Report 55 ลงเว็บ

Page 1



สถาบั น เกษตราธิ ก าร ได จั ด ทํ า รายงานประจํ า ป 2555 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เผยแพร ผลการดําเนินงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในชวงปงบประมาณ พ.ศ.2555 เนื้อหาประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวม สวนที่ 2 ผลการใชจายงบประมาณ ประจําป และสวนที่ 3 สรุปผลการดําเนินงาน ในสวนของผลการดําเนินงาน สถาบันเกษตราธิการดําเนินการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ในรูปแบบ การจัดฝกอบรม/สัมมนา การสงเสริมใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองผานการ จัดการความรูหรือสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ รวมทั้งดําเนินการดานการจัดสรรทุนเพื่อใหบุคลากรไดมีโอกาส ในการศึกษาตอทั้งภายในประเทศและตางประเทศ คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานตางๆ และผูที่สนใจตอไป

สถาบันเกษตราธิการ กรกฏาคม 2556


สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวมของสถาบันเกษตราธิการ

หนา 2

สวนที่ 2 ผลการใชจา ยงบประมาณ

6

สวนที่ 3 สรุปผลการดําเนินงาน

9

3.1 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล

10

3.2 หลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม

14

3.3 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา 1) การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2) การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

16 18 29 40

3.4 การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน

48

3.5 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง 1) การพัฒนาบุคลากรโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1) การพัฒนาบุคลากรผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) 1.2) การเผยแพรความรูในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน 2) การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) การใหบริการหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ

49 49

3.6 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศ 1) โครงการทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 2) ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศ ที่ไดรับจัดสรร จากกระทรวงการตางประเทศ 3) โครงการใหทุนการศึกษาภาษาจีน มณฑลฮกเกี้ยน ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว สาธารณรัฐประชาชนจีน 4) การฝกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหวางประเทศ (English for International Communication) ประจําป 2555

58 58

ภาคผนวก

51 56

61 63 64 67


สวนที่

1

ขอมูลภาพรวมของสถาบันเกษตราธิการ


สวนที่

1

ขอมูลภาพรวมของสถาบันเกษตราธิการ สถาบันเกษตราธิการเปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีหนา ที่ เกี่ยวกับการศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบ และยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการของกระทรวง เกษตรและสหกรณ เป น องค ก รในการบริ ก ารทางด า นวิ ช าการและเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ พั ฒ นา ขาราชการและทรัพยากรบุคคลของกระทรวง รวมทั้งปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย

1) วิ สั ย ทั ศ น พั น ธกิ จ ยุ ท ธศาสตร วิสัยทัศน เปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณแบบบูรณาการอยางมืออาชีพ เพื่อใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและทั่วถึง

พันธกิจ 1. กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. ส ง เสริ ม และประสานความร ว มมื อ ด า นการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลของกระทรวงเกษตร และสหกรณ 4. ติดตามและประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามแผนกลยุทธการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ


3

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ยุทธศาสตร 1. การสรางและบริหารการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแบบบูรณาการ 2. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3. การสงเสริมและประสานความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. การเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันเกษตราธิการ

2) ข อ มู ล พื้ น ฐานของหน ว ยงาน โครงสร า งสถาบั น เกษตราธิ ก าร

อั ต รากํ า ลั ง ของสถาบั น เกษตราธิ ก าร จํ า นวน 39 คน

ขาราชการ 27 คน พนักงานราชการ 7 คน ลูกจางประจํา 5 คน


4

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

เพื่ อ ให ก ารบริ ห ารและการติ ด ตามการใช จ า ยงบประมาณมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สอดคล อ งกั บ ระบบ งบประมาณแบบมุ ง เน น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ ผลสํ า เร็ จ ตามยุ ท ธศาสตร (Strategic Performance) และเพื่อใชประโยชนจากการรายงานที่เปนรูปธรรมชัดเจน จึงกําหนดตัวชี้วัด การดําเนินงาน ดังนี้

ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ จํานวนบุคลากรทีไ่ ดรับการพัฒนา เปาหมาย 1,271 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 1,245 ราย และ ทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย จํานวน 26 ราย ผลการดําเนินงาน 2,492 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 2,466 ราย และ ทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย จํานวน 26 ราย

กราฟแสดงจํานวนบุคลากรที่ไดรบั การพัฒนา ปงบประมาณ 2555

1,271

2,492

เปาหมาย

ผลการดําเนินงาน

ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ รอยละของระดับการนําความรูทไี่ ดรับจากการฝกอบรมไปใชประโยชนในการปฏิบัติงาน เปาหมาย รอยละ 80

ผลการดําเนินงาน รอยละ 81.2

สถาบันเกษตราธิการ ไดดําเนินการติดตามประเมินผลการฝกอบรม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 กําหนดระยะเวลาในการติดตามประเมินผลอยางนอย 3 เดือนหลังจากจัดฝกอบรมเสร็จสิ้น โดยสอบถามจาก ผูเขารับการฝกอบรมทั้งหมดของหลักสูตรที่กําหนด เกี่ยวกับระดับประโยชนในการนําความรูที่ไดรับจากการ ฝกอบรมไปปรับใชในการปฏิบัติงาน ดวยแบบสอบถามแบบ 5 ระดับ (มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และ นอยที่สุด) ใหคะแนน 5, 4, 3, 2 และ 1 ตามลําดับ ผลการประเมิน อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.06 หรือ รอยละ 81.2 มีรายละเอียด ดังนี้


สวนที่

2

ผลการใชจายงบประมาณ


2

สวนที่

ผลการใชจายงบประมาณ กรอบงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2555 สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สถาบันเกษตราธิการไดรับงบประมาณตามแผนงานสงเสริม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และสร า งมู ล ค า ภาคการเกษตร ผลผลิ ต อํ า นวยการและบริ ห ารจั ด การด า น การเกษตร กิจ กรรมการพั ฒ นาบุค ลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํา นวน 40,206,500 บาท และไดรบั โอนจากงบสํารองสวนกลางเพิม่ รวมเปน 40,798,710 บาท ใชจา ยไปทัง้ สิน้ 38,259,596.06 บาท คิ ด เป น ร อ ยละ 93.78 ในการใช จ า ยงบประมาณ ได แ ยกประเภทของรายจ า ยงบประมาณ ได แ ก งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบลงทุน และงบรายจายอื่นๆ รายละเอียดดังนี้ งบรายจาย

งบบุคลากร

งบดําเนินงาน

งบลงทุน

งบเงินอุดหนุน งบรายจายอื่นๆ

รวม

ไดรับ (บาท)

9,849,610.00 16,123,004.00

9,587,900.00

2,238,196.00

3,000,000.00

40,798,710.00

ผลเบิกจาย (บาท)

9,849,610.10 15,924,879.96

9,386,310.00

99,296.00

2,999,500.00

38,259,596.06

97.90

4.44

99.98

93.78

100

รอยละ

98.77

กราฟแสดงงบประมาณที่ ไ ด รั บ และผลการใช จ า ยงบประมาณ

100%

98.77%

97.90%

4.44%

99.98% : งบประมาณที่ไดรับ : ผลการใชจาย

งบบุคลากร

งบดําเนินงาน

งบอุดหนุน

งบลงทุน

งบรายจายอื่นๆ


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

7

สถาบั น เกษตราธิ ก าร ได ดํา เนิ น การติ ด ตามประเมิ น ผลการนํา ความรู ที่ ไ ด รั บ จากการฝ ก อบรม ไปปรั บ ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน โดยการใช แ บบสอบถามแบบมาตราส ว นประเมิ น ค า (Rating Scale) 5 ระดั บ คํา ถามแบบเลื อ กตอบ 2 ตั ว เลื อ ก และคํา ถามปลายเป ด เก็ บ ข อ มู ล จากผู ผ า นการฝ ก อบรม จํานวน 1,043 คน ไดรับกลับจํานวน 818 คน คิดเปนรอยละ 78.43 สรุปผลการประเมินไดดังนี้ 1. ผูตอบแบบสอบถามไดรับความรู ความเขาใจ จากการฝกอบรมหลักสูตรตางๆ ระดับมาก ดวย คาเฉลี่ย 3.95 หรือรอยละ 79.00 2. ระดับประโยชนในการนําความรูที่ไดรับไปปรับใชในการปฏิบัติงาน ระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.06 หรือรอยละ 81.20 3. การบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ข องหลั ก สู ต ร ผู ต อบแบบสอบถามส ว นใหญ ร อ ยละ 99.28 แสดง ความเห็นวาบรรลุวัตถุประสงค 4. ความเหมาะสมของเนื้อหาหลักสูตร ผลการประเมินพบวา ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 93.53 แสดงความเห็นวาเหมาะสมแลว 5. ผลการปฏิ บั ติ ง านหลั ง นํา ความรู ที่ ไ ด รั บ จากการฝ ก อบรมไปปรั บ ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน พบว า ผูตอบแบบสอบถามรอยละ 97.71 แสดงความเห็นวาปฏิบัติงานดีขึ้น 6. ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญรอยละ 95.44 พยายามนําความรูที่ไดมาพัฒนาองคกร เชน การ เป น แบบอย า งที่ ดี การเสนอความคิ ด เห็ น ร อ ยละ 94.47 นํา ความรู ไ ปให ค วามช ว ยเหลื อ แนะนํ า ผูรวมงาน และ รอยละ 88.92 นําความรูจากการฝกอบรมมาเผยแพรตอคนในองคกร 7. ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ องค ก ร/กระทรวง/เกษตรกร หลั ง นํ า ความรู ไ ปปรั บ ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน หน ว ยงานสามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตรงตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ ซึ่ ง จะส ง ผลดี ต อ เกษตรกร เป น ที่ ย อมรั บ ของเกษตรกร ทํา ให น โยบายประสบผลสํา เร็ จ ตาม วัตถุประสงค


สวนที่

3

สรุปผลการดําเนินงาน


สวนที่

3

สรุปผลการดําเนินงาน สถาบันเกษตราธิการ เปนหนวยงานที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ภายใตกรอบนโยบาย ยุทธศาสตรการพัฒนา แผนงาน โครงการ ที่จะตองสงเสริม สนับสนุน และผลักดันใหบุคลากรไดรับการพัฒนาขีดความสามารถ เปนผูปฏิบัติงานที่ทรงความรู ภายใต ระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม และการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดอยางมีประสิทธิภาพ กาวทัน การเปลี่ ย นแปลง สามารถพั ฒ นางานในหน า ที่ อ ย า งสม่ํ า เสมอและต อ เนื่ อ ง มี ขี ด ความสามารถและ มาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล ไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรของกระทรวง เกษตรและสหกรณ มีผลการดําเนินงานที่สําคัญสรุปไดดังนี้ 3.1 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล สป.กษ. 3.2 หลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม 3.3 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา 3.4 การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน 3.5 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง 1) การพัฒนาบุคลากรโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3) การใหบริการหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ 3.6 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศ 1) โครงการทุ นศึ ก ษาต อ ในประเทศ ระดับ ปริญ ญาโท ปริ ญ ญาเอก ณ สถาบัน เทคโนโลยี แหงเอเชีย 2) ทุ น ฝ ก อบรม สั ม มนา ดู ง าน ทั้ ง ในและต า งประเทศที่ ไ ด รั บ จั ด สรรจากกระทรวงการ ตางประเทศ 3) โครงการใหทุนการศึกษาภาษาจีน ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว สาธารณรัฐประชาชนจีน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

10

3.1 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) จากการที่สํานักงาน ก.พ. ไดจัดทํายุทธศาสตร การพั ฒ นาข า ราชการพลเรื อ น พ.ศ.2552-2556 ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาคุณภาพขาราชการในการ ปฏิบตั งิ านบนพืน้ ฐานสมรรถนะ กําหนดใหสว นราชการ จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการใหสอดคลอง กั บ ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาข า ราชการพลเรื อ น พ.ศ.2552-2556 และใหสว นราชการจัดทําแผนพัฒนา รายบุคคลใหเชื่อมโยงกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน แผนทางกาวหนาในอาชีพ และแผนการสืบทอดตําแหนง สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของ สป.กษ. พ.ศ.2552-2556 กลยุทธที่ 2 พัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรบุคคล สป.กษ. กําหนดใหมี โครงการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล เพื่อนําขอมูลความตองการพัฒนามาใชเปนแนวทางในการพัฒนา บุ ค ลากรให ส อดคล อ งกั บ ความจํ า เป น ของแต ล ะบุ ค คล กํ า หนดดํ า เนิ น การระหว า งป ง บประมาณ พ.ศ.2554-2556 สถาบันเกษตราธิการไดเริ่มดําเนินการโครงการ จั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล เมื่ อ ป ง บประมาณ พ.ศ.2554 โดยเริ่มจากการจัดฝกอบรมใหขาราชการ สป.กษ. จํานวน 172 คน เพื่อใหค วามรูค วามเขาใจ ในการทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล จากนั้ น ได แ จ ง ให ทุ ก หน ว ยงานในสั ง กั ด สป.กษ. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา ร า ย บุ ค ค ล ต า ม แ บ บ ฟ อ ร ม ที่ กํ า ห น ด จํ า น ว น 91 หนวยงาน ประกอบดวย สํานัก/กอง 15 หนวยงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 75 จังหวัด และสํานักงานรัฐมนตรี รวมขาราชการทุกระดับ จํานวน 1,167 คน (ไมรวมผูบริหารระดับสูง) เพื่อเปนแนวทางพัฒนาตนเองและใหผูบังคับบัญชาใชเปนแนวทาง พัฒ นาผู ใ ต บั งคั บบั ญ ชา แล วให ทุ กหนวยงานสรุ ปจํ า นวนคนและประเด็ นเนื้ อ หาวิช าที่ ต อ งการพั ฒ นา โดยการฝก อบรมสงสถาบั นเกษตราธิก าร เพื่อ ใชประกอบการจัด ทําแผนปฏิบัติก ารฝกอบรมประจํา ป งบประมาณ พ.ศ.2555


11

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

สํา หรับปงบประมาณ พ.ศ.2555 สถาบันเกษตราธิ ก ารได ดําเนินการโครงการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลตอเนื่องจากปกอน มี ก ารจั ด ฝ ก อบรมข า ราชการ สป.กษ. จํ า นวน 2 รุ น ๆ ละ 2 วั น ระหวางวันที่ 6-7 และ 11-12 มิถุนายน 2555 รวมผูเขารับการ ฝกอบรม 105 คน โดยขยายกลุมเปาหมายผูที่มีความรูความเขาใจ ในการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลใหมากขึ้น มีการปรับปรุงและ พัฒนาแบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล และในชวงเดือน สิงหาคม 2555 ไดทําบันทึกสงสํานัก/กอง ใหดําเนินการดังนี้ 1. รายงานผลการพั ฒ นาตามแผนพั ฒ นารายบุ ค คล ปงบประมาณ พ.ศ.2555 2. ใหหนวยงานจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลสําหรับใชพัฒนา บุคลากรในปงบประมาณ พ.ศ.2556 เพื่อนําขอมูลไปใชประกอบการจัดทําแผนการฝกอบรม ประจําป งบประมาณ พ.ศ.2556 ผลการดําเนินการ จากการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลของขาราชการในสังกัด สป.กษ. 92 หนวยงาน (ประกอบดวย สํานัก/กอง 15 หนวยงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 76 จังหวัด และสํานักงานรัฐมนตรี) ไดรับ ข อ มู ล ผลการจั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คลตอบกลั บ มาจํ า นวน 87 หน ว ยงาน คิ ด เป น ร อ ยละ 94.57 ขาราชการ 987 คน (จากขาราชการรวม 1,167 คน) คิดเปนรอยละ 84.58 ซึ่งประกอบดวย ขาราชการ จากสํานัก/กอง 15 หนวยงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด 71 จังหวัด และสํานักงานรัฐมนตรี 1. ผลการพัฒนาตามแผนพัฒนารายบุคคล ปงบประมาณ พ.ศ.2555 1.1 จํ านวนขาราชการที่ตองการพัฒนาสมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะ 649 คน ไดรับการพัฒนาครบทุกหัวขอตามแผนฯ 240 คน คิดเปนรอยละ 36.98 1.2 จํานวนขาราชการที่มีชองวาง (Gap) สมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะ 321 คน ไดรับการพัฒนาเพื่อปดชองวางไดครบทุกตัว 128 คน คิดเปนรอยละ 39.88 1.3 รายละเอียดผลการปดชองวาง (Gap) สมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะที่ใชในการ ปฏิบัติงาน สรุปไดดังนี้ ขาราชการสามารถปดชองวางความรูความสามารถที่ใชในการปฏิบัติงานไดมาก ที่สุด รอยละ 47.56 รองลงมาสามารถปดชองวางสมรรถนะทางการบริหารได คิดเปนรอยละ 42.86 สมรรถนะตามสายงาน ร อยละ 40.45 ความรูดา นกฎหมายและกฎระเบีย บราชการ รอ ยละ 40.28 สมรรถนะหลัก รอยละ 33.64 และทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน ปดชองวางไดนอยที่สุด รอยละ 29.88


