SAR 2549

Page 1

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปการศึกษา 2549

งานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา (กรกฎาคม 2550)


คํานํา การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาถื อ เป น ภารกิ จ ที่ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ของวิ ท ยาลั ย ฯ เพื่อที่จะกําหนดระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานในรอบป การศึกษา เพื่อสรางความมั่นใจวาวิทยาลัยฯ สามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ รายงานการประเมินตนเอง(SAR) ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเปนขอมูลในการตรวจสอบ และประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เปนการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ในชวงปการศึกษา 2549 (1 มิถุนายน 2549 ถึง 31 พฤษภาคม 2550) ซึ่งไดวิเคราะหและจัดทํา รายงานการประเมินตนเองประจําปการศึกษา 2549 ตามมาตรฐานและตัวบงชีข้ องมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ปจจุบันวิทยาลัยฯ มีความพรอมในการรับการประเมินคุณภาพการศึกษา ตลอดจน รับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ อันจะเปนประโยชนจากคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ ใหมีมาตรฐานสูงขึ้นอยางตอเนื่องตอไป

(รองศาสตราจารย มรว.พงษสวัสดิ์ สวัสดิวัตน ) ผูอํานวยการวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา กรกฎาคม 2550


สารบัญ หนา บทที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร 1. สรุปผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ................................1 ประจําปการศึกษา 2549 2. ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา……………………………………………………………..2 2.1 ขอเสนอแนะที่ควรพัฒนากอนในลําดับแรก........................................................2 2.2 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในรายมาตรฐาน......................................................3 3. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้คุณภาพ ประจําปการศึกษา 2549 กับ ปการศึกษา 2548 และ 2547………………………….4 บทที่ 2 สวนนํา สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเกีย่ วกับวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา……………………………8 1. ความเปนมาของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...........................................8 2. วิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ..................................................................9 3. โครงสรางการบริหารวิทยาลัย..................................................................14 4. การจัดการเรียนการสอน..........................................................................15 5. นักศึกษา.................................................................................................17 6. บุคลากรของวิทยาลัย……………………………………………………….. .18 สวนที่ 2 ผลการดําเนินการที่สําคัญในรอบปการศึกษา 2549…………………………….19 สวนที่ 3 การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย............…………………………….26 บทที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบงชี้คณ ุ ภาพ ของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา แบบฟอรมขอมูลพื้นฐานคาเปาหมาย ประจําป 2549....................................................29 แบบฟอรม SAR 1 รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ ประจําป 2549................39 มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต...............................................................................44 มาตรฐานที่ 2 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค...............................................................47 มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ...........................................................................51 มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม....................................................53 มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร.........................................................54 มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน..........................................................60 มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ..................................................................65 รายงานผลการดําเนินการตามขอสังเกตและขอเสนอแนะ………………………………....67 จากการตรวจสอบครั้งที่ผานมา บทที่ 4 แนวทางการพัฒนา....................................................................................................73


สารบัญภาคผนวก หนา ภาคผนวก ก แบบฟอรม ก.5 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษา...................................................................78 ภาคผนวก ข แบบฟอรม ข.3 จํานวนนักศึกษา ที่ไดรบั การประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือดานอื่นที่เกี่ยวของ กับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ 3 ปที่ผานมา ปการศึกษา 2547- 2549............................................................................. 79 แบบฟอรม ข.8 จํานวนผูสมัครเขาศึกษา และจํานวนรับตามเปาหมาย ................................. 80 แบบฟอรม ข.9 คะแนน TU-GET ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา .......................................81 แบบฟอรม ข.10 จํานวนนักศึกษาทีส่ ําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด................82 แบบฟอรม ข.11 จํานวนงานวิจัยและ/หรืองานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร………………………83 หรือนําไปใชประโยชน แบบฟอรม ข.12 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัย…………85 แบบฟอรม ข.13 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสรางสรรคจากภายนอกมหาวิทยาลัย…….. 86 แบบฟอรม ข.17 จํานวนงานวิจัย…………………………………………………………………. 88 แบบฟอรม ข.18 บทความทางวิชาการทีต่ ีพิมพ………………………………………………… 90 แบบฟอรม ข.19 จํานวนกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาการแกชมุ ชนและสังคม…………… 91 แบบฟอรม ข.20 จํานวนการเปนที่ปรึกษาภายนอกมหาวิทยาลัย……………………………… 95 แบบฟอรม ข.21 จํานวนการเปนกรรมการวิชาการ/วิชาชีพภายนอกมหาวิทยาลัย.................... 96 แบบฟอรม ข.23 การนําความรูและประสบการณมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน………... 97 แบบฟอรม ข.27 กิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม. 98 แบบฟอรม ข.28 สภาสถาบัน และผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถ……….. 99 สะทอนถึงนโยบาย วัตถุประสงค แบบฟอรม ข.29 การพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการประเมินจากภายใน……..100 และภายนอก แบบฟอรม ข.30 การกําหนดกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ………………………………101 แบบฟอรม ข.31 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ………………………..…102 แบบฟอรม ข.32 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย...103 แบบฟอรม ข.33 สินทรัพยถาวรสุทธิ........................................................................................104 แบบฟอรม ข.34 คาใชจายทั้งหมด...........................................................................................105


หนา แบบฟอรม ข.35 เงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ.................................................................106 แบบฟอรม ข.36 จํานวนอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการ….107 ทั้งในประเทศและตางประเทศ แบบฟอรม ข.37 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศ……… 110 ตออาจารยประจํา แบบฟอรม ข.38 จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที่ไดรับการพัฒนาความรู.........................113 และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ แบบฟอรม ข.40 คาเสื่อมราคา……………………………………………………………………....118 แบบฟอรม ข.41 เงินเดือนบุคลากรทุกประเภท…………………………………………………......119 แบบฟอรม ข.42 จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตามสายงาน……………………..………......120 แบบฟอรม ข.43 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด……………………..…....121 แบบฟอรม ข.44 จํานวนอาจารยประจํา จําแนกตามตําแหนงวิชาการ และระดับการศึกษา.…......122 แบบฟอรม ข.45 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES)…………………………………......123 แบบฟอรม ข.46 การปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics) .……......133 แบบฟอรม ข.47 กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรู…  …...............134 จากการปฏิบัติและประสบการณจริง แบบฟอรม ข.48 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารย……............136 และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู แบบฟอรม ข.50 จํานวนนักศึกษาทั้งหมด จําแนกระดับการศึกษา……………………………......142 แบบฟอรม ข.51 คาใชจายจริงในระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศ ……………...143 แบบฟอรม ข.56 จํานวนวิชา จํานวนกลุมที่เปดสอน ……………………………………………….144 แบบฟอรม ข.57 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนา………….145 คุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง แบบฟอรม ข.58 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน …………………………..…………146 ภาคผนวก ค รายนามผูอํานวยการวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษาตั้งแตอดีต -ปจจุบัน คําสั่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการ วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา คําสั่งวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาของวิทยาลัย


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................1

บทที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ไดดําเนินการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยไดแตงตั้งคณะกรรมการเปนผูรับผิดชอบและพัฒนาตัวชี้วัดแตละดัชนีใหมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง รายงานการประเมินตนเองของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 นี้ เปน การสรุปผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยตามตัวบงชี้คุณภาพของมหาวิทยาลัยและสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กําหนดไว โดยใชขอมูลจากรายงานการประเมินตนเอง ของวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2549 ประกอบกับการวิเคราะหขอมูลตามตัวบงชี้โดยคณะกรรมการ คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ 1) สรุปผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 จุดเดน 1. ดานคุณภาพบัณฑิต คุณภาพบัณฑิตของวิทยาลัย ในรอบ 3 ป ที่ผานมา ศิษยเกาของวิทยาลัยฯ หลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี จํานวน 1 คน ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ Best Paper Awards ในงาน Thailand and Logistics Hub in GMS ซึ่งจัดโดยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระหวางวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2549 2. ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค วิทยาลัยฯ มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรค ในปการศึกษา 2549 จํานวน 5 โครงการ โดยไดรับเงินสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกจํานวนทั้งสิ้น 3,647,300 บาท คิดเปนคาเฉลี่ย 546,280 บาท ตออาจารยประจํา ทั้งนี้วิทยาลัยฯ มีการตั้งงบประมาณสนับสนุนงานวิจัย ภายในวิทยาลัยฯ แตเนื่องจากวิทยาลัยฯ สงเสริมใหอาจารยประจําสรางเครือขายกับองคกรภายนอก ซึ่ง ทําใหผลงานวิจัยเปนที่รูจัก ไดรับการเผยแพรและนําไปใชประโยชนในวงกวางมากขึ้น 3. ดานการบริการวิชาการ วิทยาลัยมีศักยภาพในการใหบริการวิชาการในหลากหลายรูปแบบ โดยในปการศึกษา 2549 ไดจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาการแกชุมชนและสังคม ทั้งเรียกเก็บ คาใชจายและไมเรียกเก็บคาใชจาย รวมทั้งสิ้น 24 โครงการ เนื่องจากวิทยาลัยมีฝายกิจกรรมสัมพันธและ ฝกอบรมซึ่งมีหนาที่ในการใหบริการวิชาการโดยตรง นอกจากนี้อาจารยประจําวิทยาลัยฯ ยังไดรับเชิญจาก หนวยงานภายนอกใหอาจารยเปนกรรมการวิชาการและวิชาชีพ คิดเปนรอยละ 33.33 ของอาจารยทั้งหมด 4. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ มีพันธกิจที่มุงสงเสริมการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม จะไดเห็นไดจากการเปดหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังไดสนับสนุนให นักศึกษามีบทบาทและเขารวมกิจกรรมดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมควบคูไปกับการเรียน ซึ่งในป การศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีจํานวนกิจกรรมดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมทั้งสิ้น 6 โครงการ เชน การเสวนาวิชาการดานมรดกและวัฒนธรรมรวมสมัย หัวขอ “การตลาดในงานมรดกและวัฒนธรรมรวมสมัย: กาวไกลอยางสมดุล” เปนตน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................2

5. ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร วิทยาลัยฯ มีนโยบายสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมใน การวางแผนและการตัดสินใจ เชน การจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวม โดยในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนใหบุคลากรทั้งสาย ก และสายสนับสนุนพัฒนาทักษะและความรู โดยมีรอยละของอาจารย ประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ รอยละ 33.33 โดยมีงบประมาณจากการพัฒนาอาจารยทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ คิดเปน 18,902.52 บาท/อาจารย 1 ทาน และมีบุคลากรสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรูและทักษะในการ พัฒนา คิดเปนรอยละ 100.00 โดยสงเสริมใหบุคลากรทุกระดับมีสวนรวมในกิจกรรมทุกครั้งที่วิทยาลัยฯ จัด เชน การอบรมสัมมนาทั้งในและตางประเทศ นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหบุคลากรไดพัฒนาศักยภาพตาม สายงานของตนเองอยางตอเนื่องเพื่อนํามาพัฒนาวิทยาลัยฯ 6. ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน วิทยาลัยฯ สงเสริมกระบวนการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหนักศึกษาไดเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง เห็นไดจากรายวิชา ที่เปดสอนในวิชาสัมมนา และวิชาเลือกแบบ Module ของหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ซึ่งเชิญ ผูเชี่ยวชาญจากภายนอกมาเปนวิทยากรบรรยายใหความรูกับนักศึกษา นอกจากนี้ ในป 2549 จากผลการ ประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย จํานวน 84 รายวิชา มีผลการประเมินการสอนของอาจารยอยูใน เกณฑดี (4.16 จากเกณฑคะแนนประเมินเต็ม 5 คะแนน) 7. ดานการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีระบบและกลไกในการ ประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ ก อ ให เ กิ ด การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาอย า งต อ เนื่ อ ง โดยมี ก ารแต ง ตั้ ง คณะกรรมการประกันคุณภาพของวิทยาลัยฯ เพื่อรวมกันวางแผนพัฒนาตัวชี้วัด และจัดเก็บขอมูลตัวชี้วัด แตละฝายอยางเปนระบบ ซึ่งมีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัยฯ ผลจากการสัมมนาดังกลาวสามารถนํามาปรับปรุงกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา นอกจากนี้ วิท ยาลัย ฯ ยัง ได ดําเนิ นการปรั บปรุง ระบบฐานขอ มูลเพื่ อสนับสนุ นงานประกั นคุ ณภาพของ วิทยาลัยฯ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2) ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 2.1 ขอเสนอแนะที่ควรพัฒนากอนในลําดับแรก เมื่อพิจารณาผลการดําเนินงานปการศึกษา 2549 เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานที่ สมศ. กําหนด พบวา ผลการดําเนินงานในภาพรวมต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของ สมศ. คอนขางมาก ไดแก 1. รอยละบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพร 2. อัตราการแขงขันสอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (บัณฑิตศึกษา) 3. คาระดับเฉลี่ยสะสมนักศึกษาที่สอบเขา มธ. ได (บัณฑิตศึกษา) 4. เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยตออาจารยประจํา 5. ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยฯ จึงขอเสนอแนวทางการพัฒนาผลการดําเนินงานในตัวบงชี้ดังนี้ 1. เพิ่มกลไกและมาตรการในการสงเสริมใหนักศึกษาเลือกทําวิทยานิพนธ เขียนบทความจาก วิทยานิพนธ และนําไปตีพิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการ ดังนี้


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................3

1.1 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2550 วิทยาลัยมีการใหรางวัลสําหรับวิทยานิพนธดีเดน จํานวน 1 รางวัล 1.2 จัดประชุมวิชาการสาขาการบริหารเทคโนโลยี และสาขาการบริหารงานวัฒนธรรม เพื่อกระตุนใหนักศึกษามีความกระตือรือรนในการเผยแพรผลงานวิชาการในวงกวาง 2. ควรสรางความเขมแข็งและความโดดเดนทางวิชาการใหกับหลักสูตร เชน ปรับปรุงเนื้อหา หลักสูตรใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน เชิญวิทยากรผูเชี่ยวชาญในสาขาตางๆ มาบรรยายเสริม ความรู เปนตน ประชาสัมพันธในเชิงรุกเขาถึงกลุมเปาหมาย เพื่อใหกลุมผูสนใจสมัครเขาศึกษาในหลักสูตร เพิ่มขึ้น และมีอัตราการแขงขันสอบเขา มธ. ไดเพิ่มขึ้น 3. ควรกําหนดคาระดับเฉลี่ยสะสม (GPA) ขั้นต่ําในการสอบเขาในระดับบัณฑิตศึกษา 4. ควรปรับระเบียบที่เกี่ยวของกับการทําวิจัยและงานสรางสรรคใหมีความชัดเจนและคลองตัวมาก ขึ้น เชน เกณฑและผูรับผิดชอบในการใหทุนสนับสนุนการทําวิจัยภายในวิทยาลัยฯ ระเบียบการเบิก-จาย เงินทุนสนับสนุนการทําวิจัย เปนตน 5. ปรับปรุงวิธีการดําเนินการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัย เชน ปรับปรุงระบบฐานขอมูลใน การประกันคุณภาพ และระบบการตรวจสอบภายใน 2.2 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในรายมาตรฐาน จากการพิจารณาผลการดําเนินงานในมาตรฐานตางๆ พบวายังมีบางตัวบงชี้ที่ยังไมได มาตรฐานตามเกณฑที่ สมศ. กําหนด จึงขอเสนอแนวทางในการพัฒนาในรายมาตรฐาน ดังนี้ 2.2.1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 1) ควรมีการกําหนดกําหนดคาระดับเฉลี่ยสะสม (GPA) ขั้นต่ําในการสอบเขาในระดับ บัณฑิตศึกษา 2) ควรมีการพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษของนักศึกษา เชน เปดการบรรยายหรืออบรม พิเศษในดานภาษาอังกฤษใหกับนักศึกษาที่สอบเขาได 3) ควรมีการจัดตั้งชมรมศิษยเกา เพื่อติดตามความกาวหนาของศิษยเกา รวมทั้งมี กิจกรรมสรางเสริมความสัมพันธระหวางศิษยเกากับวิทยาลัยฯ และศิษยเกากับนักศึกษาปจจุบัน 2.2.2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 1) สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยและนักวิจัยทําวิจัยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เชน จัดทํา ระเบียบที่เกี่ยวของกับการทําวิจัยและงานสรางสรรคใหมีความชัดเจนและคลองตัว สนับสนุน โครงการวิจัยสําหรับนักวิจัยรุนใหม โครงการวิจัยที่มีความจําเปน/เรงดวน โครงการวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอน 2) จัดอบรมเพิ่มพูนทักษะเรื่องงานวิจัยที่อยูในทิศทางของยุทธศาสตรชาติ พรอมทั้งสราง แรงจูงใจใหอาจารยผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติใหมากขึ้น 2.2.3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 1) ควรมีการบูรณาการระหวางการบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย นอกจากนี้ ยั ง ควรมองถึ ง การนํ า ทรั พ ยากรบุ ค คลจากภายในวิ ท ยาลั ย ฯ มาเป น วิ ท ยากรหรื อ ผูบรรยายกอนในเบื้องตน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................4

2) กําหนดสัดสวนที่ชัดเจนระหวางกิจกรรมการบริการวิชาการแบบใหเปลา และแบบเก็บ คาลงทะเบียน 2.2.4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ควรสรางพันธมิตรกับองคกรดานศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของ วิทยาลัยฯ ขยายไปสูสังคมในวงกวางมากขึ้น 2.2.5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ควรมีกลไกที่จะผลักดันใหอาจารยประจําวิทยาลัยฯ เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอ ผลงานทางวิชาการทั้งในและตางประเทศใหมากขึ้น 2.2.6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ควรศึกษาความเปนไปไดในการสรางความรวมมือกับองคกรวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหมีความรูสอดคลองกับโครงสรางสากล 2.2.7 มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ 1) ควรสงเสริมใหบุคลากรทุกคนมีสวนรวมและตระหนักในความรับผิดชอบในกิจกรรมดาน ประกันคุณภาพ 2) ควรมีโครงสรางของผูรับผิดชอบการประกันคุณภาพและการตรวจสอบภายในของ วิทยาลัยฯ ที่ชัดเจน 3) เปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้คุณภาพ ประจําปการศึกษา 2547 -2549 มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 1.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา และประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ป 1.2 ร อยละของบั ณฑิ ตระดับปริ ญญาตรี ที่ ได ทํ างานตรงสาขาที่ สําเร็จการศึกษา

2547

2548

2549

คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

1.3 รอยละของบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี N/A 0 1 4

1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกา ที่ไดรับการประกาศเกียรติ คุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือ รางวัลทางวิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ 3 ป ที่ผานมา 1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับ รางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปที่ผานมา

0

0

0

0

1.7 ร อยละของบทความจากวิ ทยานิ พนธ ปริ ญญาโทที่ ตี พิ มพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด

0

0

0

0


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................5

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1.8 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด

2547

2548

2549

คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

1.9 อัตราการแขงขันสอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา)

2.1

2.06

1.98

3

1.10 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขามธ.ได(ปริญญา ตรี /บัณฑิตศึกษา)

2.73

2.65

2.74

5

1.11 รอยละของนักศึกษาที่ไดรับการจัดระดับวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐาน (PT) ตั้งแต สษ.172 ขึ้นไป

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

1.12 รอยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สอบผาน TUGET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน)

