมริกันที่เปนโรคเบาหวานบอกวา เนื่องจากขอจํากัด ทางการเงินที่เพิม่ ขึน้ ในชวงทีม่ โี รคระบาด พวกเขาจะตองเลือก ระหวางการซื้อขาวหรือซื้อยาและเวชภัณฑตาง ๆ ที่จําเปน ตอการควบคุมโรคเบาหวานของตนเอง คณะทํางานสหวิทยาการของ Dr. Bajpeyi ไดดําเนิน การศึกษาแบบมองไปขางหลัง โดย Ali Mossayebi นักศึกษา ปริ ญ ญาโทของเขาเป น ผู นํ า เสนอรายงานการศึ ก ษานี้ การศึกษาครั้งนี้ไดใชขอมูลทางการแพทยจากผูปวย 369 คน ที่เขารักษาตัวในศูนยการแพทยของมหาวิทยาลัย El Paso ดวยโรค COVID-19 มีการจัดกลุมผูปวยตามระดับ A1C เปนกลุมระดับกลูโคสในเลือดปกติ (normoglycemic N: A1C < รอยละ 5.7), กลุมภาวะกอนเบาหวาน (prediabetes Pre: A1c รอยละ 5.7 ≤ 6.5) และกลุมโรคเบาหวาน (diabetes mellitus DM: A1C ≥ 6.5%) และจะแบง กลุมโรคเบาหวานตอไปตามการจัดการกับโรคเบาหวานดวย ยาโดยผูปวยในเวลาที่เขาโรงพยาบาล ผลการคนพบแสดงวา ผูปวยที่ไมควบคุมโรคเบาหวาน มีความรุนแรงของโรค COVID-19 มากกวาอยางมีนัยสําคัญ โดยพิ จ ารณาจากการประเมิน ความลม เหลวของอวัยวะที่ สั ม พั น ธ กั บ ภาวะพิ ษ จากการติ ด เชื้ อ ในกระแสเลื อ ดแบบ เร็ว (quick sepsis-related organ failure assessment: qSOFA) และระยะเวลาที่รักษาตัวในโรงพยาบาล เมื่อเทียบ กับผูปวยที่ควบคุมโรคเบาหวานดวยยา ยิ่งกวานั้น ผูปวยที่ มีระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่ายังมีภาวะแทรกซอนนอยกวาและ พักอยูในโรงพยาบาลดวยเวลาที่สั้นกวา 8

¡.¤.-Ê.¤. 2564

“ผลการศึกษาของเราเนนถึงความสําคัญของการประเมิน ติดตาม และ ควบคุมกลูโคสในเลือดในผูปวย COVID-19 ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล ตั้งแตเริ่มตน โดยเฉพาะสําหรับประชากรที่เปราะบางซึ่งมีความเสี่ยงของ โรครวมอยูแลว” Dr. Bajpeyi และผูนําการเขียนรายงานการศึกษากลาว ยา tirzepatide ไม ด อยกว า และให ผ ลดี ก ว า Semaglutide ใน เบาหวาน ชนิดที่ 2 รายงานการศึกษาที่เผยแพรใน New England Journal of Medicine แสดงวา ยา tirzepatide (dual glucose-dependent insulinotropic polypeptide and glucagon-like peptide-1) ไมดอยกวา (noninferior) และไดผลดีกวา (superior) ยา semaglutide ในการลดระดับนํ้าตาลสะสม (glycated hemoglobin) ในผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในการศึกษาครั้งนี้ Dr. Juan P. Frías จาก National Research Institute ในลอสแอนเจลิส และคณะผูรวมงานไดสุมผูปวย 1,879 คน ให ไดรับยา tirzepatide 5 mg, 10 mg หรือ 15 mg หรือยา semaglutide 1 mg ในการทดลองเฟส 3 แบบเปด เปนเวลา 40 สัปดาห ระดับ glycated hemoglobin เฉลี่ย ณ ตอนเริ่มการทดลองเทากับรอยละ 8.28 และ นํ้าหนักตัวเฉลี่ยเทากับ 93.7 กิโลกรัม


Cover Story คณะผูวิจัยพบวา ประมาณการคาเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลง ระดับของ glycated hemoglobin จากตอนเริ่มตนการศึกษา เทากับรอยละ −2.01, −2.24, −2.30 และ −1.86 ดวยยา tirzepatide 5 mg, 10 mg หรือ 15 mg และยา semaglutide ตาม ลําดับ ประมาณคาความแตกตางเทากับรอยละ −0.15, −0.39 และ −0.45 ระหวางกลุมที่ใชยา tirzepatide 5 mg, 10 mg และ 15 mg ตามลําดับ กับกลุมที่ใชยา semaglutide ยา tirzepatide ทุกขนาด ไมดอยกวาและใหผลดีกวายา semaglutide พบวา กลุมที่ใชยา tirzepatide มีนํ้าหนักลดลง มากกวากลุมที่ใชยา semaglutide (คาเฉลี่ยประมาณการความ แตกตางของผลการรักษาดวยกําลัง 2 นอยที่สุด เทากับ −1.9, −3.6 และ −5.5 กิโลกรัม ตามลําดับ) “เนื่องจากแรงผลักดันของภาวะโรคอวนในการระบาดของ โรคเบาหวาน รวมทั้งความเสี่ยงตอโรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคไตเรือ้ รัง ผลจากการสังเกตการณนอ้ี าจนําไปสูก ารพิจารณา ใชยา tirzepatide เพื่อลดนํ้าหนัก” ผูเขียนบทบรรณาธิการทาย รายงานระบุ Efpeglenatide ลดเสี ่ ย งต อ โรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด ที ่ ไ ม พ ึ ง ประสงค จากการศึกษาในผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 และมีประวัติ โรคหัวใจและหลอดเลือด หรือโรคไต พบวา ความเสี่ยงตอ เหตุการณไมพึงประสงคของหัวใจและหลอดเลือดลดลงมากกวา

จากการใชยา efpeglenatide (exendin-based glucagon-like peptide 1 receptor agonist) เมื่อเทียบกับยาหลอก Dr. Hertzel C. Gerstein จาก Hamilton Health Sciences ในประเทศแคนาดา และคณะผู  ร  ว มงาน ได ด ํ า เนิ น การทดลองยา efpeglenatide ในผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่เขารวมการศึกษา และมีประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือโรคไตในปจจุบัน พรอมกับ มีปจจัยเสี่ยงตอหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต 1 ปจจัยขึ้นไป โดยสุมให ผูเ ขารวมการศึกษาไดรบั การฉีดยา efpeglenatide เขาใตผวิ หนัง (2,717 คน) ดวยขนาดยา 4 หรือ 6 mg หรือใหไดรับยาหลอก (1,359 คน) คณะผูว จิ ยั พบวา มีเหตุการณไมพงึ ประสงคของหัวใจและหลอดเลือด ที่สําคัญเกิดขึ้นกับกลุมที่ไดรับยา efpeglenatide และยาหลอก รอยละ 7.0 และ 9.2 ตามลําดับ ระหวางการติดตามผลดวยคามัธยฐานเปนเวลา 1.81 ป (มีเหตุการณเกิด 3.9 ครั้ง และ 5.3 ครั้งตอ 100 คน-ป ตาม ลําดับ; hazard ratio เทากับ 0.73; ชวงความเชื่อมั่นรอยละ 95 เทากับ 0.58 ถึง 0.92; P < 0.001 สําหรับ noninferiority; P = 0.007 สําหรับ superiority). เหตุการณไมพึงประสงคเกี่ยวกับไตเกิดขึ้นกับผูปวยที่ไดรับการสุมให รับยา efpeglenatide และยาหลอก รอยละ 13.0 และ 18.4 ตามลําดับ (hazard ratio เทากับ 0.68; ชวงความเชื่อมั่นรอยละ 95 เทากับ 0.57 ถึง 0.79; P < 0.001) “เรามีความเชื่อวา การฉีดวัคซีนสัปดาหละครั้งนี้ชวยลดปญหา โรคหัวใจและหลอดเลือดและการดําเนินของโรคไตไดอยางปลอดภัยและ มีประสิทธิผลในผูปวยที่เปนโรคเบาหวานมานาน และมีอัตราการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคไตสูง” Dr. Gerstein กลาว

¡.¤.-Ê.¤. 2564

9


Journal Watch ยาแกอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด ไมมีผลตอภาวะเลือดออกหลังผาตัด Bongiovanni T et al. J Am Coll Surg 2021 May

การวิ เ คราะห เชิ ง อนุ ม านไม ไ ด แ สดงถึ ง ความสั ม พั น ธ ระหวางยาแกอักเสบที่ไมใชสเตียรอยดกับภาวะเลือดออก หลังการผาตัด มีความพยายามที่จะแนะนําใหยาแกอักเสบชนิดที่ไม ใชสเตียรอยด (Nonsteroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs) เปนยาเสริมหรือทดแทนยา opioid เพื่อควบคุม อาการปวดในชวงเวลาที่ผาตัด อยางไรก็ตาม การใชยา NSAIDs มี ข  อจํ ากั ด เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับ ผล ขางเคียง โดยที่ภาวะเลือดออกเปนประเด็นหนึ่งที่มีความ สนใจกันมาก เนื่องจากการใหยา NSAIDs มีผลในการตาน เกล็ดเลือดและเปนสาเหตุใหมีเลือดออกในทางเดินอาหาร ได คณะผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหเชิงอนุมาน (metaanalysis) กับการศึกษา 74 ชิ้น (ระหวางป 1987–2019) ซึ่งครอบคลุมผูปวยมากกวา 150,000 คน และยา NSAIDs 12 ชนิ ด ที ่ ใช ใ นช ว งเวลาของการผาตัด แบบเฉียบพลัน ครอบคลุมกระบวนการการผาตัดหลายกระบวนการ 10

¡.¤.-Ê.¤. 2564

มีการแยกการศึกษาตาง ๆ เกีย่ วกับผลของการใชยา NSAIDs ในระยะยาว หรือยา NSAIDs ที่ใหเฉพาะกอนการผาตัด (และไมใหทนั ทีหลังการผาตัด) ออกไปตางหาก การศึกษาทีเ่ กีย่ วของมากกวาครึง่ หนึง่ เปนการทดลองเชิงสุม ภายใตการควบคุม และคณะผูวิจัยไมพบความแตกตางระหวางกลุมที่ใช ยา NSAIDs และกลุมที่ไมไดใชในเรื่องของความเสี่ยงตอภาวะตกเลือด หลั ง การผ า ตั ด การกลั บไปห อ งผ า ตั ด อี ก เนื่องจากเลือดออก หรือความ จําเปนที่ตองมีการใหเลือด การวิเคราะหครั้งนี้มีขอจํากัดจากความแตกตางของยา NSAIDs กับ ขนาดยาที่ตางกันและชนิดของการผาตัดที่แตกตางกัน อยางไรก็ตาม ผู เขี ย นรายงานไม ไ ด อ ภิ ป รายถึ ง ภาวะแทรกซ อ นของการมี เ ลื อ ดออก ตรงบริเวณที่ไมไดผาตัด เชน ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร อยางไรก็ตาม รายงานนีเ้ ปนการวิเคราะหขนาดใหญทส่ี ดุ และครอบคลุม ที่สุดในปจจุบัน การคนพบแสดงวายา NSAIDs ไมมีความสัมพันธกับความ เสี่ยงอยางมากตอภาวะเลือดออกหลังการผาตัดอยางมีนัยสําคัญทางคลินิก ถึงแมจะตองพิจารณาถึงความเสี่ยงอื่น ๆ ดวย แตควรใชยา NSAIDs ให กวางขวางมากขึ้นในฐานะที่เปนการรักษาขั้นแรกเพื่อควบคุมอาการปวดใน ชวงเวลาที่มีการผาตัด


Journal Watch ผลระยะยาวของกลุมอาการอักเสบหลายระบบในเด็ก Penner J et al. Lancet Child Adolesc Health 2021 May 24

จากการติดตามผลใน 6 เดือน สําหรับกลุมอาการอักเสบ หลายระบบในเด็กหลังจากติดเชื้อโควิด-19 พบวา ภาวะ ผิดปกติที่สืบเนื่องจากการติดเชื้อ SARS-CoV-2 ตออวัยวะ สวนใหญหายกลับเปนปกติ แม ลั ก ษณะเฉี ย บพลั น ของกลุ ม อาการอั ก เสบหลาย ระบบในเด็กที่มีความสัมพันธชั่วคราวกับเชื้อ SARS-CoV-2 (pediatric inflammatory multisystem syndrome temporally associated with SARS-CoV-2: PIMS-TS) จะเปนภาวะที่มีลักษณะเฉพาะก็ตาม แตขอมูลของผลใน ระยะยาวเพิ่งจะปรากฏ ในการศึกษากลุมแบบยอนหลังกับผูปวย 46 คน ซึ่งมา รับการรักษาที่คลินิกติดตามผล PIMS-TS โดยสหวิชาชีพ ในสหราชอาณาจักร นักวิจยั ไดประเมินผลสุขภาพในดานชีวเคมี และหนาที่ของระบบตาง ๆ ในรอบ 6 เดือน คามัธยฐานของอายุเทากับ 10.2 ป รอยละ 65 เปน เพศชาย รอยละ 80 เปนกลุม ชาติพนั ธุส ว นนอย และรอยละ 17 มีอาการอยูกอน ตัวบงชี้ทางชีวเคมีของการอักเสบของระบบ ความผิดปกติตอนมีการวินิจฉัยโรคในผูปวยทุกคน กลับเปน ปกติรอยละ 98 จากการมาที่คลินิก ณ 6 เดือน ปรากฏผลการคนพบ เกี่ยวกับระบบและอวัยวะ ดังตอไปนี้ • หั ว ใจ: การตรวจหั ว ใจด ว ยคลื ่ น เสี ย งความถี ่ ส ู ง (Echocardiograms) พบความผิดปกติในผูปวย รอยละ 4

ลดลงจากรอยละ 3 • ทางเดินอาหาร: อาการตาง ๆ (เชน ปวดทอง) ที่พบในผูปวย รอยละ 98 กอนหรือระหวางเขารักษาในโรงพยาบาล ยังคงมีอยูในผูปวย รอยละ 13 • ระบบประสาท: ความผิดปกติเล็กนอย (เชน การขาดความสามารถ ในการกะระยะ) พบในผูปวย รอยละ 39 (เทียบกับความผิดปกติเกี่ยวกับ ระบบประสาท รอยละ 52 ณ ตอนเริ่มตนการศึกษา) คะแนน Expanded Disability Status Scale มีคามัธยฐานเทากับ 0 • กระดูกกลามเนื้อ: คะแนนการทดสอบการเดิน 6 นาที มีความ ผิดปกติ (นอยกวาเปอรเซ็นไทลที่ 3 ของอายุ) ในผูปวย รอยละ 45 • จิตวิทยา: พบปญหาเกี่ยวกับอารมณที่รุนแรงจากการใช PedsQL ในผูปวย รอยละ 18 โดยการรายงานของพอแม และรอยละ 22 ตามการ รายงานของผูปวยเอง • สังคม: มีรายงานวา ผูปวยไมสามารถเขาชั้นเรียนในโรงเรียนได เต็มเวลา รอยละ 2 ภาวะสุขภาพในเวลา 6 เดือน ใหความมั่นใจมากขึ้น นอกเหนือ จากภาวะถดถอยของรางกายและผลสืบเนื่องในทางจิตวิทยา เนื่องจาก การศึกษานี้ไมมีกลุมเปรียบเทียบ การลงความเห็นวาความพรองเหลานี้ เกี่ยวของกับ PIMS-TS หรือเนื่องมาจากปจจัยอื่น ๆ เปนเรื่องที่ทําไดยาก ขณะที่เราเพิ่งผานการระบาดของโรค การสงเสริมพฤติกรรมในการดําเนิน ชีวิตประจําวันเพื่อสุขภาพที่ดีและการชวยเหลือดานสุขภาพจิตจึงเปนสิ่งที่ จําเปน

¡.¤.-Ê.¤. 2564

11


Journal Watch ใชความเย็นจี้เนื้องอกรักษามะเร็งเตานมที่มีความเสี่ยงตํ่า Alan Mozes, HealthDay News

การศึ ก ษาครั้ ง แรกของการใช ค วามเย็ น จั ด การเนื้ อ งอก แสดงใหเห็นวา สามารถรักษาโรคมะเร็งเตานมที่เติบโตชา ดวยเทคนิคการใหความเย็นกับเนื้องอกเปาหมาย โดยไมมี ความจําเปนตองรับการผาตัด การทดลองลาสุดแสดงใหเห็นวา เทคนิคการจี้เนื้องอก ดวยความเย็น (cryoablation) มีประสิทธิผลในผูหญิงอายุ มากกวา 60 ป ที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคมะเร็งเตานมที่มี ความเสี่ยงคอนขางตํ่า “cryoablation เปนวิธีการที่มีการรุกลํ้าเขาสูรางกาย นอยมากในการทําลายเนื้องอกเตานมอยางปลอดภัยและ ไมมีการเจ็บปวด โดยไมจําเปนตองมีการผาตัด” ผูเขียน รายงานการศึกษา Dr. Richard Fine ศัลยแพทยเตานม ที่ West Cancer Center & Research Institute ในเมือง เยอรมันทาวน รัฐเทนเนสซี สหรัฐอเมริกา กลาว “กระบวนการรักษาแบบ cryoablation จะใหเนื้อเยื่อ ที่เปนมะเร็งสัมผัสกับอุณหภูมิที่เย็นมากๆ (cryo) เพื่อทําลาย (ablate ละลายขจัดออก) เนื้อเยื่อนั้น การรักษานี้ทําใน ที่ทํางานขณะที่ผูปวยรูสึกตัวอยู” การศึกษาครัง้ ใหมซง่ึ ครอบคลุมผูป ว ยเกือบ 200 คน พบวา เมื่อใชกระบวนการจี้เนื้องอกดวยความเย็น (cryoablation) กับผูหญิงที่เปนโรคมะเร็งเตานมซึ่งมีความเสี่ยงตํ่า ผูปวย เกือบทุกคนยังมีชีวิตอยูโดยไมเปนโรคมะเร็งนาน 3 ปขึ้นไป “การรักษานี้เปนที่ยอมรับสําหรับการรักษาโรคมะเร็ง กระดูก ไต ตอมลูกหมาก และโรคมะเร็งอืน่ ๆ” Dr. Fine บอก อายุเฉลี่ยของผูปวยในการศึกษาครั้งนี้ เทากับ 75 ป และทุ ก คนได รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว า เป น โรคมะเร็ ง เต า นมแบบ ลุกลามออกนอกทอนํ้านม (Invasive Ductal Carcinoma: IDC) เนื้องอกมีขนาดคอนขางเล็ก วัดขนาดไดไมมากกวา 1.5 เซนติเมตร ผูปวยทุกคนมีเนื้องอกที่ตัวรับฮอรโมนเปนบวก (hormone receptor-positive) หมายความถึงเนื้องอกที่ เปน ER+, PR+ และ/หรือ HER2“โดยทั่วไป เนื้องอกที่เปน ER+, PR+ จะเติบโตชากวา และมีพยากรณโรคที่ดีกวาเล็กนอย เมื่อเทียบกับเนื้องอกที่ ตัวรับฮอรโมนเปนลบ” Dr.Fine กลาว ผู ป ว ยทุ ก คนในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ด รั บ การรั ก ษาตาม กระบวนการ cryoablation จะมีการสอดโพรบ (probe) โดยตรงผานผิวหนังเขาไปในบริเวณเนือ้ งอก หลังจากทําใหมี อาการชาเฉพาะที่ และใชไนโตรเจนเหลวจีใ้ หเนือ้ งอกเปาหมาย 12

