บทที่ 6 การแกะสลักผักและผลไม้

Page 1

โดย

นางสมหมาย บุญสมทบ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3


คำนำ การจั ด ท าเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรี ย นรู้ ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นบ้ า นเนิ นพลั บหวาน ผู้รายงานได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้และฝึกทักษะได้ด้วยตนเอง ในกรณีที่ไม่เข้าใจทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้มีเนื้อหาสาระสาคัญ ได้แก่ ความรู้ ทั่วไปและพื้นฐานของการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักผักและผลไม้เป็นดอกไม้รูปแบบ ต่างๆ รวมถึงการประดับตกแต่ง การจัดวาง และการจัดแสดงผลงาน เป็นต้น ซึ่งมีจานวนทั้งหมด 10 เล่ม เอกสารแต่ละเล่มจะประกอบไปด้วยรายละเอียดต่างๆ ได้แก่ คาแนะนาสาหรับครูผู้สอน และนักเรียน แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ใบความรู้ ใบงาน และแบบฝึกหัด การจั ด ทาเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายประทีป ศรีรักษา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้ คาแนะนา ตรวจความถูกต้อง และปรับปรุงแก้ไขจนสาเร็จเป็นรูปเล่มด้วยดี จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ สมหมาย บุญสมทบ


คำชี้แจง เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ได้ จั ดทาขึ้นเพื่อ ใช้เป็นสื่ อประกอบกระบวนการจั ดการเรี ยนรู้ รายวิชา ง 21202 งานประดิษฐ์ 2 (การแกะสลักผักและผลไม้ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน บ้านเนินพลับหวาน เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้มีทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4 เล่มที่ 5

เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้ พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักแครอทเป็นดอกข่า การแกะสลักฟักทองเป็นดอกรักเร่ การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น

เล่มที่ 6 เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ เล่มที่ 7 เล่มที่ 8 เล่มที่ 9 เล่มที่ 10

เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง

การแกะสลักฟักทองเป็นดอกกุหลาบ การแกะสลักมันแกวเป็นดอกแคทลียา การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ การจัดแสดงงานแกะสลักผักและผลไม้

เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1 เล่มใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ 1 แผน โดยเป็น การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น กระบวนการแบบกลุ่ ม ร่ ว มมื อ กั น เรี ย นรู้ เอกสารชุ ด นี้ จ ะส่ ง ผลให้ กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน โดยครูผู้สอน มีหน้าที่แนะนาเมื่อนักเรียนมีปัญหาเวลาปฏิบัติงาน

สมหมาย บุญสมทบ


สำรบัญ เรื่อง คานา คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับครู คาแนะนาสาหรับผู้เรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ  ฟักทอง  วิธีการเลือกและดูแลรักษาฟักทอง  การแกะสลักดอกผีเสื้อ  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ  ขั้นตอนการแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ  การดูแลรักษาดอกผีเสื้อแกะสลัก  การใช้งานดอกผีเสื้อแกะสลัก  ข้อเสนอแนะ ใบงาน เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม แบบฝึกหัด เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน บรรณานุกรม

หน้ำ

1 2 3 4 7 7 8 8 9 10 18 18 19 20 21 23 24 27 28 29 32


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 1

คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ครูผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ก่อ นใช้ เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ แต่ ล ะเล่ ม ก่อนนาไปใช้

ครู ผู้ ส อนควรศึ ก ษาให้ ล ะเอี ย ด

2. ครูผู้สอนต้องเตรียมสื่อที่เกี่ยวข้องให้พร้อม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะศึกษา และปฏิบัติตาม 3. ครูผู้สอนควรประเมินผลนักเรียน ทั้งก่อนเรียน และหลังเรียนเมื่อศึกษาเอกสาร จบแต่ละเล่ม 4. หากนักเรียนมีข้อสงสัย ไม่เข้าใจ ให้อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 2