0.91

3.81

3.40

0

1.13 ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด (ปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา) 2. มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 2.1 รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอจํานวนอาจารยประจํา

92.00

80.87

69.27

2

0.00

20.00

50.00

5

2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา

0

10,400

1,100

2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอก สถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

0

51,849

546,280

2.4 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองาน สรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

0.00

40.00

30.00

1

2.5 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองาน สรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติ หรือระดับ นานาชาติ ตออาจารยประจํา

0.00

60.00

30.00

3

0.00

0.00

0.00

0

2.7 จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียน ทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร ในรอบ 5 ปที่ผานมา 2.8 ผลงานทางวิชาการตออาจารยประจําทุกระดับ

2 5

ผลงานมีแตในลักษณะของลิขสิทธิ์ไมใชสิทธิบัตร 0

0.40

0.70

2


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................6

2547

2548

2549

คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ

6.00

833.00

266.67

5

0

33.33

33.33

5

3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย

N/A

3

3

4

3.4 คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและ วิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจํา 4. มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 4.1 รอยละของโครงการ/กิจ กรรมในการอนุรักษ พัฒนา และ สรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษา

N/A

31,733.33

602,300

5

4.2 รอยละของคาใชจาย และมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ

0

0.93%

1.80%

5

-

4

7

5

5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการ ประเมินจากภายในและภายนอก

-

4

4

4

5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ

-

2

5

5

5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน

-

4

4

5

5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการ สอน และการวิจัย

-

3

5

5

5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา

0

378,839.50

5

69,627

139,923.59

180,125. 63 77,174.5 4

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 3. มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ ตออาจารยประจํา 3.2 รอยละของอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการ วิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ และ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติและนานาชาติ ตออาจารยประจํา

5. มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 5.1 สถาสถาบัน และผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถสะทอนถึงนโยบาย วัตถุประสงค และนําไปสู เปาหมายของการบริหารจัดการที่ดี มีการบริหารแบบมีสวนรวม เนนการกระจายอํานาจ โปรงใส และตรวจสอบได รวมทั้งมี ความสามารถในการผลักดันสถาบันใหสามารถแขงขันไดใน ระดับสากล

5.7 คาใชจายทัง้ หมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

1


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................7

2547

2548

2549

5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ

18.91

41.52

38.67

คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ 2

5.9 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือ นําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ

N/A

100.00

33.33

1

5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและ ตางประเทศตออาจารยประจํา

N/A

24,733.33

18,902. 52

5

5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการ พัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ

N/A

100.00

100.00

5

5.12 สัดสวนเงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสาย สนับสนุน

N/A

0.03

0.39

2

5.13 สัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอจํานวนบุคลากรสายสนับสนุน 6. มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด

0.04

0.13

0.24

2

100.00

0.00

100.00

5

6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา

313.0

117.20

78.03

2

6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา ตออาจารยประจํา

50.00

33.33

44.44

4

6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ

50.00

33.33

22.22

3

6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics)

-

5

5

5

6.6 กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการ เรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง

-

6

6

5

6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของ อาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

N/A

4.09

4.16

5

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด

6.8 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนา นักศึกษาตอจํานวนนักศึกษา

วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

6.9 คาใชจายทัง้ หมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และ ศูนยสารสนเทศตอจํานวนนักศึกษา

N/A

20,794.79

22,199. 01

5

6.10 จํานวน (Section) ตออาจารยประจํา 7. มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ 7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง

20.67

20.66

9.33

2

-

4

5

5

-

4

4

5

7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................8

บทที่ 2 สวนนํา สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 1. ความเปนมาของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา เปนหนวยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่จัดตั้งขึ้นตามมติสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2538 โดยมีสถานภาพเทียบเทา คณะ สํานัก หรือสถาบัน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2531 โดยแรกเริ่มใชชอื่ วา ศูนยนวัตกรรมอุดมศึกษา ซึ่งตอมา สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษา ในวันที่ 10 กุมภาพันธ 2540 และในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2540 สมเด็จพระ บรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จทรงวางศิลาฤกษอาคารหลังแรกของวิทยาลัยที่อําเภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยรับมอบที่ดินจาก ดร. ถาวร พรประภา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ถือกําเนิดขึ้นจากวิสัยทัศน อั น ยาวไกลของผู บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ที่ ต อ งการจะริ เ ริ่ ม “สิ่ ง ใหม ” ให กั บ วงการ การศึกษาไทย และนับเปนรูปแบบใหมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรที่ไดปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ที่ เคยจัดตั้งเปนคณะและภาควิชา มาสูรูปแบบของวิทยาลัย (College) ที่มุงเนนการใหการศึกษาใน ลั ก ษณะที่ เ ป น สหสาขาวิ ช าเพื่ อ ให ไ ด ม าซึ่ ง การพั ฒ นาที่ ส มบู ร ณ ยั่ ง ยื น และได ส มดุ ล โดยได จั ด การศึ ก ษา ฝ ก อบรม และส ง เสริ ม วิ ช าการชั้ น สู ง ทางวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี สั ง คมศาสตร มนุษยศาสตร และศาสตรประยุกต ตางๆ โดยมุงเนนพัฒนารูปแบบการบริหาร การจัดการ ตาม แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ ซึ่งผสมผสานศาสตรทางดานตางๆ เขาดวยกัน และเปนการศึกษาที่ สรางความเชื่อมโยงระหวางการเรียนการสอน กับการวิจัย และการบริการสังคม สงเสริมใหมีการ สรางสรรคนวัตกรรม ตลอดจนสามารถนําทรัพยสินทางปญญามาบริหารจัดการและใชประโยชนได อยางเหมาะสม และสามารถรวมมือกับภาคเอกชนไดเปนอยางดี ทั้งนี้เพื่อใหเกิดบูรณาการทาง วิทยาการ รูปแบบการบริหารจัดการของวิทยาลัยนวัตกรรมจึงเปนไปในรูปแบบองคกรนอกระบบ ราชการ กล า วคื อ มุ ง เน น ให มี ค วามคล อ งตั ว ในการบริ ห ารงาน ลดความซ้ํ า ซ อ น และสามารถ ดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมขัดตอกฎเกณฑของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................9

2. วิสัยทัศน ปณิธาน พันธกิจและแผนกลยุทธเพือ่ การพัฒนาวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2.1 วิสัยทัศน วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษาตองการเปนผูนําดานการปฏิรูปการเรียนรู และเปน หนวยงานตนแบบดานการบริหารการศึกษาที่สามารถสรางเมล็ดพันธุ (SEED) ทางปญญาออกสู สังคม 2.2 ปณิธานของวิทยาลัยฯ วิทยาลัยฯ มีความมุงมั่นที่จะดําเนินการภายใตปณิธาน 4 ขอ (S-E-E-D) สรางพลังจากความหลากหลาย Synergy from diversity กาวไกลอยางมีคุณธรรม Excellence with ethics มุงมั่นนวัตกรรมการศึกษา Educational innovation พัฒนาโดยคํานึงถึงองครวม Develop holistically 2.3 พันธกิจ พันธกิจที่ 1: ปฏิรูปการเรียนรู ดวยการสรางรูปแบบการเรียนรูที่นา สนใจ สนุก และไม ถูกจํากัดอยูแตในหองเรียน สามารถเรียนรูไดทุกโอกาส เรียนไดในทุกที่ เปนการเรียนรูที่ตอเนื่องตลอดชีวิต ไมใชการเรียนเพื่อการสอบหรือเพียง เพื่อใหไดรับปริญญาบัตร พันธกิจที่ 2: สรางตนแบบการบริหารการศึกษา เปนการสรางแบบจําลองดานการ บริหารการศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จน สามารถเปนแบบอยางที่ดีใหกับหนวยงานหรือองคกรอื่นๆได พันธกิจที่ 3 : ผลิตบัณฑิตที่พึงประสงคเปนผลผลิตจากการศึกษาที่สามารถเรียกได อยางภาคภูมิวาเปน “เมล็ดพันธุทางปญญา” เปนทั้งผูที่รอบรู (Generalist) และเปนผูที่รวมรับผิดชอบตอสังคม


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................10

2.4 แผนกลยุทธ (Strategy) 2.4.1 ดานการจัดการเรียนการสอน • เพิ่มจํานวนหลักสูตรใหมีความหลากหลาย • พัฒนาหลักสูตรโดยระดมความคิดจากผูเชี่ยวชาญทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และศิษยเกา • เพิ่มสัดสวนอาจารยประจํา • การคัดเลือกอาจารยพิเศษมาสอนในแตละปการศึกษา เชิญเฉพาะอาจารยที่มีผลการ ประเมินเปนทีน่ าพอใจ (กรณีอาจารยพิเศษ) และมีพื้นฐานการศึกษาตรงกับสาขาที่สอน • จัดอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของอาจารยประจํา • ใหอาจารยใหม เขาฟงการบรรยาย สังเกตการณ เพื่อนํามาพัฒนาการสอนและจัด เตรียมการสอนในมีประสิทธิภาพขึ้น • ใหมี Case Study / Field Research ในการเรียนการสอนของแตละวิชา • สงเสริมการสรางเครือขายความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัย และภาคเอกชน ที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ • สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยใชเทคโนโลยีในการเรียนการสอน และการทํา รายงานของนักศึกษา • สงเสริมและสนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมทางวิชาการในระดับชาติและ นานาชาติ • สงเสริมการสรางเครือขายระหวางหนวยงานและบุคลากรรวมทั้งหนวยงานทางการ ศึกษาทีเ่ กี่ยวของทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ • สนับสนุนและผลักดันใหอาจารยและนักศึกษาไดรับ Professional certification เชน PMP (Project Management professional), CAPM (Certified association in Project Management) • จัดการสัมมนาทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติอยางตอเนื่อง 2.4.2 ดานการวิจัยและผลงานทางวิชาการ • ใหความสําคัญของการทําวิจัยของนักศึกษา และสงเสริมใหนักศึกษาทําวิทยานิพนธ ที่มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น • จัดหาทุนสนับสนุนการพัฒนาและเผยแพร ตําราและผลงานทางวิชาการ โดยเนน งานวิจัยที่มีผลทั้งทางดานการแกปญหาและสงเสริมองคความรูใหมในสายวิชานั้นๆ และจัดสัมมนาผลงานวิทยานิพนธเพื่อนําเสนอผลงานวิจัยตอสาธารณชน • จัดหาทุนเพื่อเปนรางวัลสําหรับ ผูที่ไดรับการตีพิมพผลงานทางวิชาการ


