บทที่ 2 การแกะสลักผักและผลไม้

Page 1

โดย

นางสมหมาย บุญสมทบ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3


คำนำ การจั ด ท าเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรี ย นรู้ ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นบ้ า นเนิ นพลั บหวาน ผู้รายงานได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษาหาความรู้และฝึกทักษะได้ด้วยตนเอง ในกรณีที่ไม่เข้าใจทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้มีเนื้อหาสาระสาคัญ ได้แก่ ความรู้ ทั่วไปและพื้นฐานของการแกะสลักผักและผลไม้ การแกะสลักผักและผลไม้เป็นดอกไม้รูปแบบ ต่างๆ รวมถึงการประดับตกแต่ง การจัดวาง และการจัดแสดงผลงาน เป็นต้น ซึ่งมีจานวนทั้งหมด 10 เล่ม เอกสารแต่ละเล่มจะประกอบไปด้วยรายละเอียดต่างๆ ได้แก่ คาแนะนาสาหรับครูผู้สอน และนักเรียน แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ใบความรู้ ใบงาน และแบบฝึกหัด การจั ด ทาเอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดนี้ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายประทีป ศรีรักษา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้ คาแนะนา ตรวจความถูกต้อง และปรับปรุงแก้ไขจนสาเร็จเป็นรูปเล่มด้วยดี จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ สมหมาย บุญสมทบ


คำชี้แจง เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ ชุ ด “การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ” กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ง 21202 งานประดิ ษ ฐ์ 2 (การแกะสลั ก ผั ก และผลไม้ ) ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย น บ้านเนินพลับหวาน เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้มีทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้

เล่มที่ 2 เรือ่ ง พื้นฐำนกำรแกะสลักผักและผลไม้ เล่มที่ 3 เรื่อง เล่มที่ 4 เรื่อง เล่มที่ 5 เรื่อง เล่มที่ 6 เรื่อง เล่มที่ 7 เรื่อง เล่มที่ 8 เรื่อง เล่มที่ 9 เรื่อง เล่มที่ 10เรื่อง

การแกะสลักแครอทเป็นดอกข่า การแกะสลักฟักทองเป็นดอกรักเร่ การแกะสลักฟักทองเป็นดอกบานชื่น การแกะสลักฟักทองเป็นดอกผีเสื้อ การแกะสลักฟักทองเป็นดอกกุหลาบ การแกะสลักมันแกวเป็นดอกแคทลียา การแกะสลักแตงโมลายประยุกต์ การจัดนิทรรศการแสดงผลงานการแกะสลักผักและผลไม้

เอกสารประกอบการเรียนรู้ 1 เล่มใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ 1 แผน โดยเป็น การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น กระบวนการแบบกลุ่ ม ร่ ว มมื อ กั น เรี ย นรู้ เอกสารชุ ด นี้ จ ะส่ ง ผลให้ กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน โดยครูผู้สอน มีหน้าที่แนะนาเมื่อนักเรียนมีปัญหาเวลาปฏิบัติงาน

สมหมาย บุญสมทบ


สำรบัญ เรื่อง คานา คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับครู คาแนะนาสาหรับผู้เรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้  การเตรียมวัสดุและอุปกรณ์  การเตรียมผักและผลไม้  หลักปฏิบัติการแกะสลักผักและผลไม้  ข้อเสนอแนะ ใบงาน เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ กระดาษคาตอบก่อน - หลังเรียน บรรณานุกรม

หน้า

1 2 3 4 7 8 9 13 23 24 25 27 28 31 32 33 35


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 1

คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ครูผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้ 1.

ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ครูผู้สอนควรศึกษาให้ละเอียดก่อน นาไปใช้

2.

ครูผู้สอนต้องเตรียมสื่อที่เกี่ยวข้องให้พร้อม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ที่จะศึกษาและปฏิบัติตาม

3.