¡.¤.-Ê.¤. 2564

เย็นจากภายในสูภายนอก การรักษากินเวลา 20 ถึง 30 นาที ซึ่งจะเปลี่ยน เนื้องอกใหกลายเปนกอนนํ้าแข็งในที่สุด คณะผูวิจัยรายงานวา กระบวนการรักษานี้ไมตองมีการผาตัดตามมา แมวาเกือบรอยละ 15 ของผูหญิงจะไดรับการฉายรังสีดวย ในขณะที่ ประมาณ 3/4 ไดรับการรักษาตอดวยฮอรโมน (endocrine therapy) และ มีผูปวย 1 คน ที่ไดรับเคมีบําบัด ผูปวยไดรับการตรวจปละ 2 ครั้ง เปนเวลา 5 ป หลังการรักษา ผล ที่ไดรับคือ ณ เวลาติดตามผลโดยเฉลี่ยเกือบ 3 ป หลังการรักษา พบวา มีเพียงรอยละ 2 ของผูปวย (จํานวน 4 คน) ที่โรคมะเร็งกลับมาเปนอีก ไมมีรายงานผลขางเคียงที่รุนแรง และผูปวยเกือบทั้งหมดและแพทยผูดูแล รายงานวาพอใจกับการรักษา (รอยละ 95 และรอยละ 98 ตามลําดับ) “ทั้งเนื้องอกชนิดไมรายแรงและเนื้องอกมะเร็ง ไดรับผลดีมากกวาการ ผาตัดแบบเดิม ทั้งในดานกระบวนการรักษาที่ทําในที่ทํางาน การรักษาที่ ทําไดเร็วขึ้น มีการฟนตัวเกือบจะในทันที ผลดานความงามที่ดีขึ้น ผูปวยมี ความสะดวกมากขึน้ ความเสีย่ งลดลง และคาใชจา ยตํา่ กวา” Dr. Fine กลาว เขากลาวเพิ่มเติมวา วิธีนี้ไมเหมือนกับการผาตัดเอากอนเนื้อออก (lumpectomy) หรือการผาตัดเตานม (mastectomy) กระบวนการ cryoablation จะรักษาตัวเตานมไวและลดความเสีย่ งตอการติดเชือ้ ใหเหลือ นอยที่สุด และโดยปกติกระบวนการนี้จะให “ผลในดานความงามที่ดีมาก โดยไมมีแผลเปนเลย” พรอมกับชวยใหผูปวยกลับไปดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ไดตามปกติอยางรวดเร็ว Dr. Fine กลาววา สหภาพยุโรปไดเห็นชอบกับกระบวนการ cryoablation เพื่อการรักษาโรคมะเร็งเตานมในป 2020 และยังไดรับความเห็นชอบ ใหใชกระบวนการเดียวกันในประเทศออสเตรเลีย แอฟริกาใต ไทย สิงคโปร และฮองกงดวย ในสหรัฐอเมริกา “การรักษาวิธีนี้จะใชในหองปฏิบัติการ” Dr. Shawna Willey ประธานฝายวิจัยโรคมะเร็งเตานมแหง Inova Schar Cancer Institute ที่ Inova Fairfax Hospital ในเมืองแฟรแฟกซ เวอรจิเนีย กลาว


Journal Watch ถึงแมเธอจะไมใชสวนหนึ่งของคณะทํางานนี้ แต Dr.Willey กลาววา การทดลองของ Dr. Fine “เปนการศึกษาขนาดใหญ ที่สุดและอาจเปดทางใหกระบวนการ cryoablation ขยายออก ไปกวางขวางมากขึ้น เพื่อเปนทางเลือกของการรักษาสําหรับ ผูหญิงสูงอายุที่เปนโรคมะเร็งเตานมชนิดความเสี่ยงตํ่า ในขณะ ที่ยังมีการศึกษากระบวนการนี้ตอไปในประชากรของผูปวยให กวางขวางมากขึ้น” Dr.Willey เตือนวา ที่ผานมามีการทดลองกระบวนการ

cryoablation ในกลุม ผูป ว ยโรคมะเร็งเตานมทีค่ ดั เลือกมาอยางระมัดระวัง ดังนั้น เธอจึงเนนวาประสิทธิผลของวิธีนี้ “ไมไดรับการสนับสนุนดวย ขอมูลในวงกวาง ดวยการติดตามผลในระยะยาว หรือดวยขอมูลที่ ครอบคลุมเนื้องอกชนิดตาง ๆ ในผูหญิงทุกกลุมอายุ Dr. Fine และคณะผูรวมงานไดนําเสนอผลการคนพบนี้ตอที่ประชุม เสมือนจริงของ American Society of Breast Surgeons และถือวา ยังเปนงานวิจัยในเบื้องตนจนกวาจะไดรับการเผยแพรในวารสารที่ผาน การทบทวนโดยผูเชี่ยวชาญแลว

ยารักษาการแข็งตัวของเลือด ไมใหประโยชนผูปวย COVID-19 และมี D-Dimer สูง Lopes RD et al. Lancet 2021 Jun 12

ในการทดลองแบบเป ด กั บ ผู ป ว ยที่ รั ก ษาตั ว ในโรงพยาบาล พบวา การใหยาตานการแข็งตัวของเลือดเพื่อการรักษาไมชวย ใหผลการรักษาดีขึ้น และยังมีความสัมพันธกับภาวะเลือดออก มากกวายาที่ปองกันการแข็งตัวของเลือด เมือ่ เทียบกับโรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจอืน่ ๆ แลว โรค COVID-19 มี ค วามสั ม พั น ธ อ ย า งมากกั บ อุ บั ติ ก ารณ ข องการเกิ ด ลิ่ ม เลื อ ด อุดตัน ยิ่งกวานั้น ยังคิดวาภาวะแทรกซอนตาง ๆ มีโอกาสเกิด มากขึ้นในผูปวยที่มีระดับความเขมขนของ D-dimer สูง การศึ ก ษาเชิ ง สั ง เกตการณ ห ลายชิ้ น ได แ สดงให เ ห็ น ว า ทั้ ง การใช ย าต า นการแข็ ง ตั ว ของเลื อ ดที่ ใช เ พื่ อ การรั ก ษาและ เพื่อการปองกัน (therapeutic and prophylactic doses of anticoagulation) อาจลดความเสี่ยงตอการเสียชีวิตใน โรงพยาบาลสําหรับผูปวยเหลานี้ แตยังขาดการศึกษาภายใตการ ควบคุม เพื่อตอบคําถามนี้ คณะผูวิจัยไดดําเนินการทดลองแบบเปด ที่โรงพยาบาลบราซิล 31 แหง ครอบคลุมผูปวยโรค COVID-19 ที ่ ร ั ก ษาตั ว ในโรงพยาบาล และมีระดับ D-dimer สูง โดย แยกผู ป ว ยที่ ไ ด รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว า เป น ภาวะลิ่ ม เลื อ ดอุ ด ตั น ใน หลอดเลือดดํา (venous thromboembolism: VTE) ออกไป ในกลุมผูเขารวมการศึกษา 615 คน ไดสุมใหผูปวย 304 คน ไดรับยาปองกันการแข็งตัวของเลือดคือ heparin ระหวาง การรักษาตัวในโรงพยาบาล และอีก 311 คน ไดรับยาตาน การแข็ ง ตั ว ของเลื อดเพื่อการรัก ษา คือ rivaroxaban หรื อ heparin เปนเวลา 30 วัน พบวา เวลากอนการเสียชีวติ ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาล และระยะเวลาการใหออกซิเจนเพิ่มตลอด 30 วัน ไมมีความ

แตกตางกันระหวางกลุมดังกลาวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และไมมี ความแตกตางในอุบัติการณของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน ณ 30 วัน อยางไรก็ตาม ภาวะเลือดออกที่เกี่ยวของในทางคลินิกเกิดขึ้นในผูปวย 26 คน (รอยละ 8) ซึ่งไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือดเพื่อการรักษา และ 7 คน (ร อ ยละ 2) ที ่ ไ ด ร ั บ ยาป อ งกั น การแข็ ง ตั ว ของเลื อ ด (P=0.001) จากการศึกษาครัง้ นีซ้ ง่ึ ไดออกแบบสําหรับผูป ว ยทีม่ รี ะดับ D-dimer สูง ไมมีตัวบงชี้สําหรับการใชยาตานการแข็งตัวของเลือดเพื่อรักษาเพื่อ การปองกัน VTE ในผูปวยที่เปนโรค COVID-19 ผลการรักษาสนับสนุน ขอแนะนําการรักษาในปจจุบันและไมไดทําใหวิธีการปฏิบัติเปลี่ยนแปลง

¡.¤.-Ê.¤. 2564

13


รายงานพิเศษ โปรตีนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันตอสูการติดเชื้อแบคทีเรีย NYU Langone Health / NYU Grossman School of Medicine, ScienceDaily

การศึกษาครั้งใหมพบวา โปรตีนของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน นอกจากทําหนาที่คํ้าจุนโครงสรางของอวัยวะแลว ยัง กระตุ น การตอบสนองของภู มิ คุ ม กั น เพื่ อ จั ด การกั บ การ ติดเชื้อแบคทีเรีย พรอมกับยับยั้งการตอบสนองที่เปน อันตรายได ในภาวะพิษเหตุติดเชื้อดวย

การศึกษาที่นําโดยคณะผูวิจัยจาก Grossman School of Medicine แหง New York University (NYU) ได ศึกษาถึงเมทริกซนอกเซลล (extracellular matrix: ECM) ของเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพัน ซึง่ ครัง้ หนึง่ คิดวาเปนโครงสรางธรรมดา ที่ทําหนาที่รักษาสวนตาง ๆ ของรางกายใหคงรูป แตเปนที่ ยอมรับมากขึ้นวา ECM มีบทบาทในการสงสัญญาณติดตอ กับเซลลขางเคียงในการทําหนาที่ตามปกติ สวนประกอบ ที ่ ม ี บ ทบาทสํ าคั ญ ในเนื้อเยื่อ ไดแ ก เซลลสรางเสน ใย (fibroblasts) ซึ่งเปนเซลลที่ผลิตโปรตีนเมทริกซชนิดที่มี โครงสรางแข็งแรงอยางคอลลาเจน จากรายงานทีเ่ ผยแพรใน Proceedings of the National Academy of Sciences ไดนําเสนอการวิเคราะหครั้งใหม พบ lumican ซึ่งเปน proteoglycan (ไกลโคโปรตีน ชนิดหนึง่ ) หลัง่ จากเซลลสรางเสนใย และเปนเสนใยทีส่ มั พันธ กั บ คอลลาเจนในเนื ้ อเยื่อเกี่ยวพัน รวมทั้งยังชว ยเสริ ม การตอบสนองของภูมิคุมกันในเซลลภูมิคุมกัน ที่เรียกวา แมคโครฟาจ (macrophage) ซึ่งทําหนาที่ตอสูกับการ ติดเชื้อแบคทีเรีย ในเวลาเดียวกัน การศึกษานี้ยังพบวา lumican ชวย ปองกันเนื้อเยื่อดวยการจํากัดการตอบสนองของภูมิคุมกัน ชนิดตาง ๆ ที่มีปฏิกิริยาตอบสนองตอดีเอ็นเอ (DNA) ไมวาจะมาจากไวรัสที่บุกรุกเขารางกาย หรือจากเซลลของ มนุษยที่ปลอยดีเอ็นเอออกมาเมื่อมันตาย (สัญญาณที่แสดง วาเนื้อเยื่ออยูในภาวะเครียด) 14

¡.¤.-Ê.¤. 2564

การตอบสนองดวยปฏิกิริยาการอักเสบดังกลาวแสดงถึงการเปลี่ยน ผานเขาสูก ารรักษา แตการตอบสนองทีม่ มี ากเกินไปในภาวะพิษเหตุตดิ เชือ้ หรือภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) เปนอันตรายตอเนื้อเยื่อของ รางกายเองจนถึงจุดที่อวัยวะลมเหลวได ภาวะพิษเพราะเหตุติดเชื้อ สงผลกระทบตอประชากรทั่วโลก 48.9 ลานคน ผูเขียนรายงานกลาว แตสวนใหญเราไมทราบถึงบทบาทของ ECM ในภาวะนี้ “lumican อาจมีบทบาทในการปองกัน 2 ดาน ในเนื้อเยื่อ ECM คือ ดานหนึ่งจะสงเสริมการปองกันตนเองตอแบคทีเรีย และอีกดานหนึ่ง คือ จํากัดปฏิกิริยาที่มากเกินไปของภูมิคุมกันตอดีเอ็นเอ ซึ่งทําใหเกิด การโจมตีตัวเอง หรือโรคภูมิคุมกันทําลายตนเอง (autoimmunity) ผลการคนพบแสดงใหเห็นวา โปรตีนเมทริกซนอกเซลลอยาง lumican ทํางานอยูภายนอกเซลลตามปกติ แตเมื่อมีโรคหรืออันตรายเกิดขึ้นจะถูก ดึงเขาไปและกํากับเซลลภูมิคุมกันใหมุงหนาไปจัดการกับอันตรายนั้น Lumican จะมีปฏิสัมพันธกับโปรตีน 2 ชนิด บนผิวของเซลลภูมิคุมกัน ซึง่ ควบคุมการทํางานของโปรตีนทีเ่ รียกวา toll-like receptors มีหนาที่ จดจํารูปแบบโครงสรางปกติของโมเลกุลที่ผลิตโดยจุลชีพที่บุกรุกเขามา ผูเขียนรายงานการศึกษากลาว toll-like receptors สามารถทําใหเกิด การโจมตีของเซลลภูมิคุมกันตอเนื้อเยื่อของรางกายเองได ถาถูกกระตุน มากเกินไป ผูเขียนรายงานการศึกษาปจจุบันพบวา lumican สนับสนุนความ สามารถของ toll-like receptor (TLR)-4 บนผิวเซลลภูมิคุมกัน เพื่อจดจําพิษที่ผนังเซลลของแบคทีเรีย ซึ่งเรียกวา lipopolysaccharides (LPS) โดยเฉพาะ การศึกษานี้ไดพบวา lumican เมื่อสัมผัสติดกับโปรตีน 2 ชนิด คือ CD14 และ Caveolin1 ซึ่งมักจะใชบริเวณที่ปกติปกคลุม


รายงานพิเศษ ดวยคอลลาเจน จะทําใหปฏิสัมพันธกับ TLR4 มีความคงตัว เพือ่ เพิม่ ความสามารถของมันในการทําปฏิกริ ยิ ากับ LPS ปฏิกริ ยิ านี้ จะนําไปสูการผลิต TNF alpha ซึ่งเปนโปรตีนสงสัญญาณที่ชวย ขยายการตอบสนองของภูมิคุมกันมากขึ้น นอกจากการอธิบายผลของ lumican ที่มีตอผิวของเซลล ภูมคิ มุ กันแลว การศึกษาครั้งใหมยังพบวา lumican จะถูกนํา จากนอกเซลลเขาสูถุง endosomes และถูกดึงเขาไปในเซลล

lumican ทํางานอยูภายนอก เซลลตามปกติ แตเมื่อมีโรคหรืออันตรายเกิด ขึ้น จะถูกดึงเขาไปและกํากับ เซลลภูมิคุมกันใหมุงหนาไป จัดการกับอันตรายนั้น

องคประกอบสวนตาง ๆ ดังกลาวจะสงแบคทีเรียที่ยอยแลว ไปยัง endosomes อื่น ๆ เพื่อทําลายมัน หรือเพิ่มการอักเสบ หรือการตอบสนองของอินเตอรเฟอรอน (interferon) เพื่อการ ปองกันใหสูงขึ้น คณะวิจัยพบวา ทันทีที่ถูกดึงเขาภายในแลว lumican จะเพิ่มปฏิกิริยาของ TLR4 ดวยการชะลการเดินทาง เขาไปใน lysosomes ซึ่งเปนสวนที่โปรตีนดังกลาวจะแตกออก และถูกรีไซเคิล ในขณะที่มันกระตุนการทํางานของ TLR4 บนผิวเซลล แตทันทีที่อยูภายในเซลลภูมิคุมกัน lumican จะมีผลตรงขาม ตอ toll-like receptor 9 (TLR9) ซึ่งเปนตัวรับที่มีปฏิกิริยา ตอดีเอ็นเอแทนที่จะเปน LPS ของแบคทีเรีย การทดลองใน หองปฏิบัติการไดแสดงวา การที่ lumican จับกับดีเอ็นเอใน endosomes จะทําใหมนั ไมกระตุน หรือปองกันไมใหมนั ไปกระตุน TLR9 การทดลองในหองปฏิบัติการไดยืนยันวา หนูทดลองที่ถูกปรับ ระบบไมใหมียีนสําหรับ lumican จะมีปญหาในการตอสูเพื่อ กําจัดการติดเชื้อแบคทีเรีย (การตอบสนองของ cytokine ลดลง การกวาดลางการติดเชือ้ ชาลง นํา้ หนักลดลงมากขึน้ ) และมีปญ  หา กับการยับยั้งปฏิกิริยาที่มากเกินไปของภูมิคุมกันตอแบคทีเรีย