คำแนะนำสำหรับผู้เรียน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ผู้เรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ก่อนศึกษา ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนและเก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ หลังเรียน 2. ผู้เรียนต้องอ่านทาความเข้าใจให้ละเอียดทุกเรื่อง 3. ผู้เรียนศึกษาจบเล่มแล้ว ควรประเมินผลสัมฤทธิ์ของตนเองจากกิจกรรมท้ายเล่ม และทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า 4. หากผู้เรียนมีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจถ้อยคาหรือเนื้อหาใดๆในเล่ม จะต้องสอบถาม ข้อมูลให้ละเอียดเพิ่มเติมจากครูผู้สอนหรือผู้รู้ทันที


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 3

จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ 1. นักเรียนอธิบายขั้นตอนการแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อได้ 2. นักเรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ปลอดภัย และเหมาะสมกับงาน

ด้ำนทักษะกระบวนกำร 3. นักเรียนฝึกแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อได้ถูกต้องตามขั้นตอน

ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 4

แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ

1. การเลือกฟักทองมาใช้ในงานแกะสลักควรเลือกอย่างไร ก. ผลใหญ่เนื้อหนาแน่น ข. ผลเล็กเนื้อหนา ค. ผลเล็กเนื้อบาง ง. ผลใหญ่เนื้อบาง 2. ขั้นตอนแรกของการแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อคือข้อใด ก. ปาดฐานล่าง ข. ปาดเนื้อใต้กลีบออก ค. เจาะเกสรตรงกลางเป็นวงกลม ง. เกลาฟักทองเป็นรูปครึ่งวงกลม 3. วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักดอกผีเสื้อคือข้อใด ก. ฟักทอง ข. มีดบาง ค. มีดแกะสลัก ง. ถูกทุกข้อ


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 5

4. ปลายกลีบของดอกผีเสื้อมีลักษณะอย่างไร ก. ปลายกลีบโค้งมน ข. ปลายกลีบแหลม ค. ปลายกลีบหยัก ง. ปลายกลีบกลม 5. การแกะสลักดอกผีเสื้อต้องใช้เทคนิคใดในการสลักปลายกลีบ ก. การพลิกมีด ข. การพลิกมือ ค. การกรีด ง. การจัก 6. ดอกผีเสื้อที่แกะสลักเสร็จแล้วแต่ยังไม่ได้ใช้งานทันทีจะมีวิธีการเก็บอย่างไรให้ใช้ได้นานที่สุด ก. แช่น้าไว้ ข. ห่อใบตอง ค. ห่อผ้าขาวบาง ง. ล้างน้า ใส่กล่องพลาสติก และเก็บเข้าตู้เย็น 7. ข้อใดคือวิธีการเก็บรักษาดอกผีเสื้อที่ไม่ถูกต้อง ก. แช่ตู้เย็น ข. แช่น้าเย็น ค. ล้างน้าเย็น ง. คลุมด้วยผ้าขาวบางชุบน้าบิดหมาด 8. ถ้าต้องการดอกผีเสื้อสีอื่นๆ สามารถใช้ผักผลไม้ชนิดใดแทนได้ ก. สีม่วง – บีทรูท ข. สีส้ม – มันแกว ค. สีขาว – แตงกวา ง. สีเขียว – มะละกอ


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 6

9. การแกะสลักดอกผีเสื้อมีความคล้ายคลึงกับดอกรักเร่ยกเว้นข้อใด ก. การดูแลรักษาชิ้นงาน ข. ลักษณะกลีบ ค. จานวนกลีบ ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ดอกผีเสื้อที่แกะสลักแล้ว นาไปใช้ประโยชน์ตามข้อใด ก. นาไปจัดตกแต่งจานอาหาร ข. นาไปทาเป็นฟักทองเชื่อม ค. นาไปจัดแจกัน ง. ถูกทุกข้อ

