TECHNOLOGY
Get Better Results Pipette Techniques
Author info พิชญาสินี โกมลตรี Pitchayasinee Komontree TeleSale- Pipette, Mettler-Toledo (Thailand) Co., Ltd. Pitchayasinee.Komontree@mt.com การปิเปตสารส่งผลโดยตรงต่อความสำ�เร็จและความสามารถในการทำ�ซ้ำ�ในการทดลองของคุณได้อย่างไร 1. ความลึกของการจุ่มทิป
การจุ่มทิปในสารละลายเมือ่ ทำ�การดูด ด้วยความลึกที่เหมาะสมช่วยเพิ่มความถูก ต้องได้ถงึ 5% ดังนัน้ ให้จมุ่ ทิปทีค่ วามลึกที่ แนะนำ�ดังภาพ การจุม่ ทิปลึกเกินไปสามารถ ทำ�ให้ดูดของเหลวมากเกินไป ในทางตรง กันข้าม หากปลายทิปอยู่ใกล้ผิวของเหลว เกินไป จะทำ�ให้อากาศถูกดูดเข้าไปด้วย ทั้งสองกรณีล้วนทำ�ให้ปริมาตรไม่ถูกต้อง 2. มุมของปิเปต
การจับปิเปตเพือ่ ทำ�การดูดสารละลาย ให้จบั ปิเปตให้ตงั้ ฉากกับพืน้ ช่วยเพิ่มความ 1
ถูกต้องได้ถึง 2.5% ในไมโครปิเปต หาก ปิเปตเอียงถึง 20 องศาขึ้นไปจากแนวตั้ง สามารถส่งผลกระทบต่อการวัด 3. การกลั้วปิเปตด้วยสารละลาย
การกลัว้ ปิเปตด้วยสารละลายก่อนทำ�การ ดูดจริงเพิ่มความถูกต้องได้ถึง 0.2% ช่วย ขจัดแรงยกตัวของของเหลว (capillary effect) ในไมโครปิเปต (microvolume pipette) และในทิปขนาดใหญ่ จะเป็นการ ทำ�ให้อุณหภูมิในทิปเท่ากับอุณหภูมิของ ตัวอย่าง 4. การปล่อยของเหลว
เทคนิคการปล่อยของเหลวที่ถูกต้อง จะช่วยเพิ่มความถูกต้องได้ถึง 1% เพื่อ ความสม่ำ�เสมอสูงสุด ให้แตะทิปเข้ากับ
ผนังด้านในของหลอดบรรจุของเหลว แล้ว กดเพื่อปล่อยของเหลวทั้งหมดในทิป จาก นั้นให้ลากปลายทิปบนผนังหลอดเพื่อไม่ ให้ของเหลวติดกับรูปลายทิป เทคนิคการ ปล่อยของเหลวอีกสองแบบตามภาพสามารถ ใช้ได้ดใี นของเหลวทีม่ นี �้ำ เป็นตัวทำ�ละลาย (ไม่มีความหนืด) 5. จังหวะและความเร็ว
ใช้ความเร็วและจังหวะที่สม่ำ�เสมอจะ ช่วยให้มคี วามถูกต้องเพิม่ ขึน้ ได้ถงึ 5% การ ดูดสารเร็วหรือ “กระตุก” สามารถทำ�ให้ ของเหลวกระเด็น เกิดช่องว่างของอากาศ ระหว่างของเหลวในทิป และการสูญเสีย ตัวอย่าง 3
2 มุมที่ถูกต้อง Correct angle 1-10 µL 1-200 µL 200-2000* µL *>2000 µL ให้จุ่มลึก 6-10 มิลลิเมตร *>2000 µL use 6-10 mm depth 28
www.innolabmagazine.com
มุมที่ไม่ถูกต้อง Incorrect angle
การกลั้วปิเปต ทำ�ได้โดยการกดดูด และจ่ายสาร 2 หรือ 3 ครั้ง To pre-rinse, press and release the plunger 2 or 3 times.