ครูผู้สอนควรประเมินผลนักเรียน ทั้งก่อนเรียน และหลังเรียน เมื่อศึกษาเอกสารจบแต่ละเล่ม

4.

หากนักเรียนมีข้อสงสัย ไม่เข้าใจ ให้อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 2

คำแนะนำสำหรับผู้เรียน ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แต่ละเล่ม ผู้เรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1.

ก่อนศึกษา ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนและเก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบหลัง เรียน

2.

ผู้เรียนต้องอ่านทาความเข้าใจให้ละเอียดทุกเรื่อง

3.

ผู้เรียนศึกษาจบเล่มแล้ว ควรประเมินผลสัมฤทธิ์ของตนเองจากกิจกรรม ท้ายเล่ม และทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้า

4.

หากผู้เรียนมีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจถ้อยคาหรือเนื้อหาใดๆในเล่ม จะต้องสอบถามข้อมูลให้ละเอียดเพิ่มเติมจากครูผู้สอนหรือผู้รู้ทันที


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 3

จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ 1. นักเรียนอธิบายพื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้แต่ละขั้นตอนได้ถูกต้อง

ด้ำนทักษะกระบวนกำร 2. นักเรียนฝึกทักษะพื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ได้ถูกต้องตามขั้นตอน

ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 4

แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ

1. การแกะสลักดอกไม้ให้สวยงามผู้แกะสลักต้องมีคุณสมบัติอย่างไร ก. อดทน ประณีต ข. ใจร้อน สมาธิสั้น ค. กล้าแสดงออก ง. เรียบร้อย 2. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ก. กระบอกฉีดน้า ข. มีดแกะสลัก ค. ตะแกรง ง. กะละมัง 3. ขั้นตอนแรกในการแกะสลักดอกไม้คือข้อใด ก. เจาะวงเกสร ข. การสลักลาย ค. ล้างทาความสะอาด ง. ตัดและเกลาให้เป็นรูปทรง


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 5

4. การเกลารูปทรงดอกข่ามีลักษณะอย่างไร ก. ทรงเรียว ยาว ปลายแหลม ข. ทรงอ้วน สั้น ปลายมน ค. ทรงครึ่งวงกลม ง. ทรงหลังเต่า 5. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการแกะสลักได้ถูกต้อง ก. เกลาตัดล้างแกะ ข. ล้างตัดเกลาแกะ ค. ตัดเกลาล้างแกะ ง. แกะเกลาตัดล้าง 6. การเจาะวงเกสรต้องตั้งมีดให้ตรง ซึ่งเท่ากับกี่องศา ก. 30 องศา ข. 45 องศา ค. 60 องศา ง. 90 องศา 7. ข้อใดคือวิธีการแบ่งส่วนลายในการแกะสลัก ก. แบ่งส่วนลายตามใจชอบ ข. แบ่งส่วนลายเลขคู่ ค. แบ่งส่วนลายเลขคี่ ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค. 8. การสลักร่องลายโค้งมนต้องปาดเนื้อกลีบดอกให้มีลักษณะเหมือนตัวอักษรใด ก. U ข. V ค. W ง. O


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 6

9. การแบ่งส่วนลายมีประโยชน์อย่างไรต่อการแกะสลักดอกไม้ ก. งานแกะสลักมีความสมดุล ข. มีขนาดเกสรที่สม่าเสมอ ค. มีขนาดกลีบเท่ากัน ง. ถูกทุกข้อ 10. นักเรียนจะมีวิธีการปฏิบัติอย่างไรถ้าต้องการให้วงเกสรเด่นชัดขึ้น ก. เซาะเนื้อใต้ดอกออก ข. เจาะวงเกสรให้เป็นวงกลม ค. สลักร่องแหลมรอบวงเกสร ง. เอียงมีด 45 องศา เซาะรอบวงเกสร

ตั้งใจทำแบบทดสอบ นะคะ...