(ภาวะพิษเพราะเหตุติดเชื้อ) ผูเขียนรายงานพบระดับ lumican ที่สูง ในพลาสมาของผูปวยภาวะพิษเพราะเหตุติดเชื้อ และเซลลภูมิคุมกัน (blood monocytes) ที่รักษาดวย lumican มีปฏิกิริยา TLR4 สูง แตกดการตอบสนองของ TLR9 ลง “เนือ่ งจากมีอทิ ธิพลตอทัง้ 2 กระบวนการ เราจึงสามารถใชเปปไทด จาก lumican (lumican-based peptide) เปนตัวเสริมแรง เพื่อ ปรับการอักเสบที่เกี่ยวของกับ TNF-alpha หรือปรับการตอบสนอง ของ endosomal interferon ในการแกไขการอักเสบและการติดเชือ้ ใหดขี น้ึ ” Dr. George Maiti นักวิจยั หลังปริญญาเอกในหองปฏิบตั กิ าร ของ Chakravarti กลาว “ผลการศึกษาของเราแสดงใหเห็นบทบาทใหมของโปรตีน ECM ณ บริเวณที่ไดรับบาดเจ็บ เมื่อเซลลภูมิคุมกันเขามารับไป โปรตีนจะ จัดรูปการตอบสนองของภูมิคุมกันนอกเหนือพื้นผิวเซลล โดยกํากับ การเคลื่อนยายและปฏิสัมพันธของ endosomal receptors และ โปรตีนที่สงสัญญาณ” Reference: • George Maiti, Jihane Frikeche, Carly Yuen-Man Lam, Asim

Biswas, Vishal Shinde, Marie Samanovic, Jonathan C. Kagan, Mark J. Mulligan, Shukti Chakravarti. Matrix lumican endocytosed by immune cells controls receptor ligand trafficking to promote TLR4 and restrict TLR9 in sepsis. Proceedings of the National Academy of Sciences, 2021; 118 (27): e2100999118 DOI: .%.10.1073/pnas.2100999118

¡.¤.-Ê.¤. 2564

15


หนึ่งโรคหนึ่งรู

อยูไดอยางมีสุขหากรูเทาทัน กับ “ฮีโมฟเลีย” โรคเลือดออกงายหยุดยาก อันตรายในเด็ก โรคฮีโมฟเลีย หรือที่เรียกกันวา โรคเลือดออกงายที่ถายทอด ทางพันธุกรรม มักพบในเด็กผูชายมากกวาเด็กผูหญิง สงผล ใหเด็กหลายคนมีอาการตัง้ แตกาํ เนิด หากมีอาการเลือดออก มากเกินไปและไมไดรับการรักษา อาจเปนสาเหตุใหเกิด ความพิการ และเสียชีวิตไดตั้งแตในวัยเด็ก แตหากไดรับ การดูแลตัวเองเปนอยางดีก็สามารถทําใหผูปวยสามารถ ดําเนินชีวิตไดอยางปกติ และมีความสุขเหมือนคนทั่วไป เกี่ยวกับเรื่องนี้ รศ.พญ. ดารินทร ซอโสตถิกุล หัวหนา สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็งเด็ก ภาควิชากุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ไดใหความรูวา “ฮีโมฟเลีย หรือโรคเลือดออกงาย เปนโรคที่พบไดไมบอย และเปนโรคหายากชนิดหนึง่ ทีเ่ กิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งมีความผิดปกติบนโครโมโซมเพศหญิง สวนใหญโรคนี้จะ เปนในผูป ว ยทีเ่ ปนเด็กผูช าย และสามารถสงผานความผิดปกติ จากแมไปสูลูกชาย สําหรับประเทศไทยพบอุบัติการณของ โรคนี้เทากับ 1 ตอ 20,000 ของประชากร หรือประมาณ 5,000 – 6,000 คน ซึง่ ขณะนีป้ ระเทศไทยมีผปู ว ยทีล่ งทะเบียน อยูใ นระบบ ทัง้ ระบบประกันสังคมตามโรงพยาบาลตาง ๆ หรือ ระบบกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) รวมแลวไมเกิน 2,000 ราย ทําใหมีคนไขอีกจํานวนหนึ่งที่ยัง ไมไดรับการวินิจฉัยที่ถูกตอง” “โรคฮีโมฟเลียเกิดจากการขาดโปรตีนที่มีหนาที่ทําให เลือดแข็งตัวที่เรียกวา แฟคเตอร (Coagulation Factors) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ โรคฮีโมฟเลียเอ (Hemophilia A) เกิดจากรางกายขาดแฟคเตอรแปด และโรคฮีโมฟเลียบี (Hemophilia B) ซึ่งเกิดจากรางกายขาดแฟคเตอรเกา โดยมี ความรุนแรงของโรคแตกตางกัน ไดแก ระดับรุนแรงมาก คือ มีระดับแฟคเตอรตํ่ากวา 1% มักเริ่มแสดงอาการใหเห็นตั้งแต เด็กเล็ก บางรายมีปญหาเลือดออกในสมองตั้งแตแรกเกิด หรือบางรายเปนจํ้าเขียวตามรางกาย มีเลือดออกในขอหรือ กลามเนือ้ ไดเองโดยไมไดรบั อุบตั เิ หตุหรือการกระแทกใด ๆ ระดับ รุนแรงปานกลาง คือ มีระดับแฟคเตอร 1-5% จะมีเลือดออก ในขอและกลามเนือ้ เมือ่ ไดรบั อุบตั เิ หตุเพียงเล็กนอย แตบางราย ก็อาจมีเลือดออกในขอไดเองโดยไมไดรับการกระแทก และ ระดับรุนแรงนอย คือ มีระดับแฟคเตอร 5-40% ซึ่งอาจจะ ไม แ สดงอาการจนเมื่ อ ได รั บ อุ บั ติ เ หตุ ห รื อ ผ า ตั ด จึ ง แสดง อาการเลือดออกมากและหยุดยาก” 16

¡.¤.-Ê.¤. 2564

รศ.พญ. ดารินทร กลาวเสริมวา “เมื่อลูกมีเลือดออกงาย ใหสงสัย วาลูกอาจเปนโรคฮีโมฟเลีย คุณพอ คุณแม สามารถสังเกตอาการหรือ ลักษณะในระยะเริ่มแรกของโรคไดงาย เชน ในเด็กทารกเพิ่งคลอดที่มี การคลอดยากตองใชเครื่องชวยคลอด ก็จะมีความเสี่ยงตอการเกิดภาวะ เลือดออกในสมอง และหากเปนเด็กในวัยที่ยังเดินไมได หรือหัดเดิน ก็จะมีอาการเลือดออกในกลามเนื้อที่ขา หรือกนเมื่อถูกกระแทกซึ่ง อาจเกิดขึน้ ขณะคลาน หรือยังพบรอยฟกชํา้ จากมือขณะทีค่ ณ ุ พอ คุณแมอมุ นอกจากนี้ หลังเด็กไดรับการฉีดวัคซีน บางคนเลือดไหลซึมนานออกมาก ผิดปกติ และอาจพบเปนกอนแข็งจากการมีเลือดออกในกลามเนื้อ ซึ่งใช เวลาเปนสัปดาหกวาจะยุบ หรือมีเลือดไหลเปนจํานวนมากเมื่อมีอุบัติเหตุ หรือหลังผาตัด นอกจากนี้ หากมีการซักประวัติทางพันธุกรรมจากคนใน ครอบครัวอยางละเอียดรวมดวยก็จะเปนประโยชนมากในการวินิจฉัย โรคในกลุมเลือดออกงายในเด็ก ปจจุบันโรคนี้ยังไมมียารักษาใหหายขาด ทําไดเพียงแตสามารถดูแลและปองกันไมใหเกิดภาวะแทรกซอนรุนแรง จากเลือดออกได โดยการใหผูปวยหลีกเลี่ยงการเกิดภาวะเลือดออก และการใหแฟคเตอรเขมขนโดยเร็วเมื่อมีภาวะเลือดออกเกิดขึ้นในระดับ ที่เพียงพออยางนอย 20% หรือ 25% ขึ้นไป ก็สามารถที่จะปองกัน ไมใหมีเลือดออกไดงาย เมื่อแพทยพบเด็กที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปน โรคฮีโมฟเลียแลว ก็จะคุยกับพอและแมเรือ่ งการฉีดแฟคเตอรแบบปองกัน ซึ่งเปนการปองกันไมใหเลือดออกซํ้า ๆ เพื่อไมใหเด็กมีขอพิการ ปจจุบัน เรามีแฟคเตอรแปด และแฟคเตอรเกาเขมขนในรูปแบบขวด สามารถ ฉีดเขาทางหลอดเลือดดํา ซึ่งจะเริ่มฉีดแฟคเตอรใหสัปดาหละครั้ง และ หากยังไมดขี น้ึ รูส กึ วายังไมเพียงพอคนไขยงั มีเลือดออกอีก ก็จะฉีดแฟคเตอร เพิม่ ใหเปนสัปดาหละ 2 ครัง้ จากประสบการณเด็กทีฉ่ ดี แฟคเตอร 2 ครัง้ ตอสัปดาห จะเปนเด็กที่โตขึ้นมาหนอย สามารถไปโรงเรียนได และ ตองการเลนกีฬา อายุประมาณ 5-7 ขวบ โดยบางครั้งการฉีดแฟคเตอร พอแมกฉ็ ดี ใหในเวลากลางคืนกอนนอน หรือบางคนก็ฉดี ชวงเชา อยูท เ่ี วลา ที่เหมาะสมของแตละครอบครัว เมื่อฉีดแลวเด็กสามารถไปโรงเรียนได ใชชีวิตไดตามปกติและทํากิจวัตรประจําวันได”


หนึ่งโรคหนึ่งรู

“สํ า หรั บ นวั ต กรรมการดู แ ลรั ก ษาผู ป ว ยโรคนี้ ก็ ไ ด ถู ก พัฒนาอยางตอเนื่อง โดยมีการศึกษาในเรื่องของการเปลี่ยน ถายยีน เชน ผูปวยที่มียีนไมดี มียีนที่ผิดปกติ ที่ทําใหเกิดโรค ฮีโมฟเลียก็สามารถทํายีนบําบัด (Gene Therapy) ก็อาจจะ ทําใหคนไขหายขาดได ซึ่งขณะนี้ยังคงเปนเพียงการศึกษาและ การทดลอง ยังไมไดเปนการรักษาที่ไดมาตรฐาน ในปจจุบัน สิ่งที่สําคัญมากกวาการรักษา คือ การประคับประคอง และ การปองกันไมใหมีเลือดออก ซึ่งสามารถทําไดตั้งแตการสราง สิง่ แวดลอมภายในบานใหเหมาะสม ทัง้ ในหองนํา้ และหองนอน ควรจัดสิ่งแวดลอมภายในบานใหมีความปลอดภัยไมใหเด็ก เกิดการกระแทก ปองกันไมใหเด็กเลนของเลนที่แหลมคม รวม ถึงปองกันไมใหเด็กตกบันได หรือตกจากที่สูง ฯลฯ นอกจาก นี้ เด็กที่ปวยดวยโรคฮีโมฟเลีย สามารถเลนกิจกรรมและออก กําลังกายไดเหมือนคนทั่วไป แมยังตองมีความระมัดระวังเปน พิเศษ ซึ่งกีฬาที่เหมาะสมก็มีหลายชนิด อาทิ การขี่จักรยาน เด็กควรสวมอุปกรณความปลอดภัย เชน หมวก สนับเขา สนับ ขอศอก เพื่อปองกันเมื่อเด็กลม และเปนการลดแรงกระแทก หรือการวายนํ้า เปนการกระตุนใหกลามเนื้อแข็งแรง ขอตอ ตามรางกายจะกระชับ ชวยลดการบาดเจ็บของเยื่อหุมขอ ทั้งนี้ ตองอยูบนพื้นฐานของความพอเหมาะพอดี คอยเปนคอย ไป ไมหักโหม เพราะอาจเกิดอันตรายได โดยผูปกครองตอง อยูดวยในขณะที่เด็กทํากิจกรรม แตผูปวยเด็กเหลานี้ควรหลีก เลี่ยงการเลนกีฬาที่รุนแรง เชน ฟุตบอล บาสเกตบอล ชกมวย

สเก็ตบอรด เปนตน ขณะเดียวกันการจัดกิจกรรมอยางสมํ่าเสมอใน กลุมผูปวยและสมาชิกในครอบครัวถือเปนเรื่องที่สําคัญ เนื่องจาก บางครัง้ ผูป ว ยพบเจอกับปญหาในการปรับตัวและการเขาสังคม การรวม กลุม กันของผูป ว ย จึงเปนการสนับสนุนใหกาํ ลังใจซึง่ กันและกัน รวมทัง้ ยังแบงปนความรูและการดูแลตัวเองอยางถูกวิธีจึงมีสวนสําคัญเปน อยางมาก อยางเชนกลุม Thai Hemophilia Patient Club ซึ่งเปน การรวมตัวกันของคนไขในหลายชวงอายุ และมาจากหลากหลายภูมภิ าค เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น อีกทั้งยังเปนเวทีเพื่อจัดกิจกรรม รณรงคตา ง ๆ สนับสนุนและสงเสริมใหคนทัว่ ไปไดรจู กั กับโรคฮีโมฟเลีย รวมถึงใหกลุม ผูป ว ยไดตระหนักรูต อ ผลกระทบ เพือ่ ใหไดรบั การปองกัน และการรักษาอยางถูกตอง”

¡.¤.-Ê.¤. 2564

17


หนึ่งโรคหนึ่งรู

รศ.พญ.ดาริ น ทร ไ ด ใ ห คํ า แนะนํ า เพิ่ ม เติ ม แก ผู ป กครอง ของผูปวยเด็กในปจจุบันที่มีการแพรระบาดอยางรุนแรงของ ไวรัสโควิด-19 วา “ทามกลางความไมแนนอนของสถานการณ การแพรระบาดของโควิด-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก สงผลใหผูปวย ฮีโมฟเลีย รวมถึงผูดูแล ผูปกครอง คุณพอ คุณแมมคี วามกังวล ในเรื่องความตอเนื่องของการรักษา อีกทั้งตองเผชิญอุปสรรค ในการเขาถึงการรักษา เนื่องจากการไปโรงพยาบาลอาจเพิ่ม ความเสี่ยงที่จะสัมผัสเชื้อได ทางหนวยเราไดมีการปรับกลยุทธ เชิงรุกเพื่อใหเขาถึงการรักษาที่ตอเนื่องของคนไข ซึ่งที่ผานมา ไดจดั กิจกรรมโครงการเยีย่ มบานคนไขขน้ึ โดยมีแพทย พยาบาล และบุ ค ลากรทางการแพทย ลงพื้น ที่เยี่ยมบานคนไขก ว า 20 ครอบครัว ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล แนะนําพรอม สอนผูป ว ยและครอบครัวใหสามารถดูแลรักษาผูป ว ย และการฉีด แฟคเตอรไดเองที่บาน อีกทั้งยังเนนยํ้าใหความรูในการดูแล สุขภาพรางกายใหแข็งแรงใหหา งไกลโควิด-19 สําหรับผูป ว ยเอง ก็ตอ งดูแลสุขภาพของตนเองอยางเครงครัด ปฏิบตั ติ ามคําแนะนํา ของแพทย สําหรับคุณพอ คุณแม ก็ควรหมั่นตรวจติดตาม สังเกตอาการของโรคเปนระยะ ๆ พรอมทั้งสื่อสารทําความ เขาใจกับทีมรักษาอยางตอเนื่องเพื่อใหไดประสิทธิภาพในการ รักษามากที่สุด สําหรับการฉีดวัคซีนโควิด-19 นั้น ผูปวยโรค ฮีโมฟเลียสามารถเขารับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ได แตหากเกิด ความกังวลวาจะมีความเสี่ยงหรือตองการปองกันเลือดออก ในกลามเนื้อ คนไขสามารถฉีดแฟคเตอรเพิ่มเขาไปในขนาด 15-20% กอนการเขารับวัคซีน ซึ่งก็ถือเปนอีกหนึ่งทางเลือกที่ สามารถทําได” 18

¡.¤.-Ê.¤. 2564

“ฮีโมฟเลีย เปนโรคทางพันธุกรรมที่ไมควรมองขามผูปวยจําเปนตอง ไดรบั การดูแลเปนพิเศษ โดยเฉพาะเด็กเล็กทีย่ งั ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได และไมรวู ธิ ดี แู ลตัวเองทีด่ นี กั คุณพอ คุณแม หรือผูดูแลตองมีความเขาใจ ที่ถูกตองตอการปฏิบัติตัวของผูปวย ซึ่งหากไดรับการดูแลรักษาอยาง เหมาะสมแลว ผูปวยสามารถมีชีวิตไดอยางปกติ นอกจากนี้ กําลังใจและ การเอาใจใสที่ดีก็จะเปนแรงบันดาลใจใหกับผูปวยสามารถยอมรับ และ อยูกับโรคนี้อยางมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ และเปนปกติสุขมาก ที่สุดทั้งในดานรางกายและจิตใจ” รศ.พญ. ดารินทร ฝากทิ้งทาย


บทความพิเศษ โรคโควิด-19 กับอาการทางผิวหนังที่ไมควรมองขาม (ตอนที่ 1)

