รายงานประจำปี 2553

Page 1


(ก)

"งานราชการนั้น เป็นงานส่วนรวมมีผลเกี่ยวเนื่อง ถึงประโยชน์ของบ้านเมือง และประชาชนทุกคนผู้ปฏิบัติ บริหารงานราชการจึงต้องคํานึง ถึงความสําเร็จของงานเป็นสําคัญ อย่านึกถึงบําเหน็จรางวัลหรือ ประโยชน์เฉพาะตนให้มากนัก มิฉะนั้นงานในหน้าที่จะบกพร่อง เกิดเป็นผลเสียหายแก่ตน แก่งานส่วนรวมของชาติได้ ขอให้ถือว่า การทํางานในหน้าที่ได้สําเร็จสมบูรณ์ เป็นทั้งรางวัลและประโยชน์อัน ประเสริฐสุด เพราะจะทําให้ประเทศชาติและประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข และมั่นคง" จากพระราชดํารัส ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม 2554

รายงานประจําปี พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


(ข)

คํานํา สถาบันเกษตราธิการเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการพัฒนาข้าราชการระดับสูงและ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทํารายงานประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลการดําเนินงานของสถาบันเกษตราธิการให้กับผู้สนใจ ซึ่งรายงานฉบับนี้มีเนื้อหาประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. ข้อมูลภาพรวม ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ อํานาจหน้าที่ โครงสร้างและอัตรากําลัง 2. ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจําปี 3. สรุปผลการดําเนินงานที่สําคัญ 3.1 การพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม/สัมมนา ประกอบด้วยการเพิ่ม ประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ การเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเป็นในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร และการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.2 การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วยการจัดการความรู้ของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การให้บริการห้องสมุด 3.3 ทุนศึกษาต่อ ฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลและรายละเอียดในรายงานประจําปีฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์กับผู้ที่สนใจต่อไป สถาบันเกษตราธิการ สิงหาคม 2554

รายงานประจําปี พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


(ค)

หน้า ๑. ข้อมูลภาพรวม

1

๒. ผลการใช้จา่ ยงบประมาณประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

4

๓. สรุปผลการดําเนินงานทีส่ ําคัญ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.1 การพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม/สัมมนา 3.1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ 3.1.2 การเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และสมรรถนะทีจ่ ําเป็นในการปฏิบัติงาน ของบุคลากร 3.1.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.2 การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3.2.1 การจัดการความรู้ของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3.2.2 การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • การพัฒนาบุคลากรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (HRD : e-Learning) • การเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน์ - ผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Training Online) - VCD/DVD ชุดความรู้ (จากการฝึกอบรม) 3.2.3 การให้บริการห้องสมุดของสถาบันเกษตราธิการ • การดําเนินงานพัฒนาปรับปรุงระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ • จํานวนผู้เข้าใช้บริการ การบริการ ให้ยืมหนังสือ/สื่อความรู้ • การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าใช้ห้องสมุด 3.3 ทุนศึกษาต่อ ฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3.3.1 โครงการทุนศึกษาต่อในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย 3.3.2 โครงการให้ ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น 3.3.3 ทุนฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ทัง้ ในและต่างประเทศ ผ่านกระทรวงการต่างประเทศ

7 8 10

๔. ภาคผนวก

25 40 42 43 51

55

58 59 65 67 68

รายงานประจําปี พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


1. ขอมูลภาพรวม

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


1.ขอมูลภาพรวม

วิสัยทัศน “เปนศูนยกลางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณแบบบูรณาการ อยางมืออาชีพ เพื่อใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและทั่วถึง”

อํานาจหนาที่ 1. ศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบ และยุทธศาสตรในการพัฒนาขาราชการ ของกระทรวง 2. เปนองคกรในการบริการทางดานวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของเพื่อพัฒนาขาราชการ ระดับสูงและทรัพยากรบุคคลของกระทรวง 3. ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย

ภารกิจ 1. กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ 3. สงเสริมและประสานความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตร และสหกรณ 4. ติดตามและประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามแผนกลยุทธการพัฒนาทรัพยากร บุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ยุทธศาสตร 1. 2. 3. 4.

สรางและบริหารการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแบบบูรณาการ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สงเสริมและประสานความรวมมือดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันเกษตราธิการ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


อัตรากําลังทั้งหมดของสถาบันเกษตราธิการ รวมทั้งสิ้น จํานวน 37 คน ประกอบดวย

ขาราชการ ลูกจางประจํา พนักงานราชการ ลูกจางชั่วคราว

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

22 คน 5 คน 7 คน 3 คน

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


2.ผลการใชจายงบประมาณประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2553

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


2.ผลการใชจา ยงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ผลการใชจายงบประมาณประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการไดรับงบประมาณทั้งสิ้น จํานวน 36,056,800 บาท และไดรับโอนจากงบสํารองสวนกลางเพิ่มรวมเปน 39,118,800 บาท ใชจาย ไปทั้งสิ้น 37,686,871.52 บาท คิดเป นร อ ยละ 96.34 ในการใชจ ายงบประมาณ ไดแยกประเภทของ รายจ ายงบประมาณ ไดแก งบบุ คลากร งบดําเนินการ งบลงทุ น และงบอุ ดหนุน รายละเอี ยดดัง นี้

งบรายจาย งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน รวม

ไดรบั (บาท) ผลเบิกจาย (บาท) 8,236,625.40 9,158,300 23,547,610.12 23,618,864

รอยละ 89.94 99.70

346,340

123,340

35.61

5,995,296 39,118,800

5,779,296 37,686,871.52

96.40 96.34

งบประมาณรายจายประจําป พ.ศ. 2553 และผลการเบิกจาย

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


เพื่ อ ให ก ารบริ ห ารและการติด ตามการใชจ ายงบประมาณมี ป ระสิ ท ธิภาพ สอดคล อ งกั บ ระบบ งบประมาณแบบมุ ง เน น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ ผลสํ า เร็ จ ตามยุ ท ธศาสตร (Strategic Performance) และเพื่ อใชประโยชนจากการรายงานที่ เปนรูปธรรมชัดเจน จึง กําหนดตัวชี้วัด การดําเนินงาน ดังนี้ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จํานวนบุคลากรที่ไดรับการพัฒนา เปาหมาย 2,204 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 2,185 ราย และทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย จํานวน 19 ราย ผลการดําเนินงาน 2,948 ราย ประกอบดวย ฝกอบรม จํานวน 2,929 ราย และทุนศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย จํานวน 19 ราย

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ รอยละของระดับการนําความรูทไี่ ดรับจากการฝกอบรมไปใชประโยชน ในการปฏิบัตงิ าน เปาหมาย รอยละ 70 ผลการดําเนินงาน รอยละ 74.35 สถาบันเกษตราธิการ ไดดําเนินการติดตามประเมินผลการฝกอบรมหลักสูตรประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2553 ในหลักสูตรทีส่ ถาบันเกษตราธิการกําหนดไว จํานวน 16 หลักสูตร โดยพิจารณาจาก 1. หลักสูตรที่ดําเนินการแลวเสร็จ สามารถนําความรูไปใชไดทันทีเมื่อกลับไปปฏิบัติงาน 2. หลักสูตรที่ใชงบประมาณจํานวนมาก กําหนดระยะเวลาในการติดตามประเมินผลอยางนอย 3 เดือนหลังการจัดฝกอบรมเสร็จสิ้น โดยสอบถามจากผูเขารับการฝกอบรมทั้งหมดของหลักสูตรที่กําหนด เกี่ยวกับระดับประโยชนในการนําความรู ไปปรับใชในการปฏิบัตงิ าน ดวยแบบสอบถามแบบ 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และไมมี ใหคะแนน 4,3,2,1 และ 0 ตามลําดับ ผลการประเมิน จากทั้ง 16 หลักสูตร อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 2.974 รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


สรุปผลการดําเนินงานที่สําคัญ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


3.1 การพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ ไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตร และสหกรณ ด ว ยการฝ ก อบรม/สั ม มนา จํา นวนรวมทั้ ง สิ้ น 31 หลั ก สู ต ร 40 รุ น ผู ไ ด รั บ การ ฝ ก อบรมรวม 2,952 คน จากเปาหมาย 2,185 คน ประกอบดวย 3.1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการ 3.1.2 การเสริมสรางความรู ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนในการปฏิบัตงิ านของบุคลากร 3.1.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ตารางสรุปผลการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม/สัมมนา หลักสูตร 1. การเพิ่มประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการ 1.1 นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง รุนที่ 53 - 54 1.2 นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง รุนที่ 44 - 47 1.3 การพัฒนาผูบังคับบัญชาระดับตน รุนที่ 11 1.4 เทคนิคการพัฒนาผูใตบังคับบัญชา 1.5 7 อุปนิสัยของผูมีประสิทธิภาพสูง 1.6 การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงานการ ตรวจสอบการดําเนินงาน 1.7 การประเมินผลการปฏิบัติราชการตาม พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 1.8 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การถายทอดตัวชี้วัดระดับองคกรสูระดับ รายบุคคล 1.9 การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล 1.10 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของคณะทํางานจัดการความรู สป.กษ. 2. การเสริมสรางความรู ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2.1 การพัฒนาสมรรถนะดานการเงินบัญชีและพัสดุ 2.2 การกําหนดเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม 2.3 การเตรียมความพรอมเพื่อสอบแขงขันรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงานของ กระทรวงการตางประเทศ 2.4 ทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2.5 โครงการพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดานคอมพิวเตอร (8 หลักสูตร) 2.6 การสื่อสารประสานงานและรวมมือเพื่อความสําเร็จในองคกรอยางมี ประสิทธิภาพ 2.7 การเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรในเวทีทวิภาคีและพหุภาคี 2.8 การเสริมสรางจริยธรรมและจรรยาขาราชการพลเรือน 2.9 การพัฒนาขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ 2.10 การจัดทําเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ 2.11 การพัฒนาสมรรถนะดานงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ 2.12 เทคนิคการเปนพิธีกร 2.13 การพัฒนาสถาบันเกษตราธิการใหเปนมืออาชีพ 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวม 31 หลักสูตร

จํานวน รุน

จํานวน วัน

จํานวนผูเขา ฝกอบรม

17 2 4 1 2 3 1

217 80 104 12 4 3 5

1,780 202 434 82 140 93 70

1 1

1 4

204 357

1 1 22 1 1 3

2 2 102 3 3 14

139 59 1,092 130 50 59

1 8

10 40

31 330

1

2

114

1 1 1 1 1 1 1 1 1 40

4 3 12 3 3 2 3 3 3 322

35 83 55 50 96 21 38 80 80 2,952

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


รอยละ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๐

3.1.1 การเพิ่มประสิทธิภาพ ดานการบริหารจัดการ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๑

โครงการฝกอบรมหลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสูง รุนที่ ๕๓ – ๕๔ วัตถุประสงค ๑. เพื่ อ ให นั ก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ร ะดั บ สู ง มี วิ สั ย ทั ศ น มี ส มรรถนะและ ขีดความสามารถสูง สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง เปนกลไกของรัฐที่ขับเคลื่อนและรองรับภารกิจหนาที่ ความรับผิดชอบที่เพิ่มมากขึ้นในการบริหารราชการแผนดิน ๒. เพื่อเสริมสรางสภาวะผูนําใหเกิดขึ้นสําหรับนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง ยุคใหม สามารถสรางหรือนําการเปลี่ยนแปลง และมีความพรอมดานบริหารจัดการตามแนวทางการพัฒนา องคการใหประสบความสําเร็จและเปนรูปธรรม ๓. เพื่อปรับกระบวนทัศนทางความคิด เปดมุมมองของนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับสู ง ใหก วางขวางมากยิ่งขึ้น พัฒนาและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขง ขันรองรับ การปฏิบัติร าชการ ในเชิงรุกและรับ ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ๔. เพื่ อ เป นผู มี คุ ณธรรมและจริ ยธรรม เป นตั วอย างที่ ดี ของข าราชการโดยถือ เป นแบบอย างที่ ดี แกสาธารณชน ๕. เข าใจและสามารถพั ฒ นากระบวนการเครื อ ข าย (Network) และระบบพั น ธมิ ตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นใหแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ กลุมเปาหมาย เปนขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่มีคุณสมบัติดังนี้ ๑. ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับสูง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ และประเภททั่วไประดับทักษะ พิเศษ ๒. ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตน ประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ และประเภท ทั่วไประดับอาวุโส หรือเทียบเทามาแลวไมนอยกวา ๒ ป (นับถึงวันเปดการฝกอบรม) ๓. ยัง ไม เ คยผ านการฝ ก อบรม หลั ก สู ตร นัก บริ ห ารการพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ ระดับ สู ง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือหลักสูตร การพัฒนานักบริหารระดับกลาง ของสํานักงาน ก.พ. มากอน วิธีการ 1. กิจกรรมกลุม สัมพันธ และการปจฉิมนิเทศ 2. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณกบั นักบริหารทีป่ ระสบความสําเร็จและเปนที่ยอมรับ 3. การบรรยายวิชาการ และการบรรยายพิเศษโดยผูทรงคุณวุฒิ (Executive Forum) 4. การอภิปรายกลุม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณระหวางผูเขารับการฝกอบรม 5. การเสริมสรางประสบการณนักบริหารเชิงประจักษ (การศึกษาดูงานในประเทศ) 6. การเรียนรูโดยการปฏิบัติ (Action Learning) จากการศึกษาวิจัยกลุม (Group Project) ระยะเวลา

