Ca351 week06 tv script

Page 1

นศ 351

การผลิตรายการวิดที ศั น์ 1 [CA 351 Video Program Production 1] (ปี การศึกษาที่1/2557)

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารย์ ณัฏฐพงษ์ สายพิณ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ บูรณาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้

การเล่ าเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน์ • • • • • • • •

ภาษาเสียง และคําศัพท์เทคนิคเฉพาะทาง วัตถุประสงค์และรูปแบบของบทวิทยุโทรทัศน์ ประเภทของบทวิทยุโทรทัศน์ หลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ ขันตอนการเขี ้ ยนบทโทรทัศน์ โครงสร้ างรายการโทรทัศน์ เทคนิคการเขียนบทโทรทัศน์ ตัวอย่างบทวิทยุโทรทัศน์รายการประเภทต่างๆ


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|2

ภาษาเสียง (SOUND LANGUAGE) และคําศัพท์ เทคนิคเฉพาะทาง แม้ วา่ ภาษาภาพเป็ นหัวใจสําคัญของการสือ่ สารผ่านวิทยุโทรทัศน์ แต่การใช้ ภาษาภาพเพียงอย่างเดียวก็ยงั ไม่สามารถ สือ่ สารเนื ้อหาได้ ตามที่ผ้ เู ขียนบทต้ องการ บทวิทยุโทรทัศน์จึงยังจําเป็ นที่ต้องใช้ เสียงเข้ ามาเป็ นส่วนเสริ มเพื่อให้ ภาพนันทํ ้ าหน้ าที่ สือ่ สารเรื่ องราวได้ สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น สําหรับภาษาเสียงของสือ่ วิทยุโทรทัศน์นนมี ั ้ ลกั ษณะคล้ ายกับสือ่ วิทยุกระจายเสียงซึง่ ประกอบด้ วย เสียงพูด เสียงดนตรี และเสียงประกอบพิเศษ มีรายละเอียดดังนี ้ 1. เสียงพูด คําสนทนา และเสียงบรรยาย ต้ องวิเคราะห์ผ้ รู ับสารทังอายุ ้ ความรู้ ความสนใจ ฯลฯ เพื่อนําไปเป็ นข้ อมูลในการเลือกภาษาที่เหมาะสมกับ กลุม่ เป้าหมาย และเขียนบทโดยใช้ ภาษาที่ใช้ ในชีวิตประจําวัน โดยเลือกจากประโยคหลักก่อนจึงตามด้ วยประโยคขยาย 2. เสียงดนตรี − ทําหน้ าที่เป็ นสัญลักษณ์ประจํารายการ เมื่อผู้ชมได้ ยินเสียงดนตรี ก็จะสามารถระลึกได้ วา่ เป็ นรายการอะไร − สร้ างอารมณ์หรื อความรู้สกึ ในแง่ด้านการแสดง − สร้ างความต่อเนื่องระหว่างฉาก กรณีดนตรี เดียวกันที่ใช้ เชื่อมต่อหรื อความต่อเนื่องระหว่างฉากทังสองได้ ้ จนคน ดูแทบจะไม่ร้ ูสกึ สะดุด ลักษณะการเชื่อมนี ้เรี ยกว่า ลีดอิน (Lead-in) − แสดงสถานที่ เช่น เสียงแคนและซึงสามารถสร้ างบรรยากาศของภาคอีสานและภาคเหนือได้ 3. เสียงประกอบพิเศษ − บอกสถานที่ เช่น เสียงลม เสียงคลืน่ กระทบฝั่ งบอกถึงบรรยากาศชายทะเล − บอกอารมณ์ เช่น เสียงนาฬิกาเต้ นติ๊กต๊ อกๆ ๆ ไปเรื่ อยๆ บอกถึงอารมณ์ที่กระวนกระวายใจคล้ ายเผ้ ารอคอย อะไรสักอย่าง − บอกเวลา เช่น เสียงไก่ขนั ตอนเช้ า − บอกการเริ่ มต้ นหรื อจบสิ ้นเหตุการณ์แต่ละฉาก เช่น เสียงสตาร์ รถในบ้ านและวิ่งออกไปจากบ้ าน − ใช้ เชื่อมโยงเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ให้ มีความต่อเนื่องหรื อสัมพันธ์กนั (Sound over) หากเสียงตอนท้ ายของฉาก หนึง่ ดังต่อเนื่องไปยังฉากต่อไป เรี ยกว่าการข้ ามเวลา (Overlapping) ส่วนการใช้ เสียงจากฉากต่อไปดังเข้ ามา ก่อนที่จะได้ เห็นฉากนัน้ เรี ยกว่าการเข้ ามาก่อนเวลา (Lead-in) เช่น ฉากที่ตวั ละครกําลังนัง่ รถแท็กซี่ จากนันก็ ้ มี เสียงพิมพ์แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ ดงั เข้ ามาแล้ วเปลีย่ นฉากเป็ นบรรยากาศการทํางานในสํานักพิมพ์แห่งหนึง่ ฉาก นี ้สือ่ ให้ เห็นการเข้ ามาทํางานในสํานักพิมพ์แห่งนี ้ของตัวละคร ศัพท์ เทคนิคด้ านเสียงที่ใช้ ในการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ ผู้เขียนบทโทรทัศน์สามารถระบุเสียงที่ต้องการด้ วยการใช้ ศพั ท์เทคนิคสันๆ ้ เพื่อสือ่ สารให้ ผ้ ผู ลิตรายการได้ เข้ าใจและสา มารรถผลิตรายการออกมาได้ ตรงกับที่ผ้ เู ขียนบทต้ องการมากที่สดุ ศัพท์เทคนิคเหล่านี ้เป็ นศัพท์ที่บคุ คลในกระบวนการผลิตรายการ สามารถเข้ าใจได้ โดยทัว่ กัน ดังนี ้ 1. Narration หมายถึง เสียงบรรยาย 2. Sound Effect (SFX) หมายถึง เสียงประกอบพิเศษ


