ฟาร์มาไทม์ ฉบับ 159

Page 1

ป‚ที่ 19 ฉบับที่ 159 Jan.-Feb. 2023 www.medi.co.th จับตาบทบาทใหม‹ของยา Metformin ในขŒอบ‹งใชŒสำหรับป‡องกันภาวะสมองเสื่อม
ปที่ 19 ฉบับที่ 159 ม.ค. – ก.พ. 2566 ¤ÍÅÑÁ¹»ÃШíÒ 7 9 28 23 4 บทบรรณาธิการ 5 สกูปปก - จับตาบทบาทใหมของยา Metformin ในขอบงใชสําหรับปองกันภาวะสมองเสื่อม 7 News Update - เรารูอะไรบางแลวเกี่ยวกับโควิดสายพันธุใหม XBB.1.5 9 เจาะขาวตลาดยา 12 บทความพิเศษ - “แบคทีเรียกินเนื้อ” - รูจัก “โรคแพความสูง” ภัยเงียบของนักเดินเขา สาเหตุและอาการเปนอยางไร 15 เทคโนโลยีสุขภาพ 17 หนึ่งโรค หนึ่งรู 19 รายงานพิเศษ - SDG Updates | ปจจัยสังคมกําหนดสุขภาพจิตผานบริบท SDGs โดย The Lancet Commission on Global Mental Health and Sustainable Development 23 รูทันโรค 26 ขอมูลสุขภาพ 28 สมุนไพรใกลตัว 30 โลกสุขภาพ 32 เกร็ดนารูเรื่องสุขภาพ 34 ปฏิทินขาว

Katherine Samaras (หัวหนาหองปฏิบัติการ ทางดาน Clinical Obesity, Nutrition and Adipose Biology ของ Garvan Institute of Medical Research และเปนแพทยผูเชี่ยวชาญทางดาน endocrinology ของ St Vincent’s Hospital ในนครซิดนีย ของออสเตรเลีย)

5 Á.¤.-¡.¾. 2566 สกูปปก หลังจากมีหลักฐานการศึกษาเชิงสังเกต (observational study) ที่แสดงใหเห็นวา การใช metformin ยาลดนํ้าตาลในเลือดที่ถือเปนเสาหลักของการรักษา โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 รวมกับการควบคุมอาหารและ การออกกําลังกายมาเปนเวลายาวนานจนถึงปจจุบัน มีความเชื่อมโยงกับการชะลอลงของภาวะรูคิดถดถอย (cognitive decline) และอัตราการเกิดภาวะสมองเสื่อม (dementia) คณะนักวิจัยในออสเตรเลียไดเริ่มทํา การศึกษาทางคลินิกในระยะที่ 3 เพื่อหาคําตอบที่ ชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับผลของยา metformin ใน การปองกันภาวะสมองเสื่อม ในเดือนตุลาคม ป 2022 คณะนักวิจัยของ Garvan Institute of Medical Research สถาบันวิจัยทาง
ศึกษาทางคลินิกระยะที่ 3 (phase III clinical trial) เพื่อ ทดสอบวายา metformin สามารถชะลอกระบวนการ ภาวะรูคิดถดถอย ซึ่งเปนลักษณะสําคัญที่มีความจําเพาะ ตอการพัฒนาไปสูภาวะสมองเสื่อมไดจริงหรือไม การศึกษานี้มีชื่อวา Preventing Cognitive Decline With Metformin (MetMemory) ซึ่งเปน interventional clinical trial แบบ randomized controlled trial เปรียบเทียบระหวาง metformin (ยา metformin ในรูปแบบ extended-release tablet ขนาด 500 ถึง 2,000 mg/day) และ placebo โดยเปนการศึกษาทางคลินิกที่รวมมือกันทําระหวาง Garvan Institute of Medical Research และ ศูนย Centre for Healthy Brain Ageing (CHeBA) ของ University of New South Wales (UNSW Sydney) และไดรับทุนวิจัยสนับสนุนจาก National Health and Medical Research Council ของออสเตรเลีย ซึ่งคณะ ผูวิจัยตั้งเปาวาจะคัดเลือกอาสาสมัครจํานวนทั้งสิ้น ประมาณ 242 คน เขารวมในการศึกษานี้ที่จะใชระยะ เวลาทั้งสิ้น 3 ป MetMemory มีเกณฑคัดเขา (inclusion criteria) หลัก ๆ สําหรับ อาสาสมัครผูที่จะไดรับการคัดเลือกใหเขารวมการศึกษา ไดแก มีอายุ ตั้งแต 60 ปขึ้นไป, มีภาวะนํ้าหนักเกินหรืออวนลงพุง [ดัชนีมวลกาย (body mass index หรือ BMI) มากกวา 25.0 kg/m2, รอบเอว ผูหญิงมากกวา 80 เซนติเมตร ผูชายมากกวา 94 เซนติเมตร], มีภาวะ mild cognitive impairment (mild neurocognitive disorder) จากการประเมินดวย DSM-5 criteria เชน เริ่มมีอาการหลงลืม เสียความจําระยะสั้น ลืมสถานที่ที่คุนเคย แตสุดทายอาจจะนึกได, ไมไดเปนโรคเบาหวาน (fasting blood glucose นอยกวา 7.0 mmol/L and HbA1c นอยกวา 6.5%) และไมไดอยูระหวางการใชยา metformin จับตาบทบาทใหมของยา Metformin ในขอบงใชสําหรับปองกันภาวะสมองเสื่อม ศ.พญ. Katherine Samaras กลาววา ทีมงานวิจัยของ Garvan Institute of Medical Research และ CHeBA กําลังดําเนินการศึกษา วิจัยที่นาสนใจเกี่ยวกับประโยชนของยา metformin ที่อาจจะมีผล อยางแทจริงในการชะลอหรือหยุดกระบวนการของ cognitive decline ที่ปจจุบันยังไมมีการรักษาใด ๆ ที่มีประสิทธิภาพในการชะลอหรือหยุด กระบวนการนี้ “ยา metformin ไดรับการรับรองจาก Therapeutic Goods Administration (TGA) หนวยงานดานยาของออสเตรเลีย และ metformin เปนหนึ่งในยาที่แพทยทั่วโลกนิยมสั่งจายใหกับผูปวยมากที่สุด เนื่องจาก metformin เปนยาที่มีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย และมีราคาถูก สําหรับใชในการรักษาผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 มานานถึงประมาณ 60 ปแลว โดย metformin สามารถลดการหลั่งกลูโคสจากตับ และ ชวยใหเซลลมีการตอบสนองที่ดีขึ้นตอระดับนํ้าตาลในกระแสเลือด” ศ.พญ. Katherine Samaras กลาว คณะนักวิจัยของ Garvan Institute of Medical Research และ CHeBA ตัดสินใจรวมกันทําการศึกษาทางคลินิกในระยะที่ 3 เกี่ยวกับผล ของยา metformin ในการชะลอหรือหยุดกระบวนการ cognitive decline หลังจากมีผลการศึกษาที่นาสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวาง การใชยา metformin ในผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 และการชะลอของ กระบวนการ cognitive decline และอัตราการเกิดภาวะสมองเสื่อม ที่ลดลง ซึ่งรายงานออกมาในวารสาร Diabetes Care ฉบับเดือน พฤศจิกายน ป 2020 โดยผลของการศึกษาที่มีชื่อวา Sydney Memory
การแพทยชั้นนําในออสเตรเลียภายใตการนําของ ศ.พญ.
ไดเริ่มคัดเลือกผูที่จะเขารวมในการ
6 Á.¤.-¡.¾. 2566 สกูปปก and Ageing Study ซึ่งเปนการศึกษาแบบ prospective observational study ที่ดําเนินการโดย ศ.พญ. Katherine Samaras และคณะ ที่ใชเวลาในการศึกษานานถึง 6 ป แสดงใหเห็นวากลุมผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไดรับยา metformin มีอุบัติการณของภาวะ สมองเสื่อมอยูที่ 6% (4 คน) ซึ่งนอยกวาอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุมผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุ ระหวาง 70-90 ป ที่ไมไดรับยา metformin (14.5%; 8 คน) และยังนอยกวาเมื่อเทียบกับกลุมผูปวยที่ไมไดเปน เบาหวาน ชนิดที่ 2 และไดรับยา metformin (8.2%; 73 คน) ในแงการลดลงของความเสี่ยงในการเกิดภาวะสมอง เสื่อม แปลผลไดวา การใชยา metformin ในผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 และเปนผูสูงอายุ (อายุระหวาง 70-90 ป) สามารถลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองเสื่อมลงได ถึง 81% (hazard ratio 0.19, p = .03) เมื่อเทียบกับ ผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 และเปนผูสูงอายุ (อายุระหวาง 70-90
metformin และยังพบวากลุมผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไดรับยา metformin มี executive function decline ที่ชากวาอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p = .006) เมื่อเทียบกับกลุมผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไมไดรับยา metformin Sydney Memory and Ageing Study เปน prospective observational study ในอาสาสมัครที่อาศัยอยูในชุมชนในนครซิดนีย จํานวนทั้งสิ้น 1,037 คน อายุระหวาง 70-90 ป และไมไดมีภาวะ สมองเสื่อมเมื่อเริ่มตนการศึกษา โดยในจํานวนนี้มีอาสาสมัครที่เปน เบาหวาน ชนิดที่ 2 จํานวน 123 คน (12%) ซึ่งในจํานวนนี้มีผูที่ได รับยา metformin เพียงอยางเดียว จํานวน 67 คน และที่ไดรับยา metformin รวมกับยาลดนํ้าตาลในเลือดตัวอื่น ๆ จํานวน 33 คน (ยาลดนํ้าตาลในเลือดกลุม sulfonylureas เปนยารักษาเบาหวาน ที่ผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ไดรับรวมกับยา metformin บอยที่สุด) สําหรับผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ในการศึกษานี้ ที่ไมไดรับยา metformin จํานวน 56 คนนั้น มีอยู 34 คน ที่ใชวิธี ควบคุมอาหารแตเพียงอยางเดียว สวนที่เหลือไดรับยาลดนํ้าตาลในเลือด ตัวอื่น ๆ โดยตลอด 6 ปของการศึกษา ผูเขารวมการศึกษาทั้งหมดตางก็ ไดรับการทดสอบ cognitive function ดวย neuropsychological testing ทั้งเรื่องของ memory,
และ language
ในทุก ๆ 2 ป พรอมกันนี้ผูเขารวมการ ศึกษาทั้งหมดยังไดรับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของ total