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 7

ใบควำมรู้ เรื่อง พื้นฐำนกำรแกะสลักผักและผลไม้

ที่มาของภาพ : http://www.oknation.net และ http://www.gotoknow.org/blogs/posts/408189

การแกะสลักผักและผลไม้มีหลายรูปแบบ เช่น ใบไม้ ดอกข่า ดอกไม้ชั้นเดียว ดอกไม้หลายชั้น ภาชนะ ตั ว สั ต ว์ และตราสั ญ ลั ก ษณ์ เป็ น ต้ น ดั ง ที่ ไ ด้ ก ล่ า วไปแล้ ว ในเอกสารประกอบการเรี ย น เล่มที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการแกะสลักผักและผลไม้ แต่ในรายวิชานี้จะขอกล่าวเฉพาะการ แกะสลักผักและผลไม้เป็นดอกข่า ดอกไม้หลายชั้น และลายประยุกต์ ซึ่งจัดเป็นศิลปะรูปลอยตัว สามารถมองเห็นได้รอบด้านที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อเลียนแบบดอกไม้ชนิดต่างๆ จากธรรมชาติ เพราะฉะนั้น วิธีการแกะจะไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนหรือหลักการแกะที่ตายตัวมากนัก เช่น จานวนกลีบดอก และ จานวนชั้นของดอกไม้แต่ละชนิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบและขนาดของดอกไม้ ขั้นตอนในการแกะสลัก ผักและผลไม้เป็นดอกไม้นั้นไม่มีความยุ่งยาก แต่ผู้แกะสลักจะต้องมีความอดทน ใจเย็น ประณีต และ มีสมาธิ รวมถึงต้องเข้าใจในวิธีการต่างๆ ซึ่งหลักปฏิบัติในการแกะสลักดอกไม้สามารถประยุกต์ใช้กับ การแกะสลักประเภทอื่นๆได้


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 8

กำรเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ ในการแกะสลั ก ควรจั ด เตรี ย มวั ส ดุ และอุ ป กรณ์ ใ ห้ พ ร้ อ ม และมี คุ ณ ภาพที่ เ หมาะสมกั บ การแกะสลัก ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่

ที่มาของภาพ : สมหมาย บุญสมทบ (2554)

1. มีดแกะสลัก 2. มีดบาง 3. ที่ตักผลไม้ 4. เขียง 5. ถาด 6. กะละมัง

7. 8. 9. 10. 11. 12.

ฟิล์มพลาสติก กล่องพลาสติก กระบอกฉีดน้า ผ้าเช็ดมือ หินลับมีด ผักและผลไม้ที่ตอ้ งการ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 9

กำรเตรียมผักและผลไม้ ในการแกะสลักควรจัดเตรียมผักและผลไม้ให้พร้อม โดยเฉพาะการแกะสลักเป็นดอกไม้ชนิด ต่างๆ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. กำรล้ำงทำควำมสะอำด ก่อนนาผักและผลไม้ไปแกะสลัก ควรล้างทาความสะอาดเสียก่อน โดยเฉพาะการแกะสลัก เพื่อนาไปรับประทาน เนื่องจากถ้ามีสารเคมีปนเปื้อนอาจทาให้เกิดอันตรายได้

2. กำรตัดแต่งและกำรเกลำ ตัวอย่าง

การตัดแต่งและการเกลาสาหรับแกะสลักดอกไม้หลายชั้น 1

1.ตัดผักหรือผลไม้เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมตามขนาดที่ต้องการ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 10

2

2.ใช้มีดเกลาผักและผลไม้ให้มีลักษณะเป็นหลังเต่า หรือเรียกอีกอย่างว่า ทรงครึ่งวงกลม หรือทรงซาลาเปา โดยเกลาให้ให้ผิวเรียบเสมอกัน