แมวา โรคโควิด-19 จะเปนโรคทีเ่ กีย่ วของกับระบบทางเดิน หายใจเปนหลัก แตก็อาจทําใหเกิดความผิดปกติทาง ผิวหนังรวมดวย สมาคมแพทยผิวหนังแหงประเทศไทย จึงมีความเปนหวงประชาชนเกี่ยวกับอาการของผูปวย โควิด-19 ที่มีหลากหลายระบบ อยางไรก็ดี จากสถิติ พบวา ประมาณ 0.2 -20% ของผูปวยโรคโควิด-19 ทั้งหมดมีอาการผื่นทางผิวหนังรวมดวย

ในประเทศแถบยุโรปจะมีอาการหนึ่งที่ไมพบผูปวยในประเทศไทย คือ มีอาการปลายมือปลายเทามวงคลํ้า (ในทางการแพทย รูจักกัน ในนาม Covid Toe) อันเนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศที่หนาวเย็น ทั้งนี้ วิธีการรักษาผูปวยโรคโควิด-19 ที่มีอาการทางผิวหนัง แพทย จะรักษาตามอาการ เชน การใหยาสเตียรอยดรักษาอาการตุมนูน ตุมคัน หรือยาแกแพรักษาอาการลมพิษ เปนตน

ผื่นอะไรที่ใหสงสัยวาเปน COVID

รศ.พญ.ภาวิณี ฤกษนมิ ติ ร อนุกรรมการประชาสัมพันธ และงานกิจกรรม สมาคมแพทยผิวหนังแหงประเทศไทย กลาววา จากผลงานวิจัย Skin manifestations in COVID-19: The tropics experience เมื่อ พ.ศ. 2563 พบวา สถิตผิ ป ู ว ยโรคโควิด-19 ทีเ่ ขารับการรักษาทีโ่ รงพยาบาล จุฬาลงกรณ จํานวน 153 ราย มีอาการโรคผิวหนังรวมดวย 23 ราย หรือคิดเปนสัดสวน 15% โดยอาการบงชีท้ างผิวหนัง ของผูปวยที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะแบงออก เปนหลายกลุมอาการ เชน เปนผื่นผิวหนังแบบผื่นลมพิษ ผื่นแดงชนิด maculopapular เปนตุมนํ้าที่ผิวหนัง หรือ ผิวหนังแตกเปนแผลจากการขาดเลือด ผูปวยโรคโควิด-19 ที่มีอาการทางผิวหนังในประเทศแถบยุโรป และประเทศ เอเชียจะมีอาการทางผิวหนังแตกตางกันอยูบาง กลาวคือ ผูปวยโรคโควิด-19 ในประเทศแถบเอเชียมักมีอาการผื่น ลมพิษ ผื่นแดงทั่วตัว หรือผื่นแบบตุมนํ้า ซึ่งพบในกลุม ผูปวยในประเทศแถบยุโรปเชนกัน แตผูปวยโรคโควิด-19

สําหรับอาการทางผิวหนังทีพ่ บในผูป ว ยโรคโควิด-19 สามารถ แยกไดเปน 2 ประเภท คือ 1.อาการผื่นผิวหนังจากโรคโควิด-19 โดยอาการบงชี้ก็เชน ผูปวยเปนลมพิษ ผื่นแดง ตุมนํ้าพองหรือ มีแ ผลแตกบริเวณผิว หนัง 2.อาการผื่นผิวหนัง จากการสวม หนากากอนามัย หรืออุปกรณปองกัน PPE ผูปวยโรคโควิด-19 จําเปนตองสวมหนากากอนามัยตลอดเวลา ทําใหบางรายเปนสิว หรือผื่นแดงบริเวณใบหนาอันเนื่องมาจากการสวมหนากากอนามัย เปนระยะเวลานาน หนากากอนามัยไมสะอาด หรือบางราย เกิ ด จากการแพ ส ว นประกอบบางชนิ ด ของหน า กากอนามั ย

¡.¤.-Ê.¤. 2564

19


บทความพิเศษ

ขณะที่บางรายมีอาการผื่นแดงตามมือจากการลางมือบอย จนมือแหงและระคายเคือง จากขอมูลการรักษาและการเก็บขอมูล แมยงั ไมพบวา อาการทางผิวหนังของผูปวยโรคโควิด-19 จะกอใหเกิด อาการรุนแรงอื่นตามมาจนถึงขั้นเสียชีวิต หากประชาชน มีอาการเปนไข หายใจไมสะดวก จมูกไมไดกลิ่น หรือ มีอาการผืน่ ผิวหนังรวมดวย ก็ไมควรนิง่ นอนใจ ควรมาพบ แพทยเพื่อทําการตรวจรักษาแตเนิ่น ๆ นอกจากนี้ สิ่งที่ อยากฝากแกประชาชนทุกคน คือ การดูแลตนเองเบื้องตน ยังเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหทุกคนหางไกลโรคโควิด-19 ได ดวยการสวมหนากากอนามัยและควรเปลี่ยนใหมบอย ๆ หรือหากเปนหนากากผาควรซักลางทําความสะอาดสมํา่ เสมอ และควรลางมือบอย ๆ ซึ่งหลังจากลางมือแลว อาจทา มอยสเจอรไรเซอรเพื่อสรางความชุมชื่นใหแกผิว ก็จะ ทําใหผิวหนังไมระคายเคืองได ผื่นที่ “มือ” ชวง COVID

ผศ.พญ.สุวิรากร ธรรมศักดิ์ ประธานฝายกิจกรรม สังคม สมาคมแพทยผิวหนังแหงประเทศไทย กลาววา การปองกันเชื้อไวรัสไมใหเขาสูรางกายนั้น “มือ” ที่เปน อวัยวะที่สําคัญ ที่ใชจับสิ่งของ จับทุกสิ่งทุกอยางแลวมา จับหนา จมูก ปาก ทําใหเชื้อเขาสูรางกายไดงาย ดังนั้น เราสามารถลดการติดเชื้อไดโดยการลางมือบอย ๆ หรือใช แอลกอฮอล 70% ขึ้นไป ในการฆาเชื้อโรค ไมวาจะเปน เชื้อไวรัส แบคทีเรีย พยาธิตาง ๆ แตการลางมือบอย ๆ ทําใหมือมีการระคายเคืองได ลักษณะเริ่มตนเราจะเห็น ผิวที่มือแหง แลวเริ่มมีการแตกและเจ็บ ถาเปนมาก ๆ จะ เปนผื่นแดงหยิบจับอะไรก็แสบ เจ็บมือไปหมด ถาสังเกต ใหดีคนที่สัมผัสนํ้าบอย ๆ ไมจําเปนตองโดนสบู ผงซักฟอก ก็ทําใหมือระคายเคืองแลว เชน อาชีพแมบาน พยาบาล 20

¡.¤.-Ê.¤. 2564

คนทําความสะอาด ทุกคนถาลางมือบอย ทั้งสบูหรือแอลกอฮอล ก็ ทําใหระคายเคืองได สําหรับบางคนมีการแพผลิตภัณฑทําความสะอาดหรือสวน ประกอบในเจลฆาเชือ้ โรคหรือถุงมือ จะมีอาการคัน มีผน่ื แดง ตุม นํา้ และสะเก็ดลอก ซึ่งเปนการแพเฉพาะบุคคล อาจจะตองตรวจหาวา แพอะไร จะไดหลีกเลี่ยงไดถูก บางคนลางมือบอย ๆ ทําใหมีการติด เชื้อที่จมูกเล็บ ทําใหมีการบวม เจ็บที่โคนเล็บ และติดเชื้อราได คําแนะนํา ในการปองกันไมใหเกิดผืน่ ทีม่ อื ทําไดดงั นี้ 1.เลือก ผลิตภัณฑที่ไมระคายเคือง สบูสังเคราะหจะดีกวาสบูกอน เพราะ มีความเปนดางนอยกวา แอลกอฮอลเจล ที่มีสวนผสมของสารให ความชุมชื่น จะมีคุณสมบัติดีกวาแอลกอฮอลสเปรย แตทั้งคูฆาเชื้อ ไวรัสไดเหมือนกัน 2.ทาสารใหความชุมชื่นบอย ๆ หลังลางมือ หรือใชแอลกอฮอลเสมอ และทาเพิ่มเมื่อรูสึกแหง พกโลชั่นหรือ ครีมทามือเสมอ 3.ไมควรลางมือดวยนํา้ รอน 4.ไมจาํ เปนตองลางมือ และใชแอลกอฮอลพรอม ๆ กัน ในกรณีที่มือเปอนสิ่งสกปรกที่ มองเห็นใหลางนํ้าปกติ สวนแอลกอฮอลใชกรณีที่มือไมไดเปอนมาก และไมสามารถหาที่ลางมือได 5.ถุงมือชวยลดการสัมผัสได แตตอง คอยเปลี่ยนบอย ๆ อยาใสจนเหงื่อออกเปยกเกิดความอับชื้น หรือนํา้ เขาตองเปลีย่ นทันที และไมควรใสถงุ มือหลังลางมือทันทีหรือ ทาแอลกอฮอล เพราะจะเพิ่มอัตราการระคายเคืองได 6.ถามี ผิวหนังอักเสบ ใชยารักษาที่มีสวนผสมของสเตียรอยดออน ๆ ได เชน 0.02% Triamcinolone cream แตถาทาแลวไมดีขึ้นใน 1 สัปดาห ควรไปพบแพทยผิวหนัง


บทความพิเศษ โรคโควิด-19 กับอาการทางผิวหนังที่ไมควรมองขาม (ตอนที่ 2)

เราทุกคนคงเคยไดรับวัคซีนกันมาหลายตัว เชน วัคซีน คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน คางทูม ไขหวัดใหญ และอื่น ๆ อีกมากมาย วัคซีนทําหนาที่ กระตุนการสรางภูมิคุมกันของรางกายเพื่อปองกันไมให เปนโรคหรือลดความรุนแรงของโรค ไมตอ งเขาโรงพยาบาล หรือเสียชีวิต บางครั้งหลังจากไดรับวัคซีนอาจมีอาการ ขางเคียงเฉพาะบริเวณที่ฉีด ไดแก อาการปวด บวม แดง รอน หรืออาจมีอาการทั่ว ๆ ไป เชน ไขตํ่า ๆ ออนเพลีย ปวดเวียนศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่น เปนตน อาการ เหลานี้พบไดทุกวัคซีน ซึ่งไมรุนแรงและหายไดเอง มักพบ 1-3 วันหลังฉีด และไมเกิน 7 วัน วัคซีนโควิด-19 ก็คลายกับวัคซีนอื่น ๆ จากขอมูลของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ระบุวา ตั้งแตเริ่มฉีดวัคซีนวันที่ 28 กุมภาพันธ ถึง 10 พฤษภาคมที่ผานมา จํานวนเกือบ 2 ลานโดส ไมพบอาการ ขางเคียงเลย 89% มีเพียงสวนนอยที่มีอาการ โดยเปนผื่น เพียง 0.7% เทานั้น ผื่นหลังวัคซีน

รศ.พญ.จิตติมา ฐิตวัฒน แพทยผูเชี่ยวชาญสมาคม แพทยผิวหนังแหงประเทศไทย กลาววา ผื่นที่เปนอาการ ขางเคียงหลังวัคซีนจะมีลักษณะ ดังนี้ 1.ผื่นเปนบริเวณ ทีฉ่ ดี ถาฉีดแขนซายแตผน่ื เปนแขนขวาก็ไมเกีย่ วของกัน หรือ ผื ่ นกระจายทั ่ วตั ว ผื่นมัก ขึ้นใน 3 วัน ไมเ กิน 7 วัน 2.ไมเคยเปนผืน่ ลักษณะเดียวกันนีม้ ากอน เชน เคยเปนผืน่ คัน ทั่ว ๆ ไปเกือบทุกวัน ฉีดวัคซีนก็เปนเหมือนเดิม หรือโดน ยุงกัดเปนผื่นไปโดนยุงกัดอีกหลังฉีดวัคซีนก็เปนผื่น จึงไม เกี่ยวกับวัคซีน 3.ผื่นที่พบเปนอาการขางเคียงหลังรับวัคซีน ที่พบได คือ ลมพิษและผื่นคลายออกหัด 4.ลมพิษลักษณะ เปนปน นูน แดง คัน ผื่นขึ้นตามรอยเกา ผื่นมักหายใน 24 ชม. ไมทิ้งรอย อาจมีผื่นใหมขึ้น ๆ ยุบ ๆ เลื่อนที่ เปน ทั่ว ๆ ทั้งตัว ลมพิษอาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เชน ยา อาหาร การติดเชื้อ โรคแพภูมิ หรือไมมีสาเหตุ 5.ผื่นคลายออกหัด เปนตุมสาก ๆ เล็ก ๆ สีแดงกระจายทั่วตัว ผื่นแบบนี้เกิด ในไขออกผื่นจากเชื้อไวรัสหรือแพยา หรืออื่น ๆ ก็ได

ถามีผื่นหลังรับวัคซีน ควรทําดังนี้ คือ 1.อยาตกใจ ผื่นเปน ผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นได มักไมรุนแรง หายไดเอง 2.ถายรูป ไวใชมือถือถายรูปผื่นใกล ๆ จะไดเห็นลักษณะของผื่นชัด และ ถายรูปทุกบริเวณที่เปนผื่น เพื่อใหเห็นการกระจายของผื่นวาเปน สวนใดของรางกายบาง ในวันที่เราไปพบแพทย ผื่นอาจหายแลว 3.ใสประวัติ บันทึกประวัติไวเพื่อชวยในการวินิจฉัยของแพทยวา เปนผื่นจากสาเหตุใด ไดแก ผื่นขึ้นกี่ชั่วโมงหรือกี่วันหลังฉีดวัคซีน บริเวณที่ผื่นเริ่มเปน มีอาการอื่นเชน ไข ไอ มีนํ้ามูกรวมดวยหรือ ไม เปนผื่นอยูกี่วันหาย เคยเปนผื่นแบบนี้มากอนหรือไม เปนบอย แคไหน และ 4.นัดพบแพทย นําภาพผื่นและประวัติที่บันทึกไวไป คุยกับแพทย ใหแพทยวินิจฉัยวาผื่นเปนอาการขางเคียงจากการ ฉีดวัคซีนหรือจากสาเหตุอื่น คําถามตามมาหลังเปนผื่น เชน แพวัคซีนหรือไม ฉีดวัคซีน เข็มถัดไปไดหรือเปลา จะเปนผื่นอีกมั้ย คนไขแตละคนไมเหมือนกัน ตองแลวแตการวินิจฉัยของ แพทยวาเปนอาการขางเคียงหลังฉีดวัคซีนหรือไม และเปนผื่นที่ ตองเปลี่ยนยี่หอวัคซีนหรือฉีดตอได อยาลืมนะคะ ถาเปนผื่นหลัง ฉีดวัคซีน

¡.¤.-Ê.¤. 2564

21


บทความพิเศษ อยาตกใจ ถายรูปไว ใสประวัติ นัดพบแพทย ขอให ทุกคน เชื่อมั่น สิ่งที่ดีที่สุดในตอนนี้ คือ การฉีดวัคซีนโควิด-19 ใหเร็ว เพื่อสรางภูมิคุมกันใหกับตัวเองและชวยประเทศชาติ ของเราใหพนวิกฤตนี้ สวนอาการขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นไดนั้น มีเพียงเล็กนอย ไมรุนแรง ไมนากลัว โปรดเชื่อมั่นในพวกเรา “บุคลากรทางการแพทย” เราพรอมใหคําปรึกษาและดูแล ทุก ๆ คน ปญหาจากการใสหนากากอนามัย

ดาน อ.นพ.ชนัทธ กําธรรัตน แพทยผูเชี่ยวชาญสมาคม แพทยผิวหนังแหงประเทศไทย กลาววา การใสหนากาก อนามัย (mask) อยางไรไมใหเปนสิวนั้น ผื่นที่สัมพันธกับ การใสหนากากสามารถแบงไดเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ ผื่นที่ เกิดจากการสัมผัส ซึ่งอาจเปนการระคายเคือง เชน การกดทับ เสียดสี หรือการแพจากสารเคมีที่ใชเปนสวนประกอบตาง ๆ ของหนากาก และอีกกลุมหนึ่ง คือ ผื่นของโรคผิวหนังที่อาจ มีอยูเดิม และเปนมากขึ้นจากการใสหนากาก โรคที่พบบอย ไดแก สิว, ผิวหนังอักเสบโรซาเชีย, ผิวหนังอักเสบซีโบเรอิก และผิวหนังอักเสบอะโทปก โดยในที่นี้จะกลาวถึงรายละเอียด เฉพาะสิวทีม่ คี วามสัมพันธกบั การใสหนากากเทานัน้ จากรายงาน สวนใหญพบวา การใสหนากากจะกระตุนสิวใหกําเริบและมี อาการทีแ่ ยลง แตสว นนอยพบวาทําใหเกิดโรคเหลานีโ้ ดยทีผ่ ปู ว ย ไมเคยมีประวัติสิวมากอนเลย ทั้งนี้ สิวที่เปนมักจะมีความ รุนแรงนอยถึงปานกลาง ปจจัยที่พบวามีความสําคัญ คือ เพศหญิง การมีสิวอยูแลวและยังควบคุมไดไมดี และการใส หนากากอนามัยที่ตอเนื่องกันเกิน 4-6 ชม. คําแนะนําสําหรับประชาชนโดยทั่วไปในการปองกันไมให เกิดสิวเหอจากการใสหนากาก คือ ควรปรึกษาแพทยเพื่อรักษา สิวใหเขาที่และสงบใหเร็วที่สุดรวมกับการดูแลสภาพผิวหนังให แข็งแรง โดยการทําความสะอาดดวยผลิตภัณฑออนโยนและ ใชผลิตภัณฑที่ใหความชุมชื้นที่ไมกอใหเกิดสิวอยางเหมาะสม และสมํ ่ า เสมอ หลี ก เลี่ยงผลิตภัณฑใ นกลุมเนื้อหนา เชน