ตั้งใจทำแบบทดสอบ นะคะ


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 7

ใบควำมรู้ เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ ฟักทอง

ที่มำของภำพ : http://www.the-than.com และ http://www.myveget.com

ฟักทอง เป็นผักที่มีสีสวย มีหลายขนาด เป็นอาหารได้ทั้งคาวและหวาน และเป็นผักที่เหมาะ กับการแกะสลัก เนื่องจากเนื้อฟักทองนั้นเหนียวแน่น เนื้อไม่แข็งมาก แกะสลักแล้วอยู่ทรงได้นาน ที่ ส าคั ญ มี สี เ หลื อ งทองที่ ส วยสด และยั ง มี ร าคาที่ ไ ม่ แ พงมากนั ก จึ ง เหมาะส าหรั บ น ามาฝึ ก หั ด การแกะสลักอยู่เสมอ การเลือกฟักทองควรเลือกผลหนักๆ เนื้อสีเหลือง มีอมเขียวใกล้เปลือกเล็กน้อย ยิ่งถ้ามีมันเป็นจุดๆเกาะตรงสีเขียวใกล้เปลือก แสดงว่าเป็นฟักทองแก่ ฟักทองผลเล็กนิยมนามาแกะ เป็นภาชนะใส่อาหาร หรือแจกันทรงเตี้ย ผลใหญ่เนื้อหนา หั่นเป็นเสี้ยวเล็กใหญ่ต ามต้องการนามา แกะเป็นดอกไม้ ใบไม้ ตัวสัตว์ ตามต้องการ นอกจากนี้ข้อแนะนาอีกประการในการเลือกฟักทอง คื อ ไม่ ค วรน าฟั ก ทองที่ ผ ลยั ง อ่ อ นอยู่ ห รื อ ฟั ก ทองลู ก เล็ ก ที่ มี น้ าหนั ก เบา เนื้ อ บางมาแกะสลั ก เพราะผลงานจะอยู่ได้ไม่ทน และกลีบดอกมีความหนาน้อย ทาให้ผลงานไม่สวยงาม


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 8

วิธีกำรเลือกและดูแลรักษำฟักทอง 1. เลือกฟักทองผลที่แก่จัด เนื้อหนา ผิวเปลือกขรุขระ สีเหลืองอมเขียว จะได้ฟักทองเนื้อเหนียว 2. เลือกฟักทองให้สด เวลาแกะสลักเนื้อจะได้แน่น 3. ก่ อ นจะน าไปใช้ ล้ า งน้ าให้ ห มดยาง ไม่ ค วรแช่ น้ าเพราะฟั ก ทองจะเปื่ อ ย ท าให้ ป ลาย กลีบดอกขาว

กำรแกะสลักดอกผีเสื้อ การแกะสลักดอกผีเสื้อ เป็นการแกะสลักลวดลายที่มีความซับซ้อน และมีความอ่อนช้อ ย ที่ปลายกลีบมาก มีร่องรอยของการหยักที่แหลมละเอียดกว่า จึงมีความแปลกตาและมีความมหัศจรรย์ ถึงแม้ปลายกลีบจะแหลม แต่ลักษณะกลีบเป็นรูปโค้งมนจึงทาให้ดูอ่อนช้อย การแกะสลักดอกผีเสื้อ เป็ น การแกะสลั ก ที่ ต้ อ งเริ่ม ที่ ก ารเคลื่ อ นมี ด พร้ อ มกั บ การบิ ด พลิ ก มี ด เพื่ อ ให้ เกิ ด การหยั ก แหลม ที่สวยงามและรวดเร็ว

ที่มำ http://www.thaicarvingclub.com และ http://www.the-than.com


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 9

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 1.มีดต่างๆ ได้แก่ มีดแกะสลัก มีดปลายแหลม และมีดปอก

2.เขียง

3.กะละมัง

4.ฟักทอง เตรียมวัสดุพร้อม แล้ว… ลงมือทากันเลย

ที่มำของภำพที่ 1-4 : สมหมำย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 10

ขั้นตอนกำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 1.

