เมดิคอลไทม์ ฉบับ 414

Page 1

www.medi.co.th



»‚·Õè 20 ©ºÑº·Õè 414 »ÃШíÒà´×͹ ÁÕ.¤. - àÁ.Â. 2564

25 ข อมูลสุขภาพ

4 บทบรรณาธิการ 5 Cover Story ͧ¤ ¡Ãá¾·Â ÃÇÁ¾Åѧ¾Ñ²¹Ò¤ÇÒÁࢌÁá¢ç§ Ãкº¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ¢ͧ¼ÙŒ»†ÇÂáÅкؤÅÒ¡ÃÊÒ¸ÒóÊØ¢

15 Journal Watch 㪌ÇѤ«Õ¹¡Ãе،¹ÀÙÁԤ،Á¡Ñ¹µŒÒ¹ÁÐàÃç§ melanoma ÃÐÂÐÂÒÇ â»Ãá¡ÃÁºíҺѴµÒÁ¢Ñ鹵͹ª‹ÇÂÅ´ÍÒ¡ÒâŒÍࢋÒàÊ×èÍÁ COVID-19 ¨Ð໚¹Í‹ҧäÃã¹ÍÕ¡ËÅÒ»‚¨Ò¡Çѹ¹Õé Ŵ໇ÒËÁÒ¡ÒÃãËŒÍÍ¡«Ôਹ äÁ‹Å´¡ÒõÒ¨ҡ¡ÒÃËÒÂã¨ÅŒÁàËÅÇ

28 ปกิณกะสุขภาพ 31 ปฏิทินข าว 32 News in Medicine

19 News Update ʶҺѹÇѤ«Õ¹áË‹§ªÒµÔ ÂéíÒ! ͧ¤ ¡ÒÃ͹ÒÁÑÂâÅ¡áÅÐÍÕÂÙ ÃѺÃͧÇѤ«Õ¹ÁÕ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

20 รายงานพ�เศษ

23

¡ÃÁÇÔ·Â ÁØ‹§ÁÑè¹à»š¹ 1 ã¹ 3 ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕ ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ¡ÒÃá¾·Â áÅÐÊÒ¸ÒóÊØ¢ ʸ. ÃѺÁͺÇѤ«Õ¹â¤ÇÔ´¨Ò¡áÍʵÌÒૹ๡ŒÒ à¡çºà¢ŒÒ¤ÅѧÇѤ«Õ¹¡ÃÁ¤Çº¤ØÁâä

23 Medical Technology àª×èÍÁÊÁͧ¡Ñº¨Ñ¡Ã¡Å¿„œ¹¿Ù¼ÙŒ»†ÇÂËÅÍ´àÅ×Í´ÊÁͧ

28

15

32


ปีที่ 20 ฉบับที่ 414 ประจำ�เดือน มี.ค. - เม.ย. 2564

ADVISORY BOARD

รศ.ภญ.ธิดา นิงสานนท์ รศ.ดร.ภก.สุนิพนธ์ ภุมมางกูร ดร.ภญ.พร้อมจิต ศรลัมพ์ ภญ.อุไร หนุนภักดี พรวิทย์ พัชริทร์ตนะกุล ภญ.ปรานี ภิญโญวัฒยากร รศ.ดร.ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ ภก.ทวีศักดิ์ สีทองสุรภณา ภก.สมเกียรติ มหพันธ์ ภก.นิพนธ์ ศิริชัยพหรหม ภญ.พนิดา ปัญญางาม ภก.คทา บัณฑิตานุกูล พ.อ.ภก.สมโชค แดงบรรจง ภก.ประวิทย์ ตันติสุวิทย์กุล รศ.ดร.ภญ.เฉลิมศรี ภุมมางกูร

EXECUTIVE EDITOR พจ.วันชัย คุปต์วาทินกุล

ADVERTISING MANAGER จารุวัล สุริโย

ADVERTISING SALES AGENT พิน สุทธิโอฬาร

EDITORIAL DEPARTMENT รักษ์ชนม์ จิตระทาน

บริษัท เมดิ เจอร์นัล จำ�กัด

เลขที่ 158 ซ.บางขุนนนท์ 29 ถ.บางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0 2424 3434 แฟกซ์ 0 2434 3434 E-mail : medijournal999@gmail.com

PRINTING

บริษัท บี.เค.อินเตอร์พริ้นท์ จำากัด 12/2 ซอยโชติวัฒน์ 8 ริมคลองประปา เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 0 2587 1609 (ข้ อ ความและเนื้ อ หาที่ ป รากฏในวารสารเมดิ ค อลไทม์ เ ป็ น ความ คิดเห็นและทรรศนะเฉพาะตัวของผู้เขียนจึงอยู่เหนือความรับผิดชอบ ของผู้จัดทำา ผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจรับทราบข้อมูล ด้วยตนเอง)

โซเชียลมีเดียเป็นแพลตฟอร์มที่หลายคนเข้าไปแชร์ความคิดและติดต่อกับบรรดา ผู้ที่คุ้นเคย และยังเป็นแหล่งของข้อมูลข่าวสารมากมายทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง และในบางครั้งเป็นเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพและโรคต่าง ๆ ซึ่งอาจจะให้ข้อมูลที่ผิด แก่ผู้ที่กำาลังตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพของตนเองหรือคนในครอบครัวได้ คำาว่า “ข้อมูลข่าวสารที่ผิดเกี่ยวกับสุขภาพ” (health misinformation) หมายถึง ข้อมูลหรือความคิดใด ๆ เกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบันถือว่าไม่เป็น ความจริง อย่างไรก็ตาม ข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ดึงดูดความสนใจของผู้คนค่อนข้างแรง เมื่อมีคนสนใจเข้ามามีส่วนร่วมบนออนไลน์กันมากขึ้น อย่างเช่น บน Facebook หรือ Twitter เป็นต้น มีการศึกษาหลายชิ้นที่ให้ความสำาคัญกับเรื่องของข้อมูลข่าวสารที่ผิด เกี่ยวกับสุขภาพบนโซเชียลมีเดีย จากการทบทวนงานวิจัยในเรื่องนี้ นักวิจัยได้พบ เนื้อหาด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องมากมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผลิตภัณฑ์ยา และ ปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งเรื่องวัคซีนและโรคต่าง ๆ ข้อมูลข่าวสารที่ผิดเกี่ยวกับสุขภาพบนโซเชียลมีเดียมีแนวโน้มเติบโตขยายตัว และอาจมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมของประชาชน ซึ่ ง หน่ ว ยงานด้ า นสาธารณสุ ข กั ง วลว่ า ข้ อ มู ล ที่ ผิ ด จะทำ า ให้ ป ระชาชนปฏิ บั ติ ตั ว ในการดูแลสุขภาพอย่างไม่ถกู ต้องและเกิดผลเสียได้ หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ได้ติ ด ตามและพบข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ผิ ด เกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพจำ า นวนมากบนโซเชี ย ลมี เ ดี ย และได้แก้ไขปัญหาด้วยการแถลงข่าวและเสนอข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่ถูกต้องออกมา สูส่ าธารณชน ผ่านสือ่ ออนไลน์ของหน่วยงานเองและสือ่ มวลชนแขนงต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม การติดตามตรวจสอบข้อมูลบนสื่อโซเชียลมีเดียที่เผยแพร่ได้กว้างขวางและรวดเร็วมาก เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและยากที่จะติดตามแก้ไขได้ทั้งหมด เมื่อมองที่ประชาชนผู้รับข่าวสารผ่านโซเชียลมีเดีย น่าสนใจว่าประชาชนรับรู้ เข้าใจ และคิดอย่างไรกับข้อมูลข่าวสารทีผ่ ดิ เกีย่ วกับสุขภาพบนโซเชียลมีเดีย มีตวั อย่าง จากการศึกษาของนักวิจัยที่คณะแพทยศาสตร์ University of Colorado ประเทศ สหรัฐอเมริกา ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์จาก University of Regina ประเทศแคนาดา และ Massachusetts Institute of Technology ใน Cambridge ซึ่งตรวจสอบ ปัญหานี้ ดำาเนินการสำารวจประชากร 1,020 คน อายุ 40–80 ปี ในสหรัฐอเมริกา โดย ให้ผู้เข้าร่วมการสำารวจให้คะแนนความถูกต้องของข้อมูลที่โพสต์บน Facebook และ Twitter ตามที่ตนเองรับรู้ โพสต์เหล่านี้มีทั้งข้อมูลที่ถูกและผิดเกี่ยวกับการรักษา โรคมะเร็ง วัคซีน Human papilloma viruses ( (HPV) และการใช้ยาลดไขมัน statin รวมทั้งข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง เช่น ข้าวยีสต์แดงลดคอเลสเตอรอลได้ผลเหมือนยา statin กัญชาและขิงสามารถรักษามะเร็งได้ เป็นต้น ผลการสำารวจสรุปว่า ผู้มีการศึกษาน้อย และขาดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ผู้ที่ไม่ไว้ใจในระบบสุขภาพ และผู้ที่มีทัศนะเอื้อ ต่อการรักษาทางเลือกมักจะเชื่อข้อมูลที่ผิดเกี่ยวกับสุขภาพ นอกจากนั้น ผู้ที่เชื่อใน ข้อมูลที่ผิดในเรื่องหนึ่งมักจะเชื่อข้อมูลที่ผิดในอีกเรื่องหนึ่ง ข้อมูลข่าวสารที่ผิดเป็นอุปสรรคต่อการตัดสินใจเข้ารับบริการของระบบดูแล สุขภาพที่ดี เพราะจะขัดขวางหรือดึงผู้ที่เชื่อในข้อมูลที่ผิดไม่ให้เข้าหามาตรการป้องกัน โรคที่ถูกต้อง และทำาให้ลังเลหรือไม่ยอมไปพบแพทย์เมื่อเกิดการเจ็บป่วย รวมทั้งขาด การส่งเสริมสุขภาพของตนเองอย่างถูกต้อง นอกจากการเผยแพร่ข่าวสารที่ถูกต้องถึงตัวประชาชนผ่านสื่อต่าง ๆ แล้ว หน่วยงานด้านสาธารณสุข สถาบันการศึกษา และองค์การภาคเอกชนในประเทศไทย ควรดำาเนินการสำารวจความคิด ทัศนคติต่อข้อมูลข่าวสารที่ผิดเกี่ยวกับสุขภาพ และ การปฏิ บั ต ิ ต ั ว ในการดู แ ลสุ ข ภาพของประชาชนไทยในชุ ม ชนต่ า ง ๆ เป็ น ระยะ ๆ ทำาความเข้าใจและหาวิธกี ารใหม่ ๆ ในการจัดการกับข้อมูลทีผ่ ดิ ซึง่ อาจจะอาศัยเครือข่าย ระบบสุ ข ภาพตลอดจนบทบาทของอาสาสมั ค รสาธารณสุ ข และการมี ส่ ว นร่ ว ม ของภาคประชาชนด้วย

บทบรรณาธิการ


Cover Story องคกรแพทยรวมพลังพัฒนาความเขมแข็งระบบความปลอดภัย ของผูปวยและบุคลากรสาธารณสุข

ปจจุบนั ภาครัฐไดมกี ารจัดระบบใหประชาชนสามารถเขาถึงการดูแลรักษา ไดมากขึ้น ในขณะที่ทรัพยากรทางดานบุคคลและปจจัยพื้นฐานอาจพัฒนา ไมทันกับความตองการที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทําใหเกิดผลลัพธที่ไมพึงประสงค ในการรักษา นําไปสูการรองเรียนฟองรองอยูบอยครั้งและมีแนวโนมมากขึ้น ดังนั้น เรื่องความปลอดภัยของผูปวยและของบุคลากรเองจึงจําเปนที่จะ ตองไดรับการสงเสริม สนับสนุน โดยความรวมมือจากทุกภาคสวน ทั้งภาค รัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงการสื่อสารที่ดีในการชวยกันแก ปญหา การสัมมนา Safe Practice: Situation and Concerns ในครั้งนี้มี ผูทรงความรูที่เปยมไปดวยประสบการณมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อให ผูเ ขารวมการสัมมนาไดรบั รูถ งึ สถานการณ และสรางความตระหนักในประเด็น ความปลอดภัยในเวชปฏิบตั ขิ องบุคลากร โดยใหความสําคัญกับความเขมแข็ง ขององคกรแพทยซง่ึ จะเปนผูน าํ ในการขับเคลือ่ น การสรางเครือขาย การสราง นวัตกรรม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อสนับสนุนนโยบายของกระทรวง สาธารณสุข (สธ.) ในประเด็น 2 P safety ใหสัมฤทธิ์ผลอยางเปนรูปธรรม ในเร็ววัน ปจจุบนั ตองยอมรับวายังมีชอ งวาง หรือ Gap ทีพ่ วกเราชาวสาธารณสุขจะ ชวยกันคิดเพือ่ ลดผลลัพธทไ่ี มพงึ ประสงคลง ชวยกันทําเพือ่ เพิม่ ความปลอดภัย ใหมากขึน้ ทามกลางความคาดหวังของผูป ว ยทีร่ สู กึ วาปลอดภัยเมือ่ ถึงมือหมอ โดยปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.เกียรติภูมิ วงศรจิต ใหการสนับสนุนอยาง เต็มที่ ที่จะให Safe Practice หรือเวชปฏิบัติที่ปลอดภัยเปนวาระของชาว สาธารณสุข

สมาพันธแพทยโรงพยาบาลศูนย/ โรงพยาบาลทั่วไปฯ, แพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ, แพทยสภา และกระทรวงสาธารณสุข รวมกันจัดสัมมนา “Safe Practice: Situation and Concerns” โดย นพ.ณรงค สายวงศ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข มาเปนประธานในการเปดสัมมนา1 มีการนําเสนอแนว ความคิดและแนวทางปฏิบตั ใิ นการสงเสริมความปลอดภัย ของผูป ว ยและบุคลากรในระบบสาธารณสุขอยางกวางขวาง โดยวิ ท ยากรผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ ากหน ว ยงานและองค ก ร วิชาชีพ ครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ทั้งปญหา สาเหตุของ เหตุการณไมพึงประสงค แนวทางในการแกไข ปองกัน พัฒนาและสงเสริมการปฏิบัติดูแลผูปวยอยางปลอดภัย อันเปนประโยชนและนาสนใจหลายประการ นพ.ประดิษฐ ไชยบุตร ประธานสมาพันธแพทย โรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไป กลาววา ความ Adverse Events: Situation (How big is the problem?) ปลอดภัยของผูปวยเปนหัวใจสําคัญในการปฏิบัติงานของ บุคลากรทางการแพทย ตามหลักการ First Do No Harm โดยการพัฒนาและการบริหารจัดการดานการแพทยและ สาธารณสุขใหมีมาตรฐาน ครอบคลุม และปลอดภัย ถือ เปนปจจัยสําคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชน

ศ.ดร.นพ. ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ไดใหภาพรวมของโลกสําหรับสถานการณ ของเหตุการณทไ่ี มพงึ ประสงค เหตุปจ จัยทีท่ าํ ใหเกิดเหตุการณ และเหตุปจ จัย ในการปองกันหรือลดความเสียหายกับผลที่เกิดขึ้น โดยกลาววาเหตุการณ ที่ไมพึงประสงค (adverse event) ที่เกิดขึ้น ณ วันนี้ ไมไดมีผลกระทบ เฉพาะกับผูปวยและญาติ แตไดขยายไปถึงสังคมดวย ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

5


Cover Story งานวิจัยไดแสดงตัวเลขภาพรวมของโลกวา ประมาณ 7 - 40% ของผู  ป  ว ยที่เขามารับ การรัก ษาพยาบาลจะมี ประสบการณกบั การไดรบั adverse event อยางนอย 1 ครัง้ ทั้งในประเทศที่พัฒนาแลวและในประเทศอื่น ๆ โดยรวม ซึง่ ตัวเลขในประเทศรายไดนอ ยจะมีแนวโนมทีส่ งู กวา โดยแตละ โรงพยาบาลโดยเฉลีย่ ในแตละปจะมี adverse event เกิดขึน้ ประมาณรอยละ 10 ซึง่ เชือ่ วาเปนตัวเลขทีต่ า่ํ กวาความเปนจริง และขึ้นอยูกับนิยามของ adverse event แตที่สําคัญคือ รอยละ 50 ของ adverse event สามารถปองกันได และ ยังพบวาอัตราการเสียชีวิต (mortality) โดยเฉลี่ยรวมจาก adverse event ประมาณรอยละ 8 Adverse event ที่เกิดขึ้นโดยสวนใหญในลําดับตน ๆ ไดแก (1) surgical procedure (2) medications and fluid therapy และ (3) healthcare-associated inflections และเหตุแหงปจจัยที่ทําใหเกิด adverse event จัด ไดเปน 4 กลุม (1) การขาด competency ซึ่งเปนสิ่งที่ โรงเรียนแพทยใหความสําคัญ และไดยา้ํ มากกับนักศึกษาแพทย ที่จบไปแลว สิ่งสําคัญ คือ ไมมีใครที่จะรูทุกเรื่อง ไมมีใคร ที่จะมีความสามารถพอที่จะจัดการกับทุก ๆ เรื่อง ซึ่งเปน เหตุผลวา ทําไมแพทยศาสตรศกึ ษาถึงตองมีการศึกษาตอเนือ่ ง จากแพทยศาสตรบัณฑิตตอเนื่องเปนผูเชี่ยวชาญขึ้นไป โดย competency จะสูงขึ้นไปตามความรุนแรง ความซับซอน ของโรค เมื่อเราผลิตแพทย 1 คนที่สามารถดูแลสุขภาพ

ทั่วไป (general health) ของประชากรไดแลว เมื่อถึงจุดที่ จะสงตอใหแพทยที่มี competency สูงขึ้น จะทําอยางไรให จุดสงตอนั้นมีความเนียน เพราะบอยครั้งที่ adverse event เกิดขึ้นในตอนสงตอผูปวย เชน การสง information ไปไม ถึง การสงตัวผูปวย (transportation) ไมปลอดภัย เปนตน ฉะนั้น ทุกคนจึงมีสวนสําคัญในการลด adverse event โดยการพัฒนา competency ของตัวเองอยางตอเนื่อง เรามี โอกาสเจอโรคซับซอนหรือโรคใหม ๆ อยูเ รือ่ ย ๆ เชน โรคโควิด-19 เปนตน ถาไมหาความรูใหมๆ หรือยกระดับ competency ของตัวเอง อาจจะไมสามารถปองกันสถานการณที่นําไปสู adverse event ได 6

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

สาเหตุประการที่ 2 คือ team work failure การทํางานเปนทีม เปนเรื่องจําเปน ตอใหแพทยผาตัดเกงที่สุดในโรงพยาบาล แตถา identify patient ผิดตั้งแตตนหรือขาดการ identify ความเสี่ยงจาก การผาตัด หรือถาวิสัญญีแพทยไมเขาใจ ไมประสานงานกับแพทยผาตัด พยาบาลไมสงเครื่องมือ จะกลายเปนปญหาใหญได หรือแมจะออกจาก หองผาตัดไปเรียบรอยแลว การฟนตัวหลังการผาตัด (post recovery) โดยทีมหลังการผาตัดก็มีความสําคัญ ถาทีมงานทํางานไมประสานกัน โดยเฉพาะในเรื่อง information ของผูปวยที่สามารถสงตอถึงกันได หมด จะมีโอกาสเกิด adverse event ได นอกจากนั้น ยังพบวาปจจุบัน adverse event ที่เกิดขึ้นบอยครั้งถูกขยายรุนแรงมากขึ้น เพราะมีขอมูล รั่วออกไป โดยไมไดเจตนาปกปดขอมูล บางครั้งการใหขอมูลที่ไมคิดวา สําคัญกลายเปนปญหาขึ้นมาได ประการที่ 3 inadequate communication งานวิจัยชิ้นหนึ่งจาก Tufts university ศึกษาการฟองรองในงานบริการ พบวา ปจจัยของการ ฟองรองไมใชเรื่องแพทยจบจากที่ไหน เกงแคไหน หรือมีใบรับรองอะไร แตเรื่องที่สําคัญ คือ การสื่อสาร เชน การสื่อสารที่แสดงการดูถูกผูมารับ บริการ การไมพูดอยางจริงใจ เปนตน และการฟองรองที่เกิดขึ้นบอย ครั้ง คือ ผูปวยมารูความจริงดวยตัวเอง ซึ่งถือวาเปนเรื่องใหญ และการ สื่อสารที่ดีตองสื่อสารใหครบ 3 อยาง คือ (1) สื่อสารเนื้อหา (content) (2) สือ่ สารความรูส กึ (feeling) การทีเ่ รามีความเห็นอกเห็นใจ (empathy) กับผูปวยและญาติ จะชวยลดปญหาไดมาก และ (3) สื่อสารใหตรง โดยการ focus ที่ตัวผูปวย ถาสื่อสิ่งเหลานี้กลับไปไดดี จะสามารถ บรรเทาผลกระทบของ adverse event ที่เปน indirect effect ไดดวย และ 4. Incomplete หรือ lack of documentation เรื่องนี้บอยครั้งจะ ไปปรากฏในชั้นศาล สาเหตุนี้มาจากการที่ไมไดบันทึกขอมูลไว อาจเปน เพราะคิดวาจําได แตเมื่อเกิดเหตุการณขึ้นมาจริง ๆ กลับคิดไมออก และ บอยครั้งการบันทึกเอกสารเปนตัวชวยปองกันไมใหเกิด adverse event และปองกันตัวเองดวย และที่สําคัญมากกวานั้น คือ การดูแลใหตัวผูปวย ปลอดภัย โดยหลักแลว direct effect ของ adverse event จะอยูในพื้นที่ที่ แพทยสามารถจัดการไดทันทีที่รูวา undesirable หรือ unexpected event เกิดขึ้น แพทยมีทฤษฎี องคความรู (know how) ในการจัดการ แตสวนที่ไมอาจปองกันได (unpreventable) ในทางปฏิบัติมีรายละเอียด ที่ไมสามารถจะปองกันได 100% สําหรับ indirect effect ของ adverse event จะมีขนาดใหญกวา direct effect เพราะสิ่งที่เกิดขึ้น คือ การไม เขาใจกัน เชน การสื่อสารที่ไมเขาใจกัน การสื่อสารที่สั้นเกินไป สื่อสารไม ตรง มีความเอนเอียง (bias) หรือ โดยเฉพาะปจจุบันมีโซเชียลมีเดียมาก ขึ้น เรื่องเล็กนอยในบางครั้งขยายวงไปอยางมากมาย นพ.ชาตรี ดวงเนตร อดีตประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการการแพทย เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ กลาวถึงสถานการณ (situation) โดยยก ตัวอยางโรงพยาบาลแหงหนึ่งที่เคยอยูในการดูแลวา มีสถิติการรองเรียน เพิ่มขึ้นมาตอเนื่องตั้งแตป 2012 ถึงป 2016 และไดทําโครงการ Empathic camp project ฝกอบรมเรื่อง empathy ของแพทย ปรากฏวาในป 2017 เรื่องรองเรียนยังเพิ่มขึ้น แตในป 2018 เริ่มลดลง