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|3

3. Music หมายถึง เสียงดนตรี 4. Off scene หมายถึง เสียงพูดที่ไม่เห็นคนพูดในภาพ โดยภาพที่กําลังนําเสนออยูน่ นอาจเป็ ั้ นภาพของอีกคนหนึง่ หรื อสถานที่หนึง่ เช่น ภาพเปิ ดเรื่ องเป็ นภาพทุง่ หญ้ าเขียวขจีและมีคนงานกําลังทําไร่อยูอ่ ย่างมีความสุข ขณะเดียวกันก็มีเสียงคนเล่าถึงชีวิตความสุขในวัยเด็กโดยไม่เห็นตัวคนเล่า เป็ นต้ น 5. Fade in หมายถึง การค่อยๆ เพิ่มระดับเสียงจากที่ไม่มีเสียงเลยดังขึ ้นจนอยูใ่ นระดับเสียงปกติ 6. Fade out หมายถึง การค่อยๆ ลดระดับเสียงจากระดับเสียงปกติจนอยูใ่ นระดับที่เงียบหายไป 7. Fade up หมายถึง การเพิ่มระดับความดังของเสียงให้ ดงั ขึ ้นเต็มที่ 8. Fade down หมายถึง การลดระดับความดังของเสียงให้ เบาลงกว่าปกติ 9. Fade under หมายถึง การลดระดับเสียงหนี่งลงเพื่อให้ อีกเสียงหนึง่ เด่นขึ ้นมาแทน เช่น เสียงดนตรี กําลังดังเป็ น ปกติ เราต้ องการให้ ผ้ ดู ําเนินรายการเริ่ มพูด เราก็ Fade under เสียงดนตรี ให้ เบาลงแต่ยงั คลอๆ อยู่ 10. Cross fade หมายถึง การค่อยๆ ลดระดับเสียงหนี่งให้ จางหายไป พร้ อมๆ กับนําเสียงใหม่ให้ ดงั ขึ ้นมาแทนที่ 11. Pop in หมายถึง การนําเอาเสียงข้ ามาด้ วยความดังปกติ 12. Pop out หมายถึง การนําเอาเสียงออกไปทันที 13. VO มาจาก Voice over หมายถึง การนําเฉพาะเสียงของผู้ประกาศ หรื อผู้สอื่ ข่าวนําเสนอข่าว ขณะที่เทปภาพ กําลังนําเสนอภาพข่าวนัน้ ๆ ลักษณะ VO แบ่งเป็ น a. VO/ NS มาจาก Voice over /Natural sound หมายถึง การนําเสียงของผู้ประกาศข่าวออกอากาศ ขณะที่ ภาพ และเสียงของข่าวนัน้ ๆออกอากาศ โดยให้ เสียงของผู้ประกาศดังกว่าเสียงจากเทปภาพ ข่าว b. VO/ SIL มาจาก Voice Over /Silent หมายถึง การนําเสียงของผู้ประกาศข่าวออกอากาศโดยที่ไม่เอา เสียงของข่าวนัน้ ๆ ออกอากาศเลย c. MVO (Male Voice-over) ถ้ าเป็ นเสียงผู้ชาย d. FVO (Female Voice-over) ถ้ าเป็ นเสียงผู้หญิง 14. Vox Pop เสียงสัมภาษณ์สนั ้ ๆ เพื่อแสดงความคิดเห็นประกอบเรื่ องราว 15. SOT มาจาก Sound on tape หมายถึง เสียงที่มาจากการ บันทึกภาพเหตุการณ์ ณ ที่เกิดเหตุมกั เป็ นเสียง สัมภาษณ์ a. SB มาจาก Sound Bite หรื อ NS มาจาก Natural sound หมายถึง เสียงที่มาจากการบันทึกภาพ เหตุการณ์ ณ ที่เกิดเหตุ มักเป็ นเสียงเหตุการณ์ เช่น เสียงระเบิด เสียงภูเขานํ ้าแข็งกําลังถล่ม b. OC มาจาก Out cue หมายถึง หมายถึง คําที่ใช้ บอกให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องดูแลว่าภาพ และเสียงจากเทปจบ ลงที่ใด เพื่อนําเสนอข่าวสารอื่นต่อไป c. OG มาจาก Character Generator หรื อ Super หมายถึง การใช้ ตวั อักษรแทรกบนภาพโดยมากมัก เป็ นชื่อนามสกุล และตําแหน่งของบุคคลในภาพ อาจเป็ นชื่อสถานที่ การรายงานอัตราแลกเปลีย่ น เงินตรา พยากรณ์อากาศก็ได้ 16. ON CAM มาจาก On camera หมายถึง การให้ นําภาพผู้ประกาศออกอากาศ


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|4

17. Split Screen หมายถึง การแบ่งจอภาพออกเป็ นสองส่วน เพื่อรายงานโต้ ตอบระหว่างผู้ประกาศในสถานี กับ ผู้สอื่ ข่าว ณ ท้ องที่เกิดเหตุการณ์ 18. Box หมายถึง การทําภาพแทรกเป็ นกรอบเล็กๆ บนฉากหลัง ทางด้ านข้ าง ค่อนไปทางด้ านบนของผู้ประกาศ เพื่อ รายงานภาพนิ่ง หรื อภาพเคลือ่ นไหวของข่าวสารที่ กําลังนําเสนอ 19. Graphic หมายถึง ตัวอักษร หรื อสัญลักษณ์ เช่น แผนที่ แผนภูมิ 20. TC ย่อมาจาก Time Code ใช้ ระบุระยะเวลาของเสียงที่ใช้ วัตถุประสงค์ และรูปแบบของบทวิทยุโทรทัศน์ วัตถุประสงค์ ของบทโทรทัศน์ 1. ให้ รายละเอียดในการทํางานแก่ทีมงาน ทําให้ ทกุ ฝ่ ายทํางานประสานกันได้ อย่างราบรื่ นและทราบว่าการผลิตรายการ จะดําเนินไปอย่างไร ทังในช่ ้ วงวางแผนการผลิต ช่วงฝึ กซ้ อม และขณะผลิตรายการ 2. ตัวหนังสือจะต้ องแปลงเป็ นภาพได้ นํามาผลิตเป็ นรายการได้ 3. กําหนดขอบเขตของงานให้ ชดั เจน มีฉากที่เป็ นรูปร่าง และมีแนวทางให้ นกั แสดง และ เจ้ าหน้ าที่ในการผลิตรายการ บท โทรทัศน์จะช่วยให้ เจ้ าหน้ าที่และตัวแสดงทราบว่าการผลิตรายการจะดําเนินการอย่างไร รูปแบบบทวิทยุโทรทัศน์ (Script Format) นิยมเขียนโดยส่วนของภาพอยูค่ รึ่งหน้ ากระดาษทางซ้ าย (Video) ส่วนของเสียงอยูท่ างขวาของคอลัมน์ภาพ (Audio) หากต้ องการเขียนข้ อแนะนําหรื อเครื่ องหมายของ shot ได้ แก่ ศัพท์ทางด้ านโทรทัศน์ คําอธิบายภาพ ภาพ และสิง่ ที่จําเป็ นที่สาํ คัญ ที่เกี่ยวกับภาพโทรทัศน์ให้ เขียนไว้ ในส่วนภาพ (Video) และเมื่อต้ องการใส่คําบรรยาย เพลง เสียงประกอบ รวมไปถึงการอธิบาย หน้ าที่ตา่ งๆ ให้ กบั นักแสดงหรื อผู้บรรยาย เช่น การเคลือ่ นไหว การใช้ อารมณ์ นํ ้าเสียง ฯ ให้ ใส่ไว้ ในส่วนเสียง (Audio) นอกจากนี ้ อาจมีคอลัมน์เพิ่มเติมเพื่ออํานวยความสะดวกแก่การทํางานมากขึ ้น เช่น คอลัมน์บอกลําดับที่ของช็อท คอลัมน์บอกระยะเวลา เป็ น ต้ น คอลัมน์ภาพจะอยูด่ ้ านซ้ ายของบท ในบางกรณีช่องภาพจะทิ ้งให้ วา่ งไว้ เพื่อให้ ผ้ กู ํากับเป็ นผู้กําหนดลักษณะของภาพเอง ผู้เขียนบทจะระบุลกั ษณะภาพที่สาํ คัญ เช่น ชื่อหัวข้ อ graphics, special effects, film หรื อ video tape ที่ใช้ และเขียนไว้ ให้ ตรง กับคอลัมน์เสียงที่ใช้ บรรยายภาพ ในคอลัมน์ภาพอาจจะบุเวลาของภาพแต่ละภาพสําหรับรายการข่าว เช่น ความยาวของ video tape ที่ใช้ เพื่อให้ ผ้ กู ํากับ รายการจัดความยาวของภาพข่าวในแต่ละช่วง เพื่อให้ ผ้ ปู ระกาศทราบว่ากล้ องกําลังจะจับภาพผู้อา่ น หลังจากจบภาพจากเทป คอลัมน์เสียงจะประกอบด้ วย เสียงต่าง ๆ ในรายการ โดยให้ ระบุเสียงผู้พดู และคําพูดโดยพิมพ์ เว้ นบรรทัด คิวเสียง ประกอบกับเสียงดนตรี จะขีดเส้ นใต้ เพื่อแยกออกจากบทพูด ข้ อมูลอื่น ๆ ที่ไม่ใช่คําพูดเช่น ลักษณะการพูดของนักแสดงจะใส่ไว้ ใน วงเล็บ เพื่อให้ นกั แสดงไม่สบั สนว่าส่วนไหนเป็ นบทพูดและส่วนใดเป็ นคําสัง่ มีบทน้ อยมากที่จะไม่ถกู แก้ ไขขณะถ่ายทํา เช่น เมื่อ ออกอากาศละครหลังข่าวไปแล้ วหนึง่ ตอน อาจต้ องมาแก้ ไขเปลีย่ นแปลงบทที่จะออกอากาศในตอนต่อ ๆ ไป ตาม feed back ที่ ได้ รับเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงแก้ ไขบทโทรทัศน์ ควรมีการจดบันทึกวันที่แก้ ให้ แน่นอน เพื่อให้ ทกุ คนไม่สบั สนว่าบทที่มีอยูเ่ ป็ นฉบับที่ แก้ ไขแล้ วหรื อไม่ หรื ออาจแก้ ลงกระดาษที่มีสแี ตกต่างจากบทเล่มที่ทกุ คนมีบทที่ใช้ หน้ ากล้ องควรพิมพ์บนกระดาษสีออ่ น เช่น เหลือง ฟ้ า เขียว ชมพู หรื อ เทา เพราะกระดาษสีขาวจะสะท้ อนแสงในกองถ่ายทําให้ ตวั แสดงอ่านได้ ยาก