และ
ดวยการตรวจ MRI (magnetic resonance imaging) เมื่อเริ่มตนการศึกษา และที่ 2 ปของการศึกษาอีกดวย อยางไรก็ตาม ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติทั้งในแงของ global cognition decline และ executive function decline ระหวางกลุมผูปวย เบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไดรับยา metformin และกลุมผูที่ไมไดเปนเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไดรับยา metformin อนึ่ง ขอมูลจากองคการอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) ที่เผยแพรลาสุดออกมาในเดือนกันยายน ป 2022 พบวา ปจจุบันทั่วโลกมีผูที่มีภาวะสมองเสื่อมอยูมากกวา 55 ลานคน และในทุก ๆ ปมีผูปวยภาวะสมองเสื่อมรายใหมเกิดขึ้นเกือบ 10 ลาน คนทั่วโลก โดยโรคอัลไซเมอร (Alzheimer’s disease) เปนรูปแบบ ของภาวะสมองเสื่อมที่พบไดบอยที่สุด (ราว ๆ 60-70% ของผูที่มีภาวะ สมองเสื่อม) ปจจุบันภาวะสมองเสื่อมเปนสาเหตุตน ๆ อันดับที่ 7 ใน หมูโรคภัยไขเจ็บทั้งหมดที่ทําใหเกิดการเสียชีวิตและทุพพลภาพของ ประชาชนทั่วโลก และแมภาวะสมองเสื่อมมักจะเกิดขึ้นกับผูสูงอายุเปน สวนใหญ แตไมไดหมายความวาภาวะสมองเสื่อมเปนสิ่งที่ไมสามารถ หลีกเลี่ยงไดสําหรับผูชราวัยทุกคน แหลงที่มาของขอมูล : www.garvan.org.au, https://cheba.unsw. edu.au, https://diabetesjournals.org, www.medscape.com
ป) ที่ไมไดใชยา metformin ขณะที่ผลการศึกษาในแงของ cognitive decline พบวา กลุมผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไดรับยา metformin มี global cognition decline ตํ่ากวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = .032) เมื่อเทียบ กับกลุมผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อายุระหวาง 70-90 ป ที่ไมไดรับยา
executive function, attention, speed
test
brain, hippocampal
parahippocampal volumes
7 Á.¤.-¡.¾. 2566 News Update เรารูอะไรบางแลวเกี่ยวกับโควิดสายพันธุใหม XBB.1.5 ไวรัสโควิดสายพันธุยอยใหมที่กําลังแพรระบาดใน สหรัฐอเมริกาอยาง XBB.1.5 ทําใหเกิดความกังวล เพราะ มันแพรกระจายไดอยางรวดเร็ว นอกจากในสหรัฐฯ แลว การแพระบาดของสายพันธุใหมนี้ ก็เริ่มมีจํานวนมากขึ้นในสหราชอาณาจักรเชนกัน แลวเราตองรู อะไรบางเกี่ยวกับ XBB.1.5 เพื่อเตรียมรับมือกับมัน XBB.1.5 คืออะไร และอาการของมันเปนอยางไร มันเปนไวรัสโควิดสายพันธุยอยที่แยกตัวมาจากโอมิครอน ที่ถือวาเปนสายพันธุหลักของโลกอยูในขณะนี้ ซึ่งเปนเชื้อไวรัส ที่กลายพันธุมาจาก อัลฟา เบตา แกมมา และเดลตา ที่เคยเปน สายพันธุหลักมากอนหนานี้ โอมิครอนเปนไวรัสที่มีประสิทธิภาพเหนือกวาไวรัสโคโรนา สายพันธุกอนหนานี้ทั้งหมดนับตั้งแตเริ่มตนของการระบาด ใหญไปทั่วโลกเมื่อปลายป 2021 และทําใหเกิดสายพันธุยอย จํานวนมาก ซึ่งทําใหแพรระบาดไดมากกวาสายพันธุยอยตัวเดิม อาการของ XBB.1.5 นั้นมีความคลายคลึงกับอาการของ โอมิครอน แตก็ยังเร็วเกินไปที่จะยืนยันวาอาการคลายคลึงกัน จริงหรือไม โดยผูปวยสวนใหญที่ติดเชื้อไวรัสสายพันธุยอยตัวนี้ มักมีอาการคลายเปนหวัด - ทําไมยอดปวย-ตายจากโควิด-19 ในจีนจึงตํ่ากวาหลาย ประเทศ - 2 ปผานไป ยังมีคนเคยติดโควิดจํานวนมากที่ยังขยะแขยง กับรสชาติอาหารอยู - ผานมา 2 ป เรารูอะไรบางเรื่องประสิทธิผลและอาการ ขางเคียงจากวัคซีนตานไวรัส XBB.1.5 ติดไดงายกวา หรือเปนอันตรายมากกวาสายพันธุยอย กอนหนาหรือไม XBB.1.5 พัฒนามาจาก XBB ซึ่งตรวจพบครั้งแรกในอินเดียใน เดือน ส.ค. 2022 แตยังไมไดจัดอยูในประเภทที่เรียกวา “สายพันธุที่ นากังวล” โดยหนวยงานดานสุขภาพ ตอมาเริ่มแพรระบาดในสหราช อาณาจักรเมื่อเดือน ก.ย. 2022 XBB มีการกลายพันธุที่ชวยใหเอาชนะภูมิคุมกันของรางกายได แตคุณสมบัติเดียวกันนี้ยังลดความสามารถในการติดเชื้อในเซลลของ มนุษยดวย ศาสตราจารย เว็นดี บารเคลย จากอิมพีเรียล คอลเลจ ลอนดอน กลาววา XBB.1.5 มีการกลายพันธุที่รูจักกันในชื่อ F486P ซึ่งมีความ สามารถในการยึดเกาะกับเซลลในขณะที่ยังคงหลบเลี่ยงภูมิคุมกันได ทําใหแพรกระจายไดงายขึ้น เธอกลาววา การเปลี่ยนแปลงทางดานวิวัฒนาการเหลานี้เปน เหมือนกาวแรกของเสนทาง เนื่องจากไวรัสมีวิวัฒนาการเพื่อคนหา วิธีการใหมในการหลีกเลี่ยงกลไกการปองกันตัวเองของรางกาย นักวิทยาศาสตรจากองคการอนามัยโลก (WHO) ยืนยันเมื่อ 4 ม.ค. วา XBB.1.5 มี “ความไดเปรียบในการเติบโต” เหนือสายพันธุ ยอยอื่น ๆ ทั้งหมดที่พบในปจจุบัน แตพวกเขากลาววา ไมมีขอบงชี้วามันรายแรงหรือเปนอันตราย มากกวาสายพันธุยอยกอนหนานี้อยางโอมิครอน
8 Á.¤.-¡.¾. 2566 News Update WHO กลาววา จะติดตามผลการศึกษาในหองปฏิบัติการ ขอมูลตามโรงพยาบาล และอัตราการติดเชื้ออยางใกลชิด เพื่อ หาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลกระทบที่มีตอผูปวย ศาสตราจารยพอล ฮันเตอร จาก University of East Anglia หรือมหาวิทยาลัยแหงอีสตอังเกลีย กลาววา “มีความเปนไปไดที่ XBB.1.5 จะกอใหเกิดการแพรระบาดระลอกแรกในปลายเดือนนี้ แตเรา ไมสามารถแนใจได” XBB.1.5 แพรกระจายไปที่ใดบาง กวา 40% ของผูติดเชื้อโควิดในสหรัฐอเมริกาคาดวา เกิดจากสายพันธุยอย XBB.1.5 ทําใหกลายเปนสายพันธุหลัก ในประเทศ เมื่อตนเดือน ธ.ค. 2022 ผูติดเชื้อสายพันธุยอย XBB.1.5 มีสัดสวนเพียง 4% ของผูติดเชื้อทั้งหมด ซึ่งทําใหในตอนนี้ XBB.1.5 ไดแซงหนาโอมิครอนสายพันธุยอยอื่น ๆ อยางรวดเร็ว การเขารับการรักษาในโรงพยาบาลของผูปวยโควิดเพิ่ม ขึ้นในชวงไมกี่สัปดาหที่ผานมาทั่วสหรัฐอเมริกา สํานักงานความมั่นคงดานสุขภาพแหงสหราชอาณาจักร (UK Health Security Agency) มีกําหนดจะออกรายงาน เกี่ยวกับสายพันธุที่แพรกระจายในสหราชอาณาจักรในสัปดาห หนา และอาจมีการกลาวถึงสายพันธุ XBB.1.5 สายพันธุยอย XBB.1.5 จะกลายเปนสายพันธุหลักใน สหราชอาณาจักรไดหรือไม ไมมีอะไรแนนอน แตก็มีความเปนไปได สหราชอาณาจักรเกิดการแพรระบาดของโอมิครอน 5 ระลอก ในป 2022 และการเพิ่มขึ้นของจํานวนผูปวยเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไมได ตัวเลขผูปวยประจําสัปดาหจนถึงวันเสารที่ 17 ธ.ค. จาก Sanger Institute หรือสถาบันแซงเกอร ในเคมบริดจ ชี้ให เห็นวา 1 ใน 25 ของผูปวยโควิดในสหราชอาณาจักรเปน XBB.1.5 แตขอมูลนั้นมาจากตัวอยางเพียง 9 ตัวอยาง ดังนั้น คง ตองรออีก 1 หรือ 2 สัปดาห เพื่อใหเห็นภาพที่ชัดขึ้นวาการแพร ระบาดจะเปนอยางไร ศาสตรจารยบารเคลยกลาววา เธอคาดวาจะมีผูเขารับการ รักษาในโรงพยาบาลมากขึ้นในสหราชอาณาจักร หากสายพันธุ ยอยเริ่มแพรระบาดในสหราชอาณาจักร “ตามที่เราคาดไว” นักวิทยาศาสตรกังวลเกี่ยวกับ XBB.1.5 หรือไม ศาสตราจารยบารเคลยกลาววา เธอไมไดกังวลเปนพิเศษเกี่ยวกับ ประชากรทั่วไปของสหราชอาณาจักร เนื่องจากไมมี “สัญญาณบงชี้” วา XBB.1.5 จะ “ทะลุทะลวง” เกราะปองกันการเจ็บปวยรุนแรงที่ ผูคนไดรับจากวัคซีนกันไปเปนสวนใหญแลว แตเธอกังวลเกี่ยวกับผลกระทบตอกลุมเปราะบาง ที่รวมถึงผูที่มี ภาวะภูมิคุมกันบกพรอง ซึ่งอาจมีเกราะปองกันที่อาจจะนอยกวาจาก การไดรับวัคซีนโควิด ศาสตราจารยฮันเตอรกลาววา เขาไมเห็นหลักฐานวา XBB.1.5 มี ความรุนแรงมากกวา ซึ่งหมายความวาอาจจะไม “ทําใหคุณตองเขารับ การรักษาตัวที่โรงพยาบาลหรือฆาคุณ” มากกวาสายพันธุโอมิครอนที่ มีอยู “เปนเรื่องนาขันที่ทุกคนมุงความสนใจไปที่สายพันธุยอยที่เปนไป ไดวาจะเกิดขึ้นจากจีน แตแทจริงแลว XBB.1.5 มาจากสหรัฐฯ” เขา กลาวเสริม ศาสตราจารยเดวิด เฮยมันน จาก London School of Hygiene and Tropical Medicine ซึ่งเปนมหาวิทยาลัยดานสุขอนามัยและ เวชศาสตรเขตรอนในลอนดอน ยอมรับวา ยังตองอาศัยเวลาอีกพอ สมควรที่จะเรียนรูเกี่ยวกับสายพันธุยอยตัวลาสุดนี้ แตเขากลาววา ไมนาจะกอใหเกิดปญหาใหญในประเทศอยางอังกฤษ ซึ่งมีการฉีดวัคซีนในระดับสูงและการติดเชื้อของประชากรมากอนหนานี้ ความกังวลของเขา คือ ประเทศตาง ๆ เชน จีน ซึ่งมีทั้งปริมาณ ผูรับวัคซีนที่นอยและภูมิคุมกันตามธรรมชาติยังไมมากพอ อันสืบเนื่อง มาจากการปดประเทศที่ยืดเยื้อ “จีนจําเปนตองแบงปนขอมูลทางคลินิกเกี่ยวกับผูที่ติดเชื้อ เพื่อ ดูวาโควิดสายพันธุยอยเหลานี้มีพฤติกรรมอยางไรในกลุมประชากรที่ ไมมีภูมิคุมกัน” ศาสตราจารยเฮยมันนกลาว ขอขอบคุณแหลงที่มาขอมูล : https://www.bbc.com/thai/articles/crgvk8x4myro ขอขอบคุณแหลงที่มาของรูปภาพ : GETTY IMAGES