Cover Story

ในตอนแรก resident report มีนอย ตอมาเมื่อบังคับใหทํา รายงาน จึงมี resident report มาก แตพบวาผูปวยมีเรื่อง รองเรียนนอยลง แสดงวา ถาแพทยรวมมือกัน การรองเรียนของ ผูปวยจะลดลงทันที เพราะเราไดพบปญหากอน และเขาไป ดูแลผูปวยในทันที ทั้งหมดนี้เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารกับ ผูปวย ถามีการเก็บขอมูลที่ดี นําเสนอรายงานใหดี มีการสื่อสาร ที่ดีกับผูปวยมากขึ้น ผูปวยจะพอใจมากขึ้น การรองเรียนจะ ลดลง ประเด็นตอไป คือ new concerns สําหรับเรื่องที่สําคัญ คือ COVIDS EFFECTS และ NEW NORMAL โดยสรุปประเด็น จากคําวา COVIDS ดังนี้ C = Connectivity นับจากนีไ้ ป Connectivity จะเพิม่ ขึน้ อยาง มหาศาล โดย connectivity ระหวางโรงพยาบาล และระหวาง องคกรแพทยดวยกันจะมีความสําคัญมากขึ้น เพราะผูปวยเอง มีการ connect ถึงกันหมดแลว โรงพยาบาลจะตอง connect กับ (1) provider ดวยกัน (2) connect กับผูป ว ยและผูจ า ยเงิน (payer) ซึง่ ไดแก ผูป ว ยทีจ่ า ยเงินเอง รัฐบาล หรือบริษทั ประกัน และ (3) connect กับองคกรวิชาชีพตางๆ (professional) O = On-line หรือ Out-sourcing V = Virtualization (RVG หรือ reverse globalization) ผูป ว ยจะไมคอ ยมาโรงพยาบาลแลว โรงพยาบาลตองติดตอผาน virtual ไปหาผูปวยถึงบาน โดยที่แพทยไมตองไป I = Intelligence โรงพยาบาลตองเปน smart hospital จะเปน intelligence ที่คน เครื่องมือ หรือ AI ก็ตาม D = Disruptive generations คนจะทําใหเกิด disruption ขึ้น ทั้งจากผูปวย ผูใหบริการ ซึ่งจะมีทั้งแพทย พยาบาล และผูปวยรุนใหม ๆ ขึ้นมา S = Safety and Stability จะเปนเรื่องสําคัญหลังจาก โควิดผานไปแลว โดยสวนของ new normal ที่เกี่ยวของกับ safe practice มี 3 เรื่อง คือ connectivity, virtualization และ disruptive generations โดย connectivity จะมีขอบเขตกวางใหญ มาก (mega scope) ทั้งการ connect กับผูปวย, provider,

payer และ professional (2) Virtualization คนสามารถติดตอกันได โดยไมตองมาพบกัน เนื่องจาก social distance จะมี primary care network ขึ้นมา ผูปวยที่เปนโรคเล็ก ๆ นอย ๆ (simple disease) ตอไป จะอยูที่บาน ไมไปโรงพยาบาล และทางโรงพยาบาลจะตอง connect กับ primary care ใหได รานยาสามารถจะติดตอกับแพทยได ยิ่งเปน โรงพยาบาลเอกชน ผูปวยไมอยากเสียคาใชจายมาโรงพยาบาล หรือ คนทีร่ บั การรักษาพยาบาลตอเนือ่ งจะไมมาโรงพยาบาล และตอไปการรองเรียน (legal exposure) จะเพิ่มขึ้นอีก เพราะแพทยแทบไมไดตรวจอะไร ผูปวย ที่อาการหนักจริง ๆ ถึงจะมาโรงพยาบาล ดังนั้น จึงตองมี virtualization ของprimary care (3) Disruptive generations ในที่ทํางานจะมี generation ตาง ๆ ไดแก กลุม builders เปนกลุมที่อายุมาก มีความมั่นคง, กลุม baby boom เปนผูบริหารระดับสูง อายุมาก, รุน gen X เปนรุนที่ทํางาน อยูในขณะนี้ เปนแกนนําของประเทศในเวลานี้, สวน gen Y เปนผูที่ เขาทํางานใหม และ gen Z เปนคนรุนใหม มีความคิดของเขาเอง ตอไป จะขึน้ มาเปนผูน าํ โรงพยาบาลจึงตองบริหารคนรุน นีใ้ หดี ในเรือ่ ง disruptive generations นี้ จะตองดูแลใหดี โดยเฉพาะกลุมที่เปน Henry (คือ high earning not rich yet) เมื่อไมพอใจงาน จะเปลี่ยนงานทันที เปนกลุมที่จะทําใหเกิด disruption อยางมาก จากสถานการณทก่ี ลาวมา นพ.ชาตรีไดใหขอ เสนอสําหรับ safe practice ดังนี้ 1) Establish safe culture ประกอบดวย (1) communication and report culture (มี 3 Key performance index) (2) justculture มีความยุติธรรม (มี 2 KPI) (3) team flexibility culture ทีมงาน ปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณ (มี 5 KPI) และ (4) มี learning culture (มี 2 KPI) องคการที่มีวัฒนธรรมเหลานี้จะเปน high reliability (trusted) organization โดยมีการวัด KPI ทัง้ 12 ขอ ทุกป ถาคะแนนสูง จะเปน safe hospital ถาคะแนนตํ่าจะเปน unsafe hospital 2) Clinical risk management มี 5 ขอ ไดแก (1) ready มีความพรอม (2) risk avoidance ไมเสี่ยง ไมทําในสิ่งที่ทําไมได (3) rapid response ถาเกิดปญหาขึ้น จะตองไปพบกับผูรองเรียน ทันทีเลย (4) rude cost analysis (RCA) และ (5) Recovering (CQI) 3) Emotional risk management ไดแก (1) Patient experience management (2) EMPATHIC Communication Training ฝกให รูจักการเอาใจเขามาใสใจเรา (3) Monitor HCAHPS scores โดยผูปวย ใหคะแนน ประกอบดวย 1. Dignity ดูแลผูปวยอยางมี dignity หรือไม 2. Listen ฟงผูปวยโดยละเอียดหรือไม 3. Explain อธิบายใหผูปวยไดดี หรือไม และ 4. Co-decision ใหผูปวยรวมตัดสินใจพรอมกับเราหรือไม ถาคะแนน HCAHP ทั้ง 4 ขอดีขึ้น แสดงวาการรองเรียนลดลง ถาคะแนน ตํ่าลง แสดงวาการรองเรียนสูงขึ้น (higher HCAHPS, lower complains; lower HCAHPS, higher complains) 4) Emerging generation management สําหรับ Gen builder: retirees, Gen baby boomer: primers และ Gen X: bearers เปน กลุม ทีอ่ ายุเกิน 40 ปขน้ึ ไป สวนกลุม Gen Y: beginners เปน Henry ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

7


Cover Story คือ เหตุจาก process และ system ของกระบวนการดูแลผูปวยและ เรายอมรับไดแคไหน เชน ยอมรับใหมีการใหเลือดผิดในโรงพยาบาลไดมาก แคไหน ยอมรับใหมีการผาตัดผิดคนผิดขางไดมากแคไหน หนังสือเลมนี้บอกวา บุคลากรทางการแพทยเปนคนดี ตั้งใจทําดี ตั้งใจ รักษาผูปวย แตสิ่งที่เปนปญหา คือ “คนที่ดีกําลังทํางานในระบบที่ไมดี (bad system)” (The problem is not bad people in healthcarebut good people are working in bad system that needs to be made safer.) จึงตองมีการจัดการใหระบบมีคุณภาพ ซึ่ง WHO ได ประกาศในการประชุมสมัชชาอนามัยโลกครั้งแรกในป 2002 วา “Quality as a patient safety” ถามีการบริหารจัดการในเรือ่ งคุณภาพ จะทําใหเกิด ความปลอดภัยของผูปวย และ WHO ไดสงเสริมเรื่องตาง ๆ อีกมากมาย เรือ่ งหนึง่ ทีส่ ง เสริมมาเกือบ 20 ป ในการรณรงคเรือ่ งความปลอดภัยของ ผูปวย คือ ประกาศ patient safety challenge ในประเด็นตาง ๆ ที่เปน preventable harm ในป 2006 มีประกาศชวนประเทศสมาชิกทั่วโลก ทําระบบ National Reporting and Learning Systems for Safety in Health Care ใหมีรายงาน adverse event เขามาเพื่อการเรียนรู โดยมี guideline สําหรับจัดทําระบบ ป 2016 มีการประชุมประเทศสมาชิก และใหประเทศไทยไปนําเสนอ ระบบทีป่ ระเทศไทยมี คือ การทีโ่ รงพยาบาล หลายแหงสมัครเขากระบวนการรับรองคุณภาพ ซึง่ จะมีมาตรฐานของการบริหาร ความเสีย่ ง (risk management) แนะนําใหโรงพยาบาลวางระบบการรายงาน อุบตั กิ ารณ (incidence report) ในโรงพยาบาล และไดกลาวกับประเทศสมาชิก ทั่วโลกวา แตละโรงพยาบาลในประเทศไทยมี incidence report แตสิ่งที่ ตองเดินตอ คือ การนํา incidence report ของแตละโรงพยาบาลมารวม ที่สวนกลางเปน national reporting ซึ่งประเทศสมาชิกในแถบเอเชีย บอกวา ทุกประเทศตองมี model นํารอง และมอบใหประเทศไทยดําเนินการ รายงานนี้ตองเปน Reporting and Learning Systems คลายกับ cornerstone ของกลยุทธ patient safety เพราะตองเรียนรูจ ากขอผิดพลาด และจะแกปญหาตางๆ ได แตถาไมเรียนรูจากขอผิดพลาด ไมรูวา system หรือ process ใดมีชองวางที่ตองแกไข จะเกิดปญหาซํ้าแลวซํ้าอีก ประเด็นตอมา WHO เริ่มเก็บขอมูลของประเทศตาง ๆ ทั่วโลก เพื่อดู พญ.ปยวรรณ ลิ้มปญญาเลิศ รองผูอํานวยการสถาบัน ขอมูลคนเสียชีวิตหรือพิการกอนวัยอันควร ปรากฏวา อันดับ 1 ยังเปน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) กลาวถึงความสําคัญ car accident/road safety จึงมีนโยบาย road safety ขึ้นมา อันดับ 2 คือ ของความปลอดภัยในผูปวยจากหนังสือ “To Err is Human” HIV แตอันดับ 3 มาจาก adverse event ซึ่งเปน preventable harm ที่อยู ซึ่งแสดงขอมูลที่พบวา ผูปวยเสียชีวิตจาก adverse event ใน process of care ดังนั้น ผูที่จะชวยในเรื่องการเสียชีวิตกอนวัยอันควรได มากกวาอุบัติเหตุทางรถยนต ประเทศตาง ๆ และองคการ ดีที่สุด คือ บุคลากรทางสาธารณสุข จึงเกิดการสงเสริม patient safety มา อนามัยโลก (World Health Organization: WHO) จึงหัน เปนเวลา 10 ป มามองความปลอดภัยของผูปวย (patient safety) และ ประเทศไทยเคยสํารวจ adverse event โดยสงจดหมายจากกระทรวง อันตรายที่ปองกันได (preventable harm) วาคืออะไร และ สาธารณสุข ไปที่ โรงพยาบาลและมีตอบมาทั้งหมด 389 แหง พบวาใน WHO ไดกาํ หนดคํานิยาม patient safety วา “The absence ประเทศไทยมี adverse event ถึง 2 แสนกวารายการ โดยอันดับ 1 เปน of preventable harm to a patient during the medication error ซึง่ โรงพยาบาลทีร่ ายงานเขามามากเปน ร.พ.ชุมขน อันดับ 2 process of healthcare.” ดังนั้น สิ่งสําคัญที่สุด คือ เรือ่ ง communication และอันดับ 3 เปน care process แตสง่ิ ทีค่ ขู นานไป การลดความเสีย่ งตออันตรายทีไ่ มจาํ เปนจากการรักษาพยาบาล กับ adverse event คือ compensation budget พบวา ตัง้ แตป 2004 ถึง ใหตํ่าถึงระดับที่สามารถยอมรับได (reduction of risk of 2014 compensation budget ที่ใชไปเนื่องจาก adverse event สูงกวา unnecessary harm associated with health care to 200 ลานบาท เพิม่ ขึน้ มากกวา 10 เทา ในรอบ 10 ป จึงไมใชแคการชวยชีวติ an acceptable minimum) เหตุที่แพทยตองพึงระวัง (save life) เทานั้น แตเปนเรื่องการประหยัดคาใชจาย (save cost) ดวย (คือ high earning not rich yet) มความสําคัญตอการบริหาร จัดการ ซึง่ คนใน Gen Y มีทง้ั ผูท เ่ี ปนบุคลากรของโรงพยาบาลเอง และผูปวย และ Gen Z: learners เปนพวก ME ME คือ ชีวติ อยูท ต่ี วั เองคนเดียว ตัวเองสําคัญทีส่ ดุ ครอบครัวและสังคม ไมเกีย่ ว ทัง้ Gen Y และ Gen Z เปน disruptive generation ที่จะเติบโตขึ้นมาอยางแนนอน จึงตองดูแลใหดี ตองใช Disruptive generations management เพราะเรากําลัง ทํางานกับคนหนุม สาว (young generation) ซึง่ มีขอ มูลขาวสาร ที่ไมจํากัด (unlimited pool of information) ทั้งที่ถูกตอง และไมถูกตอง และมี connectivity และ automations แสวงหาผลิตภัณฑและบริการซึ่งเปนทางเลือกที่มีตนทุนตํ่า จาก contracted healthcare providers สรุปผลสําหรับ safe practice ถาในทางคลินิกทําได ถูกตองทุกอยาง (Clinical success) และมีความเห็นอกเห็นใจ (Emotional success) ผลที่ไดจะชนะ (win) ถาทางคลินิก ทําถูกตองตามมาตรฐาน (Clinical success) แพทยทําไม ผิด แตไมอธิบายใหผูปวยและญาติเขาใจ (Emotional loss) ผลออกมาเปนแพ ถาทางคลินิกทําไมถูกตอง (Clinical loss) แตใหการดูแลเปนอยางดี ทัง้ วันทัง้ คืนจนผูป ว ยหาย (Emotional success) ผลออกมาจะชนะ แตถาไมมีทั้ง 2 อยาง (Clinical Loss & Emotional Loss) จะแพหมดทุกอยาง

8

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564


Cover Story ป 2006 ประเทศไทยเริ่มดําเนินการงานพัฒนาคุณภาพ โดยเริ่มรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ patient safety ที่เปน preventable harm ป 2008 มี patient safety goal จากนั้นจึง ขยับเรื่อง patient safety ในมุมมองตาง ๆ ไมวาจะเปนเรือ่ ง high risk area ทีม่ โี อกาสเกิด preventable harm มีการวาง หลักสูตรเขาไปในสถาบันการศึกษาเพือ่ สอนเรือ่ ง patient safety การชักชวนประชาชนและผูป ว ยเขามามีสว นรวมกับ patient safety และผลักดันกลยุทธเพือ่ ความปลอดภัยของผูป ว ย (strategy for patient safety) อันเปนทีม่ าทีป่ ระเทศสมาชิกทุกประเทศควรจะ ตองทํา country self-assessment สําหรับ patient safety situation และกระทรวงสาธารณสุขไดมอบหมายให สรพ. ทําเรือ่ ง การประเมินตนเองวาประเทศไทยมีสถานภาพ (status) เกี่ยวกับ patient safety อยางไร จากการประเมินครัง้ นีท้ าํ ใหประเทศไทย ไดมปี ระกาศนโยบายเรือ่ งความปลอดภัยของผูป ว ย โดยรวมถึงความ ปลอดภัยของผูใ หบริการ (personnel safety) ดวย ตามนโยบาย ของกระทรวงสาธารณสุข คือ ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่มี ความสุข ระบบสุขภาพจึงจะยั่งยืน นโยบายการขับเคลือ่ นเรือ่ งความปลอดภัยของผูป ว ยและบุคลากร สาธารณสุข (Patient and Personal Safety: 2P Safety Policy) ที่อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเมื่อ วันที่ 16 ก.ย. 2559 มี 3 ขอ คือ 1. กําหนดใหมีเปาหมายความ ปลอดภัยเปน National Patient and Personnel Safety Goals และวางยุทธศาสตรการขับเคลื่อนเพื่อความปลอดภัย ของผูปวยและบุคลากรสาธารณสุข จากความรวมมือของทุก ภาคสวน 2. สนับสนุนใหมี National incidents Reporting and Learning System ที่เกิดจากความรวมมือของบุคลากร และหนวยงาน ตั้งแตระดับพื้นที่ ระดับภูมิภาค และระดับ ประเทศ เพือ่ เกิดการพัฒนาเชิงระบบอยา งยัง่ ยืน และ 3. สง เสริม ใหผปู ว ยและประชาชนมีสว นรว มในการพัฒนาเพือ่ ความปลอดภัย ในระบบบริการสุขภาพอยางสรางสรรค หลังจากประกาศ นโยบายแลว มีการแตงตั้งคณะกรรมการ National Patient and Personnel Safety Committee และอนุกรรมการ หลายชุดขึ้นมาทํางาน มีการกําหนด 2P safety goal โดยเลือก preventable harm ที่สําคัญมากําหนดเปนรายการตัวอักษร ในคําวา “SIMPLE” ซึ่งมีทั้งของผูปวยและบุคลากร ดังนี้ Patient Safety Goals S - safety surgery and invasive procedure

Personnel Safety Goals

S – security and privacy of infor mation and social media (communication) I - infection prevention and control I - infection and Exposure M - medication & blood safety M – mental health and mediation P - patient care processes P – process of work lane (ambulance) L - Line tube and catheter, L - legal issues device and laboratory E - emergency response E – environment and working conditions

มีการวางระบบ National Reporting and Learning System โดยใชเวลาพัฒนาประมาณ 4 ป ตาม guideline ของ WHO พบวา incidence ทั้งประเทศที่รายงานเขามาในปงบประมาณที่ผานมา มี 6 แสนกวาเรื่อง สามารถแยกตามเขตบริการสุขภาพ แยกตามสังกัด ศักยภาพของโรงพยาบาล ตามขนาดของเตียง แยกเปนโรงพยาบาล ที่ผานและไมผานการรับรอง สําหรับสถานการณ patient safety goals ปจจุบัน (รอบ 6 เดือน) เมื่อดูอันดับความสําคัญของ incidence ตามหมวดหมูของ SIMPLE พบวา อันดับ 1 คือ medication & blood safety อันดับ 2 ไดแก process of care (patient identification, communication) อันดับ 3 คือ Line tube and catheter safety แตเมื่อดูวา incidence นั้นกระทบตอผูปวยมากนอยเพียงไร จากการวิเคราะหโดยนําจํานวน incidence มาเทียบหา % patient suffering on harm พบวา อันดับ 1 คือ emergency response (43.53%) จึงตองวางระบบ preventable harm ในพื้นที่ฉุกเฉิน สวน medication & blood safety แมจะมีจํานวน incidence เปนอันดับ 1 แต % patient suffering เพียง 1.54% สําหรับ personnel safety จาก incidence ทีร่ ายงานเขามา อันดับ 1 เปนเรื่อง Lane (traffic) and legal issues อันดับ 2 environment and working conditions ที่ไมปลอดภัย เชน การถูกทํารายใน หองฉุกเฉิน และอันดับ 3 เปน process of work เรื่องที่มีผลกระทบตอบุคลากรมากที่สุดเปนเรื่อง infection กับ exposure ซึง่ จะมีผลถึงตัวบุคลากรแนนอน จึงใหเรือ่ งนีเ้ ปนประเด็นสําคัญ และแนะนําใหทุกโรงพยาบาลวางระบบการปองกัน สรพ.ไดเปลี่ยนการ รับรองใหม นอกจากจะตองผานมาตรฐาน process แลว จะตองปฏิบัติ ตามมาตรฐานสําคัญจําเปนตอความปลอดภัย ทั้งหมด 9 ขอ ถือเปน หลักเกณฑ (criteria) สําหรับการรับรองโรงพยาบาลดวย ไดแก 1. การผาตัด ผิดคน ผิดขาง ผิดตําแหนง ผิดหัตถการ 2. การติดเชื้อที่สําคัญตามบริบท ขององคกรในกลุม SSI, VAP, CAUTI, CLABSI 3. บุคลากรติดเชื้อในการ ปฏิบัติหนาที่ 4. การเกิด medication errors และ adverse drug event 5. การใหเลือดผิดคน ผิดหมู ผิดชนิด 6. การระบุตัวผูปวย ผิดพลาด 7. ความคลาดเคลื่อนในการวินิจฉัยโรค 8. การรายงานผล การตรวจทางหองปฏิบัติการ/พยาธิวิทยาคลาดเคลื่อน 9. การคัดกรอง ที่หองฉุกเฉินคลาดเคลื่อน จากเหตุการณทเ่ี กิดขึน้ เราจะนํามาเรียนรู สําหรับอุบตั กิ ารณระดับ E ขึน้ ไปทีม่ รี ายงานมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรก โดยเลือกโรงพยาบาลทีร่ ายงาน มากทีส่ ดุ ของแตละกลุม SIMPLE เปนหลัก และเลือกโรงพยาบาลทีร่ ายงาน อันดับถัดไปมารวมกลุมแลกเปลี่ยนเพื่อทํา RCA รวมกับผูเชี่ยวชาญ และ วางระบบปองกัน โรงพยาบาลทีท่ าํ RCA แลวจะ attach file ทีไ่ ดวาง แนวทางการปฏิบัติตาง ๆ ขึ้นมาเพื่อแลกเปลี่ยนกัน โดยมี platform ให สําหรับการทําแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูเชี่ยวชาญ “ณ ตอนนี้ สิ่งที่สําคัญเกี่ยวกับ patient safety คือ การแลกเปลี่ยน เรียนรูในเรื่องตาง ๆ และพัฒนาระบบรวมกัน เราจะตอง learn from mistake and make it safety” ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