3

3.รูปทรงของผักและผลไม้เมื่อเกลาเสร็จ พร้อมแกะสลักในขั้นตอนต่อไป

ที่มาของภาพที่ 1-3 : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 11

ตัวอย่าง

การตัดแต่งและการเกลาสาหรับแกะสลักดอกข่า 1

1.ตัดแครอทเป็นท่อนจากส่วนปลาย ยาว 4-5 นิ้ว

2

2.เกลาโคนดอกให้เรียว


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 12

3

3. เกลาปลายดอกให้เรียวแหลม

4

4. รูปทรงของผักและผลไม้เมื่อเกลาเสร็จ พร้อมแกะสลักในขั้นตอนต่อไป ที่มาของภาพ 1-4 : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 13

หลักปฏิบตั ิกำรแกะสลักดอกไม้ 1. กำรเจำะวงเกสร สาหรับการแกะสลักนั้น จะมีความสาคัญมากหากเจาะวงเกสรไม่ดี อาจทาให้เสียสัดส่วนของ การแกะสลักดอกไปได้ ซึ่งการเจาะวงเกสรต้องตั้งมีดตรง 90 องศา หาจุดกึ่งกลางและกรีดให้เป็นรูป วงกลม จากนั้นเอียงมีด 45 องศา เซาะรอบวงกลมให้เกสรเด่นชัดขึ้น

ที่มาของภาพ : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 14

2.กำรแบ่งส่วนลำย สามารถแบ่งได้ทั้งเลขคี่และคู่ การแบ่งส่วนลายทั้งในส่วนของเกสรและกลีบดอก ช่วยให้การ แกะสลักดอกไม้มีขนาดเกสรและกลีบที่สม่าเสมอ ทาให้ผลงานแกะสลักออกมามีความสมดุล และ สวยงาม

กำรแบ่งส่วนลำยเกสร

กำรแบ่งส่วนลำยกลีบดอก ที่มาของภาพ : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 15

3.กำรสลักลำย 3.1 ลายกลีบแหลมกลีบเรียบ

1

1.แบ่งส่วนลายกลีบให้มีขนาดเท่ากัน และใช้ปลายมีดกรีดจากด้านซ้ายมาถึงจุดกึ่งกลาง

ค่อยๆทำ ใจเย็นๆนะ ครับ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 16

2

2.ใช้ปลายมีดกรีดจากด้านขวามาบรรจบที่จุดกึ่งกลาง ให้เป็นรูปสามเหลี่ยม

3

3.เอียงมีด 45 °ปาดเนื้อใต้กลีบออก เพื่อให้กลีบเด่นชัดขึ้น จากนั้นทาซ้าเช่นเดิมจนครบแถว

ที่มาของภาพ 1-3 : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 17

3.2 ลายกลีบโค้ง

1

1.แบ่งส่วนลายกลีบให้มีขนาดเท่ากัน และใช้ปลายมีดกรีดจากด้านซ้ายถึงจุดกึ่งกลางเป็นแนวโค้ง

2

2.ใช้ปลายมีดกรีดจากด้านขวามาบรรจบที่จุดกึ่งกลาง ให้เป็นแนวโค้ง หรือตัว U


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 18

3

3.เอียงมีด 45 °ปาดเนื้อใต้กลีบออก เพื่อให้กลีบเด่นชัดขึ้น

4

4.จากนั้นทาซ้าเช่นเดิมจนครบแถว ที่มาของภาพ 1-4 : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 19

4.กำรสลักร่องลำย 4 .1 ร่องแหลม

1

1.แบ่งส่วนลายกลีบให้มีขนาดเท่ากัน และใช้ปลายมีดกรีดจากด้านขวามาถึงจุดกึ่งกลาง

ไม่ยำกอย่ำงที่คิด ลองฝึกดูนะเด็กๆ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 20

2

2.ใช้ปลายมีดกรีดจากด้านซ้ายมาบรรจบที่จุดกึ่งกลางให้ขาดจากกันเป็นรูปสามเหลี่ยม ได้เป็นร่องแหลม