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................11

• รวบรวมขอมูลขาวสารเกี่ยวกับทุนและการสนับสนุนการวิจัย จากหนวยงานภายใน และภายนอก • มอบรางวัล/เกียรติบตั ร แกผูไดรับรางวัลจากการพัฒนา ตําราและผลงานทางวิชาการ 2.4.3 ดานการประชาสัมพันธ • ประชาสัมพันธทั้งทางตรงและทางออมไปยังกลุมเปาหมาย เพื่อใหไดนักศึกษาที่มีศักยภาพ • จัดแถลงขาว เพื่อเปดตัวหลักสูตรใหม หลักสูตรระยะสั้น และโครงการฝกอบรม โครงการความรวมมือใหมๆ แกนักธุรกิจ นักการตลาด นักลงทุน ผูประกอบการ และนักบริหาร • จัดกิจกรรม Open House และ Road show 2.4.4 ดานการใหบริการสังคม • สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารย รับทํางานวิจัยและใหคําปรึกษาแกหนวยงานภายนอก • จัดอบรม/สัมมนา/และกิจกรรมแกประชาชนทั่วไป (Public Training) • จัดอบรม/สัมมนา/และกิจกรรมแกองคกรตางๆ (In-house Training) • จัดหาทุนการศึกษาใหกบั นักศึกษาดอยโอกาส และบุคลากรทางวัฒนธรรมทั้งภาครัฐ และเอกชน 2.4.5 ดานบุคลากรและการบริหารจัดการ • สรางแรงจูงใจใหแกพนักงาน รวมถึงสวัสดิการ และความกาวหนาในตําแหนงงาน รวมถึงการเปดโอกาสใหบุคลากรไดรับการพิจารณาเลื่อนตําแหนง • สงเสริมใหบุคลากรศึกษาดูงานและฝกอบรมทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมให บุคลากรนําความรูความสามารถ ศักยภาพของตนเองมาใชใหเกิดประโยชนกับ องคกรอยางเต็มที่ • จัดใหมีการประชุมเพื่อรับฟงปญหาและความคิดเห็นของบุคลากรในระดับตางๆ • พัฒนาระบบการควบคุมงบประมาณโดยใช Software on PC • ใชระบบการบันทึกเวลาทํางานดวยเครื่องบันทึกลายนิว้ มือที่ศูนยพัทยา 2.4.6 ดานการพัฒนานักศึกษาและกิจกรรมนักศึกษา • จัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธ อยางเชน annual seminar, กีฬาสี • กําหนดใหมีการสัมมนาจริยธรรมใหแกนกั ศึกษาอยูในทุกหลักสูตร • สราง Alumni เพื่อเปนสื่อกลางระหวางวิทยาลัยฯ กับศิษยเกา และนักศึกษาปจจุบันกับศิษยเกา


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................12

2.4.7 ดานการประกันคุณภาพการศึกษา • ปรับปรุงตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาใหมีความเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ • การตรวจสอบคุณภาพภายใน โดยจะตรวจสอบผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ คุณภาพและผลการดําเนินงานตามขอสังเกตและขอเสนอแนะจากการตรวจสอบในป ที่ผานมา • กระตุนสงเสริมใหบุคลากรของวิทยาลัยอยางเปนระบบและตอเนื่อง โดยการจัดอบรม เชิงปฏิบตั ิการใหแกบุคลากร • การจัดทําขาวประชาสัมพันธเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา และ ฐานขอมูล สงสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ และเผยแพรขาวสารขอมูล ดานประกันคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน 3. โครงสรางการบริหารงานวิทยาลัยฯ วิทยาลัยฯ มีการกําหนดโครงสรางและระบบการบริหารงานที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจ ของวิทยาลัยฯ โดยมีการแบงกลุมงานและกลุมภารกิจที่ชัดเจน และไดเลือกรูปแบบการจัดการองคกร ในรูปแบบที่มีความยืดหยุนสูง เปนโครงสรางที่สามารถปรับเปลี่ยนไดตามยุทธศาสตรอีกทั้งยึดหลัก ความเปนอิสระในการบริหารงาน เนนการกระจายอํานาจ และสรางกลไกที่จะสงเสริมใหบุคลากรมี สวนรวมในการบริหารงานมากที่สุด เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางคลองตัวและเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ทั้งนี้ มีการกําหนดคุณสมบัติบคุ ลากรที่รบั ใหมทั้งอาจารยและเจาหนาที่ โดยมีระบบการสรร หาและคัดเลือกบุคลากรที่เปนธรรมและโปรงใส กําหนดอํานาจหนาที่และลักษณะงาน (Job Description) ของบุคลากรแตละตําแหนงอยางชัดเจน และมีแผนงานในการพัฒนาบุคลากรที่เปน ระบบ นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรอยางชัดเจน โปรงใสและตรวจสอบได โดยไดนําผลการประเมินเปนขอมูลในการพัฒนาความสามารถของบุคลากรตอไป นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังเปดโอกาสใหบุคลากรมีสว นรวมในการวางแผนและการตัดสินใจใน ภารกิจที่สาํ คัญ โดยมีการประชุมระดับผูจัดการ การประชุมระดับเจาหนาที่ และมีการแตงตั้ง คณะกรรมการจัดการดานตาง ๆ พรอมทั้งกําหนดอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการเหลานั้น ซึง่ วิทยาลัย ไดแบงหนวยงานตางๆ จําแนกตามภารกิจหลักของหนวยงานออกเปน 7 กลุมภารกิจหลัก ดังนี้ 1. กลุมภารกิจบริหารการศึกษา หรือที่รูจักในนามของ Learning Base (LB) มีหนาที่ บริหารและใหบริการหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการบริหารเทคโนโลยี และสาขาการ บริหารงานวัฒนธรรม ปจจุบันเปดดําเนินการอยูที่ชั้น 1 และ ชั้น 4 อาคารหอสมุดเดิม (LB) ทา พระจันทร


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................13

2. กลุมภารกิจเครือขายการเรียนรู หรือ Learning Network (LN) มีหนาที่สราง เครือขายการเรียนรูผานสื่อตางๆ ทั้งที่เปนสื่อประสม (Multi-media) สื่อการเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) และสื่อผานเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม (Information Communication Technology) 3. กลุมภารกิจบริหารงานสวนกลาง หรือ Central Administration (CA) ประกอบดวย งานธุรการ งานบัญชีและการเงิน มีหนาที่ในการบริหารและใหการสนับสนุนการดําเนินงานของกลุม ภารกิจขางตนใหบรรลุผลตามพันธกิจทีก่ ําหนดไว 4. กลุมภารกิจบริหารธุรการ ประกอบดวยงานบุคคล อาคารสถานที่ งานยานยนต และ งานแมบา น มีหนาที่ในการพัฒนาองคกรและบริหารใหการสนับสนุนการดําเนินงานใหบรรลุตามพันธกิจ 5. กลุมภารกิจดานกิจกรรมสัมพันธและฝกอบรม ประกอบดวยงานฝกอบรม ประชาสัมพันธ และกิจกรรมการตลาด มีหนาที่ในการจัดฝกอบรมและประชาสัมพันธองคกรผานสื่อตางๆ 6. กลุมภารกิจเพื่อสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา ประกอบดวยงานวิจยั และพัฒนา และ งานวิเทศสัมพันธ มีหนาที่สนับสนุนงานดานวิชาการ พัฒนาหลักสูตร ประกันคุณภาพการศึกษา จัดทําแผนกลยุทธ ควบคุมภายใน วิจัยสถาบัน วิจัยเพือ่ พัฒนาองคกรใหบรรลุพันธกิจที่ตั้งไว 7. กลุมภารกิจศูนยการศึกษา ฝกอบรม และสัมมนา มีหนาที่บริหารศูนยการศึกษาและ อาคารที่พักของวิทยาลัยฯ ที่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ภายใตชื่อ “อุทยานการเรียนรู” (Learning Resort – LR) รายละเอียดโครงสรางการจัดองคกรของวิทยาลัยฯ สามารถแสดงในแผนภูมิที่ 1 ดังตอไปนี้


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................8

แผนภูมิที่ 1


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................15

4. การจัดการเรียนการสอน วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดการเรียนการสอนในระดับ ปริญญาโท จํานวน 3 หลักสูต ร คื อ หลักสูต รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หาร เทคโนโลยี (ท า พระจั น ทร และศู น ย พั ท ยา) และหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาการ บริหารงานวัฒนธรรม ซึ่งไดรับการปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ปการศึกษา 2548 ของสํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) ในป ก ารศึ ก ษา พ.ศ. 2549 โดยมี รายละเอียดการเรียนการสอนดังนี้ 4.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (Master of Science Program in Technology Management) ทาพระจันทร และศูนยพัทยา วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อพัฒนานักศึกษาใหมีความรูความสามารถ และความชํานาญในการบริหาร และ จัดการดานเทคโนโลยีภายในองคกรใหกาวทันอารยประเทศ 2. เพื่อใหนักศึกษามีความรอบรู และมีวิสยั ทัศนที่จะสามารถนําพาองคกรใหประสบ ความสําเร็จภายใตสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว 3. มุงเนนใหนักศึกษาไดตระหนักถึงหนาที่และความรับผิดชอบที่มีตอสังคม ระบบการศึกษา • หลักสูตรภาคค่ําในระบบทวิภาค • ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 7 ภาคการศึกษา (นับรวมการศึกษาภาคฤดูรอน) • แบงเปน 5 หมวดวิชา ดังนี้ - หมวดการจัดการงานโทรคมนาคม - หมวดการจัดการงานคอมพิวเตอร - หมวดการจัดการเทคโนโลยี - หมวดการจัดการงานวิศวกรรม - หมวดเทคโนโลยีคาปลีก • หลักสูตรการศึกษาแบงเปน 2 แผน โดยนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาแผนใดแผนหนึ่ง ดังตอไปนี้ แผน ก. เปนหลักสูตรที่มีการศึกษารายวิชา เนนการทําวิทยานิพนธ แผน ข. เปนหลักสูตรที่เนนการศึกษารายวิชา และการคนควาอิสระ • จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 45 หนวยกิต