จํานวน 40 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๕๓ ระหวางวันที่ ๒ กุมภาพันธ – ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๓ รุนที่ ๕๔ ระหวางวันที่ ๒๕ พฤษภาคม – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๒

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๒๐๒ คน นักบริหารระดับ สูงสามารถปรับ เปลี่ ยนกระบวนทัศน ทั ศนคติที่ สรางสรรค มี คุณธรรม จริยธรรม มีความเปนผูนํามืออาชีพและเปนแบบอยางที่ดี สามารถยกระดับคุณภาพงานและขับเคลื่อนการปฏิบัติงานของ องคกรใหเปนไปตามวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถพัฒนากระบวนการเครือขาย (Network) และระบบพั นธมิตร (Partner) เพื่อ เพิ่ม พลั งการทํ างานใหมีป ระสิทธิภาพยิ่ง ขึ้นใหแกก ระทรวง เกษตรและสหกรณ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๓

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๔

โครงการฝกอบรม หลักสูตร นักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ ระดับกลาง รุนที่ ๔๔ – ๔๗ วัตถุประสงค เพื่อใหนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับกลาง ๑. สามารถในการถายทอดนโยบายจากระดับสูงไปสูการปฏิบัติในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบ ๒. มีความสามารถในการพัฒนาหนวยงานใหมีแผนงาน และวิธีการดําเนินงานที่ชัดเจน ๓. เปนผูนําทีมงานและบริหารงานไดอยางมืออาชีพ ๔. มีพฤติกรรมที่สะทอนคุณธรรมและจริยธรรม ที่เปนแบบอยางที่ดีสําหรับทีมงาน กลุมเปาหมาย เปนขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ผูดํารงตําแหนงประเภททั่วไป ระดับอาวุโส หรือ ๒. ผูดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการ (ซึ่ งเคยดํารงตําแหนงระดับ ๗ หรือเคยดํารง ตําแหนงระดับ ๖ มาแลวไมนอยกวา ๓ ป ทั้งนี้นับถึงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑) หรือ ๓. พนักงานรัฐวิสาหกิจที่ดํารงตําแหนงระดับ ๗ หรือเทียบเทา ทั้งนี้ ผูมีคุณสมบัติตามที่หลักสูตรกําหนดตองไมเคยผานหลักสูตรนักบริหารระดับกลางของสํานักงาน ก.พ. หรือกระทรวงเกษตรและสหกรณมากอน และสามารถเขารับการฝกอบรมไดตลอดทั้งหลักสูตร วิธีการ ประกอบดวย กิจกรรมกลุมสัมพันธ การบรรยาย การอภิปราย การบรรยายพิเศษ โดยผูท รงคุณวุฒิ (Executive Forum) การแบงกลุม ฝกปฏิบัติ กรณีศึกษา กิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ การศึกษาดูงานในสวนภูมิภาค การพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรม และการปจฉิมนิเทศ ระยะเวลา

จํานวน 26 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๔๔ ระหวางวันที่ ๖ มกราคม – ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ รุนที่ ๔๕ ระหวางวันที่ ๒ มีนาคม – ๗ เมษายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๔๖ ระหวางวันที่ ๒๘ เมษายน – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๔๗ ระหวางวันที่ ๑๙ พฤษภาคม – ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๕

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ทั้งสิ้น ๔๓๔ คน ผูผานการฝกอบรมไดรับความรู ความเขาใจในวิธีการมอง การคิดและพัฒนาวิสัยทัศน สามารถนําไป ปฏิบัติและบริหารงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของทีมงานและองคการไดสามารถถายทอดนโยบายจากระดับสูง ไปสูการปฏิบัติในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบ และสามารถพัฒนากระบวนการเครือขาย (Network) และระบบ พันธมิตร (Partner) เพื่อเพิ่มพลังการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นใหแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๖

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๗

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาผูบงั คับบัญชาระดับตน รุนที่ ๑๑ วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม 1. มี ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ บทบาทหน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของผู บั ง คั บ บั ญ ชาระดั บ ต น ที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได 2. มีทัศนคติที่ดีในการทํางานรวมกับผูอื่นสามารถทํางานในลักษณะทีมงานไดอยางเหมาะสม 3. สามารถวิเคราะหพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านของตนเองและเพื่อนรวมงาน และนําไปปรับใชในการ สรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. ไดแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานระหวางกัน และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต กลุมเปาหมาย ขาราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ปฏิบัติงานในประเภทตําแหนงวิชาการระดับชํานาญการ และประเภทตําแหนงทั่วไป ระดับชํานาญงาน ที่ดํารงตําแหนงในระดับ ๖ ไมนอยกวา ๑ ป (กอนวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑) จํานวน ๗๕ คน วิธีการ การฝกอบรมประกอบดวยกิจกรรม “กาวสูฝนรวมพลังแหงความเปนเลิศ (To be the Best Team Member)” การบรรยายวิชาการและฝกปฏิบัติ กรณีศึกษา การจัดทํารายงานกลุม ศึกษาดูงานในสวนภูมิภาค และการปจฉิมนิเทศ ระยะเวลา จํานวน 12 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๗ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรมจํานวน ๘๒ คน ผูผานการฝก อบรมมี ความรูเ กี่ยวกับบทบาทหนาที่ ของผูบัง คับ บัญชาระดับตนไปใชในการปฏิบัติงาน ได สามารถทํ างานในลักษณะทีมงานไดอ ยางเหมาะสม และสามารถสรางทีมปฏิบัติงานของตนเองไดอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี สั ม พั น ธภาพที่ ดี ร ะหว า งกั น เพื่ อ การติ ด ต อ ประสานงานระหว า งหน ว ยงานได อ ย า ง มีประสิทธิภาพ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๘

โครงการฝกอบรม หลักสูตร เทคนิคการพัฒนาผูใตบังคับบัญชา วัตถุประสงค เพื่อใหผูผานการฝกอบรม 1. มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานที่จําเปนในการสอนงาน การเปนพี่เลี้ยง การมอบหมายงาน การใหคําปรึกษาแนะนําที่ดี และมีประสิทธิภาพ 2. ได ฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารสอนงานต า งลํ า ดั บ ขั้ นตอนและเทคนิ ค ที่ สํ า คั ญ ของกระบวนการสอนงาน การมอบหมายงาน และการใหคําปรึกษา ในระดับที่สามารถนําไปปฏิบัติไดทันทีหลังสําเร็จการฝกอบรม กลุมเปาหมาย ขา ราชการตั้ ง แต ร ะดั บ หั ว หน าส ว น/ฝ า ย/งาน ขึ้ น ไป ในสั ง กั ด สํ านั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตร และสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน ๒ รุน วิธีการ บรรยาย กรณีศึกษา ฝกปฏิบัติโดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ระยะเวลา จํานวน 2 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๐ เมษายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๒ ระหวางวันที่ ๓ – ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๙๒ คน ผูผานการฝกอบรม สามารถนําความรูที่ไดรับไปพัฒนาศักยภาพผูใตบังคับบัญชา และสามารถถายทอด ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาผูใตบังคับบัญชาใหแกบุคลากรในกอง/สํานักได

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๑๙

โครงการฝกอบรม หลักสูตร ๗ อุปนิสัยของผูมีประสิทธิภาพสูง วัตถุประสงค ๑. เพื่อชวยสรางแรงบันดาลใจในการเปนแบบอยางในสิ่งที่ถูกตองและสรางการยอมรับในความเปนผูนํา ๒. เพื่อแกไขปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมในเชิงบวก พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ๓. เพื่ อ สามารถลดวิก ฤติก ารณ ในการทํ างานด วยการมี ทิ ศทางที่ ชัดเจนและการบริ ห ารเวลาที่ มี ประสิทธิผล ๔. เพื่อชวยเสริมสรางความไววางใจในระดับสูง สามารถบรรลุถึงผลลัพธที่ตองการจากการสื่อสารที่มี ประสิทธิผล เปนการลดความขัดแยงที่ไมจําเปนและสงเสริมความเขาใจในทีมงานมากขึ้น ๕. เพื่อสามารถทํ างานร วมกั นเปนที ม โดยตั้งอยูบนพื้นฐานของการเคารพและเห็ นคุณคาของความ แตกตาง ในแตละบุคคล ๖. เพื่อสรางความมีประสิทธิผลมากขึ้น ทั้งชีวิตสวนตัวและชีวิตการงาน ๗. เพื่อใหผู เขาอบรมไดนําหลักการของ ๗ อุปนิสัยของผู มีประสิทธิผลสูง มาพัฒนาภาวะผูนําของ ตนเองสามารถเปนแบบอยางแกผูอื่น เปนการเสริมสรางภาวะผูนําระดับบุคคล (Personal Leadership) และ ภาวะผูนําระหวางบุคคล (Interpersonal Leadership) กลุมเปาหมาย ผูอํ านวยการกอง/สํ านัก ในสังกั ดสํ านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูชวยผู อํ านวยการศูนย อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาพใต กระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๑๘ คน เกษตรและสหกรณจังหวัด จํานวน ๖๐ คน และหัวหนากลุม/ฝาย/งาน ในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๑๗ คน รวม ๙๕ คน วิธีการ ดําเนินการอบรมดวยการฝกปฏิบัติการ (workshop) แบบตอเนื่อง เพื่อมุงผลลัพธการนําไปใชจริง โดย วิทยากร (Facilitator) เปนผูบรรยายเนื้อหาและหลักการสลับกับวีดีทัศน รวมถึงใหผูเขารับการอบรมวิเคราะห ขอมูลจากกรณีศึกษา ระดมสมอง และแลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน เพื่อสามารถนําหลักการไปปรับใชกั บ ภารกิจหลัก ตลอดจนนําเสนอผลงานตอผูบริหารอยางเปนรูปธรรม ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๖ – ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๓ รุนที่ ๒ ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๑ กันยายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๓ ระหวางวันที่ ๒๙ กันยายน – ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวนทั้งสิ้น ๙๓ คน ผูผานการฝกอบรมสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง และเพิ่มขีดความสามารถดานภาวะการณเปน ผูนํา และการนําพาทีมงานตางๆ ในองคกรใหเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดตามวัตถุประสงคขององคกรที่ไดกําหนดไว

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๐

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงาน การตรวจสอบการดําเนินงาน วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม ๑. มี ความสามารถในการประเมิ นความเสี่ ยงของการบริ ห ารงานตรวจสอบ และความเสี่ ยงของ แผนงาน/โครงการที่ตรวจสอบ รวมทั้งความเสี่ยงของผูตรวจสอบ ๒. ไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ และทักษะในการวิเคราะหขอมูลหลักฐานที่ไดจากการตรวจสอบ ๓. ไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ และทักษะในการนําขอตรวจพบที่ได จากการตรวจสอบมาสรุปเพื่อ นําเสนอปญหาที่พบ สาเหตุของปญหา ผลกระทบและแนวทางแกไขในรายงานการ ตรวจสอบ ๔. ไดรวมอภิปราย เสนอแนะขอคิดเห็ น และแลกเปลี่ยนประสบการณจริ ง ในกาวิเ คราะห ขอมู ล การประเมินความเสี่ยง และเขียนรายงานการตรวจสอบการดําเนินงาน ๕. สามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานการตรวจสอบการดําเนินงานไดอยางถูกตอง และเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน กลุมเปาหมาย ผูตรวจสอบภายในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๗๐ คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย และจัดทํากรณีศึกษา ระยะเวลา

จํานวน 5 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑ – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๗๐ คน ผูเขารับการฝกอบรม เกิดความรู ความเขาใจ และสามารถประเมินความเสี่ยง วิเคราะหขอมูลหลักฐาน จากการตรวจสอบไดอ ยางถูก ตอ ง เหมาะสม รวมทั้ง สามารถนําขอ ตรวจพบที่ ไดจ ากการวิเ คราะห ขอ มู ล หลักฐานนั้นมาสรุป เรียบเรียง และนําเสนอในรายงานการตรวจสอบเกี่ยวกับสภาพปญหา สาเหตุของปญหา ผลกระทบ และข อ เสนอแนะที่ มี อ งค ป ระกอบเนื้อ หาถู ก ต อ ง ครบถ วน น าเชื่อ ถื อ และเป นที่ ยอมรั บ ใน เชิงวิชาการ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๑

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตาม พ.ร.บ.ระเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูผานการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจในหลักการสํ าคัญของการประเมินผลการปฏิบั ติ ราชการตาม พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ 2. เพื่อ ให ผู ผานการฝ กอบรมมี ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกั บการกํ าหนดตัวชี้วัด และการถายทอด ตัวชี้วัดระดับองคกรสูระดับบุคคล กลุมเปาหมาย บุคลากรสวนกลางในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดแก ผูอํานวยการกอง/สํานัก ผูปฏิบัติระดับหัวหนาในทุกกลุม/ฝาย และผูใตบังคับบัญชาในกลุม/ฝาย จํานวน 200 คน วิธีการ บรรยาย ระดมความคิดเห็น ระยะเวลา

จํานวน 1 วันทําการ วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๒๐๔ คน ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในการถายทอดความรูใหแกบุคลากรในกอง/สํานัก และชวยใหบุคลากรที่ไดรับการถายทอดสามารถจัดทําแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการได

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๒

โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การถายทอดตัวชี้วัดระดับองคกรสูร ะดับรายบุคคล วัตถุประสงค เพื่อทบทวนและปรับปรุงตัวชี้วัดรายบุคคลรายของผูเขารับการอบรมเปนรายกอง/สํานัก ซึ่งจะทําใหผู เขาอบรมสามารถกําหนดตัวชี้วัดไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับตําแหนงและหนาที่ที่รับผิดชอบ รวมถึงสะทอน ผลการปฏิบัติราชการได กุลมเปาหมาย ครั้งที่ ๑ บุคลากรสวนกลางในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑๘ กอง/สํานัก ครั้งที่ ๒ ผูเขารับการอบรมในครั้งที่ ๑ และบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่สนใจ วิธีการ ฝกปฏิบัติจากขอมูลจริง บรรยาย นําเสนอผลการฝกปฏิบัติ ระยะเวลา

จํานวน 4 วันทําการ ครั้งที่ ๑ จํานวน ๓ วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๕ - ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ครั้งที่ ๒ จํานวน ๑ วันทําการ วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๒

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น ๓๕๗ คน 1. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการไปใชในการพิจารณา แตงตั้ง และเลื่อนเงินเดือนไดจริง 2. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในการถายทอดความรูให แกบุคลากรในกอง/สํานัก และชวยใหบุคลากรที่ไดรับการถายทอดสามารถจัดทําแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการได

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๓

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจวิธีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลแนวใหม ที่สอดคลองกับสมรรถนะและการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล 2. เพื่อ ใหผู เขารับการฝกอบรมเขาใจความสัม พันธของเสนทางการพัฒ นาสมรรถนะกับการจั ดทํ า แผนพัฒนารายบุคคล 3. เพื่ อ ให ผู เ ขา รั บ การฝ ก อบรมสามารถนํ า ความรู ก ลั บ ไปจั ดทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คลร ว มกั บ ผูใตบังคับบัญชาไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อใหไดแผนพัฒนารายบุคคลของแตละหนวยงานสําหรับใชเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากร ของ สป.กษ. ที่สอดคลองกับความจําเปนของแตละบุคคล กลุมเปาหมาย ผูอํานวยการสํานัก/กอง เกษตรและสหกรณจังหวัด หัวหนากลุม/ฝาย และผูที่เกี่ยวของ รวมจํานวน 150 คน

วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และกรณีศึกษา ระยะเวลา

จํานวน 2 วันทําการ ระหวางวันที่ 8 – 9 กันยายน 2553

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น 139 คน ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูไปจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลรวมกับผูใตบังคับบัญชาไดอยาง เหมาะสม และหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล เพื่อนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากร

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๔

โครงการฝกอบรม หลักสูตร โครงการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบตั ิงานของคณะทํางานจัดการความรู สป.กษ. วัตถุประสงค 1. เพื่ อให ผูเ ขารวมประชุม เพิ่ มพู นความรู ความเขาใจในแนวทางการจัดการความรู (Knowledge Management) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. ฝ ก ป ฏิ บั ติ ใน ก าร จั ดก าร ควา ม รู ข อ งห น วย งา น ส า มา ร ถดํ า เนิ นกิ จ กร ร มต า มแ ผ น การจัดการความรู สป.กษ. และแผนการจั ดการความรูของหนวยงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2553 ไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถจัดทําหลักฐาน / เอกสารตางๆ ที่แสดงถึงการดําเนินการของตัวชี้วัดได อยางถูกตอง ครบถวนตามที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด กลุมเปาหมาย คณะทํางานจัดการความรูและผูเกี่ยวของของหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ จํานวน 60 คน วิธีการ อภิปราย ฝกปฏิบัติ นําเสนอผลการฝกปฏิบัติและศึกษาดูงาน ระยะเวลา

จํานวน 2 วันทําการ ระหวางวันที่ 9 - 10 มีนาคม 2553

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน 59 คน ผูเขาร วมประชุมส วนใหญ เพิ่ มพูนความรู ความเขาใจในแนวทางการจั ดการความรู ไดแลกเปลี่ยน เรียนรูตามแผนการจัดการความรู สป.กษ. ป 2553 และสามารถจัดเตรียมหลักฐาน/เอกสารตางๆ ที่แสดงถึง การดําเนินการของตัวชี้วัดประจําป 2553 ไดอยางถูกตอง ครบถวนตามที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๕

3.1.2 การเสริมสรางความรู ทักษะ และสมรรถนะ ที่จําเปนในการปฏิบัติงานของบุคลากร

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๖

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาสมรรถนะดานการเงินบัญชีและพัสดุ วัตถุประสงค ๑. เพื่อให เจาหนาที่ ผูปฏิบัติงานดานการเงิน และพัสดุภาครั ฐ ไดเขาใจถึง ความสําคัญ เกี่ยวกั บการ บริหารงบประมาณ ระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุ ๒. เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน มีโอกาสไดเสนอแนะปญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานและไดแนวทาง ที่สามารถนําไปปฏิบัติงานดานระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุ ไดอยางถูกตอง กลุมเปาหมาย บุ คลากรที่ ป ฏิบั ติง านด านการเงิ นบั ญ ชีและพั ส ดุ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้ ง ส วนกลาง และสวนภูมิภาค จํานวน 120 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๔ – ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๒

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๑๒๖ คน ๑. ผูเขารับการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะดานระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุไปประยุกต ใชในการปฏิบัติงานจริงได ไดอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตองตามระเบียบ หลักการ ๒. ผูผานการฝกอบรมสามารถบอก ชี้แนะระเบียบการเงินบัญชีและพัสดุ ใหกับเพื่อนรวมงาน ไดอยางถูกตอง

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๗

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การกําหนดเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม วัตถุประสงค 1. เพื่อเพิม่ พูนความรู ความเขาใจในเรื่องระบบการประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากบุคคล 2. เพื่อรวมกันกําหนดรางเกณฑประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ และคูมือการประเมิน 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณและความคิดเห็นดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล กลุมเปาหมาย ผูรับผิดชอบดานการจัดทําเกณฑประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคลหรือผูที่รับผิดชอบในการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณและผูที่เกี่ยวของ จํานวน 49 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย แบงกลุมระดมความคิดเห็น ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2553

ผลการดําเนินงาน มี ผู ผ า นการฝ ก อบรม รวมทั้ ง สิ้ น 50 คน โดยผู ผ า นการฝ ก อบรมมี ความรู และเข าใจระบบ การประกันคุณภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และรวมกันระดมความคิดเห็นเพื่อรางเกณฑประกันคุณภาพ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๘

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การเตรียมความพรอมเพือ่ สอบแขงขันรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงาน ของกระทรวงการตางประเทศ วัตถุประสงค ๑. เพื่อ พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดานทัก ษะภาษาอัง กฤษ ทั้ง ๔ ทักษะ ไดแก การฟง พูด อาน และเขียน ใหพรอมที่จะสอบแขงขันเพื่อรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงาน ทั้ง ในประเทศและตางประเทศ ของสํานัก งานความร วมมื อ เพื่อ การพั ฒ นาระหวางประเทศ กระทรวงการ ตางประเทศ ๒. เพื่ อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่เ กี่ยวขอ งกับการใชทัก ษะภาษาอังกฤษ และเปดโอกาสให มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณระหวางวิทยากรกับผูเขารับการฝกอบรม รวมทั้งระหวางผูเขารับ การฝกอบรมดวยกัน กลุมเปาหมาย ขาราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๓ รุน ๆ ละ ๒๐ คน รวมทั้งสิ้น ๖๐ คน วิธีการ บรรยาย ฝกทักษะ Reading, Listening, Speaking และ Writing ระหวางการฝกอบรมจะมี การประเมินผูเ ขาฝกอบรมในทุกทักษะ ระยะเวลา

จํานวน 10 วันทําการ ตอรุน ระยะที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๑ - ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓ ระยะที่ ๒ ระหวางวันที่ ๑ – ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ระยะที่ ๓ ระหวางวันที่ ๒๔ พฤษภาคม – ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผผู านการฝกอบรม รวมทัง้ สิ้น ๖๐ คน กระทรวงเกษตรและสหกรณไดกําลังคนที่มีขีดความสามารถดานภาษาอังกฤษและมีความพรอม ที่จะสมัคร เพื่อคัดเลือกขอรับทุนรัฐบาลศึกษา ฝกอบรม และดูงานทั้งในประเทศและตางประเทศ ขาราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณมีศักยภาพในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อเรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ ในการปฏิบัตงิ าน และประสานความรวมมือกับตางประเทศ สามารถรองรับนโยบายกระทรวงและรัฐบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๒๙

โครงการฝกอบรม หลักสูตร ทักษะการใชภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดพัฒนาความรู ทักษะ ดานการพูด การอาน การเขียน และการติดตอ สื่อสารภาษาอังกฤษไดอยางถูกตอง 2. เพื่อเตรียมบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ให มีความพรอ มสําหรับการประสานงาน กับตางประเทศ กลุมเปาหมาย บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่จําเปนตองใชภาษาอังกฤษในการปฏิบัตงิ าน วิธีการ ฝกทักษะการฟง พูด อาน เขียน โดยใชสื่อประกอบบทเรียน ระยะเวลา

จํานวน 10 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๕ – ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๓๑ คน ผู ผ า นการฝ ก อบรมมี ทั ก ษะ ความสามารถด า นภาษาอั ง กฤษในการทํ า งานและติ ด ต อ สื่ อ สาร กับชาวตางประเทศไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๐

โครงการพัฒนาบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณดานคอมพิวเตอร วัตถุประสงค ๑. เพื่ อ ให ผู รั บ การฝ ก อบรมมี ความรู ความเข าใจ หลั ก การเหตุผ ล เนื้ อ หาวิชา การใช ง าน คอมพิวเตอรเครื่องมือและโปรแกรมที่จําเปน เพื่อประยุกตใชตามบทบาท ภารกิจ และการปฏิบัติงานของสวน ราชการ ๒. เพื่อสงเสริม สนับสนุนใหขาราชการไดพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม และสามารถนําความรูปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อใหผูรับการฝกอบรม ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณระหวางกัน ๔. เพื่อสรางบุคลากรพี่เลี้ยงในการขยายขอบเขตการฝกอบรมและพัฒนาใหแตละหนวยงาน ๕. เพื่อลดปญหาการใชงาน การบํารุงรักษา คาซอมบํารุง และประหยัดงบประมาณ หลักสูตร/กลุมเปาหมาย/ระยะเวลา หลักสูตร รุน/คน/วัน กลุมเปาหมาย ผูปฏิบัตงิ านดานวิเคราะหนโยบายฯ ๑. การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านเกี่ยวของในสังกัด กษ. ขอมูลทางสถิติ ระหวางวันที่ ๒๒- ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านดานการเงินและบัญชี, ผูปฏิบัตงิ าน ๒. การจัดการขอมูลโดยใชโปรแกรม เกี่ยวของในสังกัด กษ. Advanced Excel ระหวางวันที่ ๘ – ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ๓. การแปลคาขอมูลทางสถิติ ระหวาง ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านดานวิเคราะหนโยบายฯ, วันที่ ๑๕ – ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓ ผูปฏิบัตงิ านเกี่ยวของและผานการอบรม หลักสูตรเบือ้ งตนแลว ๔. การสรางสื่อเผยแพร ระหวางวันที่ ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัติดานเผยแพร ประชาสัมพันธ ธุรการ ๒๒ – ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ผูรบั ผิดชอบการจัดการความรูองคกร, ผูปฏิบัตงิ านเกี่ยวของ ในสังกัด กษ. ๑/๔๐/๕ ผูปฏิบัตงิ านดานการบริหารจัดการระบบขอมูล ๕. การใชโปรแกรมสารสนเทศทาง สารสนเทศในสังกัด กษ. ภูมิศาสตร (GIS) ระหวางวันที่ ๒๙ มีนาคม – ๒ เมษายน ๒๕๕๓ ๑/๔๐/๕ ผูดูแลระบบฐานขอมูล และผูปฏิบัตงิ าน ๖. การบริหารจัดการฐานขอมูลและ เกี่ยวของในสังกัด กษ. วิเคราะหขอมูลการเกษตรและสหกรณ ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๓ เมษายน ๒๕๕๓ ผูรบั ผิดชอบดานการบริหารจัดการขอมูลใน ๗. การติดตั้งและจัดการระบบ windows ๑/๔๐/๕ สังกัดกระทรวงฯ Server ๒๐๐๓ ระหวางวันที่ ๒๖ – ๓๐ เมษายน ๒๕๕๓ ผูปฏิบัตงิ านดานคอมพิวเตอร, ผูไดรบั ๘. การดูแลและบํารุงรักษาคอมพิวเตอร ๑/๔๐/๕ มอบหมาย ผูป ฏิบัติงานเกี่ยวของ ในสังกัด กษ. สํานักงาน (PC Management) ระหวาง วันที่ ๑๗ – ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๑

วิธีการ บรรยาย สาธิต การใช ซ อฟท แ วร และการฝ ก ปฏิบั ติ จ ริ ง กั บ เครื่ อ งคอมพิ วเตอร เ ป นรายบุ ค คล โดยใชคอมพิวเตอร ๑ เครื่อง ตอ ๑ คน สถานที่ฝกอบรม ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชั้น ๓ สถาบันเกษตราธิการ ผลการดําเนินการ มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น จํานวน ๑๑๔ คน ๑. ผูผ านการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจ หลัก การเหตุผล เนื้อหาวิชา การใชง านคอมพิวเตอร เครื่องมือและโปรแกรมที่จําเปน เพื่อประยุกตใชตามบทบาท ภารกิจ และการปฏิบัติงานของสวนราชการ ๒. ผูผานการฝกอบรมสามารถพัฒนาทักษะ การใชเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสมัยใหม และสามารถ นําความรูปรับใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓. ผูผานการฝกอบรมสามารถถายทอดความรู ทักษะการใชงานคอมพิวเตอรแกหนวยงานตนเองได