22

¡.¤.-Ê.¤. 2564

Petrolatum หรือ Mineral Oil และควรรอใหครีมที่ทาแหงสนิท กอนสวมใสหนากาก ประมาณอยางนอย 30 นาที สวนชนิดของ หนากากที่ใสขึ้นอยูกับความเสี่ยงของแตละบุคคล แตไมวาเปน ชนิดไหน อยางนอยควรมีการถอดหรือเปลีย่ นหนากากทุก 4-6 ชม. (ถาสามารถทําไดโดยไมกระทบตอความเสี่ยงตอการติดเชื้อ) อ.นพ.ชนัทธกลาวตอวา เมื่อเปนสิวแลวแนะนําใหปรึกษา แพทยเพื่อใหไดรับการรักษาที่ถูกวิธีและเหมาะสม โดยแพทย ผูร กั ษาควรระวังในการใชยากลุม อนุพนั ธวติ ามินเอ เนือ่ งจากจะมี โอกาสระคายเคืองไดงา ยกวาปกติ โดยเฉพาะบริเวณทีใ่ สหนากาก แนะนําใหเริ่มจากยาชนิดที่กอใหเกิดการระคายเคืองและความ เขมขนที่ตํ่ากอน และใหพิจารณายาทาเฉพาะที่สิว เชน การแตม ยาเบนโซอิ ล เปอร อ อกไซด ห รื อ กรดซาลิ ไซลิ ก เฉพาะบริ เวณที่ เปนสิว เพือ่ ลดการระคายเคืองของผิวหนังขางเคียง ยาทาในกลุม ที่เปนเนื้อแปง จะชวยทําใหผิวหนังที่ชื้นจากการใสหนากากแหง ไดงายขึ้น ในกรณีที่เปนระดับปานกลางถึงรุนแรงใหพิจารณาให ยารับประทานไดตามความเหมาะสม สวนปญหาเครือ่ งสําอางหรือครีมบํารุงติดหนากาก เปนปญหา ที่พบไดบอยและอาจกอใหเกิดความไมสบายใจในผูปวยบางคน ในฐานะแพทยทางออกสําหรับปญหานี้ คือ ใหหลีกเลีย่ งหรือลด การแตงหนาที่มากเกินไปในบริเวณที่สวมใสหนากาก โดยเฉพาะ ในผูปวยที่มีปญหาสิว หรือกําลังรักษาดวยยาทารักษาสิวอยูแลว เพราะนอกจากจะทําใหหลีกเลี่ยงปญหาเรื่องที่หนากากอนามัย ติดเครื่องสําอางแลว ยังสามารถปองกันไมใหเกิดปญหาอื่น ๆ เพิ่มเติมดวย เชน สิวที่เกิดจากการใชผลิตภัณฑ หรือการระคาย เคืองของสิวและผิวหนังจากการทําความสะอาดใบหนา สวนครีม บํารุงควรพิจารณาเลือกเนื้อที่เปนเจลหรือโลชั่นในคนที่มีผิวมัน และใหเปนเนื้อครีมสําหรับผูที่มีปญหาผิวแหงอยูแลว นอกจากนี้ ในกรณีที่ผูปวยมีความจําเปนตองแตงหนา แนะนําใหหลีกเลี่ยง การใชผลิตภัณฑประเภทรองพื้น (foundation) และแปงที่มีเนื้อ หนา และเนนการแตงหนาบริเวณที่ไมไดปกปดดวยหนากาก เชน รอบดวงตา แทน สุ ด ท า ยการทาครี ม กั น แดดบริ เวณที่ ใ ส ห น า กากอนามั ย อาจทําใหมีความเสี่ยงตอการแพหรือทําใหสิวเหอมากขึ้นเชน เดียวกับเครื่องสําอาง ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับชนิดของครีมกันแดดที่ใช และสภาพผิวหนังของผูใช คําแนะนํา คือ ใหหลีกเลี่ยงการ ใชครีมกันแดดบริเวณทีใ่ สหนากาก และใชหนากากทีท่ าํ จากผาทีม่ ี คุณสมบัติในการปองกันรังสียูวี (Ultraviolet protective factor, UPF) ตั้งแต 50 ขึ้นไป และควรมีจํานวนเสนดายที่มาก และทอแบบแนน สวนบริเวณอื่น ๆ อาจพิจารณาทาครีมกันแดด ไดตามปกติ


Medical Techology พัฒนาสเต็นทจากศิลปะตัดกระดาษสงยาใหทางเดินอาหาร

MIT, Medgadget

วิศวกรที่ MIT ใชการกีดกระดาษสไตล kirigami ออก แบบขดสเต็นทที่สามารถใสไวในอวัยวะรูปทรงทอเพื่อ ปลอยยาเฉพาะที่ผานวัสดุเหมือนเข็ม ซึ่งจะกางออกขึ้น เมื่อสเต็นทยืดตัว จากแรงบั น ดาลใจที่ ไ ด จ ากศิ ล ปะการพั บ และตั ด กระดาษของญี่ปุนที่เรียกวา kirigami ในการทําโครงสราง รูปสามมิติขึ้นมา กลุมวิศวกรที่ MIT กับคณะผูรวมงานจึงได ออกแบบขดสเต็ น ท ช นิ ด ใหม ซึ่ ง สามารถใช ส ง ยาในทาง เดินอาหาร ทางเดินหายใจ และอวัยวะอื่นที่มีลักษณะเปน ทรงทอหรือหลอดในรางกายได สเต็นทนี้ถูกเคลือบไวในชั้นพลาสติกเรียบที่ถูกกีดสลัก ใหเปนเหมือน “เข็ม” ขนาดเล็กซึ่งจะกางออก เมื่อยืดทอ สเต็นทแลวปลอยใหเข็มทะลุผานเนื้อเยื่อและสงกลุมอนุภาค ไมโครที่บรรจุยาไว จากนั้นยาเหลานี้จะถูกปลอยออกในชวง ระยะที่กินเวลานานพอสมควร หลังจากนําสเต็นทออกแลว การสงยาเฉพาะที่แบบนี้ทําใหงายตอการรักษาโรคที่มี การอักเสบซึ่งมีผลกระทบตอทางเดินอาหาร เชน โรคลําไส อั ก เสบหรื อ โรคหลอดอาหารอั ก เสบจากเม็ ด เลื อ ดขาว อีโอสิโนฟล (eosinophilic esophagitis) Giovanni Traverso ผูชวยศาสตราจารยสาขาวิศวกรรมเครื่องกลที่ MIT และ แพทยระบบทางเดินอาหารที่ Brigham and Women’s Hospital และผูเขียนรายงานอาวุโส กลาว Sahab Babaee นักวิทยาศาสตรดานวิจัย MIT ซึ่งเปน ผูน าํ การเขียนรายงานทีม่ กี ารเผยแพรใน Nature Materials กลาววา “เทคโนโลยีนี้สามารถนําไปใชในอวัยวะที่มีลักษณะ เปนทอหรือหลอดเปนหลัก” Traverso กลาวและวา “การ มีความสามารถในการสงยาเฉพาะที่เชนนี้ จะชวยใหมีความ เปนไปไดสูงสุดในการรักษาอาการของผูปวยและสามารถ เปลี่ยนแปลงวิธีที่เราคิดเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลผูปวย ดวยการใหการสงยาเฉพาะที่ทําไดนานขึ้นหลังจากใหยา เพียงครั้งเดียว”

สเต็นทที่ยืดขยายได แพทยมักจะรักษาโรคที่มีการอักเสบของทางเดินอาหาร เชน โรค ลําไสอักเสบ ดวยยาที่ทําใหการตอบสนองของภูมิคุมกันในรางกายลดลง ซึ่งปกติจะใชวิธีฉีดยาเหลานี้เขารางกาย ดังนั้น ยาจึงทําใหเกิดผลขางเคียง กับสวนอื่น ๆ ของรางกายได Traverso และคณะผูร ว มงานตองการผลักดันวิธสี ง ยาดังกลาวโดยตรง ไปยังเนื้อเยื่อที่มีปญหา ซึ่งจะชวยลดโอกาสของการเกิดผลขางเคียงได สเต็ น ท เ ป น วิ ธี ห นึ่ ง ในการส ง ยาให เ ฉพาะส ว นของทางเดิ น อาหาร ที่เปนเปาหมาย แตการสอดสเต็นทเขาไปในทางเดินอาหารตองใชความ ชํานาญคอนขางมาก เพราะอาหารที่ถูกยอยจะเคลื่อนตัวตอเนื่องผาน ทางเดินอาหาร ฉะนัน้ เพือ่ ใหวธิ นี เ้ี ปนไปไดมากขึน้ คณะทํางานของ MIT จึงพัฒนาแนวความคิดในการสรางสเต็นททส่ี ามารถสอดเขาไปชัว่ ขณะหนึง่ สเต็นทจะจับกับเนื้อเยื่ออยางมั่นคงเพื่อสงยา แลวจึงนําสเต็นทกลับออก มาไดสะดวก สเต็นทที่คณะทํางานออกแบบมามีสวนประกอบสําคัญ 2 สวน คือ ทอที่ออนและยืดตัวได ทําดวยยางที่มาจากซิลิโคน และเคลือบดวย พลาสติกทีก่ ดี ใหเปนเหมือนเข็มซึง่ จะกางออกเมือ่ ทอยืดออก การออกแบบนี้ ไดรบั แรงบันดาลใจจากเทคนิคศิลปะ kirigami ซึง่ กอนหนานีห้ อ งปฏิบตั กิ าร ของ Traverso ใชเทคนิคนี้ในการออกแบบเคลือบผิวกันลื่นสําหรับ สนรองเทา สวนกลุมนักวิจัยอื่นไดใชเทคนิคนี้พัฒนาแถบผาพันแผลที่ติด กับหัวเขาและขอตออื่น ๆ ใหติดไดมั่นคงมากขึ้น “ความกาวหนาใหมของวิธีการนี้ คือ เราใชเครื่องมือและแนวความ คิดจากกลศาสตร ผสมผสานกับแรงบันดาลใจจากสิ่งมีชีวิต คือ สัตวที่มี ผิวเปนเกล็ด เพื่อพัฒนาระบบสงยาแบบใหมที่มีความสามารถในการวาง แหลงสะสมยาลงในผนังดานในของอวัยวะที่เปนรูปทอเพื่อปลอยยาได นานขึ้น” Babaee กลาว สเต็นท kirigami ที่พัฒนาขึ้นมาสามารถเปลี่ยนแปลงรูปทรงให สามารถคืนตัวไดดวยเข็มที่กางออกจากทรงแบนเปนสามมิติเพื่อจับกับ เนื้อเยื่อ และกลับคืนเปนรูปทรงที่แบนแบบเดิมเพื่อชวยใหนําออกมาได งายและปลอดภัย ในการศึกษานี้ คณะทํางานของ MIT ไดเคลือบเข็มพลาสติกดวย อนุภาคนาโนที่สามารถเก็บยาได หลังจากสอดสเต็นทดวยกลองสองตรวจ อวัยวะ และจะใชกลองสองตรวจขยายบอลลูนภายในทอซึ่งจะทําใหทอ ขยายออก ขณะที่ทอยืดออก การเคลื่อนดวยการดึงจะทําใหเข็มใน พลาสติกกางออกและปลอยยาออกไป สําหรับการศึกษาครั้งนี้ คณะผูวิจัยไดสรางเข็ม kirigami ที่มีรูปทรง และขนาดแตกตางกัน และดวยการปรับเปลี่ยนคุณสมบัติ รวมทั้งความ หนาของชีทพลาสติก คณะผูวิจัยสามารถควบคุมไดวาจะใหเข็มทะลุผาน เนื้อเยื่อลึกแคไหน “ความไดเปรียบของระบบนี้ คือ สามารถนําไปใช ตามขนาดความยาวที่แตกตางกันใหเขากับขนาดของสวนเปาหมายของ

¡.¤.-Ê.¤. 2564

23


Medical Techology ทางเดินอาหารหรืออวัยวะใด ๆ ที่มีลักษณะเปนรูปทรงทอ” Babaee กลาว การทดลองสงยาทางเดินอาหาร

คณะผูวิจัยไดทดสอบสเต็นทดวยการสอดผานกลองสอง ตรวจอวัยวะเขาไปในหลอดอาหารของหมู เมื่อสเต็นทอยูใน ตําแหนงแลว นักวิจยั ไดขยายบอลลูนภายในสเต็นท ปลอยให เข็มกางออก เข็มไดแทงทะลุเขาไปในเนื้อเยื่อประมาณครึ่ง มิลลิเมตร เข็มนีถ้ กู เคลือบดวยอนุภาคนาโนซึง่ บรรจุยาทีเ่ รียกวา budesonide เปนยาสเตียรอยดที่ใชรักษาโรคลําไสอักเสบ และโรคหลอดอาหารอักเสบจากเม็ดเลือดขาวอีโอสิโนฟล

เมือ่ อนุภาคทีบ่ รรจุยาถูกใสอยูใ นเนือ้ เยือ่ แลว คณะผูว จิ ยั ไดลดบอลลูน ใหแบนลง ทําใหเข็มราบลง เพื่อใหสามารถนําสเต็นทออกมาทาง กลองสองตรวจได กระบวนการนี้ใชเวลา 2-3 นาที และอนุภาคนาโน จะอยูในเนื้อเยื่อและคอย ๆ ปลอย budesonide ประมาณ 1 สัปดาห เราสามารถจะปรับอนุภาคใหปลอยยาใหมีระยะเวลาที่ยาวนาน ขึ้นได ขึ้นอยูกับสวนประกอบของอนุภาค Traverso กลาว วิธีนี้จะทําใหงายตอการดูแลผูปวยใหเปนไปตามกําหนดการใหยา ทีถ่ กู ตอง เนือ่ งจากผูป ว ยไมจาํ เปนตองใหยาดวยตัวเองอีกตอไป แตจะได รับยาเปนระยะผานการสอดสเต็นทเพียงชั่วคราว และยังชวยหลีกเลี่ยง ผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นไดจากการใหยาที่มีผลตอระบบอวัยวะ คณะผูวิจัยยังแสดงใหเห็นวาสามารถสงสเต็นทเขาไปในหลอดเลือด และทางเดินหายใจได โดยในเวลานี้กําลังศึกษาการสงยาชนิดอื่น ๆ และ ยกระดับกระบวนการผลิต โดยมีเปาหมายที่จะทดสอบสเต็นทในผูปวย

...เราใชเครื่องมือและแนวความคิดจากกลศาสตร ผสมผสานกับแรงบันดาลใจจากสิ่งมีชีวิต ...เพื่อพัฒนาระบบสงยาแบบใหมที่มีความสามารถ ในการวางแหลงสะสมยาลงในผนังดานในของอวัยวะ ที่เปนรูปทอเพื่อปลอยยาไดนานขึ้น

เครื่องมือใหมใชอัลตราซาวนดผสานพันธุศาสตร กระตุนเซลลสมองสวนลึก McKelvey School of Engineering, Medgadget

24

¡.¤.-Ê.¤. 2564


Medical Techology นักวิจัยพัฒนาเทคนิค sonothermogenetics ประสาน อัลตราซาวนดกับการดัดแปลงทางพันธุศาสตรเพื่อควบคุม ระบบประสาทในพื้นที่สมองสวนลึก ดวยการใชไวรัสเปน พาหะนําวัสดุพันธุกรรมที่เขารหัสสําหรับชองไอออนไปยัง เซลลประสาทที่อยูลึกในสมอง การรั ก ษาความผิ ด ปกติ ท างระบบประสาทอย า งโรค พารกินสันและโรคลมชัก สามารถทําไดสําเร็จในบางกรณี ด ว ยการกระตุ  น สมองสว นลึก แตจะตองมีก ารฝงอุป กรณ การผาตัด แตเวลานี้คณะทํางานสหวิชาชีพที่ Washington University ในเซ็นตหลุยสไดพัฒนาเทคนิคการกระตุนสมอง แบบใหม โดยใชโฟกัสอัลตราซาวนด (focused ultrasound) ซึ่งสามารถเปดและปดเซลลประสาทบางชนิดในสมองได และ ควบคุมกิจกรรมการเคลื่อนไหวไดแมนยําโดยไมตองมีการฝง อุปกรณผาตัด

Chen กลาวและวา “sonothermogenetics มีศักยภาพที่จะ เปลี่ยนแปลงวิธีการของเราในการวิจัยทางประสาทวิทยาศาสตรและได คนพบวิธีการใหม ๆ ในการทําความเขาใจและรักษาความผิดปกติใน สมองของมนุษย โดยการใชตัวแบบหนูทดลอง Chen และคณะทํางานไดใชไวรัส เปนพาหะซึ่งมี TRPV1 ion channels ไปยังเซลลประสาทที่ถูกเลือก ทางพันธุศาสตรแลว จากนั้นไดสงระเบิดความรอนขนาดเล็กผานโฟกัส อัลตราซาวนดที่มีความเขมขนตํ่า (low-intensity focused ultrasound) ไปยังเซลลประสาทที่เลือกไวในสมองผานอุปกรณชนิดสวมใสได ความรอนซึ่งมีอุณหภูมิสูงกวารางกายเพียงไมกี่องศาไดกระตุน TRPV1 ion channel ซึ่งทําหนาที่เปนสวิตชเปดหรือปดเซลลประสาท

Yaoheng Yang Associate Professor Hong Chen

คณะทํางานที่นําโดย Hong Chen รองศาสตราจารย สาขาวิศวกรรมชีวการแพทยที่ McKelvey School of Engineering และสาขามะเร็งวิทยารังสีท่ี School of Medicine ได ใหหลักฐานโดยตรงเปนครั้งแรกซึ่งแสดงใหเห็นการกระตุนเซลล ประสาทบางชนิดในสมองของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม โดยไมมี การรุกลํา้ เขารางกาย ดวยการประสานผลของความรอนทีช่ กั นํา โดยอัลตราซาวนดกับพันธุศาสตร ซึ่งคณะทํางานใหชื่อเทคนิคนี้ วา sonothermogenetics นอกจากนั้น ยังเปนผลการศึกษาครั้งแรกที่แสดงวา การ ประสานรวมอั ล ตราซาวนด กั บ พั น ธุ ศ าสตร ส ามารถควบคุ ม พฤติกรรมไดเกิดผลดวยการกระตุนเปาหมายที่อยูลึกในสมอง มีการเผยแพรผลของการวิจัยเปนเวลา 3 ป ซึ่งไดรับทุน สนับสนุนจาก National Institutes of Health’s BRAIN Initiative ใน Brain Stimulation ฉบับออนไลน “งานของเราไดใหหลักฐานทีแ่ สดงวา sonothermogenetics กระตุนการตอบสนองทางพฤติกรรมในหนูทดลองที่เคลื่อนไหว ไดอิสระในขณะที่กําลังเล็งเปาหมายไปที่บริเวณสมองสวนลึก”