3

3.เอียงมีด 45 °ปาดเนื้อใต้กลีบออก เพื่อให้กลีบร่องแหลมเด่นชัดขึ้น จากนั้นทาซ้าเช่นเดิมจนครบแถว ที่มาของภาพ 1-3 : สมหมาย บุญสมทบ (2554)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 21

4 .1 ร่องโค้งมน

1

1.แบ่งส่วนลายกลีบให้มีขนาดเท่ากัน และใช้ปลายมีดกรีดจากด้านซ้ายถึงจุดกึ่งกลางเป็นแนวโค้ง

ขั้นตอนคล้ำยกับ กำรสลักลำย กลีบโค้งเลย


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 22

2

2.ใช้ปลายมีดกรีดจากด้านซ้ายเป็นแนวโค้งมาบรรจบที่จุดกึ่งกลางให้ขาดจากกันเป็นรูปตัว U ได้เป็นร่องโค้งมน

3

3.เอียงมีด 45 องศา ปาดเนื้อใต้กลีบออก เพื่อให้กลีบร่องโค้งมนเด่นชัดขึ้น โดยทาเป็นกลีบโค้งหรือ กลีบแหลมก็ได้ จากนั้นทาซ้าเช่นเดิมจนครบแถว ที่มาของภาพ 1-3 : ณภัทร (2551)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 23

ข้อเสนอแนะ ในเอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ เป็นเพียงพื้นฐานบางส่วนในการแกะสลักดอกไม้จากผัก และผลไม้ นั ก เรี ย นอาจศึ ก ษาจากแหล่ ง เรี ย นรู้ อื่ น ๆเพิ่ ม เติ ม และอาจน าขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ไ ป ประยุกต์ใช้กับการแกะสลักประเภทอื่นๆได้ การดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ เมื่อเราปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว เราต้องเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นที่ เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสามารถนามาใช้ครั้งต่อไปได้สะดวก โดยมีข้อปฏิบัติดังนี้ 1. หลังจากใช้วัสดุอุปกรณ์ในการแกะสลักแล้วควรเก็บทุกครั้ง 2. ก่อนเก็บวัสดุอุปกรณ์ควรล้างทาความสะอาดแล้วใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ถ้าเป็นมีดชนิดต่างๆ ควรเช็ดด้วยน้ามันก่อนเก็บ 3. เมื่อทาความสะอาดวัสดุอุปกรณ์แล้ว เก็บใส่ซอง ใส่กล่อง และเก็บในตู้ให้เป็นระเบียบ

เริ่มฝึกขั้นพื้นฐำน จะได้เกิดควำมชำนำญ ในกำรแกะสลัก...นะจ๊ะ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 24

ใบงำน เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายพื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้แต่ละขั้นตอนได้ถูกต้อง 2. นักเรียนฝึกทักษะพื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ได้ถูกต้องตามขั้นตอน 3. นักเรียนมุ่งมั่นในการทางาน มีความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทาหน้าที่การงานด้วย ความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย วัสดุอุปกรณ์ 1.ผักและผลไม้ที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่ ฟักทอง แครอท 2.อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ได้แก่ มีดบาง มีดแกะสลัก เขียง กะละมัง ถาด เป็นต้น 3.เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน 1.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน 2.ให้นักเรียนศึกษาเอกสารและลงมือฝึกปฏิบัติพื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ ดังต่อไปนี้ 2.1) การตัดและการเกลา ให้นักเรียนฝึกตัดและเกลาฟักทองเป็นทรงหลังเต่า (ครึ่งวงกลม) และเกลาแครอทเป็นทรงดอกข่า อย่างละ 1 ชิ้น โดยศึกษาจากขั้นตอนในหน้า 9-12 2.2) การเจาะวงเกสรและการแบ่งส่วนลาย ให้นักเรียนนาฟักทองจากข้อ 1 มาเจาะวงเกสร ขนาด 1/3 ของความกว้างฐาน และแบ่งส่วนลายให้เท่าๆกัน และนาแครอทจากข้อ 1 มาแบ่งส่วนลาย เช่นเดียวกัน โดยศึกษาและประยุกต์จากขั้นตอนในหน้า 13-14 2.3) การสลักลาย ให้นักเรียนนาฟักทองจากข้อ 2 มาแบ่งครึ่ง ด้านหนึ่งนามาสลักลายกลีบ แหลมกลีบเรียบ และอีกด้านหนึง่ นามาสลักลายกลีบโค้ง โดยศึกษาจากขั้นตอนในหน้า 15-18 2.4) การสลักร่องลาย ให้นักเรียนนาแครอทจากข้อ 2 มาแบ่งครึ่ง ด้านหนึ่งนามาสลักร่อง แหลม และอีกด้านหนึ่งนามาสลักร่องโค้งมน โดยศึกษาและประยุกต์จากขั้นตอนในหน้า 20-22 3.สมาชิกกลุ่มร่วมกันบันทึกข้อมูลลงในรายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่ม และนาเสนอผลงาน ข้อควรระวัง ขณะปฏิบัติงานควรมีสมาธิ ไม่เล่นหรือพูดคุยกัน และควรระมัดระวังในการใช้อุปกรณ์ที่มีคม เช่น มีดบาง มีดแกะสลัก เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายได้