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๒

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การสื่อสารประสานงานและรวมมือเพื่อความสําเร็จ ในองคกรอยางมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค 1. เพื่ อ ให ผู เ ขารั บ การฝ ก อบรมไดพั ฒ นาความรูความเขาใจ ทั ศนคติและพฤติก รรม ในหลั ก การ ประสานงานและการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดพัฒนาทักษะในการประสานงานและการสื่อสารระหวางบุคคล และ ในองคกร 3. เพื่ อ พั ฒนาทั ก ษะในทํ างานรวมกั นเป นที ม งานที่ ป ระสบความสํ าเร็ จ และเพิ่ ม พู นสั ม พั นธภาพ เพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต 4. เพื่อมุงสงเสริมใหผเู ขารับการอบรมนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ป ฏิบัติง านดานการติดตอ ประสานงาน ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 45 คน ตอรุน รวมทั้งสิ้น 90 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา กรณีศึกษาและฝกปฏิบัติ ระยะเวลา

จํานวน 2 วันทําการ ตอรุน รุนที่ ๑ ระหวางวันที่ ๑๔-๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ รุนที่ ๒ ระหวางวันที่ ๒๓-๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น จํานวน ๑๑๔ คน ๑. ผู ผ า นการฝ ก อบรมสามารถพั ฒ นาความรู ความเขา ใจ ทั ศ นคติ และพฤติก รรม ในหลั ก การ ประสานงานและการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ๒. ผู ผ า นการฝ ก อบรมสามารถพั ฒ นาทั ก ษะในการประสานงานและการสื่ อ สารระหวา งบุ คคล และในองคกร ๓. ผูผานการฝกอบรมสามารถพัฒนาทักษะในทํางานรวมกันเปนทีมงานที่ประสบความสําเร็จ และ เพิ่มพูนสัมพันธภาพเพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคตได ๔. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๓

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตรในเวทีทวิภาคีและพหุภาคี วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของบุคลากรผูปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับการเจรจาตอรองและการประสาน ความรวมมือระหวางประเทศใหมีความรู ความเขาใจ และทักษะในดานการเจรจาตอรองการคาสินคาเกษตร และประสานความรวมมือทางวิชาการเกษตรระหวางประเทศใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กลุมเปาหมาย ขาราชการและเจาหนาที่ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณผูป ฏิบั ติห นาที่เ กี่ยวของกับ การประชุม และการคาสินคาเกษตรระหวางประเทศ จํานวน 30 คน วิธีการ บรรยาย แบงกลุมฝกปฏิบัติและนําเสนอ ระยะเวลา

จํานวน 4 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๕ - ๒๘ มกราคม ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๓๕ คน ผู ผ า นการฝ ก อบรมมี ค วามรู ค วามเข า ใจ ทั ก ษะในการเจรจาต อ รองมากขึ้ น และนํ า ความรู ไปปรับใชในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๔

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การเสริมสรางจริยธรรมและจรรยาขาราชการพลเรือน วัตถุประสงค ๑. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีความตระหนักและมีทัศนคติที่ดี ปฏิบัติตนเปนขาราชการยุคใหมที่มี คุณธรรม จริยธรรม มุงมั่นปฏิบัติหนาที่ดวยความสุจริต ยุติธรรม มีจิตสํานึกราชการใสสะอาด ๒. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ และทักษะ เกี่ยวกับจริยธรรม จรรยา ขาราชการพลเรื อนรวมถึงเรื่อ งวินัยขาราชการและการพิทั กษระบบคุณธรรมตามพระราชบั ญญั ติร ะเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กลุมเปาหมาย ขาราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 75 คน วิธีการ บรรยาย ฝกปฏิบัติ และบําเพ็ญสาธารณประโยชน ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๑๖ - ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๒

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๘๓ คน ๑. ผู ผ านการฝ ก อบรมสามารถนํา ความรู ความเขาใจในแนวคิ ด ทั ก ษะ ที่ ไ ดรั บ ไปประยุก ตใชใ น การปฏิบั ติง านรวมถึงการส งเสริ มจริยธรรมจรรยาขาราชการพลเรื อนของสํ านัก งานปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณได ๒. ผู ผานการฝก อบรมไดตระหนัก ถึง จริ ยธรรมคุณธรรมและมีทั ศนคติที่ดีตอ การปฏิบั ติห นาที่ดวย ความสุจริต ยุติธรรม

\ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๕

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม ๑. มีความรู ความสามารถ มีจิตสํานึกในการปฏิบัติงานราชการ มีสมรรถนะและจรรยาที่เหมาะสม ในการปฏิบัติหนาที่ราชการ ๒. เพิ่ม พู นความรู ความเขาใจในเรื่ องของกฎ ระเบี ยบ หลัก เกณฑและวิธีป ฏิบั ติตาง ๆ ของระบบ ราชการ และนําไปใชในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง ๓. ปลูกฝงคานิยมและปรัชญาการเปนขาราชการที่ดีใหแกขาราชการรุนใหม ๔. สรางเครือขายขาราชการรุนใหมในการทํางานอยางบูรณาการ กลุมเปาหมาย ขาราชการที่อยูระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลาง และสวนภูมิภาค จํานวน 52 คน วิธีการ บรรยาย ฝกปฏิบัติ ระดมความคิดเห็น ศึกษาดูงาน การใชการสรุปประเด็นเนื้อหาวิชา ระยะเวลา

จํานวน 12 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒ – ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๕๕ คน ๑. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรูเกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติตาง ๆ ของ ระบบราชการและนําไปใชในการปฏิบัติงานไดถูกตอง ๒. ผู ผ า นการฝ ก อบรมได แ ลกเปลี่ ย นความรู ป ระสบการณ เ กี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านระหว า งกั น และเพิ่มพูนสัมพันธภาพ เพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานในอนาคต ๓. ผูผ านการฝ ก อบรมมี คานิยมและปรั ชญาการเปนขาราชการที่ดี มี จิ ตสํ านึก ในการปฏิบั ติง าน เพื่อราชการ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๖

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การจัดทําเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ วัตถุประสงค 1. เพื่อสรางความรู ความเขาใจในเรื่องการจัดทําเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ 2. เพื่ อ จั ด ทํ า เส น ทางการพั ฒ นาสมรรถนะประจํ า สายงานของข า ราชการในสั ง กั ด สํ า นั ก งาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. เพื่อกําหนดหลักสูตรสําหรับใชพัฒนาขาราชการที่สอดคลองกับเสนทางการพัฒนาสมรรถนะ กลุมเปาหมาย คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เกษตรและสหกรณจั งหวัด ผูแทนสายงานตาง ๆ และ ผูที่เกี่ยวของของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 50 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย แบงกลุมระดมความคิดเห็น ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ 25 – 27 มีนาคม 2553

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม รวมทั้งสิ้น 50 คน ผูผ านการฝก อบรมไดรับ ความรู ความเขาใจในเรื่ อ งการจัดทํ าเส นทางการพั ฒ นาสมรรถนะ และ ไดวางเส นทางการพัฒนาสมรรถนะสําหรับใชเป นแนวทางในการพัฒ นาขาราชการใหมี สมรรถนะตามความ คาดหวัง

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๗

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาสมรรถนะดานงานสารบรรณและการเขียน หนังสือราชการ วัตถุประสงค ๑. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมมีโอกาสเพิม่ พูนความรู ทักษะในการเขียนหนังสือราชการ และได ประสบการณดานงานสารบรรณและงานธุรการ ไดถูกตองตามระเบียบ หลักการ ๒. เพื่อมุงสงเสริมใหผเู ขารับการอบรมนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ปฏิบัติงานจริงไดอยาง มีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย ข า ราชการและผู ป ฏิ บั ติ ง านด า นงานสารบรรณและการเขี ย นหนั ง สื อ ราชการ ของสํ า นั ก งาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 100 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๓ - ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๙๖ คน ๑. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะในการเขียนหนังสือราชการ ไปประยุกตใชในการทํางาน ไดถูกตองตามระเบียบ หลักการ ๒. ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ ๓. ผูผานการฝกอบรมสามารถบอกชี้แนะการเขียนหนังสือราชการใหกบั เพือ่ นรวมงานไดอยางถูกตอง

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๘

โครงการฝกอบรม หลักสูตร เทคนิคการเปนพิธกี ร วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม มีความรู ทักษะดานพิธีกร สามารถพูด และทําหนาที่พิธีกรในงาน พิธีการตาง ๆ ไดอยางถูกตอง และมีหลักการ 2. เพื่อพัฒนาผูทเี่ ขาฝกอบรมใหเกิดความมั่นใจในการทําหนาที่พิธีกรมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งเปน การสงเสริมใหเกิดการประสานงาน การสรางเครือขาย และการแลกเปลี่ยนประสบการณ การทํางาน ระหวาง ผูเขารวมอบรมดวยกัน 3. เพื่อมุงสงเสริมใหผเู ขารับการอบรมนําความรูไปประยุกตใชในการทํางาน ปฏิบัติงานจริงไดอยาง มีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย ขา ราชการ เจ า หนา ที่ และบุ ค ลากร ของสถาบั นเกษตราธิ ก าร สํ านั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตร และสหกรณ จํานวน 20 คน วิธีการ บรรยาย อภิปราย ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา

จํานวน 2 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๘ - ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๒๑ คน ผูผานการฝกอบรมสามารถนําความรู ทักษะเทคนิคในการเปนพิธีกรไปประยุกตใชในการทํางาน ไดถูกตองเหมาะสมกับสถานะการณ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๓๙

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาสถาบันเกษตราธิการใหเปนมืออาชีพ วัตถุประสงค ๑. มีความเขาใจในหลักคิดของการพัฒนาองคกร ๒. เรียนรูหลักการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่นําองคกรไปสูเปาหมายดวยความสําเร็จ ๓. เสริมสรางคุณภาพชีวิตและความสัมพันธที่ดีใหแกบุคลากรของสถาบันเกษตราธิการ ๔. เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูเขาอบรมกับวิทยากรเกี่ยวกับการพัฒนาองคกร และการเสริมสรางคุณภาพชีวิต กลุมเปาหมาย บุคลากรของสถาบันเกษตราธิการ จํานวน ๔๐ คน วิธีการ บรรยาย สัมมนา ซักถามปญหา และฝกปฏิบัติ ระยะเวลา

จํานวน 3 วัน ทําการ ระหวางวันที่ ๑๘ - ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน ๑. ผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาองคกร กระบวนการและขั้นตอน ในการพัฒนาองคกรไปสูเ ปาหมายแหงความสําเร็จ ๒. ผูเขารับการฝกอบรมมีกิจกรรมรวมกันเปนการสรางความสัมพันธที่ดีของบุคลากรใน สถาบันเกษตราธิการ ๓. ผูเขารับการฝกอบรมมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการทํางาน สงผลตอการปฏิบัตงิ านไดอยาง มีประสิทธิภาพและบรรลุตามภารกิจขององคกร

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๐

3.1.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๑

โครงการฝกอบรม หลักสูตร การพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต บุ คลากรของสํ า นั ก งานปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ให มี ค วามรู ความเขาใจ และปรับเปลี่ยนทัศนคติ ในการดูแลรักษาสุขภาพกาย สุขภาพใจ ใหเกิดความสมดุลระหวางชีวิต และการทํ างาน ตลอดจนมี สั ม พั นธภาพที่ ดีต อ เพื่ อ นร วมงานและผู เ กี่ ย วขอ ง อั นส ง ผลให เ กิ ดการทํ างาน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลุมเปาหมาย ขาราชการ/บุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ วิธีการ บรรยาย อภิปราย สาธิต ฝกปฏิบัติ ตอบขอซักถาม ระยะเวลา

จํานวน 3 วันทําการ ระหวางวันที่ ๒๘ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓

ผลการดําเนินงาน มีผูผานการฝกอบรม จํานวน ๘๐ คน เพื่อใหผูผานการฝกอบรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดความตระหนัก มีแนวทางปรับปรุง พัฒนาคุณภาพ ชีวิตของตนเอง มีจิ ตสํานึก มี สวนร วมในการแกไขสิ่ง แวดลอ มการทํ างานใหดีขึ้น และสามารถปฏิบั ติตนได อยางเหมาะสมในการสงเสริมความรวมมือภายในองคกรและระหวางองคกร

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๒

3.2 การสงเสริมการเรียนรูด วยตนเอง 3.2.1 การจัดการความรู ของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๓