9


Cover Story

พล.อ.ต. นพ.อิทธิพร คณะเจริญ เลขาธิการแพทยสภา กลาววา แพทยสภามีอํานาจหนาที่ในการขึ้นทะเบียน พักใช หรือเพิกถอนใบอนุญาตผูป ระกอบวิชาชีพเวชกรรม รับรองปริญญา แพทยศาสตร หลักสูตรตาง ๆ สําหรับการฝกอบรมในวิชาชีพ เวชกรรรม เปนตน โดยแพทยสภามีภาระงาน 9 ดาน คือ 1. การ ผลิตแพทย ผานคณะแพทยศาสตร 2. การสอบ คุมมาตรฐานการ ศึกษาแพทย ผานการกําหนดหลักสูตร รวมถึงการสอบประเมิน ความรู 3. ดูแลการกระจายแพทยในหนวยงานตาง ๆ ซึ่งอยูใน กระทรวงสาธารณสุขเปนสวนใหญ เกือบ 1 พัน โรงพยาบาลใน หนวยงานภาครัฐอืน่ ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ ทหารสามเหลาทัพ สํานักงานตํารวจแหงชาติกรุงเทพมหานครและ โรงพยาบาลเอกชน 300 กวาแหง 4. คุมเรื่องการศึกษาตอเนื่อง (CME) เพื่อใหแพทย มีความรูและรักษามาตรฐานวิชาชีพ 5. ดูแลองคความรูวิชาการ มีราชวิทยาลัยอยูภ ายใตแพทยสภา 14 แหง 6. ผลิตแพทยเชีย่ วชาญ ดานตาง ๆ 81 สาขา กระจายใหทกุ โรงพยาบาล และองคกรแพทย 7. ใหคาํ ปรึกษานโยบายระดับประเทศ 8. เปนตัวแทนแพทยระดับ นานาชาติ 9. เรื่องคดี ควบคุมดูแลจริยธรรมแพทย ในแตละเดือนแพทยสภามีการประชุมเกี่ยวกับคดีตาง ๆ เพื่อ มีมติวาคดีที่เขามามีมูลหรือไมมีมูล สําหรับสถิติคดีในชวง 3 ป ที่ผานมา ในป 2561 มี 182 คดี เปนคดีมีมูล 61 คดี ไมมีมูล 103 คดี ดังนั้น ทั้งป 2561 มีคดีไมถึง 200 คดี จากการตรวจ ผูปวยประมาณ 300 ลานครั้ง ทั้งภาครัฐและเอกชน เปนอัตราสวน ไมถึง 1 ตอลาน ถือวาไมมาก แสดงวากลไกที่โรงพยาบาล ปองกันไวนน้ั ไดผล และพบวาสวนใหญทม่ี ารองเรียน เปนเรือ่ งเกีย่ วกับ empathy หรือ non-technical skill ไดแก ความไมพึงพอใจ ปญหาหลักจึงไมใชที่มาตรฐาน ในป 2562 มีคดีเกิดขึ้น 359 คดี แพทยสภาไดเรงปดคดีที่คางกวา 400 คดี หมดไป 300 กวาคดี และป 2563 มีการเรงปดคดีเชนเดียวกัน การที่บอกวาคดีใดคดีหนึ่งมีมูลนั้น จะดูวาเปนเหตุที่เกิดจาก ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือไม การที่ 2 ใน 3 ของคดีที่มาถึง แพทยสภาเปนคดีไมมีมูลนั้น เนื่องจากปญหาที่เกิดขึ้นเปนเรื่อง ของระบบที่ไมใชตัวแพทย แพทยสภามีอํานาจจํากัดในการดําเนิน คดีเฉพาะตัวแพทยเทานัน้ ถาเปนคดีทไ่ี มใชความผิดทีเ่ กิดจากแพทย 10

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

เชน เปนเรือ่ งของพยาบาล เภสัชกร หรือกลไกอืน่ ๆ เชน ตกเตียง เปนตน จะเปนคดีไมมีมูล หรือ การใหเลือดผิดกลุม แพทยไมได เปนผูใหเลือดเอง แมจะมีความเสียหายเกิดขึ้น แตคดีไมไดไปถึงตัว ผูป ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ในแตละคดี เมือ่ พบวามีมลู จะมีการพิจารณา เพือ่ ลงโทษ ซึง่ มีตง้ั แตยกขอกลาวโทษ วากลาวตักเตือน ภาคทัณฑ พักใช และเพิกถอนใบอนุญาต ในป 2561 มีการลงโทษ 216 คดี จะสังเกตวา เมือ่ คดีมมี ลู แลว จะมีการยกขอกลาวโทษนอยมาก การลงโทษสวนใหญ คือ การตักเตือน ซึ่งแสดงวาเปนคดีไมคอยรุนแรง เชน มีปญหาการ พูดจาไมดี เปนตน สรุปคดีจริยธรรม ในป 2561 มียกยอดมา 410 กวาคดี ตัดสิน จบไป 169 คดี ในป 2562 แพทยสภาเรงพิจารณาดคี สามารถตัดสิน จบไป 343 คดี ป 2563 ตัดสินจบไป 306 คดี ปจจุบัน (ป 2563) มีคดีเหลืออยู 123 คดี สําหรับคดีสอบสวนที่รับจากคดีมีมูล ในป 2561 มียอดยกมาจํานวน 450 คดี ปจจุบัน (พ.ย.ป 2563) แมจะมีคดีเขาใหม 308 คดี (ระหวางป 2561-2563) แตไดพิจารณาไปเรียบรอย 631 คดี เหลือเพียง 127 คดี แพทยสภาไดปรับมาตรฐาน กลไก ขอบังคับใหม ทําระบบใหมทั้งหมด ใหเรงพิจารณาคดีไดเร็วขึ้น เพื่อจะตอบโจทยวา ความยุติธรรมตองมาพรอมกับความเร็ว เมื่อแยกประเภทเรื่องรองเรียนจริยธรรม พบวา ในป 2561, 2562 และ 2563 มีอัตราสวนคดีเกี่ยวกับมาตรฐานการรักษา รอยละ 57, 62 และ 76 ตามลําดับ คดีเสริมความงาม รอยละ 34, 21 และ 6 ตามลําดับ ซึง่ มีอตั ราสวนลดลง เชือ่ วาเปนผลจากกลไก auto regulation เมื่อมีปญหาเกิดขึ้น แพทยเขาไปดูแลแกปญหาใหกอน จึงมีคดีหลุดมา ถึงแพทยสภานอยลง กรณีอื่น ๆ เชน โฆษณาและผิด พ.ร.บ.ยา คดีของแพทยและกระบวนการยุติธรรมมีความเกี่ยวของกันดวย เมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้น นอกจากการฟองรองตอแพทยสภาแลว ยังมีการไปยื่นเรื่องที่สํานักสถานพยาบาล สํานักงานคณะกรรมการ คุมครองผูบริโภค (สคบ.) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) มีการดําเนินคดีจากตํารวจ ศาลแพง ศาลอาญา ศาลผูบ ริโภค ทําใหปญ หา ซับซอนมากขึ้น ซึ่งเปนเรื่องที่อันตรายมากสําหรับอนาคต เพราะยังมี social media มีคนมาคาคดีกนั มากขึน้ แพทยจะตองระวังจุดนีด้ ว ย


Cover Story อีกเรื่องหนึ่งที่อยากยํ้า คือ เรื่อง generation gab ที่มากขึ้น และทีเ่ พิม่ เขามา คือ social media ซึง่ ถูกใชเปนอาวุธทีอ่ นั ตราย มาก บวกกับ IT technology และ Artificial Intelligence จะทําใหมีการฟองรองมากขึ้นแนนอน คาดภายใน 2-3 ปขางหนา การฟองรองและการรองเรียนอาจจะเพิ่มขึ้นเปนเทาตัว เลขาธิการแพทยสภา กลาวถึงความสัมพันธหลัก 5 ลักษณะ หรือ 5 axis relationship ที่แพทยจะตองคํานึง คือ (1) Doctor – Patients ความสัมพันธระหวางแพทยกับผูปวย (2) Doctor - Family แพทยกบั ครอบครัวของผูป ว ย (3) Doctor People ประชาชนทั่วไปคิดกับแพทยอยางไร (4) DoctorSocial สังคมมองแพทยอยางไร โดยเฉพาะกับคนรุน ใหม จะบริหาร จัดการอยางไร และ (5) Doctor-Global ทางออกสําหรับปญหาที่กลาวมา คือ การแกปญหาแบบ บูรณาการใหมคี วามยัง่ ยืน โดยองคกรแพทยตอ งเปนหลักในพืน้ ที่ เปนเหมือนเซลลเล็ก ๆ ทีจ่ ะดึงขอมูลมาติดตามตรวจสอบ (monitor) สรางกลไกเครือขายติดตามและแกปญ  หา นําปญหาขึน้ มาเชือ่ มโยง กับภาครัฐและภาคเอกชน แพทยที่มีอยู 5 กระทรวงเชื่อมโยงกับ ทองถิ่น เชื่อมโยงกับสื่อมวลชนและสังคม จะชวยใหปญหาที่หนัก ลดลงได ขอสําคัญ คือ การขับเคลื่อนการเรียนรูคนรุนใหม เขาใจ ติดตามเรือ่ งของไอที ซึง่ ในวันนีไ้ ปไกลมากแลว มีการวางแผนอบรม และวางระบบปองกันลวงหนารวมกับแพทยสภา และสุดทาย รวมกันนําเสนอผูมีอํานาจตามกฎหมายแบบยั่งยืน องคกรแพทย ควรมีเครือขายชวยกัน และดึงขอมูลจาก HA มายอย และ แพทยสภาเต็มใจที่จะเขาไปชวยการเชื่อมประสาน

แพทยสภาเปนผูออกกฎระเบียบ ควบคุมการใชกฎระเบียบ พิจารณา ตัดสินเรื่องรองเรียน ในเรื่องความปลอดภัยของผูปวย จากขอมูลปญหาตาง ๆ นั้น ปญหาไหนที่ปองกันได (preventable) หรือหลีกเลี่ยงได (avoidable) ถือวามีลําดับความสําคัญ (priority) สูงสุด เชน การผาตัดผูปวยผิดคน การจายยาใหผูปวยผิดคน เปนตน เปนเรื่องที่เรายอมไมได ประเด็นการสื่อสาร (communication) เปนอีกเรื่องที่สําคัญ นอกจากเนื้อหาที่สื่อสารแลว กระบวนการสื่อสารจะตองพยายามใหถึง ผูท เ่ี กีย่ วของโดยตรง ซึง่ ไมใชแคการสงหนังสือไปเทานัน้ เพราะเอกสาร อาจจะไปไมถึง ตองมีการพูดคุยกันและตกลงกัน จนกระทั่งแนใจวา แกไขไดแนนอน และมีระบบยอนกลับคืนมาดวย จะตองยํ้าใหเปน รูปธรรมมากขึ้น เพื่อไมใหเกิดความผิดพลาดอีก การที่ สรพ. นําเรื่อง patient safety เขาไปสอนใหนักศึกษา เปนเรื่องที่นาชื่นชม นอกจากนั้น สรพ. ยังคิดเรื่อง 2P Safety ซึ่งปนี้ WHO ไดเนนวาเปน health personnel safety เปนการคิดแบบ humanity ไมไดคิดแยกผูปวยกับแพทยออกจากกัน ทุกฝายตองอยู รวมกัน ทั้งแพทย ผูปวย และประชาชน จะตองรวมมือกันทําใหเกิด สิ่งที่ดี

Safe practice: What can we do?

ศ.เกียรติคุณ นพ.อมร ลีลารัศมี นายกแพทยสมาคม แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ กลาววา แพทยสมาคมฯ มีหนาที่เขามาชวยเหลือดานจริยธรรม ในเวลาที่มีการปฏิบัติ ผิดพลาดเกิดขึ้น และยังมีหนาที่สงเสริมเวชปฏิบัติตา ง ๆ ในขณะที่

ดร.กฤษดา แสวงดี กรรมการที่ปรึกษาสภาการพยาบาล กลาว วา safe practice เปนเรื่องของทุกคน ทั้งแพทยและพยาบาลซึ่งทํางาน ดวยกันเปนทีมที่ใกลชิดกันมากที่สุด ถือเปนปรัชญาของวิชาชีพ ที่ แพทยและพยาบาลจะตองรักษามาตรฐานที่ดีที่สุดในการใหการดูแล ผูปวยและจะตองไมเปนอันตรายตอผูปวย จากที่ ศ.เกียรติคุณ นพ.อมร กลาวมา คิดวาสิ่งที่เราตองรวมกันสราง เพื่อใหเกิด safe practice ไดสําเร็จ คือ การสราง culture ของความ ปลอดภัย เปน culture ที่ทําใหบุคลากรของเราทุกคนทํางานอยาง ปลอดภัย และจากการดูแลเรือ่ งกําลังคนของกระทรวงสาธารณสุขไดพบ ปญหาหนึ่งคือ “ถาบุคลากรของเราไมปลอดภัย ผูปวยจะไมปลอดภัย ดวย” ซึ่งเปนสิ่งที่สภาการพยาบาลพยายามรณรงค และถาเราพยายาม รณรงครวมกันวา “เรา save บุคลากรทางการแพทยเพื่อ save ผูปวย” เราจะทําไดอยางไร ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

11


Cover Story

จากงานวิจัยที่ศึกษาวาอะไรเปนปจจัยกําหนด patient outcome ไดมีการวัด patient outcome จากตัววัด คือ (1) ความพึงพอใจของผูปวยในการรับบริการ (satisfaction) (2) เหตุการณไมพึงประสงค (adverse event) ที่เปน preventable harm และพบประเด็นเปนปจจัยตนของ patient outcome คือ hospital organization ซึ่ง สรพ. พยายามทําให โครงสรางองคกรของการบริหารจัดการ มีองคกรแพทย องคกร พยาบาล เพื่อเปนหลักกํากับในเรื่องมาตรฐานการทํางาน รวมทั้ง เปนกลไกทําใหเกิดสภาพแวดลอมที่ดีสําหรับผูประกอบวิชาชีพ สําหรับตัวแปรหนึง่ ทีม่ คี วามสําคัญตอ care process รวมถึง patient outcome คือ medical staff qualification ซึ่ง โรงเรียนแพทยจะตองมีระบบควบคุมกํากับเพื่อใหนักศึกษาแพทย มีการปฏิบัติ (practice) ที่ดี และปลอดภัย โดยการปฏิบัติของ medical staff มีผลกระทบตอ process of care และประเด็น ที่มีผลตอ process of care อีกเรื่องหนึ่ง คือ อัตราพยาบาล ตอผูปวย (nurse to patient ratio) ที่เกิดมี work overload มากทําใหพยาบาลดูแลไมทัน และทํา early detection ของ complication ไมได รวมทั้งขาดการเฝาระวัง (surveillance) ที่เพียงพอ นอกจากนั้นแลวยังมีเรื่อง autonomy คือ การไมกลา ปฏิเสธ order ที่ผิด มีหลายคดีที่สภาการพยาบาลรับคํารองเรียนเรื่องจริยธรรม เมื่อไปสอบวาเกิดอะไรขึ้น พบวา มีการพูดถึงเรื่องของ structure ที่ครอบงําดวยโครงสรางองคการ ซึ่งมีผลตอ organizational support สําหรับการทํางานของพยาบาล องคกรพยาบาลหรือ ฝายการพยาบาลมีความสําคัญมากตอการเสนอความเห็นในเรื่อง ตาง ๆ ประการแรก คือ resource adequacy เชน หองคลอด ไมมีเครื่อง monitor หัวใจเด็ก จะตองอาศัยการฟงในขณะที่ พยาบาลที่ชํานาญการมีนอยลงทุกวัน ถามีเครื่อง monitor 12

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

จะสามารถ detect ผูปวยได ประการที่ 2 คือ nurse autonomy พยาบาลจะตองมีความสามารถ (competent) พอ มีความรูค วามสามารถ ทีจ่ ะดูแลผูป ว ย และมี autonomy ทีจ่ ะคุม ครองผูป ว ย ตัดสินใจ ไดวา order แบบไหนที่ผิด ตองสื่อสารและมี feedback บอกไดวา เราปองกันสิง่ เหลานีไ้ ด แลวเราจะทํางานรวมกันเปนทีมได ประการที่ 3 คือ nurse control สภาการพยาบาลกําหนดวา หัวหนาพยาบาล ตองเปนพยาบาล เพราะหัวหนาพยาบาลจะตองควบคุมกํากับเรื่อง มาตรฐานการประกอบวิชาชีพตองถวงดุล (balance) กับอํานาจทาง การบริหาร ไมใหพยาบาลถูกสั่งใหทําในสิ่งที่อาจผิดไปจากมาตรฐาน วิชาชีพ และอีกตัวแปรทีเ่ ปนปจจัยกําหนดและมีอทิ ธิพลสูงตอ patient outcome คือ nurse-physician relation เมื่อไรที่ความสัมพันธ ระหวางพยาบาลกับแพทยไมดี จะมีผลกระทบไปถึง patient outcome ทุกโรงพยาบาลในประเทศไทยมีแพทยเปนผูบริหาร จะตองดูแลวา ทําอยางไร เพื่อใหเกิด culture of safety practice ซึ่งคิดวา พยาบาลหลายคนในโรงพยาบาลได เรี ย กร อ งในประเด็ น ดั ง กล า ว และการทํางานรวมกันเปนทีม ไมใชเฉพาะแพทยกับพยาบาลเทานั้น แต ห มายถึ ง ที ม บุ ค ลากรของเราทั ้ ง หมดที ่ จ ะมี ส ว นทํ า ให เ กิ ด ความ ปลอดภัยกับผูปวย ซึ่ง WHO ไดพยายามใสใจในเรื่องนี้และเรียกรอง ใหมีการรณรงคเรื่อง Positive Practice Environment โดย ประเด็นหนึง่ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ คือ การสงเสริมการทํางานเปนทีมที่ใหเกียรติ (respect) กับแตละคนซึ่งมีหนาที่ที่จะตองทํางานใหปลอดภัยที่สุด สําหรับผูปวย นพ.พีระพงษ ภาวสุทธิไพศิฐ ประธานชมรม โรงพยาบาลศูนย/ โรงพยาบาลทั่วไป กลาววา เวลารักษาผูปวยคนหนึ่ง แพทยไมรูวาจะ ถูกฟองรองหรือไม แมเรื่องที่ฟองรองหรือรองเรียนจะมีไมมาก แตขาว ทีอ่ ยูใ น social media จะดังมากและอาจเปลีย่ นแปลงระบบสาธารณสุขได ในอนาคตอีก 10 หรือ 20 ปขางหนา ผูปวยที่มาใชบริการจะเปลี่ยนไป และระบบสาธารณสุขจะถูกเรงใหมีการเปลี่ยนแปลง


Cover Story

ยกตัวอยางแนวทางของ Safe practice และ 2P Safety ทีโ่ รงพยาบาลหาดใหญ เวลามีเหตุการณเกิดขึน้ จะแยกวาเปน error หรือ complication ถาเปน error จะใชการเจรจาตอรองการ ชดเชยคาใชจาย ถาเปน complication โดยหลักการ จะมา วิเคราะหวาเปน preventable หรือ non-preventable กอน ถึงจะจัดการตอไปได สวน error นั้นเปน preventable อยูแลว สําหรับในโรงพยาบาลนั้นเรามีขอมูลอยูมากใน incident report รายงาน adverse event แตสิ่งที่ไมคอยไดทํา คือ การวิเคราะห ขอมูลและนํามาจัดการใหเปนระบบ การประชุมวันนีม้ คี วามคาดหวังสูงมากกับองคกรแพทยทจ่ี ะมา ชวยกันสรางระบบ ซึง่ แตเดิมในเรือ่ ง risk management system สวนใหญทมี พยาบาลเปนผูท ช่ี ว ยรายงาน adverse event ในขณะ ทีแ่ พทยแทบจะไมไดรายงาน จึงตองกลับมาดูใหมวา safety culture ในองคกรแพทยเปนอยางไร ทั้งการเอาขอมูลมาดู การทํา RCA (Root Cause Analysis) การจัดระบบแกปญ หา การวางระบบ เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัยในกระทรวงสาธารณสุข ไดกลาวถึงเรือ่ งนี้ เมื่อป 2559 โดยใหเปนนโยบายแบบสมัครใจ (voluntary policy) แตปน ค้ี วรจะตองเปนภาคบังคับแลว เนือ่ งจากเปนนโยบายทีส่ าํ คัญมาก เราควรสนใจขอมูลของ สรพ. (ตาราง) และดูวาในอนาคตเรา จะทําอะไร จาก 2P Safety: Safety to All, Happy for All ของ สรพ. ซึ่งมีเรื่อง prevention, early detection และ mediation ทั้งเรื่องความปลอดภัยของ personnel และ patient แต โรงพยาบาลอาจจะไมทาํ ทัง้ หมด ควรจะดูขอ มูลของโรงพยาบาลวา สมควรจะจับเรื่องไหนเปนประเด็นขึ้นมาทํา 2P Safety: Safety to All, Happy for All Prevention

National 2P Safety Goals Risk Management System Country Self Assessment for Strategic Planning Patient Safety Education, Patients for Patient Safety

Early Detection

National Incidence Reporting & Learning System 2P Safety Fast Tract (Rapid Response Team) 2P Safety Awareness (2P Early Warning Sign)

Mediation

Medical Mediator Fund, Legal, Professional Support System

Hospital for Patient and Personnel Safety Engagement for Patient and Personnel Safety

เรื่องที่นาสนใจ คือ Patient safety education และ Patients to patient safety ปรากฏวา ยังมีการทําเกี่ยวกับการสรางเสริม ความรอบรูด า นสุขภาพ (health literacy) ของประชาชนนอยเกินไป ซึง่ เรือ่ งนีถ้ อื วาเปนพืน้ ฐานของระบบ แมจะทําไดผลกับโรคโควิดในเรือ่ ง การลางมือ การใสหนากาก ฯลฯ แตในภาพรวมยังไมมากเทาที่ควร ในเรื่อง Early detection ควรเขาไปดู National Incidence Reporting & Learning System ในการผลักดันระบบเพือ่ ใหเกิดความ ปลอดภัยในโรงพยาบาล ซึ่งจะมีผูเชี่ยวชาญใหคําแนะนําไดอยางดี ในการปรับระบบของโรงพยาบาล สวน Rapid Response Team เปนอีกเรื่องที่สําคัญ แตกอนจะมี response system จะตองมี Early Warning Sign มากอน มิฉะนั้นจะ responseไมได สวนเรื่องการไกลเกลี่ย ทีมไกลเกลี่ยจะตองแข็งแรง หลังจาก มีเหตุการณเกิดขึ้นแลวจะตองเตรียมเงินไว และมีที่ปรึกษากฎหมาย เพราะในเวลาที่มีการฟอง จะไปสูดวยตัวเปลาไมได มีโอกาสที่จะแพ อีกเรื่อง คือ patient engagement ซึ่งมีองคประกอบหลายอยาง รวมทั้งเรื่องการติดตอสื่อสาร (communication) ดวย ปกติเราจะทํา เรื่อง personnel engagement อยูเสมอ แตไมคอยไดพูดถึง patient engagement เมือ่ กลาวถึงบทบาทผูบ ริหาร นพ.พีระพงษ ยืนยันวา ความปลอดภัย ของผูปวยในโรงพยาบาล เปนเรื่องที่ผูบริหารจะตองลงมือดําเนินการ ถาผูบริหารไมมีการตั้งเปาหมาย ไมใหแนวทางการทํางาน ไมติดตาม ประเมินผล เรื่องความปลอดภัยจะไมมีทางขยับไปได สําหรับสิง่ ที่ โรงพยาบาลหาดใหญทาํ คือ 1. การตัง้ เปาหมาย กําหนด เปนนโยบายใหชัดเจน 2. ประกาศนโยบาย 2P safety hospital 3. มีนโยบาย never event ตามมาตรฐานสําคัญจําเปนตอความ ปลอดภัย 9 เรื่อง 4. ตั้งเปาเรื่อง incident report 40,000 เรื่อง ตอป 5. ตั้งเปา Missed: Near miss 20:80 และในมาตรฐาน 9 เรื่อง มี 4 เรื่องนี้ตองทํากอน คือ VAP, RRS, Hand hygiene, Patient identification และในวาระประชุมกรรมการบริหารมีการติดตาม ตัวชี้วัด ผลวิเคราะหอุบัติการณ ติดตามกลุมงานตางๆ มีการรายงาน incident report และ adverse event มากนอยเพียงไร ที่สําคัญ คือ ตอนเริ่มตนใหม ๆ จะตองผลักดันอยางเต็มที่ อีก 2 เรื่องที่ทํา คือ safety culture survey กับ patient experience จะชวยใหไดขอ มูลจํานวนมากสําหรับนํามาปรับระบบของ โรงพยาบาลโดยจะตองนําขอมูลมาวิเคราะหและทําออกมาเปนแผน งานในการปรับระบบ จากการวิเคราะหรายงาน พบวามี incidence สําคัญ ที่เปน high risk ไดแก ผูป ว ยมีอาการทรุดลงขณะ admit หรือขณะทีส่ ง ไปทํา หัตถการตาง ๆ เพือ่ วินจิ ฉัยโรค เชน ผูป ว ยทรุดลงทีห่ อ ง CT scan หรือ หนวยไตเทียม เปนตน เรือ่ งของ infection ไดแก CRE (Carbapenemresistant Enterobacteriaceae), VAP (ventilator-associated pneumonia) เรื่องที่เปน high volume ไดแก ความคลาดเคลื่อนใน การระบุบุคคล มีความหวังวาผูบริหารและองคกรแพทยจะหันมาดูเรื่อง safe practice อาศัยระบบบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาลเชื่อมโยง ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