ตัดฟักทองเป็นทรงสี่เหลี่ยม ขนาดพอประมาณ 1

2.

เกลาเป็นหลังเต่า หรือทรงครึ่งวงกลม 2


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 11

3. เมื่อเกลาเสร็จ 3

4. ทาเกสร โดยเริ่มจากกรีดวงกลม ขนาดประมาณ 1/3 ของความกว้างฐาน

4


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 12

5. เอียงมีด 45 องศา เซาะเนื้อออกห่างประมาณ 0.5 ซม. 5

6. ทาเกสร โดยกรีดบิดมีดเป็นกลีบแหลมแบบฟันปลาคล้ายตัวอักษร W เรียงชิดกันไปจนรอบ 6


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 13

7. เซาะเนื้อใต้กลีบออก 7

8. แกะเกสรเรียงซ้อนกันจนเต็ม

8


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 14

9. ทากลีบดอก โดยแบ่งส่วนลายรอบเกสรเป็น 8-10 ส่วน 9

10. สลักร่องลายแต่ละส่วนให้เป็นร่องโค้งมน

10


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 15

11. กรีดตามร่องโค้งมน บิดพลิกมีดให้ปลายกลีบหยัก คล้ายตัว W หลายตัวซ้อนกัน 11

12. เซาะเนื้อใต้กลีบออก ได้เป็นกลีบดอกชั้นที่ 1

12


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 16

13. สลักร่องโค้งสับหว่างกลีบดอก 13

14. ทาเช่นเดิมต่ออีก 3-4 ชั้น และเซาะดอกออก

14


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 17

15. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว 15

ที่มำของภำพที่ 1-15 : สมหมำย บุญสทบ (2554)

ขั้นตอนกำรแกะสลักฟักทอง เป็นดอกผีเสื้อ ไม่ยำกเลยใช่มั้ยครับเด็กๆ


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 18

กำรเก็บรักษำดอกผีเสื้อแกะสลัก เมื่อแกะสลักเสร็จแล้วล้างน้าเย็นจัด รีบนาขึ้นคลุมด้วยผ้าขาวบางชุบน้าบิดให้หมาด หรือใส่กล่องพลาสติกปิดฝา แช่ตู้เย็นชั้นผัก เก็บได้นานประมาณ 2-3 วัน

กำรใช้งำนดอกผีเสื้อแกะสลัก สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายลักษณะดังนี้ (ควรคานึงถึงขนาดของการนาไปใช้ด้วย) 1. การจัดผักเครื่องจิ้ม 2. การจัดจานอาหาร 3. การจัดทดแทนดอกไม้สด 4. การเชื่อม เพื่อการตกแต่ง

ที่มำของภำพ : http://www. thaigoodview.com


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 19

ข้อเสนอแนะ 1.

นักเรียนสามารถใช้ผักผลไม้ชนิดอื่นแทนฟักทองได้ เช่น แครอท หัวผักกาด เผือก บีทรูท มันแกว เป็นต้น

2.

เมื่อนักเรียนฝึกจนชานาญแล้ว สามารถนาทักษะการแกะสลักดอกผีเสื้อไปแกะลงบนผลไม้ ที่มีขนาดใหญ่ได้ เช่น แตงโม มะละกอ หรือแคนตาลูป เป็นต้น โดยสามารถแกะเป็นดอก เดี่ยวหรือซ้อนดอกก็ได้

การแกะสลักดอกผีเสื้อบนแตงโม (ดอกเดี่ยว)

การแกะสลักดอกผีเสื้อบนแตงโม (ซ้อนดอก)

ที่มำของภำพ : สมหมำย บุญสมทบ (2554)

การดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ เมื่อเราปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว เราต้องเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นที่ เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสามารถนามาใช้ครั้งต่อไปได้สะดวก โดยมีข้อปฏิบัติดังนี้ 1. หลังจากใช้วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักแล้วควรเก็บทุกครั้ง 2. ก่อนเก็บวัสดุอุปกรณ์ควรล้างทาความสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ถ้าเป็นมีดชนิดต่างๆ ควรเช็ดด้วยน้ามันก่อนเก็บ 3. เมื่อทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์แล้ว เก็บใส่ซอง ใส่กล่อง และเก็บในตู้ให้เป็นระเบียบ 4.