3.2 การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง สถาบั นเกษตราธิก ารมี แนวทางในการส ง เสริ มการเรียนรูดวยตนเองใน 3 ชอ งทาง ไดแก การจั ดการความรู ของสํานัก งานปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ การเรียนรูผ านสื่อ อิ เล็ กทรอนิกส และ การใหบริการหองสมุด ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 3.2.1 การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามเจตนารมณของพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 กําหนดวา “สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูในสวนราชการ เพื่อใหมีลักษณะ เป น องค ก รแห ง การเรี ย นรู  อ ย า งสม่ํ า เสมอ โดยต อ งรั บ รู  ข  อ มู ล ข า วสารและสามารถประมวลผล ความรู  ในดานตางๆ เพื่ อ นํามาประยุ ก ตใช ในการปฏิบั ติร าชการได อ ยางถูก ตอ ง รวดเร็ ว และเหมาะสม ต อ สถานการณ รวมทั้ ง ตอ งสง เสริ ม และพั ฒ นาความรู  ความสามารถ สรา งวิสั ย ทั ศ น และปรั บ เปลี่ ย น ทัศนคติของขาราชการใหเปนบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีก ารเรียนรูรวมกัน” และเพื่อใหสวนราชการ สามารถสนองตอบตอเจตนารมณของพระราชกฤษฎีกาฯ ดังกลาว และสามารถนําองคความรูที่จําเปนมาใช ในการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตรของสวนราชการเองและของประเทศไดผลสัมฤทธิ์ของงานตาม ที่คาดหวังอยางตอเนื่องและจริงจัง สํานักงาน ก.พ.ร. จึงไดกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการความรู ใหสวนราชการดําเนินการ โครงสรางคณะกรรมการและคณะทํางานดานการจัดการความรู สป.กษ. สถาบั น เกษตราธิ ก ารในฐานะเป น หน ว ยงานหลั ก ในการจั ด การความรู ข องสํ า นั ก งาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจั ดทําแผนการจัดการความรูของสํ านักงานปลั ดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ซึ่งดําเนินงานใน 2 ระดับ กลาวคือ 1. คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู โดยมีรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ ไดรับมอบหมายใหกํากับดูแลสถาบันเกษตราธิการเปนประธาน ซึ่งทําหนาที่เปนผูบริหารสูงสุดดานการจัดการ ความรู (Chief Knowledge Officer : CKO) และมีผูอํานวยการสํานัก/กอง เปนกรรมการ มีผูอํานวยการ สถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุก าร คณะกรรมการมีหนาที่ วางแผนการพัฒ นาระบบบริหารความรู จั ดทํ า แผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู และบริหารระบบดังกลาวใหเกิดเปนรูปธรรม 2. คณะทํ า งานจั ด การความรู ซึ่ ง มี ผู อํ า นวยการสถาบั น เกษตราธิ ก ารเป น ประธาน คณะทํางาน และมีผูแทนจากสํานัก/กอง เปนคณะทํางาน มีผูแทนจากสถาบันเกษตราธิการเปนเลขานุการ คณะทํ างานมีห นาที่ จัดทํ ารางแผนจัดการความรูในองคกร เสนอคณะกรรมการพัฒ นาระบบบริห ารความรู เพื่อทราบและสนับสนุนการดําเนินงานดานการจัดการความรู ดําเนินการตามแผนจัดการความรู และรายงาน ความคืบหนา ปญหา อุปสรรคของการดําเนินงานตอคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๔ การจัดการความรู สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู สป.กษ.

คณะทํางานจัดการความรู สป.กษ.

โครงสรางคณะกรรมการและคณะทํางานดานการจัดการความรู สป.กษ. ผลการดําเนินการ ในการดํ าเนิ นการตามแนวทางการจั ดการความรู อยางเปนระบบ ได ใชรู ปแบบการจั ดการความรู  (Knowledge Management Model) คือ กระบวนการจั ดการความรู  (Knowledge Management Process) โดยเชื่อมโยงดวยกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) เพื่อ จะชวยผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและเสริมสรางสภาพแวดลอม ที่จะทําใหกระบวนการจัดการความรู  สามารถเกิดขึ้นไดอยางตอเนื่อง

กระบวนการ จัดการความรู กระบวนการบริหาร การเปลี่ยนแปลง

แนวทาง การจัดการความรู

แนวทางการจัดการความรูของ สป.กษ. การกํ า หนดองคความรู เ พื่ อ จั ด ทํ าแผนการจั ดการความรู จะเลื อ กองคค วามรู ที่ จํ าเปน ตอ การบรรลุ เป าหมายตามประเด็นยุท ธศาสตรใหครบทุ ก ประเด็นยุทธศาสตร อยางนอ ย 3 องคความรู ตอ 1 ประเด็นยุทธศาสตร แลวจึงเลือกองคความรูที่จําเปนทําแผนการจัดการความรู อยางนอย 1 องคความรู ตอ 1 ประเด็นยุทธศาสตร แลวจึงเสนอแผนการจัดการความรูใหผูบริหารสูงสุดของสวนราชการ (Chief Executive Officer : CEO) และผูบริหารสูงสุดดานการจัดการความรู (Chief Knowledge Officer : CKO) เห็ นชอบ และแจ ง ให ทุ ก หนวยงานทราบและปฏิบั ติตามแผนฯ แผนการจัดการความรู สป.กษ. ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ประกอบดวย 3 แผน ดังนี้ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๕

แผนที่ 1 ความรูดานการพัฒนาความรวมมือดานการเกษตรกับตางประเทศ (สํานักการเกษตร ตางประเทศ รับผิดชอบหลัก) แผนที่ 2 ความรูดานการกําหนดชําระคืนเงินของกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกูยืมแกเกษตรกร และผูยากจน (สํานักบริหารกองทุนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรและรับเรื่องรองเรียน รับผิดชอบหลัก) แผนที่ 3 ความรู ด านการปฏิ บั ติ ก ารดา นฝนหลวง (สํ า นัก ฝนหลวงและการบิ นเกษตร รับผิดชอบหลัก) ซึ่งทั้ ง 3 แผน ประกอบดวยกิ จกรรมตามแนวทางการจัดการความรูของสํานักงาน ก.พ.ร. กําหนดไว 7 กิจกรรม ดังนี้ 1. การบงชี้ความรู - เปนการกําหนดความรูที่จําเปนเพื่อจัดทําแผน 2. การสรางและแสวงหาความรู - รวบรวมจากแหลงความรูที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ ภายนอก เพื่อจัดทําเนื้อหาใหตรงกับความตองการ 3. การจัดการความรูใหเปนระบบ - จัดแบงชนิดและประเภทของความรู เพื่อใหงายและ สะดวกตอการคนหาและใชงาน 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู - เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหา รูปแบบ ใหเปนมาตรฐาน เขาใจไดงายขึ้น 5. การเขาถึงความรู - ใหสามารถเขาไปสืบคืนขอมูลไดอยางสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ตองการ 6. การแลกเปลี่ยนความรู - เปนกิจกรรมที่สงเสริมการแลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน 7. การเรียนรู - เปนการวัดผลการนําความรูที่ไดรับวา ประยุกตใชในการปฏิบัติงานอยางไร โดยทั้ง 7 กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ฯ จะมีการติดตามผลการดําเนินงานในรอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน และ รอบ 12 เดือน โดยมีตัวชี้วัดกํากับการดําเนินงาน คือ รอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักความสําเร็จ ของการดําเนิน กิ จ กรรมตามแผนการจั ดการความรู ของสํ านั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ ประจํ า ป 2553 ซึ่งได 5 คะแนนเต็ม กลาวคือ สามารถดําเนินกิจกรรมไดครบถวนในทุกกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู ของ สป.กษ. ทั้ง 3 แผน การเขาถึงองคความรู จากแผนการจัดการความรู องคความรูทงั้ 3 องคความรู จะถูกจัดเก็บไวในเว็บไซต การจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (km.opsmoac.go.th) โดยภายใน เว็บไซตประกอบดวยเนื้อหา ดังนี้ 1. องคความรู โดยแบงประเภทองคความรู เปนรายปงบประมาณ ซึ่งแบงตามประเภทของ ความรูของสํานัก/กอง ทําใหมีความสะดวก รวดเร็วในการสืบคนขอมูล 2. ขาวประชาสัมพันธ เปนขาวประชาสัมพันธทั้งในสวนของการจัดการความรูและขาวของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 3. รายงานการประชุมและคําสั่ง 4. ภาพขาวกิจกรรมการจัดการความรู 5. กระดานแสดงความคิดเห็น (Webboard)

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๖

รูปภาพ : เว็บไซตการจัดการความรู สป.กษ. เว็บไซตการจัดการความรู สป.กษ. (km.opsmoac.go.th) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู นอกเหนือจากกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู สป.กษ. ขางตนแลว มีกิจกรรมที่สงเสริมให เกิดการเรียนรูของ สป.กษ. ดังนี้ 1) กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practices : CoP) กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ หรือ CoP เปนกิจกรรมรูปแบบหนึ่งของกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ความรูของแผนการจัดการความรู กลาวคือ กลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู และสรางองคความรูใหมๆ เพื่อชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น แม CoP จะเกิดขึ้นโดย การรวมตัวของสมาชิกที่สนใจรวมกันและจัดการกันเองแตก็ตองมีการกําหนดบทบาทที่ชัดเจนเพื่อใหการทํา ยั่งยืนในระดับหนึ่ง เชน ควรมีการยกยองชมเชยและใหการยอมรับกลุม CoP จากผูบริหารขององคกร ควรชวย สนับสนุนใหการสื่อสารระหวางสมาชิก CoP เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว พยายามชักจูงหรือทําใหสมาชิกเห็น ประโยชนในการพบปะแลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน ใหแรงจูงใจหรือรางวัลสําหรับสมาชิกที่ใหความรวมมือ และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อเปนตัวอยางแกผูสนใจตอไป กิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ดําเนินการใน 2 ระดับ ดังนี้ 1.1) CoP ระดับ สป.กษ. CoP สป.กษ. เป น กิ จ กรรมที่ เ น น การมี ส ว นร ว มของผู บ ริ ห าร เริ่ ม ดํ า เนิ น การใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2552 เรื่อง ภัยดานเทคโนโลยีและการดูแลความปลอดภัยดาน ICT ของผูใช โดยศูนย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 โดยเลือกหัวขอ CoP จากประเด็นปญหาที่ เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานหรือตองการแกไขอยางเรงดวน ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 สํานัก/กอง ผลัด กันเปนเจาภาพ จัดกิกจรรม CoP จํานวน 2 เรื่อง ไดแก

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๗

1. การปฏิบัติงานตามระเบียบงานสารบรรณ ดําเนินการเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ณ หองประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑๓๔-๑๓๕ มีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน ๕๘ คน 2. การบริ หารผลการปฏิบั ติร าชการและการเลื่ อนเงินเดือน ดําเนินการเมื่ อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ หองประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑๒๓ มีผูเขารวมกิจกรรม จํานวน ๓๐ คน

บรรยากาศกิจกรรม CoP ใน CoP สป.กษ. ทั้ง 2 ครั้ง รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (นายศักดิ์ชัย ศรีบุญ ซื่อ) ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู สป.กษ. ไดใหเกียรติเปนประธานในพิธีเปดและถายทอด ประสบการณการทํางานใหแกผูเขารวมกิจกรรม และไดรวมแลกเปลี่ยนประสบการณ รวมกับบุคลากรของ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณและสํานักงานรัฐมนตรีดวย หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม CoP ไดประเมินผลความพึงพอใจดวยแบบสอบถาม ซึ่งผล การประเมินพบวา CoP ครั้งที่ 1 ผูเขารวมกิจกรรมสวนใหญมีความพึงพอใจตอกิจกรรมในระดับปานกลาง ดวยคาเฉลี่ย ๓.๓๐ เทียบเปนคารอยละ ไดรอยละ ๖๖ และ CoP ครั้งที่ 2 ผูเขารวมกิจกรรมสวนใหญมีความ พึงพอใจตอกิจกรรมในระดับมาก ดวยคาเฉลี่ย ๓.๓๔ เทียบเปนคารอยละ ไดรอยละ ๖๖.๘ 1.2) CoP ระดับสํานัก/กอง สําหรับ CoP ระดับสํานัก/กอง หนวยงานใน สป.กษ. ไดดําเนินกิจกรรมชุมชนแลกเปลี่ยน เรียนรูระดับสํานัก/กอง อยางนอย ๑ ครั้งตอไตรมาส ซึ่งเปนการสงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูระหวาง กัน และเปนการพัฒนาองคกรอยางตอเนื่อง โดยคณะทํางานจัดการความรูของสํานัก/กอง ไดดําเนินการ CoP เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและแกไขปญหาเปนการภายในของแตละหนวยงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 มี หัวขอเรื่อง ดังนี้ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๘

1. การจัดทําคูมือการปฏิบัตงิ าน (สํานักพัฒนาระบบบริหาร) 2. รูปแบบมาตรฐานเรื่องที่จะนําเสนอคณะรัฐมนตรี (สํานักงานรัฐมนตรี) 3. คูมือการใหบริการ กระบวนการการตรวจสอบเอกสาร/ขออนุมัติ (กองคลัง) 4. การเกิดเมฆประจําถิ่นในพื้นที่ภาคตะวันออก (สํานักฝนหลวงและการบินเกษตร) 5. การจัดการความเสี่ยง (กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน) 6. หนังสือเดินทางราชการ (สํานักการเกษตรตางประเทศ) 7. การประชาสัมพันธเชิงรุก (กองเกษตรสารนิเทศ) 8. การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ (สถาบันเกษตราธิการ) 9. แนวทางการพิจารณาใหความเห็นทางกฎหมาย (สํานักกฎหมาย) 10. การปฏิบัติงานและการเฝาระวังระบบความปลอดภัยดานคอมพิวเตอรและเครือขาย และการใช social network อยางไรเพื่ อ มุ ม มองใหม กั บ การทํ างานและประชาสั ม พั นธสื่ อ สารองคก ร (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 11. คาใชจายฝกอบรม (สํานักตรวจสอบภายใน) 12. เศรษฐกิ จ พอเพี ย งตามแนวทฤษฎี ใ หม ในการพั ฒ นาการเกษตร (กองนโยบาย เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน) 2) บทความการจัดการความรูในจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ หนวยงานใน สป.กษ. ไดรวมกันเขียนบทความในมุม KM เปนรายเดือนในจดหมายขาวเกษตร และสหกรณ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรูร ะหวางสํานัก/กอง และผูทสี่ นใจ ซึ่งมีหัวขอ ดังนี้ 1. การจัดทําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (สํานักงานรัฐมนตรี) 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณกั บการเป นเจ าภาพจั ดงานวันอาหารโลก ประจํ าป 2552 และการเปนเลขานุการคณะในการเดินทางไปตางประเทศ (สํานักการเกษตรตางประเทศ) 3. การผลิตชาใบหมอนในครัวเรือน (สถาบันหมอนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนาง เจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) 4. การดําเนินงาน งานพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ (กองกลาง) 5. ระบบสมรรถนะคืออะไร (กองการเจาหนาที่) 6. วันนี้คุณประหยัดพลังงาน เพื่อตัวเอง เพื่อประเทศ เพื่อโลกของเราหรือยัง (กองคลัง) 7. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (สํานักพัฒนาระบบบริหาร) 8. อยากจัดรายการวิทยุทําอยางไร (กองเกษตรสารนิเทศ) 9. การตรวจราชการแบบบู ร ณาการ เพื่ อ มุ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ต ามนโยบายของรั ฐ บาล (สํานักตรวจราชการ) 10. องคความรูและภูมิ ปญญาจากปราชญชาวบ าน : น้ํามันไบโอดีเซล (กองนโยบาย เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน) 11. ความสําคัญของกฎหมายตอการบริหารราชการแผนดิน (สํานักกฎหมาย) รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๔๙