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|5

รายการและคําอธิบายที่ต้องเขียนไว้ ก่อนบท รายละเอียดก่อนเขียนบทโทรทัศน์ผ้ เู ขียนบทควรเขียนคําอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของผู้แสดง(Character) ฉาก (Setting) อุปกรณ์ประกอบฉากและ วัสดุกราฟิ กต่างๆที่นํามาใช้ ประกอบรายการ (Props and Involved Graphics) คําอธิบายเหล่านี ้เขียน ลงบนกระดาษแผ่นเดียวหรื อหลายแผ่นปะหน้ าตัวบทโทรทัศน์เอาไว้ เพราะคําอธิบายดังกล่าวจะไม่เขียนลงในตัวบททังนี ้ ้เพื่อ ป้องกันความสับสนขณะอ่านบทระหว่างการผลิตรายการ รายละเอียดที่จําเป็ นต้ องกําหนดไว้ ในใบปะหน้ ามีดงั นี ้ คือ 1. ชื่อสถานีโทรทัศน์และหรื อหน่วยงานที่ผลิตรายการเช่น สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 2. ชื่อรายการ เช่น “ท่องทัว่ ไทย” 3. ชื่อตอน เช่น ตอนที่ 15 ตอน ปาย บ๊ ายบายเมืองกรุง 4. ชื่อรูปแบบของรายการ เช่น รายการสารคดีเพื่อการท่องเที่ยว 5. ความยาวของรายการ เช่น ความยาว 30.00 นาที 6. ชื่อผู้ดําเนินรายการหรื อพิธีกร เช่น พิธีกร แดน วรเวช ดานุวงศ์ 7. ชื่อผู้ร่วมรายการ เช่น ชมพู่ อารยา เอ ฮาร์ เก็ต 8. สถานที่ผลิตรายการ เช่น อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 9. วันเวลาที่ผลิตรายการ(รายละเอียดเวลาทังการผลิ ้ ตในสตูดิโอรวมทังเวลาการตั ้ ดต่อรายการ)เช่น วันที่ 1 – 5 มิถนุ ายน 2555 10. วันเวลาที่ออกอากาศ เช่น วันศุกร์ ที่ 20 กรกฎาคม 2555 เวลา 17.30 – 18.00 น. 11. บุคลากรที่รับผิดชอบรายการ ประกอบด้ วย 11.1 ผู้ผลิตรายการ เช่น บริ ษัท ไทยรักเที่ยว จํากัด 11.2 ผู้กํากับรายการ xxxxx 11.3 ช่างกล้ อง xxx 11.4 บุคลากรเทคนิคอื่น ๆ xxx 12. รายละเอียดเกี่ยวกับฉากแผนผังเวทีและวัสดุประกอบฉากเช่น เป้สะพายหลัง, ตัว๋ เครื่ องบิน, กล้ องถ่ายรูป


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|6


และ การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|7

ประเภทของบทวิทยุโทรทัศน์ บทบางประเภทจะบอกคําพูดทุกคํา บอกลักษณะของมุมกล้ อง และกําหนดจุดยืนทุกจุดของนักแสดง บทบาทประเภทจะ บอกเพียงวิธีการผลิตอยางคร่าวๆ โดยไม่ระบุรายละเอียดมากนักเขียนบทที่ดีจะช่วยให้ ทกุ ฝ่ ายสามารถทํางานประสานกันได้ อย่าง ราบรื่ นสามารถแบ่งบทวิทยุโทรทัศน์ได้ ดงั นี ้ 1. บทวิทยุโทรทัศน์แบบสมบูรณ์ (The Fully Scripted Show) 2. บทวิทยุโทรทัศน์แบบกึ่งสมบูรณ์ (The Semi-Scripted Show) 3. บทวิทยุโทรทัศน์แบบบอกเฉพาะรูปแบบ (The ShowFormat) 4. บทโทรทัศน์แบบร่างกําหนดการของรายการ (Fact sheet) 1. บทวิทยุโทรทัศน์ แบบสมบูรณ์ (The Fully Scripted Show) บทประเภทนี ้จะบอกคําพูดทุกคําพูดที่จะพูดในรายการตังแต่ ้ ต้นจนจบ ไว้ ในส่วนเสียง และบอกรายละเอียดเกี่ยวกับ คําสัง่ ทางด้ านภาพไว้ ในส่วนภาพอย่างสมบูรณ์ มักจะในรายการประเภทข่าว ละคร สารคดี และรายการโฆษณาสินค้ า เป็ นต้ น บทประเภทนี ้จะนํามาใช้ เมื่อมัน่ ใจว่าผู้แสดงรู้จกั การพูดบทแทนการอ่านบทในขณะแสดงมิฉะนันจะทํ ้ าให้ รายการน่าเบื่อได้ ประโยชน์ของการเขียนบทประเภทนี ้ก็คือสามารถมองภาพของรายการได้ อย่างทะลุปรุโปร่งเพราะมีการกําหนดมุมกล้ องขนาดของ ภาพลักษณะของเลนส์ที่ใช้ การเคลือ่ นไหวกล้ องอย่างชัดเจน แต่ก็มีข้อเสียคือเป็ นการกําหนดตายตัวโดยมิเปิ ดโอกาสให้ ผ้ กู ํากับได้ ใช้ ความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์กําหนดมุมภาพหรื อการดําเนินเรื่ องอย่างอิสระ ซึง่ ข้ อดีของบทประเภทนี ้คือ ทีมงานสามารถมองเห็นภาพของรายการได้ ตงแต่ ั ้ ต้นจนจบ ทีมงานสามารถกําหนดมุมกล้ อง ขนาดภาพ ขนาดของเลนส์ที่ใช้ รวมถึงการเคลือ่ นไหวของกล้ องได้ ถกู ต้ องแน่นอน ข้ อเสีย หากมีคนใดคนหนึง่ ไม่ปฏิบตั ิตามบท จะก่อให้ เกิดความสับสนในการถ่ายทํา เช่น ผู้แสดงไม่เคลือ่ นไหวตามบท ทําให้ ตากล้ องสับสน