13


Cover Story ประสานกันใหดี มีการตั้งเปาหมาย รวมกันสรางระบบ ติดตาม ประเมินผล และผลที่ดีจะเกิดขึ้นในโรงพยาบาล

พญ.สมพิศ จําปาเงิน ประธานชมรมผูอ าํ นวยการโรงพยาบาล ชุมชน กลาววา โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) มี 788 แหง ดู แ ลคนในพื ้ น ที ่ ซ ึ ่ ง ประสบปญ หามากมายใน รพช. มี เ พี ย ง ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาล กับแพทยอิน เทิรน ซึ่งแพทยอิน เทิ ร  น จะตองทํางานหลายดานมาก ทั้งรับเรื่องรองเรียน เปนดานหนา รับภาระตาง ๆ พญ.สมพิศ ทํางานกับโรงพยาบาลชุมชนมานาน 30 กวาป ติดตอกับแพทยรุนพี่รุนนองทั่วประเทศ และมองวา ทัง้ คน ทัง้ ระบบและองคกรตองไปดวยกัน แตคนเปนเรือ่ งสําคัญทีส่ ดุ ถาบริหารจัดการคนได งานบริหารจัดการอื่น ๆ จะทําไดทั้งหมด เพราะคนจะเปนผูส รางระบบทีด่ ขี น้ึ มาเอง โดยมีมมุ มองหลายประเด็น เกี่ยวกับระบบสาธารณสุขไทยและระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ระบบสาธารณสุขไทย ในระบบสาธารณสุขไทยมีกระทรวงสาธารณสุขออกนโยบาย ซึ่งไมใชเฉพาะกับกระทรวงสาธารณสุข หรือหนวยงานของรัฐบาล เทานัน้ แตครอบคลุมภาคสาธารณสุขไทยทัง้ ประเทศ ตัง้ แตโรงเรียน แพทยจนถึงภาคเอกชนดวย การมีนโยบายที่ชัดเจน ประกอบดวย vision, mission, core value จะตองสามารถนํามาปฏิบัติไดจริง ทุกระดับ โดยมีผูนําทําเปนแบบอยาง ประเด็นในเรื่องของนโยบาย คือ เราสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงหรือไม มีตนแบบหรือแบบอยาง ที่จะใหรุนนองไดเห็น ไดเรียนรูและปฏิบัติตามไดหรือไม ประเด็นตอมา คือ การสือ่ สารทิศทางทีช่ ดั เจน ใหทกุ กระทรวงหลัก รวมไปถึง NGO ไดทราบวาระบบสาธารณสุขของไทยเปนอยางไร จะไปในทิศทางไหน และตองสื่อสารใหประชาชนทราบดวย ถาเปน ไปได เราจะตองรวมกันเพื่อผลักดันใหเกิดระบบนี้ขึ้นมา ระบบบริการ จากระบบสาธารณสุขนําไปสูก ารเกิดระบบบริการซึง่ มีอยูม ากมาย เราจะออกแบบระบบบริการ (service design) อยางไรใหเหมาะสม ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ปจจุบนั มีการแยกระบบบริการเปนสวน ๆ (section) เปน primary, secondary, tertiary การออกแบบ เชนนี้มอง primary care, โรงพยาบาลชุมชนเปน function หนึ่ง ของโรงพยาบาลจังหวัด 1 การสัมมนา

14

Structure redesign ปจจุบันสถานบริการรักษาพยาบาลมีทุก ระดับ ทั้งโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพสต.), Primary care cluster (PCC), Primary care unit (PCU), โรงพยาบาลชุมชน, โรงพยาบาลศูนย รวมทั้ง โรงพยาบาลเอกชน ถาเรามาออกแบบใหม (redesign) จะเห็นเปนภาพใหญครอบคลุมทั้งกระทรวงสาธารณสุข ทั้งโรงเรียนแพทย นอกจากนั้น โรงพยาบาลตาง ๆ ยังมีเรื่องการ เชือ่ มประสานสงตอผูปวย ซึ่งปจจุบันเปนเรื่องสําคัญที่ยังเปนปญหา อยางมาก ระบบบริการมีเรือ่ งการพัฒนาศักยภาพใหสอดคลองกับบริบทของพืน้ ที่ จะตองเขาใจวาโรงพยาบาลแตละระดับ เชน รพ.สต. รพช. ฯลฯ ควร ไดรับการพัฒนาในระดับไหนและจะพัฒนาศักยภาพซึ่งกันและกัน อยางไร นอกจากนั้น ระบบบริการยังตองมีความคลองตัวพรอมที่จะ ปรับเปลี่ยนตามสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ระบบการศึกษา ระบบการศึ ก ษามี ค วามสํ า คั ญ ต อ การสนั บ สนุ น ระบบบริ ก าร ตั้งแตการคัดเลือกเขาศึกษา กําหนดสัดสวนการผลิต กําหนดหลักสูตร การเรียนการสอนแตละวิชาชีพ แตละระดับ การเรียนรูความเปนจริง ของระบบสาธารณสุข สังคม สิ่งแวดลอม การปลูกฝงทัศนคติที่ดี มี ระบบติดตามประเมินผลตอเนื่องระหวางศึกษาและหลังจบการศึกษา โดยที่เราจะตองเขาใจคนที่เขามาเรียนแพทย ดวยการประเมินอยาง ตอเนื่อง ไมใชแคในโรงเรียนแพทยเทานั้น จะตองประเมินหลังจากจบ ไปแลว 3 ป และตองมีการกําหนดหลักสูตร specialist วาสาขาไหน ควรเรียนอะไร ระบบดูแลวิชาชีพ ระบบดูแลวิชาชีพเปนเรื่องที่สําคัญมาก ซึ่งไมใชเฉพาะวิชาชีพ แพทยเทานั้น แตยังมีพยาบาล มีเจาหนาที่หองแล็บ หองเอกซเรย และอืน่ ๆ ทุกวิชาชีพจะตองไดรบั การดูแลทัง้ หมด ระบบดูแลวิชาชีพ ควรกําหนดภาระงานที่เหมาะสม กําหนดชั่วโมงการทํางานที่นําไปสู การปฏิบัติจริงซึ่งเปนเรื่องสําคัญ มีการพูดถึงภาระการทํางานมานาน แลว แตไมเคยปฏิบัติไดจริง มีการประเมินสุขภาพกาย สุขภาพจิต พฤติกรรม และสะทอนผลทุกป จัดระบบพี่เลี้ยง ระบบใหคําปรึกษา ตัง้ แตโรงพยาบาลระดับจังหวัด ระดับเขต ระดับประเทศ ควรจะมีองคกร และมีพี้เลี้ยงที่สามารถปรึกษาได และมีองคกรกลางในการสื่อสาร ประสานงาน เพื่อเปนที่พึ่งของทุกวิชาชีพตลอด 24 ชั่วโมง ระบบสนับสนุน ไดแก ภาครัฐสนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากรตาง ๆ การสนับสนุน ดานนโยบายสาธารณะ การที่ทุกภาคสวนรักษาสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอ สุขภาพ ภาคเอกชนใหความรวมมือและสนับสนุน ภาคประชาชน รูหนาที่ในการดูแลตนเองและสวนรวม รวมทั้งการที่สื่อมวลชนและ สื่อโซเชียล ทําหนาที่สื่อขอมูลอยางถูกตอง

“Safe Practice: Situation and Concerns” จัดขึ้นวันที่ 24 พ.ย.2563 ณ หองประชุมชั้น14 อาคารสภาวิชาชีพ กระทรวงสาธารณสุข

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564


Journal Watch ใชวัคซีนกระตุนภูมิคุมกันตานมะเร็ง melanoma ระยะยาว Nature Medicine, HealthDay

จากการศึกษาเบื้องตนพบวา การใหผูปวยมะเร็ง melanoma ไดรับวัคซีนเฉพาะบุคคลสามารถกระตุนภูมิคุมกัน ตานเนื้องอกอยูไดนานหลายป การศึกษาครั้งนี้ครอบคลุมผูปวยที่เปนโรคมะเร็งผิวหนัง melanoma ระยะแพรกระจายเพียง 8 คน โรคมะเร็ง ผิวหนัง melanoma เปนมะเร็งผิวหนังชนิดที่รายแรงที่สุด แตจากการศึกษาซึง่ เปนงานขัน้ เริม่ แรกแสดงใหเห็นวา มีความ เปนไปไดท่จี ะกระตุนระบบภูมิคมุ กันใหตอบสนองตอเนื้องอก เฉพาะตัวของแตละบุคคล ผูปวยทั้ง 8 คนไดรับการผาตัดตามมาตรฐานเพื่อรักษา โรคมะเร็ง melanoma แตถือวาเปนผูปวยที่มีความเสี่ยงสูง ที่จะกลับมาเปนโรคมะเร็งอีกครั้ง ดังนั้น คณะผูวิจัยจึงให วัคซีนขั้นทดลองที่เรียกวา NeoVax แตกตางจากวัคซีนทีผ่ า นมา ไมใชการใหวคั ซีนทีฉ่ ดี ไดกบั ทุกคน มีการเตรียมวัคซีนของผูปวยใหเหมาะสมกับแตละคน โดยพิจารณาจาก “นิโอแอนติเจน” (neoantigens) ที่สําคัญ ไดแก โปรตีนที่ผิดปกติ (abnormal proteins) ซึ่งปรากฏอยู กับเซลลเนื้องอกของผูปวย แมโปรตีนเหลานีจ้ ะเปนสิง่ แปลกปลอม แตระบบภูมคิ มุ กัน ไมสามารถสรางการตอบสนองที่สําคัญในการตอสูกับโปรตีน นี้ไดดวยตัวเอง

“ปญหา คือ เนือ้ งอกเองไมไดแสดงใหเห็นสัญญาณอันตรายทีม่ ากพอ” Dr.Patrick Ott หนึ่งในคณะผูวิจัยในการศึกษาครั้งใหม กลาว นอกเหนือจากนั้น เนื้องอกมีวิธีการตาง ๆ ในการหลบเลี่ยงกลไก การปองกันตัวของรางกาย Dr.Ott จาก Dana-Farber Cancer Institute ในบอสตัน สหรัฐอเมริกา อธิบาย แนวความคิดเบื้องหลัง NeoVax คือ การแสดงใหระบบภูมิคุมกัน เห็น neoantigen ของเนื้องอก เพื่อที่ภูมิคุมกันจะสามารถสรางการ ตอบสนองของ T-cell ออกมาจัดการกับเนื้องอก T-cell เปนทหาร ปองกันของระบบภูมิคุมกันที่สามารถคนหาและทําลายเซลลมะเร็งได ในการศึกษากอนหนานี้ Dr.Ott และคณะผูร ว มงาน พบวา วัคซีนได กระตุน การตอบสนองของ T-cell ตอเนือ้ งอกโดยตรงและปลอดภัยในผูป ว ย โรคมะเร็งผิวหนัง melanoma ในการศึกษาครั้งใหมสนใจการตอบสนอง ในระยะยาวในผูปวยเหลานี้ พรอมกับผูปวยอีก 2 คนที่ไดรับวัคซีนตั้งแต กอนหนา หลังจากการติดตามเปนเวลา 4 ป ผูปวยทั้งแปดคนยังมีชีวิตอยูและ แสดงใหเห็นวา การตอบสนองของ T-cell ตอโรคมะเร็งยังคงอยู สิ่งที่นาสนใจมาก คือ การตอบสนองของระบบภูมิคุมกันไมเพียงแค ยังคงอยู แตมีการขยายกวางออกไป T-cell ของผูปวยจดจําโปรตีน ที่วัคซีนแสดงใหเห็น และไดขยายไปรูจักกับโปรตีน melanoma อื่น ๆ ที่ไมไดอยูในวัคซีนดวย คําถามที่สําคัญ คือ วัคซีนกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไมตอ ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

15


Journal Watch ของผลการรักษาผูปวย พบวา ผูปวย 5 ใน 8 คน เกิดโรคมะเร็ง melanoma ซํ้าอีก ในผูปวย 2 คน Dr.Ott บอกวา เกิดโรคซํ้าขึ้นกอน และผูปวยไดรับยาที่เรียกวา checkpoint inhibitors Checkpoint inhibitors เปนวัคซีนโรคมะเร็ง อยูในกลุม “ภูมิคุมกันบําบัด” ซึ่งเปนการรักษาที่นําระบบภูมิคุมกันมา ชวยทําลายเซลลเนื้องอก ยาดังกลาวทํางานดวยการปลด “เบรก” ของ T-cell ใน การตอบสนองตอเนือ้ งอก และไดกลายเปนมาตรฐานในการรักษา ผูป ว ยมะเร็ง melanoma เหมือนกับผูป ว ยในการศึกษาครั้งนี้ เมื่อผูปวย 2 รายซึ่งเกิดโรคมะเร็งซํ้ากอนคนอื่นในการ ศึกษาครัง้ นีไ้ ดเริม่ ใชยา checkpoint inhibitor ผูป ว ยมีการ ตอบสนองทีร่ วดเร็ว แสดงใหเห็นการแกไขปญหาเนือ้ งอกอยาง เบ็ดเสร็จ ตามความเห็นของ Dr.Ott แสดงวาวัคซีนอาจ ทํางานรวมกับ checkpoint inhibitor สรางการตอบสนอง ของ T cell อยางไรก็ตาม วิธีเดียวที่จะรูไดวาวัคซีนชวยใหอาการ ของผูปวยจะดีขึ้นหรือไม คือ โดยผานการทดลองทางคลินิก Dr.Ahmad Tarhini ผูเชี่ยวชาญมะเร็งผิวหนัง melanoma

และเปนนักวิจัยที่ไมไดมีสวนรวมการศึกษาครั้งนี้กลาว เขาอธิบายวา การสุมใหผูปวยมะเร็ง melanoma ไดรับวัคซีนรวม กับการรักษาแบบมาตรฐานที่ใชยา checkpoint inhibitors หรือให ไดรับการรักษาแบบมาตรฐานอยางเดียว เมื่อพิจารณาจากผูปวยเหลานี้ วัคซีนอยางเดียวอาจไมเพียงพอที่จะปองกันการเกิดซํ้าของโรคมะเร็ง ผิวหนัง melanoma Dr.Tarhini ซึ่งเปนสมาชิกอาวุโสที่ฝายมะเร็งวิทยา ผิวหนังและภูมิคุมกันวิทยาที่ Moffitt Cancer Center ใน in Tampa ฟลอริดา กลาว Dr. Tarhini กลาววา การคนพบในปจจุบันเปนกาวสําคัญในการ สรางวัคซีนโรคมะเร็งเฉพาะบุคคล “วัคซีนสามารถชักนําการตอบสนอง ของระบบภูมิคุมกันที่อยูไดนานซึ่งผูปวยทนรับไดดี” ในทางทฤษฎี Dr.Ott กลาววา วัคซีนเฉพาะบุคคลสามารถใชกับ โรคมะเร็งไดกวางขวาง มีการศึกษา NeoVax ในฐานะที่เปนวิธีบําบัด รักษาเพิ่มเติมสําหรับโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ รวมทั้งโรคมะเร็งรังไขและ ไตระยะทาย ๆ ในที่ สุ ด ถ า วิ ธี ก ารนี้ พิ สู จ น ว า ควบคุ ม การเกิ ด โรคมะเร็ ง ซํ้ า ได แ ล ว จะนํามาใชในทางปฏิบัติจริงได นั่นคือ การลงทุนเวลาและเงินในการสราง วัคซีนเฉพาะบุคคลขึ้นมา การศึกษานี้ไดรับการเผยแพรในวารสาร Nature Medicine

โปรแกรมบําบัดตามขั้นตอนชวยลดอาการขอเขาเสื่อม Ann Intern Med 2020 Dec 29

การศึกษาแสดงใหเห็นประโยชนของโปรแกรมกายภาพ บํ า บั ด และออกกํ า ลั ง กายตามขั้ น ตอนเพื่ อ ส ง เสริ ม การ เคลื่อนไหวรางกาย ในการลดอาการปวดของโรคขอเขา เสือ่ ม อาการปวดหัวเขาที่มีสาเหตุจากโรคขอเขาเสื่อม (osteoarthritis: OA) ลดลงไดดวยกายภาพบําบัดและการ ออกกําลังกาย (NEJM JW Gen Med May 15 2020 และ N Engl J Med 2020; 382:1420) อยางไรก็ตาม แพทย มั ก จะไม สั่ ง ให ใช ก ายภาพบํ า บั ด หรื อ การบํ า บั ด แบบนี้ มี ใ ห จํากัด และผูปวยมักจะไมสนใจโปรแกรมการออกกําลังกาย ในการศึกษากับกระทรวงทหารผานศึก สหรัฐอเมริกา คณะผูว จิ ยั ไดประเมินการรักษาดวยการบําบัดทีละขัน้ ซึง่ เริม่ ดวยโปรแกรมการออกกําลังกายจากอินเทอรเน็ต หลังจากนัน้ 3 เดือน ผูเขารวมการศึกษาที่ยังไมถึงเกณฑการตอบสนอง ขยับตอไปขั้นที่ 2 คือ การสอนทางโทรศัพททุก 2 สัปดาห เพื่อแกไขอุปสรรคตอการออกกําลังกาย หลังจากทําใน 16

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564


Journal Watch ขั้นที่ 2 ผานไป 3 เดือน ผูที่ยังไมมีผลตอบสนองจะกาวขึ้นไป ขั้นที่ 3 คือ พบกับนักกายภาพบําบัดโดยสวนตัว ผูปวยโรคขอเขาเสื่อมและแจงวาตนมีอาการปวดเขา ประมาณ 350 คน (มีคะแนน ≥3 บนบนมาตรวัดที่มี 10 คะแนน) ไดรับการสุม (ในอัตราสวน 2:1) ใหเขารับ การบําบัดทีละขั้นหรือใหอยูในกลุมควบคุมซึ่งไดรับเพียงคูมือ การศึกษาผานทางเมล พบวา ในกลุมที่รับการบําบัดผูปวย รอยละ 65 ขยับไปขั้นที่ 2 และรอยละ 35 ขยับขึ้นไปขั้นที่ 3 หลังจากการติดตามเปนเวลา 9 เดือน คะแนนเฉลี่ย

WOMAC (ซึ่งประเมินอาการปวด ภาวะฝดแข็ง และการทําหนาที่ เคลือ่ นไหว ซึ่งมีระดับคะแนนตั้งแต 0-96) เพิ่มขึ้น 5.5 คะแนนในกลุม ที่รับการบําบัด เปรียบเทียบกับกลุมควบคุมที่คะแนนแยลง 1.4 การศึ ก ษานี ้ ไ ด เ พิ ่ มข อ มู ล ที ่ แสดงว า กายภาพบํ า บั ด มี ประสิท ธิผ ล ปานกลางในการจัดการกับโรคขอเขาเสือ่ ม ผลการคนพบทีแ่ สดงวา โปรแกรม ทางอินเทอรเน็ตและการสอนดวยความเสมือนจริงอาจชวยผูป ว ยรอยละ 65 แทนทีจ่ ะไปพบกับนักกายภาพบําบัด ถือวามีความสําคัญสําหรับผูป ว ยทีไ่ มได เขาถึงกายภาพบําบัดหรือผูที่ลังเลที่จะออกไปบําบัดนอกบาน โดยเฉพาะใน ระหวางที่มีการระบาดของโรคโควิด-19

COVID-19 จะเปนอยางไรในอีกหลายปจากวันนี้ Science; Alan Mozes, HealthDay News

ขาวรายสําหรับโรคโควิด-19 คือ โรคนี้อาจจะอยูกับเรา อีกยาวนาน แตขาวดี คือ มีงานวิจัยใหม ๆ ที่แสดงวา โควิด-19 ในที่สุดจะเปนโรคที่เกิดอาการปวยเล็กนอย ทําใหรูสึกไมคอยสบายและรําคาญบาง แตไมถึงกับตอง เขานอนโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต อะไรคือเหตุผล ทฤษฎีขางตนมีรากฐานมาจากแบบแผน ทางระบาดวิทยาที่ไวรัสโคโรนาอีก 4 ชนิด เคยผานมาแลว กอนหนานี้ ไวรัสโคโรนาทัง้ หมดเวียนอยูใ นวัฏจักรการระบาดมา เปนเวลานานมาก ไวรัสเหลานีเ้ ปนโรคประจําถิน่ ซึง่ หมายความวา คนส ว นใหญ จ ะติ ด เชื้ อ และพั ฒ นาภู มิ คุ ม กั น ระหว า งอยู ใ น วัยเด็ก ซึง่ จะปองกันไมใหเกิดอาการปวยรุนแรง (แมจะติดเชือ้ ซํ้า) เหมือนในผูใหญ และนั ก วิ จัย ได นําวงจรดังกลาวมาพัฒนาตัว แบบของ สถานการณที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ถาคนสวนใหญสัมผัส กับไวรัสโคโรนาชนิดใหมในลักษณะเดียวกันระหวางอยูใ นวัยเด็ก “ในผูปวยสวนใหญ ไวรัสโคโรนาในมนุษย (human coronaviruses: HCoVs) ที่เปนเชื้อโรคประจําถิ่นจะกอ ใหเกิดโรคหวัดธรรมดาเทานั้น (นั่นหมายถึง) การติดเชื้อ ทางเดินหายใจสวนบน” Jennie Lavine ผูเขียนรายงานการ ศึกษา ซึ่งเปนนักวิจัยหลังปริญญาเอกที่ภาควิชาชีววิทยาแหง Emory University ในแอตแลนตา สหรัฐอเมริกา กลาว เชื่อ วาประมาณรอยละ 15 ของโรคหวัดธรรมดาในผูใหญมีสาเหตุ จากไวรัสโคโรนาในมนุษย “บางครั้งไวรัสพวกนี้ทําใหเกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจ สวนลาง โดยเฉพาะในเด็กอายุนอ ย ๆ และผูส งู อายุ” Lavine กลาว ในกลุมประชากรที่ออนแอ จะมีไมกี่รายเทานั้นที่การ ติดเชื้อนี้ทําใหเกิดอาการรุนแรงกวา