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

12

2. ผลการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล ปงบประมาณ พ.ศ.2556 2.1 จํ า นวนข า ราชการที่ จั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล มี ช อ งว า ง (Gap) สมรรถนะ ความรู ความสามารถและทักษะ รอยละ 29.18 โดยมีชองวางทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานมากที่สุด รอยละ 43.19 รองลงมาเปนความรูเรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ รอยละ 19.42 และสมรรถนะหลัก รอยละ 15.61 2.2 จํานวนขาราชการที่ตอ งการพัฒนาสมรรถนะ ความรูค วามสามารถและทักษะ ทุกวิธกี ารพัฒนา รอยละ 80.75 โดยตองการพัฒนาดวยวิธีการฝกอบรมมากที่สุด รอยละ 85.82 ของจํานวนขาราชการที่ ตองการพัฒนา รองลงมาเปนการเรียนรูดวยตนเอง การฝกอบรมในขณะทํางาน และการดูงานนอกสถานที่ 2.3 จํานวนขาราชการที่ตองการพัฒนาสมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะ โดยวิธีการ ฝกอบรม พบวา ตองการพัฒนาทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานมากที่สุด รอยละ 27.45 รองลงมาเปน สมรรถนะหลัก รอยละ 26.35 และความรูเรื่องกฎหมายและกฎระเบียบ รอยละ 22.43 2.4 จํานวนขาราชการที่ตองการพัฒนาสมรรถนะ ความรูความสามารถและทักษะที่จําเปนสําหรับ การปฏิบัติงาน ดวยวิธีการฝกอบรม สรุปรายละเอียดไดดังนี้ สมรรถนะทางการบริ ห าร จํ า นวน 6 สมรรถนะ คื อ สภาวะผู นํ า วิ สั ย ทั ศ น การวางกลยุ ท ธ ภาครัฐ ศักยภาพเพื่อนําการปรับเปลี่ยน การควบคุมตนเอง การสอนงานและการมอบหมายงาน พบวา ตองการพัฒนาสมรรถนะสภาวะผูนํามากที่สุด รอยละ 92.86 รองลงมาสมรรถนะศักยภาพเพื่อนํา การ ปรับเปลี่ยน รอยละ 7.14 สมรรถนะหลั ก จํ า นวน 5 สมรรถนะ คื อ การมุ ง ผลสั ม ฤทธิ์ การบริ ก ารที่ ดี การสั่ ง สมความ เชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทํางานเปนทีม พบวา ตองการพัฒนาสมรรถนะการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพมากที่สุด รอยละ 32.03 รองลงมาเปน สมรรถนะการมุงผลสัมฤทธิ์ รอยละ 26.36 และสมรรถนะการทํางานเปนทีม รอยละ 18.66 สมรรถนะตามสายงาน จํานวน 12 สมรรถนะ คือ การคิดวิเคราะห การมองภาพองครวม การใส ใจและพั ฒ นาผู อื่ น การสื บ เสาะหาข อ มู ล ความเข า ใจผู อื่ น ความเข า ใจองค ก รและระบบราชการ การ ดําเนินการเชิงรุก การตรวจสอบความถูกตองตามกระบวนงาน ความยืดหยุนผอนปรน ศิลปะการสื่อสารจูงใจ สุนทรียภาพทางศิลปะ และความมั่นใจในตนเอง พบวา ตองการพัฒนาการคิดวิเคราะหมากที่สุด รอยละ 50.68 รองลงมาเปนความเขาใจผูอื่น รอยละ 34.25 และการดําเนินการเชิงรุก รอยละ 9.59 ความรู ค วามสามารถที่ ใ ช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน พบว า ต อ งการพั ฒ นาการวางแผนและบริ ห าร โครงการมากที่สุด รอยละ 10.81 รองลงมาเปนการประเมินผลโครงการและการติดตามผล รอยละ 10.27 และการจัดทําแผนยุทธศาสตร รอยละ 9.01


13

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ความรู ด า นกฎหมายและกฎระเบี ย บ พบว า ต อ งการพั ฒ นาความรู ด า นระเบี ย บสํ า นั ก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติมมากที่สุด รอยละ 18.37 รองลงมาเปน กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับการเงินการคลัง รอยละ 11.11 และกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับการ จัดซื้อจัดจาง รอยละ 8.30 ทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน พบวา ตองการพัฒนาทักษะการใชคอมพิวเตอรมากที่สุด รอยละ 52.91 รองลงมาทักษะการใชภาษาอังกฤษ รอยละ 47.09 โดยความตองการพัฒนาทักษะการใช คอมพิวเตอร ตองการพัฒนาโปรแกรม Microsoft Excel มากที่สุด รองลงมาโปรแกรม SPSS สวนทักษะ การใชภาษาอังกฤษ ตองการพัฒนาการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมากที่สุด รองลงมาเปนทักษะการใช ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน ปญหาในการดําเนินการ 1. บุคลากรสวนใหญยังไมเห็นความสําคัญของการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลและการพัฒนาตนเอง รวมทั้งไมสามารถดําเนินการตามแผนที่ กําหนดไดครบทุกหั วขอ ทําใหผลการติดตามการพัฒนาตาม แผนพัฒนารายบุคคล ปงบประมาณ พ.ศ.2555 มีผูที่สามารถพัฒนาไดครบตามแผนจํานวนนอย 2. บุค ลากรสว นใหญ ต อ งการพั ฒ นาโดยวิ ธีก ารฝ ก อบรม ซึ่ง สถาบัน เกษตราธิก ารไม ส ามารถ จัดหลักสูตรฝกอบรมไดครบทุกหลักสูตร เนื่องจากมีขอจํากัดเรื่องงบประมาณ สถาบันเกษตราธิการจึงเพิ่ม โอกาสใหบุคลากรไดพัฒนาตนเอง โดยการพัฒนาบุคลากรผานระบบอิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) และเผยแพรความรูใ นรูปแบบของสือ่ วีดที ศั นผานทางเว็บไซต www.kststation.com

รุนที่ 1

รุนที่ 2


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

14

3.2 หลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม สถาบันเกษตราธิการในฐานะหนวยงานที่มีหนาที่ในการจัดฝกอบรม ไดดําเนินการจัดทําหลักเกณฑ การประกันคุณภาพการฝกอบรม ของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อเปนการประกัน คุณภาพการฝกอบรม ยกระดับการฝกอบรมใหมีมาตรฐานสูง มีความคุมคาตอการลงทุน และสรางความ เชื่อมั่นแกผูเรียนวาการฝกอบรมนั้นมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) และเปนโครงการที่ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. 2552-2556 โดยไดเริ่มดําเนินการตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการทบทวนผลการดําเนินงานในแตละป และกําหนดหลักเกณฑการประกันคุณภาพการ ฝกอบรมเปนรายป โดยหลักเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม สป.กษ. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดรับ ความเห็นชอบจากปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ 2555 ประกอบดวย 6 ตัวบงชี้ ไดแก ตั ว บ ง ชี้ ที่ 1 หลั ก สู ต ร เกณฑ พิ จ ารณาประกอบด ว ย การกํ า หนดหลั ก สู ต รต อ งสอดคล อ งกั บ แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล/ความจําเปนในการพัฒนาหรือนโยบาย มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน กํ า หนดเนื้ อ หาหลั ก สู ต รสอดคล อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค มี ก ารประเมิ น และพั ฒ นาหลั ก สู ต รให ทั น ต อ การ เปลี่ยนแปลง ตัวบงชี้ที่ 2 คุณสมบัติของวิทยากร เกณฑพิจารณาประกอบดวย เปนผูมีความรู ความสามารถ ประสบการณหรือผลงานทางวิชาการที่ตรงกับหัวขอการสอน มีความสามารถในการถายทอดความรู ตั ว บ ง ชี้ ที่ 3 วิ ธี ก ารสอน เกณฑ พิ จ ารณาประกอบด ว ย กํ า หนดรู ป แบบ กิ จ กรรมการฝ ก อบรม เหมาะสมกับวัตถุประสงคและเนื้อหาวิชา หลักสูตรเนนฝกปฏิบัติ ใหมีการฝกปฏิบัติในสัดสวนไมนอยกวา 40 เมื่อเทียบกับการบรรยาย ตัวบงชี้ที่ 4 หองอบรม เกณฑพิจารณาประกอบดวย ขนาดหองเรียน การจัดหองเรียนเหมาะสมกับ หัวขอการสอน ตัวบงชี้ที่ 5 ความเหมาะสมของผูเขารับการฝกอบรม เกณฑพิจารณาประกอบดวย จํานวนผูเรียน และคุณสมบัติของผูเรียนสอดคลองกับหัวขอการเรียน และตรงกับกลุมเปาหมายที่โครงการกําหนด ตัวบงชี้ที่ 6 การวัดและประเมินผลการฝกอบรม เกณฑพิจารณาประกอบดวย ทุกหลักสูตรจะตอง มีการประเมินผลการฝกอบรมอยางนอย 2 ระดับ จาก 3 ระดับ ไดแก 1) การประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม โดยผลการประเมินตองไดคาเฉลี่ย 3.5 ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 5


15

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2) การประเมินการเรียนรู โดยใชแบบทดสอบกอนและหลังการฝกอบรม ทดสอบความแตกตางของ คาเฉลีย่ กอนและหลังการฝกอบรมดวยสถิติ t-test 3) การติดตามประเมินผลการนําความรูที่ไดรับจากการฝกอบรมไปประยุกตใชในการปฏิบัติงาน และมีการสรุปรายงานผลการประเมินการฝกอบรมเสนอผูบริหาร โดยกําหนดขอบเขตของการใชหลักเกณฑก ารประกันคุ ณ ภาพการฝก อบรม ใหใชกั บ หลักสู ต รที่ ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการฝกอบรมประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่มีระยะเวลาการจัดฝกอบรม ตั้งแต 2 วันขึ้นไป และเพื่อใหงายตอการปฏิบัติและสอดคลองกับขอกําหนดของเกณฑ จึงไดกําหนดแบบ ประเมินการฝกอบรมตามเกณฑ (แบบ Check list) แบบประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมที่มี ขอคําถามใชเปนหลักฐานอางอิงตามเกณฑฯ กําหนด และแบบติดตามประเมินผลการนําความรูที่ไดรับจาก การฝกอบรมไปปรับใชในการปฏิบัติงานขึ้น และประชาสัมพันธใหผูที่เกี่ยวของนําไปใช ผลการดําเนินงาน จากแผนปฏิบัติการฝกอบรมประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ของสถาบันเกษตราธิการ มีหลักสูตร ที่ ต อ งดํ า เนิ น การตามหลั ก เกณฑ ก ารประกั น คุ ณ ภาพการฝ ก อบรม จํ า นวน 23 หลั ก สู ต ร มี ห ลั ก สู ต ร ที่ดําเนินการไดตามหลักเกณฑฯ จํานวน 18 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 78.26


16

รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

3.3 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 สถาบั นเกษตราธิการได ดําเนิ น การพั ฒนาบุ คลากรของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ดวยการฝกอบรม/สัมมนา จํ านวนรวม 25 หลักสูตร 35 รุน ผูไดรับการฝกอบรม รวม 2,466 คน จากเปาหมาย 1,245 คน ประกอบดวย 1) การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 4 หลักสูตร 890 คน 2) การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 13 หลักสูตร 1,083 คน 3) การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 8 หลักสูตร 493 คน

หลักสูตร 1. การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

จํานวน จํานวน รุน วัน

จํานวน คน

9 221.5

890

1.1) นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง รุนที่ 57-58

2

80

193

1.2) นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง รุนที่ 53-57

5

128.5

554

1.3) นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับตน รุนที่ 13

1

12

88

1

1

55

16

112

1,083

2.1) ผูนําการเปลี่ยนแปลงยุคใหม

1

3

77

2.2) เทคนิคการเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ

1

3

30

2.3) พระราชบัญญัติ 4 ฉบับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติราชการและ แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)

1

4

49

2.4) การเพิ่มประสิทธิภาพงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจาง

1

3

91

2.5) เทคนิคการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

1

2

47

2.6) โครงการฝกอบรมทักษะภาษาอังกฤษ หลักสูตร การอานและเขียนเชิงวิชาการ อยางมีประสิทธิภาพ

1

14

20

2.7) โครงการฝกอบรมทักษะภาษาอังกฤษ "เพื่อรับทุนศึกษา ฝกอบรมและดูงาน ตางประเทศ"

1

14

20

2.8) โครงการพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณตามสมรรถนะ ทักษะ และความรูที่จําเปนในงานดานคอมพิวเตอร ป 2555 (5 หลักสูตร)

5

25

200

2.9) การเปนขาราชการที่ดีสําหรับขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ

4

44

549

1.4) การบริหารจัดการดานการเกษตร 2. การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ


17

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

จํานวน จํานวน จํานวน รุน วัน คน

หลักสูตร 3. การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

10

33

493

3.1) การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล

2

4

105

3.2) การคิดเชิงสังเคราะหสําหรับสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพและการเขาใจผูอื่น

1

3

50

3.3) การปรับปรุงการทํางานและการสรางทีมเพื่อมุงผลสัมฤทธิ์

1

3

52

3.4) การจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ

1

4

56

3.5) การพัฒนาระบบคิดและการทํางานเชิงรุก

1

3

59

3.6) เทคนิคการวิเคราะหขอมูลทางการเกษตรและการเขียนรายงาน

2

8

75

3.7) เทคนิคการเปนพี่เลี้ยงและสอนงานอยางมีประสิทธิภาพ

1

3

50

3.8) การเสริมสรางศักยภาพการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ สป.กษ.

1

5

46

35 366.5 2,466

รวม 25 หลักสูตร

สรุปผลการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา

บุคลากร สป.กษ. จํานวน 493 คน (19.99%)

นักบริหารของ กษ. จํานวน 890 คน (36.09%)

บุคลากร กษ. จํานวน 1,083 คน (43.92%)

รวม 25 หลักสูตร 35 รุน 366.5 วัน ผูเขารับการฝกอบรม/สัมมนาทั้งหมด 2,466 คน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

18

1) การพัฒนานักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามกระแสการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐที่ผานมา กระทรวงเกษตรและสหกรณไดปรับโครงสราง ภารกิจ กําหนดกรอบความรับผิดชอบและยุทธศาสตรพัฒนาภาคการเกษตร ทําใหบทบาทของขาราชการเปลี่ยนแปลง แตกตางไปจากเดิม ขาราชการโดยเฉพาะนักบริหารระดับสูงตองมีความรู ความเขาใจ มองการณไกล บริหารงาน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และบรรลุตามกรอบยุทธศาสตรที่กําหนดไว รวมทั้งสนองความตองการของ เกษตรกรเปนประการสําคัญ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดสงเสริมสนับสนุนและผลักดันใหมีการพัฒนาขาราชการ ภายใตยุทธศาสตร การพัฒนาขาราชการ โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และพัฒนาขีดความสามารถ (Capability) เพื่อให ขา ราชการเปน ผู ปฏิ บัติ ง านที่ท รงความรู (Knowledge Worker) สามารถปฏิ บัติ ง านภายใตก ารบริห ารกิ จการ บานเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ กาวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถ พัฒนางานในหนาที่อยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ โดยหลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรทุ ก ระดั บ (สู ง กลาง ต น ) จํ า เป น ต อ งเน น บทบาทของ นักบริหารในการเปนผูนําการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร สรางหรือนําการเปลี่ยนแปลงใหเกิดขึ้นในหนวยงาน ไดอยางจริงจัง เปนผูที่มีความรู ความสามารถและทักษะในดานการบริหารอยางถูกตอง เหมาะสมมีความสามารถ และความพรอมที่จะบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ ดวยวิสัยทัศนที่กวางไกล สามารถตอบสนองนโยบายรัฐบาล กระทรวง กรม และนํานโยบายมาจัดทําเปนโครงการตางๆ ซึ่งเปนภาระหนาที่และความรับผิดชอบที่ตองอาศัย ประสบการณและความรอบรูดานการบริหารงานที่กวางขวาง รวมทั้งเพื่อเปนการเปดมุมมองใหม และเปดโอกาส ใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มุมมองที่แตกตางระหวางกัน อันจะเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานของตนเอง และงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณในอนาคต ในการนําประเทศใหกาวสูการแขงขันระดับสากล ทั้งใน ปจจุบันและอนาคต สอดคลองกับสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มีขีดความสามารถและมาตรฐานการ ปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล


19

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

1.1) หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดั บ สู ง รุ น ที่ 57 - 58 วัตถุประสงค (1) เพื่อใหนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง มีวิสัยทัศน มีสมรรถนะและขีดความสามารถสูง สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง เปนกลไกของรัฐทีข่ บั เคลือ่ นและรองรับภารกิจหนาทีค่ วามรับผิดชอบทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในการบริหารราชการแผนดิน (2) เสริมสรางสภาวะผูน ําใหเกิดขึน้ สําหรับนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูงยุคใหม สามารถสรางหรือนําการเปลี่ยนแปลง และมีความพรอมดานบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนา องคการใหประสบความสําเร็จและเปนรูปธรรม (3) ปรับกระบวนทัศนทางความคิด เปดมุมมองของนักบริหารการ พัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง ใหกวางขวางมากยิง่ ขึน้ พัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันรองรับการ ปฏิบตั ริ าชการในเชิงรุกและรับ ทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล (4) เปนผูม คี ณ ุ ธรรมและจริยธรรม เปนตัวอยางทีด่ ี ของขาราชการโดยถือเปนแบบอยางทีด่ ี แกสาธารณชน (5) เขาใจและสามารถพัฒนากระบวนการเครือขาย (Network) และระบบพันธมิตร (Partner) เพือ่ เพิม่ พลังการทํางานใหมปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ใหแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ

กลุมเปาหมาย เปนขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่มีคุณสมบัติ (1) ดํารงตําแหนง ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ที่ปฏิบัติงานในตําแหนงผูอํานวยการสวน/โครงการ หรือชื่อตําแหนงอื่นซึ่งมีลักษณะ งานอยูในระดับ 8 เดิม หรือ (2) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ หรือ (3) ดํารงตําแหนงประเภท อํานวยการ หรือ (4) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ซึ่งสวนราชการพิจารณาเห็นวามี ความเหมาะสมที่ จะได รับ แต งตั้ ง ใหดํ า รงตํ าแหน ง ประเภทอํ านวยการ หรื อ (5) พนั กงานรัฐ วิส าหกิจที่ดํ า รง ตําแหนงระดับ 8/9 หรือเทียบเทา ทั้งนี้ ผูมีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกํ าหนดตองไมเคยไดรับการฝกอบรม หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