system overreacts)

9 Á.¤.-¡.¾. 2566 เจาะขาวตลาดยา Sunlenca เพิ่มโอกาสหายผูปวยเชื้อ HIV ยาตานไวรัส antiretroviral ตัวใหมที่ FDA เพิ่งอนุมัติ มีชื่อวา Sunlenca (lenacapavir) เพิ่มความหวัง ใหกับผูปวยดวยเชื้อไวรัส ชนิด 1 ที่ทําใหภูมิคุมกัน รางกายบกพรอง (เชื้อ HIV-1) เนื่องจากยาที่มีในตลาด กอนหนานี้ไมสามารถรักษาผูติดเชื้อ HIV-1 ไดทั้งหมด ไมวาจะเปนเพราะรางกายไมรับหรือทนตอยาได หรือ เพราะปจจัยความปลอดภัยอื่น ๆ หลังจากที่ผูปวยไดรับ Sunlenca โดสแรกไปก็สามารถใชยาตอไดดวยการฉีด 6 เดือน/ครั้ง ซึ่งเปนความสะดวกสําหรับผูปวย Sunlenca เปนยาตัวแรกในตระกูล capsid inhibitor ที่ FDA อนุมัติ โดยมีกลไกการทํางานดวยการสกัดกั้น เปลือกโปรตีนของไวรัส HIV-1 (the capsid) ซึ่งไปรบกวน ขั้นตอนสําคัญหลายขั้นตอนในรอบชีวิต (lifecycle) ของ ไวรัส ทําใหไมสามารถสรางตัวขึ้นมาใหมได โดสแรกของการใช Sunlenca เปนยาเม็ดรับประทาน และฉีดเขาใตผิวหนังในเวลาเดียวกัน จากนั้นจะเปนการฉีด อยางเดียวทุก ๆ 6 เดือน โดยใหใชรวมกับยา antiretroviral ตัวอื่น สวนความปลอดภัยและประสิทธิภาพของ Sunlenca นั้น ไดรับการยืนยันดวยผลการทดลองทางคลินิกแบบ multicenter กับผูปวย 72 คน ที่ติดเชื้อ HIV และรางกาย ตอตานยารักษาเชื้อ HIV หลายขนาน โดยผูสมัครที่รวม การทดลองตองมีไวรัสในเลือดระดับสูงแมจะใชยา antiretroviral ก็ตาม การทดลองแบงผูปวยออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่ง เปนการทดลอง double-blind แบบสุม ให Sunlenca สวนหนึ่งและยาหลอกอีกสวนหนึ่ง อีกกลุมเปนการทดลอง แบบเปดดวย Sunlenca แลวดูสัดสวนของผูปวยในกลุมสุม วาในระยะเวลา 14 วัน มีสัดสวนของคนที่ระดับไวรัส ลดลงถึงจุดที่กําหนดเทาไรเมื่อเทียบกับเสนฐาน (baseline) ซึ่งได ผลวา 87.5% ของผูปวยที่สุมใหใช Sunlenca นั้น เชื้อไวรัสลดลง เทียบกับ 16.7% ของคนที่สุมใหใชยาหลอก ผลการทดลองยังแสดงใหเห็นประสิทธิภาพของยาวา หลังจาก 26 สัปดาห ที่ใช Sunlenca รวมกับยา antiretrovial ตัวอื่น 81% ของผูปวยในกลุมแรกนี้สามารถควบคุม HIV RNA ไดถึงระดับที่เชื้อ HIV ตํ่าจนถือวาไมพบเชื้อแลว (undetectable) และผลนี้คงอยูใน 83% ของผูรวมการทดลองหลังจาก 52 สัปดาห สวนอาการไมพึงประสงคจากการใช Sunlenca ที่พบมาก ที่สุด คือ อาการบริเวณที่ฉีดยาและอาการคลื่นเหียนวิงเวียน บริเวณที่ฉีดยานั้นอาจพบอาการบวม เจ็บ หรือแดง และมีคําเตือนวา อาการบวมนั้นหากแข็งเปนกอนขึ้นมาอาจคงอยูระยะหนึ่งในผูปวย บางราย นอกจากนี้ มีคําเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยงที่จะเกิดอาการอักเสบ จากภาวะฟนตัวของระบบภูมิคุมกัน (immune
syndrome) ซึ่งเกิดขึ้นเวลาที่ระบบภูมิคุมกันแสดงปฏิกิริยามากเกินไป (immune
หลังจากรับการรักษา HIV ทั้งยัง มีโอกาสที่ยา Sunlenca ตกคางอยูในรางกายนานถึง 1 ป ซึ่งอาจ สงผลใหเกิดภาวะที่ยาตานไวรัสไมสามารถยับยั้งการเพิ่มจํานวน ของเชื้อไวรัสไดอีกตอไป แหลงขอมูล : 3https://bit.ly/3VETkqM
reconstitution

(clinically isolated syndrome) เปน ๆ หาย ๆ (relapsing-remitting) หรืออาการเริ่มพัฒนา อยางตอเนื่อง (secondary progressive) ULTIMATE I & II เปนการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized, double-blind, double-dummy, parallel group, active comparator-controlled 2 งาน ที่ทดลองกับผูปวย RMS 1,094 คน ใน 10 ประเทศ ระยะเวลา 96 สัปดาห โดยตองเปน ผูปวยที่มีอาการของโรคกําเริบอยางนอย 1 ครั้ง ในปกอนหนา กําเริบ 2 ครั้ง ใน 2 ปกอนหนา

