INDUSTRY MOVEMENT
Water and Wastewater Trends and Future
Author info กองบรรณาธิการ นิตยสารอินโนแล็บ INNOLAB team innolab@media-matter.com
น้�ำ กลายเป็นความท้าทายอันดับแรกๆ ทีส ่ ง ่ ผลกระทบต่อโลกในปัจจุบน ั ผูค ้ นในประเทศกำ�ลังพัฒนาหลายล้านคนไม่สามารถเข้า ถึงน้�ำ ทีส ่ ะอาดและปลอดภัยได้ สภาพอากาศทีร่ น ุ แรง เช่น ความแห้งแล้ง ทำ�ให้เกิดสถานการณ์ทอ ี่ น ั ตราย ในขณะทีร่ ายงานฉบับ ใหม่คาดการณ์ว่า ในปี 2603 ผู้คนมากกว่าหนึ่งพันล้านคนทั่วโลกจะอาศัยอยู่ในเมืองที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำ�ท่วมอย่าง รุนแรงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
จนกระทัง่ ไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา ความท้าทาย และวิธีการแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับน้ำ�ยังเป็น ที่สนใจเฉพาะในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญและนัก วิทยาศาสตร์ จนในปัจจุบนั น้�ำ ได้รบั ความ สนใจมากยิง่ ขึน้ จากหน่วยงานรัฐและเอกชน นักการเมือง สมาคม และแม้แต่ประชาชน ทั่วไป และประชาชนที่มีความสนใจ แรงผลักดันของอุตสาหกรรมในการนำ� น้�ำ เสียกลับมาใช้ใหม่มคี วามสำ�คัญเพิม่ ขึน้ กว่า เดิม ยิ่งไปกว่านั้น อุตสาหกรรมต้องเผชิญ หน้ากับข้อกำ�หนดของรัฐและของประเทศ ที่บังคับปริมาณสารปนเปื้อนในน้ำ�เสียเข้ม งวดมากขึ้น ทำ�ให้เทคโนโลยีการบำ�บัดน้ำ� เสียแบบดั้งเดิมเพียงอย่างเดียว เช่น การ ตกตะกอน การกรอง และการแลกเปลี่ยน อิออน จึงไม่สามารถปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนด ระดับสารปนเปื้อนใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้น ต่อไป นี้เป็นเทรนด์ของการจัดการน้ำ�และน้ำ�เสีย ในปัจจุบันและในอนาคต 14
www.innolabmagazine.com
การนำ�น้ำ�กลับมาใช้ใหม่
กลยุทธ์ทจี่ ะช่วยให้โลกสามารถได้ประโยชน์ จากแหล่งน้�ำ มีการพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทุกวัน ไม่ว่าจะมีความแห้งแล้งหรือการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือไม่ก็ตาม การ น้ำ�เสียจากชุมชนที่ผ่านการบำ�บัดแล้วเป็น แหล่งทรัพยากรที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ใน ทวีปอเมริกาเหนือ น้ำ�เสียได้รับการบำ�บัด 75% (วันละ 16 ล้านล้านแกลลอน) แต่ มีไม่ถึง 4% ที่ถูกนำ�มาใช้ใหม่ ซึ่งจำ�เป็น ต้องทำ�ให้ช่องว่างนี้แคบลง น้�ำ ทีผ่ า่ นการรีไซเคิลสามารถตอบสนอง ความต้องการส่วนใหญ่ได้ ตราบใดที่ผ่าน การบำ�บัดอย่างเพียงพอเพื่อรับประกันว่า น้ำ�มีคุณภาพเหมาะสมต่อการใช้ น้ำ�เสีย จากชุมชนที่ผ่านการบำ�บัดส่วนใหญ่จะถูก ปล่อยสูแ่ หล่งรับน้�ำ ของเมือง น้�ำ ทีผ่ า่ นการ รีไซเคิลส่วนใหญ่มักนำ�ใช้เป็นน้ำ�ใช้ (ไม่ใช้ ดื่ม) เช่น การเกษตร งานภูมิทัศน์ สวน
สาธารณะ สนามกอล์ฟ เป็นต้น น้�ำ ใช้อนื่ ๆ รวมทั้งน้ำ�หล่อเย็นโรงไฟฟ้าและโรงกลั่น น้ำ�มัน น้ำ�ใช้ในกระบวนการของโรงงาน เช่น โรงงานผลิตกระดาษ น้ำ�ชักโครก ใช้ ควบคุมฝุน่ การก่อสร้าง ผสมคอนกรีต และ สระน้�ำ แม้วา่ โครงการรีไซเคิลน้�ำ ส่วนใหญ่ พัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการน้ำ�ใช้ โครงการจำ�นวนมากใช้น้ำ�รีไซเคิลเป็นน้ำ� ดื่มโดยอ้อม ได้แก่ การเติมน้ำ�รีไซเคิลลง ในชัน้ ดินเพือ่ เป็นน้�ำ ใต้ดนิ และเพิม่ ปริมาณ น้ำ�ผิวดินในแหล่งน้ำ� และเพื่อป้องกันน้ำ� ทะเลหนุนในแถบชายฝั่ง ที่จริงแล้ว น้ำ�เสียสามารถบำ�บัดให้ มีคุณภาพเหมาะสมสำ�หรับใช้เป็นน้ำ�ดื่ม ได้ ในอดีต นโยบายจะเน้นไปที่คุณภาพ ของน้ำ�หลังบำ�บัดที่ปล่อยออกมา กำ�หนด ปริมาณการปล่อยน้�ำ หลังบำ�บัดเพือ่ ปกป้อง สิ่งแวดล้อม ซึ่งยิ่มเป็นสิ่งสำ�คัญและมี ความจำ�เป็น อย่างไรก็ตาม นโยบายและ