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|8

ตัวอย่ างบทวิทยุโทรทัศน์ แบบสมบูรณ์

2. บทวิทยุโทรทัศน์ แบบกึ่งสมบูรณ์ (The Semi-Scripted Show) บทประเภทนี ้คล้ ายกับบทวิทยุโทรทัศน์แบบสมบูรณ์ ไม่กําหนดรายละเอียดของมุมกล้ องแต่วา่ งไว้ เพื่อให้ ผ้ กู ํากับรายการ ได้ กําหนดเองแต่บางรายการอาจกําหนดคําสัง่ ลงบนด้ านภาพบ้ าง ทางด้ านคําพูด คําบรรยายบ้ างบทสนทนาก็ไม่ได้ ระบุหมดทุก ตัวอักษรหรื อทุกคําเพียงแต่ให้ ประโยคเริ่ มต้ นประเด็นที่จะพูดและประโยคสุดท้ ายเพื่อเป็ นสัญญาณชี ้แนะเท่านัน้ มักใช้ ในรายการ สารคดี วาไรตี ้ หรื อทอล์คโชว์ เป็ นต้ น ทังนี ้ ้สิง่ สําคัญของบทวิทยุโทรทัศน์แบบกึ่งสมบูรณ์คือ ต้ องระบุคําพูดสุดท้ ายของประโยค ก่อนที่จะตัดภาพไปยังภาพเหตุการณ์อื่น เช่น ตัดภาพจากผู้บรรยายไปเป็ นภาพแทรกเหตุการณ์จริ ง เป็ นต้ น


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

|9

3. บทวิทยุโทรทัศน์ แบบบอกเฉพาะรูปแบบ (The ShowFormat) บทประเภทนี ้จะเขียนเฉพาะคําสัง่ ของส่วนต่างๆ ที่สาํ คัญในฉากสําคัญๆ หรื อลําดับรายการที่สาํ คัญๆ รวมทังบอกเวลา ้ ของแต่ละตอน บทโทรทัศน์แบบนี ้มักใช้ กบั รายการประจําสถานี เช่น รายการสนทนา รายการอภิปราย รายการปกิณกะ เป็ นต้ น ตัวอย่ างบทวิทยุโทรทัศน์ แบบบอกเฉพาะรูปแบบ

4. บทโทรทัศน์ แบบร่ างกาหนดการของรายการ (fact sheet) บทโทรทัศน์ประเภทนี ้จะแสดงเพียงเค้ าโครงของรายการในลักษณะร่างลําดับของรายการตัง่ แต่เริ่ มรายการจนจบรายการ ที่มีการกําหนดช่วงเวลาของเนื ้อหาในช่วงต่างๆในรายการ บทประเภทนี ้เหมาะสําหรับรายการที่ไม่สามารถกําหนดรายละเอียดทุก คําพูดหรื อเสียงไว้ ลว่ งหน้ าได้ จึงมีเพียงโครงร่างของรายการไว้ มักใช้ กบั รายการสารคดี รายการนิตยสาร รายการสนทนา รายการ สัมภาษณ์ เป็ นต้ นข้ อดีของบทประเภทนี ้ คือ ดูง่ายสามารถเข้ าใจรายละเอียดของรายการได้ ทนั ที ว่าเป็ นรายการอะไร รูปแบบใด และต้ องเตรี ยมอะไรในรายการบ้ างเช่น บทรายการเจาะใจ รูปแบบ – สัมภาษณ์ ความยาว 30 นาที 1. Interlude - เปิ ดรายการ 5 2. พิธีกร -กล่าวเปิ ดรายการ 2 3. โฆษณา .30 4. พิธีกร -กล่าวแนะนําผู้สนทนา 2


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 10

5. สัมภาษณ์ -ประวัติ ความเป็ นมาของผู้ป่วยโรคเอดส์ 5 6. โฆษณา .30 7. พิธีกร -นําเข้ ารายการ 2 8. สัมภาษณ์ -เหตุการณ์ที่เผชิญอยู่ 8 9. พิธีกร -กล่าวสรุป 2 10. Interlude - ปิ ดรายการ 3 รวม 30 นาที

หลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ 1. เขียนโดยใช้ สาํ นวนสนทนาที่ใช้ สาํ หรับการพูดคุย แต่ไม่ใช้ ศพั ท์แสลง 2. เขียนโดยเน้ นภาพให้ มาก (ไม่บรรจุคําพูดไว้ ทกุ ๆวินาที แบบรายการวิทยุ) ภาพ

3. เขียนอธิบายแสดงให้ เห็นถึงสิง่ ที่กําลังพูดถึง ไม่เขียนและบรรยายโดยปราศจากภาพประกอบหรื อการบรรยายให้ เห็น

4. เขียนเพื่อเป็ นแนวทางให้ เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผู้ชมแต่ละกลุม่ ผู้ซงึ่ เป็ นเป้าหมายในรายการ ไม่ใช่เขียนเพื่อผู้ชม โทรทัศน์สว่ นใหญ่ ที่สดุ

5. พยายามใช้ ถ้อยคําสํานวนที่เข้ าใจกันยุคนัน้ หากมีคําที่ให้ ความหมายเหมือนกันหลายคําให้ เลือกใช้ คําที่เข้ าใจได้ ง่าย 6. เขียนเรื่ องที่นา่ สนใจเหมาะกับกลุม่ เป้าหมาย

7. ค้ นคว้ าวัตถุดิบต่างๆ เพื่อนํามาใช้ สนับสนุนเนื ้อหาในบทอย่างถูกต้ องไม่เดาเอาเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีข้อเท็จจริ ง เข้ าไปเกี่ยวข้ อง 8. เขียนบทเริ่ มต้ นให้ นา่ สนใจและกระตุ้นให้ ผ้ ชู มอยากชมต่อไป 9. ใช้ เทคนิคประกอบพอสมควร ไม่ใช้ เทคนิคมากเกินไปจนเป็ นสาเหตุให้ สญ ู เสียภาพที่เป็ นส่วนสําคัญที่ต้องการให้ ผ้ ชู ม ได้ เข้ าใจได้ เห็น 10. ผู้เขียนบทต้ องแจ้ งให้ ทราบถึงอุปกรณ์ที่ต้องใช้ เป็ นพิเศษ ซึง่ จําเป็ นและอาจหาได้ ยาก และควรคํานึงถึงงบประมาณ ในการผลิตด้ วย 11. ผู้เขียนบทต้ องให้ ความเชื่อถือผู้กํากับรายการว่าสามารถแปลและสร้ างสรรค์ภาพได้ ตามอธิบายคําแนะนําของผู้เขียน เนื่องจากบางครัง้ ต้ องมีการตัดทอนบทให้ เข้ ากับเวลาที่ออกอากาศหรื อเหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนัน้