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................16

4.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานวัฒนธรรม (Master of Arts Program in cultural Management) วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนผูเขาใจถึงคุณคาของวัฒนธรรมในความหมายที่เปนปจจุบัน และสามารถนําความรูความสามารถในการบริหารจัดการมาใชกับองคกรดานศิลปะและ วัฒนธรรม 2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะทั้งในดานวิชาการและในเชิงปฏิบัติการทีส่ ามารถนําไป ประยุกตใชในการประกอบวิชาชีพไดจริง 3. เพื่อผลิตบัณฑิตทีต่ ระหนักถึงหนาที่และมีความรับผิดชอบตอสังคมได ระบบการศึกษา หลักสูตรภาคค่ําในระบบทวิภาค • ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ปครึ่ง (7 ภาคการศึกษานับรวมภาคฤดูรอน) • ลักษณะหลักสูตร เปนแบบ “สหวิทยาการ” • แบงเปน 3 หมวดวิชา ดังนี้ - หมวดมรดกและวัฒนธรรมรวมสมัย : นโยบายและปฏิบัติ - หมวดการแสดงและการผลิตทางวัฒนธรรม - หมวดอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม • หลักสูตรการศึกษาแบงเปน 2 แผน โดยนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาแผนใดแผนหนึ่ง ดังตอไปนี้ แผน ก. เปนหลักสูตรที่มีการศึกษารายวิชา เนนการทําวิทยานิพนธ แผน ข. เปนหลักสูตรที่เนนการศึกษารายวิชา และจัดทําโครงการทางวัฒนธรรม • จํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตร 42 หนวยกิต หลักสูตรทั้ง 3 หลักสูตรขางตน เปนหลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อสรางใหนักศึกษาเปนผูที่รัก การเรียนรู มุงเนนใหเกิดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยจะกระตุนใหนักศึกษาไดคิด และได เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งแนวความคิดดังกลาวถูกถายทอดลงในวิชาแตละวิชาที่เปดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของวิชาเลือก ซึ่งไดคํานึงถึงความสมดุลระหวางความตองการเรียนของ นักศึกษาและความหลากหลายของรายวิชา กับความเหมาะสมของตนทุนที่มี เนื่องจากวิทยาลัยเชื่อ วาหากสามารถเปดรายวิชาใหตรงกับความตองการของนักศึกษาจะทําใหนักศึกษาไดเรียนในวิชาที่ ตองการเรียนและจะมีแรงจูงใจในการเรียนเพื่อผลสัมฤทธิ์สูงสุด ในขณะเดียวกันการเปดรายวิชา เลือกมากนั้นเปนการสนับสนุนใหเกิดความหลากหลายในการเรียน โดยเฉพาะการที่วิทยาลัยฯ เนน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................17

ในการนําหลักวิชาการไปประยุกตใชวิชาเลือกจํานวนมากชวยเปดโดกาสใหนักศึกษาไดรูจักศาสตร ตางๆ มากขึ้น พรอมทั้งสามารถนําหลักเหลานั้นไปใชไดอยางลึกซึ่งมากขึ้นดวย การจัดการเรียนการสอนโครงการบัณฑิตศึกษาหลักสูตรบริหารเทคโนโลยี (ทาพระจันทร) และหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ปจจุบัน ไดมีการเรียนการสอนที่ ชั้น 5 อาคารหอสมุดเดิม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร โดยเรียนตั้งแตวันจันทรถึงวันอาทิตย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความ สะดวกของอาจารยและนักศึกษาเปนสําคัญ ชวงเวลาในการเรียนการสอน สําหรับวันธรรมดา (จันทร – ศุกร) คือ 18.00 – 21.00 น. และในวันเสาร ถึงวันอาทิตย คือเวลา 09.00 – 17.00 น. สวน หลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี (ศูนยพัทยา) จัดการเรียนการสอนที่ อุทยานการเรียนรู (Learning Resort) อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 5. นักศึกษา ตารางแสดงจํานวนนักศึกษาทั้งหมดของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ปการศึกษา 2547-2549 หลักสูตรปริญญาโท

จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548 ปการศึกษา 2549

สาขาการบริหารเทคโนโลยี

420

407

387

สาขาการบริหารเทคโนโลยี (ศูนยพัทยา)

-

-

74

สาขาการบริหารงานวัฒนธรรม

77

119

117

รวม

497

526

578

ขอมูล : งานทะเบียนนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 30/05/50


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................18

จํานวนนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 จําแนกตามหลักสูตร MCT 117 คน (20.24%)

MTT (ศูนยพัทยา) MTT (ทา

74 คน (12.80%)

พระจันทร) 387 คน

6. บุคลากรของวิทยาลัยฯ บุคลากรของวิทยาลัยฯ แบงเปน 2 ประเภทไดแก บุคลากรสายวิชาการ (สาย ก) ที่ทําหนาที่สอน วิจัยและใหบริการทางวิชาการแกนักศึกษาโดยตรง และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (สาย ข, ค) ที่ทําหนาที่บริหารจัดการและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนใหแกนักศึกษา ซึ่งในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีบุคลากรทั้งสองสายรวมทั้งหมด 47 คน โดยจําแนกตามสายงาน วุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ รายละเอียดดังตอไปนี้ บุคลากร สายวิชาการ อาจารยประจํา

สายสนับสนุน วิชาการ

วุฒิการศึกษา

จํานวน

สถานะ/ตําแหนง ทางวิชาการ

จํานวน

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

6 3

อาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย ศาสตราจารย

7 2 -

รวม ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท รวม

9 3 31 4 38

รวม ปฏิบัติการวิชาชีพ หัวหนางาน ผูจัดการ รวม

9 29 5 4 38

ขอมูล : งานบุคคล วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 30/05/50


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................19

สวนที่ 2 ผลการดําเนินการที่สําคัญในรอบปการศึกษา 2549 ในรอบปการศึกษา 2549 เริม่ ตั้งแตวนั ที่ 1 มิถุนายน 2549 – 31 พฤษภาคม 2550 วิทยาลัยฯ ดําเนินกิจกรรมสําคัญสามารถสรุปไดดังนี้ ศักยภาพดานวิชาการ วิทยาลัยฯ ไดใหความสําคัญกับคุณภาพและมาตรฐานทางดานวิชาการเปนอยางยิ่ง ซึ่งแสดง ใหเห็นอยางชัดเจนจากการดําเนินการใหทุกหลักสูตรของวิทยาลัยฯ มีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร และอาจารยประจําหลักสูตร เพื่อใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา พ.ศ.2548 และการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนดังจะเห็นไดจาก การดําเนินงานตอไปนี้ 1) การพัฒนาหลักสูตรใหม วิทยาลัยมีนโยบายที่จะเปดการเรียนการสอนหลักสูตรใหมในป การศึกษา 2551 จํานวน 2 หลักสูตร ไดแก 1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับ ผูบริหารระดับสูง (CIO) ซึ่งเปนความรวมมือระหวางวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา และคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรรมศาสตร โดยไดรบั การสนับสนุนจากศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ (NECTEC) และ สวทช. อีกทั้งยังมีความรวมมือทางวิชาการกับ Waseda University ประเทศญี่ปุนอีกดวย โดยมีเปาหมายนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาโทใน สาขาวิชาดังกลาวแลวยังมีวตั ถุประสงคทจี่ ะจัดตั้ง CIO University ขึ้นเปนแหงแรกในประเทศไทย ภายใตการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรอีกดวย ขณะนี้ไดมกี ารดําเนินการรางหลักสูตรและจัดทํา ประชาพิจารณจากผูบ ริหารเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งภาครัฐและเอกชนเปนที่เรียบรอยแลว เมื่อวันที่ 5-6 เมษายน 2550 ณ อุทยานการเรียนรู มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยพัทยา 1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตหกรรมบริการ ซึ่งขณะนี้อยู ระหวาง ขั้นตอนการดําเนินการเชิญคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒริ วมพิจารณารางหลักสูตรและเตรียม เอกสารเพื่อเสนอสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในการขอเปดหลักสูตรตอไป ทั้งนี้การ กําหนดหลักสูตรตองเปนไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 2) การพัฒนาหลักสูตรที่มีอยูเดิม 2.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (MTT) วิทยาลัยฯ ดําเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ 2 แหง ไดแก ที่ มธ. ทาพระจันทร และที่ มธ.ศูนยพัทยา ซึ่งไดเริ่มเปดดําเนินการเมื่อป 2549 และมีนโยบายที่จะปรับปรุงหลักสูตรดังกลาวใหสอดคลองกับ ความตองการของสังคม และมีมาตรฐานทางวิชาการมากยิ่งขึ้น ในปการศึกษา 2551 2.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ ได ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรดังกลาว เมื่อปการศึกษา 2549 โดยเปนการปรับปรุงหลักสูตรในประเด็น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................20