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 25

รำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนกลุ่ม เรื่อง พื้นฐำนกำรแกะสลักผักและผลไม้ กลุ่มที่.........................ชั้น.......................... รำยชื่อสมำชิก ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................

1. วัสดุอุปกรณ์ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2.ขั้นตอนกำรประดิษฐ์ การตัดและการเกลา

……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………....

การเจาะวงเกสรและการแบ่งส่วนลาย

……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………....

การสลักลาย

……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………....

การสลักร่องลาย

……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………....


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 26

3.ปัญหำและอุปสรรคในกำรทำงำน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4.กำรแก้ไขปัญหำ .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ............................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 5.กำรเปรียบเทียบผลงำนกับกลุ่มอื่น .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 6.แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนในครั้งต่อไป .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

สู้ๆนะจ๊ะเด็กๆ ลงชื่อ....................................................หัวหน้ำกลุ่ม (...................................................)


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 27

แบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อดอกไม้ที่นักเรียนรู้จักมา 5 ชนิด สังเกตลักษณะของกลีบดอกว่ามีรูปแบบ เหมือนการสลักลายกลีบแบบใด และทาเครื่องหมาย ในช่องลักษณะการสลักลายกลีบ ข้อ

ชื่อดอกไม้

ลักษณะกำรสลักลำยกลีบ ลำยกลีบแหลมกลีบเรียบ ลำยกลีบโค้ง

1. 2. 3. 4. 5.

ลำยกลีบแหลมกลีบเรียบ

ลำยกลีบโค้ง


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 28

แบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด และกาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้ในการแกะสลัก ก. ตะแกรง ข. กะละมัง ค. มีดแกะสลัก ง. กระบอกฉีดน้า 2. ขั้นตอนแรกในการแกะสลักดอกไม้คือข้อใด ก. ตัดและเกลาให้เป็นรูปทรง ข. ล้างทาความสะอาด ค. การสลักลาย ง. เจาะวงเกสร 3. การเกลารูปทรงดอกข่ามีลักษณะอย่างไร ก. ทรงหลังเต่า ข. ทรงครึ่งวงกลม ค. ทรงอ้วน สั้น ปลายมน ง. ทรงเรียวยาว ปลายแหลม