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 11

สตอรี่บอร์ ด สตอรี่บอร์ ด คือ บทภาพยนตร์ ประเภทหนึง่ ที่อธิบายด้ วยภาพ คล้ ายหนังสือการ์ ตนู เพื่อให้ เห็นความต่อเนื่องของช็อตต ลอดทังซี ้ เควนส์หรื อทังเรื ้ ่ อง มีคาอธิบายภาพประกอบ เสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงประกอบฉาก และเสียงพูด เป็ นต้ น ใช้ เป็ น แนวทางสาหรับการถ่ายทา หรื อใช้ เป็ นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้ า (pre-visualizing) ก่อนการถ่ายทําว่า เมื่อถ่ายทําสาเร็ จแล้ ว ภาพยนตร์ จะมีรูปร่างหน้ าตาอย่างไร ซึง่ บริ ษัทของ Walt Disney นํามาใช้ กบั การผลิตภาพยนตร์ การ์ ตนู ของบริ ษัทเป็ นครัง้ แรก โดย เขียนภาพเหตุการณ์ของแอ็คชัน่ เรี ยงติดต่อกันบนบอร์ ด เพื่อให้ คนดูเข้ าใจและมองเห็นเรื่ องราวล่วงหน้ าได้ ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขที่ลาํ ดับช็อตกํากับไว้ คําบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้ อง และอาจมีเสียงประกอบด้ วย ดังนันคนที ้ ่เขียนสตอรี่ บอร์ ดต้ องมีความรู้ในเรื่ องที่เกี่ยวข้ องดังกล่าวเป็ นอย่างดี สิง่ สําคัญที่ควรทราบ ได้ แก่ 1. Subject หรื อ Character ไม่วา่ จะเป็ นคน สัตว์ สิง่ ของ สถานที่ หรื อตัวการ์ ตนู ฯลฯ และ ที่สาํ คัญคือพวกเขากาลัง เคลือ่ นไหว (Action) อย่างไร 2. กล้ อง ทํางานอย่างไร ทังในเรื ้ ่ องของขนาดภาพ มุมภาพ และการเคลือ่ นกล้ อง 3. เสียง พวกเขากําลังพูดอะไรกัน มีเสียงประกอบ หรื อเสียงดนตรี อย่างไร ประโยชน์ ของสตอรี่บอร์ ด การสร้ างสตอรี่ บอร์ ดจะช่วยให้ การวางแผน การถ่ายทาฉากต่อฉากง่ายดายมากยิ่งขึ ้น โดยสามารถเปลีย่ นแก้ ไขสตอรี่ บอร์ ด ก่อนจะถ่ายทาจริ งได้ อีกทังยั ้ งสามารถนําสตอรี่ บอร์ ดที่ได้ สร้ างและวางแผนไว้ ไปทาการชี ้แจงแลกเปลีย่ นกับฝ่ ายผลิตหรื อ ฝ่ ายอื่นๆ โดยสามารถทาให้ เกิดความเข้ าใจตรงกัน รูปแบบของสตอรี่บอร์ ด ปั จจุบนั การจัดทาสตอรี่ บอร์ ดนิยมทําใน 3 ลักษณะ ได้ แก่ 1. การวาดภาพขาวดาด้ วยดินสอ และ/หรื อลงสีประกอบ พร้ อมระบุคาบรรยาย เสียงประกอบ และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ ้น


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 12

2. การวาดภาพขาวดําด้ วยดินสอหรื อวาดโดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แล้ วใช้ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กลงสีประกอบ พร้ อม ระบุคําบรรยาย เสียงประกอบ และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ ้น

3. การถ่ายภาพจริ ง พร้ อมระบุคําบรรยาย เสียงประกอบ และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ ้น


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 13

วิธีการเขียนสตอรี่บอร์ ด 1. อ่านเนื ้อเรื่ อง คิดภาพในหัวก่อนว่าจะเล่าเรื่ องอย่างไร แล้ วกําหนดจานวนฉาก คัดเอาเฉพาะภาพที่คิดว่าเป็ นจุดมาร์ ค ตําแหน่ง จากนันก็ ้ เอาแต่ละภาพที่คดั แล้ วมาวาด ศึกษาว่ามุมกล้ องควรเป็ นแบบใด 2. ออกแบบตัวละครหลักในเรื่ อง โดยทุกฉากจะต้ องดูเป็ นคนคนเดียวกัน เช่น ทาให้ แต่งกายเหมือนกัน จะเป็ นลักษณะ ของการเขียนภาพซํ ้าๆ แต่เปลีย่ นมุมมอง 3. ในกรอบภาพมักจะไม่มีคาพูด แต่จะแสดงออกท่าทางและสีหน้ าแทนการพูด ยกเว้ นคําอุทานหรื อคําสําคัญของ ผลิตภัณฑ์ 4. ภาพต้ องดูตอ่ เนื่อง เป็ นเรื่ องเดียวกัน เข้ าใจง่ายไม่ซบั ซ้ อน

ขัน้ ตอนในการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์ มี 3 ขันตอน ้ ดังนี ้ 1. กําหนดวัตถุประสงค์กลุม่ เป้าหมายระยะเวลา รูปแบบรายการ หัวข้ อเรื่ อง ขอบข่ายเนื ้อหา 2. กระบวนการคิด การค้ นคว้ า และการคัดเลือกข้ อมูล การประยุกต์ความคิดสร้ างสรรค์ในการเขียนบท และลงมือเขียน 3. ทดสอบต้ นร่างปรับปรุงและแก้ ไขบท 1. กําหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายระยะเวลา รูปแบบรายการ หัวข้ อเรื่อง ขอบข่ ายเนือ้ หา การเขียนบทก็เช่นเดียวกันกับการเขียนเพื่อการสือ่ สารจําเป็ นต้ องมีการกําหนดวัตถุประสงค์ของการเขียนว่าเขียนไปเพื่อ อะไร นัน่ คือเราต้ องการให้ อะไรกับผู้ชมเช่น ความคิดความรู้ความบันเทิงเปลีย่ นเจตคติสร้ างค่านิยมที่ดีปลูกฝั งความสํานึกที่ดีงาม หรื อให้ เกิดทักษะความชํานิชํานาญในด้ านใด เสร็ จแล้ วต้ องวิเคราะห์ผ้ ชู มกลุม่ เป้าหมาย นัน่ คือเขียนเพื่อใครต้ องการผู้ชมเพศใดมี ช่วงอายุเท่าใดการศึกษาสภาพสังคมเศรษฐกิจและคุณลักษณะอื่นๆ เช่นไร ผู้เขียนต้ องทราบระยะเวลาของรายการเพื่อจะได้ กําหนดรูปแบบรายการให้ เหมาะสมกับระยะเวลาของรายการ เช่น รายการรณรงค์ไม่ควรเกิน 60 วินาที รายการทอล์คโชว์ไม่ควรเกิน 20 นาที รายการวาไรตี ้เสนอได้ ตงแต่ ั ้ 20 นาที หรื อรายการตอบ ปั ญหา 30 นาทีขึ ้นไป เป็ นต้ น 2. กระบวนการคิด การค้ นคว้ า และการคัดเลือกข้ อมูล การประยุกต์ ความคิดสร้ างสรรค์ ในการเขียนบท และลงมือ เขียน เมื่อทราบเงื่อนไขต่างๆ แล้ ว ทําให้ เรากําหนดหัวข้ อเรื่ องและขอบข่ายเนื ้อหาได้ ง่ายขึ ้น จากนันจึ ้ งเริ่ มค้ นคว้ าหาข้ อมูลและ ลงมือเขียนบท