เล็กนอยที่ไม กระทบโครงสรางหลักสูต ร ขณะนี้อยูระหวางการประเมินผลการปรับปรุ งหลั กสูต ร ดังกลาวเพื่อดําเนินการพัฒนาหลักสูตรตอไป 3) การบริหารหลักสูตร 3.1 วิทยาลัยฯมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารเทคโนโลยี และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม เพื่อ ทําหนาที่ดูแลมาตรฐานทางวิชาการของหลักสูตรใหเปนไปตามหลักเกณฑมาตรฐานของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและชาติ และมาตรฐานทางวิชาการของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3.2 วิทยาลัยฯ มีการแตงตัง้ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาและดําเนินการคูมือการปฏิบตั ิงานสําหรับ การบริหารงานและดําเนินการหลักสูตรที่วิทยาลัยดําเนินงาน เมื่อปการศึกษา 2549 โดยมีหนาที่ พัฒนากระบวนการดําเนินงาน/บริหารหลักสูตร เพื่อเปนเครื่องมือหนึ่งในการดําเนินงานหลักสูตรให ไดมาตรฐานตามที่ตองการ โดยไดปรับปรุงกระบวนการ/วิธีการตอจากคูมือการบริหารคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2545 ที่วิทยาลัยไดดําเนินการไวแลว 4) การพัฒนาคุณภาพอาจารย 4.1 การสรรหาอาจารย 4.1.1 ผูอํานวยการวิทยาลัยฯ กําหนดใหมีกระบวนการสรรหาอาจารยใหมอยาง ชัดเจนและโปรงใส โดยมีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกทีม่ ีความเชี่ยวชาญใน สาขาวิชาเกี่ยวของเปนกรรมการคัดเลือก เพื่อใหไดคณาจารยที่มีคุณวุฒคิ วามรูค วามสามารถ ประสบการณ คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งนี้ การคัดเลือกอาจารยใหมจะตองมีความสอดคลองกับความตองการ หลักสูตรใหมๆ ของวิทยาลัยฯ 4.1.2 กระบวนการสรรหาอาจารยผูสอน (พิเศษ) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมีขั้นตอนดังนี้ - ภายหลังจากสิ้นสุดปการศึ กษา งานบริหารการศึกษา จะจัดทํารายงานผลการ ดําเนินงานหลักสูตรฯ โดยมีรายละเอียดภาระงานสอนของอาจารยผูสอนรายวิชาพรอมทั้งผลการ ประเมินของนักศึกษา รวมถึงภาระงานในฐานะอาจารยที่ปรึกษา/ที่ปรึกษารวม และกรรมการสําหรับ งานวิทยานิพนธ/คนควาอิสระ/โครงการทางวัฒนธรรมของนักศึกษา - งานบริหารการศึกษา จัดทําเอกสารสรุปรายวิชาที่จะเปดการเรียนการสอนในแตละ ภาคการศึกษา ตามแบบฟอรมการสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบประจําวิชา รวมทั้ง Course Syllabus ของอาจารยผูสอนทานเดิม แยกตามหมวดวิชาเพื่อเสนอรองผูอํานวยการหลักสูตรตามหมวดวิชา พิจารณา - จั ด การประชุ ม ผู บ ริ ห ารหลั ก สู ต ร ซึ่ ง ประกอบด ว ยผู อํ า นวยการหลั ก สู ต ร รอง ผูอํานวยการหลักสูตร และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ซึ่งการสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาจะถูก นําเสนอและไดขอสรุปจากที่ประชุมนี้อีกครั้งหนึ่ง


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................21

4.2 วิทยาลัยฯ จัดใหมีการสนับสนุนและพัฒนาอาจารยดานการเรียนการสอน ดานการวิจัย โดยมีโครงการตางๆ ดังตอไปนี้ 4.2.1 การจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนใหอาจารยไปเสนอผลงานวิจัยและเขา รวมประชุมวิชาการ สงบทความตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ จัดพิมพตํารา เอกสารประกอบการ เรียนการสอน อางอิงตามระเบียบการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานภายในประเทศ 4.2.2 การจั ดสรรงบประมาณเพื่อสนับ นุ นการทําวิจัยทั้งงานวิจัยขนาดเล็ก งานวิจัยวิชาการ และงานวิจัยสถาบัน 5) งานพัฒนาความรวมมือทางวิชาการกับตางประเทศ ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีกิจกรรมความรวมมือกับมหาวิทยาลัย/หนวยงานในตางประเทศ ดังตอไปนี้ 1. อาจารยประจําวิทยาลัยจํานวน 1 คนไดรบั ทุนทําวิจัย AMAFEK จากรัฐบาลประเทศ เกาหลีไปทําวิจัยที่ Korean National University of Arts ประเทศเกาหลีเปนเวลา 6 เดือน (ก.ย 49 – ม.ค. 50) 2. วิทยาลัยฯ สงคณะผูแทนไปเจรจาความรวมมือทางวิชาการรวมกับ Group T Leuven Engineering School ประเทศเบลเยีย่ มเพื่อหารือในการเปดหลักสูตรสองภาษา (bilingual program) ในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารเทคโนโลยี โดยคาดหมายวาจะสามารถเปด หลักสูตรสองภาษานี้ไดในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2551 3. วิทยาลัยฯ นําคณะนักศึกษาปริญญาโทสาขาการบริหารงานวัฒนธรรมไปศึกษาดูงานที่ Université de Paris X – Nanterre ประเทศฝรั่งเศสและในขณะเดียวกันไดเจรจาความรวมมือในการ จัดการประชุมนานาชาติโดยมีวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเปนเจาภาพ โดยจะจัดใหมีขึ้นประมาณเดือนตุลาคม 2551 ในปการศึกษา 2550 วิทยาลัยฯ มีนโยบายที่จะสานตอความรวมมือทางวิชาการกับ ตางประเทศใหมากยิ่งขึ้น กิจกรรมที่วิทยาลัยฯ ไดดําเนินไปแลวภายในป 2550 มีดังตอไปนี้ 1. Amiens School of Engineering สงนักศึกษามาฝกงานดานการบริหารเทคโนโลยี ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 26 มิ.ย. 50 2. ผูแทนของวิทยาลัยฯ ไดเดินทางไปเขารวมประชุมความรวมมือทางวิชาการกับ École Supérieure d’Ingénieurs en Électrotechnique et Électronique และ Université de Paris X – Nanterre ประเทศฝรั่งเศส เพื่อเตรียมความพรอมในการจัดการประชุมนานาชาติ เดือนพฤษภาคม 2551 3. วิทยาลัยฯ ไดลงนามในขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ CIO University รวมกับศูนย เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติและมหาวิทยาลัยวาเซดะ ประเทศญี่ปุน ในการ พัฒนาหลักสูตรปริญญาโทการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับผูบริหารสารสนเทศระดับสูง (CIO) วิทยาลัยฯ คาดวาจะสามารถเปดหลักสูตรนี้ไดภายในภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2550


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................22

ศักยภาพทางดานวิจัย งานวิจัยเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนาองคความรู วิทยาลัยฯไดเห็นความสําคัญและได ดําเนินการสนับสนุนงานวิจยั โดยสนับสนุนและสงเสริมใหคณาจารยไดทําการศึกษาวิจัยและถือเปน สวนหนึ่งของการประเมินผลงานของอาจารย สําหรับในสวนของการวิจัยในปการศึกษาของวิทยาลัยฯ นั้น วิทยาลัยฯ ไดจัดตั้งหนวยงานวิจัยและพัฒนาโดยมีหนาที่รับผิดชอบงานวิจัยสถาบันและการวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร อีกทั้งยังเปนหนวยงานที่ชวยสนับสนุนงานวิจยั ของคณาจารย เพื่อสนับสนุนให คณาจารยไดสรางสรรคผลงานทางวิชาการ เพื่อเปนการสงเสริมและสนับสนุนใหบคุ ลากรในวิทยาลัยฯ ไดศึกษาคนควาวิจัย เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาองคความรู เสริมสรางความเขาใจในปญหาหรือประเด็นที่ เปนประโยชนในการเรียนการสอนหรือการพัฒนาประสิทธิภาพของหนวยงาน และเพือ่ เผยแพร ชื่อเสียงของ วิทยาลัยฯ และมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและตางประเทศ วิทยาลัยฯ จึงไดกําหนด หลักเกณฑการสนับสนุนทรัพยากรสําหรับการวิจัยไวตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยฯ วาดวยการขอเบิก ทุนอุดหนุนการเขียนบทความทางวิชาการ ตํารา งานวิจัย วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดรับอาจารยประจํามากขึ้น จึงสงผลใหวิทยาลัยฯ มี ผลงานวิจัยโดยไดรับงบประมาณจากทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ซึ่งในปนี้ผลงานวิจยั ของ วิทยาลัยฯ มีจํานวนเพิ่มขึ้นจากปกอนทั้งสิ้นจํานวน 6 โครงการ ซึ่งในปการศึกษา 2549 อาจารย เวฬุรีย เมธาวีวินิจ ซึ่งเปนอาจารยประจําวิทยาลัยฯ ไดรับทุนไปทําวิจัยที่ประเทศเกาหลีใต ระหวาง วันที่ 1 กันยายน 2549 – 30 มกราคม 2550 เรื่อง Key factors in Korean TV industry structure that affect the success of Korean TV dramas in global market เปนการสนับสนุนทุนวิจัยจาก Korean National University of Arts, Ministry of Culture and Tourism, Republic of Korea นอกจากนี้ อาจารย ดร.กวีพงษ เลิศวัชรา ไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักมาตรฐาน อุตสาหกรรม สําหรับโครงการวิจัย เรื่อง “โครงการศึกษาการนํามาตรฐานไปใชในกลุมผูประกอบการ และ ผูบริโภค” และ เรื่อง “โครงการการประเมินผลสัมฤทธิข์ องมาตรการกําหนดผลิตภัณฑบงั คับ” อีกทั้งยังไดรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม สําหรับโครงการวิจัย เรื่อง “โครงการสํารวจความ พึงพอใจของผูมีสวนไดเสียจากการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดลอม ตามระบบการประเมินผลทุน หมุนเวียน ป 2550” นอกจากนี้อาจารยสุรีรัตน บุบผา ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สําหรับโครงการวิจัยเรื่อง "ศักยภาพและการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทาง ประวัติศาตรและวัฒนธรรมบริเวณเกาะรัตนโกสินทร" และไดรับทุนสนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม เรื่อง “โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาสินคาและบริการทางวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ” รวมทั้ง ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ เรื่อง “โครงการวิจัยเพื่อสํารวจความ เปนไปไดเชิงการตลาดและผูชมกลุมเปาหมายของสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ”