12. ความผิดทางอาญาตาม พ.ร.บ. คอมพิ วเตอรที่ ทุ ก คนควรทราบ (ศูนยเ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร)

ตัวอยางบทความในจดหมายขาวเกษตรและสหกรณ 3) บอรดการจัดการความรูของสํานัก/กอง ไดเพิ่มชอ งทางในการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู และเผยแพร ความรู โดยกําหนดใหทุกสํ านัก/กอง จัดทําบอรดการจัดการความรูซึ่งเปนกิจกรรมหนึ่งที่ไดรับความรวมมือและความสนใจจากสํานัก/กอง เปนอยางยิ่ง

ตัวอยางบอรดการจัดการความรูของสํานัก/กอง รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๐

การพัฒนาคณะทํางานจัดการความรู ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2553 ได จั ด โครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง การเพิ่ ม ประสิทธิภาพการการปฏิบัติงานของคณะทํางานจัดการความรู สป.กษ. เปนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหกับ คณะทํ างานจั ดการความรู และผู เ กี่ ย วข อ ง จํ า นวน 60 คน โดยให ค วามรู ในหั ว ข อ การจั ด การความรู (Knowledge Management) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตามแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. และ การฝ ก ปฏิบั ติก ารจั ดทํ าแผนการจั ดการความรู โดยไดพ าคณะทํ างานศึก ษาดูง านดานการจั ดการความรู ณ สถาบั นวิจั ยวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยีแห ง ประเทศไทย จั ง หวัดปทุ ม ธานี เนนที่ ก ารบริ ห ารจั ดการ องคความรู กระบวนการจัดการความรู รวมถึงไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันในดานการดําเนินการ จัดการความรู

บรรยากาศในการศึกษาดูงานและการฝกปฏิบัติ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๑

3.2.2 การเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๒

3.2.2 การเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส  การพัฒนาบุคลากรผานระบบอิเล็กทรอนิกส (HRD : e-Learning) การพัฒ นาบุคลากรผ านระบบอิเ ล็กทรอนิก ส (HRD : e-Learning) เป นการส งเสริ มให บุคลากรสามารถพั ฒนาตนเองไดอยางตอเนื่องโดยการนํ าวิธีการพัฒนาดวยการเรี ยนรูผานสื่ ออิเล็กทรอนิกส (e - learning) เขามาเปนเครื่อ งมือ ในการพั ฒนาบุคลากรใหเ ปนผูป ฏิบัติงานที่ ทรงความรู (Knowledge Worker) มีสมรรถนะ (Competency) มีขีดความสามารถสูง (High Capability) เพื่อการปฏิบัติงานอยางมือ อาชีพ ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมและการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ ๑. เพื่อใหบุคลากรไดเขาถึงและเรียนรูองคความรูที่จําเปนและสําคัญนํามาประยุกตใชในการ ปฏิบัติงานได ๒. เพื่อใหบุคลากรพัฒนาความรู ทักษะโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเปนการประหยัด งบประมาณ ลดเงื่อนไขดานสถานที่และเวลา ๓. เพื่อใหบุ คลากรมีทางเลื อกในการพัฒนาตนเองอยางทั่วถึง โดยเพิ่มชอ งทางการติดตอ ประสานงาน และสามารถมีกิจกรรมรวมกันบนเครือขายการเรียนรูได กลุมเปาหมาย บุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณทุกระดับ วิธีการ ฝกอบรม/เรียนรูดวยระบบอินเตอรเ น็ต www.kst.go.th/e- Learning online ผูที่ สนใจ สามารถเรียนรูโดยไมจํากัดพื้นที่ เนื่องจากเปนระบบการเรียนรูผานระบบอินเตอรเน็ต หลักสูตรที่ดําเนินการ ๑. ชุดวิชาการบริหารแบบบูรณาการ จํานวน ๑๐ ชั่วโมง มีผูผานเกณฑการอบรม จํานวน 6 คน ๒. การพั ฒนาคุณภาพการบริห ารการจัดการภาครั ฐ (PMQA) จํ านวน ๑๕ ชั่วโมงมี ผูผาน เกณฑการอบรม จํานวน 8 คน ๓. ภาษาอังกฤษเพื่อการใชงานของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน ๗ ชั่วโมง มีผูผานเกณฑการอบรม จํานวน 20 คน ผูสําเร็ จการอบรมทุก ชุดวิชาตามเงื่ อนไข จะไดรับประกาศนียบัตร หรือ หนัง สือ รับรองจาก สถาบันเกษตราธิการ ปญหาอุปสรรค 1. เนื่องจากในชุดวิชาการบริหารแบบบูรณาการ และ PMQA มีจํานวนชั่วโมงการเรียน คอนขางมาก จึงทําใหผูเขาเรียนขาดการติดตาม 2. การเรียนรูของผูท ี่อยูในสวนภูมิภาค ระบบอินเตอรเน็ต คอนขางชา และมีปญหาการบันทึก เวลาเขาหัวขอเรื่อง 3. ชุดวิชามีนอยเนื่องจากงบประมาณมีจํากัด

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๓

ตัวอยางหัวขอชุดวิชา e - learning

เว็บไซดสถาบันเกษตราธิการ www.kst.go.th

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๔

 การเผยแพรความรูในรูปแบบของสื่อวีดีทัศน การเผยแพรความรูรูปแบบของสื่อวีดีทัศน ประกอบดวย 2 ชองทาง ไดแก ทางอินเตอรเน็ต และความรูในรูปแบบของซีดีรอม - ผานทางอินเตอรเน็ต (Training Online) ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2553 สถาบั นเกษตราธิก ารทดลองนําเอาระบบเผยแพร สื่อวีดีทัศนผานเครือขายอินเตอรเน็ต ทางเว็บไซด www.kst-trainingonline.com เปดใหบริการแกบุคลากร ของ สป.กษ. ไดศึกษาเรียนรูและพัฒนาตนเอง ปจจุบันมีเนื้อหาความรูจากการบันทึกการบรรยายของวิทยากร ในหลักสูตรที่สถาบันเกษตราธิการดําเนินการ จํานวน ๑๔ เรื่อง มีผูเขาชม จํานวน ๓,๘๑๐ คน นอกจากนี้ยังได ทําการถายทอดสดการบรรยายของวิทยากร กรณีที่จัดฝกอบรมที่หองประชุมของสถาบันเกษตราธิการ เพื่อเปด โอกาสใหผูสนใจไดศึกษาเรียนรูไปพรอม ๆ กับผูเขาอบรมในชั้นเรียน - การเผยแพรสื่อความรูในรูปแบบของซีดีรอม (VCD/DVD) การเผยแพรสื่อความรูในรูปแบบของซีดีรอม เปนการบันทึกวีดีโอการฝกอบรมหลักสูตร ต า ง ๆ ที่ ส ถาบั น เกษตราธิ ก ารดํ า เนิ น การเพื่ อ เผยแพร ไ ว ใ นห อ งสมุ ด ของสถาบั น เกษตราธิ ก ารและ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหบุคลากรพัฒนาตนเอง จํานวน ๑๔ เรื่อง ดังนี้ 1. บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณกับการแกไขปญหาในภาคเกษตร โดย นายยุคล ลิ้มแหลมทอง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2. การดูแลรักษาคอมพิวเตอรสํานักงาน PC MANAGEMENT 3. การประเมินความเสี่ยง การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงานการตรวจสอบการดําเนินงาน 4. การจัดทํา Career path and Development 5. การแปลงแผนกลยุทธการพัฒนาทรั พยากรบุคคลกระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ.2552-2556 6. หลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 7. การพัฒนาสมรรถนะดานการเงินบัญชีพัสดุ 8. โครงการ Clinic HR 9. เทคนิคการนําเสนออยางมืออาชีพ 10. ภัยดานเทคโนโลยีและการดูแลความปลอดภัยดาน ICT ของผูใช 11. การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเลื่อนขั้นเงินเดือน 12. โครงการฝกอบรม หลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณระดับสูง รุนที่ 52 13. การสอบทานขอมูลในบัญชี GFMIS 14. การพัฒนาสมรรถนะดานงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๕

3.2.3 การใหบริการหองสมุด

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๖

3.2.3 การใหบริการหองสมุดของสถาบันเกษตราธิการ สถาบันเกษตราธิการไดจัดทํ าห องสมุดเพื่ อการศึกษาคนควาแหลง ขอ มูลเพื่อ การเรี ยนรู ทั้งเอกสารสื่ อสารสนเทศดานการบริ หารทรั พยากรบุ คคล และสาขาวิชาอื่นที่ เกี่ยวของ มีการพัฒ นาระบบ ห อ งสมุ ดอิ เ ล็ ก ทรอนิก ส โดยการนําเทคโนโลยีที่ ทั นสมั ยเขามาดําเนินงานในการจั ดเก็ บ ขอ มู ล ทรั พ ยากร สารสนเทศของหองสมุดสถาบันเกษตราธิการ เพื่อเพิ่มความสะดวกแกผูมาใชบริการในการเขาถึงความรูดวย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และเปนการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู เพื่อพัฒนาหนวยงานใหเปนองคกรแหงการ เรียนรูไดในที่สุด ผลการดําเนินงาน  การดําเนินงานพัฒนาปรับปรุง และการใหบริการหองสมุดของสถาบันเกษตราธิการ ๑) การพัฒ นาปรับ ปรุงห องสมุด ดานสิ่งแวดลอม ปรับปรุ งพื้นที่ ดําเนินการในการ จัดวางหนังสือ ตามหมวดหมูความรู จัดมุมหนังสือใหม มุมแนะนําหนังสือ จัดวางอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยหองสมุดมีการพัฒนาปรับปรุงใหมีลักษณะการใชงานที่สะดวก มีบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู มีหนังสือที่ จัดซื้อเพิ่มเติมและมีเนื้อหาที่ทันสมัย เพื่อใหตรงตอความตองการของผูใชบริการมากยิ่งขึ้น ๒) การใหบริการหองสมุด ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ - ใหบริการหองสมุดดวย ระบบหองสมุดอิเล็กทรอนิกส (e – library) ซึ่งระบบ หนังสือประกอบดวย หนังสือทีเ่ กี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ จํานวน 6 หมวดหมูความรู ไดแก การพัฒนาองคกร การใชภาษาการเกษตร การพัฒนาตนเอง คอมพิวเตอร รายงาน วิจัยการพัฒนาการเกษตร จํานวน 648 เลม และระบบหนังสือแบบ e - book - บริการยืมและคืนหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพตางๆ ของหองสมุด - บริการสื่อความรูดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในรูปแบบ vcd dvd - บริการสิ่งพิมพอื่น ๆ เชน หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร เปนตน - บริการอินเตอรเน็ต แกผูมาใชบริการหองสมุด - บริการเครื่องดื่ม กาแฟ ภายในหองสมุด  จํานวนผูเขาใชบริการ การบริการ ใหยืมหนังสือ/สื่อความรู - จํานวนผูเขาใชบริการหองสมุดจากบุคคลภายนอก ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553 จํานวน 1,021 คน - จํานวนการยืมหนังสือ ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553 มีหนังสือจํานวน 1,036 เลม CD จํานวน 25 แผน วารสาร จํานวน 120 เลม

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๗

 การประเมินความพึงพอใจของผูเขาใชหองสมุด ไดมีก ารประเมิ นผลความพึง พอใจของผู รับ บริ ก ารที่มี ตอ ห องสมุ ดสถาบั นเกษตราธิก าร พบวาระดับความพึงพอใจภาพรวมการใหบริการหองสมุด ความเหมาะสมของสถานที่ ความเหมาะสมของที่นั่ง อานหนังสือ และการจัดเรียงหนังสื อบนชั้นสะดวกตอ การคนหา อยูในระดับมากที่สุด สํ าหรับบริการสืบคน ขอมูลทางอินเตอรเน็ต หนังสือพิมพ วารสาร ผูใชบริการมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๘