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 14

3. ทดสอบต้ นร่ างปรับปรุ งและแก้ ไขบท ผู้เขียนบทควรลองอ่านบทออกเสียงเพื่อตรวจสอบจังหวะ ลีลาช่วงเวลาการเลือกใช้ คําและองค์ประกอบอื่น ๆว่ามีความ ราบรื่ นเหมาะสมและมีคณ ุ ภาพเพียงใดควรให้ เพื่อนร่วมงานได้ วิพากษ์ วิจารณ์ติชมให้ ข้อคิดและข้ อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงให้ ดีขึ ้น และโปรดอย่าลืมว่าบทโทรทัศน์ที่ดีใช้ หลักการ 3S คือใช้ ประโยคสัน้ ๆ (Short) เป็ นคําหรื อประโยคที่ง่ายแก่การเข้ าใจ (Simple) และเป็ นบทที่เร้ าความสนใจ (Stimulating) ตลอดเวลา โครงสร้ างของรายการโทรทัศน์ การผลิตรายการโทรทัศน์มีลกั ษณะเฉพาะทังทางด้ ้ านศิลปะและทางเทคนิค แต่โครงสร้ างของรายการโทรทัศน์จะ คล้ ายคลึงกับสือ่ อื่นๆ คือ มีสว่ นของการเริ่ มเรื่ อง การดําเนินเรื่ อง และการจบเรื่ อง เช่นเดียวกับบทความ ภาพยนตร์ และรายการ วิทยุ โครงสร้ างของรายการโทรทัศน์จะต้ องมีทงภาพและเสี ั้ ยง แต่ไม่วา่ คุณภาพของภาพและเสียงจะดีอย่างไรถ้ าไม่สามารถสือ่ ความหมายได้ ก็ถือว่ารายการนันๆ ้ ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ รายการโทรทัศน์ทกุ ประเภท ไม่วา่ จะเป็ นโฆษณา ข่าว วิธีการทําอาหาร หรื อรายการบันเทิงทัว่ ไป จะต้ องเล่าเรื่ องให้ ผ้ ชู ม เข้ าใจได้ โดยมีโครงสร้ างของการเริ่ มเรื่ อง (Beginning / Opening) การดําเนินเรื่ อง (Middle / Body) และการจบเรื่ อง (End) 1. การเริ่มเรื่อง Beginning / Opening ในการเกริ่ นนําหรื อการนําเรื่ อง (Introduction) ซึง่ เรี ยกสัน้ ๆ เป็ นขันอิ ้ นโทร (Intro) เป็ นขันตอนที ้ ่จะกระตุ้นความสนใจของผู้ชมเป็ น การท้ าวความ อ้ างอิง หรื อนําเรื่ อง เพื่อชักจูงให้ ผ้ ชู มไปสูจ่ ดุ หมาย คือเรื่ องราวที่จะนําเสนอนัน่ เอง การเกริ่ นนําจะเป็ นการหาสิง่ ที่ ประทับใจสิง่ ที่ชวนให้ ฉงน หรื อสิง่ ที่ตื่นเต้ น เพื่อกระตุ้น เร้ า เรี ยกร้ องความสนใจชักชวนให้ ติดตาม ด้ วยลีลาต่าง ๆ อาจจะเป็ นภาพ เสียง หรื อ แสง-สีการเกริ่ นนํามักจะเกริ่ นนําสัน้ ๆ เพียงเพื่อให้ ผ้ ชู มสนใจ อยากรู้อยากเห็นในสิง่ ที่จะนําเสนอ ด้ วยเหตุนี ้การวางโครง เรื่ องจึงมักจะขึ ้นอยูก่ บั ลีลาของผู้เขียนบทแต่ละคน ที่จะทําให้ รายการนันน่ ้ าสนใจ น่าทึง่ หรื อประทับใจผู้ชม การเริ่ มต้ นรายการอาจทําได้ ในรูปแบบที่หลากหลาย ขึ ้นอยูก่ บั ประเภทของรายการ เช่น เริ่ มต้ นแบบพาดหัวข่าวในรายการข่าว ตัดส่วนที่นําชมในรายการมาเป็ นตัวอย่างในต้ นรายการ Variety