10 Á.¤.-¡.¾. 2566 เจาะขาวตลาดยา หลังจากสงขอมูลจากการวิจัยทางคลิกนิก ULTIMATE I & II PHASE 3 ให FDA ก็อนุมัติยา BRIUMVI (UBLITUXIMAB-XIIY) คาด พรอมวางตลาดไตรมาสแรกปนี้ Briumvi เปนยารักษาอาการกําเริบใหมของโรคปลอก ประสาทเสื่อมแข็ง (Relapsing Forms of Multiple Sclerosis: RMS) นับเปนยา anti-CD20 monoclonal antibody ตัว แรกและตัวเดียวที่ไดรับการรับรองใหใชกับผูปวย RMS ไมวาจะ เปนผูปวยที่มีอาการแรกเริ่ม
และมี T1
และผูปวยตองมีคะแนน
ที่ 0-5.5 (มาตรวัด วาผูปวย MS ไดรับผลกระทบจาก MS มากนอยแคไหน) การทดลองสุมในอัตรา 1:1 ในวันแรกให Briumvi 150 mg ทางหลอดเลือดดํา (IV) กับผูปวยในเวลา 4 ชั่วโมง ในวัน 15 สัปดาห 24, 48 และ 72 ใหขนาด 450 mg ในเวลา 1 ชั่วโมง และ 450 mg ใน 1 ชั่วโมง ควบคูไปกับใหยาหลอกชนิด รับประทานทุกวัน สวนอีกการทดลองใหยาเทริฟลูโนไมด (Teriflunomide) ขนาด 14 mg วันละ 1 เม็ด ทุกวัน ควบคูไป กับใหยาหลอกทาง IV ในความถี่แบบเดียวกับ Briumvi แลวดู Primary end point ที่อัตรากําเริบของอาการในเวลา 1 ป และ Secondary end points ดูที่จํานวนของเนื้อเยื่อที่ไดรับความ เสียหายจากการใช Gadolinium กับ MRI (Gadoliniumenhancing lesions) ในสัปดาหที่ 96 และดูวา disability แยลง มากเพียงใด ผลปรากฏวาผูปวย RMS ที่รวมการทดลองมีอัตราการ กําเริบของอาการตํ่าลงเมื่อใช Briumvi และกระทบตอสมอง ลดลง (brain lesions on MRI) เมื่อเทียบกับการใชยา Terifl unomide ในระยะเวลา 96 สัปดาห ของการทดลอง แตไมสงผลอยางมีนัยสําคัญตอความเสี่ยงดาน worsening of disability สวนผลขางเคียงจากการให Briumvi ทาง IV นั้นคือ Infusion reactions ซึ่งมีอาการเหมือนกับไขหวัดใหญ กลาวคือ มี ไข หนาวสั่น ปวดศีรษะ นอกจากนี้ ยังรวมถึงภาวะหัวใจเตน เร็ว เวียนศีรษะ ระคายคอ เกิดผื่นแดง และ อาการแพรุนแรง ปฏิกิริยาภูมิแพแบบฉับพลัน (Anaphylactic reaction) ซึ่งใน การทดลอง ULTIMATE I & II นั้นพบวาผูปวยมีอาการของ Infusion reactions 48% โดยมีคนที่แสดงอาการเร็วสุดภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากไดรับยา IV ครั้งแรก และ 0.6% ของผูปวยที่รับ การรักษาดวย Briumvi แสดงอาการขางเคียงที่รุนแรงถึงขั้นที่ บางรายตองไดรับการรักษาอาการจากผลขางเคียงของยาใน โรงพยาบาล ทั้งนี้ MS เปนโรคที่เกิดจากเซลลเม็ดเลือดขาวบางชนิดใน ระบบภูมิคุมกันของรางกายทํางานผิดปกติ กอใหเกิดการอักเสบ และทําลายเนื้อเยื่อปลอกหุมประสาท (myelin sheath) ใน ระบบประสาทสวนกลาง ซึ่งหากเกิดการอักเสบและทําลาย ปลอกหุมประสาทบอยครั้ง จะสงผลใหเกิดแผลเปนสะสมขึ้น หลายบริเวณในระบบประสาท ผูปวยจะมีอาการผิดปกติในรูปแบบ ตาง ๆ ขึ้นกับตําแหนงที่มีการทําลายปลอกประสาท และอาจ นําไปสูภาวะทุพพลภาพทางระบบประสาทในระยะยาวได เปน โรคที่รักษาไมหายขาด แตการวินิจฉัยอยางรวดเร็วและถูกตอง จะชวยใหการรักษาเปนไปอยางเหมาะสมตั้งแตระยะแรก ผูปวย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และลดโอกาสเกิดภาวะทุพพลภาพในระยะ ยาวได Briumvi (ublituximab-xiiy) รายงาน ผลชวยรักษาอาการกําเริบของโรค MS ขอมูล : https://bit.ly/3X1JPD7 https://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa 2201904 https://www.bumrungrad.com/th/conditions/multiple-sclerosis
gadolinium (Gd)enhancing lesion ในปกอนหนา
Expanded Disability Status Scale (EDSS)
12 Á.¤.-¡.¾. 2566 บทความพิเศษ บทนําและนิยาม การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนังสามารถแบงไดตามความลึก ของผิวหนังที่มีการติดเชื้อ การติดเชื้อแบคทีเรียในระดับชั้นตื้น ตั้งแตหนังกําพราจนถึงชั้นไขมันสวนบน จะกอใหเกิดโรคไฟ ลามทุง และการติดเชื้อลงลึกถึงชั้นไขมันสวนลางจะกอให เกิดโรค cellulitis “แบคทีเรียกินเนื้อ” หมายถึง การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง ชั้นลึกถึงระดับเนื้อเยื่อหุมกลามเนื้อ (necrotizing fasciitis) มีอาการและอาการแสดงรุนแรง มักมีไข ปวดบวม แดงรอน และอาการอักเสบรวมดวย การวินิจฉัยและรักษาในระยะตน ของโรคจะสามารถลดอัตราการเสียชีวิตได สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียและทําใหเกิดการอักเสบ แบบมีเนื้อตายที่ผิวหนังตั้งแตชั้นหนังกําพราถึงชั้นเนื้อเยื่อหุม กลามเนื้อ พบบอยในผูปวยที่ภูมิคุมกันตํา มีโรคเบาหวาน หรือ โรคตับแข็ง เชื้อแบคทีเรียที่กอโรคแบงไดเปน 2 กลุม กลุมแรก เปนการติดเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดรวมกัน เชน เชื้อแอโรโมแนส (Aeromonas
กลุมที่ 2 เปนการติดเชื้อแบคทีเรีย 1 ชนิด ไดแก เชื้อสเตรปโตคอคคัส กรุปเอ (group A streptococcus) การติดเชื้อมักพบหลังการผาตัดหรือหลังประสบอุบัติเหตุทําให เกิดแผลและสัมผัสกับสิ่งแวดลอมที่มีเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งแตกตาง กันตามชนิดของเชื้อ เชน เชื้อแอโรโมแนสจะพบในนํ้าจืด นํ้ากรอย อาการและอาการแสดง ลักษณะอาการแสดงที่พบในระยะแรก คือ มีอาการเจ็บปวด บวมแดง รอน ที่ผิวหนังอยางมาก อาการบวมแดงจะลามอยาง รวดเร็ว อาจมีตุมนํ้ารวมดวย ตอมาสีของผิวหนังจะเริ่มเปลี่ยน เปนสีมวงและมีเนื้อตายเกิดขึ้น เมื่อมีเนื้อตายเกิดขึ้นผูปวยอาจ มีอาการชามาแทนที่อาการเจ็บปวด มักจะมีไขสูงและการติดเชื้อ แบคทีเรียในกระแสเลือดรวมดวย ผูปวยอาจมีภาวะช็อก และ มีการทํางานที่ลดลงของอวัยวะตาง ๆ เชน ไต ตับ เปนตน มักพบการติดเชื้อบอยที่บริเวณแขนและขา การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรค การวินิจฉัยที่สําคัญ คือ การผาตัดและพบวามีการติดเชื้อ หรือการตายของเนื้อเยื่อหุมกลามเนื้อ รวมถึงการตัดชิ้นเนื้อ สงเพาะเชื้อแบคทีเรียเพื่อหาเชื้อกอโรค ตองวินิจฉัยแยกโรค จากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อวัณโรคชนิดอื่น และโรคเสนเลือดอักเสบรุนแรงที่อาจทําใหเกิดเนื้อตายอยางนี้ได อ.พญ.จรัสศรี ียาพรรณ ภาควิชาตจวิทยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ม.มหิดล การพยากรณโรค การติดเชื้อแบคทีเรียในชั้นลึกระดับเนื้อเยื่อหุมกลามเนื้อ มีอัตรา การเสียชีวิตอยูที่ 17 - 49% ขึ้นกับโรคประจําตัวของผูปวยและ บริเวณของการติดเชื้อ ถาผูปวยมีภูมิคุมกันตํ่า หรือเปนโรคเบาหวาน โรคตับแข็ง จะทําใหมีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อ รวมถึงการติดเชื้อ จะลุกลามอยางรวดเร็ว สวนบริเวณของการติดเชื้อที่กวางหรือลึกมาก จะทําใหผูปวยมีอัตราการเสียชีวิตมากขึ้น การรักษา ผูปวยจําเปนตองไดรับการรักษาในโรงพยาบาล การรักษาเฉพาะ คือ การใชยาตานจุลชีพในรูปยาฉีดรวมกับการผาตัด การวินิจฉัยโรค และการรักษาตั้งแตระยะตนของโรคสามารถลดอัตราการเสียชีวิต ของผูปวยได คําแนะนําในการดูแลเบื้องตนและการปองกัน - ปองกันและระมัดระวังไมใหเกิดอุบัติเหตุบาดแผลที่สัมผัสกับ สิ่งแวดลอมที่สกปรก - ถามีแผลที่ผิวหนัง ใหหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสิ่งแวดลอม ที่สกปรก - ถาสัมผัสหรือประสบอุบัติเหตุทําใหเกิดแผล ควรลางทําความ สะอาดแผลดวยนํ้าสะอาดหรือสบูทันที ไมควรบงดวยเข็มหรือกรีด เปดแผลดวยตัวเอง เนื่องจากอุปกรณที่ไมสะอาดจะสงเสริมการติดเชื้อ ใหเพิ่มมากขึ้น - ถามีแผล อาการปวดบวม แดงรอนที่ผิวหนัง หรือมีไข ใหรีบ ไปพบแพทยเพื่อรับการวินิจฉัยและรักษาโดยทันที - ผูปวยที่มีภาวะภูมิคุมกันตํ่า โรคเบาหวาน โรคตับแข็ง มีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อ จึงตองใหความระมัดระวังเปนพิเศษ “แบคทีเรียกินเนื้อ” ขอมูลจาก : ศ.นพ.ภัทรชัย กีรติสิน Goldsmith LA, Katz S, Gilchrest B, Paller A, Leffell D and Wolff K, editors. Fitzpatrick’s Dermatology in General Medicine. 8th ed. USA: The McGraw-Hill companies; 2012 ขอขอบคุณที่มาของขอมูล : https://www.si.mahidol.ac.th/Th/ healthdetail.asp?aid=1124
spp)
13 Á.¤.-¡.¾. 2566 บทความพิเศษ “โรคแพความสูง” อันตรายที่ไมควรมองขามจากการทองเที่ยว ในพื้นที่สูงมากกวา 2,000-2,500 เมตร เหนือระดับนํ้าทะเล ปานกลางเปนตนไป มีสาเหตุและอาการอยางไร ปองกันได หรือไม นักทองเที่ยวที่เดินทางไปในพื้นที่ที่มีความสูงเหนือระดับนํ้าทะเล มาก ๆ เชน ทิเบต เปรู โบลิเวีย หรือไปปนเขาในประเทศเนปาล เนื่องจากบนที่สูง ความหนาแนนของโมเลกุลออกซิเจนจะนอยกวา อากาศในที่ตํ่าใกลระดับนํ้าทะเลอยางประเทศไทย ทําใหการสูด ลมหายใจเต็มปอด 1 ครั้ง จะไดจํานวนปริมาณของอากาศนอยลงกวา เดิม สงผลใหเกิดอาการขาดออกซิเจนแบบไมรูตัว และรางกายทํางาน หนักขึ้นเพื่อปรับตัว เชน หัวใจเตนเร็วขึ้น กระดูกไขสันหลังผลิต เม็ดเลือดมากขึ้น เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในรางกาย เปนตน จนทําใหเกิดอาการตาง ๆ ตามมา ตั้งแตอาการเล็ก ๆ นอย ๆ จน กระทั่งรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต โดยคนทั่วไปมักจะเริ่มมีอาการเมื่ออยูบน พื้นที่สูงตั้งแต 3,000 เมตร จากระดับนํ้าทะเล ซึ่งมีปริมาณออกซิเจน เพียง 75% ของอากาศระดับนํ้าทะเลในปริมาตรที่เทากัน โรคแพความสูงแบงเปน 3 กลุมอาการ ไดแก 1. Acute Mountain Sickness (AMS) เปนอาการเริ่มแรก เชน มีอาการปวดศีรษะเล็กนอย นอนไมหลับ ออนเพลีย คลื่นไส เปนตน หากมีอาการเชนนี้ ใหพักผอนมาก ๆ หลีกเลี่ยงการขึ้นไป ยังที่สูงกวานี้ ควรพักผอนจนกวาจะอาการดีขึ้นถึงไปตอ หากแยลง อาการจะหนักขึ้นไปเปนกลุมอาการที่ 2 หรือ 3 2. High Altitude Cerebral Edema หรือภาวะสมองบวมจาก การแพพื้นที่สูง อาการนี้เปนอาการตอเนื่องจาก AMS โดยมีอาการ ปวดศีรษะรุนแรง คลื่นไส อาเจียนมาก เดินเซ ชัก พูดไมรูเรื่อง โคมา หรือเสียชีวิต หากมีอาการดังกลาว ควรรีบลงจากระดับความสูงนั้น ใหเร็วที่สุด และไปพบแพทยในทันที 3. High Altitude Pulmonary Edema (HAPE) หรือนํ้าทวม ปอดจากการแพพื้นที่สูง จะมีอาการ เชน เหนื่อยมากขึ้น โดยมัก มีอาการเหนื่อยตอนกลางคืน และไอแหง ๆ ขอแตกตางระหวาง อาการกลุม AMS และอาการกลุมนี้ คือ หากเปน AMS เมื่อหยุดพักแลว จะมีอาการดีขึ้น แตหากเปนกลุมอาการ HAPE แมวาจะพักสัก ระยะหนึ่งแลว ก็ยังมีอาการเหนื่อยมากขึ้น และอยูเฉย ๆ ก็รูสึกเหนื่อย ซึ่งแสดงถึงอาการที่อันตรายมาก ตองพบแพทยและลงจากที่สูงในทันที อาการของโรคแพความสูง ในชวง 6-12 ชั่วโมงแรก รางกายอาจจะยังไมรูสึกผิดปกตินัก เนื่องจากอาจจะยังมีออกซิเจนสะสมในรางกายอยู แตเมื่อออกซิเจน ในรางกายนอยลง จะเกิดอาการ ดังนี้ - เหนื่อยงาย หายใจถี่ หัวใจเตนเร็วขึ้น เพราะเกิดจากการปรับ ตัวโดยธรรมชาติของรางกาย - ปวดศีรษะดานใตทายทอย เพราะเปนสมองที่สั่งงานเกี่ยวกับ ระบบทางเดินหายใจ รูจัก “โรคแพความสูง” ภัยเงียบของนักเดินเขา สาเหตุและอาการเปนอยางไร จากเหตุการณหญิงนักทองเที่ยวชาวไทย 2 ราย เสียชีวิต จากการเดินเขาที่ อันนะปุรณะ เซอรกิต ที่ประเทศเนปาล ขณะอยูที่ระดับความสูงเหนือนํ้าทะเล 4,200 เมตร นอกจาก นี้ ยังพบวามีนักเดินเขาตางชาติที่ไดรับบาดเจ็บและอาการปวย เชนเดียวกัน ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก โรคแพความสูง ภัยเงียบ สําหรับนักเดินทางที่ไมควรมองขาม โรคแพความสูง คืออะไร โรคแพความสูง หรือโรคแพพื้นที่สูง (Altitude sickness) เปนอาการของรางกายที่ขาดออกซิเจนจากการอยูบนที่สูง ซึ่งมี อากาศเบาบาง เพราะยิ่งสูง ออกซิเจนก็ยิ่งนอยลง พบไดใน