เนื้อหาวิชา หลักสูตรการฝกอบรมกําหนดใหมี 10 หมวดวิชา แบงเปน 4 ชวง จํานวน 40 วันทําการ ประกอบดวย ชวงที่ 1 การปฐมนิเทศ กิจกรรมกลุมสัมพันธ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (4 วัน) หมวดวิชาที่ 1 การปฐมนิเทศกิจกรรมกลุมสัมพันธ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ภาคบังคับตางจังหวัด) ชวงที่ 2 การเพิม่ ศักยภาพนักบริหารระดับสูงองคกรยุคใหม (32 วัน) หมวดวิชาที่ 2 การพัฒนาภาคการเกษตรไทยทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงระดับสากล หมวดวิชาที่ 3 การพัฒนาภาคการเกษตรภายใตบริบทหลักของประเทศไทย หมวดวิชาที่ 4 การพัฒนากระบวนการทางความคิดของนักบริหารระดับสูง หมวดวิชาที่ 5 การพัฒนาภาวะผูนําเพื่อการพัฒนาองคกร หมวดวิชาที่ 6 การบริหารจัดการทรัพยากรองคกรอยางมีประสิทธิภาพ หมวดวิชาที่ 7 การบริหารจัดการภาคการเกษตรแนวใหม หมวดวิชาที่ 8 การขับเคลื่อนนโยบายสูภาคปฏิบัติ (ภาคบังคับ)


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

ภาพบรรยากาศในพิธีเปด

ศึกษาดูงานตางประเทศ

ศึกษาดูงานในประเทศ

20


21

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

วิทยากรผูทรงคุณวุฒิ

ชวงที่ 3 การเสริมสรางประสบการณนักบริหารเชิงประจักษ (การศึกษาดูงาน) (4 วัน) หมวดวิชาที่ 10 การศึกษาเชิงประจักษ (การศึกษาดูงาน) รุนที่ 57 ครั้งที่ 1 จังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี ครั้งที่ 2 นครเซี่ยงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน รุนที่ 58 ครั้งที่ 1 จังหวัดเชียงราย ครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี ชวงที่ 4 หมวดวิชาที่ 9 การนําเสนอผลงาน การปจฉิมนิเทศ การสอบวัดความรูและประเมินความพึงพอใจตอโครงการ ฝกอบรม 1) นําเสนอรายงานการศึกษากลุมยอดเยี่ยม - การกําหนดประเด็นการศึกษา 6 ประเด็นที่สําคัญเรงดวนและถือเปนวาระแหงชาติ ดังนี้ (1) การจัดการความเสี่ยงและวิกฤตจากธรรมชาติ (4) ระบบกลุมและเครือขายเกษตรกร (2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (5) เสถียรภาพรายไดของเกษตรกรไทย (3) ความมั่นคงดานอาหาร (6) พลังงานสีเขียว 2) การปจฉิมนิเทศ การสอบวัดความรู การประเมินภาพรวมของผลการศึกษากลุม การมอบรางวัล และ รับฟงขอเสนอแนะจากนักบริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ

ผลการดําเนินงาน จํานวน 2 รุน ระยะเวลารุนละ 40 วัน ดําเนินการรุนที่ 1 ระหวางวันที่ 24 เม.ย.-21 มิ.ย.55 และ รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 17 ก.ค.-13 ก.ย.55 ณ โรงแรมในตางจังหวัด และโรงแรมรามาการเดน กรุงเทพฯ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 193 คน : มีการนําความรูที่ไดรับไปใชใหเกิดการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานสามารถประสานงานทํางานรว มกับผู อื่นได เกิดทั กษะความคิ ด กล าพูด กลาตั ดสินใจ ทัก ษะการ นําเสนอเชื่อมั่นในความรอบรูที่ไดรัยไปพัฒนางานและถายทอดตอผูใตบังคับบัญชา สามารถปรับเปลี่ยนกระบวน ทัศน ทัศนคติที่ริเริ่มสรางสรรค มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ ตั้งใจทํางาน การวางแผนงาน เปนผูนํา ที่มีความเปนผูนํามืออาชีพและเปนแบบอยางที่ดี เกิดทักษะในดานการบริหารอยางถูกตอง เหมาะสมสอดคลอง กับสภาวการณ ที่เปลี่ยนแปลงสามารถยกระดับคุณภาพงานและขับเคลื่อนการปฏิบัติงานขององคการใหเปนไป


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

22

จํานวนผูเข ารั บการฝกอบรม หลัก สูต ร นักบริ หารการพั ฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับ สูง ป 2555 ของแต ละหนวยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมชลประทาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ กรมประมง กรมปศุสัตว กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กรมการขาว กรมหมอนไหม สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง องคการสะพานปลา องคการตลาดเพื่อเกษตรกร องคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.)

จํ านวนรวม 193 คน


23

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ภาพบรรยากาศในพิธีเปด

1.2) หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดั บ กลาง รุ น ที่ 53 - 57 วัตถุประสงค เพื่อใหสามารถถายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสูระดับปฏิบัติในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบไดอยางถูกตอง ไดรับความรู ความเขาใจในการพัฒนาแนวคิดและวิสัยทัศนที่จะสามารถเปนผูนําบริหารการเปลี่ยนแปลง และ บริหารงานไดอยางมืออาชีพเพิ่มพูนทักษะในการสรางแรงจูงใจและพัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานและองคการได เข า ใจกระบวนการสร า งเครื อ ข า ย (Network) และระบบพั น ธมิ ต ร (Partner) เพื่ อ เพิ่ ม พลั ง การทํ า งานให มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและมีพฤติกรรมที่สะทอนคุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนแบบอยางที่ดีสําหรับผูปฏิบัติงานที่

กลุมเปาหมาย ขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีคุณสมบัติ (1) ดํารงตําแหนง ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส หรือ (2) ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ มาแลวไมนอยกวา 3 ป (เริ่มนับตั้งแตวันที่ 11 ธันวาคม 2551) หรือ (3) พนักงานรัฐวิสาหกิจที่ดํารงตําแหนงระดับ 7 หรือเทียบเทา ทั้ ง นี้ ผู มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ห ลั ก สู ต รกํ า หนดต อ งไม เ คยผ า นหลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารระดั บ กลางกระทรวงเกษตร และสหกรณมากอน และสามารถเขารับการฝกอบรมไดตลอดทั้งหลักสูตร


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

24

เนื้อหาวิชา หลักสูตรการฝกอบรมกําหนดเปน 5 ชวง จํานวน 26 วันทําการ ประกอบดวย ชวงที่ 1 การปฐมนิเทศ กิจกรรมกลุมสัมพันธและการทํางานเปนทีม (3 วัน) ชวงที่ 2 การเพิ่มสมรรถนะนักระดับกลาง (17 วัน) ประกอบดวย 1) บทนํา (Introduction) 2) การพัฒนาตนเอง (Leading/Change Self) 3) การพัฒนาความรูเฉพาะทาง (Functional Competency) 4) การพัฒนาทีมงาน (Leading/Change Team) 5) การพัฒนาองคกร (Leading/Change Organization) 6) การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน (Leading/Change Process) ชวงที่ 3 การเสริมสรางประสบการณนักบริหารเชิงประจักษ (การศึกษาดูงาน) (3 วัน) รุนที่ 53 - 55 จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รุนที่ 56 จังหวัดนนทบุรี นครปฐม และเพชรบุรี รุนที่ 57 จังหวัดสระบุรีและลพบุรี ชวงที่ 4 กิจกรรมการพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรมสําหรับนักบริหาร (3 วัน) ณ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา ชวงที่ 5 ชวงปจฉิมนิเทศ เพื่อทบทวนเนื้อหา ความรู การนําเสนอแผนกลยุทธ การสรุปภาพรวมของการฝกอบรม (1 วัน)

ผลการดําเนินงาน จํานวน 5 รุน ระยะเวลารุนละ 26 วัน ดําเนินการระหวางเดือนมกราคม – สิงหาคม 2555 ณ โรงแรมในเขตกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ผู ผ า นการฝ ก อบรมจํ า นวน 546 คน : มี ค วามพร อ มสํ า หรั บ ก า วสู ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง มี ภ าวะผู นํ า มีความรู ความสามารถ และทักษะในดานการบริหาร มีการทํางานในลักษณะเชิงรุกสามารถสรางกระบวนทัศน และบริหารการเปลี่ยนแปลงในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความเชี่ยวชาญในงานทั้งทางกวางและลึก พรอมสําหรับการกาวสูการเปนผูบริหารในระดับนโยบาย อีกทั้งยังเปนกลไกหลักที่สําคัญในการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร เพื่อพัฒนาระบบราชการไทยใหมีความทันสมัยกาวสูสากล มีขีดความสามารถในการกาวสูการแขงขัน ในระดั บ เวที โ ลก สร า งหรื อ นํ า การเปลี่ ย นแปลงให เ กิ ด ขึ้ น ในหน ว ยงานได อ ย า งจริ ง จั ง ยกระดั บ องค ก รให มี ขีดสมรรถนะดานการจัดการสูง มี ความเชี่ยวชาญทั้งศาสตรและศิล ปทางการบริห ารจัดการ พรอมสรางการ เปลี่ยนแปลงดวยนวัตกรรมใหมใหองคกรและบุคลากรในองคกร กระตุนใหเกิดการพัฒนาศักยภาพขององคกร เพื่อเปนกลไกพื้นฐานที่สําคัญตอการผลักดันระบบบริหารราชการใหมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได รวมทั้ง มีพฤติกรรมที่สะทอนคุณธรรมและจริยธรรม เปนแบบอยางที่ดีสําหรับผูอื่นที่เกี่ยวของ


25

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

จํานวนผูเขารับการฝกอบรม หลัก สูต ร นักบริ หารการพั ฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง ป 2555 ของแต ละหนวยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมชลประทาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ กรมประมง กรมปศุสัตว กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ กรมการขาว กรมหมอนไหม สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ องคการสะพานปลา องคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง องคการตลาดเพื่อเกษตรกร

จํานวนรวม 546 คน

ภาพกิจกรรมการศึกษาดูงาน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

26

1.3) หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดั บ ต น รุ น ที่ 13 วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของ ผูบังคับบัญชาระดับตนที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได มีทัศนคติที่ดีในการ ทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานในลักษณะทีมงานไดอยางเหมาะสม สามารถวิเคราะหพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ของตนเองและเพื่อนรวมงาน และนําไปปรับใชในการสรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ ได แลกเปลี่ ย นความรู ประสบการณ เ กี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านระหว า งกั น และเพิ่ ม พู น สั ม พั น ธภาพเพื่ อ การติ ด ต อ ประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต

กลุมเปาหมาย ขาราชการดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ไมนอยกวา 2 ป และประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ไมนอยกวา 3 ป

เนื้อหาวิชา ภาคกิจกรรม : กาวสูการเปนสมาชิกของทีมงานที่เต็มศักยภาพ (3 วัน) ณ โรงแรมเดอะเลกาซี ริเวอรแคว รีสอรท จังหวัดกาญจนบุรี ศึกษาดูงาน ณ ศูนยเรียนรู ไรคุณมน จังหวัดกาญจนบุรี (1 วัน) : เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมได รั บ ประสบการณ โ ดยการศึ ก ษาจากกรณี ตั ว อย า งผู ที่ ป ระสบ ความสํ า เร็ จ ในการพั ฒ นาด า นต า งๆ เช น การบริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตร อุ ต สาหกรรมเกาตร การอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติ โครงการพระราชดําริ องคกรที่ประสงความสําเร็จและเปนที่ยอมรับ ฯลฯ และสามารถนําไป ปรับใชในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสม


27

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ภาคบรรยายและฝกปฏิบัติ : ณ โรงแรม เค ยู โฮม เกษตรกลาง บางเขน กรุงเทพฯ (7 วัน) - บทบาทหนาที่ของผูบังคับบัญชายุคใหม - จริยธรรมในการทํางานและการบริหารคน - การคิดอยางเปนระบบและการคิดเชิงนวัตกรรม - การบริหารการเงินและพัสดุ - การเสริมสรางมนุษยสัมพันธในการทํางาน - เทคนิคการพูดและการนําเสนอ - ผูนํากับการขจัดความขัดแยงในการทํางาน - การประชาสัมพันธและการสรางภาพลักษณขององคกร - การเสริมสรางบุคลิกภาพสํารับนักบริหาร - แผนงานและการทํางานอยางเปนระบบ - การปรับปรุงงานและการสอนงาน - การแกปญหาและการตัดสินใจอยางเปนระบบและมีกลยุทธ - สรุปเชื่อมโยงการเรียนรูสูการเปลี่ยนแปลง/พัฒนางานและทีมงาน

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 12 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 5-20 มิ.ย.55 ผูผานการฝกอบรมจํานวน 88 คน : มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของ ผูบังคับบัญชาระดับตนที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได และมีภาวะผูนําในยุค แหงการเปลี่ยนแปลง มีความรู ความสามารถ และทักษะในดานการบริหารจัดการในระดับหัวหนางาน นําไปปรับ ใชในการสรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ

ภาพกิจกรรมและการศึกษาดูงาน

มอบประกาศนียบัตรในพิธีปด


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

28

1.4) หลั ก สู ต ร การบริหารจัดการดานการเกษตร ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อ วันที่ 20 มิถุนายน 2554 เห็นชอบใหทุกสวนราชการจัดทําแผนดําเนินงาน และถือเปนนโยบายทุกสวนราชการจะตองมีแผนเตรียมความพรอมขาราชการเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน และไดเห็นถึงความจําเปนที่จะตองพัฒนาขาราชการพลเรือนสามัญใหมีความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ดังนั้นนักบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งเปรียบเสมือนเปน Change Agent ขององคกร เปนผูรับ นโยบายมาแปลงเปนแผนสูการปฏิบัติและผลักดันใหเกิดผลในทางปฏิบัติใหบรรลุเปาประสงคขององคกร ดวยเหตุนี้ นักบริหาร จึงจําเปนจะตองพรอมรับและตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในทุกสถานการณ อันจะสงผลให องคการเกิดการขับเคลื่อนอยูตลอดเวลา กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงเตรียมความพรอมนักบริหาร เพื่อรองรับ การขับเคลื่อนภาคการเกษตรเขาสูประชาคมอาเซียนตอไป

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจในเรื่องการบริหารจัดการดานการเกษตรตาม กรอบนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เกิดทักษะทางแนวคิด หลักการของ การเปนนักบริหารจัดการดานการเกษตร เพื่อพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน สามารถนําองคความรูไปประยุกตใช ในการจัดทํานโยบาย/แผนงานเพื่อเตรียมความพรอมองคกรเขาสูประชาคมอาเซียนตอไป

กลุมเปาหมาย ขาราชการระดับชํานาญการพิเศษ, ผูอํานวยการระดับตน/สูงขึ้นไป เนื้อหาวิชา ภาคการเกษตรไทยในบริบทนานาชาติ ดานการเตรียมความพรอมของไทยจากการเปดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับการพัฒนาธุรกิจการเกษตร 2. การบริหารจัดการภาคการเกษตรแนวใหม เกี่ยวกับการขับเคลื่อนภาคการเกษตรเขาสูประชาคมอาเซียน

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 1 วัน ดําเนินการวันที่ 18 ก.ย. 55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 55 คน


29

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2) การพัฒนาบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2.1) หลั ก สู ต ร ผู นํ า การเปลี่ ย นแปลงยุ ค ใหม ในยุ ค ป จ จุ บั น เป น ยุ ค ที่ ก ล า วกั น ว า เป น ยุ ค แห ง การเปลี่ ย นแปลง ทุ ก ๆองค ก รต อ งเผชิ ญ กั บ สภาวะการ เปลี่ยนแปลง ทั้งในดานสภาพแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม คานิยม ขอมูลขาวสาร เทคโนโลยีและ อื่นๆ ดังนั้นภาวะผูนําของผูบริหารหรือผูบังคับบัญชาและภาวะผูนําของบุคลากรทุกๆคน จึงมีความสําคัญอยางยิ่ง ในการพัฒนาผูนําในภาคราชการเพื่อใหเปนกลไกหลักสําคัญที่จะนําการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร ชาติเพื่อใหเกิดผลในทางปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาระบบราชการไทยใหมีความทันสมัยกาวสูสากล มีขีดความสามารถ ในการกาวสูการแขงขันในระดับเวทีโลก โดยการปรับโครงสรางภาคราชการ แนวทางการทํางาน และวัฒนธรรมของ การทํางานแบบเกาซึ่งมีขอจํากัดปรับเปลี่ยนไดยาก ไปสูการทํางานของขาราชการยุคใหม ที่ตองมีความยืดหยุน คลองตัวกวา มีการพิจารณาสิ่งตาง ๆ ดวยความลึกซึ้งในหลากหลายมิติ มีการทํางานในลักษณะเชิงรุก โดยการ พัฒนาผูนําภาคราชการใหมีความพรอมภาวะผูนํา เขาใจบทบาทตนเอง สามารถสรางกระบวนทัศน และการบริหาร การเปลี่ยนแปลงในหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมสรางการเปลี่ยนแปลงดวยนวัตกรรมใหมใหแกองคกร และบุคลากรในองคกรได

วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจ ในเรื่องการ เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงยุคใหม เกิด ทักษะทางแนวคิด หลักการของการเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงยุคใหม รวมทั้งแนวทางการพัฒนาตนเองและองคกร ตอไป และสามารถนําความรูไปใชในการพัฒนาองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

กลุมเปาหมาย ขาราชการประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป เนื้อหาวิชา 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับผูนําและการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2. การพัฒนาภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง 5. การกระตุนทางปญญา 3. การมีอิทธิพลอยางมีอุดมการณ 6. การคํานึงถึงปจเจกบุคคล 4.การสรางแรงบันดาลใจ

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 25-27 เม.ย.55 ณ โรงแรม เค ยู โฮม กรุงเทพฯ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 77 คน : มีความรู ความเขาใจในเรื่องภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง และสามารถนํา ความรูที่ไดไปปรับใชในการพัฒนาตัวเองและพัฒนาองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