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 15

เริ่ มต้ นของรายการโฆษณาด้ วยความงุนงง หรื อ มุขตลก ในการเริ่ มต้ นจะต้ องดึงผู้ชมในรายการให้ ชมต่อจนจบให้ ได้ ผู้จดั รายการต่าง ๆ ต้ องคํานึงเสมอว่าในตอนเริ่ มของรายการ จะเป็ นส่วนที่สาํ คัญที่สดุ 2. การดําเนินเรื่อง Middle / Body วัตถุประสงค์ของการดําเนินเรื่ องหรื อตัวเรื่ อง จะต้ องสร้ างความน่าสนใจให้ ผ้ ชู มชมรายการต่อไป ในส่วนของเนื ้อเรื่ องหรื อ ตัวเรื่ อง (Body) นี ้ เป็ นการนําเอาแก่นของเรื่ อง (Theme) หรื อความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่ องมาคลีค่ ลายมาขยายให้ เห็น พัฒนาการอย่างเป็ นขันตอน ้ (Development) หรื อเรี ยกว่า เป็ นการดําเนินเรื่ องนัน่ เองในส่วนนี ้ผู้เขียนบทจะแสดงออกถึง ความสามารถความเชี่ยวชาญในประสบการณ์ที่มีอยูอ่ ย่างเต็มที่ สีสนั ลีลาของการนําเสนอการดําเนินเรื่ องจะมีอารมณ์ (Mood) มี การหักมุม (Turn) สร้ างความฉงนความไม่คาดคิดให้ กบั ผู้ชม ในอันที่จะนําเรื่ องราวไปสูจ่ ดุ สุดยอด (Climax) ให้ ได้ ดีที่สดุ การ ดําเนินเรื่ องหรื อเนื ้อเรื่ องก็เป็ นการขยายความให้ ผ้ ดู หู รื อผู้ชมได้ รับรู้วา่ เรื่ องราวแท้ จริ งนันเป็ ้ นอย่างไร เช่น พัฒนาการของตัวละคร การเปิ ดตัวละครใหม่ ๆ การสร้ างความขัดแย้ งในโครงเรื่ องหรื อเพิ่มความขัดแย้ งขึ ้นเรื่ อย ๆ สําหรับรายการข่าวหรื อรายการ talk show ต้ องลําดับเรื่ องราวให้ เหมาะสม หรื อแสดงส่วนที่นา่ สนใจก่อนเข้ าโฆษณา ในการโฆษณา มักประกอบด้ วยคนที่มีชื่อเสียง ความตลก ดนตรี หรื อ shot ที่นา่ สนใจ เพื่อสร้ างความต้ องการให้ ผ้ ชู ม ซื ้อสินค้ า และไม่ให้ ผ้ ชู มเปลีย่ นไปดูช่องอื่น สําหรับรายการกีฬา การแข่งขัน เกมโชว์ ผู้ประกาศหรื อพิธีกรจะเป็ นผู้สร้ างเรื่ องราว และ ความน่าสนใจให้ รายการ 3. การจบเรื่อง Ending การส่งท้ ายหรื อการสรุปเรื่ อง (Conclusion) เป็ นขันตอนที ้ ่จะย่นย่อเรื่ องทังหมดตั ้ งแต่ ้ การนําเรื่ องและการดําเนินเรื่ องลง มาอย่างมีศิลปะเป็ นการสรุปหรื อเน้ นถึงความคิดรวบยอด (concept) ของเรื่ องราว โดยได้ สอดแทรกแง่คิดข้ อเตือนใจ ปลูกฝั ง ค่านิยม และทัศนคติที่ดีหรื ออาจจะส่งท้ ายด้ วยการให้ ความรู้สกึ ที่ประทับใจ ชวนให้ อาลัยอาวรณ์หากเป็ นการท่องเที่ยว บางครัง้ ก็ จะมีของฝากของที่ระลึกจากสถานที่นนๆนํ ั ้ าไปฝากญาติพี่น้อง หรื อเพื่อนๆ ด้ วยการใช้ ภาษาที่สละสลวย น่าฟั งตามที่ผ้ เู ขียนบทจะ จินตนาการออกมารายการควรจบลงด้ วยการให้ ความกระจ่างแก่ผ้ ชู ม แม้ วา่ จะต้ องใช้ เวลาในการคลีค่ ลายหลายวัน ก็ต้องให้ ความ กระจ่างในแต่ละตอน รายการข่าวแทบทุกข่าวจะประกอบด้ วยเรื่ องราวที่มนุษย์สนใจ (Human–interest) หรื อความสนุกสนานตลกขบขัน ซึง่ สามารถนําไว้ ในส่วนท้ ายของรายการข่าว เป็ นการปิ ดรายการ จะทําให้ ผ้ ชู ม รู้สกึ สบายใจมากกว่าการจบรายการด้ วย ความเสียหายที่เกิดขึ ้นจากเหตุการณ์ตา่ ง ๆ  รายการโฆษณามักจบลงด้ วยการระบุชื่อ เจ้ าของสินค้ าหรื อบริ การ และบอกให้ ผ้ ชู มซื ้อสินค้ าไม่วา่ จะทางตรงหรื อ ทางอ้ อมก็ตาม การประกาศซื ้อสาธารณประโยชน์ หรื อสาธารณกุศลมักจบลงด้ วยการให้ เบอร์ โทรศัพท์หรื อที่อยูท่ ี่สามารถติดต่อได้ รายการละครมักจบลงด้ วยการคลีค่ ลายปั ญหาในแต่ละตอน แต่ยงั คงทิ ้งปั ญหาในโครงเรื่ อยย่อยไว้


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 16

วิภา อุตมฉันท์ ( 2544:11 ) ได้ ให้ ความหมายของ การจัดเนื ้อหาในการวางโครงร่างของบทโทรทัศน์ไว้ 4 ลักษณะ คือ บทนํา จะต้ องสัน้ ใช้ ประโยคที่เข้ าใจง่ายเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้อา่ นหรื อผู้ชมให้ เข้ าสูเ่ นื ้อเรื่ อง ถ้ าขึ ้นต้ นบทนําไม่ดี จะเกิดผลตรงกันข้ าม คือทําให้ ผ้ ดู เู ปลีย่ นใจไม่เปิ ดรับสารต่อไป การดําเนินเรื่ อง คือการนําแก่นของเรื่ อง (Theme) หรื อความคิดรวบยอดของเรื่ องมาคลีค่ ลายให้ เห็นพัฒนาการอย่างเป็ น ขันตอน ้ จุดหักมุม เป็ นจุดที่เค้ าโครงเรื่ องที่ดําเนินมาเกิดการหักมุมอย่างไม่คาดคิด หรื อเป็ นการเสนอทัศนะจากมุมมองอื่นที่ แตกต่างออกไป ซึง่ จะช่วยเสริ มจุดสุดยอด (Climax) ของเรื่ องให้ เด่นขึ ้น การสรุป หรื อการขมวดเรื่ องทังหมดลงอย่ ้ างย่นย่อและมีศิลปะ จริ งอยู่ ส่วนสรุปจะต้ องสัมพันธ์กบั ส่วนที่เป็ นเนื ้อหาและ คํานํา แต่มิได้ หมายความว่าบทสรุป คือการนําเอาเนื ้อหาในส่วนข้ างต้ นทังหมดมาพู ้ ดซํ ้าอีกครัง้ หนึง่ "การสรุปท้ ายเรื่ องที่ดีควรเป็ น ส่วนที่ผ้ ผู ลิตทิ ้งแง่คิด ความเห็น คําถาม หรื อข้ อข้ องใจ ซึง่ เป็ นการตอกยํ ้า หรื อเพิ่มเติมเนื ้อหาให้ แก่สว่ นข้ างต้ น เพื่อให้ ผ้ ดู นู ําไปขบ คิดสืบต่อจากความประทับใจที่ได้ จากการรับสือ่ "

เทคนิคการเขียนบทโทรทัศน์ 1. การใช้ ภาษา หากสามารถทําได้ ให้ ใช้ คําพูดพยางค์เดียวแทนคําที่มีหลายพยางค์ ใช้ ภาษาพูดที่ใช้ กนั อยูเ่ ป็ นประจํา ใช้ ภาษาพูดเพื่อส่งเสริ มภาพ ใช้ ภาษาที่ไม่เป็ นทางการ หลีกเลีย่ งการใช้ คําว่า “การ” และ “ความ” มากเกินไป เขียนให้ ชดั เจนไม่อ้อมค้ อม ใช้ ภาษาที่ไม่ยอกย้ อนสับสน เช่น การอ้ างคําพูดผู้อื่นที่มีความยาวมาก หรื อ ตัวเลขเยอะ เพราะผู้ชมไม่สามารถย้ อน ข้ อมูลกลับมาดูได้ จึงควรเขียนบทให้ ชดั เจน และเป็ นลําดับขันตอน ้ 2. การเขียน ไม่เยิ่นเย้ อ ใช้ คําให้ น้อยที่สดุ เท่าที่จะทําได้ โดยตัดคําที่ไม่จําเป็ นออก การกะความยาวของประโยคควรคํานึงถึงจังหวะการหายใจของคนขณะพูด เขียนให้ ผ้ ชู มเข้ าใจการดําเนินเรื่ องได้ ระวังการเปลีย่ นฉาก เปลีย่ นประเด็น หรื อเปลีย่ นเรื่ อง ผู้เขียนบทโทรทัศน์จะได้ เปรี ยบการเขียนแบบอื่นตรงที่สามารถเปลีย่ นภาพได้ โดยไม่กระทบความรู้สกึ การย้ อนเวลา ไปมา และเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นพร้ อม ๆ กันในสถานที่ตา่ งกัน จะต้ องนําเสนออย่างระมัดระวัง เพื่อให้ เกิดผลที่ต้องการ ทัง้ ผู้เขียนบทและ ผู้กํากับจะต้ องหลีกเลีย่ งไม่ทําให้ ผ้ ฟู ั งสับสน เหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นพร้ อม ๆ กันในสถานที่ตา่ ง ๆ กัน อาจใช้ ช่วงของเพลงเป็ นตัวบอกเวลา