14 Á.¤.-¡.¾. 2566 บทความพิเศษ - อาหารไมยอย ทองเสีย ปากเขียวคลํ้า ฯลฯ แลวแต บุคคล แตหากมีอาการขั้นรุนแรง อาจช็อก หรือเสียชีวิตได โรคแพความสูง เกิดกับใครไดบาง โรคแพความสูง สามารถเกิดขึ้นไดกับคนทุกเพศ ทุกวัย แมผูสูงอายุอาจจะมีความเสี่ยงมากกวา เนื่องจากความสามารถ ในการปรับตัวของรางกายอาจไมดีเทากับคนวัยหนุมสาว และ อาจมีโรคประจําตัว อาทิ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง เปน ปจจัยชวยเรง แตเด็กเล็ก วัยรุน วัยทํางาน ก็มีอาการของโรคนี้ได เชนกัน ดังนั้น ความเสี่ยงที่นักทองเที่ยวจะเกิดโรคแพความสูง หรือไมนั้น จึงไมขึ้นอยูกับ อายุ เพศ ความฟตของรางกาย และ ไมสามารถคาดการณไดลวงหนาวาใครสามารถปรับตัวไดดีกวา แสดงวา แมแตนักกีฬาที่แข็งแรงอาจเกิดอาการโรคแพความสูงได ในทางตรงกันขาม ผูสูงอายุบางคนเมื่อไปเที่ยวที่สูง ๆ อาจจะไมมี อาการใด ๆ เลยก็ได จึงเปนเรื่องยากที่จะทํานายได อยางไรก็ตาม หากเคยมีประสบการณไปเที่ยวในพื้นที่สูงมา กอนก็อาจชวยคาดเดาไดวามีความเสี่ยงที่จะเปนโรคแพความสูง หรือไม เชน ไปทิเบตมาแลวไมมีปญหาใด ๆ ก็นาจะไปเที่ยวใน ที่สูงระดับเดียวกันได และในทางกลับกัน ถาใครเคยไปเที่ยวที่สูง แลวมีปญหา การไปที่สูงครั้งตอไปก็มักจะเกิดปญหาเหมือนครั้ง เดิม จึงตองมีการเตรียมตัวเปนอยางดีกอนเดินทาง รวมทั้งควร เตรียมยาไวเพื่อบรรเทาอาการ และซื้อประกันเดินทางไวลวงหนา ในกรณีเจ็บปวยฉุกเฉินจากโรคแพความสูง วิธีปองกันโรคแพความสูง 1.ตองศึกษาขอมูลถึงสถานที่ที่จะไปกอนการเดินทาง วาอยู ในพื้นที่สูงมากหรือไม เชน ถาจะไปเที่ยวทิเบต ภูฏาน เนปาล เปรู โบลิเวีย ประเทศเหลานี้มักมีสถานที่ทองเที่ยวอยูในพื้นที่สูงอยูมาก ควรหาขอมูลถึงระดับความสูง และดูแผนการเดินทางของเราเสมอ วาจะตองผานในพื้นที่สูงมากหรือไม 2.รางกายตองการเวลาปรับตัว ดังนั้น ถาเปนไปไดควรเลือก แผนการเดินทางที่ไมขึ้นสูที่สูงเร็วเกินไป ควรพักที่เมืองที่อยูตํ่ากวา 1-2 วัน เพื่อปรับตัว 3.ถาจําเปนตองเดินทางขึ้นสูที่สูงอยางรวดเร็ว เชน นั่งเครื่องบิน จากลิมาไปคุซโก (3399 m) นักทองเที่ยวสวนหนึ่ง (ประมาณ 20-25%) มักจะมีอาการ ดังนั้น ในชวงแรก ๆ ที่ขึ้นไปที่สูง ควรงดการออกกําลัง เดิน หรือวิ่ง ควรพักผอนมาก ๆ ดื่มนํ้า บอย ๆ และสังเกตอาการของตัวเองวามีความผิดปกติใด ๆ หรือไม ถามีอาการของ AMS เพียงเล็กนอย เชน ปวดศีรษะ คลื่นไส นอนไมหลับ รางกายคอย ๆ ปรับตัวได และอาการจะหายไปเอง ใน 1-2 วัน แตถามีอาการรุนแรงมากขึ้น ควรพบแพทยและเดิน ทางสูที่ตํ่ากวาทันที 4.การใชยาเพื่อปองกันโรคแพความสูง เชน Acetazolamide (diamox) ในนักทองเที่ยวบางรายมีความจําเปน เพราะยาจะชวย ปองกันและลดบรรเทาอาการได แตควรปรึกษาแพทยกอนเสมอ เพื่อพิจารณาแผนการเดินทาง ขอบงชี้ ขอหามในการใชยา และ แนะนําการใชยาที่ถูกตอง 5.สําหรับนักทองเที่ยวที่ปนเขา หรือเทรกกิ้งในที่สูง ตองศึกษา ขอมูลอยางละเอียดเสมอ และปฏิบัติตามคําแนะนําในพื้นที่อยาง เครงครัด ไมควรรีบเดินหรือทําเวลากอนเวลาที่แนะนําไวโดยทั่วไป เชน ถาจะปนยอดเขาคีรีมันจาโร (5895 m) ควรมีการเตรียมทีม เตรียมอุปกรณ เวชภัณฑตาง ๆ ที่จําเปน และควรเดินทางตามที่ กําหนดไว ไมควรจะรีบปนโดยใชเวลานอยกวา 5 วัน เพราะมีความ เสี่ยงสูงมากที่จะปนไปไมถึง และเกิดการไมสบายกลางทาง 6.ถามีอาการแพความสูงเกิดขึ้น ควรระมัดระวัง และสังเกต อาการตนเองและเพื่อนรวมทางเสมอ ถามีอาการไมมาก เชน ปวดศีรษะ มึนศีรษะ ออนเพลีย ควรพัก ถาเปนแค Acute mountain sickness รางกายจะคอย ๆ ปรับตัวไดเอง แตถามีอาการรุนแรง เชน เหนื่อยมาก ไอ สับสน ปวดศีรษะ มึนงงมาก ตองรีบลงสูพื้นที่ ที่ตํ่ากวา และหาสถานพยาบาลที่ใกลที่สุดทันที ขอมูลอางอิง : คลินิกนักทองเที่ยว โรงพยาบาลเวชศาสตร เขตรอน และสถานกงสุลใหญ นครคุนหมิง ขอขอบคุณแหลงขอมูล : https://www.thairath.co.th/
15 Á.¤.-¡.¾. 2566 เทคโนโลยีสุขภาพ จากวิธีการดังกลาว แมจะใหผลการตรวจที่สามารถนําไป ประกอบการวินิจฉัยเบื้องตน แตในรายที่ใหผลตรวจเปนลบตอง ติดตามอาการผูปวยอยางใกลชิด และดวยขอจํากัดทางบุคลากรและ งบประมาณ จึงทําใหการตรวจดวยวิธี ELISA ในหองปฏิบัติการนั้น จําเปนตองมีตัวอยางสิ่งสงตรวจพรอมกันอยางนอยครึ่งหนึ่งของแผง จานหลุม (plate) ซึ่งมีหลุมตัวอยางทั้งสิ้น 96 หลุม โดยตองเก็บ ตัวอยางสิ่งสงตรวจใหครบกอนจึงจะตรวจได ซึ่งทําใหตองเสียเวลา รอนานกวาวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการแบบแถบกระดาษ (strip) ซึ่งสามารถทราบผลการตรวจไดเฉพาะราย และเร็วขึ้น แตใหผลที่ แมนยํารอยละ 47.2 - 52.6 ตํ่ากวาวิธี ELISA สวนการตรวจภูมิคุมกันตอเชื้อไวรัสเดงกี ยังคงเปนวิธีมาตรฐาน โดยตรวจเลือดรวมจํานวน 2 ครั้ง ครั้งแรกในระยะไข และครั้งที่ 2 หางจากครั้งแรกอยางนอย 2 - 4 สัปดาห เพื่อเปนการเปรียบเทียบ ภูมิคุมกันตอเชื้อไวรัสเดงกีวาเปนการ “ติดเชื้อปฐมภูมิ” (มีโอกาส ติดเชื้อไวรัสเดงกีไดอีก) หรือ “ติดเชื้อทุติยภูมิ” (โอกาสติดเชื้อไวรัส เดงกีอีกมีนอยมาก) ซึ่งความเสี่ยงตอการติดเชื้อไวรัสเดงกีนั้นขึ้น อยูกับหลายปจจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งตามความแตกตางของ สารพันธุกรรมของแตละบุคคล ผูคนที่มาจากตางเชื้อชาติเผาพันธุ จะมีการตอบสนองตอเชื้อที่แตกตางกันดวย นอกจากนี้ ศ.เกียรติคุณ พญ.อําไพวรรณยังไดแสดงความ เปนหวงถึงแนวโนมของการติดเชื้อไวรัสเดงกีของประชากรโลกในยุค ปจจุบันที่เปลี่ยนไป โดยพบวา แมในที่ที่ยังไมเคยพบการระบาดของ ไวรัสเดงกีมากอน ก็อาจมีการถายทอดเชื้อไวรัสเดงกีจากผูเคยเดินทาง ไปในที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสเดงกี ติดเชื้อไวรัสเดงกีโดยที่ไมมี อาการแสดงอะไรเลย ยุงเปนพาหะรับเชื้อจากผูติดเชื้อ ซึ่งมีระยะฟกตัวในยุงที่รับ เชื้อเปนเวลา 7 วัน กอนถายทอดสูผูที่ไมเคยติดเชื้อที่ถูกยุงที่มีเชื้อกัด ดังนั้นจึงควรระวังอยางยิ่งที่จะไมใหถูกยุงกัด ในอดีตยังไมสามารถตรวจหาเชื้อไวรัสเดงกีในผูปวย โดยใน เวชปฏิบัติทําไดเพียงการสังเกตรอยโรคเพื่อใหการรักษา ตามอาการ ติดตามตรวจปริมาณเกล็ดเลือด และความเขมขน ของเม็ดเลือดแดง และตรวจยืนยันวาติดเชื้อไวรัสเดงกีจริง จากการตรวจระดับภูมิคุมกันตอเชื้อไวรัสเดงกีเมื่อผูปวยมี อาการดีขึ้นและไขลด แตปจจุบันดวยเทคโนโลยีทางการ แพทยสมัยใหม ทําใหแพทยสามารถตรวจโรคติดเชื้อตาง ๆ จากเลือดดวยการตรวจทางหองปฏิบัติการ ม.มหิดลคนพบทางเลือกใหม ตรวจวินิจฉัยไขเลือดออกไดโดยไมตองเจาะเลือด ศ.เกียรติคุณ พญ.อําไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ อาจารย ประจําภาควิชากุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ไดคนพบทางเลือกใหมในการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสเดงกีดวยวิธี ELISA (Enzyme-linked Immunosorbent assay) ที่ใชปสสาวะ ของผูปวยแทนเลือด ซึ่งเปนวิธีที่ไดรับการจดอนุสิทธิบัตร เรียบรอยแลว หลังจากที่ไดทดลองใชในผูปวยติดเชื้อไวรัสเดงกี ที่มีอาการรุนแรงนอย เรียกวา “ไขเดงกีในระยะไข” โดยพบวา ใหผลแมนยํารอยละ 68.4 และผูปวยติดเชื้อไวรัสเดงกี ที่มีอาการรุนแรงมากขึ้น เรียกวา “ไขเลือดออกในระยะไข” โดยพบวาใหผลแมนยํารอยละ 63.9 ซึ่งสามารถใชเปนทาง เลือกในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสเดงกีเพื่อหาขอบงชี้ใน การติดเชื้อไวรัสเดงกีไดในเบื้องตน
16 Á.¤.-¡.¾. 2566 เทคโนโลยีสุขภาพ ม.มหิดลสรางสรรคและพัฒนา “อุปกรณเพิ่มความหนาแนนฉนวนถังไครโอเจนิค ดวยวิธีการสั่นสะเทือน” เพื่ออุตสาหกรรมประเทศ ที่ผานมาเทคโนโลยีการเก็บรักษาดวยความเย็น ยังประโยชนแก มวลมนุษยชาติมากมาย นับตั้งแตทางดานการแพทย เพื่อใช ในการเก็บรักษาสเปรมแชแข็ง การเก็บรักษาเซลลตาง ๆ รวมทั้ง เลือดที่จําเปนตองใชตอลมหายใจในนาทีวิกฤตฉุกเฉิน ทางดาน ความงามที่ใชความเย็นในการทําใหเซลลผิวหนัง ไดแก ไฝ กระ หลุดลอก ซึ่งปลอดภัยกวาใชเลเซอร ไปจนถึงอุตสาหกรรม ตาง ๆ เชน อุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง การหลอเย็นใน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ฯลฯ ผง Perlite ที่มีคุณสมบัติคลายเม็ดโฟม ขนาดเล็ก นํ้าหนักเบา ซึ่งจะเติมจากดานบนของถัง ทวา ปญหาที่พบในกระบวนการดังกลาว คือ ผงฉนวนไมสามารถ เติมเต็มชองวางไดทั้งหมด เนื่องจากไปติดคางตามโครงสรางเสริม ความแข็งแรงภายใน ทําใหความรอนจากสิ่งแวดลอมสามารถถายเท ใหกับสารภายในไดผานจุดที่ปราศจากฉนวน เพื่อแกไขปญหาดังกลาว ผศ.ดร.มงคล เทียนวิบูลย อาจารยประจําภาควิชา วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย มหิดล กลาวในฐานะนวัตกรผูสรางสรรคและพัฒนาอุปกรณเพิ่ม ความหนาแนนฉนวนถังไครโอเจนิคดวยวิธีการสั่นสะเทือน ซึ่งได รับการยื่นจดทรัพยสินทางปญญาแลว วา ไมวาจะเปนไนโตรเจน ออกซิเจน หรือคารบอนไดออกไซด ฯลฯ ในสภาพปกติจะมี สถานะเปน “แกส” แตภายใตความดันสูง อุณหภูมิตํ่า จะกลาย สภาพเปน “ของเหลว” ซึ่งมีปริมาตรนอยกวาสถานะแกสมาก ทําใหขนสงไดงาย และมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ภาชนะที่ใชในกระบวนการขนสงและเก็บรักษาจึงตอง มีความแข็งแรงพอที่จะรักษาสภาวะความดันสูง และมีการถายเท ความรอนที่ตํ่า เพื่อรักษาอุณหภูมิที่เย็นจัดของสารไครโอเจน ภายในไวใหได โดยภาชนะบรรจุสารดังกลาว หรือถังไครโอเจนิคนั้น มีลักษณะเปนถัง 2 ชั้น สูง 6-10 เมตร เสนผาศูนยกลาง ประมาณ 2 เมตร ชั้นในทําจากเหล็กกลาไรสนิม ชั้นนอกทํา จากเหล็กกลาคารบอน ชองวางระหวางถังชั้นนอกและชั้นในบรรจุ ฉนวน เพื่อลดการถายเทความรอนระหวางสารที่บรรจุภายใน ที่เย็นจัดกับสิ่งแวดลอมดานนอก โดยฉนวนดังกลาว คือ วิธีการดั้งเดิมของผูผลิต คือ ใชพนักงานขึ้นไปบนนั่งราน เพื่อคอยเคาะผงฉนวนใหกระจายทั่วถังอยางสมํ่าเสมอ ซึ่งขั้นตอน ดังกลาวใชเวลานาน 6-8 ชั่วโมง ทําใหเกิดความเหนื่อยลา และ เสี่ยงอันตรายจากการทํางานบนที่สูงดวยบทบาทแหงการเปน “ปญญาของแผนดิน” ผูสรางสรรคองคความรูเพื่อประโยชนแหง มวลมนุษยชาติ ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล ผศ.ดร.มงคลจึง ไดคิดคนอุปกรณเพิ่มความหนาแนนฉนวนถังไครโอเจนิคดวยวิธีการ สั่นสะเทือน โดยออกแบบอุปกรณที่ใชมอเตอรในการสรางแรงสั่น สะเทือน นําไปติดที่ขาถังไครโอเจนิค ระหวางกระบวนการเติมฉนวน เพื่อชวยทําใหผงฉนวนกระจายทั่วถังสมํ่าเสมอ ซึ่งแบงเบากําลังคน และเพิ่มความปลอดภัยในการทํางาน ซึ่งนวัตกรรมดังกลาวไดสรางสรรค ขึ้นเพื่อสนับสนุนการผลิตของโรงงานผลิตถังฉนวนไครโอเจนิค โดย ไดออกแบบใหมีมอเตอรสั่นสะเทือนที่ใชมี “ขาจับ” ที่สามารถติดตั้ง กับถังไดหลายขนาด ทั้งนี้ วิธีการเดียวกันนี้สามารถนําไปประยุกตใชไดกับอุตสาหกรรม อื่น นอกเหนือจากการเติมฉนวนในกระบวนการผลิตถังไครโอเจนิคได เชน อุตสาหกรรมการเกษตร สามารถใชหลักการสั่นสะเทือน ลดการ ติดคางของเม็ดปุย เพิ่มความหนาแนนในการบรรจุปุย สารเคมีแบบผง หรือเม็ดที่ใชในการเกษตร หรืออาหารสัตว ฯลฯ ซึ่งจะเปนประโยชน ในวงกวางตอไป ผศ.ดร.มงคล เทียนวิบูลย ไดกลาวทิ้งทายเพื่อจุดประกาย นวัตกรรุนใหมวา แมจะเปนเพียงสิ่งเล็ก ๆ ที่เกิดจากแนวคิดเรียบงาย แตก็สามารถทําใหเกิดประโยชนได จึงไมควรมองขาม เพราะอาจเปน “โอกาส” ที่สามารถชวย “เพิ่มมูลคา” และ “คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น” ตอไปได