30

2.2) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การเจรจาต อ รองการค า สิ น ค า เกษตรระหว า งประเทศ ประเทศไทยเปนประเทศสมาชิกขององคกรความรวมมือระหวางประเทศในหลากหลายองคการ เชน องคการ การคาโลก (WTO) เอเปค (APEC) อาเซียน (ASEAN) อาฟตา (AFTA) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และ องคกรอื่นๆ ซึ่งมีความรวมมือทางวิชาการในหลายๆ ดาน ตลอดจนการรักษาเสถียรภาพความมั่นคงของสิทธิ ประโยชนดานการเกษตรของชาติ ประชาชนและเกษตรกร การประสานความรวมมือดังกลาวจะประสบผลดีไดนั้น ยอมขึ้นอยูกับกระบวนการเจรจาตอรอง ซึ่งทางกระทรวงเกษตรและสหกรณจะตองเขาไปมีสวนรวมในการเจรจา ความรวมมือทางดานการคาสินคาเกษตรในเวทีองคกรการคาโลก ดานวิชาการ และประสานงานการเจรจาตอรอง เพื่อนํามาซึ่งความรวมมือ ในการคาสินคาเกษตรกับประเทศเพื่อนบาน การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีดานการเกษตร รวมทั้งการใหความรวมมือสนับสนุนกับหนวยงานอื่นๆ เชน กระทรวงพาณิชย กระทรวงการตางประเทศ เปนตน ในการเจรจาตอรองทางดานการคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ รวมถึง การเจรจาเปดตลาดสินคาเกษตรกับ ประเทศคูคาเดิม และคูคาใหม ยุทธศาสตรการเกษตรตางประเทศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ป พ.ศ. 2555 - 2559 ไดกําหนด ยุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพกระบวนการเจรจา การนําเสนอ และแกปญหาภาคเกษตรกับตางประเทศ ประกอบดวย การเตรียมพรอมสําหรับการเจรจาเกี่ยวกับมาตรการกีดกันการคาที่ไมใชภาษี การพัฒนากลไกตอบสนองเพื่อ แกปญหาอยางรวดเร็วกรณีที่ผลิตผลทางการเกษตรและอาหารไทยมีปญหาดานคุณภาพในตลาดปลายทาง และการ สงเสริมการประชาสัมพันธดานคุณภาพและมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารของไทยใหเปนที่รูจักในตางประเทศ

วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของบุคลากรผูปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการเจรจาตอรองและการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศใหมีความรู ความเขาใจ และทักษะในดานการเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรและ ประสานความรวมมือทางวิชาการเกษตรระหวางประเทศใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

กลุมเปาหมาย ขาราชการระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการของ กษ. ที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการประชุมและ การคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ

เนื้อหาวิชา 1. ประเทศไทยกับการเจรจาการคาพหุภาคีของ GATT และWTO 2. การเจรจาการคาสินคาเกษตรระดับภูมิภาค (AFTA, AEC) 3. การเจรจาดานการคาสินคา และการเจรจาสินคาเกษตรภายใตเขตการคาเสรี 4. การเจรจาดานมาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช 5. เทคนิคการเจรจาตอรองการคาระหวางประเทศอยางไรใหประสบความสําเร็จ

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 20 - 22 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 30 คน : มีความรูความเขาใจ ทักษะในการเจรจาตอรองมากขึ้น และนําความรูไปปรับใชใน การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน


31

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2.3) หลั ก สู ต ร พระราชบัญญัติ 4 ฉบับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติราชการและแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556) การปฏิ บั ติ ร าชการต อ งอาศั ย กฎหมายหรื อ ระเบี ย บบั ง คั บ โดยเฉพาะ และพระราชบั ญ ญั ติ 4 ฉบั บ ที่ มี ความสําคัญและจําเปนที่ขาราชการตองเรียนรูและนําไปปฏิบัติใหถูกตอง อนึ่ง มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2552 เห็นชอบและประกาศใชแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556) การนําไปปฏิบัติดวยการ แปลงแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติไปสูแผนบริหารราชการแผนดิน ในการนี้ กระทรวงยุติธรรม ประสานความรวมมือ ดานองคความรูมายังกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยใหสอดแทรกในหลักสูตรพัฒนาบุคลากรในสังกัด

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูและสามารถปฏิบัติราชการไดถูกตองตามแนวทางแหง พระราชบัญญัติทั้ง 4 ฉบับ และแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)

กลุมเปาหมาย ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระดับหัวหนากลุม/ฝาย และผูเกี่ยวของ เนื้อหาวิชา 1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 2. พระราชบัญญัติความผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 3. พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 4. พระราชบัญญัติวาดวยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ พ.ศ.2542 5. แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556)

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 4 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 15 - 18 พ.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 49 คน : สามารถปฏิบัติราชการตามแนวทางแหงพระราชบัญญัติทั้ง 4 ฉบับและ ความรูเกี่ยวกับแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2556) อยางถูกตอง เปนประโยชนตอการนําไป ปฏิบัติราชการและสามารถชีแ้ จงผูรวมงานได


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

32

2.4) หลั ก สู ต ร การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานพั ส ดุ แ ละการจั ด ซื้ อ จั ด จ า ง งานพัสดุและการจัดซือ้ จัดจางเปนภารกิจสําคัญประการหนึง่ ทีจ่ ะสงเสริมและสนับสนุนในการบริหารงานภาครัฐ เป น ไปอยา งมีป ระสิ ท ธิภ าพและบรรลุต ามวั ต ถุป ระสงคแ ละแนวนโยบายที่กํ า หนด การที่ ห นว ยงานภาครัฐ จะ สามารถบริหารจัดการและดําเนินการดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น เจาหนาที่หรือ บุคลากรที่เกี่ยวของจะตองมีทักษะ มีความรู ความเขาใจและสามารถนํากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวของกับงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจาง ไปใชในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองและ มีประสิทธิภาพ รวมทั้งจะตองศึกษาและติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการพัฒนาและการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ระบบ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธี

วัตถุประสงค

(1) เพือ่ ใหผเู ขารับการอบรมไดมคี วามรู ความเขาใจในระบบ กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางที่ถูกตองและสามารถนําไป ปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเสริมสรางทักษะใหผูเขารับการอบรม ใหดําเนินการดาน งานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางของหนวยงานใหเปนไปตามระบบ กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส กอใหเกิด ความคุมคา ความรัดกุม ชอบธรรมในหลักการใชอํานาจ และการใชจายเงินงบประมาณอยางประหยัด ใหเกิด ประโยชนสูงสุด

กลุมเปาหมาย ผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับงานพัสดุสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เนื้อหาวิชา 1. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 2. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2549 3. กระบวนการ ปญหา และแนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจางดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส 4. ระบบการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ ดวยอิเล็กทรอนิกส e - Government Procurement (e-GP)

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 1 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 9 – 11 ก.ค.55 ณ โรงแรม เค ยู โฮม กรุงเทพฯ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 91 คน : มีความรู ความเขาใจในระบบ กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ หลักเกณฑ รวมทั้งแนวทางและวิธีปฏิบัติดานงานพัสดุและการจัดซื้อจัดจางที่ถูกตองและสามารถนําไปปรับ ใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ


33

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2.5) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ปจจุบันการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ไดมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการใหมุงเปนการบริหารทรัพยากร บุคคลเชิงกลยุทธ เนนการใชสมรรถนะและการบริหารผลการปฏิบัติงาน โดยสํานักงาน ก.พ. ซึ่งเปนหนวยงานกลาง ดานการบริหารทรัพยากรบุคคลไดสงเสริมสนับสนุน และผลักดันใหสวนราชการเห็นในความสําคัญของการพัฒนา ขาราชการตามกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือนที่มุงเนนพัฒนาขาราชการ โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และพั ฒ นาขี ด ความสามารถ (Capability) เพื่ อ ให ข า ราชการเป น ผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ ท รงความรู (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงานภายใตการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐ แนวใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ กาวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนางานในหนาที่อยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ เพื่อใหภาคราชการมีขีดความสามารถและมาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล

วัตถุประสงค

เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมได เ พิ่ ม พู น ความรู ความเข า ใจในการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล แนวใหม สามารถประยุกตใชความรูการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแนวใหมในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลระดับกรม ไดอยางมีประสิทธิภาพ และเสริมสรางความรวมมือและประสานงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวง เกษตรและสหกรณ

กลุมเปาหมาย นักทรัพยากรบุคคล (ดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล) ของ กษ. และผูที่เกี่ยวของ เนื้อหาวิชา 1. สภาพแวดลอมและแรงผลักดันในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในปจจุบัน 2. แนวคิดและขอบเขตการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ 3. ทิศทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในอนาคต การปรับตัวและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคต 4. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลดวย HRD 3.0 5. กระบวนการการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 2 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 28-29 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 47 คน : มีความเขาใจและสามารถนําความรูจากการพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวใหม ไปประยุกตใชในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลระดับกรมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงเปนการเสริมสราง ความรวมมือและประสานงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

34

2.6) โครงการฝ ก อบรมทั ก ษะภาษาอั ง กฤษ หลั ก สู ต ร การอ า นและเขี ย นเชิ ง วิ ช าการอย า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การเสริม สรา งทัก ษะภาษาอั ง กฤษหลักสู ตร การอ านและเขีย นเชิงวิ ชาการอย างมี ประสิท ธิภ าพ ถือ เป น แนวทางหนึ่ ง ที่ จ ะช ว ยให กระทรวงเกษตรและสหกรณ มี บุ ค ลากรที่ มี ขี ด ความสามารถการใช ภ าษาอั ง กฤษ เพื่อการปฏิบัติงาน ศึกษาหาความรู ทักษะ และประสบการณใหมๆ ที่มีความกาวหนาทันตอการเปลี่ยนแปลง สามารถติ ด ตามสถานการณ ข องโลก วิ เ คราะห แ ละแยกแยะป ญ หา ตลอดจนสามารถประสานความร ว มมื อ ดานวิชาการตางๆ เพื่อเตรียมความพรอมใหกับกระทรวงฯ ในการรองรับและแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นได

วัตถุประสงค

เพื่ อ ใหผู เ ข า รับ การฝ ก อบรมได เรี ย นรู และฝ กฝนวิ ธี การอ านข อ ความภาษาอั ง กฤษไดเ ข า ใจ สามารถจั บ ใจความสํ า คั ญ ของเรื่ อ งที่ อ า นได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และได เ รี ย นรู เ กี่ ย วกั บ โครงสร า งประโยค ภาษาอังกฤษ การเขียนประโยคภาษาอังกฤษในรูปแบบตางๆ และการเขียนในลักษณะเชิงซอน รวมทั้งไดฝกฝน ทักษะการเขียนเชิงวิชาการ สามารถคิดรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการเขียนอยางมีระบบ

กลุมเปาหมาย

ผูที่ไดรับทุนกระทรวงเกษตรและสหกรณ ณ สถาบัน AIT ประจําป 2555 และบุคลากรของ กษ. ผูที่ปฏิบัติงานดานตางประเทศ

เนื้อหาวิชา 1. การอาน (Reading) เปนการสอนหลักการอาน สํานวนภาษา มี่มักพบในบทอาน วิเคราะหคําศัพท เทคนิคการเดาความหมาย การอางอิง การจับใจความสําคัญของเรื่อง และการตีความ 2. การเขียน (Writing) เนนสอนโครงสรางประโยค การเขียนประโยคแสดงใจความสําคัญ ประโยค สนับสนุนและประโยคสรุปความ โครงสรางการเขียนรูปแบบตางๆ ตลอดจนการวางโครงเรื่องในการเขียน ความเรียงเพื่อนําเสนอความคิดและภาษาอังกฤษไดอยางถูกตองตามหลักไวยากรณ รวมทั้งพัฒนาทักษะการ เขียนเปนรูปแบบตางๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 14 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 23 เม.ย. –11 พ.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 20 คน


35

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2.7) โครงการฝ ก อบรมทั ก ษะภาษาอั ง กฤษ "เพื่ อ รั บ ทุ น ศึ ก ษา ฝ ก อบรมและดู ง าน ต า งประเทศ" จากการสํารวจขอมูลขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณพบวา จะมีขาราชการที่มีคุณวุฒิระดับปริญญา โท - ปริญญาเอก เกษียณอายุราชการอยางตอเนื่อง ซึ่งอาจจะสงผลในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตทําใหกระทรวง เกษตรและสหกรณ ข าดบุ ค ลากรที่ มี ทั ก ษะภาษาอั ง กฤษระดั บ ดี ม ารองรั บ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ ตางประเทศ จึงจําเปนตองเตรียมบุคลากรเพื่อทดแทนสายงานหลัก และสายงานสนับสนุน ดังนั้นจะเห็นไดวาการ พั ฒ นาทั ก ษะการใช ภ าษาอั ง กฤษให กั บ บุ ค ลากรที่ จ ะเข า สอบแข ง ขั น เพื่ อ รั บ ทุ น ศึ ก ษา ฝ ก อบรม และดู ง านของ กระทรวงการตางประเทศ ไดมีโอกาสในการรับทุนมากขึ้นจึงมีความจําเปน และการพัฒนาบุคลากรดวยวิธีดังกลาว ถือเปนทางเลือกหนึ่งสําหรับการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการเกษียณอายุราชการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

วัตถุประสงค

เพือ่ พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดา นทักษะภาษาอังกฤษทัง้ 4 ทักษะ ไดแกการฟง พูด อาน และเขียน ใหพรอมทีจ่ ะสอบแขงขันเพือ่ รับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงานทัง้ ในประเทศและ ตางประเทศ ของสํานักงานความรวมมือเพือ่ การพัฒนาระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ และเพิม่ ประสิทธิภาพ การปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของกับการใชทกั ษะภาษาอังกฤษ

กลุมเปาหมาย

ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ (ผูผานการทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ)หรือเปนผูที่ สวนราชการคัดเลือก

เนื้อหาวิชา เนนการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฏี เพื่อวางพื้นฐานความรูใหแนนและแมนยํา กอนการเรียนรูและฝกฝน เทคนิค และทักษะในการทําโจทยเพื่อใหสามารถทําขอสอบไดอยางถูกตองภายในเวลาที่กําหนด โดยเนื้อหาในการ เรียนจะประกอบดวย Grammar, Structure, Reading, Listening

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 14 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 19 มี.ค. - 5 เม.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 20 คน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

36

2.8) โครงการพั ฒ นาบุ ค ลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ ต ามสมรรถนะ ทั ก ษะและความรู ที่ จํ า เป น ในงานด า นคอมพิ ว เตอร ป 2 555 การพัฒนาบุคลากร ใหมีความรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมีความคลองแคลว ในการใชเทคโนโลยีจึงเปนความจําเปน เปนยุทธศาสตรสําคัญในการเพิ่มคุณภาพ และสมรรถภาพที่จะสามารถสราง คุณคาหรือมูลคาเพิม่ ใหแกคน กลุม คน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ทุกวันนีใ้ นทุกภาคสวนของภาครัฐไดดําเนินการ ปฏิรูประบบราชการ ปฏิรูปการทํางาน สงเสริมการเรียนรูคอมพิวเตอรเพื่อการทํางานอยางมีคุณภาพมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริม กระตุนขาราชการ บุคลากร ในวงราชการทั่วประเทศใหสืบสานภารกิจฟนฟูและพัฒนาประเทศได โดยหวังใหบุคลากรมีความรู ความสามารถในการทํางาน และลดชองวางทางดิจิตอล ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ ไดเล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนของการ ปฎิรูปการทํางาน เพื่อฝกฝนขาราชการ บุคลากรในสังกัด ใหมีทักษะในการใชเทคโนโลยีโดยเฉพาะคอมพิวเตอร และเครือขายทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการแกไขปญหา คุณภาพงาน และพัฒนาการเรียนรูอยางมีระบบไดอยางคลองแคลวเปนปกติวิสัย เพราะเทคโนโลยีดังกลาวเปน เครื่องมือสําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ชวยใหกิจกรรมตาง ๆ บรรลุความสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว อยางสมบูรณ

วัตถุประสงค

(1) เพื่อใหผูรับการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจ หลักการเหตุผล เนื้อหาวิชา การใชงาน คอมพิ ว เตอร เ ครื่ อ งมื อ และโปรแกรมที่ จํ า เป น เพื่ อ ประยุ ก ต ใ ช ต ามบทบาท ภารกิ จ และการปฏิ บั ติ ง านของ สวนราชการ (2) เพื่อสงเสริม สนับสนุนใหขาราชการไดพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม และ สามารถนําความรูปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อใหผูรับการฝกอบรม ไดแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และประสบการณระหวางกัน (4) เพื่อสรางบุคลากรพี่เลี้ยงในการขยายขอบเขตการฝกอบรมและ พัฒนาใหแตละหนวยงาน (5) เพื่อลดปญหาการใชงาน การบํารุงรักษา คาซอมบํารุง และประหยัดงบประมาณ

หลักสูตรและกลุมเปาหมาย หลักสูตร 1. การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห ขอมูลทางสถิติ 2. การประยุกตใชโปรแกรม MS Excel 2007 ในการจัดการขอมูลขั้นสูง 3.การใชโปรแกรมสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) กับการเกษตรและสหกรณ 4.การประยุกตใชโปรแกรม Adode Indesign ในการพัฒนาสื่อสิ่งพิมพและเผยแพร 5. การประยุกตใชโปรแกรม Ms Office 2007

กลุมเปาหมาย ผูปฏิบัติงานดานวิเคราะหประมวลผลขอมูลทางสถิติ ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของในสังกัด กษ. ผูปฏิบัติงานดานศูนยขอมูล จ.การเงินและบัญชี จ.วิเคราะหผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ผูปฏิบัติงานดานการบริหารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศ ในสังกัด กษ. ผูปฏิบัติงานดานเผยแพรประชาสัมพันธ ธุรการ ผูรับผิดชอบ km ผูปฏิบัติงานเกี่ยวของในสังกัด กษ. ผูปฏิบัติงานที่ตองใชคอมพิวเตอรสําหรับการปฏิบัติงานใน สังกัด กษ.