3.3 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๕๙

3.3 ทุนศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ 3.3.1 โครงการทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 3.3.2 โครงการให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น 3.3.3 ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทัง้ ในและตางประเทศ ผานกระทรวงการตางประเทศ 3.3.1 โครงการทุนศึกษาตอในประเทศ ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย สถาบันเกษตราธิการ ไดรับมอบหมายใหดําเนินโครงการทุนกระทรวงเกษตรและสหกรณศึกษาตอระดับ ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ณ สถาบั นเทคโนโลยี แห งเอเชีย ระยะที่ ๑ (ป ๒๕๔๖-๒๕๕๐) และระยะที่ ๒ (ป ๒๕๕๑-๒๕๕๕) วัตถุประสงค ๑. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุ คลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ ใหสามารถปฏิบัติงานได สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 และนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงเกษตร และสหกรณในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและสามารถผลิตนวัตกรรมใหม ทางการเกษตรที่มีคุณภาพและ แกปญหาความยากจนของเกษตรกรและตอบสนองตอการปรับโครงสรางภาคเกษตร ในแนวทางของการพัฒนา อยางยั่งยืน ๒. เพื่ อ วางแผนอั ตรากํ าลัง ทดแทนบุ คลากรที่ มี คุณวุฒิร ะดับ ปริ ญ ญาโทและปริ ญ ญาเอก ที่ กํ าลั ง จะเกษียณอายุร าชการ เพื่ อ เป นกํ าลั ง สํ าคัญ ในการผลั ก ดันภารกิ จ และยุท ธศาสตร ของกระทรวงเกษตร และสหกรณตอไป ๓. เพื่อสงเสริมใหบุคลากรมีวิสัยทัศนกวางไกล มีองคความรูใหมที่เปนประโยชนตอสวนราชการและ เพิ่มขีดความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ เพื่อการประสานความรวมมือและเจรจาตอรองในเวทีโลกและ สามารถรองรับภารกิจของสวนราชการ และการปฏิบัติงานและแนวโนมในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ เปาหมาย ระยะที่ ๑ ป ๒๕๔๖-๒๕๕๐ จํานวน ๕๐ ทุน แบงเปน ระดับปริญญาเอก ๒๕ ทุน ระดับปริญญาโท ๒๕ ทุน ระยะที่ ๒ ป ๒๕๕๑-๒๕๕๕ จํานวน ๕๐ ทุน แบงเปน ระดับปริญญาเอก ๒๕ ทุน ระดับปริญญาโท ๒๕ ทุน ผลการดําเนินงาน ระยะที่ ๑ ป ๒๕๔๖-๒๕๕๐ ผูรับทุนระยะที่ ๑ มีจํานวน ๔๔ ราย แบงเปนระดับปริญญาโท จํานวน ๒๒ ราย และปริญญาเอกจํานวน ๒๒ ราย ผูรับทุนระดับปริญญาโททุกรายสําเร็จการศึกษาแลว สวนผูรับทุน ระดับปริญญาเอกสําเร็จการศึกษาแลว จํานวน ๘ ราย และอยูระหวางการศึกษา จํานวน ๑๕ ราย ระยะที่ ๒ (ป ๒๕๕๑-๒๕๕๕) ผู รั บทุ นระดั บปริ ญญาโท มี จํ านวน ๖ ราย เป นผู รั บทุ นประจํ าป งบประมาณ ๒๕๕๑ จํ านวน ๑ ราย และผูรับทุนประจําปงบประมาณ ๒๕๕๒ จํานวน ๕ ราย มีผูสําเร็จการศึกษาแลว จํานวน ๕ ราย ผูรบั ทุนระดับปริญญาเอก มีจาํ นวน ๑๖ ราย เปนผูร บั ทุนประจําปงบประมาณ ๒๕๕๑ จํานวน ๑ ราย ผูรบั ทุน ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๒ จํานวน ๕ ราย โดยทั้งหมดอยูร ะหวางการศึกษา

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๐

ปญหาอุปสรรค ๑. ความชัดเจนของกฎระเบียบของทางราชการที่ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ๒. งบประมาณในการดําเนินการ สถิติทุนกระทรวงเกษตรและสหกรณศึกษาตอ ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียระยะที่ 1 (ป 2546-2550) และ ระยะที่ 2 (ป 2551-2555) แยกตามสวนราชการและสาขาวิชา ลําดับ

สวน ราชการ

1

สํานักงา ปลัดกระทรวง เกษตรและ สหกรณ

2

กรม ชลประทาน

สาขาวิชา

ระยะ 1 โท

Regional and Rural Development Planning

เอก 3

4

กรมประมง

กรมปศุสัตว

6 7 8

1

1

1

Water Engineering and Management

6

6

Construction Engineering and Infrastructure Management Geotechnical and Environment Engineering

1

1 2

2

2

2 2

Food Engineering and Bioprocess Technology

1

1

Aquaculture and Aquatic Resources Management

1

3

Natural Resources Management

1

Agri- businees Management

1

1

6

1

2

1

1

1

1

กรมพัฒนา ที่ดิน

Remote Sensing and Geographic Information System

1

1

Water Engineering and Management

1

1

กรมวิชาการ เกษตร

Food Engineering and Bioprocess Technology

1

1

2

1

1

1

3

4

1

1

2

Natural Resource Management

กรมสงเสริม Agricultural Systems and Engineering การเกษตร สํานักงานการ Regional and Rural Development Planning ปฏิรูปที่ดิน Remote Sensing and Geographic Information System เพื่อ เกษตรกรรม Information Management Natural Resource Management

1 1

สํานักงาน เศรษฐกิจ การเกษตร

Agri- businees Management

สํานักงาน มาตรฐานสินคา เกษตรและอาหาร แหงชาติ

Food Engineering and Bioprocess Technology

1

1

2 1

2

Agricultural Systems and Engineering

1

3

1

1

1

รวมทั้งสิ้น

1

1 1

Agricultural Systems and Engineering

10

3

Natural Resources Management

Businesss Administration 9

รวม

เอก

1

Regional and Rural Development Planning 5

โท

Natural Resources Management

Agricultural Systems and Engineering 3

ระยะ 2

1

4

1

1

1

7

22

22

6

6

56

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๑

รายชื่อผูสาํ เร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระยะที่๑ ระดับปริญญาโท ลําดับ

ชื่อ-นามสกุล

1.

น.ส.วิไลวรรณ สอนพลู วิศวกรการเกษตรชํานาญการ กรมสงเสริมการเกษตร นางรัชดา(ภิรมยรักษ) อิทธิพงษ นักวิชาการผลิตภัณฑอาหาร ชํานาญการ กรมประมง น.ส.คณิษฐา พึ่งสวัสดิ์ นักวิชาการมาตรฐานชํานาญการ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ น.ส.สงกรานต ตะนนท นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม น.ส.เกสร จําปา นักสํารวจดินชํานาญการ กรมพัฒนาที่ดิน

Agricultural Systems and Engineering Food Engineering and Bioprocess Technology Engineering and Bioprocess Technology

น.ส.จิตสุดา อินทุมาร นักวิชาการแผนที่ภาพถาย ชํานาญการ กรมชลประทาน

Natural Resources GIS Approach to Investigate the Management Potential Areas for Irrigation Development in Mae Mok Sub-Basin, Northern Thailand

2. 3.

4.

5.

6.

7.

8.

สาขาวิชา

ผลงานวิชาการ The Effect of Different Tillage Methods on Corn Production Effect of Handling Methods on Quality Changes in Pacific White Shrimp (Penaeus vannamei) Shelf Life Evaluation of Frozen and Irradiated Chilled Stored Fried Noodle with Shrimp

Regional and Rural Performance Assessment of The Development Agricultural Land Reform Planning Cooperative Activities in Thailand A Case Study in Nakhon Pathom Province Remote Sensing Monitoring Agricultural Drought Using and Geographic Modis Temperature Vegetation Information System Dryness Index in Mae Man Chi Basin, Thailand นางศศิวิมล ทับแยมนักวิชาการ Food Engineering The Effect of Impingement and Spiral Freezing Method on the quality of มาตรฐานชํานาญการ and Bioprocess Ready Meal (cooked rice and panang สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ Technology อาหารแหงชาติ curry with shrimp) น.ส.ลักษมี เดชานุรักษนุกูล Food Engineering Effect of Modified Tamosphere Packaging on the Shelf Live of นักวิทยาศาสตรชํานาญการ and Bioprocess Asparagus (Asparagus afficinalia, L.) Technology กรมวิชาการเกษตร

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๒

ลําดับ

ชื่อ-นามสกุล

สาขาวิชา

ผลงานวิชาการ

9.

นายจักรกฤษณ มิใย วิศวกรโยธา ชํานาญการ กรมพัฒนาที่ดิน

Integrated Water Resources Management

Hydrologic Prediction in Selected Un-Gauged Basins in Thailand

10.

นายณัฐพล สิทธิการ วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน

Integrated Water Resources Management

Daily Forecasting of Flood Conditions in Pasak River Basin,Thailand

11.

น.ส. รุจี รอดชะ Natural Resources เจาหนาทีแ่ ผนที่ภาพถายชํานาญการ Management สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม

Land Evaluation in An Agricultural Land Reform Area Using Geographical Information System : A Case Study in Pluak Daeng District, Rayong Province, Thailand

12.

น.ส. ผองใส จันทรศรี นักวิชาการประมงปฏิบัติการ กรมประมง

Natural Resources Management

13.

นายศรายุธ พันธบุญ วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน

Integrated Water Resources Management

14.

นายณัฐพล อภินันทโน นายชางชลประทานชํานาญงาน กรมชลประทาน

Integrated Water Resources Management

Fish production and Management Performance of Trap Ponds in the Tung Kula Ronghai Area, Surin Province, Thailand Application of AnnAGNPS in Selected Sub Basin of Ping Watershed for Soil and Water Quality Assessment Radar-Based Rainfall Forecasting in The North of Thailand

15.

น.ส.ชุติวรรณ(โตฉาย) จัตตุพรพงษ Food Engineering นักวิชาการมาตรฐานปฏิบตั ิการ and Bioprocess สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ Technology อาหารแหงชาติ

Effect of Drying Methods on Extracted Triterpene Compounds for Ling-Zhi (Ganoderma Incidum)

16.

นายสมศักดิ์ ทรงแสงจันทร วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน น.ส.วิมลักษณ หลอวัฒนตระกูล นักวิชาการมาตรฐานชํานาญการ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ

Study of Surface Water and Groundwater Drainage of Suvarnabhumi Airport,Thailand Effect of Packaging Drying and Storage on Quality of Fresh Chilli and Chilli Powder

17.

Water Engineering and Management Food Engineering and Bioprocess Technology

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๓

ลําดับ

ชื่อ-นามสกุล

18.

นายรัฐสยาม ติยรัฐกาล วิศวกรโยธาปฏิบตั ิการ กรมชลประทาน

19.

นายสิริภพ แทนมณี นายชางชลประทานชํานาญงาน กรมชลประทาน นายกมล เรืองเดช นักวิชาการปฏิรูปทีด่ ินปฏิบตั ิการ สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม นายธีรวัฒน สัมภวมานะ นักวิชาการประมงชํานาญการ กรมประมง

20.

21.

22.

นายอดิสร จําปาทอง วิศวกรชลประทานชํานาญการ กรมชลประทาน

สาขาวิชา Constructuction Engineering and Infrastructure Management Water Engineering and Management Business Administration

ผลงานวิชาการ Factors Affecting Project Delivery Time Delays and Cost Overruns of Project Development at the Royal Irrigation Department of Thailand Assessment of Hydrological and Geotechnical Safety of Mae Suai Dam,Thailand Effective Management Approaches for Small and Micro Community Enterprises (SMCES) in Thailand

Aquaculture and Aquatic Resources Management

Effects of Different Feeding Regime, Weaning Period and Stocking Density on the Survival and Growth of Stinging Catfish (Heteropneustes fossilis, Bloch) FRY

Water Engineering and Management

Improvement on Detention Storage (Monkey cheek) Operation of Mahachai Canal System in Samut Sakhon, Thailand

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๔

รายชื่อผูสาํ เร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระยะที่ ๑ ระดับปริญญาเอก ลําดับ 1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

ชื่อ-นามสกุล นางสาวทัศนีย เมืองแกว นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการพิเศษ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร นางศุภวรรณ เคีย่ นเมธี นักวิชาการเกษตรชํานาญการ กรมสงเสริมการเกษตร

สาขาวิชา

ผลงานวิชาการ

Agricultural System Sustainable Livelihood : An Analysis and Engineering of Rice-Based Farming System in Southern Thailand

Agricultural System Integrated Pest Management in and Engineering Chinese Kale (Brassica oleracea L. var. Alboglabra Bailey) Using Selected Pest Repellent Plants and Biopesticides นายเกียรติยศ ทรงสงา Agricultural System Comparative studies of Growth and นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติ and Engineering Yield Simulations for Maize in การ Drought-Prone Ecosystem in Nakhorn สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ Ratchasima Province, Thailand เกษตรกรรม นางสาวมาลาศรี คําศรี Aquaculture and Co-Management Institution for นักวิชาการประมงปฏิบัติการ Aquatic Resources Sustainable Inland Fisheries กรมประมง Management Management : A Case Study of the Lower Songkram River Basin, Thailand นางอาทิตยา พองพรหม Regional and Rural Farmer's Network Approach to Small นักวิชาการปฏิรูปทีด่ ินชํานาญการ Development Farmer Development in The สํานักงานการปฏิรปู ที่ดินเพื่อ Planning Northeast of Thailand เกษตรกรรม นางสาวสุกัลยา กาเซ็ม Regional and Rural Sustainable Agricultural นักวิเคราะหนโยบายและแผน Development Development Policies and Farmer s' ชํานาญการ Planning Practices in Nakhorn Pathom สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร Province, Thailand นางสาวสาวิตรี ศิลาเกษ Aquaculture and Cryopreservation of Zebrafish ๙ นักวิชาการประมงชํานาญการ Aquatic Resources Danio Rerio๐ Embryos กรมประมง Management นางนรีรัตน วรรณสาย Natural Resources นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ Management กรมวิชาการเกษตร

Determinants of Land use Change in Prasae Watershed of Thailand : Role of land tenure security

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๕

รายชื่อผูสาํ เร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ระยะที่ ๒ ระดับปริญญาโท ลําดับ 1.