17 Á.¤.-¡.¾. 2566 หนึ่งโรคหนึ่งรู ไวรัส RSV ไวรัสที่กอโรคทางระบบทางเดินหายใจที่พบ บอยในเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็กที่มีอายุนอยกวา 5 ป RSV คืออะไร? (Respiratory Syncytial Virus) เปนไวรัสชนิดหนึ่งที่ กอโรคทางระบบทางเดินหายใจที่พบบอยในเด็ก โดยเฉพาะ เด็กเล็กที่มีอายุนอยกวา 5 ป สามารถทําใหเกิดการติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจทั้งสวนบนและสวนลาง การระบาด ของเชื้อนี้มักพบในฤดูฝนและฤดูหนาวในประเทศไทย ใครบางที่เปนปจจัยเสี่ยงตอการเกิดปอดอักเสบติดเชื้อไวรัส RSV กลุมผูปวยที่เสี่ยงตอการเกิดภาวะแทรกซอนหรือเกิดปอดอักเสบ ติดเชื้อตามมาไดโดยงาย ไดแก ทารกคลอดกอนกําหนด โดยเฉพาะที่ อายุครรภนอยกวา 29 สัปดาห ผูที่มีโรคประจําตัวเปนโรคหัวใจ โรคภูมิคุมกันบกพรอง โรคปอด เปนตน มีโอกาสที่โรคจะทรุดตัวได อยางรวดเร็วจนถึงขั้นตองใสเครื่องชวยหายใจได เพราะฉะนั้นผูปวย กลุมนี้ควรระมัดระวังปองกันการติดเชื้อและดูแลอยางใกลชิด ไวรัส RSV ติดตอทางใดไดบาง ไวรัส RSV ติดตอโดยตรงกับการสัมผัสสารคัดหลั่งตาง ๆ เชน นํ้ามูก นํ้าลาย เสมหะ เชน หากที่มือเรามีเชื้อ RSV จากการสัมผัสกับ สารคัดหลั่งที่ไมวาทางตรงหรือทางออม แลวเรานํามือไปขยี้ตา หรือ เขาจมูก ก็สามารถติดเชื้อนี้ไดโดยงาย เชื้อ RSV สามารถมีชีวิตอยูใน สิ่งแวดลอมไดนานหลายชั่วโมง และอยูบนมือไดนานกวาครึ่งชั่วโมง หากไมไดลางทําความสะอาด เมื่อไดรับเชื้อมาแลวระยะฟกตัวของ โรคอยูที่ประมาณ 4-6 วัน หลังจากไดรับเชื้อ มีวัคซีนหรือยารักษาหรือไม ปจจุบันยังไมมีวัคซีนที่ปองกันการติดเชื้อ RSV อีกทั้งยังไมมียา รักษาเชื้อไวรัส RSV โดยตรงอีกดวย การรักษาเปนเพียงการรักษา แบบประคับประคองตามอาการ เชน การใหยาลดไข การดูดเสมหะ การใหยาขยายหลอดลมในรายที่มีภาวะหลอดลมตีบ ใหออกซิเจน การใหสารนํ้าทดแทนใหเพียงพอ ระยะเวลาในการรักษาของแตละ คนขึ้นกับความรุนแรงของโรค สวนใหญอยูที่ประมาณ 1-2 สัปดาห เราจะปองกันการติดเชื้อจากไวรัส RSV ไดอยางไร เนื่องจากเปนโรคติดเชื้อที่ถึงแมเคยเปนแลวก็สามารถเปนซํ้า ไดอีก และยังไมมีวัคซีนใชในปจจุบัน สิ่งสําคัญที่สุดก็คือ ปองกัน นั่นเอง ไดแก ลางมือใหสะอาดดวยนํ้าสบูหรือแอลกอฮอลเจลอยูเสมอ ทั้งผูใหญและเด็ก ใสหนากากอนามัยเปนประจํา รักษาความสะอาด ทําความสะอาดของเลนเด็กบอย ๆ หากมีคนในบานปวยควรแยก และงดใชของสวนตัวรวมกัน รับประทานอาหารที่มีประโยชน และ พักผอนใหเพียงพอ เปนการเสริมสรางภูมิคุมกันรางกายใหแข็งแรง สําหรับเด็กที่เขาเนอสเซอรี่หรือเขาโรงเรียนแลว เมื่อมีการปวยควร หยุดเรียนทันทีจนกวาอาการจะหายเปนปกติเพื่อเปนการปองกันการ แพรกระจายของเชื้อโรคอีกทางหนึ่ง RSV ไวรัสตัวราย อันตรายกับเจาตัวนอย หากติดไวรัส RSV จะมีอาการเปนอยางไร เมื่อติดเชื้อ RSV จะมีอาการเหมือนไขหวัดธรรมดา คือ ไข ไอ จาม นํ้ามูกไหล โดยลักษณะของไขจะมีไขสูง หรือไขตํ่า ๆ ก็ได แตหากการดําเนินโรครุนแรงมากขึ้นเปน การติดเชื้อทางเดินหายใจสวนลางจะมีอาการของภาวะ หลอดลมอักเสบ ปอดบวมหรือปอดอักเสบ และทําใหเกิด ภาวะหายใจลมเหลวได อาการที่ตองสังเกตของ RSV ที่ ตองเฝาระวัง คือ ผูปวยที่ติดเชื้อ RSV และมีอาการไอมาก เสมหะมาก หายใจมีเสียงวี๊ดหรือมีเสียงครืดคราด มีอาการ หอบเหนื่อย หายใจเร็ว อกบุม ควรรีบมาพบแพทย ขอขอบคุณขอมูล : พญ.ชนิตา พิชญภพ กุมารแพทยผูชํานาญ การดานโรคติดเชื้อ ขอขอบคุณแหลงที่มา : https://www.medparkhospital.com/ content/rsv
19 Á.¤.-¡.¾. 2566 รายงานพิเศษ The Lancet Commission on Global Mental Health and Sustainable Development คือ การสังเคราะหองค ความรูที่ครอบคลุมดานสุขภาพจิตเพื่อกระตุนการดําเนินการ เพื่อพัฒนา โดยเปนการรวมตัวกันของผูเชี่ยวชาญในดาน สุขภาพจิตจากทั่วโลก เพื่อประเมินวาระสุขภาพจิตระดับโลก ในบริบทของเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในเอกสารที่ เผยแพรเมื่อป 2018 The Commission ไดนําเสนอขอเสนอแนะในการดําเนิน การเพื่อความกาวหนาของวาระสุขภาพจิตระดับโลกที่สอดคลอง และจะเปนแรงผลักดันตอการบรรลุเปาหมาย SDGs ไปพรอมกัน โดยสวนหนึ่งของเนื้อหากอนไปถึงขั้นตอนการลงมือเพื่อสรางความ เปลี่ยนแปลง คือ การทําความเขาใจปจจัยของการมีสุขภาพจิตที่ดี ที่มีความซับซอนและหลากหลาย และมีปฏิสัมพันธระหวางกันไป ตลอดชวงชีวิตของบุคคล เพื่ออธิบายวาปจจัยเหลานี้สงผลตอ สุขภาพจิตอยางไร และจะนําไปสูการออกแบบกลไกการแกปญหา ที่เหมาะสมไดอยางไร SDG Updates ฉบับนี้ จึงอยากชวนทุกคนมาทําความเขาใจ ปจจัยสังคมกําหนดสุขภาพ (Social Deteminants of Mental Health) ที่มองผานบริบทเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ตามที่ The Lancet Commission on Global Mental Health ไดนําเสนอ ตัวชี้วัด 3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษา (การรักษา โดยใชยา ทางจิตสังคมและการฟนฟูสมรรถภาพ และบริการการ ติดตามผลการรักษา) สําหรับผูที่ใชสารเสพติด ตัวชี้วัด 3.5.2 การดื่มแอลกอฮอลในระดับอันตราย นิยาม ตามบริบทของประเทศ คิดเปนปริมาณแอลกอฮอลตอหัวประชากร (อายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป) เปาหมายยอย 3.8 บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถวนหนา รวมถึงการปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การเขาถึงการบริการ สาธารณสุขจําเปนที่มีคุณภาพ และเขาถึงยาและวัคซีนจําเปนที่ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีราคาที่สามารถซื้อหาได ตัวชี้วัด 3.8.1 ความครอบคลุมของบริการดานสุขภาพที่จําเปน (นิยามความครอบคลุมของบริการที่จําเปนเฉลี่ยโดยยึดการติดตาม การรักษา ซึ่งประกอบดวย ภาวะเจริญพันธุ มารดา เด็กเกิดใหมและ สุขภาพเด็ก โรคติดตอ โรคไมติดตอ และความสามารถในการเขาถึง
ตัวชี้วัด
สัดสวนของประชากรที่มีคาใชจายครัวเรือนดาน สุขภาพตอคาใชจายครัวเรือนหรือรายไดทั้งหมดอยูในระดับสูง ปจจัยสังคมกําหนดสุขภาพจิต (Social
Health) ปจจัยกําหนดทางสังคม (Social Determinants) คือ ปจจัย ทางสังคมและเศรษฐกิจหลายประการที่มีอิทธิพลตอสุขภาพจิต ของบุคคล เชน การจัดตําแหนงแหงที่ตามโครงสรางทางสังคมและ เศรษฐกิจ (ความยากจนและความเหลื่อมลํ้าทางรายได) ที่ทําให บางคนเสียเปรียบกวาผูอื่นตั้งแตอยูในครรภไปจนถึงวัยชรา การตอง เผชิญเหตุการณรายในชีวิต (วิกฤตดานมนุษยธรรมและความรุนแรง ระหวางบุคคล) และเงื่อนไขเฉพาะของความเปราะบางและความ สามารถในการฟนกลับที่เปนผลมาจากความแตกตางของที่ทางใน สังคมของแตละบุคคล ปจจัยสังคมกําหนดสุขภาพ – เมื่อโครงสรางทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง กําหนดสถานะสุขภาพและอายุขัยของคุณไวแลวตั้งแต ยังไมเกิด เปาหมาย SDGs หลายเปาหมายถูกกําหนดขึ้นอยางชัดเจน เพื่อแกปญหาปจจัยทางสังคมเหลานี้ และการดําเนินการเพื่อบรรลุ เปาหมายตาง ๆ นั้นมีศักยภาพในการสงเสริมสุขภาพจิตของประชาชน และชวยลดภาระของความผิดปกติทางจิตระดับโลก (global burden of mental disorders) ที่สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอสุขภาพ และผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ และยังเปนความพยายามใน การลดความไมเทาเทียมในการกระจายตัวของความเจ็บปวยทางจิต ในกลุมคนทั่วโลกดวย SDG Updates | ปจจัยสังคมกําหนดสุขภาพจิตผานบริบท SDGs โดย The Lancet Commission on Global Mental Health and Sustainable Development เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยสหประชาชาติ กําหนด เปาหมายที่เกี่ยวของกับสุขภาพจิต ใน SDG 3 สรางหลัก ประกันการมีสุขภาวะที่ดี และสงเสริมความเปนอยูที่ดีสําหรับทุก คนในทุกชวงวัย เปาหมายยอย 3.4 ลดการตายกอนวัยอันควรจากโรค ไมติดตอใหลดลงหนึ่งในสาม ผานทางการปองกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปนอยูที่ดี ภายในป 2030 ตัวชี้วัด 3.4.2 อัตราการฆาตัวตาย เปาหมายยอย 3.5 เสริมสรางการปองกันและการรักษา การใชสารในทางที่ผิด ซึ่งรวมถึงการใชยาเสพติดในทางที่ผิด และ การใชแอลกอฮอลในทางที่เปนอันตราย
บริการระหวางคนทั่วไปและผูดอยโอกาส)
3.8.2
Determinants of Mental
22 Á.¤.-¡.¾. 2566 รายงานพิเศษ - ปองกันการใชความรุนแรงตอผูหญิงและเด็ก - ทําใหแนใจวาการใหบริการดานสุขภาพจิตมีความออนไหวตอ ประเด็นทางเพศ (gender-sensitive) และมุงเนนเฉพาะเพื่อ แกไขปญหาสุขภาพจิตของผูหญิง เชน ภาวะซึมเศราของมารดา และผลกระทบจากการเผชิญความรุนแรง - เพิ่มการสนับสนุนใหผูทําหนาที่ดูแลซึ่งสวนใหญเปนผูหญิง - บูรณาการการสนับสนุนทางจิตสังคมในความชวยเหลือดาน มนุษยธรรมทั้งหมดที่เกี่ยวของกับภัยธรรมชาติและผลกระทบอื่น ๆ จาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - รับฟงเสียงจากผูที่อยูในแวดวงดานสุขภาพจิต เพื่อเนนยํ้าให เห็นถึงความสําคัญของการดําเนินการเพื่อแกปญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ เพราะมีผลกระทบตอสุขภาพจิต - นําโปรแกรมการสงเสริมและดูแลสุขภาพจิตไปใชในที่ทํางาน - มีมาตรการแทรกแซงทางสังคมและอาชีพ และใหการสนับสนุน แกผูที่มีความผิดปกติทางจิตและครอบครัว - ใหความชวยเหลือแรงงานที่ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ของอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมที่มีบทบาทของเทคโนโลยีเพิ่ม มากขึ้น ความตองการแรงงานคนนอยลง - ใหเงินสวัสดิการ (ในระดับรายไดขั้นพื้นฐาน) สําหรับผูที่อยูใน ความยากจนสุดขีด - ลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติตอบุคคลและครอบครัวที่มี ความผิดปกติทางจิต - สงเสริมและเพิ่มโอกาสในการเขาสังคมแกผูที่มีความผิดปกติ ทางจิต - สรางสิ่งแวดลอมสรรคสรางที่สามารถลดปจจัยทางสังคมที่ สงผลเสียตอสุขภาพจิต - ตองมีการใชสารเคมี เชน ยาฆาแมลงอยางปลอดภัย เพื่อ ปองกันการเปนพิษตอระบบประสาท การทํารายตัวเอง และการฆา ตัวตาย - พัฒนาและดําเนินการตามกฎหมายที่มีความกาวหนา และมี ความเกี่ยวของกับสุขภาพจิตและสิทธิมนุษยชน - ปองกันการกักขังผูที่มีความผิดปกติทางจิตในสถาบันตาง ๆ เชน เรือนจําและสถานดูแลเด็ก ดําเนินโครงการสงเสริมและดูแล สุขภาพจิตในเรือนจํา แปลและเรียบเรียงจาก : The Lancet Commission on global mental health and sustainable development ดาวนโหลด เอกสารฉบับเต็ม และศึกษาการดําเนินการอื่นๆ ไดที่ globalmentalhealthcommission.org Last Updated on : มกราคม 12, 2022 ขอขอบคุณ : Editor – ตัวแทน ‘คนธรรมดา’ ในชุมชน นักวิชาการ อาน แปล และสื่อสารเรื่องความยั่งยืน ขอขอบคุณแหลงที่มา : https://www.sdgmove.com/- แสดงผลกระทบของการดําเนินการแทรกแซงดานสุขภาพจิต ในภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน - พัฒนาและทําใหการเปนหุนสวนเพื่อสรางการเปลี่ยนแปลง วาระสุขภาพจิตระดับโลกมีความยั่งยืน