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 29

4. ข้อใดคือวิธีการแบ่งส่วนลายในการแกะสลัก ก. แบ่งส่วนลายตามใจชอบ ข. แบ่งส่วนลายเลขคู่ ค. แบ่งส่วนลายเลขคี่ ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค. 5. การเจาะวงเกสรต้องตั้งมีดให้ตรง ซึ่งเท่ากับกี่องศา ก. 90 องศา ข. 60 องศา ค. 45 องศา ง. 30 องศา 6. การแบ่งส่วนลายมีประโยชน์อย่างไรต่อการแกะสลักดอกไม้ ก. งานแกะสลักมีความสมดุล ข. มีขนาดเกสรที่สม่าเสมอ ค. มีขนาดกลีบเท่ากัน ง. ถูกทุกข้อ 7. นักเรียนจะมีวิธีการปฏิบัติอย่างไรถ้าต้องการให้วงเกสรเด่นชัดขึ้น ก. เซาะเนื้อใต้ดอกออก ข. เจาะวงเกสรให้เป็นวงกลม ค. สลักร่องแหลมรอบวงเกสร ง. เอียงมีด 45 องศา เซาะรอบวงเกสร 8. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการแกะสลักได้ถูกต้อง ก. เกลาตัดล้างแกะ ข. ล้างตัดเกลาแกะ ค. ตัดเกลาล้างแกะ ง. แกะเกลาตัดล้าง


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 30

9. การสลักร่องลายโค้งมนต้องปาดเนื้อกลีบดอกให้มีลักษณะเหมือนตัวอักษรใด ก. U ข. V ค. W ง. O 10. การแกะสลักดอกไม้ให้สวยงามผู้แกะสลักต้องมีคุณสมบัติอย่างไร ก. อดทน ประณีต ข. ใจร้อน สมาธิสั้น ค. กล้าแสดงออก ง. เรียบร้อย

ง่ำยนิดเดียวเอง ใช่ไหมคะ


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 31

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เรื่อง พื้นฐำนกำรแกะสลักผักและผลไม้

แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ก 2. ค 3. ค 4. ก 5. ข 6. ง 7. ง 8. ก 9. ง 10. ง

ตรวจคำตอบเลยจ้ำ

แบบทดสอบหลังเรียน 1. ก 2. ข 3. ง 4. ง 5. ก 6. ง 7. ก 8. ข 9. ก 10. ก


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 32

เฉลยแบบฝึกหัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 10 นาที

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อดอกไม้ที่นักเรียนรู้จักมา 5 ชนิด สังเกตลักษณะของกลีบดอกว่ามีรูปแบบ เหมือนการสลักลายกลีบแบบใด และทาเครื่องหมาย ในช่องลักษณะการสลักลายกลีบ ลักษณะกำรสลักลำยกลีบ ลำยกลีบแหลมกลีบเรียบ ลำยกลีบโค้ง

ข้อ

ชื่อดอกไม้

1.

ดอกรักเร่

2.

ดอกบำนชื่น

3.

ดอกกุหลำบ

4.

ดอกข่ำ

5.

ดอกบัว

ลำยกลีบแหลมกลีบเรียบ

ลำยกลีบโค้ง


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 33

กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง พื้นฐำนกำรแกะสลักผักและผลไม้

ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........

ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม

คะแนน


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 34

กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง พื้นฐำนกำรแกะสลักผักและผลไม้

ชื่อ.................................นำมสกุล................................ชั้น.......เลขที.่ .........

ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม

คะแนน


เล่มที่ 2 เรื่อง พื้นฐานการแกะสลักผักและผลไม้ 35

บรรณำนุกรม กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี (สาขา คหกรรม) โรงเรี ย นบางบั ว ทอง. นวัตกรรมสื่อเทคโนโลยีกำรสอน รำยวิชำงำนแกะสลักผักและผลไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก : http://bbt.ac.th/carved/index.htm (วันที่ค้นข้อมูล 12 มีนาคม 2554) ณภัทร ทองแย้ม. แกะผักสลักลำย. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2551. บุรินทร์ภัทร ชูวงศ์. แกะสลักดอกไม้-ใบ เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศรีสยามการพิมพ์, 2554. ศรราม ดีรอด. กำรแกะสลักผลไม้เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2549. ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ. กำรแกะสลักดอกไม้จำกผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2552.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.