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 20

ใบงำน เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง

จุดประสงค์ 1. นักเรียนอธิบายขั้นตอนการแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อได้ 2. นักเรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ปลอดภัย และเหมาะสมกับงาน 3. นักเรียนฝึกแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อได้ถูกต้องตามขั้นตอน 4. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงานด้วยความ เพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย วัสดุอุปกรณ์ 1. ฟักทอง 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่ มีดบาง มีดแกะสลัก เขียง กะละมัง ถาด เป็นต้น 3. เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน 1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 คน 2. สมาชิ ก กลุ่ ม ร่ว มกั น ศึ ก ษาวิ ธี ก ารแกะสลั ก ฟั ก ทองเป็ น ดอกผี เสื้ อ ตามขั้ น ตอนในเอกสาร ประกอบการเรียนรู้ เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ หน้า 10-17 3. นักเรียนแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ คนละ 1 ดอก 4. สมาชิกกลุ่มร่วมกันบันทึกข้อมูลลงในรายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม 5. เลือกผลงานที่ดีที่สุดในกลุ่ม และส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงาน ข้อควรระวัง ขณะปฏิบัติงานควรมีสมาธิ ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน และควรระมัดระวังใน การใช้อุปกรณ์ที่มีคม เช่น มีดบาง มีดแกะสลัก เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายได้ เมื่อแกะสลักฟักทองเสร็จแล้วไม่ควรแช่น้านาน เพราะจะทาให้กลีบดอกขาวและเน่า ให้ล้างน้าเย็นผ่านๆแล้วใส่กล่องพลาสติกปิดฝา แช่ตู้เย็นชั้นผัก


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 21

รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนกลุ่ม เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ กลุ่มที.่ ........................ชั้น.......................... รำยชื่อสมำชิก ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... .........................................................................................................................................

1. วัสดุอุปกรณ์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. ขั้นตอนกำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. ประโยชน์กำรใช้สอย ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 22

4. ปัญหำและอุปสรรคในกำรทำงำน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. กำรแก้ไขปัญหำ ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. กำรเปรียบเทียบผลงำนกับกลุ่มอื่น ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนในครั้งต่อไป ........................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .................... ..............................................................................................................................................................................

สู้ๆนะจ๊ะเด็กๆ

ลงชื่อ....................................................หัวหน้ำกลุ่ม (...................................................)


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 23

แบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอธิบายขั้นตอนการแกะสลักดอกผีเสื้อจากรูปภาพที่กาหนด ข้อ 1.

ขั้นตอนกำรแกะสลัก

คำอธิบำย ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

2.

……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

3.

……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

ชื่อ.......................................................................................ชั้น.........................เลขที่....................


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 24

แบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักดอกผีเสื้อคือข้อใด ก. ฟักทอง ข. มีดบาง ค. มีดแกะสลัก ง. ถูกทุกข้อ 2. ขั้นตอนแรกของการแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อคือข้อใด ก. ปาดฐานล่าง ข. ปาดเนื้อใต้กลีบออก ค. เจาะเกสรตรงกลางเป็นวงกลม ง. เกลาฟักทองเป็นรูปครึ่งวงกลม 3. การเลือกฟักทองมาใช้ในงานแกะสลักควรเลือกอย่างไร ก. ผลใหญ่เนื้อหนา ข. ผลใหญ่เนื้อบาง ค. ผลเล็กเนื้อหนา ง. ผลเล็กเนื้อบาง