“มีความเปนไปไดที่โรคโควิด-19 จะลงเอยแบบนี้ในที่สุด” เธอกลาว แตจะเกิดขึ้นเมื่อไรกันแนนั้น มีการคาดเดาไวตั้งแต 1 - 10 ป และแนนอน มีโอกาสเสมอที่เหตุการณอาจจะไมไดเปนเชนนั้นเลย Lavine ยกปจจัยหลายอยางที่อาจมีผลกระทบตอการพัฒนาในอนาคต ปจจัยหนึง่ คือ ไวรัสจะแพรระบาดไดเร็วแคไหนในอนาคตอันใกล อีกปจจัย คือ ประชาชนทั่วไปไดรับวัคซีนไดเร็วแคไหนในอีกไมกี่เดือนขางหนา และ ยังคงตองรอดูวาจําเปนตองมีการติดเชื้อกี่ครั้ง และ/หรือการฉีดวัคซีนกี่ครั้ง เพื่อจะกระตุนใหภูมิคุมกันแข็งแรงและอยูไดทนนาน แตมีสิ่งหนึ่งที่ชัดเจน เธอบอกวา “เราสามารถควบคุมเสนทางที่นําไปสู การเปนโรคติดเชื้อประจําถิ่นได” วิธีหนึ่งที่ทําได คือ ทําใหอัตราการติดเชื้อตํ่า ลงเทาที่จะเปนไปไดจนกวาการฉีดวัคซีนจะกระจายออกไปทั่ว “เพื่อลด การเสียชีวิตและปองกันผูปวยลนระบบโรงพยาบาล” อีกวิธีหนึ่ง คือ การฉีดวัคซีน “โดยเฉพาะอยางยิ่ง ถาคุณมีความเสี่ยงสูง ตอโรคที่รุนแรง แมจะมีความเปนไปไดที่ทุกคนจะติดเชื้อไวรัสนี้เมื่อไร ก็ตามหลังฉีดวัคซีนแลว แตมีความเปนไปไดมากที่วัคซีนจะชวยลดอาการ ลงได” เธอกลาว ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

17


Journal Watch ประเด็นหลังนี้ Dr. Sandro Cinti ศาสตราจารยสาขา อายุรศาสตรภายในและโรคติดตอที่ Michigan Medicine แหง University of Michigan ใน Ann Arbor ไดสะทอน ความเห็นไว โดยกลาววา “นี่ เ ป น การศึ ก ษาตั ว แบบและการศึ ก ษานี้ มี ค วาม สมเหตุสมผล แตไทมไลนจะอยูที่ 5 ถึง 10 ป ในชวงเวลา ดังกลาว การเปลี่ยนแปลงในการแสดงออกของโรคอาจ

เกิดขึน้ ได โดยไมมกี ารกระจายวัคซีนทีเ่ รากําลังทําอยูใ นเวลานี้ แตในขณะเดียวกัน คุณจะมีคนหลายลานเสียชีวิต โดยไมจําเปน” “ดังนั้น ประชาชนไมควรคิดวาตนเองไมจําเปนตองฉีดวัคซีน” Dr. Cinti กลาวเนน “วัคซีนมีความจําเปนอยางยิ่งในตอนนี้ มีความหวังเพียงเสี่ยว เล็กๆ สําหรับอนาคตที่บอกวาการระบาดจะไมเกิดขึ้นตลอดไป แตนั่นไมใช กลยุทธ วัคซีนตางหากที่เปนกลยุทธ” มีการเผยแพรการคนพบครั้งนี้ในวารสาร Science

ลดเปาหมายการใหออกซิเจนไมลดการตายจากการหายใจลมเหลว NEJM, HealthDay News

การศึกษาพบวาสําหรับผูปวยสูงอายุท่มี ีภาวะการหายใจ ลมเหลวเฉียบพลันแบบออกซิเจนในเลือดพรอง มีอัตรา การตายไมแตกตางกัน ไมวาเปาหมายการใหออกซิเจน จะตํ่าหรือสูงก็ตาม จากรายงานการศึกษาที่เผยแพรใน New England Journal of Medicine Dr. Olav L. Schjørring จาก Aalborg University Hospital ในประเทศเดนมารกและคณะผูรวมงานได ศึกษาผูใหญ 2,928 คนที่เขารักษาตัวในหองผูปวยฉุกเฉิน ด ว ยภาวะการหายใจล ม เหลวเฉี ย บพลั น แบบออกซิ เจน ในเลือดพรอง (acute hypoxemic respiratory failure) เมื่อไมนานมานี้ โดยสุมใหไดรับออกซิเจนบําบัดซึ่งตั้ง เปาหมายความดันบางสวนของออกซิเจนในหลอดเลือดแดง ที่ 60 mm Hg หรือ 90 mm Hg (ไดแก กลุมที่ไดรับออก ซิเจนตํ่า จํานวน 1,441 คน และกลุมไดรับออกซิเจนสูง 18

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

จํานวน 1,447 คน) เปนเวลาสูงสุด 90 วัน คณะผูวิจัยไดพบวา ณ 90 วัน มีผูปวยรอยละ 42.9 และ 42.4 ในกลุม ทีไ่ ดรบั ออกซิเจนตํา่ และสูงตามลําดับเสียชีวติ (อัตราความเสีย่ งทีป่ รับแลว คือ 1.02; ชวงความเชื่อมั่นรอยละ 95 เทากับ 0.94 ถึง 1.11; P = 0.64) ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญระหวางทั้งสองกลุม ณ 90 วัน ทั้งในอัตราสวนรอยละของจํานวนวันที่ผูปวยมีชีวิตอยูโดยไมตองมีการชวย ชีวิต หรือในอัตราสวนของจํานวนวันที่ผูปวยมีชีวิตหลังออกจากโรงพยาบาล ทั้งสองกลุมมีผูปวยที่มีภาวะช็อก, เปนโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial ischemia), โรคหลอดเลือดสมองชนิดสมองขาดเลือด (ischemic stroke), หรือภาวะลําไสขาดเลือด (intestinal ischemia) ในอัตราสวน เทา ๆ กัน (P = 0.24) “การคนพบของเราใหน้ําหนักกับการใชประโยชนจากออกซิเจนบําบัด แบบเดิมในผูปวยที่มีภาวะการหายใจลมเหลวแบบออกซิเจนในเลือดพรอง” ผูเขียนรายงานระบุ


NEW UPDATE

สถาบันวัคซีนแหงชาติ ยํ้า! องคการอนามัยโลกและอียูรับรองวัคซีนมีความปลอดภัย

สถาบั น วั ค ซี น แห ง ชาติเผยความกาวหนาในการผลิ ต วัคซีนแอสตราเซนเนกา โดยบริษัท สยามไบโอไซเอนซ มีความกาวหนาเปนไปตามแผนทีว่ างไว พรอมทัง้ อัพเดต ขอมูลประเด็นความปลอดภัยของวัคซีนแอสตราเซนเนกา โดยใหขอ มูลวา ทัง้ องคการอนามัยโลกและหนวยงานกํากับ คุณภาพยาของสหภาพยุโรป (EU) มีขอแนะนําให แตละประเทศดําเนินการฉีดวัคซีนตอไป ภายหลังจาก คณะผู เชี่ ย วชาญได ทํ า การทบทวนข อ มู ล ด า นความ ปลอดภัยแลว ระบุวาไมพบความเกี่ยวของกับกรณีการ เกิดลิม่ เลือดภายหลังการฉีดวัคซีนตามที่เปนขาว นพ.นคร เปรมศรี ผูอ าํ นวยการสถาบันวัคซีนแหง ชาติ เผยวา การผลิตวัคซีนแอสตราเซนเนกาในไทยมีความ กาวหนาเปนไปตามแผนที่วางไว โดยการดําเนินการผลิต วัคซีนของสยามไบโอไซเอนซไดรับการควบคุมคุณภาพ อยางใกลชิดจากผูเชี่ยวชาญของแอสตราเซนเนกาใหเปน ไปตามมาตรฐานของบริษัท นอกจากนี้ สถาบันวัคซีน แหงชาติ และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ไดมี การติดตามความกาวหนาของการผลิตวัคซีนจากการรับ ถายทอดเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง ปจจุบัน สยามไบโอไซเอนซ ไดทยอยผลิตวัคซีนตั้งแต ระดับตนนํ้าแลวจํานวน 5 รุนการผลิต และอยูระหวาง การสงตรวจคุณภาพวัคซีนที่ผลิตได ณ หองปฏิบัติการ อางอิงในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา พรอมกันนี้ หนวยงานควบคุมกํากับในประเทศ ไดแก สํานักงานคณะ กรรมการอาหารและยา และสถาบันชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร การแพทย ไดมีการติดตามการดําเนินการอยางใกลชิด เพือ่ ไมใหเกิดชองวางในการดําเนินการ และสามารถสงมอบ วัคซีนไดในระยะเวลาทีก่ าํ หนด ซึง่ กําหนดการสงมอบวัคซีน จากแอสตราเซนเนกาใหแก กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข อยูในชวงกลางป 2564 โดยจะทยอยสงมอบ ในอัตราเดือนละ 5-10 ลานโดส จนครบ 61 ลานโดส ซึ่งจะสอดคลองกับแผนการฉีดวัคซีนของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ทั้งนี้ สยามไบโอไซเอนซเปนบริษัทผูผลิตยาและชีววัตถุ ที่ไดรับ การคัดเลือกใหเปน 1 ใน 25 ฐานการผลิตวัคซีนของแอสตราเซนเนกา ที่กระจายอยูในภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก โดยเปนโรงงานที่ไดรับการเสริม ศักยภาพจากที่มีอยูเดิม ไมใชการสรางโรงงานใหมตามที่มีหลายฝายเขาใจ โดยสยามไบโอไซเอนซไดรับการประเมินจากแอสตราเซนเนกาตั้งแต ปลายไตรมาสที่ 2 ของป 2563 ภายใตการพิจารณาองคประกอบหลาย ดาน ไดแก ดานศักยภาพและความเชี่ยวชาญของบุคลากร ความพรอม ของเครื่องมืออุปกรณการผลิต การผานการรับรองมาตรฐานและคุณภาพ การผลิตระดับสากล ฯลฯ และไดรับการคัดเลือกใหเปนฐานการผลิต วัคซีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเมื่อเดือนกันยายน 2563 โดย เริ่มการถายทอดเทคโนโลยีในราวตนเดือนตุลาคม 2563 จนสามารถเริ่ม การผลิตจริงในราวกลางเดือนธันวาคมที่ผานมา สําหรับประเด็นชะลอการใชวัคซีนแอสตราเซนเนกาในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย เนื่องจากมีรายงานการเกิดภาวะการเกิดลิ่มเลือด ภายหลังการฉีดวัคซีนซึ่งอยูระหวางการตรวจสอบที่ประเทศเดนมารก และนอรเวยนั้น องคการอนามัยโลก และหนวยงานกํากับคุณภาพยาของ สหภาพยุโรป (EU) ไดใหการยืนยันวา วัคซีนของแอสตราเซนเนกาเปน วัคซีนที่มีประสิทธิภาพเชนเดียวกับวัคซีนจากบริษัทอื่นที่มีการใชกันอยาง กวางขวาง ทั้งนี้ วัคซีนของแอสตราเซนเนกาไดมีการฉีดใหกับประชาชน ในสหราชอาณาจักรแลวมากกวา 16 ลานโดส จากขอมูลไมพบความกังวล ดานความปลอดภัยของวัคซีน จึงมีขอแนะนําใหแตละประเทศดําเนินการ ฉีดวัคซีนตอไปได ทั้งนี้ ประเทศไทยไดพิจารณาเริ่มการฉีดวัคซีนของ แอสตราเซนเนกาตามขอแนะนําของหนวยงานขางตน พรอมกับการวาง มาตรการติดตามดานความปลอดภัยอยางใกลชิดเพื่อใหเกิดความมั่นใจใน การดําเนินการฉีดวัคซีนโควิด-19 ใหกับประชาชนไทย ส ว นการจั ด หาวั ค ซี น อื่ น ที่ จ ะนํ า มาฉี ด ให แ ก ป ระชาชนเฉพาะใน ชวงไตรมาส 1-2 ของป 2564 นั้น กระทรวงสาธารณสุขไดจัดหาวัคซีน จากบริษัท ซิโนแวค ประเทศจีน จํานวน 2 ลานโดส เพื่อใชในพื้นที่ที่ มีสถานการณการระบาดของโรค สวนการสงมอบวัคซีนลาชากวาแผน เปนเหตุการณทเ่ี กิดขึน้ ทัว่ โลก เนือ่ งจากเปนชวงเวลาทีว่ คั ซีนมีจาํ นวนจํากัด ขณะทีค่ วามตองการวัคซีนมีสงู มาก และประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวหลายประเทศ ไดทําการจองซื้อวัคซีนลวงหนาในจํานวนที่มากกวาประชากรในประเทศ หลายเทาตัว ทั้งนี้ การจัดหาวัคซีนโควิด-19 ในชวงที่มีภาวะฉุกเฉิน มีการแปรเปลี่ยนของสถานการณอยางมาก ทั้งในสวนที่จะมีวัคซีนใหม ๆ ทยอยประกาศผล ประเทศไทยจะสามารถพิจารณาจัดหาวัคซีนเพิม่ ไดอยาง เหมาะสม และในสวนที่มีการรายงานเชื้อกลายพันธุที่อาจสงผลตอการใช วัคซีนที่ผลิตรุนแรก การที่ประเทศไทยในเวลานี้สามารถวิจัยพัฒนาและ ผลิตวัคซีนไดตั้งแตตนนํ้า จะเปนหลักประกันอันดีวาเราจะสามารถเขาถึง วัคซีนไดในเวลาที่เหมาะสมและสามารถพึ่งพาตนเองในการปรับเปลี่ยน ตามสถานการณทั้งในชวงการระบาดของโรคโควิด-19 และโรคติดตอ อุบัติใหมในอนาคตได ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

19


รายงานพิเศษ

กรมวิทยมุงมั่นเปน 1 ใน 3 ภูมิภาคเอเชีย ดานวิทยาศาสตรการแพทยและสาธารณสุข เมือ่ วันที่ 10 มีนาคม ทีผ่ า นมา ณ หองประชุม 110 ชัน้ 1 อาคาร 100 ป การสาธารณสุขไทย กรมวิทยาศาสตร การแพทย จ.นนทบุรี กรมวิทยาศาสตรการแพทยจดั งาน เนื่องในโอกาสวันคลายวันสถาปนากรมวิทยาศาสตรการ แพทย ครบรอบ 79 ป โดยมี นพ.ศุภกิจ ศิรลิ กั ษณ อธิบดี กรมวิทยาศาสตรการแพทย เปนประธานในพิธี และ มีคณะผูบริหาร บุคลากรกรมวิทยาศาสตรการแพทย ทัง้ จากสวนกลางและศูนยวทิ ยาศาสตรการแพทย รวมทัง้ อดีตผูบริหารและขาราชการ เขารวมงาน มีพิธีทําบุญ และถวายสังฆทานแกพระภิกษุสงฆ มอบโลรางวัลและ ประกาศนี ย บั ต รแกขาราชการพลเรือ นดีเดน คนดี ศรีสาธารณสุข และบุคลากรดีเดนของกรมวิทยาศาสตร การแพทย ประจําปงบประมาณ 2563

นพ.ศุ ภ กิ จ กล า วว า กรมวิ ท ยาศาสตร ก ารแพทย เปนหนวยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กอตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2485 ตลอดระยะเวลา 79 ปที่ผานมา มีการพัฒนาทีก่ า วหนาทัง้ ในเชิงภารกิจและโครงสราง อีกทัง้ ยังคงเปนเสาหลักทางดานหองปฏิบัติการอางอิงในระบบ สาธารณสุขของประเทศไทย ดูแลกํากับคุณภาพหองปฏิบตั กิ าร เครือขาย และจากสถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ตั ้ ง แตต น ป พ.ศ. 2563 จนถึงขณะนี ้ ประเทศไทยและทั่ ว โลกเผชิ ญ กั บ การแพร ร ะบาดของ โรคโควิด-19 ที่สงผลกระทบทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ ซึ่ง วิ ก ฤตที่ เ กิ ด ขึ้ น เป น โอกาสที่ ทํ า ให โ ลกได เ ห็ น พลั ง ความ รวมมือของคนไทยชวยเหลือแบงปน การปฏิบตั ติ ามมาตรการ อยางเครงครัด รวมถึงศักยภาพของระบบสาธารณสุขไทย 20

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

บุคลากรดานการแพทยและสาธารณสุขทีม่ คี วามรูค วามสามารถ มีอาสาสมัคร สาธารณสุข (อสม.) ที่เขมแข็ง ทําใหประสบความสําเร็จในการควบคุมและ ปองกันโรคไดเปนอยางดี จนไดรับการชื่นชมจากองคการอนามัยโลกและ นานาชาติ สําหรับบทบาทของกรมวิทยาศาสตรการแพทยระหวางสถานการณ โรคโควิด-19 มีผลงานสําคัญ อาทิ การพัฒนาวิธีตรวจหาสารพันธุกรรมของ เชื้อโควิด-19 ดวยวิธี Real-Time RT-PCR, การพัฒนาหองปฏิบัติการ เครือขายตรวจเชือ้ โควิด-19, การพัฒนาวิธตี รวจหาเชือ้ โควิด-19 จากตัวอยาง นํ้าลาย และการตรวจแบบรวมตัวอยาง, การพัฒนาชุดตรวจแอนติบอดี เชื้อโควิด-19, การตรวจสอบและรับรองรุนการผลิตวัคซีน CoronaVac ของ บริษัท ซิโนแวค และวัคซีนของบริษัท แอสตราเซนเนกา, การรับรองวัคซีน โควิด-19 ทั้งที่นําเขาและผลิตในประเทศ, การพัฒนาวิธีตรวจการปนเปอน เชื้อโควิด-19 ในอาหารและบรรจุภัณฑ ในสวนนโยบายสําคัญของรัฐบาล เกี่ยวกับการนํากัญชามาใชทางการแพทย กรมไดพัฒนาการตรวจวิเคราะห


รายงานพิเศษ กรมวิทยาศาสตรการแพทยมุงมั่นเปนองคกรชั้นนํา ดานวิทยาศาสตรการแพทยและสาธารณสุข 1 ใน 3 ของภูมิภาคเอเชีย ภายในป พ.ศ. 2565 โดยนํามาตรฐานสากลทั้งดานการบริหารจัดการ ISO 9001 : 2015 และดานระบบคุณภาพ หองปฏิบัติการ ประยุกตใชรวมกับเกณฑการพัฒนา ระบบบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ในการพัฒนา มาตรฐานคุณภาพและคุณธรรมอยางตอเนื่อง

หาสารสําคัญในพืชกัญชา สารสกัดกัญชา และผลิตภัณฑ ยานํ้ามันกัญชา รวมทั้งพัฒนาชุดทดสอบอยางงายสําหรับ ตรวจสอบผลิตภัณฑกัญชาเบื้องตนวามีสวนผสมของสาร กลุมแคนนาบินอยด (Cannabinoids) ซึ่งเปนสารที่มีอยู ในพืชกัญชา ไดแก THC CBD และ CBN อยูในผลิตภัณฑ หรือไม นอกจากนี้ ไดดําเนินการตามนโยบายสงเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภและทารกแรกเกิด เพื่อควบคุมและปองกัน การเกิดภาวะผิดปกติตั้งแตกําเนิด โดยใหบริการตรวจ วิเคราะหทางหองปฏิบตั กิ าร ตรวจคัดกรองโรคกลุม อาการ ดาวน ตรวจคัดกรองภาวะพรองไทรอยดฮอรโมน (โรคเออ) โรคธาลัสซีเมีย เอชไอวี วัณโรค ตรวจยีนปองกันการแพยา และอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ใหมีขีดความ สามารถในการปฏิบัติงานสูงขึ้นตามบทบาท อสม.หมอ ประจําบานของกระทรวงสาธารณสุข ดวยการจัดอบรม อสม.วิทยาศาสตรการแพทยชุมชนใหตรวจสอบเฝาระวัง ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไมปลอดภัย เพื่อดูแลสุขภาพตนเอง และคนในชุมชน และสนับสนุนองคความรูและสงเสริมการ พัฒนาศักยภาพผูประกอบการ SMEs/OTOP ดานอาหาร และเครื่องสําอางสมุนไพร ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑสู Smart Product เปนตน

“กรมวิทยาศาสตรการแพทยมุงมั่นเปนองคกรชั้นนําดานวิทยาศาสตร การแพทยและสาธารณสุข 1 ใน 3 ของภูมิภาคเอเชีย ภายในป พ.ศ. 2565 โดยนํามาตรฐานสากลทั้งดานการบริหารจัดการ ISO 9001 : 2015 และ ดานระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ประยุกตใชรวมกับเกณฑการพัฒนา ระบบบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพและ คุณธรรมอยางตอเนื่อง สนับสนุนการปองกันและสงเสริมสุขภาพประชาชน ดวยองคความรู และขอมูลที่ตอบสนองสถานการณอยางทันการ จากหอง ปฏิบตั กิ ารทีเ่ ปนทีย่ อมรับในระดับสากล หองปฏิบตั กิ ารอางอิง และศูนยกลาง ขอมูลอางอิงและสารสนเทศดานวิทยาศาสตรการแพทย เพือ่ ความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยั่งยืนดานสุขภาพของประเทศ” นพ.ศุภกิจ กลาว

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

21


รายงานพิเศษ

สธ. รับมอบวัคซีนโควิดจากแอสตราเซนเนกา เก็บเขาคลังวัคซีนกรมควบคุมโรค

กระทรวงสาธารณสุขรับมอบวัคซีนโควิด-19 จากแอสตราเซนเนกา 117,300 โดส เก็บเขาคลังวัคซีน กรมควบคุม โรค มีระบบเก็บรักษาและควบคุมอุณหภูมิตามมาตรฐาน กอนนําไปฉีดกลุมเปาหมายตามที่กําหนด นายอนุทนิ ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี วาการกระทรวงสาธารณสุข พรอมดวย ดร.สาธิต ปตเุ ตชะ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข นพ.เกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และคณะผูบริหาร กระทรวงสาธารณสุข รวมพิธตี รวจรับวัคซีนปองกันโรคโควิด-19 จากบริษัท แอสตราเซนเนกา (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน 117,300 โดส นายอนุทินกลาววา ประเทศไทยจัดหาวัคซีนโควิด-19 จํานวน 63 ลานโดส แตเนือ่ งจากเหตุการณระบาดระลอกใหม จึงมีการประสานจัดหาวัคซีนเขามาเพื่อรองรับสถานการณ ซึ่งแอสตราเซนเนกาจัดหามาจากแหลงผลิตในตางประเทศ ตามคํารองขอจํานวน 117,300 โดส ถือเปนสวนหนึ่งของ วัคซีน 61 ลานโดส ที่จะผลิตในประเทศ โดยวัคซีนมาถึง ประเทศไทยเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2564 และสงมอบ วัคซีนใหแกกระทรวงสาธารณสุข โดยบริษัท ดีเคเอสเอช (ประเทศไทย) จํากัด ดําเนินการขนสงโดยไมคิดคาใชจาย จากการตรวจพบวาวัคซีนอยูในสภาพสมบูรณและเก็บเขา คลังวัคซีนกรมควบคุมโรคที่ควบคุมอุณหภูมิตามมาตรฐาน “หลังจากนีจ้ ะนําไปฉีดใหแกกลุม เปาหมายตอไป ซึง่ วัคซีน ของแอสตร า เซนเนก า จะครอบคลุ ม กลุ ม เป า หมายที่ อ ายุ มากกวา 60 ป โดยการกระจายวัคซีนจะมีคณะอนุกรรมการ อํานวยการบริหารจัดการการใหวัคซีนโควิด-19 ดําเนินการ จัดสรร สวนนายกรัฐมนตรีมีอายุมากกวา 60 ป อยูในเกณฑ ที่ไดรับวัคซีนได นอกจากเปนบุคคลสําคัญของประเทศ มี การประชุมและพบปะผูคนจํานวนมาก ยังสรางความเชื่อมั่น ในการฉีดวัคซีนดวย” นายอนุทินกลาว 22