2. Generalized Onset (มีจุดกําเนิดคลื่นไฟฟาทั่วสมอง)

3. Unknown Onset (ไมทราบจุดกําเนิดคลื่นไฟฟาสมองผิดปกติ)

4. Unclassified (ไมสามารถระบุชนิดอาการชักได) ชนิดของอาการชัก (Epileptic seizures)

23 Á.¤.-¡.¾. 2566 รูทันโรค
โรคลมชักที่ไมพบ รอยโรคในสมอง
?
6. ยังไมทราบสาเหตุ (Unknown) ไดแก
(Non-lesional epilepsy) 3. อาการชักจะมีลักษณะแบบใดบาง
ปจจุบันแบงเปน 4 แบบใหญ ๆ 1. Focal Onset (มีจุดกําเนิดคลื่นไฟฟาเฉพาะที่)
ที่พบไดบอย ๆ - อาการชักเฉพาะที่ (ทั้งแบบรูตัวและไมรูตัว) โดยกระแสไฟฟา ที่ผิดปกติอาจรบกวนสมองสวนที่ควบคุมการทํางานแหงใดแหงหนึ่ง ในรางกาย ทําใหเกิดอาการตาง ๆ โดยที่ยังไมรูตัว เชน อาการชา หรือ กระตุกของแขน ขา หรือใบหนาขางใดขางหนึ่งเปนซํ้า ๆ โดยที่ไมสามารถ ควบคุมได นอกจากนี้ อาจมีอาการคลื่นไส ปวดทอง หวาดกลัวความ รูสึกแปลก ๆ ความรูสึกเหมือนฝน หูแวว เห็นภาพหลอน หรือหัวใจเตน ผิดปกติ - อาการชักแบบเหมอลอย ผูปวยมักมีอาการเตือนนํามากอน เหมือนดังที่กลาวมาแลว ตามดวยอาการเหมอลอย ผูปวยมักจะทําปาก ขมุบขมิบ หรือเคี้ยวปาก หรือมือเกร็ง หรือขยับไปมา อาจคลําตาม เสื้อผาอยางไมรูตัว เคลื่อนไหวแขนขาอยางไรจุดหมายโดยไมรับรูสิ่งรอบ ขางแลว โดยที่จําเหตุการณระหวางนั้นไมได อาการเหมอลอยจะนาน ประมาณไมกี่วินาที จนถึงหลาย ๆ นาที หลังจากนั้นผูปวยมักจะมีอาการ สับสน ในผูปวยบางรายอาจมีอาการพูดไมไดหรือยกแขนขางใดขางหนึ่ง ไมไดอีกหลายนาทีกวาจะตื่นเปนปกติ - อาการชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัว (Focal to bilateral tonic-clonic) เกิดจากการที่กระแสไฟฟาที่ผิดปกติรบกวนเวลาการทํางาน ของสมองทั้งหมด จะเกิดอาการชักที่เรียกวา “อาการชักทั่วทุกสวน” รูทัน โรคลมชัก รับมือได 1. โรคลมชักคืออะไร? โรคลมชักเปนโรคที่เกิดจากกลุมอาการชักอันเนื่อง มาจากการที่สมองสวนใดสวนหนึ่งหรือทั้งหมดทํางานมาก เกินปกติไปจากเดิมชั่วขณะ จากไฟฟาของการชักเกิดขึ้น และกระจายออกไปในบริเวณสวนตาง ๆ ของสมอง อาการ แสดงที่เกิดขึ้นนั้น ขึ้นกับวาเปนสวนใดของสมองที่ไดรับ การกระตุนและอาการจะดําเนินอยูชั่วครู 2. โรคลมชักมีสาเหตุเกิดจากอะไรบาง? 1. ความผิดปกติทางดานโครงสรางสมอง สาเหตุ จากรอยโรคในสมอง ไดแก แผลเปนที่ฮิปโปแคมปส (สมองสวนที่เกี่ยวของกับความจํา), เนื้องอกสมอง, เสนเลือด สมองผิดปกติ, หลังการไดรับบาดเจ็บทางสมอง, การขาด ออกซิเจนหลังคลอดจากการคลอดลําบาก 2. พันธุกรรม ไดแก กลุมอาการที่เดนชัดและเริ่ม เกิดโรคลมชักตามอายุ, ความผิดปกติทางระบบประสาท รวมกับผิวหนัง, เซลลสมองพัฒนาผิดรูปบางชนิด 3. สาเหตุจากโรคติดเชื้อ เชน ไขสมองอักเสบจาก การติดเชื้อไวรัส, แบคทีเรีย, การติดเชื้อโปรโตซัวหรือพยาธิ ในสมอง 4. สาเหตุจากภาวะเมตาบอลิซึม เชน ภาวะความ ไมสมดุลของสารนํ้า, เกลือแรและนํ้าตาล ไดแก ภาวะระดับ เกลือโซเดียมในเลือด และระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูง หรือตํ่าเกินไป เปนตน 5. สาเหตุจากภูมิคุมกัน เปนสาเหตุที่เกิดจากภาวะ ภูมิคุมกันของตนเอง เชน โรคไขสมองอักเสบบางชนิด Rasmussen encephalitis, Limbic encephalitis และ โรคภูมิคุมกันตอตานตนเอง (SLE) เปนตน
26 Á.¤.-¡.¾. 2566 ขอมูลสุขภาพ แพแอลกอฮอล ดื่มเหลาแลวหนาแดง ตัวแดงเกิดจากอะไร เสี่ยงมะเร็งจริงหรือไม? แพแอลกอฮอล (Alcohol flush Reaction) เปนอาการ ผิดปกติของรางกายที่เกิดขึ้นหลังจากการดื่มเหลา หรือดื่ม เครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล ซึ่งแตละคนจะ แสดงอาการแพแอลกอฮอลแตกตางกัน เชน หนาแดง (flushing) ตัวแดง ตาแดง เกิดผื่นแดง มีอาการคัน หรือหัวใจเตนเร็วรวมดวย บางคนคิดวาอาการเหลานี้เปน อาการปกติที่มักเกิดหลังจากการดื่มเหลา แตความจริงแลว รางกายกําลังบอกคุณวา รางกายมีความผิดปกตินะซิ! อาการแพแอลกอฮอลเปนอยางไร? จากที่กลาวขางตนวา อาการแพแอลกอฮอลนั้นเกิดจาก การที่ในตับขาดเอนไซมที่ชื่อวา “ALDH2” หรือเอนไซมทํางาน บกพรอง ALDH2 defi cient ซึ่งเปนผลมาจากพันธุกรรม บกพรอง … เมื่อเอนไซม ALDH2 ทํางานบกพรอง ทําใหบางคนที่ดื่ม เหลาเขาไปแลวแมเพียงเล็กนอย ก็ทําใหเกิดอาการมึนหัว หนาแดง ตัวแดง (อาจจะเปนแคชวงหัว-หนาอก หรือแดงทั้งตัวก็ได) ตาแดง ฯลฯ ไดเร็วกวาคนทั่วไป และตองใชเวลานานกวาอาการจะหาย เปนปกติ เพราะสารพิษที่คั่งทําใหเกิดอาการตาง ๆ นั่นเอง และยิ่งในคนที่มีความบกพรองเอนไซมชนิดนี้มาก ๆ เอนไซม เผาผลาญแอลกอฮอลไดไมดี ก็อาจทําใหเกิดอาการรุนแรงหลัง ดื่มเหลาได เชน เปนลม หรือสลบไปเลย เพราะทนตอสารพิษ อะเซทาลดีไฮด (acetaldehyde) ไมไหว หรืออาจเกิดกรณีรายแรง เชน ทําใหเกิดอาการแนนหนาอก หายใจไมออก คลายโรคภูมิแพ เนื่องจากทําใหเนื้อเยื่อทางเดินหายใจบวมจนไปปดกั้นหลอดลม สงผลใหหายใจไมออก หายใจติดขัด ซึ่งหากพบอาการเชนนี้ตอง รีบสงโรงพยาบาลโดยดวน ไมเชนนั้นอาจทําใหเสียชีวิตได แพแอลกอฮอลคืออะไร? โดยปกติแลว เมื่อเราดื่มเหลา ดื่มเบียร ฯลฯ เขาไป ในตับจะมีเอนไซมชนิดหนึ่ง ชื่อวา “ALDH2” คอยทํา หนาที่เปลี่ยนสารพิษที่เขาสูรางกายที่ชื่อวา อะซิทัลดีไฮด (Acetaldehyde) ใหกลายเปน อะซิเตต (Acetate) ที่ ไมเปนพิษตอรางกายในระหวางที่รางกายกําลังเผาผลาญ แอลกอฮอล (Ethanol) แตในกรณีคนที่แพแอลกอฮอลนั้น เกิดจากการที่รางกายนั้นขาเอนไซม ALDH2 หรืออาจจะ มีเอนไซมชนิดนี้อยูแตทํางานบกพรอง ทําใหไมสามารถ เผาผลาญแอลกอฮอลออกไปได สงผลใหเกิดการคั่งของ สารพิษอะซิทัลดีไฮด ทําใหเกิดอาการหนาแดง มึนเมา ปวดหัว ฯลฯ หรืออาจจะมีอาการที่รุนแรงกวาหลังจากไดรับ แอลกอฮอลเขาไปในรางกาย ถึงขั้นเกิดโรคแทรกซอน หรือ เสียชีวิตไดเลยทีเดียว แพแอลกอฮอลมักเกิดกับคนกลุมใด? อาการแพแอลกอฮอล สวนมากแลวจะพบในคนเชื้อสายเอเชีย เชน ไทย จีน ญี่ปุน เกาหลี ฯลฯ โดยสังเกตไดงาย ๆ จากเวลา ดื่มเหลา ฯลฯ คนเอเชียมักมีอาการแพแอลกอฮอล และมีอาการ hang over หรือเมาคางมากกวาคนชาติอื่น เพราะตองใชเวลา ในการเผาผลาญสารพิษชากวา จนมีชื่อเรียกเฉพาะของอาการ แพแอลกอฮอลของคนเอเชียดวยวา Asian Flush ซึ่งหากปลอย อาการผิดปกตินี้ทิ้งไวในระยะยาว อาจทําใหเกิดความเสี่ยงเปน โรครายอยางมะเร็งได เชน มะเร็งหลอดอาหาร จะรูไดอยางไรวาแพแอลกอฮอล ? ใหทดสอบโดยการ 1.ตอนดื่มเหลาครั้งแรก ใหสังเกตอาการวาเกิดอาการหนาแดง หรือไม? หากมีอาการหนาแดง แสดงวารางกายขาดเอนไซม ALDH2 และมีแนวโนมเสี่ยงที่จะเปนมะเร็งหลอดอาหาร
27 Á.¤.-¡.¾. 2566 ขอมูลสุขภาพ 2.สังเกตอาการตอนดื่มเหลาในชวง 1-2 ปหลัง วา ทุกครั้งที่ดื่มยังมีอาการหนาแดง ตัวแดง อยูหรือไม? หาก ตัวแดงในครั้งแรก และจางลงเรื่อย ๆ จนไมมีอาการแดง แลว แสดงวารางกายเริ่มติดเหลา ซึ่งก็ไมใชผลดี เพราะ ในอนาคตก็ยังมีความเสี่ยงโรคตาง ๆ เชน ตับแข็ง พิษสุรา เรื้อรัง ฯลฯ รวมถึงมะเร็งหลอดอาหาร อันตรายของอาการแพแอลกอฮอล ขอควรระวังของคนที่แพแอลกอฮอล คือ ไมควรดื่ม เหลามาก เพราะอาจเกิดความเสี่ยงเปนโรคไดหลายชนิด เชน ความดันโลหิตสูง โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ผื่นภูมิแพผิวหนัง ฯลฯ รวมถึงมะเร็งหลอดอาหารดวย มีงานวิจัยพบวา คนที่มีอาการแพแอลกอฮอล หรือ ขาดเอนไซมยอยสลายแอลกอฮอล ALDH2 นี้ หากดื่ม เบียรเพียงวันละ 2 กระปอง ก็อาจเกิดความเสี่ยงเปนมะเร็ง หลอดอาหารมากกวาคนทั่วไปถึง 6-10 เทา! เลยทีเดียว แต หากเราสามารถควบคุมหรือลดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล ลงได ก็สามารถลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งหลอดอาหารได ถึง 53% อีกทั้งยังทําใหระดับแอลกอฮอลในเลือดสูงกวาปกติ อีกทั้งยังเพิ่ม ความเสี่ยงในการเปนมะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งหลอดอาหาร และมะเร็งผิวหนัง อีกดวย นอกจากนี้ ยังมีอีกกรณี คือ แพทยจะจายยาจําพวกเอพิเนฟรีน ที่มาในรูปแบบปากกาฉีดยาแบบพกพาใหผูปวย เพื่อใชในกรณี ฉุกเฉินหากผูปวยเกิดอาการ และผูที่ใชยานี้จะตองไดรับการจาย ยาและเรียนรูวิธีการฉีดจากแพทยกอนเทานั้น หลังจากการฉีดยา ผูปวยตองรีบพบแพทยทันที เพื่อใหแพทยไดทําการวินิจฉัยและ รักษาอาการที่เกิดขึ้นตอไป ลดความเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร หากรูวาตัวเองอยูในกลุมเสี่ยงที่เกิดเปนมะเร็งหลอดอาหาร ตองหลีกเลี่ยงปจจัยตาง ๆ เหลานี้ เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรค .. เชน 1. ลดปริมาณการดื่มเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล 2. ไมสูบบุหรี่ 3. รับประทานผักและผลไมที่มีประโยชน 4. ไมดื่มเครื่องดื่มที่รอนจัดจนเกิดไป 5. ควบคุมนํ้าหนักใหอยูในเกณฑมาตรฐาน อยาปลอยใหอวน หรือนํ้าหนักเกิน อาการแพแอลกอฮอลที่ทําใหเกิดอาการตาง ๆ เหลานั้น เกิดจาก การที่เอนไซมในตับทํางานบกพรอง หรือขาดเอมไซมนี้ไป ทําให รางกายนั้นไมสามารถขับสารพิษหรือแอลกอฮอลออกไปจาก รางกายได และถาหากรูตัววามีอาการดังกลาวนี้ก็ควรลดปริมาณ ในการดื่มแอลกอฮอลลง แลวหันมาดูแลใสใจสุขภาพใหมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อลดและปองกันการเกิดโรคตาง ๆ ที่จะเกิดตามมาอีกดวย แพแอลกอฮอล (Alcohol flush Reaction) รักษา อยางไร? ปจจุบันยังไมมียาที่ใชรักษาอาการแพแอลกอฮอลนี้ โดยตรง บางคนใชยาที่รักษาโรคกรดไหลยอนแทน ซึ่งมี ทั้งไดผลและไมไดผลกับผูปวย เพราะยานี้เปนเพียงแคการ ปกปดอาการไว ไมใชยารักษาจริง ๆ แตปจจุบันยาดังกลาว ไดถูก อย. เรียกคืนแลว เนื่องจากเสี่ยงกับการเปนมะเร็ง ขณะเดียวกันมีคนบางกลุมใชยาที่มีสารควบคุม ฮิสตามีน 2 เพื่อชวยใหหายจากอาการเมา แตจริง ๆ แลว ยาตัวนี้ไมไดชวยทําใหหายเมาแตทําใหเมาเร็วขึ้นตางหาก ขอขอบคุณขอมูล : นพ. สุทธิพงษ ตรีรัตน ขอขอบคุณแหลงที่มาของขอมูล : https://www.rattinan.com/ alcohol/
28 Á.¤.-¡.¾. 2566 สมุนไพรใกลตัว อบเชยเถา สรรพคุณและประโยชนของตนอบเชยเถา 9 ขอ ! อบเชยเถา ชื่อวิทยาศาสตร Atherolepis pierrei Costantin จัดอยูในวงศตีนเปด (APOCYNACEAE) และอยูในวงศยอย นมตําเลีย (ASCLEPIADOIDEAE หรือ ASCLEPIADACEAE)[1] สมุนไพรอบเชยเถา มีชื่อทองถิ่นอื่น ๆ วา เครือเขาใหม (แพร), เชือกเถา (นครสวรรค), อบเชยปา (กรุงเทพฯ), กํายาน เครือ เครือเขาใหม เถาเชือกเขา (ภาคเหนือ), จั่นดิน กูดิน (ภาคอีสาน), อบเชยเถา (ภาคกลาง), ตํายาน เปนตน[1],[2] หมายเหตุ : ตนอบเชยเถาที่กลาวถึงในบทความนี้ เปน พรรณไมคนละชนิดกันกับตนอบเชยเถาที่มีชื่อวิทยาศาสตรวา Zygostelma benthamii Baill. ลักษณะของอบเชยเถา - ตนอบเชยเถา จัดเปนพรรณไมเถาเลื้อยขนาดเล็ก เลื้อยพันตนไมอื่นหรือเลื้อยไปตามพื้นดิน มีความยาวไดประมาณ 5-10 เมตร ลําตนหรือเถามีขนสั้นและมีนํ้ายางสีขาว เปลือกมี ชองระบายอากาศรูปไขกระจัดกระจายอยูทั่วไป เถามีลักษณะ กลมเรียว สีนํ้าตาลเทาถึงสีนํ้าตาลมวง ลําตนมีขนาดเสนผา ศูนยกลางประมาณ 1.3-2 มิลลิเมตร สวนรากมีกลิ่นหอมคลาย เปลือกอบเชยตน ขยายพันธุดวยวิธีการทาบเถา (อีกขอมูล ระบุวา ขยายพันธุดวยเมล็ดและการปกชํา[5]) เจริญเติบโตไดดี ในดินเกือบทุกชนิด พบขึ้นทั่วไปในทุกภาคของประเทศตาม ชายปา[1],[2],[3] ประมาณ 0.8-2.8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 2.5-6 เซนติเมตร ผิวใบเรียบเปนสีเขียวเขมหรือสีนํ้าเงิน ลายเสนใบเปนสีขาว มอง เห็นไดชัดเจน ใบมีกลิ่นเหม็นเขียว มียางสีขาวขน กานใบมีความ ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร และมีขน สวนหูใบนั้นจะสั้นมาก ใบออน จะมีขนตามเสนกลางใบและเสนใบ แลวขนนั้นจะคอย ๆ หลุดรวงไป เมื่อใบแก[1],[2] โดย เมดไทย ปรับปรุงเมื่อ 22 กันยายน 2020 (เวลา 23:00 น.) - ใบอบเชยเถา ใบเปนใบเดี่ยว ออกตรงขามกันเปนคู ๆ ลักษณะของใบเปนรูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบสอบ สวนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกวาง - ดอกอบเชยเถา ออกดอกเปนชอ โดยจะออกตามซอกใบ ชอหนึ่งจะมีดอกประมาณ 5-6 ดอก กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ สีเหลือง อมสม สวนกลีบดอกมี 5 กลีบ เปนสีชมพูออนหรือชมพูอมสม โคน กลีบดอกชิดติดกันเปนรูปถวยหรือเปนทอสั้น ๆ ตรงปลายแยกออก เปน 5 กลีบ ลักษณะของกลีบดอกเปนรูปสามเหลี่ยมปลายแหลม กลีบดอกจะบิดไปในทางเดียวกัน เมื่อดอกบานจะกางออกแบบ ดอกมะเขือ มีขนขึ้นประปรายทั้งดานในและดานนอก ดอกมีเกสร เพศผูติดอยูกับผนังใจกลางดอก โดยมีเกสรเพศผู 5 อัน กานเกสร ไมติดกัน อับเรณูเปนรูปไขแกมสามเหลี่ยม ปลายแหลม สวนเกสร

11.9%, แคลเซียม 2.01%, ฟอสฟอรัส 0.2%, โพแทสเซียม 1.66%, ADF 23.8%, NDF 26.9%, DMD 78.6%, แทนนิน 3.99%[4]

(องคกรมหาชน). “อบเชยเถา”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : eherb.hrdi.or.th. [22 ก.ย. 2014].

4.สํานักพัฒนาอาหารสัตว กรมปศุสัตว. “อบเชยเถา”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : nutrition.dld.go.th. [21 ก.ย. 2014].

5.ระบบจัดการฐานความรูดานความหลากหลายทางชีวภาพ สํานักงานความหลากหลายทางชีวภาพดานปาไม กรมปาไม. “อบเชยเถา”. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : biodiversity.forest. go.th. [22 ก.ย. 2014].