37

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ผลการดําเนินงาน ดําเนินการระหวางเดือนกุมภาพันธ – มีนาคม 2555 จํานวน 5 วันทําการทุกหลักสูตร ณ ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชั้น 3 สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 203 คน : มีความรู ความเขาใจ หลักการเหตุผล เนื้อหาวิชา ไดพัฒนาทักษะการ ใชงานคอมพิวเตอร เครื่องมือ โปรแกรมที่จําเปน และเทคโนโลยีสารสนเทศใหมๆ สามารถประยุกตใชตามบทบาท ภารกิจ และการปฏิบัติงานของสวนราชการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดเครือขายการเรียนรู ไดแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และประสบการณระหวางกัน สงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยูอยางคุมคา ตลอดจนสรางบุคลากรพี่เลี้ยงในการขยายขอบเขตการฝกอบรมและพัฒนาใหแตละหนวยงาน และลดปญหาการ ใชงาน การบํารุงรักษา คาซอมบํารุง และประหยัดงบประมาณ


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

38

2.9) การเป น ข า ราชการที่ ดี สํ า หรั บ ข า ราชการที่ อ ยู ร ะหว า งทดลองปฏิ บั ติ ห น า ที่ ร าชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 59 บัญญัติวา ผูไดรับบรรจุแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตามมาตรา 53 วรรค ห นึ่ ง ห รื อ ม า ต ร า 5 5 แ ล ะ ข า ร า ช ก า ร ห รื อ พ นั ก ง า น สวนทองถิ่น ซึ่งโอนมาบรรจุเปนขาราชการพลเรือนสามัญ ตามมาตรา 64 ในระหวางที่ยังทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ใหทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ และใหไดรับการพัฒนาเพื่อใหรูระเบียบแบบแผนของทางราชการและการ เปนขาราชการที่ดีดวยกระบวนการปฐมนิเทศ การเรียนรูดวยตนเองและ การอบรมสัมมนารวมกันซึ่งกําหนดใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือ สวนราชการที่กระทรวงมอบหมายใหดําเนินการแทนกระทรวงดําเนินการ พัฒนาและประเมินผลการพัฒนาขาราชการพลเรือนที่อยูระหวางทดลอง ปฏิบัติหนาที่ราชการ

วัตถุประสงค

เพื่อปลูกฝงปรัชญาการเปนขาราชการที่ดีเสริมสรางสมรรถนะและทักษะที่จําเปนสําหรับการ ปฏิบัติงานราชการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมการทํางานเปนทีม พัฒนาเครือขายในการทํางานและ เพื่อเปน การสรางสายสัมพันธที่ดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยเนนการเรียนรูจากประสบการณและการลงมือ ปฏิบัติจริง

กลุมเปาหมาย

ข า ราชการที่ อ ยู ร ะหว า งทดลองปฏิ บั ติ ห น า ที่ ร าชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค

เนื้อหาวิชา กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2

: การสรางวินัย การสรางทีม และความสามัคคี/จรรยาขาราชการ (3 วัน) : การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และจิตสํานึกราชการ (3 วัน) เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สามารถนําไปประยุกตใช ในการปฏิบัติงาน และปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม คานิยม ในการดําเนินงาน และมีความตระหนักและ มีทัศนคติที่ดี ปฏิบัติตนเปนขาราชการยุคใหมที่มีคุณธรรม จริยธรรม มุงมั่นปฏิบัติหนาที่ดวยความสุจริต ยุติธรรม มีจิตสํานึกราชการใสสะอาด และเรียนรูตามรอยพระยุคลบาท : การพัฒนาสังคมและประเทศชาติ (3 วัน) เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีทัศนคติที่ดีตอการทํางานเพื่อประชาชน และการใหบริการประชาชน ไดรั บความรู ความเขา ใจสภาพเศรษฐกิจและสัง คมชนบทของประเทศไทย และสามารถเชื่ อมโยงแนวคิดเรื่อ ง เศรษฐกิจพอพียง ไปสูการปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ชนบท หรือการดําเนินชีวิตไดอยางดี กิจกรรมที่ 3 : ปรัชญาของการเปนขาราชการ ประโยชนของแผนดิน และบทบาทหนาทีข่ องการเปนขาราชการ และจริยธรรม จรรยาขาราชการ ภาคบรรยายและฝกปฏิบัติ (5 วัน)


39

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ผลการดําเนินงาน จํานวน 4 รุน ระยะเวลารุนละ 11 วัน ดําเนินการระหวางเดือน มกราคม – สิงหาคม 2555 รุนที่ 5 ระหวางวันที่ 17 - 27 ม.ค.55 รุนที่ 6 ระหวางวันที่ 31 ม.ค. - 10 ก.พ. 55 รุนที่ 7 ระหวางวันที่ 8 - 18 พ.ค.55 รุนที่ 8 ระหวางวันที่ 14 - 24 ส.ค.55 กิจกรรมที่ 1 ณ โรงแรมบรุคไซค วัลเลย รีสอรท อ.เมือง จ.ระยอง กิจกรรมที่ 2 รุนที่ 5 - 6 ณ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา รุนที่ 7 - 8 ณ ศูนยกสิกรรมธรรมชาติสองสลึง อ.แกลง จ.ระยอง กิจกรรมที่ 3 ณ โรงแรมเอเชียแอรพอรต ถ.พหลโยธิน อ. ลําลูกกา จ.ปทุมธานี ผูผานการฝกอบรมจํานวน 549 คน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

40

3) การพัฒนาบุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3.1) หลั ก สู ต ร การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล สํานักงาน ก.พ. ไดจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552-2556 ใหสวนราชการ ใช เป น แนวทางในการพัฒ นาข า ราชการ โดยยุท ธศาสตรที่ 1 การพั ฒ นาคุณ ภาพขา ราชการในการปฏิบั ติง าน บนพื้นฐานของสมรรถนะ มีเปาหมายใหขาราชการในสวนราชการไดรับการพัฒนาใหมีคุณภาพในการปฏิบัติงาน ตามสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจํากลุมงานตามความจําเปนและคุมคา ตามที่สํานักงาน ก.พ. กําหนดและ สวนราชการตองมีการบริหารผลการปฏิบัติงาน โดยผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชารวมกันกําหนดเปาหมาย ระดับความสําเร็จของงานและตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลที่สอดคลองกับ ปญหาและผลการประเมิน

วัตถุประสงค

เพื่ อ ให ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม มี ค วามรู ค วามเข า ใจแนวทางการประเมิ น สมรรถนะ ความรู ความสามารถ ทักษะและการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล สามารถประเมินสมรรถนะ ความรู ความสามารถ ทักษะ และการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใชแผนพัฒนารายบุคคลเปนกรอบแนวทาง ในการพัฒนาผูใตบังคับบัญชาหรือพัฒนาตนเอง

กลุมเปาหมาย

ผูอํานวยการสํานัก/กอง เกษตรและสหกรณจังหวัด หัวหนากลุม/ฝายและผูปฏิบัติ

เนื้อหาวิชา 1. หลักการและแนวคิดในการพัฒนาบุคลากรแนวใหม 2. กรอบแนวคิดและความสําคัญของแผนพัฒนารายบุคคล 3. แนวทางการประเมินสมรรถนะ ความรูความสามารถ ทักษะ และกระบวนการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล 4. เครื่องมือและบทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาบุคลากร 5. ฝกปฏิบัติการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล

ผลการดําเนินงาน จํานวน 2 รุน ระยะเวลารุนละ 2 วัน ดําเนินการ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 6-7 มิ.ย.55 รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 11-12 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 105 คน : สามารถนําความรูไ ปประเมินสมรรถนะ ความรูค วามสามารถ ทักษะ และจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลไดอยางถูกตอง สามารถใชแผนพัฒนารายบุคคลเปนกรอบแนวทางในการพัฒนา ผูใตบังคับบัญชาหรือพัฒนาตนเอง


41

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

3.2) หลั ก สู ต ร การคิ ด เชิ ง สั ง เคราะห สํ า หรั บ สั่ ง สมความเชี่ ย วชาญในงานอาชี พ และ การเข า ใจผู อื่ น ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 72 ไดบัญญัติใหสวนราชการมีหนาที่ ดําเนินการใหมีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหขาราชการฯ มี คุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญ และกําลังใจ ในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของ รัฐ และหลักการของสํ านักงาน ก.พ. เรื่องมาตรฐานและแนวทางการกํ าหนดความรูความสามารถ ทักษะ และ สมรรถนะที่จํ าเปนสํ าหรับตํ าแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ กํ าหนดคํ าจํ ากัดความของสมรรถนะหลัก วาเปน คุณลักษณะรวมกันของขาราชการพลเรือนทัง้ ระบบ เพือ่ เปนการหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงครว มกัน โดยมีองคประกอบ 5 ตัว คือ การมุงผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความ ถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทํางานเปนทีม ดังนั้น เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาขาราชการตามสมรรถนะหลักซึ่งเปนคุณลักษณะรวมกันของ ข า ราชการพลเรื อ นทั้ ง ระบบและนํ า แนวทางการคิ ด เชิ ง สั ง เคราะห มาใช ใ นการพั ฒ นาสมรรถนะหลั ก ที่ 3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการพัฒนามีกรอบความคิดเรื่องการคิดเชิงสังเคราะห สามารถนําแนวคิดไป ประยุกตใชในการทํางานเขาใจแนวคิด หลักการ เขาใจผูอื่น และอุปสรรคสําคัญตางๆ รวมทั้งแนวทางการพัฒนา ผูอื่นพัฒนาคุณภาพการบริการและเพื่อเปนการพัฒนาสมรรถนะหลักของสํานักงาน ก.พ. ดานการสั่งสมความ เชี่ยวชาญในงานอาชีพและการบริการที่ดี

กลุมเปาหมาย บุคลากรในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทุกระดับ เนื้อหาวิชา 1. ความหมาย ความสําคัญของการคิดวิเคราะห 2. เครื่องมือในการคิดเชิงสังเคราะห 3. กรอบแนวคิดของกระบวนการคิดเชิงสังเคราะห 4. การนําการคิดเชิงสังเคราะหมาใชในการทํางาน 5. บทบาทการคิดเชิงพัฒนา

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 22-24 ก.พ.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 50 คน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

42

3.3) หลั ก สู ต ร การปรั บ ปรุ ง การทํ า งานและการสร า งที ม เพื่ อ มุ ง ผลสั ม ฤทธิ์ มาตรา 72 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ไดบัญญัติใหสวนราชการมีหนาที่ ดําเนินการใหมีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหขาราชการฯ มี คุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญ และกําลังใจ ในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของ รัฐ ทั้งนี้ สํานักงาน ก.พ. ยังไดกําหนดคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของตําแหนงเพื่อหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่ พึงประสงครวมกันใหเปนวัฒนธรรมองคกร จํานวน 5 สมรรถนะ ไดแก การมุงผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสม ความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทํางานเปนทีม สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสถาบันเกษตราธิการไดตระหนักถึงความสําคัญและความ จําเปนในการนําระบบสมรรถนะมาประยุกตใชใหสอดคลองกับองคกร ซึ่งปจจุบันองคกรตาง ๆ ตองประกอบไปดวย บุคลากรที่มีความหลากหลายอันมีความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณ ที่แตกตางกันไปตามลักษณะของงาน ส ว นสํ า คั ญ ต อ ผลสํ า เร็ จ ในการบริ ห ารงานเป น ป จจั ย สํ า คั ญที่ ส ง ผลให ก ารบริ ห ารงานบรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลยิ่งขึ้น คือการประสานงานของทีมงาน หรือ การทํางานเปนทีม เปนเงื่อนไขแหง ความสําเร็จของการทํางานที่ไดรับมอบหมายที่ตองการใหงานนั้นบรรลุเปาหมายได แตการบรรลุถึงเปาหมายดวย ความราบรื่นของทีมงานไมไดขึ้นอยูกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ หากองคประกอบของการทํางาน คือการ ทํางานเปนทีมที่ตองมีการกําหนดเปาหมาย หนาที่ บทบาทของสมาชิก และผูนําที่รอบรูที่จะนําไปสูทิศทางที่ถูกตอง และตรงตามจุดมุงหมายเดียวกัน สิ่งที่สําคัญของการมีสวนรวมของสมาชิกในทีม เชน ความไววางใจ การสื่อสาร ฯลฯ สิ่งตางๆเหลานี้ลวนประกอบใหเกิดการทํางานเปนทีม

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการพัฒนาเขาถึงกระบวนการในการปรับปรุงระบบการทํางาน และการสราง ทีมงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยนําหลักการทํางานแบบมุงผลสัมฤทธิ์ไปปรับปรุงการทํางาน มีการพัฒนาทักษะการ ทํางานเปนทีม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ สรางเครือขายขาราชการยุคใหมในการทํางาน อยางบูรณาการและสามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนกับหนวยงาน และเปนการพัฒนาสมรรถนะหลักของ สํานักงาน ก.พ. ดานการมุงผลสัมฤทธิ์และการทํางานเปนทีม

กลุมเปาหมาย ขาราชการสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทุกระดับ

เนื้อหาวิชา 1. การปรับปรุงการทํางานดวยการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 2. ความสําคัญของการตั้งเปาหมาย ตัวชี้วัด 3. กระบวนการบริหารจัดการเพื่อผลสัมฤทธิ์ 4. ความสําเร็จของการทํางาน และการประสานงาน รวมถึงการทํางานเปนทีม 5. การลดความขัดแยงในทีมงาน

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 14 - 16 มี.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 50 คน : มีความรูความเขาใจและทักษะในการปรับปรุงการทํางานมากขึ้น รวมทั้ง มีการสราเครือขายในการทํางาน เกิดการทํางานเปนทีม และสามารถนําความรูไปใชในการพัฒนาและเพิ่ม ประสิทธิภาพงาน


43

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

3.4) หลั ก สู ต ร การจั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร พั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ตามอํานาจหนาที่ของสํานักงานกระทรวงเกษตรและสหกรณจังหวัดในการเปนผูแทนกระทรวงเษตรและ สหกรณในเขตพื้นที่จังหวัด ตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงฯ ตองรับผิดชอบการบูรณาการบริหารจัดการแผนงาน โครงการ งบประมาณ และทรัพยากรของสวนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่อยูในเขตพื้นที่จังหวัด มีภารกิจในการกํากับ ดูแล ควบคุมและประสานงานปฏิบัติราชการของสวนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ และภาคเอกชนที่เกี่ยวของใหเกิดผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาดานการเกษตรเพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตร พัฒนาการเกษตรและสหกรณของจังหวัดที่กําหนดไวโดยไมใหเกิดความซ้ําซอนในการดําเนินการ ซึ่งสํานักงาน เกษตรและสหกรณจังหวัดจะตองดําเนินการจัดทํายุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณของจังหวัด แผนปฏิบัติ การและแผนบูรณาการใหสอดคลองกับทิศทางการพัฒนากลุมจังหวัด/จังหวัด และเชื่อมโยงกับนโยบายกระทรวง เกษตรฯ และยุทธศาสตรชาติ ดังนั้นเกษตรและสหกรณจังหวัดจําเปนจะตองมีความรู ความเขาใจในเทคนิค วิธีการ วางแผนยุทธศาสตร สามารถใหคําแนะนําในการจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ มีทักษะ ในการกําหนดตัวชี้วัดผลการดําเนินงานขององคการ สามารถกําหนดแผนงาน/โครงการ เขาใจถึงกระบวนการ ปรั บ ปรุ ง การทํ า งาน การสร า งที ม งาน และสามารถนํ า ความรู ไ ปปรั บ ใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน กั บ หน ว ยงานอย า ง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม มีความรู ความเขาใจ ถึงเทคนิคและวิธีการวางแผลยุทธศาสตร และสามารถรวมในการจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณได มีทักษะความสามารถในการกําหนด ตั ว ชี้ วั ด ผลการดํ า เนิ น งานขององค ก ร และการกํ า หนดแผนงาน/โครงการ และมี ค วามรู ใ นการประเมิ น ผล แผนยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตรและสหกรณ

กลุมเปาหมาย

ผูรับผิดชอบงานดานการวางแผนยุทธศาสตรของหนวยงาน

เนื้อหาวิชา 1. คุณสมบัติและองคประกอบแผน 2. ขอมูล/องคความรูในการวางแผน 3. การวิเคราะห สถานการณองคกร 4. กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงคและยุทธศาสตรขององคการ 5. วิธีการกําหนดหรือเลือกเปาหมายขององคกร 6. วิธีการจัดทําแผนกลยุทธการเกษตรและสหกรณ 7. แบงกลุมระดมสมองจัดทําแผนยุทธศาสตร 8. การติดตามประเมินผลแผนกลยุทธ

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 4 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 31 พ.ค. – 3 มิ.ย.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 56 คน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

44

3.5) หลั ก สู ต ร การพั ฒ นาระบบคิ ด และการทํ า งานเชิ ง รุ ก ศักยภาพของบุคคลนั้นมีองคประกอบที่สําคัญสองประการ คือ การคิด (thinking) และการแสดงออกในทาง ปฏิบัติ (execution) ซึ่งทั้งสองประการดังกลาวมี สมอง เปนกลไกที่สําคัญที่สุด และวิธีคิดที่เปนปจจัยสําคัญตอการ ทํางานเชิงรุก จะตองเปนการคิดที่มีเปาหมายสูอนาคต โดยกรอบของการคิดจะเนนการทํางานอยางรวดเร็ว คุมคา และมีคุณภาพจะตองอาศัยขอมูลขาวสาร ประสบการณผนวกกับวิสัยทัศนที่กวางไกล จะชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ที่ทันยุคทันสมัยและพัฒนากาวหนาไปสูสิ่งที่ดีกวาภายใตการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่ไมหยุดยั้ง สถานการณ ในปจจุบันนี้พบวา ทรัพยากรมนุษยมีความสําคัญยิ่งตอการสรางและพัฒนาผลงานตามเปาประสงคที่องคกรวางไว ซึ่งหากองคกรมีบุคลากรที่มากความสามารถ สามารถปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสรางจุดยืนที่แข็งแกรง ในการทํางาน พัฒนาการทํางานดวยการคิดเชิงรุกไปขางหนา มองเห็นโอกาสภายใตวิกฤต ปองกันปญหาในอนาคต ไดกอนที่จะเกิดขึ้น เขาใจในวิธีการคิดก็จะชวยใหเกิดการปรับปรุงแกไขปญหาในการทํางาน และเกิดการคิดตัดสินใจ ในการเผชิญสถานการณตางๆ ไดบังเกิดผลดียิ่งขึ้น การพัฒนาระบบคิดและการทํางานเชิงรุก เพื่อเปนการพัฒนาบุคลากรที่มีสมรรถนะประจําสายงาน ดานการ คิ ด วิ เ คราะห (Analytical Thinking) การทํ า งานเชิ ง รุ ก (Proactiveness) และการมองภาพองค ร วม (Conceptual Thinking) ดวยเทคนิคพัฒนาระบบคิดใหบุคลากรเกิดความคิดอยางเปนระบบ และมีแนวคิดในการทํางานเชิงรุก พรอมทั้งจัดการเชิงรุกกับปญหาตลอดจนการคิดริเริ่มสรางสรรคมาประยุกตใชในการปฎิบัติงาน ใหเกิดประสิทธิผล และประสิทธิภาพสูงสุดแกองคการ