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................23

ศักยภาพดานการบริการทางวิชาการ วิทยาลัยฯ มีวัตถุประสงคเมื่อแรกกอตั้งวิทยาลัย คือจัดการศึกษา ฝกอบรม และสงเสริม วิชาการขั้นสูงทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตร มนุษยศาสตรและศาสตรประยุกตตาง ๆ ตลอดจนการวิจัย การใหบริการสังคม วิทยาลัยไดเล็งเห็นวากระแสสังคมในทุกวันนี้ตางมุงสูการ เปน “สังคมแหงการเรียนรู (Knowledge Base Society)” ดังนั้น เพื่อรองรับการพัฒนาทรัพยากร บุคคลและศาสตรความรูใหม ๆ ทางวิทยาลัยจึงมอบหมายภารกิจใหแกฝายกิจกรรมสัมพันธและ ฝกอบรมของวิทยาลัยฯ ดําเนินการจัดเสวนา สัมมนา รวมถึงการจัดฝกอบรมระยะสั้นและระยะยาว เพื่อเอื้อประโยชนดานการสรางสรรคองคความรู และเพื่อเปนการขยายฐานสังคมแหงการเรียนรูให กระจายอยางทั่วถึงไปสูทุกภาคสวนของสังคม สงเสริมภาะวะความเปนผูน ํา และการเรียนรูสภาพของชุมชนและสังคม สรางสํานึกรับผิดชอบตอสังคม โดยมีความมุงหวังที่จะใหสังคมดีขึ้น การใหบริการวิชาการซึ่งสะทอนถึงจิตสํานึกและความรับผิดชอบของวิทยาลัยที่มตี อสังคม ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการจัดหลักสูตร In-house Program Public Program Consult Program และ Social Program ใหแกหนวยงานภาครัฐและเอกชน โดย หลักสูตรเนื้อหาการฝกอบรม และวิทยากรประกอบไปดวยคณาจารยที่ทรงคุณวุฒิ ทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย อาทิ การอบรมเรื่อง "การบริหารจัดการระบบความมัน่ คงปลอดภัยขอมูล สารสนเทศสมัยใหม" ในวันที่ 15 สิงหาคม – 31 สิงหาคม 2549 นอกจากนี้ หลักสูตรฝกอบรมที่จัด ใหหนวยงานภายนอก ซึ่งเปนกิจกรรมหรือโครงการที่วิทยาลัยฯ สามารถจัดไดตรงกับความตองการ ของผูที่สนใจที่จะศึกษาหรือเรียนรูอยางแทจริง ถือไดวาเปนการใหบริการวิชาการแกสังคม และ สะทอนถึงความรับผิดชอบของวิทยาลัยฯ ที่มีตอสังคม และมุงพัฒนาศักยภาพของคนในประเทศให สามารถอยูรอดไดภายใตสภาวะการแขงขันในโลกปจจุบัน ภาพรวมของการบริการวิชาการสวนใหญจะเปนไปในรูปแบบของการจัดประชุมสัมมนาที่มี ประเด็นเกี่ยวกับการศึกษาในมุมของนักบริหารจัดการ ซึ่งจะสอดคลองกับวิสยั ทัศนและปณิธานของ วิทยาลัยฯ ที่วา วิทยาลัยฯ ตองการที่จะสรางเมล็ดพันธุ (SEED) ทางปญญาใหมีความรูความสามารถ และความชํานาญในการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ภาพรวมของการบริการวิชาการแกสังคม วิทยาลัยฯ มีนโยบายที่เดนชัดที่จะ มุงเนนกิจกรรม/โครงการไปในดานใดหรือกลุมคนระดับใดในสังคม ทําใหความเชื่อมโยงของ กิจกรรม/โครงการเปนไปดวยดี และสวนหนึ่งเพื่อใหสอดคลองกับวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยกับ สังคมที่วา “เปนเลิศ เปนธรรม รวมนําสังคม” ไดดียิ่งขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................24

ศักยภาพดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ มุงภารกิจการศึกษาวิจัย ถายทอดความรู ประยุกตศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญา เพื่อพัฒนาและสรางความเขมแข็งตอคนและสังคม โดยผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางดาน ศิลปวัฒนธรรม เพื่อสรางความเขมแข็งและการพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝงใหบัณฑิตหลักสูตรการ บริหารงานวัฒนธรรมมีองคความรูในดานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย สงเสริมการวิจัยเกี่ยวกับ ศิลปวัฒนธรรม โดยเนนความรวมมือกับองคกรและทองถิ่น และพัฒนาองคความรูทางศิลปวัฒนธรรม ทํานุบํารุงและสืบสานศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่นและของชาติเพื่อดํารงไวซึ่งเอกลักษณและความ ภาคภูมิใจของคนในชาติและเพื่อเปนรากฐานในการดําเนินชีวิตในสังคมยุกตใหม โดยแบงตาม ลักษณะไดดังนี้ 1. การพัฒนาบัณฑิตทางศิลปวัฒนธรรม เพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาชุมชนและ ประเทศชาติ รวมทั้งปลูกฝงใหบัณฑิตมีองคความรูทางการบริหารงานวัฒนธรรม โดยเนนวิชา เกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมใหมากขึ้น โดยใหผูเรียนเปนศูนยกลาง และมีกิจกรรมเสริมเพื่อกระตุน ใหนักศึกษาไดประยุกตกับสังคม จัดกิจกรรมหรือโครงการตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุน ความสามารถของนักศึกษา 2. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการดานศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุงโครงสรางหลักสูตร การบริหารงานวัฒนธรรมใหสอดคลองกับสภาพสังคม สงเสริมใหนักศึกษาตระหนักและเห็นคุณคาใน ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เปดโอกาสใหนักศึกษาทํากิจกรรมเชิงรุกและสรางความเขมแข็งให สังคม โดยเพิ่มการมีสวนรวมระหวงองคกรภายนอกมหาวิทยาลัยและองคกรทองถิ่น 3. การแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม การสรางความรวมมือกับองคกรในประเทศและ ตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม และใหมีเครือขายดานวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในป การศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดจัดงานเสวนาวิชาการเรื่อง "การตลาดในงานมรดกและวัฒนธรรมรวม สมัย:กาวไกลอยางสมดุล" ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2549 ศักยภาพทางดานการเงินและงบประเมาณ วิทยาลัยฯ มีเงินรายไดหลักจากการใหบริการการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการ บริหารเทคโนโลยี สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม และการจัดฝกอบรม ซึ่งมีขั้นตอนการจัดทํา งบประมาณอยางเปนระบบโดยแยกตามฝายและสรุปภาพรวมของวิทยาลัยฯ อยางชัดเจน โดยมี คณะกรรมการพิจารณางบประมาณของวิทยาลัยฯ รวมกันพิจารณาเบื้องตน กอนนําเสนอตอ คณะอนุกรรมการอํานวยการดานบริหารและคณะกรรมการอํานวยการตามลําดับ วิทยาลัยฯ ใชจาย งบประมาณตามจํานวนที่ไดรับอนุมัติในแตละป โดยการเบิกจายแตละครั้งตองมีการจัดทําโครงการ หรือบันทึกเพือ่ ขออนุมัติการเบิกจาย ยกเวนรายจายประจํา เชน คาวิทยากร เงินเดือน คาจาง ฯลฯ


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................25

วิ ท ยาลั ย ฯ มี วิ ธี ก ารตรวจสอบการใช ง บประมาณ โดยงานบั ญ ชี จ ะแจ ง รายงานผลการ ดําเนินงานแยกแตละฝายเปรียบเทียบกับงบประมาณปนั้นๆ และเทียบกับรายการที่เกิดขึ้นจริง ในชวงเดียวกันของปที่แลวทุก ๆ 4 เดือน โดย ชวงที่ 1 งบกําไรขาดทุน 4 เดือน (ต.ค. – ม.ค.) จะรายงานประมาณเดือนมีนาคม ชวงที่ 2 งบกําไรขาดทุน 8 เดือน (ต.ค. – พ.ค. ) จะรายงานประมาณเดือนกรกฎาคม ชวงที่ 3 งบกําไรขาดทุน 12 เดือน (ต.ค. – ก.ย. ) จะรายงานประมาณเดือนพฤศจิกายน นอกจากนี้ผูจัดการแตละฝายเปนผูควบคุมดูแลการตัดจายงบประมาณ ขณะเดียวกัน งานบัญชีก็ควบคุมงบประมาณรวมของวิทยาลัยฯดวย ศักยภาพทางดานสารสนเทศ วิ ท ยาลั ย ฯ โดยฝ า ยเครื อ ข า ยการเรี ย นรู มุ ง เน น การบริ ห ารจั ด การระบบเครื อ ข า ย และ สวนประกอบตาง ๆ เพื่อใหสามารถรองรับการเรียนการสอน และพรอมที่จะสนับสนุนการทํางานของ ฝายตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีแนวโนมความตองการใชงานมากขึ้นทุกป โดยวางแผน ออกแบบ วิเคราะหปญหา และประเมินการดําเนินการดานตาง ๆ จากการใชงานจริง ทั้งในสวน Hardware และ Software เพื่อความตอเนื่องในการใหบริการแกอาจารย บุคลากร และนักศึกษา ใหมี ความสอดคลองกับการขยาย การพัฒนาระบบเครือขายที่ไดวางแผนไว เชน การขยายหองเรียน คอมพิวเตอรจากจํานวน 36 ที่นั่ง เปน 52 ที่นั่ง พรอมจัดเชาคอมพิวเตอรเพิ่มขึ้นอีกจํานวน 16 เครื่อง การจัดหา Internet Account ใหกับนักศึกษาเพื่อใชงานผานโมเด็ม การออกแบบ และจัดทํา ระบบเครือขายใหมใหมีเสถียรภาพในการใหบริการมากยิ่งขึ้น การเพิ่มจํานวนหองเรียนพรอมระบบ โสตทัศนูปกรณตาง ๆ ขึ้นอีก 4 หอง ไดแก หองเรียน 27 ที่นั่ง, หองเรียน 70 ที่นั่ง, หองเรียน 28 ที่ นั่ง, หองเรียน 40 ที่นั่ง เปนตน สําหรับในสวนของการซอมแซม บํารุงรักษา จัดหา และพัฒนาดานตาง ๆ เชน ระบบเครือขาย ระบบการจัดเก็บและสํารองขอมูล เครื่องคอมพิวเตอรแมขาย/ลูกขาย/ Software/ อุปกรณที่เกี่ยวของ โสตทัศนูปกรณประกอบการเรียนการสอน การทํางาน และระบบฐานขอมูล การปรับปรุง Website การจัดทําระบบใบสมัครและการลงทะเบียน online การจัดจาง Maintenance คอมพิวเตอรที่ หมดอายุการรับประกัน เปนตน เพื่อใหสามารถใชงานไดดี สะดวก มีความทันสมัย และสามารถ ปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับ Hardware และระบบฐานขอมูลสําคัญตาง ๆ ได