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 25

4. ปลายกลีบของดอกผีเสื้อมีลักษณะอย่างไร ก. ปลายกลีบโค้งมน ข. ปลายกลีบแหลม ค. ปลายกลีบหยัก ง. ปลายกลีบกลม 5. การแกะสลักดอกผีเสื้อต้องใช้เทคนิคใดในการสลักปลายกลีบ ก. การพลิกมีด ข. การพลิกมือ ค. การกรีด ง. การจัก 6. ดอกผีเสื้อที่แกะสลักเสร็จแล้วแต่ยังไม่ได้ใช้งานทันทีจะมีวิธีการเก็บอย่างไรให้ใช้ได้นานที่สุด ก. แช่น้าไว้ ข. ห่อใบตอง ค. ห่อผ้าขาวบาง ง. ล้างน้า ใส่ถุง และแช่เย็น 7. ข้อใดคือวิธีการเก็บรักษาดอกผีเสื้อที่ไม่ถูกต้อง ก. แช่ตู้เย็น ข. แช่น้าเย็น ค. ล้างน้าเย็น ง. คลุมด้วยผ้าขาวบางชุบน้าบิดหมาด 8. การแกะสลักดอกผีเสื้อมีความคล้ายคลึงกับดอกรักเร่ยกเว้นเรื่องใด ก. การดูแลรักษาชิ้นงาน ข. ลักษณะกลีบ ค. จานวนกลีบ ง. ไม่มีข้อใดถูก


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 26

9. ดอกผีเสื้อที่แกะสลักแล้ว นาไปใช้ประโยชน์ตามข้อใด ก. นาไปจัดตกแต่งจานอาหาร ข. นาไปทาเป็นฟักทองเชื่อม ค. นาไปจัดแจกัน ง. ถูกทุกข้อ 10. ถ้าต้องการดอกผีเสื้อสีอื่นๆ สามารถใช้ผักผลไม้ชนิดใดแทนได้ ก. สีเขียว – มะละกอ ข. สีขาว – แตงกวา ค. สีม่วง – บีทรูท ง. สีส้ม – มันแกว

ง่ำยนิดเดียวเอง ใช่ไหมคะ...


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 27

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ก 2. ง 3. ง 4. ค 5. ก 6. ง 7. ค 8. ก 9. ข 10. ง

เก่งมำกเลยจ้ำ...

แบบทดสอบหลังเรียน 1. ง 2. ง 3. ก 4. ค 5. ก 6. ง 7. ข 8. ข 9. ง 10. ก


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 28

เฉลยแบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาอธิบายขั้นตอนการแกะสลักดอกผีเสื้อจากรูปภาพที่กาหนด ข้อ 1.

ขั้นตอนกำรแกะสลัก

คำอธิบำย

ทาเกสร โดยกรีดบิดมีดเป็นกลีบแหลมแบบ ฟันปลาคล้ายตัวอักษร W เรียงชิดกันไปจนรอบ

2. ทากลีบดอก โดยสลักร่องลายแต่ละส่วน ให้เป็นร่องโค้งมน

3. ทากลีบซ้าอีก 3- 4 ชั้น และเซาะดอกออก

ชื่อ.......................................................................................ชั้น.........................เลขที่....................


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 29

กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........

ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม

คะแนน


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 30

กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กำรแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ

ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........

ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม

คะแนน


เล่มที่ 6 เรื่อง การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ 31

บรรณำนุกรม ณภัทร ทองแย้ม. แกะผักสลักลำย. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2551. ดารงศักดิ์ นิรันดร์. ศิลปะกำรแกะสลักผลไม้. กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส ชอฟ์เทค, 2550. บุรินทร์ภัทร ชูวงศ์. แกะสลักดอกไม้-ใบ เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศรีสยามการพิมพ์, 2554. วันดี ณ สงขลา. แกะผัก สลักผลไม้. กรุงเทพฯ : โรงเรียนครัววันดี, 2551. ศรราม ดีรอด. กำรแกะสลักผลไม้เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2549. ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ. กำรแกะสลักดอกไม้จำกผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2552


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.