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดรับความรู ความเขาใจในหลักการ ความคิดอยางเปนระบบ การคิด ในเชิงวิเคราะหและการทํางานเชิงรุกพัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะหและสงเสริมใหเกิดการพัฒนาความคิดอยาง เปนระบบและสามารถประยุกตเทคนิคการคิดเชิงระบบ การคิดในเชิงวิเคราะห และสามารถนําไปปรับใชในการ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

กลุมเปาหมาย

บุคลากรของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่มีสมรรถนะประจําสายงานดานการ คิดวิเคราะห การดําเนินงานเชิงรุก และการมองภาพองครวม

เนื้อหาวิชา 1. การพัฒนาระบบคิดและความคิดเชิงวิเคราะห 2. การพัฒนาประสิทธิภาพความจํา 3. การเสริมสรางวิสัยทัศนและพลังแหงจินตนาการ 4. การเสริมสรางความคิดใหเกิดการทํางานเชิงรุก

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 25 – 27 มิ.ย. 2555 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 59 คน : ไดรับความรู เขาใจ และเกิดทัศนคติที่ถูกตองตอหลักการคิดและการ ทํางานเชิงรุก สามารถพัฒนาระบบการคิด เกิดทักษะเชิงรุกในการทํางาน และนําแนวคิดและการทํางานเชิงรุกไป ประยุกตใชในการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ


45

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

3.6) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การวิ เ คราะห ข อ มู ล ทางการเกษตรและการเขี ย นรายงาน สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด มีบทบาทหนาที่ที่สําคัญประการหนึ่ง คือ เปนศูนยขอมูลการเกษตรและ สหกรณระดับจังหวัด ซึ่งกลุมสารสนเทศการเกษตร รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน เพื่อประสานขอมูลดานการเกษตร และสหกรณระดับจังหวัดกับหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ และในทุกๆ ปจะมีการปรับปรุงพัฒนาขอมูลใหถูกตองเปน ปจจุบันเพื่อนําเสนอขอมูลในรูปของตารางขอมูล กราฟ คาสถิติ แผนที่ และการสนับสนุนขอมูลเพื่อการจัดทํา ยุทธศาสตรการเกษตร การจัดทําแผนงานโครงการพัฒนาการเกษตร ของภาครัฐ ภาคเอกชน งานการศึกษาวิจัยของ สถาบันการศึกษา รวมถึงการใหบริการขอมูลและเผยแพรขอมูลสารสนเทศแกผูสนใจทั่วไป

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรู ทักษะในการวางแผนจัดเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูลทาง การเกษตรที่สอดคลองกับภารกิจของสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด สามารถเขียนรายงานผลการวิเคราะห ขอมูลใหนาสนใจและเขาใจงาย

กลุมเปาหมาย

ผูปฏิบัติงานในกลุมสารสนเทศการเกษตรของสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด

เนื้อหาวิชา 1. กระบวนการจัดการขอมูลทางการเกษตร 2. การวางแผนจัดเก็บขอมูลทางการเกษตร 3. การวิเคราะหขอมูลทางการเกษตร 4. การสรุปเขียนรายงานผลการวิเคราะหขอมูล ทางการเกษตร

ผลการดําเนินงาน จํานวน 2 รุน ระยะเวลารุนละ 4 วัน ดําเนินการ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 17-20 ก.ค.55 รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 23-26 ก.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 75 คน : สามารถวิเคราะหขอมูลทางการเกษตรใหสอดคลองกับภารกิจของ หนวยงาน และสามารถเขียนรายงานผลเสนอผูบังคับบัญชาไดอยางถูกตองและนาสนใจ


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

46

3.7) หลั ก สู ต ร เทคนิ ค การเป น พี่ เ ลี้ ย งและสอนงานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มาตรา 76 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 กําหนดใหผูบังคับบัญชามีหนาที่ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผูอยูใตบังคับบัญชาเพื่อประกอบการพิจารณาแตงตั้ง และเลื่อนเงินเดือน จาก บทบาทหน า ที่ ข องผู ป ระเมิ น ที่ ถู ก กํ า หนดไว ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บข า ราชการพลเรื อ น พ.ศ. 2551 ทํ า ให ผู บั ง คั บ บั ญ ชาเป น ผู มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการผลั ก ดั น ผลการปฏิ บั ติ ร าชการของส ว นราชการ โดยพิ จ ารณาจาก ผลสัมฤทธิ์ของงาน พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) ของผูใตบังคับบัญชา ซึ่งการจะทําใหผูใตบังคับบัญชา มีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี มีผลสัมฤทธิ์ของงานและทํางานอยางมีประสิทธิภาพไดนั้น ผูบังคับบัญชาระดับตน หรือหัวหนางานจะตองมีความรู ความสามารถ และทักษะเกี่ยวกับการเปนพี่เลี้ยงและการสอนงาน รวมทั้งสามารถ แสดงบทบาทของผูใหคําปรึกษา แนะนําในการปรับปรุงแกไขงาน ใหขอคิดเห็นเพื่อพัฒนางานแกผูใตบังคับบัญชาได เพราะวิธีการเหลานี้จะมุงพัฒนาผูใตบังคับบัญชาใหมีความรู ทักษะ และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดขึ้น

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการอบรมในระดับหัวหนางาน ไดเรียนรูระบบ ขั้นตอน และกลยุทธการสอนงาน ใหกับผูใตบังคับบัญชาไดเพิ่มพูนความรูความชํานาญตามที่องคกรตองการ และใหโอกาสไดแสดงความสามารถตาม ศักยภาพที่แตละคนมีอยู เพื่อทํางานในหนาที่ของตนใหเกิดผลสําเร็จอยางมีคุณภาพ

กลุมเปาหมาย

ขาราชการตัง้ แตระดับหัวหนาสวน/ฝาย/งาน ทีเ่ ปนผูบ งั คับบัญชาระดับตน หรือมีผใู ตบงั คับบัญชา หรือ ผูที่ไดรับมอบหมายใหเปนพี่เลี้ยงในสังกัดสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด สป.กษ.

เนื้อหาวิชา 1. บทบาทหัวหนากับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองคกร 2. ความสําคัญของการสอนงาน 3. ทัศนคติในการสอนงาน 4. คุณลักษณะและบทบาทของผูสอนงาน 5. เทคนิคการสรางแรงจูงใจและการสื่อสารเชิงบวก 6. กลยุทธ ขั้นตอนและวิธีการสอนงาน

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 3 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 15—17 ส.ค.55 ณ สถาบันเกษตราธิการ ผูผานการฝกอบรมจํานวน 50 คน : มีความรูความเขาใจและทักษะในการเปนพี่เลี้ยงและสอนงานอยาง มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในการวางแผนการสอนงานใหกับผูบังคับบัญชาและ


47

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

3.8) หลั ก สู ต ร การเสริ ม สร า งศั ก ยภาพการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งานราชการ สป.กษ. สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสถาบันเกษตราธิการ ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ให เ ป น ทั้ ง คนดี แ ละคนเก ง เพราะความสํ า เร็ จ ของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ แ ละ กระทรวงเกษตรและสหกรณขึ้นอยูกั บศักยภาพของบุคลากร หากบุคลากร มีความสามารถสูง มีคุณธรรม จริยธรรม ยอมสามารถนําพาไปสูความสําเร็จ ตามวิ สั ย ทั ศ น พั น ธกิ จ กลยุ ท ธ แ ละเป า หมายที่ ต อ งการได ในการทํ า งาน ทุกคนตองมุงไปที่เปาหมายเดียวกันและรวมกันผลักดันเปาหมายขององคกรใหบรรลุผลสําเร็จ พนักงานราชการ เปนบุคลากรที่มีสวนสําคัญในการผลักดันเปาหมายของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณใหบรรลุผลสําเร็จ จึงจําเปนที่จะตองพัฒนาพนักงานราชการใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับแนวทางและ วิธีการปฏิบัติราชการ มีการพัฒนาทักษะที่จําเปนในการปฏิบัตริ าชการและปลูกจิตสํานึกที่ดี ใหมคี วามซื่อสัตยสุจริต และศรัทธาในอาชีพ พรอมทั้งปรับกระบวนทัศนใหมใหสามารถปฏิบัติราชการไดอยางเหมาะสมและสอดคลองกับ สภาวการณที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีสามารถพัฒนาความรู ทักษะและสมรรถนะเบื้องตนของการเปน พนักงานราชการ สรางความตระหนักถึงบทบาทหนาที่ในการพัฒนาตนเอง พัฒนางานและพัฒนาการทํางานรวมกับ ผูอื่นใหพรอมที่จะปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถจัดการงานในหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหเกิด ประโยชนสูงสุด

กลุมเปาหมาย

พนักงานราชการของสํานัก/กอง สป.กษ.

เนื้อหาวิชา 1. การสรางทีมและพัฒนาความคิดสัมพันธ 2. คาตอบแทนและสิทธิประโยชนสําหรับพนักงานราชการ 3. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4. ระเบียบงานสารบรรณ การเขียนหนังสือราชการ และเทคนิค การจัดทํารายงานการประชุม 5. การปรับปรุงการทํางานเพือ่ มุงผลสัมฤทธิ์

ผลการดําเนินงาน จํานวน 1 รุน ระยะเวลา 5 วัน ดําเนินการระหวางวันที่ 27-31 ส.ค.55 ณ โรงแรมภูเขางามรีสอรท จ.นครนายก (3 วัน) และ สถาบันเกษตราธิการ (2 วัน) ผูผานการฝกอบรมจํานวน 48 คน : มีศักยภาพในการปฏิบัติงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการทํางานเปนทีมและ มีเครือขายในการประสานราชการ มีการพัฒนาตนเองและพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเกิดความสัมพันธ อันดีระหวางผูปฏิบัติงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

48

3.4 การพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 อาเซี ย น หรื อ สมาคมประชาชาติ แ ห ง เอเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต จ ะก า วเข า สู ก ารเป น ประชาคม อาเซียน ซึ่งจะสงผลกระทบตอประเทศไทยโดยรวม สําหรับ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของอาเซียน และมีความพรอมสําหรับการปฏิบัติราชการตามยุทธศาสตร การเข าสู ประชาคมอาเซีย น 2558 สถาบันเกษตราธิก าร ไดมีการดําเนินการ ดังนี้ 1) จัดฝกอบรมหลั กสูต ร การบริหารจัดการดานการเกษตร โดยเชิญ วิทยากรที่มีความรอบรู ในดานตางประเทศ ร.ต.อ. ดร.นิติภูมิ นวรัตน มาใหความรู ถายทอดประสบการณในหัวขอ ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ยนกั บ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ การเกษตรเพื่อ เตรีย มความพรอมของไทย และผูต รวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ (นางจิราวรรณ แยมประยูร) มาใหความรูเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวของ กับประชาคมอาเซียน ภาพรวมประชาคมอาเซียน และการดําเนินการดานตาง ๆ ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณในการขับเคลื่อนภาคการเกษตรสูประชาคมอาเซียน จํานวน 55 คน 2) จั ด ฝ ก อบรมหลั ก สู ต ร เทคนิ ค การเจรจาต อ รองระหว า งประเทศ กลุ ม เป า หมายได แ ก ขาราชการระดับปฏิบัติการและระดับชํานาญการของกระทรวงฯ ที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการประชุมและ การคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ จํานวน 30 คน 3) จัดฝกอบรมทักษะภาษาอังกฤษหลักสูตร การอานและเขียนเชิงวิชาการอยางมีประสิทธิภาพ และโครงการฝก อบรมทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อ รับ ทุนศึกษา ฝ กอบรมและดูง าน ณ ต างประเทศ กลุมเปาหมายไดแก ขาราชการของกระทรวงฯ จํานวน 40 คน 4) กําหนดหัวขอวิชาและเนื้อหาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนไวในหลักสูตรฝกอบรมที่สถาบันเกษ ตราธิการดําเนินการ จํานวน 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ทั้ง ระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง และหลักสูตรการเปนขาราชการที่ดีสําหรับขาราชการที่อยูระหวาง ทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ จํานวน 599 คน


49

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

3.5 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง สถาบันเกษตราธิการ มีแนวทางในการสงเสริมการเรียนรูดวยตนเองใน 3 ชองทาง ไดแก การพัฒนา โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการความรูของ สป.กษ. และการใหบริการหองสมุด ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

1) การพัฒนาบุคลากรโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1) การพัฒนาบุคลากรผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) สถาบันเกษตราธิการ มุงมั่นในการปฏิบัติงานดวยวิสัยทัศนการเปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากร บุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณแบบบูรณาการอยางมืออาชีพ เพื่อใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู โดยใช เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมัย และทั่ ว ถึ ง เล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ และความจํ า เป น ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร ด ว ยรู ป แบบการเรี ย นการสอน การถ า ยทอดเนื้ อ หาวิ ช าและองค ค วามรู ผ า นทางสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส บนเครือขายอินเตอรเน็ต ซึ่งเปนรูปแบบการเรียนออนไลน (Online learning) ที่สามารถใชสื่อการเรียนรู แบบผสมผสานไดหลากหลาย มาใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากรทุกระดับที่ปฏิบัติงานอยูทุกพื้นที่ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค ตั้งแตป พ.ศ.2549 โดยมีเปาหมายที่จะพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและ สหกรณอยางเปนระบบดวยกระบวนการที่ตอเนื่อง (on going process) อยางทั่วถึง เสมอภาค โดยอาศัย ชุดวิชาการเรียนรูดวยตนเองเปนสื่อหลัก เพื่อสรางกระบวนการพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับกระแส การพั ฒนาบุ คลากรดวยการเรียนรูดวยตนเอง ที่กา วทันความกาวหน าของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยเฉพาะการเรียนรูผานสื่อผสม (Multimedia) อยางเชน การนําระบบ e-Learning มาใชดวย เหตุผลของความยืดหยุนในการเรียน สะดวก และประหยัด สามารถลดขอจํากัดของการอบรมในหองเรียน ไดเปนอยางดี ปจจุบันสถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรดวยระบบ e-Learning มาอยางตอเนื่อง เพื่อใหบุคลากรสามารถเขาถึงและเรียนรูองคความรูใหม องคความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน มีความรู ความเข า ใจหลั ก การและเหตุ ผ ลเนื้ อ หาวิ ช า พั ฒ นาความรู ทั ก ษะ และสร า งความคุ น เคยกั บ การใช เทคโนโลยีเปนฐานการเรียนรู ประหยัดงบประมาณ คาใชจาย ลดขอจํากัดดานเวลา สถานที่ จํานวนผูเรียน และสะดวกในการพั ฒ นาบุ ค ลากรทั้ ง ส ว นกลางและส ว นภู มิ ภ าค และขยายโอกาส เพิ่ ม ทางเลื อ ก การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู และกิ จ กรรมร ว มบนเครื อ ข า ยการเรี ย นรู สู ทุ ก พื้ น ที่ ที่ ส ามารถเชื่ อ มต อ ระบบ อินเตอรเน็ตได โดยในปงบประมาณ 2555 เปดดําเนินการอบรมใน 4 วิชา ประกอบดวย (1.) วิชาการบริหารแบบ บูรณาการ (2.) วิชาการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (3.) การพัฒนาบุคลากรตาม สมรรถนะหลักขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ และ (4.) วิชาภาษาอังกฤษสําหรับการสื่อสาร รวม มีผูสมัครเขาอบรม จํานวน 487 คน ผานการอบรม จํานวน 184 คน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

50

1.2) การเผยแพรความรูในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน สถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน โดยการรวบรวมความรู ที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน จากแผนปฏิบัติงานฝกอบรมของสถาบันเกษตราธิการ เพื่อนําไปเผยแพรใหแก บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณไดศึกษาเรียนรูและพัฒนาตนเอง ทั้งนี้เพื่อเปนการขยายโอกาส การศึกษาเรียนรู โดยผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกหนทุกแหง ทําใหประหยัดเวลา คาใชจายและสามารถ เลือกเรียนเนื้อหาไดตามสะดวก โดยปจจุบันสถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการเผยแพรและใหบริการ ความรูผานสื่อในชองทางตางๆ ไดแก การเผยแพรความรูผานเครือขายอินเตอรเน็ต เป น การเผยแพร ค วามรู ผ า นเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต ทางเว็ ป ไซต www.kststation.com โดยสามารถเลื อ กเรี ย น ไดหลากหลายรูปแบบ ไดแก ถ า ยทอดสดการบรรยาย เป น การถ า ยทอดสดการ บรรยายของวิทยากรในหลักสูตรตางๆ ที่สถาบันฯ ดําเนินการ โดยไดประชาสัมพันธใหหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณไดรับทราบปฏิทินการถายทอดสด ในแตละเดือน ผลการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดดําเนินการถายทอดสดการบรรยาย รวม จํานวน 18 ครั้ง คลังวีดีทัศนความรู ไดดําเนินการรวบรวมสื่อวีดีทัศนความรูที่นาสนใจและเปนประโยชนตอการ ปฏิ บัติ ง านจากการบรรยายของวิ ท ยากรในหลักสู ต รตา งๆ จากแผนปฏิบั ติ งานฝก อบรมของสถาบัน ฯ ปจจุบันมีเนื้อหาวิชาตางๆ จํานวน 50 เรื่อง โดยสามารถเลือกเรียนเนื้อหาไดตามสะดวก หนังสืออิเล็ คทรอนิ กส ไดรวบรวมเอกสารประกอบการบรรยายในหลักสูตรตางๆและความรู ที่นาสนใจมาจัดทําเปนหนังสืออิเล็คทรอนิกสที่ทันสมัย ทําใหผูเขามาเรียนรูเกิดความแปลกใหมและไม เบื่อหนาย ปจจุบันมีจํานวน 25 เรื่อง ใหบริการสื่ออิเล็คทรอนิกส เป น การเผยแพร ค วามรู แ ละให บ ริ ก ารสื่ อ การเรี ย นการสอนในรู ป แบบของสื่ อ อิ เ ล็ ค ทรอนิ ก ส เชน เทคนิค การเขี ยนตั ว ชี้ วัด แบบสากล ทิศ ทางการพัฒ นาการเกษตรจากมิ ติก ระทรวงเกษตรฯ การ ประยุกตใชโปรแกรม adobe indesign การปรับปรุงการทํางานและการมุงผลสัมฤทธิ์ ลงบนแผน CD, DVD รวมจํ า นวน 33 เรื่ อ ง โดยได ม อบให แ ก ห อ งสมุ ด ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ห อ งสมุ ด สถาบั น เกษตราธิการ และหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหผูสนใจศึกษา เรียนรูและพัฒนาตนเองตอไป