29 Á.¤.-¡.¾. 2566 สมุนไพรใกลตัว เพศเมียมี 1 อัน ปลายเกสรจะใหญกวาทอเกสร และมีลักษณะเปน รูปหาเหลี่ยม ปลายแหลมสั้น โดยจะออกดอกในชวงเดือนมีนาคม ถึงเดือนเมษายน[2],[3],[4] โดยคุณคาทางอาหารจะประกอบไปดวย โปรตีน
(พญ.เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ, ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, กัญจนา ดีวิเศษ). “อบเชยเถา”. หนา 151. 2.หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพครั้งที่ 5. (ดร.วิทย เที่ยงบูรณธรรม). “อบเชยเถา”. หนา 835-836. 3.โครงการเผยแพรขอมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปญญา ทองถิ่นบนพื้นที่สูง, สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง
เอกสารอางอิง 1.หนังสือสมุนไพรในอุทยานแหงชาติภาคกลาง.
- ผลอบเชยเถา ลักษณะของผลเปนรูปไขยาว ติดกันเปนคู ผิวผลเนียน มีรองเปนแนวตามยาว ผลมีขนาดยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร ภายในผลมีเมล็ด[1] สรรพคุณของอบเชยเถา - รากใชเปนยาบํารุงหัวใจ (ราก)[1] - รากมีสรรพคุณชวยทําใหชุมชื่นกระปรี้กระเปรา (ราก)[1] - รากใชปรุงเปนยาหอม ชวยแกลมวิงเวียนศีรษะ รักษาอาการ หนามืดตาลาย (ราก)[1],[2] - รากใชเปนยาขับลมในลําไส (ราก)[1],[2] - ชวยแกอาการปวดมวนในทอง (ราก)[1] - ใชเปนยาแกบิด แกทองเสีย (ไมระบุสวนที่ใช) (วนิดา, 2536) - รากนํามาตมกับนํ้า อบไอนํ้า แกโรคผิวหนัง ผื่นคัน (ราก)[5] ประโยชนของอบเชยเถา - ผลออนใชรับประทานได โดยนํามารับประทานเปนผักสด จิ้มกับนํ้าพริก[3],[4] - ใชเปนอาหารสัตวจําพวกแทะเล็ม เชน โค กระบือ ขอขอบคุณแหลงขอมูล : https://medthai.com ภาพประกอบ : www.magnoliathailand.com,
เรียบเรียงขอมูลโดยเว็บไซตเมดไทย (Medthai)
www.baanmaha.com, https://www.samunpri.com
30 Á.¤.-¡.¾. 2566 โลกสุขภาพ เปด 8 เทรนดสุขภาพป 2023 “บํารุงจิต-ฟตรางกาย-ใสใจโลก” อัปเดตเทรนดสุขภาพที่จะมาแรงในป 2023/2566 นิยาม รักสุขภาพบทใหมที่เนนใหความสําคัญกับเรื่องสุขภาพจิต ควบคูการฟตรางกาย พรอมใสใจสิ่งแวดลอมเพื่อลด ผลกระทบดานสุขภาพ ตอนรับเดือนสุดทายปลายป 2022 อยางเปนทางการ พรอมเปดกระแสสุขภาพที่จะมาแรงในป 2023 ที่กําลัง จะมาถึง จากบทเรียนที่ทั่วโลกตองเผชิญ ไมวาจะเปนโรคภัย มลภาวะ ภัยพิบัติตาง ๆ สงผลใหเกิดความกังวลในเรื่องของ อนาคตมากขึ้น ในชวงสองสามปที่ผานมานี้ผูคนตางเริ่มหันมา ใสใจเรื่องของสุขภาพ แตดวยขอจํากัดที่ตองเก็บตัวอยูในบาน มากกวาออกไปขางนอก ทําใหเทรนดสุขภาพเริ่มเปลี่ยนไป ดวยจากบางพฤติกรรมที่ถูกจํากัดกลายเปนเทรนดสุขภาพใหม ซึ่งในป 2023 ดูเหมือนวาจะเปนเทรนดที่ไดรับอิทธิพลมา จากสภาพแวดลอมและสถานการณโลก สวนจะมีอะไรมา อัปเดตพรอมกันไดเลย 1. กระแสดูแลสุขภาพจิต เทรนดฮิตสุขภาพประจําป 2023 เนื่องจากสถานการณทั้งเรื่องโรคภัยและภัยพิบัติตาง ๆ ใน 2-3 ปที่ผานมา นาจะทําใหชาวโลกเกิดความเครียด สะสมไมนอย เทรนดสุขภาพที่โดดเดนในป 2023 จึงเนน ไปในทางการดูแลและปรับปรุงสุขภาพจิตที่อาจเปนนิยาม ใหมในการดูแลสุขภาพแบบเดิม ๆ ที่เคยเนนดูแลสุขภาพ รางกายมากกวา แตก็ไมไดหมายความวาจะสนใจแคเรื่อง จิตใจอยางเดียว เพราะนอกจากดูแลสุขภาพจิตก็ยังคงมี ออกกําลังกายควบคูกันไป เพราะการออกกําลังกายมีสวน ชวยปรับสุขภาพจิตใหดีขึ้นไดดวยนั่นเอง การดูแลสุขภาพจิต ถึงแมวาการออกกําลังกาย ดูแลสุขภาพรางกายจะ เปนสวนหนึ่งที่ชวยปรับจิตใจใหดีขึ้น แตการบําบัดทางเลือกอยางการ ใชเสียงบําบัด ดนตรีบําบัด การนําคลื่นเสียงที่พัฒนาขึ้นจากคลื่นความถี่ ของสมองมาใชเยียวยาจิตใจคนที่มีปญหาดานอารมณ การทําสมาธิให จิตใจสงบ การฝกหายใจเพื่อใหความดันเลือดคงที่ นาจะเปนการบําบัด จิตใจที่ตรงจุดมากยิ่งขึ้น และการเขาสปา การนวดที่ชวยผอนคลายทั้ง รางกายและจิตใจก็ยังรวมอยูในเทรนดการบําบัดทางเลือกดวย และ จาก 2 เทรนดนี้ทําใหเห็นวาผูคนจะเริ่มหันมาใหความสําคัญกับการ คลายความเครียดเปนสวนใหญ 2. ผูคนหันมาสนใจการบําบัดทางเลือก เทรนดสุขภาพป 2023 ตอมาเปนเทรนดที่หลายเว็บไซต สายสุขภาพคาดเดากันวาจะฮอตฮิตในอนาคตอันใกล คือ การบําบัดทางเลือก ซึ่งคาดวานาจะสืบเนื่องมาจากเทรนด 3. ฟตที่บานผานแอปฟตเนส หนึ่งในเทรนดสุขภาพที่ไดรับอิทธิพลมาจากสถานการณโควิด เมื่อผูคนตองใชชีวิตแบบ Social Dictancing การออกไปฟตเนส ขางนอกเลยลดลง พฤติกรรมการออกกําลังกายโดยเฉพาะคนเมืองที่เคย เขาฟตเนสจะนอยลง โดยในป 2023 จะเปนการออกกําลังกายที่บาน ดวยแอปฟตเนส ก็อยางที่บอกไปวา นอกจากการดูแลสุขภาพจิต การบําบัดทางเลือกแลว ก็ยังมีการออกกําลังกายเพื่อดูแลทั้งสุขภาพ รางกายและสุขภาพจิตควบคูกันไปดวย เมื่อผสานกับโลกยุคดิจิทัล แมไมไดออกจากบานไปฟตเนส ก็ยังมีบริการในแอปพลิเคชันชวย อํานวยความสะดวก ซึ่งนอกจากชวยเรื่องออกกําลังกาย บางแอป ยังสามารถวัดมวลรางกาย ไขมัน การเตนของหัวใจ การนอนหลับ เช็กการกินอาหารของเราไดดวย เหมือนมีเทรนเนอรสวนตัวอยูกับเรา ตลอด 24 ชั่วโมงเลยทีเดียว
31 Á.¤.-¡.¾. 2566 โลกสุขภาพ ขอขอบคุณแหลงขอมูล : https://www.nationtv.tv/lifestyle/healthbeauty/378894603 4. การออกกําลังกายแบบ Virtual Reality Workouts จะมาแรง อีกหนึ่งเทรนดสุขภาพที่คาดวานาจะมาแรงและฮอต ฮิตติดลมบนในป 2023 คือ การออกกําลังกายแบบ Virtual Reality Workouts หรือ VR Fitness Games ซึ่งเปนการ ออกกําลังกายแบบสนุก ๆ เพราะบวกการเลนเกมเขาไปดวย โดยผูเลนตองเชื่อมตออุปกรณกับรางกายตัวเองเพื่อใหตัวละคร ในเกมเคลื่อนไหวตาม ผูเลนจะตองทําเควสออกกําลังกาย ตามเกมเพื่อผานแตละดานไปใหได ซึ่งความยากงายที่เรา กําหนดเองนี่แหละจะเปนชาเลนจที่สนุกแถมฟตไปในคราว เดียวกัน 6. การนอนพักผอนใหเพียงพอและมีคุณภาพ เทรนดสุขภาพป 2023 แบบไมตองออกแรง ไมตองใชอุปกรณ ตองมี!! นั่นคือ การหันมาใหความสําคัญกับการนอนพักผอนใหเพียงพอ แตไมไดหมายความวาจะนอนนาน หรือจะนอนตอนไหนก็ได เพราะ รางกายเรามีนาิกาชีวิตที่อวัยวะตาง ๆ จะทํางานตามเวลาของมัน การใชชีวิตประจําวันใหเปนไปตามชวงเวลาที่อวัยวะทํางาน จะทําให อวัยวะทํางานไดดีและสุขภาพรางกายดียิ่งขึ้น ซึ่งชวงเวลาที่เหมาะสม สําหรับการนอนจะอยูที่การเริ่มนอนประมาณ 4 ทุม และตื่นนอน ประมาณตี 5 ถึง 6 โมงเชา และเราควรนอนใหได 1 ใน 3 ของรอบ นาิกาชีวิต นอกจากตามเทรนดออกกําลังกายแลว ลองตามเทรนด นอนพักผอนใหเพียงพอไปดวย จะไดเปนคนสุขภาพดีในป 2023 5. การออกกําลังกายแบบ Tabata Training เทรนด สุขภาพที่นาจับตาในป 2023 เมื่อโลกมันหมุนเร็วจนเราตามไมทัน อะไรที่ตองใชความไว มักจะไปเปนที่นิยมเสมอ ไมเวนแมแตการออกกําลังกาย โดย เทรนดออกกําลังกายในป 2023 ที่คาดวาจะมาแรง คือ การ ออกกําลังกายแบบ Tabata Training ที่ปนี้เขามาอยูในลิสตดวย สําหรับการออกกําลังกายแบบ Tabata Training เปนการ ออกกําลังกายที่เหมาะสําหรับคนที่มีเวลานอย ออกกําลังกาย แคไมกี่นาทีก็สามารถลดไขมันได และจะออกกําลังกายแบบ หนักสลับเบาเปนชวง ๆ โดยออกแรงทั้งหมด 20 วินาที และ พัก 10 วินาที ถึงจะใชเวลานอยแตดีกรีความยากเขาขั้นอยู พอสมควร 7. เทรนดรักสุขภาพ=รักษโลก ดวยการเลือกทานอาหาร Plant-based นอกจากกิจกรรมดูแลสุขภาพแลว ในเรื่องของเทรนดอาหารการกิน สายเฮลทตี้ก็ตองมีมาอัพเดทเชนกัน แนนอนวาตองเปนเทรนด Plant-based ความ Organic ธรรมชาติกําลังมาแรง สาเหตุจากความกังวลเรื่อง ของมลพิษ สารเคมีทําลายสิ่งแวดลอม และกังวลถึงสารบางอยางที่มา จากสัตวดวย เลยทําใหเทรนดการเลือกทานอาหาร Plant-based มาแรงในป 2023 อาหารและเครื่องดื่มที่เปนวีแกนอยางนํ้าผลไมสกัดเย็น จะฮอตฮิตคนเลือกทานมากยิ่งขึ้น แถมบางคนไมไดทานเพราะเปนกระแส หรือเพราะชอบอยางเดียว แตยังมีคนที่เลือกทาน Plant-based เพื่อ ควบคุมนํ้าหนัก เขาไปปรึกษากับนักโภชนาการ เพื่อปรับการทานอาหาร ใหเขากับตัวเองอีกดวย 8. ใสใจสิ่งแวดลอม เพื่อรักษาสุขภาพที่ดี เมื่อโลกกําลังสงสัญญาณตือนบางอยางถึงมนุษย เทรนดสุขภาพใน ป 2023 จึงพุงมาที่การใสใจสิ่งแวดลอมเพื่อรักษาสุขภาพที่ดีอยางยั่งยืน (sustainable) ในชวงหลังมานี้ผูคนเลยใหความสนใจกับการดูแลและให ความสําคัญกับความยั่งยืนทางสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น อยางเทรนดการ เลือกทาน Plant-based ก็ดวย เพราะถาสิ่งแวดลอมบนโลกดีขึ้นก็ตาม มาดวยการลดการเกิดมลภาวะ โรคภัย สงผลใหสุขภาพมนุษยเราดียิ่งขึ้น ตามมา

(Basic Course) Line ID: thaihp8920

34 Á.¤.-¡.¾. 2566 ปฎิทินขาว วันที่ สถานที่ รายละเอียด สนใจติดต‹อ 16-20 มกราคม 2566 ณ หองประชาสโมสร 1-2 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน รวมกับ โทร. 0 4320 2378 ชั้น 1 โรงแรม อวานี ขอนแกน กระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเภสัชกรรมคลินิก โฮเทล แอนด คอนเวนชั่น เรื่อง Advanced Pharmacotherapeutics เซ็นเตอร จังหวัดขอนแกน 25-27 มกราคม 2566 ณ Macademy (เอ็มซีดี สมาคมเภสัชกรโรคมะเร็งภาคพื้นเอเชียแปซิฟก (ประเทศไทย) โทร. 0 4320 2378 เทรนนิ่งเซ็นเตอร) กรุงเทพฯ และ กลุมเภสัชกรดูแลผูปวยโรคมะเร็ง (ประเทศไทย) หรือ Thai Medical OncologyPharmacists (TMOP) รวมกับ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จัดโครงการ ประชุมวิชาการกลุมเภสัชกรดูแลผูปวยโรคมะเร็ง (ประเทศไทย) “Fundamental workshop of oncology pharmacy practitioners” ครั้งที่ 1 26–27 มกราคม 2566 ณ คณะเภสัชศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดประชุมวิชาการ โทร. 0 4375 4360 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง “ความกาวหนาทางดานสมุนไพรและการแพทยแผนไทย E-mail : nittaya. (รูปแบบออนไลน) ครั้งที่ 4”
6-10 กุมภาพันธ 2566 ณ หองเจาพระยา สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) โดย โทร. 0
9333 โรงแรมมณเฑียร ริเวอรไซด กลุมชุมชนเภสัชกรนักปฏิบัติงาน ADR หรือ กลุม ADCoPT
พระราม 3 กรุงเทพฯ จัดการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการคอรสพื้นฐาน
สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตร การฝกอบรมระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรม (สาขาการประเมินและติดตามอาการไมพึงประสงคจากการใชยา) 27 ก.พ.-3 มี.ค. 2566 ณ หองเจาพระยา สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) โดย โทร. 0 2249 9333 โรงแรมมณเฑียร ริเวอรไซด กลุมชุมชนเภสัชกรนักปฏิบัติงานดูแลการบําบัดผูปวยโรคติดเชื้อ
พระราม 3 กรุงเทพฯ ดวยยาตานจุลชีพ (ประเทศไทย) หรือ กลุม SOPITT จัดงานประชุมวิชาการ The 8th NCARO
“The
8-10 มีนาคม 2566 ณ หองประชุม 302 ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 08 7559 7393 อาคารเทพรัตน จัดประชุมวิชาการ เรื่อง Pain Point in Pharmaceutical Care: E-mail: supattra.kon คณะเภสัชศาสตร Unraveling and Counseling Approach @mahidol.ac.th มหาวิทยาลัยมหิดล และผานระบบออนไลน 29-30 มิถุนายน 2566 ณ โรงแรมสุนีย แกรนด โฮเทล คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดประชุมวิชาการ โทร. 0 4535 3603 แอนด คอนเวนชั่น เซ็นเตอร โครงการ North Eastern Oncology Pharmacy Symposium อุบลราชธานี ครั้งที่ 5 เรื่อง “Advancing in cancer treatment: What pharmacist need to know?”
n@msu.ac.th
2249
E-mail: hp@thaihp.org
E-mail: hp@thaihp.org
(National Pharmacy Conferenceon Antimicrobial Agents and Resistant Organisms)Infectious Disease Pharmacists 2023 ในหัวขอ
Unfinished solution for Difficulty-to-Treat infectious disease form Difficulty-to-Treat Pathogen”

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.