INNOLAB magazine #11.63

Page 30

INDUSTRY MOVEMENT

LIFE EXTENSION POSSIBLE IN YEARS TO COME

Author info กองบรรณาธิการ นิตยสารอินโนแล็บ INNOLAB team innolab@media-matter.com

เมื่ออายุมากขึ้นก็มักมีโอกาสเสี่ยงกับโรคต่างๆ มากขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะในปัจจุบันที่อายุขัยเฉลี่ยของประชากร มีแนวโน้มเพิม ่ มากขึน ้ เรือ ่ ยๆ และโครงสร้างประชากรโลกในขณะนีก ้ ม ็ ส ี ด ั ส่วนของผูส ้ ง ู อายุเพิม ่ มากขึน ้ เช่นกัน โดยคาด กันว่าในปี 2593 ประชากรโลกที่มีอายุมากกว่า 60 ปี จะมีอยู่ถึงประมาณ 2 พันล้านคน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีแค่ เพียง 900 ล้านคน เมื่อประชากรผู้สูงอายุมีจำ�นวนมากก็จำ�เป็นต้องใช้งบประมาณด้านสาธารณสุขมาดูแลสุขภาพ ประชากรเหล่านี้สูงขึ้นด้วยเช่นกัน และนั่นย่อมส่งผลกระทบไปถึงเศรษฐกิจ

รุน่ ทีก่ �ำ ลังทยอยก้าวเข้าสูว่ ยั เกษียณนัน่ ก็คือเบบี้บูมเมอร์ ซึ่งคนกลุ่มนี้มีกำ�ลังซื้อ สูงและให้ความสำ�คัญกับการดูแลสุขภาพ ตนเอง นั่นทำ�ให้อุตสาหกรรมเวชศาสตร์ ชะลอวัยเติบโตขึ้นตามไปด้วย ตลาดเวช สำ�อางชะลอวัยมีมูลค่า 250 พันล้าน ดอลลาร์เมื่อปี 2559 และคาดว่าจะเพิ่ม ขึ้นด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ย 5.8% ต่อปี จนไปแตะที่มูลค่า 331 พันล้านดอลลาร์ ในปี 2564 โดยอเมริกาเหนือเป็นภูมิภาค ทีม่ สี ว่ นแบ่งการตลาดมากทีส่ ดุ อันเป็นผล มาจากความตืน่ ตัวของกลุม่ คนรักสุขภาพที่ ต้องการชะลอวัย เข้าใจกลไกความชราเพื่อหาทาง ชะลอวัย

ที่ผ่านมา การชะลอวัยมักเน้นไปที่ ความสวยความงาม แต่ในอีกแง่มุมหนึ่ง 30

www.innolabmagazine.com

แล้วความชราก็ส่งผลกระทบไปถึงสุขภาพ โดยตรง เมื่ออายุมากขึ้นก็ต้องเผชิญกับ โรคต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับอายุที่เพิ่มมาก ขึ้น เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน หรือโรคระบบประสาท เป็นต้น และด้วยความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ชีวภาพในปัจจุบนั จึงมีการวิจยั และพัฒนา เพือ่ หาแนวทางต่างๆ สำ�หรับการชะลอวัย ให้ออกสูต่ ลาดในเชิงพาณิชย์ ด้วยการพุง่ เป้า ไปทีก่ ระบวนการความชราโดยตรง เพือ่ ต่อ ต้านอาการหรือโรคที่เกิดขึ้นจากความชรา ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาตั้งแต่โภชนเภสัช การฟื้นฟูสภาพด้วยโลหิตบำ�บัด การใช้บิ๊ กดาต้าเข้ามาช่วยในการออกแบบโมเดล สุขภาพดีในวัยชรา หรือแม้แต่ยาอายุวฒ ั นะ ปัจจุบนั เป็นทีท่ ราบกันแล้วว่า การชะลอ ความชราในสัตว์นนั้ เป็นไปได้ โดยการเข้าไป เปลีย่ นแปลงในระดับยีน การเปลีย่ นแปลง

ในโภชนาการ และทางเภสัชศาสตร์ การ แทรกแซงดังกล่าวสามารถยืดอายุสงิ่ มีชวี ติ ที่ มีอายุสนั้ อย่างเช่น ยีสต์ ไส้เดือน แมลงวัน และหนูได้ โดยวิธีนี้ไม่ได้แค่จะทำ�ให้สิ่งมี ชีวติ มีอายุยนื ขึน้ เท่านัน้ แต่ยงั ทำ�ให้รา่ งกาย มีสุขภาพดีในเวลาที่ยาวนานขึ้นด้วย โดยส่วนใหญ่แล้ว การรักษาโรคนั้นมัก จะเริม่ ต้นหลังจากทีผ่ ปู้ ว่ ยมีอาการผิดปกติ เด่นชัด แต่ตามหลักของ Geroscience แล้ว ความเสียหายในระดับโมเลกุลหรือเซลล์ ทีเ่ ป็นสาเหตุของการเกิดโรคทีเ่ กีย่ วข้องกับ วัยชรานัน้ เริม่ ต้นมาก่อนทีร่ า่ งกายจะแสดง อาการป่วยเสียอีก แม้ความเส่ียงที่จะเกิด โรคต่างๆ นี้จะถึงจุดสูงสุดเมื่อมีอายุแตะ 60 ปี แต่อันที่จริงแล้วความเสียหายนั้น ได้ก่อตัวขึ้นมาตั้งแต่เราอายุได้ 20-30 ปี แล้ว ดังนั้น Geroscience จึงมุ่งเป้าไป ที่กระบวนการในระดับโมเลกุลที่เกี่ยวข้อง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.