51

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2) การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณมีการดําเนินการบริหารจัดการความรูมาอยางตอเนื่อง ในรูปแบบ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู โดยมีรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ไดรับ มอบหมายใหกํ ากั บดู แลสถาบันเกษตราธิการเปนประธาน ซึ่ งทํ า หนาที่เปนผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (Chief Knowledge Officer : CKO) และมี ผู อํ า นวยการสํ า นั ก /กอง เป น กรรมการ มีผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุการ และคณะทํางาน จัดการความรู สป.กษ. ซึ่งมีผูอํานวยการ สถาบันเกษตราธิการเปน ประธานคณะทํางาน และมีผูแทนจากสํานัก/กอง เปนคณะทํางาน มีผูแทนจากสถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุการ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ก ารพั ฒ นาความรู ้ใ น สป.กษ. มี ลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อยางสม่ําเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผล ความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสม ต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องสงเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติ ของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถนําองค์ความรู้ที่ จําเป็นมาใช้ในการปฏิบัติราชการ โดยมีสถาบันเกษตราธิการเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก และเปนการ ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. 2552-2556 กลยุทธที่ 3 พัฒนาสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมองคกรเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู ที่หลากหลาย แนวทางการจัดการความรูของ สป.กษ. ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2555 สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ มี ก ารจั ด การความรู ในทุกสํานัก/กอง โดยมีแนวทาง/วิธีการสงเสริมกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้ 1. กิจกรรมชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practices : CoP) กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ หรือ CoP เปนกิจกรรมรูปแบบหนึ่งของกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู ตามแผนการจัดการความรู กลาวคือ กลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและ สรางองคความรูใหมๆ เพื่อชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น มีการดําเนินงานใน 2 ระดับ ดังนี้ CoP ระดับ สป.กษ. เปนกิจกรรมที่เนนการมีสวนรวมของผูบริหาร ในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู สป.กษ. มีมติใหดําเนินกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) สป.กษ. จํานวน 2 ครั้ง ดังนี้


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

52

ครั้งที่ 1 เรื่อง การปรับปรุงการจัดทําแผน การติดตาม และ ประเมิ น ผลของ สป.กษ. โดย สํ า นั ก แผนงานและโครงการ พิเศษ เมื่อวันที่ 15 มิ.ย.55

ครั้งที่ 2 เรื่ อง หลักเกณฑและวิธีก ารประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของขาราชการพลเรือนสามัญ โดย กองการเจาหนาที่ เมื่อวันที่ 10 ก.ย.55

นอกจากนั้ น ยั ง มี ห น ว ยงานในสั ง กั ด สป.กษ. ได จั ด กิ จ กรรมชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ (CoP) สป.กษ. เพิ่มเติมจากที่กําหนดไว โดยเชิญบุคลากรในสังกัด สป.กษ. เขารวมกิจกรรมดวย ดังนี้ ครั้งที่ 3 เรื่อง ระเบียบวิธีวิจัย โดย กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน เมื่อวันที่ 16 ก.พ.55 ครั้งที่ 4 เรื่อง เอกสารประกอบการเบิกคาใชจายกรณีตางๆ ของกองคลัง สป.กษ. โดย กองคลัง เมื่อวันที่ 24 ก.ค.55 ครั้งที่ 5 เรื่อง ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส โดย กองกลาง เมื่อวันที่ 31 ก.ค. 55 CoP ระดับสํานัก/กอง โดยคณะทํางานจัดการความรูของสํานัก/กอง ไดดําเนินกิจกรรม CoP ระดับสํานัก/กอง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและแกไขปญหาภายในของแตละหนวยงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 มีหัวขอเรื่อง ดังนี้ 1) การวิ เคราะหวั ฒนธรรมองคก าร การเสริ มสรา งวั ฒนธรรมองค การ (สํ านั กพั ฒนาระบบ บริหาร) 2) ขั้นตอนการเสนอขอเครื่องราชอิสริยภรณสําหรับขาราชการการเมือง ขั้นตอนการเสนอเรื่อง เขาคณะรัฐมนตรี (สํานักงานรัฐมนตรี) 3) เอกสารประกอบการเบิกคาใชจายกรณีตางๆ ของกองคลัง สป.กษ. (กองคลัง) 4) เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ผงละเอี ย ดสารฝนหลวง วิ วั ฒ นาการเครื่ อ งบดสารฝนหลวงสู ต ร 4 (ยูเรีย) ระเบียบการบินกระทรวงเกษตรและสหกรณ และสถานภาพปจจุบันของการดัดแปรสภาพอากาศใน ตางประเทศ (สํานักฝนหลวงและการบินเกษตร) 5) ระเบียบวิธีวิจัย (กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน)


53

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

6) การถายทอดตัวชี้วัดระดับสํานัก/กอง สูการปฏิบัติระดับบุคคลและการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการในระบบ DPIS (สํานักการเกษตรตางประเทศ) 7) การถายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ (กองเกษตรสารนิเทศ) 8) การบริหารโครงการฝกอบรมและการหาความจําเปนในการฝกอบรม (สถาบันเกษตราธิการ) 9) การจัดทําคําสั่งทางปกครอง การแจงคําสั่งทางปกครองและผลของคําสั่งทางปกครอง (สํานัก กฎหมาย) 10) การใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ความรูระบบเทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 11) ปญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงานหลังจาก พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 (สํานักตรวจสอบภายใน) 12) ระบบการรายงานผลและการดําเนินการตามผลการตรวจราชการและระบบการติดตามและ ประเมินผลการตรวจราชการ (สํานักตรวจราชการ) 13) การปรับปรุงการจัดทําแผน การติดตามและประเมินผลของ สป.กษ. (สํานักแผนงานและ โครงการพิเศษ) 2. การเขียนบทความการจัดการความรูในจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ หน ว ยงานในสั ง กั ด สป.กษ. (ส ว นกลาง) ได ร ว มเขี ย น บทความในมุม KM ของจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพือ่ เผยแพรความรูต า งๆ ให กั บ ผู ที่ ส นใจ ทั้ ง นี้ สถาบั น เกษตราธิ ก ารได ร วบรวม บทความ KM ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 เปนรูปเลม เผยแพรประชาสัมพันธความรูไปยังสํานัก/กอง ในสังกัด สป.กษ. (สวนกลาง) และยังไดเผยแพรบทความดังกลาวในรูปแบบ e-book ลงในเว็บไซตการจัดการความรู ของ สป.กษ. (http://km.opsmoac.go.th) อีกชองทางหนึง่ ดวย ซึง่ มีหวั ขอ ดังนี้ 1) ยอนรอยกระทรวงเกษตรและสหกรณ (กองกลาง) 2) วัฒนธรรมองคการ (สํานักพัฒนาระบบบริหาร) 3) การพัฒนาระบบการตรวจราชการ (สํานักตรวจราชการ) 4) เงื่อนไขการฟองคดีปกครอง (สํานักกฎหมาย) 5) การประเมินผลพืน้ ทีท่ ไี่ ดรบั ประโยชนจากการปฏิบตั กิ ารฝนหลวง (สํานักฝนหลวงและการบิน เกษตร) 6) การจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (สถาบันเกษตราธิการ) 7) ขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับกระทูถาม (สํานักงานรัฐมนตรี) 8) เทคโนโลยี Social Media (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

54

9) งานเปดตัวเว็บไซตสงเสริมการคาผลไมไทยในสาธารณรัฐประชาชนจีน (สํานักการเกษตร ตางประเทศ) 10) สกร.เรงฟนฟูเกษตรกร ปลูกถั่วลิสงพันธุไทนาน 9 เพื่อปลดเปลื้องหนี้สิน (สํานักบริหาร กองทุนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องรองเรียน) 11) ความรูเกี่ยวกับภัยธรรมชาติในประเทศไทย (สํานักแผนงานและโครงการพิเศษ) 12) องคความรูสมุนไพรไลแมลง (กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร) 3. การจัดทําบอรด KM ของสํานัก/กอง ไดเพิ่มชองทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู และเผยแพรความรู โดยกําหนดใหทุกสํานัก/กอง จัดทํา บอรดการจัดการความรูภายในของแตละหนวยงานตามองคความรูที่ระบุไวในแผนการจัดการความรูของ หนวยงาน รวมทั้งความรูตางๆ ที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติราชการ ตามภารกิจของหนวยงาน

บอรด KM กองกลาง

บอรด KM สํานักพัฒนาระบบบริหาร

บอรด KM สถาบันเกษตราธิการ

ตัวอยางบอรด KM


55

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ทั้งนี้ องคความรูตางๆ ที่ไดดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู จะมีการจัดเก็บไวในเว็บไซต การจัดการความรูของ สป.กษ. (km.opsmoac.go.th)

รูปภาพ : เว็บไซตการจัดการความรู สป.กษ.


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

56

3) การใหบริการหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ ให บ ริ ก ารข อ มู ล ความรู ด า นการบริ ห ารและการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลของหน ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ รวบรวมหนั ง สื อ และสื่ อ สารสนเทศเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารและการพั ฒ นา ทรัพยากรบุคคลในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ เอกสาร หนังสือ วารสาร นิตยสาร สื่อมัลติมีเดียที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล บริการยืม-คืนหนังสือ มุมอินเตอรเน็ต มุมกาแฟ พรอมทั้งปรับปรุงขอมูลในระบบ หองสมุดอิเล็กทรอนิกสที่ใหบริการผานทางเว็บไซต www.kst.go.th เพื่อความสะดวกในการคนหาขอมูล ความรูแกผูมาใชบริการใหเกิดประโยชนมากที่สุด ผลการดําเนินงาน 1) การจัดซื้อหนังสือที่นาสนใจและเปนประโยชนกับบุคลากรเพิ่มเติม จํานวน 127 เรื่อง แบงเปน ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (42 เรื่อง) ดานวรรณกรรม (77 เรื่อง) และดานการใชภาษาตางประเทศ (8 เรื่อง) 2) การจัดสื่อประชาสัมพันธภายในหองสมุด - ความรูเกี่ยวกับเทศกาลหรือวันสําคัญตางๆ เชน วันพืชมงคล วันแมแหงชาติ - แนะนํ า หนั ง สื อ ใหม ที่ น า สนใจ เช น หนั ง สื อ Competency Based HR Manual and Forms ฉลาดถามเปนตอทุกสถานการณ 101 วิธีพัฒนาสมอง เปนตน 3) ปรับปรุงขอมูลในระบบหองสมุดอิเล็กทรอนิกสที่ใหบริการผานทางเว็บไซต www.kst.go.th โดย การเพิ่มเติมเนื้อหาในหัวขอหนังสือแนะนําและหนังสือใหม เพื่อประชาสัมพันธใหกับผูเขาใชบริการได รับทราบ


57

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

4) มุมความรูเกี่ย วกั บประชาคมอาเซียน (ASEAN Corner) ในการเตรีย มความพรอมสูประชาคม อาเซียนในป 2558 นั้น หองสมุดสถาบันเกษตราธิการไดดําเนินการจัดทํามุมสงเสริมความรู จัดหาหนังสือ เอกสาร สื่อความรูเกี่ยวกับอาเซียน ความรูเกี่ยวกับประเทศและภาษาในอาเซียน และอื่นๆ มาเผยแพร ประชาสัมพันธใหแกผูที่สนใจศึกษาขอมูล 5) บุคลากรของกระทรงเกษตรและสหกรณและบุคคลทั่วไป ใหความสนใจเขามาใชบริการหองสมุด จํ า นวน 2,127 คน ในการยื ม หนั ง สื อ วารสาร นิ ต ยสาร สื่ อ ความรู และใช บ ริ ก ารระบบอิ น เตอร เ น็ ต เพื่อคนหาขอมูลความรูตางๆ 6) การสํารวจความพึงพอใจผูร บั บริการหองสมุด ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอการใชบริการ หองสมุดในภาพรวม อยูใ นระดับ มาก ในดานสภาพแวดลอมมีความเหมาะสม หนังสือมีความทันสมัย ตรงตอ ความตองการ และการจัดเรียงหนังสือสะดวกตอการคนหา รวมทั้งการใหบริการอินเตอรเน็ตและเครื่องดื่ม


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

58

3.6 ทุนศึกษาตอ ปริญญาโท ปริญญาเอก และทุนศึกษา ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและตางประเทศ 1) ทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) เปนการพัฒนาบุคลากรดวยการเพิ่มวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาวิชา ทีก่ ระทรวงเกษตรและสหกรณขาดแคลนและจําเปน เพือ่ ทดแทนกําลังคนทีเ่ กษียณอายุราชการและเพิม่ บุคลากร วิจยั ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยดําเนินการมาตัง้ แตปง บประมาณ พ.ศ.2546 การคัดเลือกผูรับทุนการศึกษา โดยคณะอนุกรรมการดําเนินการคัดเลือกและพิจารณากลั่นกรองผูสมัครสอบที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เปนผูรับทุน เพื่อรับทุนรัฐบาลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบัน เทคโนโลยีแหงอเวีย คระอนุกรรมการประกอบดวย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ไดรับมอบหมาย ใหดูแลสถาบันเกษตราธิการ เปนประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากสถาบัน เทคโนโลยีแหงเอเวีย ผูทรงคุณวุฒิที่ไดรับการแตงตั้งจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูอํานวยการสํานัก การเกษตรตางประเทศและผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการเปนอนุกรรมการและเลขานุการ หัวหนากลุม สงเสริมการศึกษาและเทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล สถาบันเกษตราธิการเปนผูชวยเลขานุการ


59

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

ผลการดําเนินงานในภาพรวม โครงการระยะที่ 1 (ป 2546-2550) ไดรับงบประมาณสําหรับผูรับทุน จํานวน 44 ราย (ปริญญา โท 22 ราย ปริญญาเอก 22 ราย) สําเร็จการศึกษาแลว จํานวน 11 ราย (ปริญญาโท 22 ราย ปริญญาเอก 11 ราย) อยูระหวางการศึกษา จํานวน 9 ราย (ปริญญาเอก) โครงการระยะที่ 2 (ป 2551-2555) ไดรับงบประมาณสําหรับผูรับทุน จํานวน 32 ราย (ปริญญา โท 11 ราย ปริญญาเอก 21 ราย) สําเร็จการศึกษาแลว จํานวน 7 ราย (ปริญญาโท 6 ราย ปริญญาเอก 1 ราย) อยูระหวางการศึกษา จํานวน 25 ราย (ปริญญาโท 5 ราย ปริญญาเอก 20 ราย) ในป ง บประมาณ 2555 ได ดํ า เนิ น การจั ด สรรทุ น ใหม จํ า นวน 10 ราย (ปริ ญ ญาเอก 5 ราย ปริญญาโท 5 ราย) รายละเอียด ดังนี้ ผูรับทุนระดับปริญญาโท จํานวน 5 ราย ดังนี้ 1. สาขาวิชา Regional and Rural Development Planning 1) นางสาวชลธิดา วงคคําจันทร สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 2) นางสาวพิลาพันธ โคกสีอํานวย สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 2. สาขาวิชา Agri-business Management 1) นางสาวขวัญหทัย ทองปลาด สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 2) นางสาวยุพาวรรณ หนันลา สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

3. สาขาวิชา Human Resources Management 1) นางสาวกรวรรณ มั่นคง

สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

ผูรับทุนระดับปริญญาเอก จํานวน 5 ราย ดังนี้ 1. สาขาวิชา Regional and Rural Development Planning 1) นายพงษปกรณ ปยวัฒนปภาดา กรมสงเสริมสหกรณ 2) นายกิจษารธ อนเงินทยากร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2. สาขาวิชา Agri-business Management 1) นางสาวภีสพรรณ เลาสุทแสน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2) นางเสาวลักษณ โกศัลวิตร กรมตรวจบัญชีสหกรณ

3. สาขาวิชา Natural Resources Management 1) นางสาวศันสนีย อรัญวาสน

กรมพัฒนาที่ดิน


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

60

ในปงบประมาณ พ.ศ.2555 มีผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระดับปริญญาเอก ทั้งหมด จากระยะที่ 1 และระยะที่ 2 จํานวน 4 ราย ประกอบดวย ผูสําเร็จการศึกษาจาก AIT ระยะที่ 1 ลําดับ