“เราสามารถย า ยอุ ป กรณ อั ล ตราซาวนด ซึ่ ง สวมไว บ นหั ว ของ หนูทดลองไปรอบ ๆ เพือ่ เล็งเปาหมายไปยังตําแหนงทีแ่ ตกตางกันทัง้ สมอง ได ในขณะทีห่ นูเคลือ่ นทีอ่ ยางอิสระ” Yaoheng Yang ผูเขียนรายงาน การศึ ก ษาคนที่ ห นึ่ ง และเป น นั ก ศึ ก ษาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาสาขาวิ ศ วกรรม ชีวการแพทย กลาวและวา “เนือ่ งจากไมไดเจาะหรือแทงเครือ่ งมืออะไร เขาสูร า งกาย เทคนิคนีจ้ งึ มีศกั ยภาพทีจ่ ะยกระดับสําหรับใชกบั สัตวขนาดใหญ และอาจใชกับมนุษยในอนาคต

Professor Jianmin Cui

¡.¤.-Ê.¤. 2564

25


Medical Techology ผลการศึกษาครัง้ นีเ้ ปนการตอยอดจากงานวิจยั ซึง่ เคยดําเนินการ ที ่ ห  อ งปฏิ บ ั ต ิ ก ารของ Jianmin Cui ศาสตราจารยส าขา ชีวการแพทย และไดรับการเผยแพรใน Scientific Reports เมื่อป 2016 Prof. Cui และคณะทํางานไดคนพบเปนครั้งแรก วา อัลตราซาวนดอยางเดียวสามารถมีอิทธิพลตอปฏิกิริยาใน ion channel และสามารถนําไปสูวิธีใหมที่ไมตองรุกลํ้าเขา รางกายเพื่อควบคุมปฏิกิริยาของเซลลบางชนิด ในผลการศึกษา คณะทํางานพบวา โฟกัสอัลตราซาวนดไดปรับกระแสตาง ๆ ที่ วิ่งผาน ion channel โดยเฉลี่ยถึงรอยละ 23 ขึ้นอยูกับความ แรงเขมขนของ ion channel และตัวกระตุน คณะผูวิจัยไดพบ ชองไอออน (ion channel) เกือบ 10 ชอง ดวยความสามารถนี้ แตทั้งหมดเปนชองที่ไวตอแรงกล (mechanosensitive) ไมใช ชองที่ไวตออุณหภูมิ (thermosensitive) ผลงานนี้ยังพัฒนาขึ้นจากแนวความคิดของพันธุศาสตรเชิง แสง (optogenetics) ซึ่งเปนการผนวกรวมการแสดงออกที่มี เปาหมายของชองไอออนซึ่งไวตอแสงกับการปลอยแสงที่แมนยํา ไปกระตุนเซลลประสาทที่อยูลึกเขาไปในสมอง

ในขณะที่ พั น ธุ ศ าสตร เชิ ง แสงเพิ่ ม การฟ น ตั ว ของวงจรประสาท (neural circuit) ใหม แตมีขอจํากัดในเรื่องความลึกที่แสงจะทะลุ ไปถึง เนื่องจากการกระจัดกระจายของแสงและจะตองมีการผาตัดฝง ใยแกวนําแสง (optical fiber) ขณะที่ Sonothermogenetics มีความหวังที่จะประสบความ สําเร็จในการเล็งเปาหมายที่ตําแหนงตาง ๆ ในสมองของหนูทดลอง ดวยความคมชัดระดับมิลลิเมตร โดยไมทาํ ใหเกิดความเสียหายตอสมอง Chen กลาว เธอและคณะผู ร ว มงานยั ง ทํ า งานต อ ไปเพื่ อ พั ฒ นาให เ ทคนิ ค นี้ มี ค วามเหมาะสมและทํ า ให ผ ลการค น พบของคณะทํ า งานมี ค วาม สมบูรณตอไป เทคนิคการกระตุนสมองแบบใหม ใชโฟกัสอัลตราซาวนด ซึ่งสามารถเปดและปดเซลลประสาทบางชนิดในสมองได และควบคุมกิจกรรมการเคลื่อนไหวไดแมนยํา โดยไมตองมีการฝงอุปกรณผาตัด

ผาอัจฉริยะปลอดแบตเตอรี่ตรวจสภาวะสุขภาพผูใชได วิศวกรที่ Purdue University พัฒนาวิธีเปลี่ยนผาธรรมดา ที่มีอยูแลวเปนวัสดุสวมใสท่ีไมตองใชแบตเตอรี่ทนตอการซัก นํา้ เสือ้ ผาอัจฉริยะ (smart clothes) นีไ้ ดรบั พลังงานแบบ ไรสายผานขดลวดทีท่ าํ จากไหมยืดหยุน ไดและเย็บไวบนเนือ้ ผา

บรรยายภาพ 1 ปลายนิ้วของถุงมือตรวจแรงดันไฟฟาแบบไรสายมีแสงสวางขึ้น เมื่อมือของผูสวมเขาใกลสายไฟฟาที่มีไฟวิ่งอยู

ในอนาคตอันใกล เสื้อผาทั้งหมดจะกลายเปนเสื้อผาอัจฉริยะ ซึง่ จะใชประโยชนไดมากกวาผาธรรมดาแบบเดิม โดยการใชวงจร อิเล็กทรอนิกสขนาดเล็กจิ๋วและตัวเซ็นเซอรจะชวยใหผูที่สวม เสื้อผาอัจฉริยะสามารถสื่อสารกับโทรศัพท คอมพิวเตอร รถยนต และเครื่องจักรอื่น ๆ ไดสะดวกราบรื่น

26

¡.¤.-Ê.¤. 2564

ผาอัจฉริยะนีไ้ มเพียงทําใหผสู วมสามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ไดดขี น้ึ แต ยั ง ช ว ยตรวจสถานะสุ ข ภาพและขอความช ว ยเหลื อ ได ถ า ผู ส วม ประสบอุบตั เิ หตุ เหตุผลทีผ่ า อัจฉริยะยังไมเปนทีน่ ยิ ม คือ การประดิษฐ ผาอัจฉริยะยังมีปญหาสําคัญที่ตองแกไขอยู ไดแก การที่เราจําเปนตอง ซักผาบอย ๆ และมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสไมชอบนํ้า แตในเวลานี้วิศวกรที่ Purdue University ไดพัฒนาวิธีการ พน/เย็บแบบใหมเพื่อเปลี่ยนผาแบบเดิมใหเปนวัสดุสวมใสโดยไมตอง ใชแบตเตอรี่และสามารถทําความสะอาดในเครื่องซักผาได “โดยการฉี ด พ น และเคลื อ บเสื้ อ ผ า ด ว ยโมเลกุ ล ที่ ไ ม ช อบนํ้ า (hydrophobic) เราสามารถทําใหเสื้อผากันนํ้า นํ้ามัน และโคลนได” Ramses Martinez ผูช ว ยศาสตราจารยจาก School of Industrial Engineering และ Weldon School of Biomedical Engineering ใน College of Engineering แหง Purdue University กลาว “เสื้อผาอัจฉริยะมีโอกาสนอยมาก ๆ ที่จะเกิดคาบและสามารถใช งานในนํ้าได ซักในเครื่องซักผาแบบที่ใชกันอยูได โดยไมเปนอันตราย กับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เย็บไวบนเนื้อผา” มีการเผยแพรเทคโนโลยีนี้ใน Nano Energy ความไมยืดหยุนและความสามารถในการระบายอากาศที่ลดลง ของเสือ้ ผาทีก่ นั นํา้ โดยทัว่ ไป ทําใหรสู กึ ไมสบายตัวหลังจากสวมไปแลว 2-3 ชั่วโมง “แตดวยการเคลือบที่บางมากเปนพิเศษ เสื้อผาอัจฉริยะของเรา จึงมีความยืดหยุน ขยายตัว และระบายอากาศได เหมือนกับเสื้อยืดที่ เปนผาฝายแบบดั้งเดิม” Martinez กลาว


Medical Techology เสื้อผาอัจฉริยะของ Purdue ไมตองใชแบตเตอรี่ใหพลังงาน เพียงแครับพลังงานจากคลื่นวิทยุ Wi-Fi ในสภาพแวดลอม เสื้อผา นี้จะสามารถใหพลังงานกับวงจรที่เย็บอยูบนเนื้อผาได ตัวอยางของถุงมือไมมีแบตเตอรี่ซึ่งมีแสงสวางขึ้นมาที่ปลาย นิ้วทุกครั้งที่ผูใชถุงมือเขาใกลสายไฟฟาที่มีกระแสไฟฟาวิ่งอยู เพื่อเตือนวาอาจจะมีไฟฟาช็อกได อีกตัวอยางคือ ระบบตรวจ ติดตามหัวใจขนาดเล็กที่เย็บติดกับสเวทแบนดที่ซักไดมีความ สามารถในตรวจติดตามสถานะสุขภาพของผูสวมได “อุปกรณสวมใสเหลานี้ ไดรับพลังงานจากสัญญาณ Wi-Fi ที่มีอยูทุกหนแหง จะทําใหเราไมตองคิดวาผาเปนแคผาที่ชวย

ใหเราอบอุนเทานั้น แตยังเปนเครื่องมือที่สวมไปไหนมาไหนไดและ ถูกออกแบบใหชวยเราในชีวิตประจําวัน ตรวจสอบสุขภาพและชวย ปองกันเราจากอุบัติเหตุ” Martinez กลาว “เสื้อผาอัจฉริยะจะสามารถ สงขอมูลเกี่ยวกับทาทางและการ เคลื่อนไหวของผูสวมไปที่แอพพของโทรศัพทมือถือ ชวยใหเขาใจใน ความตัง้ ใจของมนุษยโดยไมจาํ เปนตองมีการเชือ่ มตออยางอืน่ ขยายวิธี การติดตอสื่อสาร ปฏิสัมพันธกับอุปกรณ และการเลนวิดีโอเกม” เราสามารถทําเทคโนโลยีน้ีขึ้นไดในโรงงานเย็บเสื้อผาขนาดใหญ แบบเดิม ซึ่งคาดวาจะเรงการพัฒนาและการทําใหมีการซื้อขายเสื้อผา อัจฉริยะในอนาคตได

บรรยายภาพ 2 ขดลวดที่มาจากไหมยืดหยุนไดถูกเย็บไวบนเนื้อผาอัจฉริยะ และสามารถรับพลังงานจากสัญญาณวิทยุและ Wi-Fi ในสภาพแวดลอมได วิศวกรของ Purdue University ไดพัฒนาวิธีการเปลี่ยนแปลงผาในปจจุบัน ใหเปนวัสดุที่สวมไดโดยไมตองมีแบตเตอรี่และทนตอการซัก (Purdue University photo/Rebecca McElhoe)

ผาอัจฉริยะนี้ไมเพียงทําใหผูสวม สามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ไดดีขึ้น แตยังชวยตรวจสถานะ สุขภาพและขอความชวยเหลือได ถาผูสวมประสบอุบัติเหตุ

บรรยายภาพ 3 การเคลือบชั้นของโมเลกุล fluorinated บนเสื้อผาอัจฉริยะ ที่ระบายอากาศไดและกันนํ้าได เพื่อปองกันคาบและทนทานตอการทําความสะอาดดวย เครื่องซักผาแบบเดิม (Purdue University photo/Rebecca McElhoe)

¡.¤.-Ê.¤. 2564

27


ข อมูลสุขภาพ ระวัง! อันตรายจากสารเคมีที่ทําใหเกิดควันพิษ

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เตือนประชาชน ระมัดระวังอันตรายจากสารเคมีที่ทําใหเกิดควันพิษ หากสูด ดมเขาไป อาจเกิดการระคายเคืองตอเยือ่ บุทางเดินหายใจได โดยเฉพาะในกลุ ม เสี่ ย งหากได รั บ ควั น พิ ษ เข า สู ร า งกาย อาจสงผลกระทบตอสุขภาพมากกวาปกติ พรอมแนะวิธี ปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อสัมผัสหรือสูดดมควันพิษเขาไป และขอใหประชาชนติดตามขอมูลขาวสารจากหนวยงาน ราชการอยางใกลชิด นพ.โอภาส การยกวินพงศ อธิบดีกรมควบคุมโรค กลาว วา จากกรณีที่มีรายงานขาวไฟไหมโรงงานพลาสติก และมีการ ระเบิดเกิดขึ้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ทําใหมีควันพิษลอยขึ้น เต็มทองฟา สงผลใหประชาชนที่อยูในพื้นที่ไดรับผลกระทบตอ สุขภาพเปนอยางมากนัน้ กรมควบคุมโรคไดสง่ั การไปยังหนวยงาน ในสังกัดทัง้ ในสวนกลาง ไดแก กองโรคจากการประกอบอาชีพ และสิง่ แวดลอม ใหตดิ ตามและเฝาระวังสถานการณของควันพิษ อยางตอเนือ่ ง พรอมทีมลงพืน้ ทีร่ ว มกับหนวยงานในสวนภูมภิ าค ไดแก สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี ใหลง พื้นที่คัดกรองสุขภาพผูที่ไดรับผลกระทบในรัศมีที่เกี่ยวของ ในวันที่ 6-7 ก.ค. นี้ เพื่อประเมินสถานการณความปลอดภัย อีกครั้ง โดยเนนการเฝาระวัง 2 กลุม คือ 1.กลุมประชาชน ที่อาศัยอยูในพื้นที่เสี่ยง จะมีการเฝาระวังติดตามผลกระทบ ดานสุขภาพอยางตอเนื่อง 2.กลุมเจาหนาที่เผชิญเหตุ ไดแก พนักงานดับเพลิง จะมีการตรวจคัดกรองสุขภาพเพื่อติดตาม อาการและเฝาระวังผลกระทบหลังการปฏิบัติงาน สารเคมีที่ทําใหเกิดควันพิษในครั้งนี้ คือ สารเคมีสไตรีนโมโนเมอร เปนสารเคมีที่มีลักษณะเปนของเหลว ใส ไมมีสี แตมีกลิ่นเฉพาะตัว สามารถกลายเปนไอระเหยและลุกติดไฟได และพิษจากสารเคมีอื่น ๆ ที่เกิดจากการเผาไหมสไตรีน ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด และกาซคารบอนมอนอกไซด ควันดํา หรือฝุน PM10 และ PM2.5 ถาสูดดมเขาไป จะทําใหเกิด 28

¡.¤.-Ê.¤. 2564

การระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ปวดศีรษะ มึนงง ออนเพลีย คลื่นไส และมึนเมา หากไดรับสารพิษปริมาณมาก อาจทําใหเกิดอาการ หมดสติและเสียชีวิตได หรือถาสัมผัสถูกผิวหนัง จะรูสึกระคายเคืองผิว ทําใหผิวแดง แหง และแตก ซึ่งสารสไตรีนโมโนเมอรยังเปนสารที่อาจ กอใหเปนมะเร็งได นอกจากนี้ ผลกระทบจากควันพิษดังกลาว หากประชาชนอยูใน รัศมี 5 กม. ใหอพยพดวนทีส่ ดุ 7 กม. ใหเฝาระวังสูงสุด และ 10 กม. ใหเฝาระวัง ซึ่งควันพิษอาจสงผลใหประชาชนในพื้นที่มีความเสี่ยงปวย จาก 4 กลุ  มโรค ดั ง นี ้ 1.กลุ  มโรคหั ว ใจและหลอดเลื อด เชน เหนือ่ ยงาย หัวใจเตนเร็ว 2.กลุม โรคระบบทางเดินหายใจ เชน คัดจมูก นํ้ามูกไหล แสบจมูกและลําคอ 3.กลุมโรคผิวหนังอักเสบ เชน อาการ คันตามรางกาย มีผื่นแดงตามรางกาย และ 4.กลุมโรคตาอักเสบ เชน อาการแสบหรือคันตา ตาแดง นํ้าตาไหล และมองภาพไมคอยชัด ทั้งนี้ ประชาชนกลุมเสี่ยง ไดแก กลุมเด็กเล็ก ผูสูงอายุ หญิงตั้งครรภ ผูที่มีโรคประจําตัว เชน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอด หอบ หืด ภูมิแพ เปนตน หากไดรับสารพิษเขาสูรางกาย อาจทําใหเกิดการ เจ็บปวยหรือมีผลกระทบตอสุขภาพที่รุนแรงมากกวาประชาชนทั่วไป สําหรับหลักการปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อสัมผัสกับควันพิษ ดังนี้ 1.หากโดนผิวหนัง ใหลางบริเวณที่ถูกสารเคมีโดยใชนํ้าสะอาดลาง ใหมากที่สุดเพื่อใหเจือจาง ถาสารเคมีถูกเสื้อผาใหถอดเสื้อผาออกกอน


ข อมูลสุขภาพ 2.หากเขาตา ใหลางตาดวยนํ้าสะอาดทันที โดยเปดเปลือกตาขึ้น ใหไหลผานตาอยางนอย 15 นาที แลวรีบนําสงโรงพยาบาลโดย เร็ว 3.หากมีการสูดดมควันพิษเขาไป ใหยายผูปวยไปที่ที่มีอากาศ บริสุทธิ์หรือมีอากาศถายเท และทําการประเมินการหายใจ หรือ การเตนของหัวใจ ถาชีพจรออนใหทําการปมหัวใจชวยชีวิต หรือ CPR และแจงไปที่เบอรสายดวนศูนยแพทยฉุกเฉิน โทร. 1669