ชื่อ-นามสกุล นายภูริธัช วัชรสินธุ นักวิชาการประมงปฏิบัติการ กรมประมง

สาขาวิชา Aquaculture and Aquatic Resources Management

ผลงานวิชาการ Participation of Local Fishers in Crab Bank Projects in the Gulf of Thailand

2.

นายภัทรพล สําเร็จดี นายสัตวแพทยปฏิบัติการ กรมปศุสัตว นางสาวนิรมล แกวกัลยา นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม

Agri-Business Management

The sustainability assessment of broiler farming: Case study of Phichit province, Thailand Effect of an Agricultural Land Reform Project on People's Livelihood; A Case Study of Bor Lek Long Sub-District, Phrae Province, Thailand

4.

นางสาวสัมพันธ ปานจรัตน นักวิชาการประมงชํานาญการ กรมประมง

Natural Resources Management

5.

นางสาวจีรจิต ดิศสนะ Agri-Business นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ Management สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ

3.

Natural Resources Management

Attitudes and Perceptions of Fishers towards the ๒๕-year old Seasonal Closed Measure in Phang-Nga and Krabi Bays, Thailand Feasibility of Implementing Mandatory Quality Standards on GMPs in Dairy: A Study of the Raw Cow Milk Collection Centers in Thailand

3.3.2 โครงการให ทุ น การศึ ก ษาภาษาจี น ณ มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว มณทลฮกเกี้ ย น สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ความเปนมา มหาวิทยาลัยหัวเฉียว มณฑลฮกเกี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน ใหทุนการศึกษาภาษาจีนแกขาราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสถาบันเกษตราธิการเริ่มดําเนินการจัดสรรทุนตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตนมา และสําหรับป ๒๕๕๓ การใหทุนการศึกษาเปนเวลา ๑ ป (ระหวางเดือนสิงหาคม ๒๕๕๓ – สิงหาคม ๒๕๕๔) มูลคาทุนละประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ บาท เปนทุนการศึกษาแบบใหเปลาและไมมีเงื่อนไขผูกพัน แตมีคาใชจายที่ผู ไดรับทุนการศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดจะตองรับผิดชอบเอง เชน คาโดยสารเครื่องบิน คาอาหาร เปนตน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณไดตั้งงบประมาณสนับสนุนใหแกผูไดรับทุนการศึกษาในสวนที่แหลงทุนไมออก ให ทุนละประมาณ ๗๔,๐๐๐ บาท รวม ๔ ทุน เปนเงิน ๒๙๖,๐๐๐ บาท ผลการดําเนินงานป ๒๕๕๑-๒๕๕๓ กระทรวงเกษตรและสหกรณดําเนินการคัดเลือกผูม ีสทิ ธิไดรบั ทุนการศึกษาภาษาจีน จากสวน ราชการในสังกัดเขารับทุนการศึกษาอบรมประจําป ๒๕๕๑-๒๕๕๓ ตามรายละเอียดดังนี้ คือ รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๖ ลําดับที่ พ.ศ.2551 1 2 พ.ศ.2552 1 2

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

หนวยงาน

นางปวีณา ทะรักษา นางสาวปยะรัตน รุจิณรงค

นักวิทยาศาสตร 5 นักวิทยาศาสตร 5

กรมวิชาการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

นางสาวอรอนงค โคกสูงเนิน นางสาวปยะมาศ ไชยพรพัฒนา

นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ

กรมการขาว สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ

นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ

สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ กรมวิชาการเกษตร กรมการขาว

พ.ศ. 2553 1 นางสาวสุนันทา มณี 2

นางสาวพิมลพรรณ เกษตรเวทิน

นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ

3 4

นางสาวอุมาภรณ สุจริตทวีสุข นางสาวนงนุช จิระเสาวภาคย

นักวิทยาศาสตรปฏิบัติการ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

ผลที่ไดรับ ผูผานการฝกอบรมสามารถใชภาษาจีนในการติดตอสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพในระดับ สากลเปนที่ยอมรับของผู ที่มีปฏิสัมพันธในดานภาษาจีน นอกจากนี้ ผูผานการศึกษาอบรมยังสามารถเขาใจ พฤติ ก รรม สั ง คม สั ง คมจิ ตวิ ท ยา ขนบธรรมเนี ยม ประเพณีนิย มของชาวจี นก อ ให เ กิ ดประโยชน ในการ ปฏิสัมพันธดวย ปญหาและอุปสรรค งบประมาณอุดหนุนผูไดรับทุน/ คน/ป คอนขางนอย และโควตาผู เขารับการศึกษามีนอยกวาความ ตองการศึกษาอบรม 3.3.3 ทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวงการตางประเทศ ทุ น ฝ ก อบรม สั ม มนา ดู ง าน ทั้ ง ในและต า งประเทศ ที่ ไ ด รั บ จั ด สรรจากกระทรวงการ ตางประเทศ เปนทุนที่รัฐบาลตางประเทศ องคการตางประเทศ หรือนิติบุคคลตางประเทศ จัดสรรใหแกรัฐบาล ไทยเพื่อสงขาราชการไปศึกษา ฝกอบรม ปฏิบัติการวิจัยหรือดูงาน ณ ตางประเทศ ซึ่งกระทรวงการตางประเทศ จะจัดสรรใหสวนราชการตางๆตามภารกิจของสวนราชการนั้น โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ กระทรวง เกษตรและสหกรณไดรั บ การจัดสรรทุ นจากกระทรวงการตางประเทศ ทั้ ง ในดานการบริ หารจั ดการ ดาน พัฒนาการผลิตดานบริห ารจัดการทรัพ ยากรดานการผลิต และดานส งเสริม และพัฒ นาเกษตรกรและระบบ สหกรณ รวมทั้งหมด ๗๐ หลักสูตร ซึ่งสรุปไดดังในตาราง

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๗

ผลการดําเนินงาน สรุปสถิติทุนฝกอบรม สัมมนา ดูงาน ทั้งในและตางประเทศที่ไดรับจัดสรรจากกระทรวงการตางประเทศ ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๓ ทุนฝกอบรม รัฐบาล

จํานวน หลักสูตร

เสนอชื่อ ผูขอรับทุน

ไทย มาเลเซีย ญี่ปุน จีน สิงคโปร อิสราเอล อินโดนีเซีย อียิปต อินเดีย สวีเดน ลุมน้ําโขง รวมทั้งสิ้น

6 3 27 6 6 2 1 11 4 3 1 70

18 5 61 13 13 2 1 25 8 7 3 156

ผาน แหลงทุน การทดสอบอังกฤษ ตอบรับ 4 12 2 5 1 7 31

5 12 2 7 1 5 32

ผลที่ไดรับ การไดรับทุ นฝ กอบรม สั มมนา ปฏิบัติง านวิจัยหรื อดูงานการตางประเทศ ทํ าให ผูรั บทุ นไดเพิ่ มพู น ความรู ประสบการณ และวิสัยทัศน ในสาขาวิชาความรูที่เกี่ยวของกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ อาทิเชน สาขาวิชาที่เกี่ยวกับพืช ประมง ปศุสัตว วิศวกรรมที่เกี่ยวกับน้ําและการชลประทาน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ของโลก การวิเคราะหโครงการ ความยั่งยืนทางดานอาชีพเกษตรกรรม อาหารที่ปลอดภัยไดมาตรฐาน เปนตน ความรูตางๆ ที่ไดรับจะไดนํากลับมาปรับพัฒนาและใชในองคกร เพื่อผลประโยชนของเกษตรกรและผูเกี่ยวของ ภายในประเทศตลอดจนการประสานความรวมมือระหวางประเทศ ปญหาและอุปสรรค จากจํานวนหลักสูตรที่ไดรับทั้งหมด ๗๐ ทุน สถาบันเกษตราธิการไดเสนอชื่อผูรับทุนฝกอบรมจํานวน ๑๕๖ ราย โดยมีจํานวนผูรับทุนที่แหลงทุนไดพิจารณาตอบรับจํานวนทั้งหมดเพียง ๓๒ ราย เนื่องจากผูขอรับ ทุนมีคะแนนการทดสอบภาษาอังกฤษไมผานเกณฑที่แหลงทุนกําหนด และขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลาที่ แหล ง ทุ นกํ าหนดส ง ผลให ห นว ยงานที่ ไ ดรั บ การจั ดสรรพิ จ ารณาสละสิ ท ธิก ารรั บ ทุ นเนื่ อ งจากไม ส ามารถ ดําเนินการไดทันตามกําหนดระยะเวลา รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๖๘

ภาคผนวก

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


บุคลากรสถาบันเกษตราธิการ

นางประคองศรี หาญตระการพงษ์ ผู้อานวยการสถาบันเกษตราธิการ

ฝ่ายบริหารทั่วไป

กลุ่มยุทธศาสตร์ การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล

กลุ่มวิชาการ และหลักสูตร

นายจเด็ด กลิ่นชื่น

นางวลีพร นนทิการ

นักจัดการงานทั่วไปชานาญการ

รักษาการในตาแหน่งนักทรัพยากรบุ คคลชานาญการพิเศษ

นายรังสรรค์ นฤมิตญาณ

นางวัชรียา ใจเพียร

นักวิชาการเผยแพร่ ชนก.

เจ้ าพนักงานธุรการ ชนง.

นางพัช นี หรรษาจารุพันธ์ นักทรัพยากรบุคคล ชนก.

นายวันปิย ะ วาทิน นักทรัพยากรบุคคล ชนก.

กลุ่มส่งเสริมการศึกษา และเทคโนโลยีพัฒนา ทรัพยากรบุคคล

นางโสภา คงคารัตน์

นายโสภณ ไพศาลโรจนรัตน์

นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ

นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ

นางสาวศิริวรรณ เครือเล็ก

นางสาวนิชชิ มา โพธิโ ชติ

พ.อ.อ.คานึง ใจเพียร

นางสาวพะเยีย บารุงสุข

นักทรัพยากรบุคคล ชนก.

นักทรัพยากรบุคคล ชนก.

นักทรัพยากรบุคคล ชนก.

นักทรัพยากรบุคคล ชนก.

นางสาวชุติวรรณ สูงศักดิ์ นางเบญจมาศ การเกษ เจ้าพนักงานการเงินและบัญ ชี ชนง.

เจ้าพนักงานธุรการ ชนง.

นางสาวณัฐนันท์ เจริญศรี นายอิทธิกร พัดทอง นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นางสาวปิยะดา มาศจด

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นางสาวสุกัญญา ชูเชิด นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นายยุ ทธภูมิ ประสมทรัพย์ นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ

นางวรรณ์ ภัสสร ศรีจันทร์ นายชัยรัตน์ ไชยยศ นักทรัพยากรบุคคลชนก.

นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ

นายพานิช สุดกลาง

เจ้ าพนัก งานการเงิน และบัญชี ชนง.

พนักงานพิมพ์ดีดชั้น 3

นางสาวสุพัตรา กิ้มเส้ง

นางสาวเพ็ญนภา ปาลวัฒน์

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นักวิชาการเผยแพร่

นางอัญญมณี ฟูเต็มวงศ์

นางสาวนงเยาว์ สุข นุ่ม

นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ

บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

นายศักดิ์ดา กรธนิกกุล

นางสาวภัทรียา สังข์ดี

เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา ชนง.

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นางสาวสุรีย์ พร ถิระวรรณธร นางสุทิศา เหรียญไกร พนักงานพิมพ์ดี ดชั้น 3

นายดิเรก สีทา พนัก งานขับรถยนต์

นายเอกรินทร์ ราษฏร์ยิ นดี นายช่ างอิเล็ คทรอนิกส์

พนักงานพิมพ์ดี ดชั้น 2

นายกฤษฏา อินทุประภา นางสาวนันทภรณ์ อินทุประภา พนักงานขับรถยนต์

นายสิทธิชัย ทรัพย์แสนดี เจ้าหน้าที่ผลิต สื่อและเอกสารฝึกอบรม

นักพัฒนาทรัพ ยากรบุค คล

นายสุริยา วังใน พนักงานขับรถยนต์

ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่ว คราว

22 คน 5 คน 7 คน 3 คน

ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2554


๗๐

เว็บไซดสถาบันเกษตราธิการ www.kst.go.th

เว็บไซดเผยแพรสื่อวีดที ศั น www.kststation.com รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๗๑

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๗๒

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


๗๓

คณะผูจัดทํา 1. นางประคองศรี หาญตระการพงษ

ผูอํานวยการสถาบันเกษตราธิการ

ประธานคณะทํางาน

2. นางโสภา คงคารัตน 3. นายโสภณ ไพศาลโรจนรัตน

หัวหนากลุมวิชาการและหลักสูตร หัวหนากลุมสงเสริมการศึกษาและ เทคโนโลยีพัฒนาทรัพยากรบุคคล รักษาการหัวหนากลุมยุทธศาสตร การพัฒนาทรัพยากรบุคคล หัวหนาฝายบริหารทั่วไป นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ

คณะทํางาน คณะทํางาน

4. นางวลีพร นนทิการ 5. นายจเด็ด กลิ่นชื่น 6. นายวันปยะ วาทิน 7. นางวรรณภัสสร ศรีจันทร 8. นายยุทธภูมิ ประสมทรัพย 9. นายรังสรรค นฤมิตญาณ

คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

รายงานประจําป พ.ศ. 2553 สถาบันเกษตราธิการ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.