ชื่อ-นามสกุลผูรับทุน

ระยะที่ 1 1 นายปริญญา กมลสินธุ ผูเชี่ยวชาญดาน วิศวกรรมชลประทานเชี่ยวชาญ (9 ชช.) สํานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน 2 นายจักรพงษ แตวิจิตร วิศวกรโยธาปฏิบัติการ สํานักออกแบบวิศวกรรมและ สถาปตยกรรม กรมชลประทาน 3 นางสาวปรีดาวรรณ ไชยศรีชลธาร วิศวกรการเกษตรชํานาญการ สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร ระยะที่ 2 1 นางสาวณมาพร อัตถวิโรจน นักวิชาการ มาตรฐานชํานาญการ สํานักกําหนด มาตรฐาน สํานักงานมาตรฐานสินคา เกษตรและอาหารแหงชาติ

สาขาวิชา

ผลงานวิชาการ

Agricultural System and Development of an Aquatic Weed Engineering Harvester for Cleaning Irrigation Channels in Thailand Agricultural System and Development of a Decision Engineering Support System for integrated Agriculture with farm Ponds Using Multiple criteria Decision Making (MCDM) and GIS Food Engineering and Quality Grading of Mangosteens bioprocess Technology Using Ultrasonic Specific Gravity Sensor- Based Control System

Food Engineering and bioprocess Technology

Development of Models for Thai Rough Rice Quality Inspection and Classification via Near Infrared Spectroscopy


61

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

2) ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวง การตางประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณไดรับการจัดสรรทุนจากกระทรวงการตางประเทศ เปนทุนที่รัฐบาล ตางประเทศ องคการตางประเทศ หรือนิติบุคคลตางประเทศ จัดสรรใหสวนราชการตางๆ ตามภารกิจของ ส ว นราชการ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ผู รั บ ทุ น ได เ พิ่ ม พู น ความรู ประสบการณ และวิ สั ย ทั ศ น ในสาขาวิชาความรูที่เกี่ยวของ อาทิเชน สาขาวิชาที่เกี่ยวกับพืช ประมง ปศุสัตว วิศวกรรมที่เกี่ยวกับน้ําและ การชลประทาน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การวิเคราะหโครงการ ความยั่งยืนทางดานอาชีพ เกษตรกรรม อาหารที่ปลอดภัยไดมาตรฐาน เปนตน ความรูตางๆ ที่ไดรับจะไดนํากลับมาปรับพัฒนาและ ใชในองคกร เพื่อผลประโยชนของเกษตรกรและผูเกี่ยวของภายในประเทศตลอดจนการประสานความ รวมมือระหวางประเทศ ผลการดําเนินงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ไดรับการจัดสรรทุนจากกระทรวงการตางประเทศ ทั้งในดานการ บริหารจัดการ ดานพัฒนาการผลิตดานบริหารจัดการทรัพยากรดานการผลิต และดานสงเสริมและพัฒนา เกษตรกรและระบบสหกรณ รวมทั้งหมด 64 หลักสูตร สถาบันเกษตราธิการ ดําเนินการจัดสรรทุนใหกับ สวนราชการ จํานวน 12 หนวยงาน ไดรบั การพิจารณาตอบรับจากแหลงทุน จํานวน 31 ราย ซึ่งสรุปตาม ตารางไดดังนี้ ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวงการตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2555 จํานวน หลักสูตร

กษ.เสนอชื่อ ผูขอรับทุน

ผานการทดสอบ อังกฤษ

ไดรับทุน

ไทย

9

18

6

5

ญี่ปุน

22

40

17

14

จีน

8

14

3

4

อิสราเอล

6

3

2

2

อียิปต

14

34

11

5

อินเดีย

1

2

0

0

ทุนโคลัมโบ

4

7

1

1

64

118

40

31

แหลงทุน

รวมทั้งหมด


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

62

สวนราชการที่ไดรับการจัดสรรทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศของกระทรวง การตางประเทศ ประจําป 2555 สวนราชการที่ไดรับการจัดสรรทุนฝกอบรม สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมปศุสัตว สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมการขาว กรมประมง กรมสงเสริมสหกรณ กรมชลประทาน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ รวมทั้งหมด

จํานวนผูไดรับ การเสนอชื่อ 7 27 15 11 7 15 1 3 13 9 9 2 118

ไดรับทุน 1 7 4 1 4 4 1 2 4 2 1 31


63

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

3) โครงการให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรัฐประชาชนจีน ภาษาจี น เป น ภาษาสากลที่ มี ผู ใ ช ม ากกว า 1,300 ล า นคน ไม ร วมที่ แ พร ก ระจายอยู ทั่ ว โลก ในปจจุบันประเทศจีนมีขนาดทางเศรษฐกิจใหญที่สุดในเอเชีย และเปนอันดับ 2 ของโลก ไดเขารวมเปน สมาชิกของกลุม ASEAN+3 ในเรื่องเศรษฐกิจและการคา ดังนั้น ภาษาจีนจึงมีความจําเปนอยางยิ่งในการ สื่อสาร ซึ่งทวีความสําคัญขึ้นในระดับสากล มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณฑลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น แก ขาราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ไปศึกษาอบรมภาษาจีนแกสวนราชการระดับกระทรวงของประเทศไทย กวา 40 ทุนตอป กระทรวงเกษตรและสหกรณไดรับการจัดสรรทุนปละ 2 ทุน เปนทุนการศึกษาแบบ ใหเปลา ไมมีขอผูกพัน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณไดตั้งงบประมาณ สนับสนุนผูไดรับทุนการศึกษาดังกลาว ทุนละ 127,950 บาท รวม 2 ทุน เปนเงิน 255,900 บาท ผลการดําเนินงาน การคั ด เลื อ กผู มี สิ ท ธิ์ ไ ด รั บ ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น คั ด เลื อ กโดย คณะกรรมการคั ด เลื อ กผู รั บ ทุ น ฝ ก อบรมหบั ก สู ต รเสริ ม สร า งทั ก ษะ ภาษาจี น ประกอบด ว ย รองปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ ไ ด รั บ มอบหมายให ดู แ ลสถาบั น เกษตราธิ ก ารเป น ประธานกรรมการ ผู อํ า นวยการสถาบั น เกษตราธิ ก าร ผู อํ า นวยการกองการเจ า หน า ที่ ผูอํานวยการสํานักการเกษตรตางประเทศเปนกรรมการ และหัวหนากลุม สงเสริมการศึกษาและเทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล เปนกรรมการ และเลขานุการ ในปงบประมาณ 2555 กระทรวงเกษตรและสหกรณดําเนินการคัดเลือกผูมีสิทธิไดรับทุนการศึกษา ภาษาจีน จากสวนราชการในสังกัดเขารับทุนการศึกษาอบรม รายละเอียดดังนี้ ลําดับที่ 1 2

ชื่อ-นามสกุลผูรับทุน นางสาวสุรียพร บัวอาจ นางสาวอุบลวรรณ พัฒนลาภ

ตําแหนง นักวิชาการโรคพืชปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณชํานาญการ

หนวยงาน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ

ผลที่ไดรับ ผูผานการฝกอบรมสามารถเปนตัวแทนขององคกรในการสื่อสารกับผูใชภาษาจีนที่มาติดตอราชการ และการที่ไดรับการศึกษาอบรมภาษาจีนในประเทศจีนแลว ยังไดศึกษาถึงประเพณีนิยม ขนบธรรมเนียม สังคม สังคมจิตวิทยา และพฤติกรรมของประชาชนในประเทศเจาของภาษา กอใหเกิดประโยชนในการ ประสานงานอีกดวย


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

64

4) การฝ ก อบรมภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารระหว า งประเทศ (English for International Communication) ประจําป 2555 ป จ จุ บั น หน ว ยงานต า งๆ มี ก ารติ ด ต อ ประสานงานกั บ หน ว ยงานต า งประเทศอยู ต ลอดเวลา ซึ่งการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ ทักษะ ในขีดความสามารถที่สูง ในการใช ภ าษาต า งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอั ง กฤษ จึง เป นสิ่ งจํา เป น เพื่อ ให บุค ลากรใช ภ าษานั้น ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน การติดตอประสานงาน การเจรจาตอรอง และเปนประโยชนในการ พัฒนาประเทศ สถาบั น เกษตราธิ ก าร จึ ง ได เ ล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ โดยให ก ารสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม ให มี ก ารพั ฒ นา บุคลากรดานนี้เพิ่มมากขึ้น โดยจัดสงเขาฝกอบรมในสถาบันฯ หนวยงานภายนอกอื่นๆ เชน 1. หลักสูตร ภาษาอังกฤษสําหรับการใชในการปฏิบตั ิงาน Intensive Language Course (ILC) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรู ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษใหแกขาราชการ และ พนักงานรัฐวิสาหกิจใหอยูในระดับที่จะปฏิบัติงานในหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม 1. ผูใชภาษาอังกฤษในการปฎิบัติงาน 2. ผู ที่ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น ให เ ป น ผู ข อรั บ ทุ น ภายใต โ ครงการที่ ผ า นการดํ า เนิ น งาน ของสถาบั น การตางประเทศเทวะวงศวโรปการ 3. ตองผานการทดสอบภาษาอังกฤษ (Entry Test) ของสถาบันการตางประเทศเทวะวงศวโรปการ และมีผลคะแนนสอบอยูในเกณฑที่กําหนด 4. ขาราชการ ระดับปฏิบัติงานขึ้นไป ไมเคยเขารับการฝกอบรมหลักสูตรนี้มากอน ขอกําหนด และคําแนะนํา เกี่ยวกับการสอบภาษาอังกฤษ ผูสมัครเขารับการฝกอบรมในหลักสูตร จะตองผานการสอบวัดความรูความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษ Entry Test เพื่อจะใชคดั เลือกผูเขารับการฝกอบรมที่มคี วามรูด านภาษาอังกฤษในระดับที่ เหมาะสมกับหลักสูตรดังกลาว รวมทั้งใชเปนแนวทางในการจัดชั้นเรียนใหเหมาะสมกับความรู ความสามารถของผูเขารับการฝกอบรม โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจัดสงขาราชการเขารวม 2 รุน ดังนี้ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 13 ธันวาคม 2554 – 20 มกราคม 2555 ณ สถาบันการตางประเทศ เทวะวงศวโรปการ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ และกําหนดเดินทางไปเขารวมการฝกอบรม ภาคปฏิบัตินอกสถานที่ ณ ตางจังหวัด ระหวางวันที่ 16 – 18 มกราคม 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 2 ราย ดังนี้ 1. นายมุทิตะ ชลามาตย นายสัตวแพทยชํานาญการ กรมปศุสัตว 2. นางสาวรดาชญา นาวานิมิตกุล นักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑปฏิบัติการ กรมหมอนไหม


65

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 5 มีนาคม – 12 เมษายน 2555 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศ วโรปการ ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ และกําหนดเดินทางไปเขารวมการฝกอบรม ภาคปฏิบัตินอกสถานที่ ณ ตางจังหวัด ระหวางวันที่ 9 – 11 เมษายน 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 8 ราย ดังนี้ 1. นายวนาณัฏฐ สีนิน นักวิเทศสัมพันธปฏิบัติการ กรมชลประทาน 2. นายวรุฒ พจนศิลปชัย วิศวกรโยธาปฏิบัติการ กรมชลประทาน 3. นายพีรพัฒน พจนสมพงษ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กรมพัฒนาที่ดิน 4. นางยอดหญิง สอนสุภาพ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ กรมวิชาการเกษตร 5. นางสาวเสานีย แกวพระเกษ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ กรมสงเสริมการเกษตร 6. นางสาวพิลาพันธ โคกสีอํานวย นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 7. นางสาวพรชาตา บุสสุวัณโณ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 8. นางสาวชุติมา ศรสําราญ นักวิชาการมาตรฐานชํานาญการ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ 2. หลักสูตร การเสนอผลงานและการพูดเพือ่ การประชุม Oral Communication Coures (OCC) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรที่มีการติดตอประสานงานกับ หนวยงานตางประเทศ ในการเสนอผลงาน การอภิปราย และการนําเสนอแนวความคิดในที่ประชุมขั้น พื้นฐาน คุณสมบัติผูเขารับการฝกอบรม 1. เปนขาราชการ ระดับชํานาญการขึ้นไป หรือเทียบเทา ณ วันที่เสนอชื่อสอบ 2. ผู ที่ มี โ อกาสนํ า เสนอผลงานในที่ ป ระชุ ม ซึ่ ง ใช ภ าษาอั ง กฤษ หรื อ เข า ร ว มการประชุ ม ในระดั บ นานาชาติ 3. ตองผานการทดสอบภาษาอังกฤษ (Entry Test) ของสถาบันการตางประเทศเทวะวงศวโรปการ และมีผลคะแนนสอบอยูในเกณฑที่กําหนด


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

66

ขอกําหนด และคําแนะนํา เกี่ยวกับการสอบภาษาอังกฤษ ผู ส มั ค รเข า รั บ การฝ ก อบรมในหลั ก สู ต ร จะต อ งผ า นการสอบวั ด ความรู ค วามสามารถในการใช ภาษาอังกฤษ Entry Test เพื่อจะใชคัดเลือกผูเขารับการฝกอบรมที่มีความรูดานภาษาอังกฤษในระดับที่ เหมาะสมกั บ หลั ก สู ต รดั ง กล า ว รวมทั้ ง ใช เ ป น แนวทางในการจั ด ชั้ น เรี ย นให เ หมาะสมกั บ ความรู ความสามารถของผู เข า รั บ การฝ ก อบรม โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ได จั ด ส ง ข า ราชการเข า รั บ การฝกอบรม 3 รุน ดังนี้ รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 1 – 16 ธันวาคม 2554 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศวโรปการ ศูนย ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ และกําหนดเดินทางไปฝกอบรม Workshop ณ ประเทศสิงคโปร ระหวางวันที่ 12 – 16 ธันวาคม 2554 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 1 ราย คือ นางสาวสุนันทา พวงเสมา นักวิชาการเกษตรชํานาญการ กรมหมอนไหม รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 23 เมษายน – 18 พฤษภาคม 2555 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศ วโรปการ ศู น ย ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษาฯ และกํ า หนดเดิ น ทางไปฝ ก อบรม Workshop ณ ประเทศสิงคโปร ระหวางวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 3 ราย ดังนี้ 1. นายวัฒนา พัฒนถาวร นักสํารวจดินชํานาญการ กรมพัฒนาที่ดิน 2. นางสุภัทรา เลิศวัฒนาเกียรติ นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ กรมวิชาการเกษตร 3. นางสาวฉวี ลอมเล็ก นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ กรมวิชาการเกษตร รุนที่ 3 ระหวางวันที่ 20 สิงหาคม – 14 กันยายน 2555 ณ สถาบันการตางประเทศเทวะวงศ วโรปการ ศู น ย ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษาฯ และกํ า หนดเดิ น ทางไปฝ ก อบรม Workshop ณ ประเทศสิงคโปร ระหวางวันที่ 9 – 13 กันยายน 2555 ผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 2 ราย ดังนี้ 1. นายปราโมทย ศรีสังข นายสัตวแพทยชาํ นาญการ กรมปศุสัตว 2. นางสาวนิรมล แกวกัลยา นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ สํานักงานการปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม

———————————————————————


ภาคผนวก



69

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

สถาบันเกษตราธิการ อาคารหลังอนุสาวรียสามบูรพาจารย ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (เกษตรกลาง บางเขน) ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท (หมายเลขกลาง) ผูอํานวยการ หนาหองผูอํานวยการ ฝายบริหารทั่วไป (ฝบท.) - หัวหนาฝาย - งานบริหารทั่วไป - งานการเงินและบัญชี - งานเผยแพรและประชาสัมพันธ - หองควบคุมเสียงชั้น 2 - ตึกพัสดุ

0-2940-5593 / 0-2940-5629 0-2940-5592 (สายตรง, Fax) ภายใน 100 ภายใน 101

0-2940-5595 (สายตรง, Fax) 0-2940-5594 (สายตรง, Fax) 0-2940-5630 (สายตรง, Fax)

ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน

110 111 112 113 123 160, 161

กลุมยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (กยพ.) - หัวหนาฝาย 0-2940-5587 (สายตรง) - เจาหนาที่ 0-2940-5586 (สายตรง, Fax)

ภายใน 120 ภายใน 121, 122

กลุมวิชาการและหลักสูตร (กวส.) - หัวหนาฝาย - เจาหนาที่

ภายใน 130 ภายใน 131, 150

0-2940-5596 0-2579-1355 (สายตรง, Fax)

กลุมสงเสริมการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี (กศท.) - หัวหนาฝาย 0-2940-5597 (สายตรง, Fax) - Computer/Server - เจาหนาที่ (ทุนศึกษาตอ) (งานฐานขอมูล) - หองสมุด

ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน

142 140 114, 143 141 115


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

เว็บไซตสถาบันเกษตราธิการ www.kst.go.th

คณะผูบริหาร

นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

นายชลิต ดํารงศักดิ์ นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล นายฉลอง เทพวิทักษกิจ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

นางประคองศรี หาญตระการพงษ ผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการ

นายโอฬาร พิทักษ

70


71

Annual Report 2012 l Kasetradhikarn Institute

เว็บไซต www.kststation.com : สถานีเพื่อการเรียนรู


รายงานประจําป 2555 l สถาบันเกษตราธิการ

แผนที่สถาบันเกษตราธิการ

72


คณะผูจัดทํา ประธานคณะทํางาน นางประคองศรี หาญตระการพงษ ผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการ คณะทํางาน นายโสภณ ไพศาลโรจนรัตน

นางวลีพร นนทิการ

หัวหนากลุมสงเสริมการศึกษาและ เทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล

หัวหนากลุมยุทธศาสตร การพัฒนาทรัพยากรบุคคล

พ.อ.อ. คํานึง ใจเพียร

นายจเด็ด กลิ่นชื่น

รักษาการในตําแหนงหัวหนากลุม วิชาการและหลักสูตร

หัวหนาฝายบริหารทั่วไป

นางวรรณภัสสร ศรีจันทร

นายวันปยะ วาทิน

นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ

นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ

นายยุทธภูมิ ประสมทรัพย

นายชัยรัตน ไชยยศ

นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ นายรังสรรค นฤมิตญาณ นักวิชาการเผยแพรชาํ นาญการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ นางนันทภรณ อินทุประภา

นางสาวสุพัตรา กิ้มเสง

นางสาวณัฐนันท เจริญศรี

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.