ทั้งนี้ ขอใหประชาชนที่อยูในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากควันพิษ สวมใสหนากากทีม่ ไี สกรองทําดวยชารโคลเปนวัสดุดดู ซับ (CHACOAL MASK) และติดตามขอมูลขาวสารจากหนวยงานราชการอยางใกลชดิ เพื่อเตรียมความพรอมอยูเสมอหากมีการประกาศอพยพเพิ่มเติม สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ กองโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดลอม กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3866

แนวทาง 4 D มาตรการหลักยกระดับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย กระทรวงสาธารณสุข ใชแนวทาง 4 D (Diet, Development & play, Dental และ Diseases) ยกระดับสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัย สงเสริมพัฒนาการดานอาหาร การเลน สุขภาพฟน และการป อ งกั น โรค พรอ มยํ้าใหสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวั ย เข ม งวดมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอยางเครงครัด ปองกันโควิด-19 ดร.สาธิต ปตเุ ตชะ รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงสาธารณสุข เปดเผยภายหลังเปนประธานเปดอาคารสถานสงเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย และพิธีลงนามขอตกลงความรวมมือเพื่อการพัฒนา คุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยดานสุขภาพ (4D) เขตสุขภาพ ที่ 7 ณ สถานสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ศูนยอนามัยที่ 7 ขอนแกน วา การยกระดับคุณภาพการดําเนินงานของสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยนัน้ เปนสิง่ สําคัญ โดยเฉพาะดานสุขภาพรางกายของเด็ก กระทรวงสาธารณสุขจึงไดออกมาตรการหลักที่สําคัญเพื่อมุงเนน ในการขับเคลื่อนงานดานสุขภาพเด็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 4 ดาน “4D” ไดแก D ที่ 1 คือ Diet หรือ ดานโภชนาการและการเจริญเติบโต มุงเนนการจัดทําเมนูอาหารที่มีความปลอดภัยและมีคุณคาทาง โภชนาการที่เหมาะสม D ที่ 2 คือ Development & play หรือดานพัฒนาการ และการเลน มุงเนนใหครูผูดูแลเด็กสามารถเฝาระวังและติดตาม พัฒนาการเด็กดวยเครื่องมือ DSPM ได พรอมทั้งสงเสริม พัฒนาการเด็กผานการเปนอิสระ (3F : Family free Fun) D ที่ 3 คือ Dental หรือดานสุขภาพฟน มุงเนนใหเด็กปฐมวัย ทุ ก คนต อ งแปรงฟ น หลั ง อาหารกลางวั น ทุ ก วั น ด ว ยยาสี ฟ น ผสมฟลูออไรด และมีกิจกรรมตรวจฟน และสําคัญที่สุดในยุคโควิด-19 คือ D ที่ 4 คือ Diseases หรือดานการปองกันโรค มุงเนนใหครูผูดูแลเด็กสามารถจัด สภาพแวดลอมที่สะอาดเหมาะสม เพื่อการเฝาระวังและปองกัน ควบคุมโรคในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะการสอนใหเด็ก รูจักลางมือ สวมหนากาก และจัดกิจกรรมแบบ small group เพื่อลดการสัมผัสโรค ซึ่งจากขอมูลรายงานเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึงสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ใน

สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย จังหวัดขอนแกน เบื้องตนพบกลุมผูติดเชื้อ โควิด-19 จํานวน 42 คน แบงเปนเด็กเล็ก 34 คน ครู 8 คน และ จากขอมูลกรมควบคุมโรคเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2564 พบวา เด็กเล็ก 0-5 ป ติดเชื้อสะสมรวม 4,960 คน ซึ่งอาจจะเปนการ แพรหรือติดเชื้อไปสูครอบครัวได กระทรวงสาธารณสุขจึงเนนยํ้าให สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและครอบครัวเฝาระวังปองกันเพื่อลดความ เสี่ยงโควิด-19 อยางตอเนื่อง ทางดาน นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิง่ เจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย กลาววา กรมอนามัยขอใหสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกแหงทัว่ ประเทศ ประเมินตนเองผาน Thai stop COVID Plus เพื่อใชในการเฝา ระวัง ปองกันและควบคุมโรคโควิด-19 และปฏิบัติตามมาตรการของ กระทรวงสาธารณสุขอยางเครงครัด โดยใหหนวยงานตนสังกัดของ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยประเมินรับรองกอนเปดและสนับสนุนการ ฉีดวัคซีนแกครูพี่เลี้ยงและเจาหนาที่ทุกคนในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมถึงคนในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย เพื่อสรางภูมิคุมกันปองกัน โควิด-19 นอกจากนี้ ในชวงที่เปดทําการควรกําหนดจุดรับ-สง เขาออกเฉพาะจุดเทานั้น และไมอนุญาตใหบุคคลภายนอกเขามายัง บริเวณพื้นที่ภายในของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มีจุดคัดกรองวัดไข จุดลางมือ ลางเทา เปลี่ยนเสื้อผาเด็ก รวมทั้งเตรียมการทําความ สะอาดสถานที่ อุปกรณ ยานพาหนะรับ-สงเด็ก และควรกําหนด พื้นที่เวนระยะหาง เชน การทํากิจกรรม การจัดพื้นที่นอน และการ รับประทานอาหารดวย โดยในสวนของครูและผูดูแลเด็กนั้น ขอใหประเมินตนเองผาน “ไทยเซฟไทย” มีการทําความสะอาดรางกายกอนปฏิบตั งิ าน และสวม หนากากอนามัยตลอดเวลาที่อยูกับเด็ก สวนพอแม ผูปกครอง ควร ดูแลเด็กเปนพิเศษ หากไมมีความจําเปนไมควรพาเด็กออกจากบาน แตทุกครั้งเมื่อออกจากบานตองสวมหนากากใหกับเด็กใหเหมาะสม ตามชวงวัย หากพบวาตนเองมีอาการเจ็บปวยใหหยุดงานและพบแพทย ทันที

¡.¤.-Ê.¤. 2564

29


ข อมูลสุขภาพ ความปลอดภัยจากการใชเครื่องเอกซเรยเคลื่อนที่แบบพกพา นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย กลาววา จากสถานการณระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของไดจดั บริการรักษา พยาบาลนอกโรงพยาบาล เชน จัดตั้งโรงพยาบาลภาคสนาม ทํ า ให ค วามต อ งการใช เ ครื่ อ งเอกซเรย เ คลื่ อ นที่ แ บบพกพา ประกอบการดําเนินการเพิม่ มากขึน้ กรมวิทยาศาสตรการแพทย โดย สํานักรังสีและเครื่องมือแพทย เปนหนวยงานที่กํากับดูแล มาตรฐานของเครือ่ งเอกซเรย เครือ่ งเอกซเรยเคลือ่ นทีแ่ บบพกพา ที่นํามาใชวินิจฉัยผูปวยนั้น ตองคํานึงถึงลํารังสีและระยะโฟกัส ถึ ง ผิ ว ผู  ป  ว ยจะมี ผ ลกั บ คุณภาพของภาพถายทางรังสี ซึ ่ ง เครื่ อ งเอกซเรย เ คลื่ อ นที่ แ บบพกพาอาจจะมี ข อ จํ า กั ด ที่ ไ ม สามารถกํ า หนดขอบเขตอวั ย วะที่ ต อ งการถ า ยภาพรั ง สี แ ละ ขนาดลํารังสีได นอกจากนั้น การเคลื่อนไหวจากการถายภาพ ของเจาหนาที่ อาจสงผลใหภาพถายทางรังสีไมชัดเจน เกิดการ ถายภาพซํ้า ทําใหสวนอื่น ๆ ของรางกายอาจไดรับรังสี หรือ ปริมาณรังสีที่ผูปวยไดรับเกินความจําเปน รวมถึงผูปฏิบัติงาน และบุ ค คลอื่ น ที่ อ ยู ใ นระยะใกล ข ณะที่ ทํ า การฉายรั ง สี ใ ห กั บ ผูปวยก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายไดเชนกัน และไมเปนไป ตามหลักการปองกันอันตรายจากรังสี (ALARA “As low as reasonably achievable”) ที่วาดวยเรื่องการไดรับปริมาณ รังสีนอยที่สุดอยางสมเหตุสมผล กรมวิทยาศาสตรการแพทย ไดจัดทําและเผยแพรมาตรฐานคุณภาพเครื่องเอกซเรยวินิจฉัย ทางการแพทย ป พ.ศ.2562 เพื่อใชเปนแนวทางกํากับดูแล มาตรฐานเครื่องเอกซเรย อยางไรก็ตาม การใชเครื่องเอกซเรยเคลื่อนที่แบบพกพา ควรดําเนินการเฉพาะสถานการณฉกุ เฉิน เชน ออกพืน้ ทีภ่ าคสนาม หรือในโรงพยาบาลสนามทีเ่ ครือ่ งเอกซเรยทม่ี อี ยูใ นสถานพยาบาล ไมสามารถนําออกไปใชได และตองมีมาตรการดานความปลอดภัย อยางรัดกุม พิจารณาอยางรอบคอบในเรื่องระยะจากหลอด เอกซเรยถึงผิว เพื่อความปลอดภัยของผูปวย รวมทั้งเจาหนาที่ ปฏิบัติงานและบุคคลอื่นที่อยูโดยรอบ ในการปฏิบัติการตองมี ขาตั้งตัวเครื่อง สวิตชควบคุมเครื่องเอกซเรยระยะไกล (remote control) มีอุปกรณปองกัน การสะทอนของรังสี ควรใชเครื่อง เอกซเรยเคลื่อนที่แบบพกพาในหองที่สามารถปองกันรังสีได เพื่อความปลอดภัยแกบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับการฉายรังสี วิธีการปฏิบัติในกรณีติดตั้งเครื่องเอกซเรยเคลื่อนที่แบบ พกพา เพื่อใชงานในโรงพยาบาลสนาม ดังนี้ 1.ตองมีและใชอุปกรณและวิธีการปองกันอันตรายจาก รังสีตามมาตรฐานคุณภาพเครื่องเอกซเรยวินิจฉัยทางการแพทย ของกรมวิ ท ยาศาสตร ก ารแพทย ป พ.ศ.2562 กลาวคื อ 30

¡.¤.-Ê.¤. 2564

ใชเวลาในการปฏิบัติงานใหนอยที่สุดเทาที่จําเปน อยูหางจากแหลง กําเนิดรังสีใหมากที่สุดเทาที่สามารถปฏิบัติงานได และใหมีอุปกรณ ปองกันรังสี 2.ขณะปฏิบัติงานเจาหนาตองสวมเสื้อกําบังรังสี ปลอกคอกําบัง รังสีหรือแผนกําบังอวัยวะสืบพันธุ โดยวัสดุกําบังรังสีอาจทําดวยตะกั่ว หรือวัสดุเทียบเทากับตะกั่วที่มีความหนาอยางนอย 0.25 มิลลิเมตร 3.บริ เวณที่ ดํ า เนิ น การด า นรั ง สี ต อ งสามารถป อ งกั น รั ง สี ก ระเจิ ง โดยตองมีผนังหรือฉากทีส่ ามารถเพียงพอ ทีจ่ ะปองกันรังสีรวั่ บริเวณพืน้ ที่ ควบคุมไดไมเกิน 100 ไมโครซีเวิรตตอสัปดาห และบริเวณไมควบคุม ตองไมเกิน 20 ไมโครซีเวิรตตอสัปดาห 4.ผูปฏิบัติใหอยูหางจากแหลงกําเนิดรังสีไมตํ่ากวา 3 เมตร โดย เครือ่ งเอกซเรยเคลือ่ นทีใ่ นภาคสนาม ตองมีสายควบคุมการเอกซเรย หรือ รีโมท เพื่อปองกันไมใหผูปฏิบัติอยูใกลแหลงกําเนิดรังสี 5.ในกรณีจําเปนตองเอกซเรยสตรีตั้งครรภ ตองมีการปองกันรังสี บริเวณทองใหไดรับรังสีนอยที่สุด 6.เครื่ อ งเอกซเรย ต อ งได รั บ การตรวจสอบคุ ณ ภาพเครื่ อ งและ ความปลอดภัยตามคูมือมาตรฐานคุณภาพเครื่องเอกซเรยวินิจฉัยทาง การแพทย กรมวิทยาศาสตรการแพทย ป พ.ศ.2562


ข อมูลสุขภาพ สสส. จับมือ สสช. และภาคีเครือขายสํารวจ พฤติกรรมสุขภาพคนไทย ลดปจจัยเสี่ยง NCDs สสส. ผนึกสํานักงานสถิติแหงชาติ ลงนามความรวมมือทาง วิชาการ สํารวจพฤติกรรมสุขภาพคนไทย ป 2564 ปูพรม เอกซเรย 4 พฤติกรรมเสี่ยง “สูบบุหรี่-บริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล-กินอาหารที่ไมเหมาะสม-ขาดกิจกรรมทางกาย” ทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ หาตนตอลดพฤติกรรมเสีย่ งสุขภาพ สู NCDs เมือ่ วันที่ 29 มิถนุ ายน 2564 ทีศ่ นู ยเรียนรูส ขุ ภาวะ สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมกับ สํานักงาน สถิติแหงชาติ (สสช.) และภาคีเครือขาย รวมพิธีลงนามบันทึกขอ ตกลง (MOU) ความรวมมือทางวิชาการ ขอมูล และการสนับสนุน ทางเทคนิค การสํารวจพฤติกรรมดานสุขภาพของประชากร ดร.สุปรีดา อดุลยานนท ผูจัดการกองทุน สสส. กลาววา การดําเนินงานรวมกันระหวาง สสส. สสช. และภาคีเครือขาย ในการพัฒนาโครงการสํารวจพฤติกรรมสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงคเพื่อจัดทําฐานขอมูลที่จําเปน สําหรับ ประเมินสถานการณกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง (Non-communicable diseases; NCDs) ของคนไทย โดยศึกษาความชุกจาก ปจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ไดแก การสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล การบริโภคอาหารที่ไมเหมาะสม การขาดกิจกรรม ทางกาย รวมกับความสัมพันธระหวางตัวแปรทางเศรษฐกิจและ สังคมในครัวเรือน จากกลุมตัวอยางทุกจังหวัดของประเทศไทย โดย สสส. สนับสนุนดานวิชาการในการดําเนินงานของโครงการ ซึ่งเปนการดําเนินงานพัฒนาระบบฐานขอมูลปจจัยเสี่ยงทางดาน สุขภาพ ภายใตยุทธศาสตรการทํางานดาน NCDs ของ สสส. “ฐานข อ มู ล การสํ า รวจพฤติ ก รรมสุ ข ภาพมี ค วามสํ า คั ญ และจําเปนในการขับเคลื่อนงานสรางเสริมสุขภาพ เพราะชวยให รูส าเหตุพฤติกรรมของคนไทย เพือ่ ลดปจจัยเสีย่ งตอกลุม โรค NCDs ในทุกระดับ ทั้งระดับโลก ประเทศ และระดับพื้นที่ ตลอด 10 ป ที่ผานมา กลุมโรค NCDs เปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของ คนไทย จากรายงานสถานการณโรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิต สูง และปจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวของ พ.ศ. 2562 โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบวา คนไทย เสียชีวิตดวยโรค NCDs ราวปละ 4 แสนราย หรือวันละไมตํ่ากวา 1,000 ราย คิดเปน 3 ใน 4 การเสียชีวิตทั้งหมดของประเทศ และ ครึ่งหนึ่งเปนการเสียชีวิตกอนวัยอันควร กลุมโรค NCDs ถือเปน ภัยเงียบที่รายแรงกวาโควิด-19 หลายเทา” ดร.สุปรีดา กลาว น.ส.วันเพ็ญ พูลวงษ ผูอ าํ นวยการสํานักงานสถิตแิ หงชาติ กลาวถึงสาระสําคัญของบันทึกขอตกลงฉบับนี้วา สสช. และ สสส. เห็นชอบตรงกันถึงประโยชนตอการดําเนินการตามภารกิจ

ทั้ง 2 หนวยงาน จึงไดตกลงรวมกันจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือ ทางวิชาการ ขอมูล และการสนับสนุนทางเทคนิคฉบับนี้ โดย สสช. รับผิดชอบบริหารจัดการในการดําเนินงานสํารวจทุกขั้นตอน เพื่อให ไดขอมูลที่เกี่ยวของกับปจจัยเสี่ยงทางดานสุขภาพ โดยไดรับความ รวมมือจากสํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ กระทรวง สาธารณสุข ในการใหขอเสนอแนะทางวิชาการ รวมทั้งประสานงาน กับหนวยงานภายในกระทรวงสาธารณสุข เพื่อใหการดําเนินงานสําเร็จ บรรลุตามวัตถุประสงค นอกจากนี้ สสช. ยังไดตกลงให สสส. ใชขอมูล จากสํามะโนและสํารวจที่จัดทํา ซึ่งเปนขอมูลที่ไดจัดเก็บและจัดทําใน รูปแบบของขอมูลที่ไมเปดเผยใหรูตัวบุคคลหรือขอมูลที่มิใชขอมูลสวน บุคคล เพื่อประโยชนแก สสส. ในการวิเคราะหและติดตามภาวะสังคม ของประเทศ ขณะเดียวกัน สสช. สามารถใชขอมูลของ สสส. และภาคีเครือขายตามที่ไดตกลงรวมกัน ซึ่งเปนขอมูลที่ สสส. ไดจัดเก็บและจัดทํา ในรูปแบบของขอมูลที่ไมเปดเผยใหรูตัวบุคคล หรือขอมูลที่มิใชขอมูล สวนบุคคล เพื่อประโยชนในการปรับปรุงการใหบริการและการบริหาร จัดการตามภารกิจของ สสช. ทั้งนี้ การนําขอมูลไปใชวิเคราะห อางอิง รวมทั้งเผยแพรขอมูลตอสาธารณชนในเชิงสถิติหรือเชิงวิชาการ ไมวา จะอยูในรูปของสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส ทั้ง สสช. และ สสส. จะเผยแพรขอมูลในลักษณะภาพรวมเพื่อประโยชนทางดานวิชาการ เทานั้น โดยจะไมเปดเผยขอมูลสวนบุคคลหรือขอมูลที่สามารถระบุ ตัวบุคคล เพื่อประโยชนสูงสุดตอประชาชน และองคกรตาง ๆ ทั้งนี้ ขอมูลการสํารวจพฤติกรรมดานสุขภาพของประชาชน จะนําเสนอ สรุปผลสําคัญไดภายในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 ขอขอบคุณแหลงที่มา : สํานักขาวสรางสุข, สสส.