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 17

ผู้เขียนบทโทรทัศน์ต้องคํานึงถึงภาพเช่นเดียวกับลักษณะของคําพูด ต้ องใช้ คําพูดเพื่อสือ่ ความหมายให้ สอดคล้ องกับ ภาพ โดยจะใช้ คําพูดน้ อยที่สดุ เท่าที่จะทําได้ เพราะ ภาพ ดนตรี และ เสียงประกอบอื่น ๆได้ เล่าเรื่ องไปแล้ ว ขณะเขียนบทผู้เขียนจะต้ องคํานึงถึงการสร้ างภาพด้ วยเช่นเดียวกับผู้กํากับ จะเห็นว่าในวงการโทรทัศน์ผ้ กู ํากับมักเป็ น คนเดียวกันกับผู้เขียนบท หรื อผู้ผลิตรายการมักเป็ นผู้เขียนบทเสียเองรายการโทรทัศน์บางรายการ ผู้กํากับจะเป็ นคน เลือกมุมกล้ องเอง ผู้เขียนบทจึงเขียนแต่บทพูด และไม่เขียนอะไรในคอลัมน์ภาพ แต่บทโทรทัศน์สว่ นใหญ่จะมีทงั ้ รายละเอียดของภาพและเสียง ผู้เขียนบทโทรทัศน์จึงเป็ นผู้เล่าเรื่ องด้ วยภาพ ในการเขียนบทไม่วา่ จะเป็ นสารคดีหรื อสัมภาษณ์ ไม่ควรให้ มีภาพผู้พดู เรื่ อยๆ เป็ นเวลานาน อาจแทนภาพผู้พดู ด้ วย สิง่ ที่กําลังพูดถึง ซึง่ จะช่วยสือ่ ความหมายสิง่ ที่กําลังพูดถึง

ตัวอย่ างบทวิทยุโทรทัศน์ รายการประเภทต่ างๆ

ตัวอย่ างบทสารคดีขนาดยาวทางโทรทัศน์ บทสารคดี ททท. เรื่ อง อดีตของปั จจุบนั บทโดย คมสัน รัตนะสิมากูล


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 18


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 19


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทรายการสารคดีเชิงข่ าว กรณีศึกษา : รายการเรื่องจริงผ่ านจอ

| 20


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 21


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทรายการสัมภาษณ์ ทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ กรณีศึกษา : รายการเจาะใจ ตอนที่ 427 โรคฮีโมฟี เลีย (เลือดออกง่ าย หยุดยาก) เขียนบทโดย พุทธิดุล สังข์ ดุลย์

| 22


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทรายการข่ าวทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ ข่ าว : รัฐเก็บรายได้ สูงกว่ าเป้าหมื่นล้ าน ผู้เขียน : สํานักข่ าวเนชั่น

| 23


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทรายการนิตยสารทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ บทรายการ SPICE!

| 24


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

บทรายการ SPICE!แบ่ งเป็ น 3 ช่ วง ช่ วงที่ 1“SPICE ! STAR” อัมพร สุขารมณ์ กับกีฬาเล่ นกอล์ ฟ ช่ วงที่ 2 “SPICE ! THAILAND” เรื่อง นวดไทยแผนโบราณ ช่ วง “SPICE ! WEEKEND” เรื่อง ของสะสม McDONALD’S

ตัวอย่ างบทรายการ SPICE! ช่ วงที่ 3 ช่ วง “SPICE ! WEEKEND” เรื่อง ของสะสม McDONALD’S

| 25


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 26


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 27


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทรายการดนตรี

| 28


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 29


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 30


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 31


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 32


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 33


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 34


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทโฆษณา เที่ยวไทยครึกครืน้ เศรษฐกิจไทยคึกคัก

| 35


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างสปอตรณรงค์ เพื่อสังคมทางสื่อวิทยุโทรทัศน์ สปอต โครงการคิดอย่ างยั่งยืน ความยาว 1.30 นาที

| 36


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 37


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 38


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

ตัวอย่ างบทละครโทรทัศน์

| 39


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 40


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 41


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 42


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 43


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 44


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 45


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 46


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 47


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 48


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 49


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 50


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 51


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 52


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 53

ภาคผนวก : แนวทางการทํารายงานข่ าวทางโทรทัศน์ ก่อนจะนําตัวอย่างของบทโทรทัศน์รายการประเภทต่างๆ มาเป็ นกรณีศกึ ษาให้ กบั ผู้ที่สนใจการเขียนบทสําหรับรายการ แต่ละประเภทนัน้ จะขออธิบายถึงแนวทางสําหรับการทําข่าวโทรทัศน์ ซึง่ นอกจากสคริ ปต์จากกองบรรณาธิการข่าว ที่ผ้ ปู ระกาศ ข่าวจะต้ องอ่านซักซ้ อมและทําความเข้ าใจก่อนใช้ รายงานข่าวในแต่ละช่วงรายการนัน้ ในบางข่าวจะมีการทําสารคดีเชิงข่าว หรื อสกู๊ปข่าวพิเศษ เพื่ออธิบายเหตุการณ์ขา่ วนันๆ ้ ด้ วย ซึง่ มีหลักการทํางานคุณอธิชยั ต้ นกันยา ได้ อธิบายแนวทางการทํารายงาน ข่าวทางโทรทัศน์ไว้ ดงั ต่อไปนี ้


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 54


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 55


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 56


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 57


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 58


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

| 59


และ

การเลาเรื่องและการเขียนบททางวิทยุโทรทัศน

บรรณานุกรม

| 60

คมสัน รัตนะสิมากูล. หลักการเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและบทวิทยุโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วี.พริ น้ ท์ (1991) จํากัด. ชัยยงค์ พรหมวงศ์, นิคม ทาแดง และไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์(2547, หน้ า 149-155). ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีการจัดการการสื่อสาร หน่ วยที่ 1-7. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 สุโขทัยธรรมาธิราช. วิภา อุตมฉันทร์ (2544). การผลิตสื่อโทรทัศน์ และสื่อคอมพิวเตอร์ : กระบวนการสร้ างสรรค์ และเทคนิคการผลิต . กรุงเทพ:บุ๊ค พอยท์. ศุภางค์ นันตา. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. มหาสารคาม : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมสุข หินวิมาน และคณะ. ( 2554). ความรู้ เบือ้ งต้ นทางวิทยุและโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . อรนุช เลิศจรรยารักษ์ . (2544). หลักการเขียนบทโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . อุษณีย์ ศิริสนุ ทรไพบูลย์. (2552). หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Zettl, H. (1976). Television Production Handbook. 3rd. Edition. Wadsworth Publishing Company. Inc. Belmont, California.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.