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

สําหรับคลังวัคซีนกรมควบคุมโรค เปนที่จัดเก็บวัคซีนสําคัญของประเทศ เชน วัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ, หัด, หัดเยอรมัน, โปลิโอชนิดรับประทาน, คอตีบ, บาดทะยัก, วัคซีนไขเหลือง, วัคซีนไขกาฬหลังแอน, อหิวาตกโรค และ วัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา เปนตน ทั้งนี้ มีการทดสอบระบบทุกสัปดาห มีระบบสํารองไฟฟากรณีไฟฟาดับหรือเหตุไมคาดคิด มีกลองวงจรปดแบบ เรียลไทมในทุกจุดสําคัญ มอบหมายผูรับผิดชอบเพื่อบริหารจัดการจัดเก็บ กุญแจที่ชัดเจน สแกนการเขาออกคลังวัคซีนแบบจดจําใบหนา และมีระบบ แจงเตือนกรณีอุณหภูมิเปลี่ยนไปนอกเหนือจากชวงอุณหภูมิที่กําหนดไว สําหรับวัคซีนซิโนแวคอีก 8 แสนโดส ที่จะเขามา นายหยาง ซิน อุปทูต รักษาการแทนเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจําประเทศไทย ไดแจงวา ทางการจีนไดอนุมัติและประสานบริษัทผูผลิตแลว คาดวาจะมา ถึงวันที่ 25 มี.ค. และยังขอเสนอใหประเทศไทยพิจารณาฉีดวัคซีนโควิด-19 แกคนสัญชาติจีนที่อาศัยในประเทศไทย โดยประเทศไทยจะทําหนังสือแสดง ความจํานงขอการสนับสนุนวัคซีนจากประเทศจีนในฐานะมิตรประเทศตอไป หากใหวคั ซีนมาก็อาจระบุเงือ่ นไขวาใหดแู ลคนจีนในประเทศไทยดวย รวมถึง ขอให พิ จ ารณาร ว มกั บประเทศจี น จั ด ตั้ ง ศู น ย ก ารฉี ด วั ค ซี น ให ชาวจีนโพน ทะเลในภูมิภาคอาเซียน และเสนอเรื่องการยอมรับวัคซีนพาสปอรตระหวาง สองประเทศเปนบับเบิลกัน เพื่อใหการเขาประเทศมีความสะดวกขึ้น


Medical Techology

เชื่อมสมองกับจักรกลฟนฟูผูปวยหลอดเลือดสมอง Jeannie Kever University of Houston, Agencies

ผูปวยที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและไมไดรับ ประโยชนจากการฟนฟูแบบดั้งเดิม สามารถเคลื่อนไหว และควบคุมแขนไดอยางมีนยั สําคัญทางคลินกิ ดวยการใช อุ ป กรณ หุ น ยนต ภ ายนอกที่ ไ ด พ ลั ง งานจากสมองของ ผูปวยเอง มี อุ ป กรณ เ ครื่ อ งกลจํ า นวนมากที่ ช ว ยสนั บ สนุ น การ เคลื่อนไหวของแขน โดยเนนการฝกฝนแขนขางที่มีปญหา เพื่อพัฒนาการบําบัดใหดีขึ้น แมอุปกรณเหลานี้จะใชไดผล แตระบบตาง ๆ ไมทําใหการเคลื่อนไหวดังกลาวสอดคลอง กับความตั้งใจหรือความตองการที่แทจริงของผูปวย และ พลาดโอกาสสําหรับการฝกที่มีลักษณะโดยตรงมากกวา เวลานี้ คณะผูว จิ ยั จากสถาบันวิจยั ทางการแพทยหลายแหง ในเทกซัส ทําโดยคณะทํางานแหง University of Houston (UH) ไดพฒ ั นาระบบทีป่ ระสานรวมการเชือ่ มตอระหวางสมอง กับคอมพิวเตอรและแขนหุนยนตที่ตอบสนองตอความตั้งใจ หรือความตองการที่แทจริงของผูปวยเขาดวยกัน ระบบนี้ได แสดงถึ ง ความสามารถในการพั ฒ นาการเคลื่ อ นไหวของ แขนและมือในผูปวยที่ไมไดรับประโยชนจากการบําบัดฟนฟู โรคหลอดเลือดสมองแบบเดิม ผลของการทดลองทางคลิ นิ ก ครั้ ง นี้ มี ก ารเผยแพร ใ น วารสาร NeuroImage: Clinical โดย Jose Luis Contreras-Vidal ผูอํานวยการ Non-Invasive Brain Machine Interface Systems Laboratory ที่ University of Houston และเปนศาสตราจารยสาขาวิศวกรรมไฟฟาและ คอมพิวเตอร กลาววา การทดสอบไดแสดงวา ผูป ว ยสวนใหญ ไดรับผลดีอยางนอยเปนเวลา 2 เดือน หลังจากการบําบัด ฟน ฟูจบลง แสดงใหเห็นถึงศักยภาพทีจ่ ะไดประโยชนในระยะ ยาว การทดลองครั้งนี้ประกอบดวยการฝกผูปวยที่รอดชีวิต จากโรคหลอดเลือดสมองซึ่งเคลื่อนไหวแขนขางหนึ่งไดจํากัด ใหใชการเชื่อมตอสมองกับเครื่องจักรกล (Brain-Machine Interface: BMI) โดยมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่จับการ ทํางานของสมองเพื่อดูความตั้งใจหรือความตองการของ ผูเ ขารวมการทดลอง และกระตุน โครงรางภายนอก (exoskeleton) หรืออุปกรณหุนยนตที่ติดไวกับแขนขางที่มีปญหา เพื่อเคลื่อนไหวแขนตอบสนองความตั้งใจหรือความตองการ ดังกลาว อุปกรณจะไมเคลื่อนไหวถาตรวจไมพบความตั้งใจ นั้น เพื่อใหแนใจวาผูเขารวมการทดลองยังคงอยูกับการออก กายบริหาร

การใชหุนยนตในการฟนฟูนี้ไมใชสิ่งใหม Prof. Contreras-Vidal ผูนําการวิจัยรวมของการทดลองและผูบุกเบิกระบบ BMI ที่ไมมีการ รุกลํา้ เขารางกาย กลาว แตโดยทัว่ ไปการเคลือ่ นไหวรางกายโดยมีหนุ ยนต ชวยเหลือจะไมกํากับตัวผูใช ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอการใชประโยชนจาก คุณสมบัติในการปรับเปลี่ยนตามสภาพแวดลอมของสมอง เพื่อชวยให ผูปวยเรียนรูซํ้ากับการเคลื่อนไหว “โครงการนีจ้ ะทําใหเราแนใจวามีการติดตอกับสมอง” Prof. ContrerasVidal กลาวและวา “เราทราบวาแขนกําลังเคลื่อนไหว เพราะสมองกําลัง สั่งใหแขนเคลื่อนไหว นี่เปนแนวคิดที่จะเกิดผลอยางมาก” จากการทดสอบผูเขารวมการศึกษามาระยะหนึ่งกอนที่การทดลองจะ เริ่มตน คณะผูวิจัยจึงแนใจไดวาการเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาใด ๆ ที่ ดีขึ้นนั้นมาจากการบําบัดดวยวิธีนี้ นอกจากการเคลื่อนไหวแขนจะดีขึ้น แลว นักวิจัยยังรายงานวา ผูเขารวมการศึกษาไดแสดงใหเห็นวาสามารถ ใชแขนไดดีขึ้นดวย “นีเ่ ปนวิธกี ารใหมในการวัดสิง่ ทีก่ าํ ลังเกิดขึน้ ในสมองในการตอบสนอง ตอการบําบัดรักษา” Dr.Gerard Francisco ศาสตราจารยและ ประธานสาขาเวชศาสตรฟนฟูจาก McGovern Medical School ที่ Health Science Center แหง The University of Texas (UT) ในฮิวตัน และเปนนักวิจัยรวมหลักอีกคนหนึ่ง กลาว “การศึกษาไดแสดงใหเห็นวา วิธีการบําบัดในกรณีนี้ซึ่งใชหุนยนต สําหรับรางกายสวนบน สามารถกระตุน บางสวนของสมองใหพฒ ั นาความ ตัง้ ใจหรือความตองการทีจ่ ะเคลือ่ นไหวได โดยในอนาคตยอมหมายความวา เราสามารถขยายโปรแกรมการบําบัดรักษาที่มีอยูโดยมุงไปที่ความสําคัญ ของการเชื่อมโยงกับบางสวนของสมอง ที่สามารถขยายผลการตอบสนอง ตอการบําบัดไดมากขึ้น การทดลองนี้ดําเนินการที่ TIRR Memorial Hermann ซึ่ง Prof. Francisco ทํ า หน า ที ่ ป ระธานเจ า หน า ที ่ ก ารแพทย และ ผูอํานวยการ NeuroRecovery Research Center โครงการนี้เปน ความรวมมือระหวาง University of Houston (UH) , UTHealth, TIRR Memorial Hermann, Houston Methodist Research Institute และ Rice University “คณะทํางานของเราที่ไดศึกษาสมองมาเปนเวลาหลายปคาดการณวา พลังของสมองประสานรวมกับหุนยนตและการเชื่อมตอระหวางสมอง กับเครือ่ งจักรกล จะใหประโยชนทค่ี ดิ ไมถงึ ตอผูร อดชีวติ จากโรคหลอดเลือด สมองและผูปวยอื่นที่มีการบาดเจ็บของสมอง” Dr.Robert Grossman ศาสตราจารยสาขาประสาทศัลยศาสตรที่ Houston Methodist กลาว “การศึกษานี้เปนเพียงจุดเริ่มตนในสิ่งที่จะเปนไปไดสําหรับการรักษา โรคหลอดเลือดสมอง อาการบาดเจ็บของไขสันหลัง และการบาดเจ็บของ สมองในอนาคต” ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

23


Medical Techology การทดลองนี้กินเวลาอยูหลายป สวนหนึ่งเปนเพราะตอง ใช เวลาในการสรรหาผู เข า ร ว มการศึ ก ษาที่ ส อดคล อ งกั บ หลั ก เกณฑ แ ละสนใจเขามามีสว นรว มและสามารถให เวลา กับการทดลองได ในที่สุดไดมีการสรรหาผูเขารวมการศึกษา จํานวน 10 คน อายุระหวาง 41 และ 71 ป ในการทดลองมีการบําบัดรักษาสัปดาหละ 3 ครัง้ เปนเวลา 4 สัปดาห ดําเนินการทดสอบเพื่อติดตามผลสุดทายเปนเวลา 2 เดือน หลังการบําบัดรักษาเสร็จสิ้น และ Prof. ContrerasVidal บอกวา ยังไมมีความชัดเจนวาประโยชนของการรักษา จะคงอยูไดในระยะยาวหรือไม การศึกษาครั้งนี้ไดนําไปสูโครงการที่กําลังเดินหนาอยู โดย Prof. Contreras-Vidal ไดรับทุนอุดหนุนจาก National Science Foundation เพื่อออกแบบระบบที่มีราคาถูก ซึ่งจะ ชวยใหผูปวยสามารถรักษาตอเนื่องที่บานได

“ถาเราสามารถสงผูปวยกลับบานพรอมอุปกรณ ผูปวยจะสามารถ ใชอุปกรณไดตลอดชีวิต” เขากลาว

พลังของสมองประสานรวมกับ หุนยนตและการเชื่อมตอระหวาง สมองกับเครื่องจักรกล จะใหประโยชนที่คิดไมถึงตอ ผูรอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง และผูปวยอื่นที่มีการบาดเจ็บ ของสมอง

การศึกษาทางคลินิกพบวา ผูปวยที่รอดจากโรคหลอดเลือดสมองสามารถเคลื่อนไหวและควบคุมแขนไดอยางมีนัยสําคัญทางคลินิก โดยใชอุปกรณ หุนยนตภายนอกที่ไดรับพลังจากสมองของผูปวยเอง

ในการศึกษาทดลอง อาสาสมัครซึ่งสามารถเคลื่อนไหวแขนไดจํากัด หลังจากเปนโรคหลอดเลือดสมอง จะสวมหมวกตรวจคลื่นไฟฟาสมอง (EEG (electroencephalography) cap) ซึ่งจะชวยใหเขาถึงคลื่นสมอง ของอาสาสมัคร มีการเชื่อมตอโครงรางแขนกล (arm exoskeleton) ที่ สามารถขยับรยางคขางที่มีปญหาเขากับคอมพิวเตอรที่ตรวจสอบความ ตั้งใจของผูใชจากสัญญาณ EEG และเคลื่อนไหวแขนไปตามสัญญาณ ถา ตรวจสอบไมพบสัญญาณความตั้งใจ โครงแขนกลจะไมขยับ ซึ่งชวยให แนใจวาสมองมีปฏิกิริยาที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวของอุปกรณ การทดสอบแสดงวาผูปวยสวนใหญไดรับประโยชนจากการบําบัด เปนเวลาอยางนอย 2 เดือน หลังจากการบําบัดเสร็จสิ้นลง แสดงใหเห็น โอกาสที่จะไดรับผลดีในระยะยาว

24

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564


ข อมูลสุขภาพ

สปสช. นํารองลางไตทางชองทองดวยเครื่องอัตโนมัติ อาจเพิ่มเปนสิทธิประโยชนในอนาคต ประกันสังคม-สปสช. ยํ้าสิทธิประโยชนผูปวยไตวายเรื้อรัง ระยะสุดทายมีความครอบคลุมแตจะใหดีที่สุดตองปองกัน ไมใหเกิดโรค สปส. เล็งปรับแนวนโยบายเนนการสงเสริม สุขภาพ ตรวจคัดกรองและปรับพฤติกรรมสุขภาพผูป ระกันตน ใหมากขึ้น ขณะที่ สปสช. นํารองลางไตทางชองทองดวย เครื่องลางอัตโนมัติ หากไดผลดีจะเพิ่มเปนสิทธิประโยชน ในอนาคต สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย รวมกับ สํานักงานหลัก ประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) จัดกิจกรรมเนื่องในวัน โรคไตโลกประจําป 2564 เมือ่ วันที่ 11 มี.ค. 2564 ทีผ่ า นมา ภายใตแนวคิด “ไตวายไมตายไว แคปรับใจและปรับตัว” โดยในงานนี้มีกิจกรรมเสวนาใหความรูเกี่ยวกับแนวทางการ ปองกันโรคไต การใหความรูเกี่ยวกับสิทธิประโยชนการรักษา โรคไตวายเรื้อรังจากตัวแทนสํานักงานประกันสังคม (สปส.) และ สปสช. นางนงลักษณ กอวรกุล รักษาการผูอํานวยการสํานัก จัดระบบบริการทางการแพทย สปส. กลาววา ในอดีต ประกันสังคมไมครอบคลุมการบําบัดทดแทนไต แตเพื่อไมให เปนภาระเศรษฐกิจครอบครัวผูปวย สปส. จึงไดขยายสิทธิเริ่ม จากการฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียมในป 2542 จากนั้นเพิ่ม สิทธิในเรื่องการลางไตทางชองทองรวมทั้งสิทธิกรณีปลูกถาย อวัยวะ ป 2548 โดยจะครอบคลุมผูประกันตน มาตรา 33 และ มาตรา 39 สวนผูประกันตนมาตรา 40 จะใชสิทธิการ รักษาของ สปสช. นางนงลักษณกลาววา แนวทางการดูแลผูปวยโรคไต ในชวงการเจ็บปวยระยะแรก ๆ ก็จะเปนการรักษาตามสิทธิปกติ แตถาเขาสูไตวายเรื้อรังระยะสุดทาย จะแยกเรื่องนี้ออกมา ดูแลโดยเฉพาะเพือ่ ใหโรงพยาบาลไมตอ งกังวลใจเรือ่ งคาใชจา ย ซึง่ การรับสิทธิประโยชนบาํ บัดทดแทนไตจะมีขน้ั ตอน คือ ผูป ว ย ทีเ่ ขาเกณฑตอ งมีใบรับรองแพทยมายืน่ ขอใหคณะอนุกรรมการ บําบัดทดแทนไตของ สปส. พิจารณา ซึ่งที่ผานมามีผูประกันยื่น ขออนุมตั ฟิ อกเลือดดวยเครือ่ งไตเทียมแลวประมาณ 2 หมืน่ คน คาใชจายแตละปประมาณ 3,000 ลานบาท ขณะเดียวกัน ยาที่จําเปนกับผูปวย เชน ยากระตุนเม็ดโลหิต ก็อยูในชุด สิทธิประโยชนที่ สปส. ดูแลเชนกัน “ดังนั้น ผูที่เขาสูไตวายระยะสุดทายไมตองกังวลใจ แต แมวา เราจะดูแลการฟอกไตไปตลอด เราก็ไมตอ งการเห็นผูป ว ย เพิ่มจํานวนมากกวานี้ ดังนั้น ทิศทางนโยบายในอนาคตจะ เนนการดูแลสงเสริมสุขภาพ ทั้งการตรวจคัดกรอง การปรับ พฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งขณะนี้เปนสิทธิประโยชนตาม พ.ร.บ. ประกันสังคม ฉบับที่ 4 แลว” นางนงลักษณ กลาว

ดาน ภก.คณิตศักดิ์ จันทราพิพัฒน ผูอํานวยการสํานักสนับสนุน ระบบบริการทุตยิ ภูมแิ ละตติยภูมิ สปสช. กลาววา โรคไตเปนโรคคาใชจา ย สูง เปนโรคแหงการลมละลายถาตองจายเงินเอง ตอนที่ สปสช. ยังไมไดให สิทธิประโยชนครอบคลุมเรือ่ งนี้ คาฟอกไตอยูท ่ี 2,500-4,000 บาท/ครัง้ หรือ ปละประมาณ 2-3 แสนบาท ซึ่งมีนอยคนมากที่จะจายได หลังจากนั้น สปสช. เริ่มใหสิทธิประโยชนบําบัดทดแทนไตตั้งแตป 2550 เพื่อใหผูปวย ไตวายระยะสุดทายไดรับการบําบัดทดแทนไตทั้ง 3 วิธี โดยมีหลักการ คือ มีความครอบคลุม ไมวาจะอยูในชนบทหรืออยูในเมืองตองไดบริการ เชนเดียวกัน นอกจากนี้ ตองหยุดการลมละลายของประชาชน และทีส่ าํ คัญ ตองมีการสรางสวนรวมจากทุกฝายในการปองกันตัวเอง ทานอาหารทีเ่ หมาะสม เพื่อลดการเกิดโรค ภก.คณิตศักดิก์ ลาวอีกวา สิทธิประโยชนการบําบัดทดแทนไตของ สปสช. มี 3 อยาง คือ ลางไตทางหนาทอง ฟอกไตดวยเครื่องไตเทียม และการผาตัด ปลูกถายไต อยางไรก็ดี สปสช. จะเลือกการลางไตทางหนาทองเปนอันดับ แรกกอน เพราะในชวงป 2550 นั้น การฟอกไตดวยเครื่องไตเทียมยังไม แพรหลาย อีกทั้งผูปวยตองเดินทางมาฟอกเลือดที่โรงพยาบาลสัปดาหละ 3 ครั้ง เกิดคาใชจายในการเดินทาง เสียเวลาครั้งละ 4-5 ชม. ดังนั้น สปสช. จึงเลือกวิธีการลางไตทางหนาทองกอนเพราะผูปวยสามารถทําไดที่บานดวย ตัวเอง โดย สปสช. จะจัดระบบสงนํ้ายาไปถึงที่บานทุกเดือนฟรี อยางไรก็ตาม ถาผูป ว ยมีขอ จํากัดไมสามารถลางไตทางหนาทองก็จะให สิทธิฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม สวนการปลูกถายไต ถาเขาเงื่อนไขตาง ๆ สปสช. ก็จายคาใชจายใหทั้งหมด รวมทั้งในอนาคตจะพัฒนาอีกขั้นดวยการ ลางไตทางชองทองดวยเครื่องลางอัตโนมัติ ซึ่งขณะนี้อยูระหวางนํารองใน บางพื้นที่ ถาไดผลเปนที่นาพอใจ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหง ชาติ (บอรด สปสช.) ก็จะพิจารณาเพิ่มเปนสิทธิประโยชนใหในอนาคต ภก.คณิตศักดิ์กลาวทิ้งทายวา แม สปสช. จะมีระบบการดูแลผูปวย โรคไต แตสิ่งที่ดีที่สุด คือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการบริโภคเค็ม ดูแล สุขภาพ ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เพื่อปองกันไมใหเกิดโรคจะดีที่สุด ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

25


ข อมูลสุขภาพ แพทยแนะเคล็ดลับการนอนหลับที่ดี กรมการแพทย โดยสถาบันโรคทรวงอก จัดกิจกรรมเนื่องใน วันนอนหลับโลก 2564 (World Sleep Day 2021) เพื่อ ใหความรูแกบุคลากรทางการแพทยและประชาชนที่สนใจ ใหตระหนักถึงความสําคัญของการนอนหลับ โรคที่เกิดจาก การนอนหลับที่มีผลกระทบตอรางกาย และเคล็ดลับใน การนอนหลับที่ดี นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย กลาววา สมาคมการแพทยเพื่อการนอนหลับโลก (The World Association of Sleep Medicine : WASM) ไดกําหนดใหวันศุกร สัปดาหที่ 2 เดือนมีนาคมของทุกป เปนวันนอนหลับโลก World Sleep Day เพื่อใหประชาชนตระหนัก เห็นถึงความสําคัญ ของการนอนหลับ และสุขอนามัยการนอนที่ดี เพราะการ นอนหลับทีเ่ หมาะสมเพียงพอกับความตองการของรางกาย คือ การพักผอนทีด่ ที ส่ี ดุ และยังสงผลดีสขุ ภาพกายและใจ ลดความ เสี่ยงตอการเกิดโรคตาง ๆ แตสําหรับผูที่มีปญหาเกี่ยวกับการ นอนหลับ เชน นอนกรน นอนไมหลับ นอนไมพอ มีอาการ งวงนอนกลางวันผิดปกติ หรือผูที่มีพฤติกรรมการนอนผิดปกติ อื่น ๆ เชน นอนแขนขากระตุก นอนกัดฟน หรือนอนละเมอ นอนฝนราย สะดุงตื่นเปนประจํา อาการเหลานี้อาจจะสงผลตอ การเกิดโรคตาง ๆ เชน ความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ อัมพาต โรคหัวใจ โรคเบาหวาน อุบัติเหตุจากความงวง สมาธิสั้น เรียนรู ชา อาการซึมเศรา ภาวะอวน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ รวมทั้ง ยังเพิ่มความเสี่ยงตอการเสียชีวิต หากมีอาการดังกลาว แนะนํา ใหควรพบแพทยเฉพาะทางดานการนอนหลับ เพื่อตรวจการ นอนหลับ และวินิจฉัยคนหาโรคผิดปกติจากการนอนหลับ นพ.เอนก กนกศิลป ผูอํานวยการสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย กลาวเพิ่มเติมวา ผูที่มีปญหาเกี่ยวกับการ นอนหลับเปนระยะเวลานาน อาจสงผลเสียตอสุขภาพในหลายดาน อีกทั้งการนอนหลับไมเพียงพอในผูที่มีโรคประจําตัวอาจทําให โรคหรืออาการของโรคที่มีอยูเพิ่มขึ้นหรือกําเริบขึ้นได ดังนั้น เพื่อสุขอนามัยการนอนหลับที่ดี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน ชีวิตประจําเปนเรื่องที่สําคัญ เพื่อใหรางกายไดพักผอนไดอยาง