¡.¤.-Ê.¤. 2564

31


News in Medicine สธ. จัดวัคซีนบูสเตอรโดสแกบุคลากรการแพทย พรอมปรับ 4 มาตรการควบคุมโรค

กระทรวงสาธารณสุขปรับ 4 มาตรการควบคุมโรค เพือ่ ธํารงรักษาระบบสาธารณสุข จัดหาวัคซีนบูสเตอรโดส ใหบคุ ลากรการแพทยดา นหนา เรงฉีดวัคซีน 2 กลุม เสีย่ ง เฉพาะพื้นที่กทม. ใหได 70% ในเดือนนี้ พรอมเสนอ Work From Home ใสหนากากทีบ่ า นและทีท่ าํ งาน เพื่อลดจํานวนผูติดเชื้อ วันนี้ (5 กรกฎาคม 2564) ที่ศูนยแถลงขาวโรค ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี นพ.เกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พรอมดวยผูบริหาร แถลงขาวการบริหารจัดการดาน การแพทย แ ละสาธารณสุ ข ในสถานการณ โ ควิ ด -19 โดย นพ.เกียรติภูมิ กลาววา ขณะนี้สถานการณการ ระบาดของโรคโควิด-19 เพิ่มขึ้นมาเปนวันละ 6 พันราย สวนใหญยังอยูใน กทม. และปริมณฑล สวนตางจังหวัด ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจากประชาชนที่เดินทางมาจาก กทม. มีลักษณะกระจายตัว ควบคุมดูแลได “ทีน่ า หวงคือ กทม. ทีเ่ ปนเมืองใหญ เมือ่ มีการติดเชือ้ เพิ่มขึ้นมาก ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขไมไดเปนผูดูแล พื้นทีโ่ ดยตรง จึงเขามาชวยเหลือสนับสนุนการควบคุมโรค 32

¡.¤.-Ê.¤. 2564

การบริหารจัดการเตียง เชน เปดเตียง ร.พ.บุษราคัมเพิ่ม ดูแลผูปวย อาการปานกลาง สีเหลือง 1,500 เตียง และสัปดาหนี้ไดรวมกับ โรงพยาบาลเอกชน โรงเรียนแพทย เปดเตียงไอ.ซี.ยู. ดูแลผูป ว ยอาการ หนัก (สีแดง) รวมกันมากกวา 100 เตียงทันที และประสานสงตอให เขารับการดูแลรักษาทุกคน” นพ.เกียรติภูมิกลาว จากสถานการณที่พบผูติดเชื้อจํานวนมากใน กทม. และปริมณฑล กรมควบคุมโรคไดเสนอปรับมาตรการควบคุมโรคใหเหมาะสมใน 4 มาตรการ คือ 1.การคนหาผูติดเชื้อ ดูแลรักษา แยกกัก และ ควบคุมโรค เนนผูสูงอายุและผูเสี่ยงปวยรุนแรง 2.การจัดการเตียง มีการกักตัวดูแลรักษาที่บาน หากมีอาการมากขึ้นจะสงตอเขารักษา 3.มาตรการวัคซีน โดยจัดวัคซีนบูสเตอรโดสใหบคุ ลากรทางการแพทย ดานหนา เพื่อใหภูมิคุมกันสูงขึ้นปองกันไวรัสกลายพันธุได โดย คณะวิชาการจะพิจารณาวาจะใชวัคซีนตัวไหนแตจะดําเนินการใหเร็ว ที่สุด เพื่อรักษาระบบสาธารณสุขของประเทศเดินหนาใหบริการ ประชาชนได รวมถึงเนนฉีดวัคซีนในผูสูงอายุและ 7 กลุมโรค โดยวัคซีนที่จะไดในเดือนกรกฎาคมนี้รอยละ 80 จะฉีดให 2 กลุมนี้ เพื่อลดอัตราการปวยรุนแรงและเสียชีวิต และปรับจากการฉีดปูพรม มาฉีดกลุมเฉพาะเนนควบคุมโรคในพื้นที่ระบาด และ 4.มาตรการ ทางสังคมและองคกรกอนเขาสูชีวิตวิถีใหม


News in Medicine “การปรับเปลีย่ นกลยุทธการควบคุมโรค 4 มาตรการนัน้ เพื่อลดจํานวนผูติดเชื้อใหเร็วที่สุด อยางไรก็ตาม ขอให ประชาชนรวมกันดูแลตนเองไมใหตดิ เชือ้ ไมนาํ เชือ้ มาติดผูส งู อายุ และกลุมเปราะบางที่บาน ใสหนากาก ลางมือ วัดอุณหภูมิ รางกาย ไมเดินทางไปสถานที่ตาง ๆ โดยไมจําเปน และ จะใชมาตรการวัคซีนรวมดวย หากทําตามแผนจะทําใหการ ระบาดของโรคลดลงได มีปริมาณเตียงเพียงพอรับผูปวย และ พยายามใหทุกคนในประเทศมีภูมิคุมกัน ประเทศเดินหนาตอ ไปได กลับไปใชชีวิตแบบนิวนอรมัล” นพ.เกียรติภูมิกลาว ดาน นพ.โอภาส การยกวินพงศ อธิบดีกรมควบคุม โรค กลาววา มาตรการควบคุมโรคในตางจังหวัดโดยเฉพาะ ที่มีการติดเชื้อไมมาก จะเฝาระวังผูปวยระบบทางเดินหายใจ ที่ไปโรงพยาบาล ผูปวยปอดอักเสบ และมาตรการสวม หนากาก ลางมือ เวนระยะหาง การสอบสวนโรค คนหา ผูติดเชื้อเพื่อกักกันโรคตามความเสี่ยงสูงเสี่ยงตํ่า คนหา เชิ ง รุ กในชุ ม ชนเขมขน สวน กทม. และปริมณฑล ชว ง กรกฎาคม-สิงหาคมนี้ จะปรับมาตรการใหสอดคลอง โดย เน น ปกป องผู  ส ู ง อายุและผูเ สี่ยงปวยอาการรุนแรง คือ 1.จัดทําฟาสตแทร็กหรือทางดวนสําหรับ 2 กลุมนี้ใหไดรับ การตรวจลําดับแรก ๆ รักษาในโรงพยาบาลทันที เพื่อลด การปวยรุนแรงและเสียชีวิต 2.บุคคลกลุมอื่นจะปรับการ ตรวจการติดเชื้อไปจุดอื่น เชน หนวยตรวจเชิงรุก คลินิก ชุมชน เปนตน 3.ปรับการสอบสวนควบคุมโรค เนนไมให เกิดกลุมกอนใหญ (คลัสเตอร) หาจุดเสี่ยงการระบาดใหญให ทันเวลา การสอบสวนเฉพาะราย (ไทมไลน) ใหแตละจุดตรวจ ดําเนินการแทน และ 4.การควบคุมเชิงรุกในจุดเสี่ยงที่ทําให เกิดการระบาดวงกวาง (ซูเปอร สเปรดเดอร) ทํามาตรการ Bubble and Seal ในกลุมแรงงานตางดาว แคมปกอสราง โรงงานสถานประกอบการ ตลาดสด ตลาดขนาดใหญ ชุ ม ชนแออั ด เรื อนจํา สถานพินิจ แหลง รวมตัวใหญ ๆ เนอรสซิ่ง แคร ผูสูงอายุ รวมกับทาง กทม. สําหรับมาตรการวัคซีนนัน้ เดือนกรกฎาคมนีต้ ง้ั เปาหมาย ไว 10 ลานโดส จะกระจายทุกสัปดาห สัปดาหละ 2-2.5 ลานโดส เนนในผูสูงอายุ และ 7 กลุมโรคเรื้อรัง ซึ่งเปน กลุมเสี่ยงปวยมีอาการรุนแรง โดยในพื้นที่ กทม. มีประมาณ 1.8 ลานคน จะระดมฉีดใหไดรอยละ 70 ภายใน 2 สัปดาห ปริมณฑลฉีดใหครบในกรกฎาคมนี้ และจังหวัดอื่นฉีดภายใน สิงหาคมนี้ สวนการฉีดเพื่อควบคุมการระบาดโดยเฉพาะ จุดเสี่ยงที่จะระบาดในวงกวาง เชน โรงงาน ตลาด เปนตน จะฉีดวัคซีนชุมชนโดยรอบเพื่อปองกันการแพรกระจาย กลุม เสี่ยงติดเชื้อสูง และกลุมที่มีโอกาสแพรกระจายเชื้อสูง

สําหรับการยกระดับมาตรการสังคมและองคกร โดยเฉพาะ กทม. และปริมณฑล ตองบังคับมาตรการ Work From Home ใน สถานทีห่ นวยงานราชการ หนวยงานของรัฐทีไ่ มเปนหนวยบริการ ปองกันควบคุมโรค หรือรักษาพยาบาล และในสถานประกอบ การเอกชนขนาดใหญใหไดรอยละ 70 และสื่อสารใหประชาชน เพิ่มความเขมขนมาตรการสว นบุค คล ประยุกตห ลั ก การ Bubble and Seal มาใชกับตัวเองและครอบครัว เนื่องจาก สวนใหญติดเชื้อที่บานและที่ทํางาน จึงขอใหใสหนากากให มากทีส่ ดุ ทัง้ บานและทีท่ าํ งาน งดกิจกรรมอืน่ ทีไ่ มจาํ เปน โดยเฉพาะ การรับประทานอาหารรวมกัน และระมัดระวังการเดินทาง นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย กลาววา จํานวนผูปวยโควิด-19 เพิ่มขึ้นเกือบ 1 หมื่นราย ในชวง 1 เดือน ที่ผานมา โดยวันที่ 4 มิถุนายน มีผูปวยครองเตียง 19,430 ราย วันที่ 4 กรกฎาคม มีผูปวยครองเตียง 28,247 ราย เพิ่มขึ้นทุก ระดับความรุนแรง ทั้งสีเขียว สีเหลือง และสีแดง โดยสีแดงเพิ่ม จาก 657 ราย เปน 1,130 ราย หรือตองใชเตียงไอ.ซี.ยู. เพิ่ม เทาตัวใน 1 เดือน มีผูปวยใสทอชวยหายใจจาก 200 กวาราย เปนเกือบ 400 ราย บุคลากรดานหนามีจาํ นวนเทาเดิมแตภาระงาน เพิม่ มากขึน้ ทัง้ นี้ การปรับมาตรการทางการแพทยจะปรับระบบ การรักษาโดยเนนลดการเสียชีวิต ไดแก 1.การเพิ่มเตียงและ เปดโรงพยาบาลสนามผานการบูรณาการของ 5 เครือขาย คือ กทม. กรมการแพทย โรงเรียนแพทย โรงพยาบาลเอกชน และโรงพยาบาลทหาร ตํารวจ โดยเพิ่มเตียงในทุกระดับสี 2.ผูติดเชื้อที่ไมมีอาการดําเนินการมาตรการ Home Isolation และ Community Isolation ซึ่งเริ่มแลวใน กทม. และ ปริมณฑล เฉพาะของโรงพยาบาลกรมการแพทยดูแลผูปวย Home Isolation แลวเกือบ 100 ราย และวันนี้จะหารือ ภาคประชาสังคม เอ็นจีโอ และเอกชนทํา Community Isolation “ที่ผานมาเราไมอยากใชการดูแลผูปวยที่บานและชุมชน ถาบุคลากรทางการแพทยไมตึงมือจริง ๆ เพราะหากอาการแยลง ที่บานจะไมมีการดูแล และอาจแพรเชื้อในบานและชุมชน หาก แยกตัวเองไมได แตสถานการณตอนนี้บุคลากรหนางานมีความ เหนื่อยลาตองนํามาตรการมาใช โดยแจกเครื่องมือปรอทวัดไข เครื่องวัดออกซิเจนในเลือด และมีการเทเลเมดิซีนติดตามอาการ คนไขทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง ถามีอาการรุนแรงมีการจายยาให ที่บาน หากอาการแยลงจริง ๆ จะมีการสงตอรักษา สวนการ ใหผูปวยอยูบานไมออกไปซื้ออาหารขางนอก ทาง สปสช. มี การจายเงินใหโรงพยาบาลซื้ออาหาร 3 มื้อ สงใหผูปวยถึงบาน ซึ่งประกันสังคมอยูระหวางการหารือเพื่อใหสิทธิดวย ตอนนี้เรา พยายามปรับเปลี่ยนสถานการณเพื่อใหระบบสาธารณสุขอยูได และบุคลากรไมเหน็ดเหนื่อยจนเกินไป” นพ.สมศักดิ์กลาว

¡.¤.-Ê.¤. 2564

33


News in Medicine สบยช. ชวนสงตอ Line Official “หวงใย” เสมือนมีหมอเปนที่ปรึกษาใกลตัว กรมการแพทย โดยสถาบั น บํ า บั ด รั ก ษาและฟ  น ฟู ผ ู  ต ิด ยาเสพติ ด แห งชาติ บรมราชชนนี (สบยช.) ร ว มกั บ กลุม โรงพยาบาลธัญญารักษทั้ง 6 แหง จัดทํา Line Official “ห ว งใย” ระบบแชทบ็ อ ตตอบได ท ุ ก เรื ่ อ งเกี ่ ย วกั บ ยาและ สารเสพติด เสมือนมีหมอเปนทีป่ รึกษาใกลตวั ชวนสงตอแทน ความรักและปรารถนาดีตอกัน นพ.มานัส โพธาภรณ รองอธิบดีกรมการแพทย กลาววา ป ญ หายาเสพติ ด ส ง ผลกระทบต อ ชี วิ ต และความเป น อยู ข อง ประชาชน ทัง้ ตอตัวผูเ สพ และผูใ กลชดิ เกิดคําถามมากมายที่ ไมสามารถปรึกษาบุคคลอืน่ ได เชน ติดหรือยัง ทํายังไงลูกถึงจะ เลิกใชยาได คงจะดีกวาถาเรามีหมอเสมือนเปนที่ปรึกษาใกลตัว เพียงสงสัยหรือมีปญหาเกี่ยวกับเรื่องยาและสารเสพติดก็สามารถ เขาไปถามได กรมการแพทย โดยสถาบันบําบัดรักษาและฟนฟู ผูติดยาเสพติดแหงชาติบรมราชชนนี (สบยช.) รวมกับกลุม โรงพยาบาลธัญญารักษทั้ง 6 แหง จึงจัดทํา Line Official “หวงใย” ระบบแชทบ็อตตอบคําถามอัตโนมัติ ที่จะตอบได ทุกเรื่องเพื่อประเมินตัวเองเกี่ยวกับการติดสารเสพติดและการ ใหคําปรึกษาทั้งสําหรับผูเสพและสําหรับบุคคลใกลชิดที่อยาก ใหความชวยเหลือคนที่เรารักใหสามารถ ลด ละ เลิก การใชยา และสารเสพติด กลับมาดําเนินชีวิตไดตามปกติอีกครั้ง ซึ่งนับวา เปนการตอบโจทยการเขาถึงขอมูลทางการแพทยสาํ หรับยุคดิจทิ ลั

34

Á.¤.-¡.¾. 2564

นพ.สรายุทธ บุญชัยพานิชวัฒนา ผูอ าํ นวยการสถาบันบําบัดรักษา และฟนฟูผูติดยาเสพติดแหงชาติบรมราชชนนี กลาวเพิ่มเติมวา ผูที่ ประสบปญหาเรื่องยาและสารเสพติด รวมถึงผูที่สนใจสามารถเพิ่มเพื่อน Line Official ‘หวงใย’ โดยพิมพในชองคนหาโดยใช คําวา “@1165huangyai” ก็สามารถใชง านไดเ ลยโดยไมตอ งลงทะเบียนอะไรเพิ่ม เติม ภายใน Line Official ‘หวงใย’ จะพบกับเมนูตาง ๆ ไมวาจะเปน การประเมินตนเอง วา ติด/ไมติด ซึ่งถาเรารูตัวเร็ว ก็สามารถเขาสูกระบวนการบําบัดเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไดเร็วขึ้น ทั้งนี้ ยังมีการรวบรวมคําถามที่พบบอยไว เพื่อเปนแนวปฏิบัติเบื้องตน สําหรับผูติดยาและสารเสพติด เชน เมื่อไร ที่ตองเขารับการบําบัดรักษา การเตรียมตัวกอนรับการบําบัด หรือสถานที่ บําบัดรักษา สําหรับผูที่กําลัง อยูใ นชว งเลิกสารเสพติด มีค ําแนะนํา เพื่อเลี่ยงสถานการณที่จะตองกลับไปใชยา หรือกระบวนปรับความคิด สูการปฏิบัติ ในสวนของพอแม ผูปกครองที่เปนหวงบุตรหลานวัยรุน จะมีวิธีสังเกตอาการผูใชยารูปแบบตาง ๆ เพื่อคอยดูแลอยูหาง ๆ อยาง หว ง ๆ และใหค วามชว ยเหลือ อยางทันทว งทีตอ ไปได นอกจากเรื่อง สารเสพติดแลว Line Official “หวงใย” ยังมีการประเมินสุขภาพตนเอง เกี่ยวกับโควิด-19 ชวยคลายความกังวลเกี่ยวกับสถานการณในชวงนี้ได อีกดวย หากในวันพรุงนี้ทานตองการสงตอความคิดถึงหรือสวัสดีตอนเชา ทางไลน สบยช. และโรงพยาบาลธัญญารักษภูมิภาคทั้ง 6 แหง ฝากทาน สงตอ Line Official ‘หวงใย’ ใหเพื่อน ๆ แทนความรักและปรารถนาดี ตอกัน




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.