เต็มที่ โดยสามารถปฏิบัติตามคําแนะนําเพื่อสุขอนามัยการนอนหลับที่ดี ดังนี้ 1. เขานอนและตื่นเปนเวลา ไมวาวันทํางานหรือวันหยุด 2.ไมแนะนํา ใหนอนกลางวัน หากนอนกลางวันไมควรเกิน 30 นาที และไมควรเกิน เวลา 15.00 น. 3. หลีกเลี่ยงรับประทานอาหารมื้อหนักอยางนอย 4 ชั่วโมง กอนนอน 4. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน แอลกอฮอล และหลีกเลี่ยงการสูบ บุหรี่ อยางนอย 4 ชั่วโมง กอนนอน 5. ควรออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ และหลีกเลี่ยงออกกําลังกาย 2 ชั่วโมง กอนนอน 6. ผอนคลายความวิตก กังวล นั่งสมาธิ หลีกเลี่ยงการคุยโทรศัพทหรือดูหนังสยองขวัญกอนนอน 7. จัดสภาพแวดลอมการนอนใหเหมาะสม อุณหภูมิในหองนอนตองไมรอน หรือไมเย็นเกินไป ปราศจากสิ่งรบกวน เชน แสงสวาง เสียง 8. หากนอนไม หลับภายใน 30 นาที ควรลุกจากที่นอนและทํากิจกรรมเบา ๆ แลวกลับมา นอนเมื่องวง 9. ใชเตียงนอนเพื่อการนอนเทานั้น 10. รับแสงแดดใหเพียงพอ ในตอนเชา อยางนอย 30 นาทีของทุกวัน เนื่องจากแสงแดดเปนตัวกระตุน การควบคุมนาิกาชีวิตที่สําคัญของรางกาย หากพบวามีความผิดปกติใน การนอนหลับ ทั้งปริมาณและคุณภาพเปนประจํา ซึ่งสงผลตอสุขภาพทั้ง ทางรางกายและจิตใจ และงวงนอนมากในเวลากลางวัน ควรรีบปรึกษา แพทยเพื่อตรวจและประเมินสาเหตุที่แทจริง โดยสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย ไดเปดใหบริการคลินิกศูนย โรคการนอนหลับ ใหคําปรึกษาและตรวจรักษาอาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับการนอนหลับ โดยแพทยผูเชี่ยวชาญทางดานการนอนหลับ ในทุกวันพุธ เวลา 07.00 – 12.00 น. ณ คลินิกผูปวยนอก ศูนยโรคการนอนหลับ ชั้น 2 อาคาร 8

การรักษากระแดดควรทําโดยผูเชี่ยวชาญ กรมการแพทย โดยสถาบันโรคผิวหนัง เผยกระแดดสามารถ พบไดบอยถึง 90 เปอรเซ็นต ในคนที่มีอายุมากกวา 50 ป การรักษากระแดดตองทําโดยผูเ ชีย่ วชาญ และตองดูแลตนเอง ใหถูกวิธี นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย เปด เผยวา กระแดดเปนหนึ่งในรอยโรคที่เกิดจากแสงแดด โดย รอยโรคที่พบไดบอยถึง 90 เปอรเซ็นต ในคนที่มีอายุมากกวา 50 ป ซึ่งจะพบมากในบริเวณที่เจอแสงแดด เชน ใบหนา มือ 26

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

หลังแขน เปนตน สงผลทําใหผูปวยเกิดความกังวลและสงผลถึงรูปลักษณ ที่ไมสวยงาม จากแสงคลื่นชวงแสงอัลตราไวโอเลตและชวงแสงความรอน สงผลทําใหเซลลเม็ดสีเมลานินที่อยูในชั้นผิวหนังชั้นบนเกิดการขยายตัว มีขนาดใหญมากขึ้นและมีสีเขมขึ้น ซึ่งจะสงผลใหรอยโรคมีลักษณะเปน สีนํ้าตาลเขม ขอบชัดลักษณะเปนวงรี บางครั้งมีรูปรางและสีเขมเหมือน ตับ โดยอาจจะมีขนาดใหญไดถึง 6 เซนติเมตร โดยจะพบไดบอยที่บริเวณ ใบหนา ไหล แขน และหลังมือ ในรายที่มีประวัติเจอแสงแดดมาเปนเวลา นาน ๆ


ข อมูลสุขภาพ พญ.มิง่ ขวัญ วิชยั ดิษฐ ผูอ าํ นวยการสถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย กลาวเพิม่ เติมวา การรักษากระแดดนัน้ สามารถ รักษาไดดังนี้ 1. การรักษาดวยยาทาเฉพาะที่กลุมยาทาลด รอยดํ า เช น hydroquinone, tretinoin, adaptable สามารถลดรอยดําได รวมถึงการใชกรดลอกผิวในความเขมขน ที่ตาง ๆ กันที่มีฤทธิ์ในการลอกผิวหนังชั้นบน พบวาไดผลดี ในการรักษากระแดดรวมถึงรอยโรคจากแสงแดดชนิดอื่น ๆ แต ตองทําโดยผูเชี่ยวชาญ ไมแนะนําใหซื้อมาทําเอง 2. การรักษา ดวยการใชไนโตรเจนเหลว, เลเซอรเม็ดสีโดยการใชไอเย็น และ

เลเซอรรักษานั้น อาจตองทําหลายครั้งแตละครั้งจะมีแผลที่ตกสะเก็ด ถาเลี่ยง แดดและดูแลแผลไมถูกตองอาจทําใหเกิดรอยดํามากขึ้น หรือทําใหเกิดรอย ขาวได ผูอํานวยการสถาบันโรคผิวหนัง ใหคําแนะนําเพิ่มเติมวา การรักษา สวนใหญจะสามารถทําใหรอยโรคจางลงหรือหายไปไดช่ัวคราวและมีโอกาส กลับมาเปนซํา้ ไดคอ นขางบอย แตสว นใหญจะมีสที จ่ี างลงมากกวากอนการรักษา ถาไดรับการรักษาและการดูแลแผลหลังการรักษาที่ถูกตอง ดังนั้น กอนทํา การรักษาควรปรึกษาแพทยเฉพาะทางผิวหนังเพื่อการวินิจฉัยและการรักษาที่ เหมาะสม

เฝาระวังอาการหลังฉีด 30 นาที มีความจําเปน แมวัคซีนมีความปลอดภัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เนนยํ้าการฉีดวัคซีน โควิด-19 ของไทยมีเปาหมายเพื่อลดอัตราการปวยและ เสียชีวิต เพื่อปกปองระบบสุขภาพของประเทศ และเพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เผยการเฝาระวังอาการ หลังฉีด 30 นาที มีความจําเปน แมวคั ซีนจะมีความปลอดภัย แตอาจเกิดอาการไมพงึ ประสงคขน้ึ ได ซึง่ ปกติจะสังเกตอาการ 15 นาที แตระบบของประเทศไทยเพือ่ ความปลอดภัยจะให อยูสังเกตอาการในสถานที่นั้น ๆ เปนเวลา 30 นาที นพ.โอภาส การยกวินพงศ อธิบดีกรมควบคุมโรค กลาววา การฉีดวัคซีนโควิด-19 ของประเทศไทยมีเปาหมายเพือ่ ลดอัตรา การปวยและเสียชีวติ เพือ่ ปกปองระบบสุขภาพของประเทศและ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยใหคนไทยทุกคนไดรับ วัคซีนที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ สําหรับใน ระยะแรกที่วัคซีนมีจํากัด 2 ลานโดส ของบริษัท ซิโนแวค จึงฉีดใหกลุมเปาหมายในพื้นที่เสี่ยงกอน ไดแก บุคลากรทางการ แพทยและสาธารณสุขดานหนาทั้งภาครัฐและเอกชน เจาหนาที่ ที่มีโอกาสสัมผัสผูปวย เชน ฝายปกครอง ทหาร ตํารวจ อสม. เปนตน และประชาชนทีม่ โี รคประจําตัว สวนผูส งู อายุ 60 ปขน้ึ ไป ยังตองระงับการฉีดวัคซีนของซิโนแวคไวกอน เนื่องจากมีผล การศึกษาวิจัยในกลุมอายุดังกลาวนอย

ขณะนี้ไดมีการกระจายวัคซีนไปยังพื้นที่เสี่ยงใน 13 จังหวัดแลว และได ดําเนินการฉีดวัคซีนอยางตอเนื่องมาประมาณ 1 สัปดาห ซึ่งไดรับรายงาน อาการไมพึงประสงคหลังรับวัคซีนประปรายในบางพื้นที่ แตสวนใหญอาการ ไมรุนแรง อยางไรก็ตาม แมวัคซีนจะมีความปลอดภัย แตอาจเกิดอาการ ไมพึงประสงคขึ้นได จึงมีความจําเปนที่ตองเฝาระวังอาการหลังฉีด 30 นาที โดยหลังรับวัคซีนจะมีการสังเกตอาการเพื่อดูวามีการแพวัคซีนหรือไม ซึ่งปกติ จะสังเกตอาการ 15 นาที แตระบบของประเทศไทยเพื่อความปลอดภัยจะ ใหอยูสังเกตอาการในสถานที่นั้น ๆ เปนเวลา 30 นาที ตามโปรแกรมการ ฉี ด วั ค ซี น ที่ ก ระทรวงสาธารณสุ ข วางไว เ พื่ อ ความปลอดภั ย อย า งรอบคอบ และเพื่อใหแนใจวาไมมีอาการใด ๆ กอนจะอนุญาตใหกลับบานและนัดใหมา ฉีดเข็มที่ 2 ตอไป รวมถึงใหคําแนะนํา แผนพับในการเฝาระวังอาการที่อาจ เกิดขึ้นได และเบอรติดตอกับโรงพยาบาลที่ใหบริการ สําหรับการเฝาระวัง สังเกตและติดตามอาการหลังรับวัคซีนนัน้ เจาหนาที่ ที่เกี่ยวของจะดําเนินการ ดังนี้ สังเกตและถามอาการหลังฉีดทันที, เฝาระวัง และสังเกตอาการในสถานที่รับวัคซีน 30 นาที จากนั้นจะมีการติดตาม อาการอีกในวันที่ 1, 7 และ 30 ผานทางไลน “หมอพรอม” หรือมีเจาหนาที่ โรงพยาบาล, รพ.สต. หรือ อสม. เปนผูติดตามอาการ ทั้งนี้ ผูที่รับวัคซีนควร สังเกตอาการตอไปจนครบ 30 วัน ตามโปรแกรมที่กระทรวงสาธารณสุขวางไว เพื่อความปลอดภัย นพ.โอภาสกลาวเพิ่มเติมวา สําหรับอาการไมพึงประสงคหลังรับวัคซีน แบงเปน 2 ระดับ คือ 1. อาการไมรุนแรง ไดแก มีไขตํ่า ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน ออนเพลีย และปวดบริเวณที่ฉีด หากมีอาการเหลานี้หลังฉีดขอให รายงานในระบบไลน “หมอพรอม” ซึ่งอาการเพียงเล็กนอยเหลานี้จะหายได ภายใน 1-2 วัน และ 2. อาการรุนแรง ไดแก ไขสูง แนนหนาอก หายใจ ไมออก ปวดศีรษะรุนแรง ปากเบี้ยว กลามเนื้อออนแรง มีจุดเลือดออกจํานวน มาก ผื่นขึ้นทั้งตัว อาเจียนมากกวา 5 ครั้ง ชัก และหมดสติ ถามีอาการขณะ เฝาระวังอาการหลังฉีด 30 นาที ขอใหรีบแจงแพทย พยาบาล หรือเจาหนาที่ที่ สังเกตอาการทันที แตหากกลับบานแลวเกิดอาการดังกลาว ขอใหไปพบแพทย ที่โรงพยาบาลใกลบานโดยเร็ว หรือโทร. สายดวน 1669 เพื่อแจงรถพยาบาล มารับ หรือถาหมดสติใหญาติรีบพาไปโรงพยาบาลทันที ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

27


ปกิณกะสุขภาพ สธ. พัฒนาเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตชุดใหม เพื่อความเหมาะสมของเด็กไทย

กระทรวงสาธารณสุข จัดทําเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต ของเด็กอายุ 6-19 ป ชุดใหม เพื่อเปนเกณฑอางอิง ที่ใชในการสงเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก รวมกับภาคี เครือขายขับเคลื่อนสุขภาพมุงสูเปาหมายใหเด็กไทยใน ศตวรรษที่ 21 ฉลาด ดี มีทักษะ แข็งแรง ดร.สาธิต ปตุเตชะ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง สาธารณสุข เปดเผยภายหลังเปนประธานงานแถลงขาว เกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6-19 ป ณ โถง อาคาร 3 ชัน้ 1 สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วา กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายมุง เนนสงเสริมใหเด็กไดเติบโต เต็มศักยภาพ การเฝาระวังและติดตามการเจริญเติบโตของ เด็ก เปนกระบวนการสําคัญที่ชวยใหเด็กเติบโตไดดี คณะ กรรมการพัฒนาเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กแรก เกิดถึง 18 ป และสํานักโภชนาการ กรมอนามัย ไดพัฒนา เกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6-19 ป ชุดใหม ที่สามารถสะทอนภาวะโภชนาการสอดคลองกับสถานการณ ปจจุบัน จึงรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ กรมสงเสริมการ ปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย แหงประเทศไทย รวมทั้งภาคีเครือขายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ขับเคลื่อนเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6-19 ป ชุดใหม เพื่อเปนเกณฑอางอิงที่ใชในการสงเสริมการเจริญ เติบโตของเด็ก การประเมินภาวะการเจริญเติบโตโดยการ ชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโต จะทําใหทราบวาเด็กคนหนึ่งมีภาวะโภชนาการเปนอยางไร อวน ผอม หรือเตี้ย เพื่อสามารถแกไขปญหาไดอยางทัน ทวงที 28

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

“ในชวง 10 ปที่ผานมา เด็กมีการเจริญเติบโตไดดีขึ้น การใชเกณฑ อางอิงการเจริญเติบโต ป 2538 ทีใ่ ชอยูเ ดิม จะทําใหวเิ คราะหสภาพปญหา ตํ่ากวาความเปนจริง เด็กสูงตามเกณฑมากเกินจริง เด็กเตี้ยนอยกวา ความเปนจริง เด็กอวนมากเกินจริง และเนื่องจากเกณฑการเจริญเติบโต ของเด็กอายุ 5-19 ป ขององคการอนามัยโลก พ.ศ. 2550 เก็บขอมูล จากเด็กอเมริกัน จึงไมเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ในป 2558 คณะกรรมการจึ ง มี ม ติ ใ ห จั ด ทํ า เกณฑ อ า งอิ ง การเจริ ญ เติ บ โตของเด็ ก วัยเรียนวัยรุนชุดใหมขึ้น เพื่อสงเสริมการเจริญเติบโตและประเมินขนาด ปญหาไดอยางเหมาะสมกับภาวะโภชนาการในประเทศไทย” ดร.สาธิตกลาว


ปกิณกะสุขภาพ ทางดาน นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดี กรมอนามัย กลาววา กรมอนามัย โดยสํานักโภชนาการ ไดรวมมือกับศูนยอนามัย สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด จํานวน 16 จังหวัด ที่ เปนตัวแทนของประเทศ ทําการเก็บขอมูลนํ้าหนัก สวนสูง และรอบเอว ของเด็กอายุ 4 ป 6 เดือน ถึง 19 ป จํานวน 46,587 คน ระหวาง พ.ศ. 2558 - 2562 จากสถานศึกษา ตั้งแตระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ถึงระดับ อุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน จัดทําเปนเกณฑอางอิง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป ชุดใหม และสง มอบขอมูลชุดดังกลาวใหกับภาคีเครือขายที่ดูแลสุขภาพ ของเด็กไทย เพื่อรวมกันลดปญหาเด็กอวนที่มีแนวโนมเพิ่ม ขึ้นเกินรอยละ 10 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมาย และเด็กเตี้ยมี

แนวโนมเพิ่มขึ้น เกินรอยละ 5 สูงกวาคาเปาหมาย โดยเด็กอวนมีโอกาสที่ จะเปนผูใหญอวน เสี่ยงตอโรคไมติดตอเรื้อรังในอนาคตได รวมทั้งเด็กที่มี ภาวะเตี้ย อาจเนื่องมาจากมีการขาดอาหารเรื้อรังหรือมีการเจ็บปวยบอย สงผลตอการเรียนรูไ ดไมเต็มศักยภาพ และเด็กซีดหมายถึงรางกายขาดธาตุเหล็ก สงผลใหกระดูกไมแข็งแรง เปราะงาย อาจตัวเตีย้ กวาเด็กวัยเดียวกัน และ สมองทํางานไดชาลง สงผลใหเรียนรูชากวาเด็กในวัยเดียวกัน “ทั้งนี้ กรมอนามัยจึงไดรวมกับภาคีเครือขายขับเคลื่อนเกณฑการเจริญ เติบโตของเด็กอายุ 6-19 ป ชุดใหม เพื่อดูแลติดตามการเจริญเติบโตของเด็ก สงเสริมใหเด็กเติบโตเต็มศักยภาพ ใหถึงเปาหมายสวนสูงเฉลี่ยของคนไทย ที่อายุ 19 ป ผูชายสูง 175 เซนติเมตร ผูหญิง 162 เซนติเมตร ในป 2569 และใหถึงเปาหมายทาทายในอีก 15 ปขางหนา ป 2579 ผูชายสูง 180 เซนติเมตร ผูหญิง 170 เซนติเมตร เพื่อเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาชาติ ตอไป” อธิบดีกรมอนามัย กลาว

สถาบันนิติวิทยาศาสตรจับมือ สปสช. และองคกรภาคี ตรวจดีเอ็นเอพิสูจนตัวตนคนไทยไรสถานะ สถาบันนิติวิทยาศาสตร รวมกับ มูลนิธิพัฒนาที่อยูอาศัย และ สปสช. ลงพื้นที่พิสูจนอัตลักษณบุคคลดวยวิธีตรวจ รหัสพันธุกรรมแกบุคคลผูมีปญหาสถานะทางทะเบียน 90 ราย ณ ที่วาการอําเภอทามวง จ.กาญจนบุรี เผย ตั้งแตป 2558 มีการตรวจ DNA มีการดําเนินการปละ ประมาณ 1,600 ราย สถาบันนิติวิทยาศาสตร รวมกับ สํานักงานหลักประกัน สุขภาพแหงชาติ (สปสช.) และมูลนิธิพัฒนาที่อยูอาศัย ไดดําเนินการชวยเหลือคนไทยที่มีปญหาทางสถานะทาง ทะเบียนในพื้นที่ อ.สังขละบุรี อ.ทามวง อ.เมืองกาญจนบุรี และอําเภอใกลเคียง รวมทั้งหมดกวา 90 ราย ใหเขามา ทําการพิสูจนอัตลักษณบุคคลดวยวิธีตรวจรหัสพันธุกรรม (DNA) พรอมกับจัดกิจกรรมสื่อสารเพื่อใหคนไทยที่ไรสิทธิ ในพื้นที่เขาสูกระบวนการคนหาหลักฐาน เมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2564 ณ ที่วาการอําเภอทามวง จ.กาญจนบุรี นายอนรรฆ พิทักษธานิน ผูจัดการแผนงานเพื่อ การพัฒนาสุขภาวะคนไรบา น สํานักงานกองทุนสนับสนุน การสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) กลาววา หลังจากทีม่ กี ารลง นามบันทึกความรวมมือ (MOU) การดําเนินงานพัฒนาการ เข า ถึ ง สิ ท ธิ ห ลั ก ประกั น สุ ข ภาพของคนไทยที่ มี ป ญ หา สถานะทางทะเบียนของ 9 หนวยงานภาครัฐและเอกชน เมื่อปที่ผานมา ทําใหการทํางานของภาคประชาชนเพื่อ ชวยเหลือผูม ปี ญ  หาทางสถานะทางทะเบียน มีการขับเคลือ่ น อยางเปนระบบและไดรับความรวมมือจากหนวยงานรัฐ มากขึ้น ไมวาจะเปนกรมการปกครองที่ชวยตรวจสอบ

สืบคนขอมูลเพื่อใชในการยืนยันตัวบุคคลเปนอยางดี กระทรวงสาธารณสุข และ สปสช. ก็ผลักดันใหเขาถึงบริการสาธารณสุขมากขึ้น กระทรวงพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษยก็ใหความชวยเหลือในดานอื่น ๆ เชน จัดหา รถรับ-สงอํานวยความสะดวกแกผูที่ตองเขารับการตรวจ DNA และสถาบัน นิติวิทยาศาสตรที่ชวยตรวจ DNA จนนํามาสูการพิสูจนสิทธิ์ ซึ่งหลังจากนี้ ทางเครือขายภาคประชาชนก็จะไดชวยประสานงานใหไดรับสิทธิบัตรทอง เพื่อใชในการรักษาพยาบาลตอไป ดาน พ.ต.อ.ทรงศักดิ์ รักศักดิส์ กุล ผูอ าํ นวยการสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร กลาววา บทบาทหนาที่สําคัญประการหนึ่งของสถาบันนิติวิทยาศาสตร คือ การคุมครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน ตาม พ.ร.บ.การใหบริการดาน นิติวิทยาศาสตร 2559 ซึ่งการตรวจ DNA จะมีประเด็นในเรื่องของบุคคล ยากไรที่มีปญหาทางเศรษฐกิจ ทําใหบุคคลกลุมนี้ไมไดรับการดูแล ไมไดรับ สิทธิทั่วไปตามในฐานะประชาชนคนไทย ทางสถาบันนิติวิทยาศาสตรจึงได

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

29


ปกิณกะสุขภาพ จัดหางบประมาณมาดําเนินการตรวจ DNA ให โดยตั้งแตป 2558 เปนตนมา มีการดําเนินการปละประมาณ 1,600 ราย ซึ่งนอกจาก การตรวจที่สวนกลางแลว สถาบันนิติวิทยาศาสตรยังจัดทีมออก ตรวจ DNA ในภูมิภาคตาง ๆ ดวย โดยจะพิจารณาขอมูลจาก หนวยงานที่เกี่ยวของนํามารวบรวมวิเคราะหวามีจํานวนมากพอ สมควรแลวจัดแผนในการเดินทางไปตรวจพื้นที่ ดังเชนการเดินทาง มาใหบริการตรวจ DNA ในพื้นที่ อ.ทามวง ในครั้งนี้

นายฑรัท เหลืองสะอาด นายอําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี กลาววา ตองขอขอบพระคุณหนวยงานทีเ่ กีย่ วของไมวา ทางกระทรวง มหาดไทย สปสช. กระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิพัฒนาที่อยูอาศัย และหนวยงานพันธมิตรอื่น ๆ ที่ชวยกันทําใหการทํางานคลองตัว และสามารถทําใหการบริการประชาชนทัว่ ถึง โดยในสวนของอําเภอ ทามวงเองก็มีเปาหมายทําใหประชาชนไดมีความเสมอภาคและ พยายามทํางานอยางเต็มที่ ลดขั้นตอนการทํางานตาง ๆ พรอมกับ การดําเนินงานดวยความโปรงใส “อีกดานยังมีนายหนาเรียกคานําพา คาจัดการ คาออกเอกสาร การรับรองตาง ๆ ทางอําเภอขอยืนยันวาไมมกี ารเรียกเก็บเกินความ เปนจริง หากเปนผูยากไรเราจะประสานขอยกเวนคาตรวจ DNA ใหอยูแลว ทั้งยังประสานสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย หรือ พม. จังหวัดกาญจนบุรี ใหชว ยดําเนินการชวยเหลือ สงเคราะหอื่น ๆ ดังนั้น อยากสื่อสารใหชาวบานที่มีปญหาเรื่อง สถานะทางทะเบี ย นมาขอคํ า แนะนํ า ในการยื่ น พิ สู จ น สิ ท ธิ แ ละ ทําเอกสารยื่นเรื่องได ณ ที่วาการอําเภอทุกแหงไดดวยตนเอง” นายฑรัท กลาว ดาน ทพ.อรรถพร ลิ้มปญญาเลิศ รองเลขาธิการ สปสช. กลาววา สปสช. ดูแลประชาชนผูมีสิทธิบัตรทองกวา 47.5 ลานคน ไดครอบคลุม 99.88% แลว แตก็ปฏิเสธไมไดวายังมีบุคคลกลุมหนึ่ง ที่ยังมีปญหาสถานะทางทะเบียน ทําใหเขาไมถึงสิทธิสุขภาพขั้น พื้นฐาน สปสช. จึงมีนโยบายสนับสนุนใหเครือขายประชาชนรวม กันขับเคลื่อนคนหาคนกลุมนี้ ซึ่งสวนใหญจะพบปญหาวาไมมีบัตร ประชาชนมาแสดงตน จึงไมสามารถเขาถึงการรักษาพยาบาลได 30

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

อยางไรก็ตาม หลังจากมีการลงนาม MOU การดําเนินงานพัฒนาการ เข า ถึ ง สิ ท ธิ ห ลั ก ประกั น สุ ข ภาพของคนไทยที่ มี ป ญ หาสถานะทาง ทะเบียนของ 9 หนวยงานภาครัฐและเอกชนเมื่อปที่ผานมา ทําใหเกิด การบูรณาการความรวมมือที่เปนรูปธรรมระหวางหนวยงานตาง ๆ ใหไดรับบริการจากรัฐและชวยลดชองวางความเหลื่อมลํ้าในสังคมให แคบลงมากยิ่งขึ้น “สําคัญที่สุด คือ การนําคนไทยที่ไรสิทธิในพื้นที่มาใหไดรับการ ตรวจอัตลักษณ DNA นับวาเรากําลังสรางประวัติศาสตรหนาใหม ใหกับประเทศไทย ซึ่งจะชวยลดชองวางของ “ความเหลื่อมลํ้า” ให แคบลง เพราะไดเกิดการบูรณาการความรวมมือทีเ่ ปนรูปธรรม ตาง หนวยงาน ตางทําหนาทีส่ อดประสานงานตามภารกิจทีไ่ ดตกลงใน MOU ทีท่ า นอนุทนิ ไดรว มลงนาม จึงเปรียบเสมือนเปนแสงสวางทีป่ ลายอุโมงค ของคนไทยที่เคยตกหลนจากสังคม” ทพ.อรรถพร กลาว


ปฏิทินข าว วันที่

สถานที่

รายละเอียด

สนใจติดต อ

19 มีนาคม 2564

ณ หองประชุม จักรพันธ อาคารสยามบรมราชกุมารี ชั้น 7 สถาบันสุขภาพเด็ก แหงชาติมหาราชินี

24 มีนาคม 2564

ณ หองประชุม 1301 ชั้น 13 ร.พ.จุฬาฯ สภากาชาดไทย และคณะแพทยศาสตร โทร. 0 2256 5135 โซน C อาคารภูมสิ ริ มิ งั คลานุสรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ ศูนยโรคอุบัติใหมดานคลินิก ร.พ.จุฬาฯ สภากาชาดไทย ร.พ.จุฬาฯ สภากาชาดไทย และหนวยปฏิบัติการวิจัยวัณโรค คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดประชุมวิชาการ วันวัณโรค (World TB Day 2021 : The Clock is Ticking)

21-23 เมษายน 2564

ณ หองประชุม 910 ชั้น 9 คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล จัดประชุม อาคารเรียนและปฏิบัติการรวม วิชาการ RAmathibodi Conference of Emergency ดานการแพทยฯ Medicine (RACEM 2021) In the distancing society, let’s stay connected

สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแหงประเทศไทย จัดประชุมวิชาการ โทร. 0 2716 6534 Pediatric Infectious Disease Interhospital Conference ครั้งที่ 11

โทร. 0 2201 0283

11 พ.ค.– 18 ส.ค. 2564 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอรพอรต

ราชวิทยาลัยแพทยเวชศาสตรครอบครัวแหงประเทศไทย โทร. 0 2716 6651-2 สมาคมแพทยเวชปฏิบตั ทิ ว่ั ไป/เวชศาสตรครอบครัวแหงประเทศไทย รวมกับ สํานักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข จัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น “เวชศาสตรครอบครัว สําหรับแพทยปฏิบัติงานในหนวยบริการปฐมภูมิ” ป พ.ศ.2564 รุนที่ 17 12-14 พฤษภาคม 2564 ณ โรงแรม รอยัล คลิฟ บีช พัทยา ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทยแหงประเทศไทย จัดประชุมวิชาการ โทร. 0 2716 5721 จ.ชลบุรี (ศูนยประชุม PEACH) กลางปในรูปแบบ Hybrid (ทั้งแบบ Onsite และ Virtual Conference) 15-16 พฤษภาคม 2564 ณ หองประชุม อวย เกตุสิงห อาคารศรีสวรินทิรา ชั้น 3

สาขาวิชาโรคติดเชื้อและอายุรศาสตรเขตรอน ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ม.มหิดล จัดประชุมวิชาการ Siriraj infectious disease conference 2021 (Customized management in infectious disease) 6-9 มิถุนายน 2564 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด สมาคมโลหิตวิทยาแหงประเทศไทย จัดประชุมวิชาการประจําป เซ็นทรัลเวิลด ครั้งที่ 57 Theme: “Hematology 2021: A New Normal Era Unfolding” 21-23 กรกฎาคม 2564 ณ โรงแรม Lee gardens plaza ราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทย โดยอนุสาขา อ.หาดใหญ จ.สงขลา การบาดเจ็บทางออรโธปดิกส (Trauma Section) จัดประชุมวิชาการ 10th Thailand Orthopaedic Trauma Annual Congress (TOTAC) 2021 28–30 ตุลาคม 2564 ณ Royal Cliff Hotels Group ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย และ จ.ชลบุรี สมาคมกุมารแพทยแหงประเทศไทย จัดประชุมวิชาการประจําป ครั้งที่ 86 The 86th Annual Meeting in Pediatrics : 1st Announcement 28–30 ตุลาคม 2564

ณ โรงแรมดุสิตธานี พัทยา จ.ชลบุรี

โทร. 0 2419 7783

โทร. 0 2716 5977 โทร. 0 2716 5436-7

โทร. 0 2716 6200-1

ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย จัดประชุมวิชาการ โทร. 0 2716 6744 ประจําป ครั้งที่ 37 “Modern Internal Medicine : Getting to the New Normal”

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

31


News in Medicine

เพิ่ม “หมอพรอม” เปนเพื่อนในไลน ชวยเพิ่มประสิทธิภาพปองกันโควิด-19 กระทรวงสาธารณสุขเผย 9 วัน ฉีดวัคซีนโควิดแลว 29,900 ราย แนะประชาชนเพิ่ม “หมอพรอม” เปนเพื่อนในไลน ชวย ตรวจสอบรายชื่อ ประเมินและยินยอมรับวัคซีน พรอมสง ขอความแจงเตือนนัดวันรับวัคซีนทั้ง 2 เข็ม ติดตามอาการ หลังฉีด และใหใบยืนยันรับวัคซีนครบถวน ยําตองฉีดใหครบ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพปองกันโรค นพ.จักรรัฐ พิทยาวงศอานนท ผูอ าํ นวยการกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค และ ผศ. (พิเศษ) นพ.สุภโชค เวชภัณฑเภสัช ผูอ าํ นวยการกองยุทธศาสตรและแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข แถลงขาวการฉีดวัคซีนโควิด-19 และการใชงานระบบไลนหมอพรอม โดย นพ.จักรรัฐกลาววา ความคืบหนาการฉีดวัคซีนโควิด-19 ตั้งแตวันที่ 28 กุมภาพันธ – 8 มีนาคม 2564 มีผูไดรับ วัคซีนแลว 29,900 ราย แนวโนมผูรับวัคซีนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้ การฉีดวัคซีนทุกชนิดสามารถเกิดปฏิกิริยาขึ้นได 2 แบบ คือ อาการไมพึงประสงค เชน คลื่นไส อาเจียน ปวดเมื่อย มีไขตํ่า ปวดศีรษะ ออนเพลีย ปวดบริเวณที่ฉีด หนามืด และ วิงเวียนศีรษะ เปนตน เปนอาการปกติทเ่ี กิดไดหลังการฉีดวัคซีน หายเองไดใน 1-2 วัน สวนอาการแพรนุ แรง คือ ไขสงู แนนหนาอก หายใจไมออก จุดเลือดออก ผืน่ ขึน้ ทัง้ ตัว อาเจียนมากกวา 5 ครัง้ ชัก ปากเบีย้ ว ปวดศีรษะรุนแรง และแนนหนาอกหายใจไมออก ตองไปพบแพทย ขณะนีย้ งั ไมมรี ายงานอาการแพรนุ แรง แตมอี าการสงสัยเขาเกณฑ สอบสวนโรค 5 ราย ซึ่งคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญพิจารณาแลว วาไมใชอาการแพรนุ แรง 1 ราย สวนอีก 4 ราย กําลังรอพิจารณา แต ทั้งหมดอาการเปนปกติและกลับบานแลว อยางไรก็ตาม ขอมูล ที่ไดรับการรายงานทั้งหมด จะนําไปเปนขอมูลเพื่อใชประโยชน ในการศึกษา วิจัย และพัฒนาวัคซีนตอไป สําหรับผูรับวัคซีนโควิด-19 ครบถวนจะไดรับใบรับรอง การฉีดวัคซีน หากมีความจําเปนตองเดินทางระหวางประเทศ สามารถนําใบรับรองการฉีดวัคซีนไปสถานพยาบาลที่ฉีดวัคซีน เพื่อออกเอกสารรับรอง (สมุดเลมเหลือง) หรือวัคซีนพาสปอรต พรอมรายละเอียดครบถวน โดยสามารถออกเอกสารเปนภาษา ตางประเทศที่ประเทศปลายทางกําหนด เพื่อเปนมาตรฐาน สากลเทียบเคียงกับองคการอนามัยโลกได ดาน ผศ. (พิเศษ) นพ.สุภโชค กลาววา กระทรวง สาธารณสุขจัดทําระบบ Line Official Account “หมอ พรอม” เพื่อรองรับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ของประเทศ จึง ขอเชิญชวนใหเพิ่มหมอพรอมเปนเพื่อนในไลนมีประโยชนได ขอมูลสุขภาพ แจงเตือนการไปรับวัคซีนโควิดครบทั้ง 2 เข็ม 32

ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปองกันโรค หากฉีดไมครบจะทําใหวัคซีนที่ ฉีดไปสูญเปลา มีการติดตามอาการภายหลังการฉีดวัคซีนในวันที่ 1 , 7 และ 30 และจะสงขอความยืนยันการรับวัคซีนหลังรับวัคซีนครบ 2 เข็ม ทั้งนี้ วิธีการใชงานไลนหมอพรอม ใหเขาแอปพลิเคชันไลน คนหา และเพิ่ม “หมอพรอม” เปนเพื่อนกดยอมรับขอกําหนดและเงื่อนไขการ ใชบริการ ลงทะเบียนผูใชงานและยืนยันขอมูล ซึ่งมีเมนูเพิ่มบุคคลอื่นเพื่อ ลงทะเบียนแทนบุคคลในครอบครัวที่ไมมีสมารทโฟนได เมื่อลงทะเบียน สําเร็จแลวสามารถเลือกฟงกชัน “วัคซีนโควิด 19” เพื่อตรวจสอบราย ชื่อผูไดรับวัคซีน ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขไดนํารายชื่อกลุมเปาหมายแรก ในการรับวัคซีนเขาสูระบบหมอพรอมแลว หากมีรายชื่อในระบบจะแสดง หนาจอใหกดยืนยันการรับวัคซีน เนื่องจากเปนเรื่องของความสมัครใจ จากนั้นจะมีแบบประเมินคัดกรองกอนรับวัคซีน เขาสูการนัดหมาย โดย สามารถเลือกสถานพยาบาล วันและเวลาได “สําหรับผูที่ยังไมมีรายชื่อจะแสดงที่หนาจอวาไดรับวัคซีนในระยะ ถัดไป ไมตองกังวลวารายชื่อตนเองตกหลน ขณะนี้ทุกโรงพยาบาลได ทยอยนําเขารายชื่อกลุมเสี่ยงอื่น ๆ และประชาชน จากฐานขอมูลของ กระทรวงสาธารณสุข และทะเบียนราษฎรเขาสูระบบตอไป หากคิด ว า ตนเองเป น กลุ ม เสี่ ย งและยั ง ไม อ ยู ใ นกลุ ม ที่ จ ะได รั บ วั ค ซี น ให ติ ด ต อ สถานพยาบาลใกลบาน และยําวาการใชงานหมอพรอมไมไดเปนการลง ทะเบียนเพื่อจองรับวัคซีนแตอยางใด” ผศ.(พิเศษ) นพ.สุภโชคกลาว


News in Medicine

ร.พ. สรรพสิทธิประสงคติดตั้งเครื่องคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกรุนใหมแหงแรกในไทย โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค จังหวัดอุบลราชธานี ติดตัง้ เครือ่ งตรวจคัดกรอง เอชพีวี “อะลินติ ้ี เอ็ม (Alinity m)” เพือ่ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผูห ญิงแหงแรกในประเทศไทย ตัง้ เปารองรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกในกลุม เปาหมาย 5 จังหวัด ไดแก อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ และมุกดาหาร โดยเครื่องดังกลาวมีประสิทธิภาพรองรับ ไดถึง 1,080 ตัวอยางตอวัน และทราบผลใน 2 ชั่วโมง โดยปจจุบนั มะเร็งปากมดลูกเปนมะเร็งอันดับ 2 ทีต่ รวจพบ ในผูป ว ยหญิงในประเทศไทย ซึง่ แตละปจะพบผูป ว ยรายใหม ประมาณ 8,000 คน จํานวนนี้มีอัตราการเสียชีวิตถึง รอยละ 50 มีคาใชจายการดูแลรักษาสูงถึง 350 ลานบาท ตอป ลาสุดโรงพยาบาลไดเปดใหบริการคัดกรองโดยไม เสียคาใชจายในวันและเวลาราชการ สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมไดที่ โทร. 0 4531 9200 นอกเวลาราชการ โทร. 09 4283 0707 หรือ 0 4531 9200 ตอ 1706 หรือ เฟซบุก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี นพ.มนต ช ั ย วิ ว ั ฒ นาสิ ท ธิ พ งศ ผู  อ ํ า นวยการ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค กลาววา ปจจุบนั โรงพยาบาล สรรพสิทธิประสงคไดมีการขยายศักยภาพของหนวยบริการ เพื่อ เตรี ย มความพร อ มที่จ ะรองรั บ การตรวจไวรั ส เอชพี วี (HPV) ทีเ่ ปนตนเหตุของมะเร็งปากมดลูก ดวยการติดตัง้ เครือ่ ง “อะลินิตี้ เอ็ม (Alinity m)” มีประสิทธิภาพสูงในการรองรับ การตรวจมะเร็งปากมดลูก ถือเปนความสําเร็จอีกขั้นในการ ยกระดับการใหบริการสุขภาพใหแกเขตสุขภาพที่ 10 ซึ่ง ครอบคลุมพืน้ ที่ 5 จังหวัด ไดแก อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ และมุกดาหาร โดยเครื่องดังกลาว สามารถตรวจไวรัสในกระแสเลือดแบบอัตโนมัติ โดยวิธเี อชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA) หรือการตรวจดีเอ็นเอของเชื้อเอชพีวี ซึ่งวิธีนี้มีความไวในการตรวจหาสาเหตุของเซลลปากมดลูก ที่ผิดปกติ ทําใหสามารถตรวจพบผูปวยในระยะแรกเริ่มได โดย สอดคลองกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ที่มีนโยบายเปลี่ยนวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเปน วิธี HPV DNA แทน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการคัดกรองสูง อยางไรก็ตาม โรงพยาบาลตัง้ เปาหมายในการคัดกรองประชากร เพศหญิงในพื้นที่ภาคอีสานครอบคลุม 5 จังหวัดดังกลาว โดยมีกลุมเปาหมายรวม 174,768 คนตอป ดาน นพ.เจนฤทธิ์ วิตตะ รองผูอ าํ นวยการฝายการแพทย โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค กลาวเพิ่มเติมวา สําหรับ การติดตั้งเครื่อง “อะลินิตี้ เอ็ม (Alinity m)” ที่โรงพยาบาล

สรรพสิทธิประสงคนั้น จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก โดยสามารถรองรับตัวอยางไดมากถึง 1,080 ตัวอยาง ใน 24 ชั่วโมงแบบตอเนื่อง และทราบผลใน 2 ชั่วโมง ซึ่งเร็วกวาเดิม 3-4 เทา จากวิธีการตรวจแบบเดิม คือ การตรวจผานการทําแล็บ โมเลกุลาร หรือ พีซีอาร (PCR) ดวยการตรวจวิธีแปปสเมียร (Pap Smear) ที่ใชเวลานาน ถึง 6-7 ชั่วโมง โดยแพทยจะใชเครื่องมือสอดผานทางชองคลอด จากนั้น จะทําการปายเซลลจากมดลูกสงตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อตรวจหา เซลลที่ผิดปกติหรือเซลลที่มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งอาจทําใหเกิดมะเร็งได อยางไรก็ตาม สปสช. ไดบรรจุการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเปน สิทธิประโยชนกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (บัตรทอง) โดยรวมมือกับ กระทรวงสาธารณสุขและหนวยบริการทุกระดับ ผานการดําเนินโครงการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับชาติ สําหรับหญิงไทยอายุระหวาง 30 - 60 ป ซึ่งประชาชนในพื้นที่ 5 จังหวัดดังกลาว สามารถเขารับการตรวจคัด กรองมะเร็งปากมดลูกดวยวิธีการตรวจ HPV DNA โดยไมเสียคาใชจาย ในวันและเวลาราชการ หากในกรณีตรวจนอกเวลาราชการ รับบริการ ณ Sunprasit Drive Thru ถ.สุริยาตร ชําระคาบริการเพียง 100 บาท “การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เปนมาตรการทีส่ าํ คัญในการลด จํานวนมะเร็งปากมดลูกผูปวยหญิงไทย โดยมีเปาหมายการคนหาผูปวย ในระยะแรกเริ่ม นําไปสูการรักษาไดทันและผลสําเร็จสูงถึงรอยละ 80 โดยจากสถิติพบวามะเร็งปากมดลูกพบมากเปนอันดับ 2 ของมะเร็งใน ผูหญิงไทย ซึ่งแตละปจะมีผูหญิงไทยปวยเปนมะเร็งปากมดลูกรายใหม ประมาณ 8,000 คน โดยจํานวนนี้มีอัตราการเสียชีวิตถึงรอยละ 50 รวม ถึงคาใชจายในการดูแลรักษาผูปวยมะเร็งปากมดลูกสูงถึง 350 ลานบาท ตอป” นพ.เจนฤทธิ์ กลาวทิ้งทาย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. 0 4531 9200 นอกเวลา ราชการ โทร. 09 4283 0707 หรือ 0 4531 9200 ตอ 1706 หรือเฟซบุก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี ÁÕ.¤.-àÁ.Â. 2564

33


News in Medicine สธ. เพิ่มบทบาท 3 หมอ ดูแลคนไทยทุกครอบครัว กระทรวงสาธารณสุขเพิ่มบทบาท 3 หมอ ใหความรู และทําความเขาใจในเรื่องวัคซีนโควิด-19 สํารวจและ ติดตามกลุมเปาหมายในชุมชน โดยเฉพาะผูสูงอายุ 60 ป ขึ้นไป และผูมีโรคประจําตัว ใหเขาถึงการรับวัคซีนอยาง ทั่วถึง นพ.เกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใหสัมภาษณภายหลังประชุมคณะกรรมการการพัฒนาและ ขับเคลื่อนนโยบาย “คนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจําตัว 3 คน” ครั้งที่ 2/2564 วา นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบาย ใหประชาชนมีหมอ 3 คน เปนที่ปรึกษา ดูแลสุขภาพประจํา ครอบครัว สรางความรอบรูในการดูแลสงเสริมสุขภาพตนเอง และครอบครัว โดยหมอคนที่ 1 คือ อสม.หมอประจําบาน หมอคนที่ 2 หมอสาธารณสุข ในหนวยบริการปฐมภูมิ อาทิ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชินี รพ.สต. สถานพยาบาลใกลบานใกลใจ และหมอคนที่ 3 หมอครอบครัว คือ แพทยในโรงพยาบาล ขณะนี้มีครอบครัว ที่มีหมอ 3 คนแลว 9,288,783 ครอบครัว ดูแลผูปวยติดบาน ติดเตียง 555,129 คน และผูสูงอายุติดสังคม 8,516,783 คน

34

Á.¤.-¡.¾. 2564

รัฐบาลไดมนี โยบายใหทกุ คนในประเทศไดรบั การฉีดวัคซีนโควิด-19 ตามความสมัครใจ กระทรวงสาธารณสุขจึงไดเพิ่มบทบาท 3 หมอ บูรณาการการทํางานใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน ซึ่งเดิม มีฐานขอมูลกลุม เปาหมายอยูแ ลว โดยจะเนนกลุม ผูส งู อายุตดิ บาน ติดเตียง ที่ตองดูแลตอเนื่อง กลุมผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป ผูที่มีโรคประจําตัว คือ โรคทางเดินหายใจเรื้อรังรุนแรง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรังระยะ 5 โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งทุกชนิดที่อยู ระหวางการใหเคมีบาํ บัด รังสีบาํ บัด และภูมคิ มุ กันบําบัด โรคเบาหวาน และโรคอวน ซึ่งเปนกลุมที่ตองไดรับการฉีดวัคซีนโควิด-19 และ ประเทศไทยไดรบั วัคซีนในกลุม เปาหมายดังกลาวแลว สําหรับการดําเนินงาน จะมีหมอคนที่ 1 อสม.หมอประจําบาน ลงพื้นที่ใหความรู ทําความเขาใจในเรื่องวัคซีนโควิด-19 พรอม สํารวจและติดตามกลุมเปาหมายใหเขาถึงการรับวัคซีน สวนหมอ คนที่ 2 หมอสาธารณสุขชวยดําเนินการรวมกับ อสม.หมอประจํา บาน และประสานกับหมอคนที่ 3 หมอครอบครัวที่โรงพยาบาล ซึง่ เปนผูใ หบริการฉีดวัคซีน และติดตามอาการไมพงึ ประสงค ผานไลน “หมอพรอม” นอกจากนี้ ไดมอบใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพจัด ระบบฐานขอมูล 3 หมอ รายงานแบบเรียลไทม ใหไดขอมูลที่เปน ปจจุบัน ในระบบ http://3doctor.hss.moph




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.