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................26

สวนที่ 3 การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ วิทยาลัยฯ เล็งเห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา จึงไดดําเนินการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษามาอย า งต อ เนื่ อ ง โดยสามารถสรุ ป นโยบายการดํ า เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 ดังนี้ 3.1 วิทยาลัยฯ มีการจัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยซึ่งประกอบดวย ผูอํานวยการวิทยาลัยฯ ผูอํานวยการหลักสูตร ผูแทนอาจารยประจําวิทยาลัยฯ ผูจัดการฝาย และ เจาหนาที่วิจัยและพัฒนา เพื่อดําเนินการบริหาร พัฒนาและประกันคุณภาพภายในวิทยาลัย 3.2 วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดทําแผนดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามขั้นตอน ตอไปนี้ (1) การกําหนดระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยฯไดกําหนดกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาใหสอดคลองกับระบบประกัน คุณภาพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อใหการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพบรรลุเปาหมาย โดยยึดปรัชญา วิสยั ทัศน พันธกิจ องคประกอบคุณภาพและดัชนีคุณภาพการศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กําหนด เปนแนวทางในการจัดทําระบบและกลไก ดังนี้ 1. กําหนดแผนเชิงกลยุทธในการดําเนินงานใหสอดคลองกับวิสยั ทัศน พันธกิจ และ วัตถุประสงค ของวิทยาลัยฯ รวมทั้งสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน องคประกอบคุณภาพ และดัชนี คุณภาพการศึกษา 2. ตั้งคณะกรรมการ และ/หรือ คณะทํางานเพื่อรับผิดชอบการดําเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ตามนโยบาย และกลยุทธของวิทยาลัยฯ 3. ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อหาแนวทางในการ พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลสูงสุด 4. กระตุนใหบุคลากรมีความเขาใจ และเห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาเปนวัฒนธรรมองคกร 5. จัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อใหองคกร ภายนอกประเมินผลคุณภาพ และนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนา (2) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ 1. วิทยาลัยฯ ดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพของ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 2. มาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาในการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ที่มีผลตอ คุณภาพการศึกษา ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (3) การดําเนินการ 1. ประกาศนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาใหบุคลากรของวิทยาลัยฯ รับทราบ


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................27

2. แต ง ตั้ ง คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย ฯ เพื่ อ ดํ า เนิ น งาน เกี่ ย วกั บ การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา กํ า หนดมาตรฐาน ประสานงาน ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให คําปรึกษาในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งกําหนดแผนและกิจกรรมการประกันคุณภาพ ใหเหมาะสมกับวิทยาลัยฯ ดําเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพโดยใช งบประมาณที่มีตามความจําเปน 3. แต ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมิ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ วิทยาลัยฯ เพื่อตรวจสอบและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา 4. ประชาสัมพันธใหบุคลากรมีความรูความเขาใจที่ถูกตอง และเห็นความสําคัญของการ ประกันคุณภาพการศึกษา และเปนวัฒนธรรมองคกร

คณะกรรมการ ประจําวิทยาลัยฯ

คณะกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษา

หลักสูตร MTT/MCT/MHT ฝายสนับสนุนการศึกษา/ ฝายเครือขายการเรียนรู ฝายบริหารจัดการ/ฝายบริหาร ธุรการ/ฝายกิจกรรมสัมพันธและ สื่อสารการตลาด

คณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินการประกัน คุณภาพภายใน

- วางแผนดําเนินการของคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาของวิทยาลัยฯ ประจําป - กําหนดนโยบายวิสัยทัศน พันธกิจ และแผนกลยุทธในการ พัฒนาการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ - ตั้งคณะกรรมการ หรือผูรับผิดชอบ - ดูแล กํากับ และติดตามการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ - วางแผนดําเนินการของคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาประจําป - จัดทําองคประกอบคุณภาพและดัชนีบงชี้คุณภาพ - จัดทําแผนดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามแผนกลยุทธ ของวิทยาลัยฯ โดยใหสอดคลองกับองคประกอบคุณภาพ - จัดทําคูมือประกันคุณภาพของวิทยาลัยฯ และรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) - จัดใหมีการเผยแพร สงเสริม สนับสนุน ระบบประกันคุณภาพ การศึกษา - ประสานงานการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา - ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม แผนประกันคุณภาพการศึกษา - กําหนดแผนปฏิบัติการประจําป - ปฏิบัติงานแผนการปฏิบัติการประจําป - ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน

- วางแผนดําเนินการประจําป - ตรวจสอบและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยฯ - ใหขอเสนอแนะแกคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา พรอมรายงานเสนอตอคณะกรรมการวิทยาลัยฯ


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................28

บทที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพ ของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา การนําเสนอผลการประเมินคุณภาพประจําปการศึกษา 2549 นี้เปนการประเมินคุณภาพ ของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ตามมาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ที่กําหนดไว 7 มาตรฐาน 52 ตัวบงชี้ ไดแก มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 2 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 7 ดานการประกันคุณภาพ ในการนําเสนอผลการประเมินคุณภาพในปการศึกษา 2549 นี้จะนําเสนอผลการประเมิน คุณภาพ 7 มาตรฐาน 52 ตัวบงชี้ ในรูปแบบตารางพรอมอธิบายประกอบ ซึ่งรายละเอียดผลการ ดําเนินงานตามตัวบงชี้แตละมาตรฐานมีดังนี้


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................29

แบบฟอรมขอมูลพื้นฐานสําหรับการกําหนดคาเปาหมายตัวบงชี้คุณภาพ ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล

2545 ผล

1. จํานวนหลักสูตรที่เปดสอน

2

2547 แผน

ผล 2

2548 แผน

2549

ผล

แผน

ผล

แผน

2

2

3

3

2

3

3

1.1 จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาตรี

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

1.2 จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาตรีควบโท

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรีควบโท

1.3 จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาโท 1.4จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาเอก 1.5จํานวนหลักสูตรที่ ไดมาตรฐานตามเกณฑ สกอ. (พ.ศ.2548)

2

2

2 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

2

2

2

2

3

3

4

2

7

6

9

9

2.1 อาจารยขาราชการ

0

0

0

0

0

0

2.2 อาจารยพนักงาน

4

2

7

6

9

9

2.3 อาจารยสัญญาจาง (ตั้งแต 9 เดือนขึ้นไป)

0

0

0

0

0

0

3. จํานวนอาจารยประจําจําแนก วุฒิการศึกษาของอาจารย (ใหนับ รวมอาจารยประจําตามขอ 2)(ณ วันสุดปการศึกษา)

4

2

7

6

9

9

1

1

1

1

4

4

3

1

6

5

5

5

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

2. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (ณ วันสุดปการศึกษา)

3.1 ปริญญาเอกหรือ เทียบเทา 3.2 ปริญญาโทหรือ เทียบเทา 2.3 ปริญญาตรีหรือ เทียบเทา 3.4 ต่ํากวาปริญญาตรี


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................30

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล

2545 ผล

4. จํานวนอาจารยประจํา จําแนก ตามตําแหนงทางวิชาการของ อาจารย (ณ วันสุดปการศึกษา)

2547 แผน

ผล

2548

แผน

2549

ผล

แผน

ผล

แผน

4

2

7

6

9

9

4.1 ศาสตราจารย

0

0

0

0

0

0

4.2 รองศาสตราจารย

0

0

0

0

0

0

4.3 ผูชวยศาสตราจารย

0

1

2

2

2

2

4.4 อาจารย

4

1

5

4

7

7

4

2

7

6

9

9

357

515

526

578

540

5. จํานวนอาจารยที่ปฏิบัติงานจริง (ณ วันสุดปการศึกษา) 6. จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 6.1 ระดับปริญญาตรี 6.1.1 ภาคปกติ

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

6.1.2 ภาคพิเศษ 6.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 6.2.1 ภาคปกติ

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

6.2.2 ภาคพิเศษ 6.3 ระดับปริญญาโท

357

515

526

578

540

6.3.1 ภาคปกติ

0

6.3.2 ภาคพิเศษ

357

515

526

578

540

702.23

648

6.4 ระดับปริญญาเอก 6.4.1 ภาคปกติ

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

6.4.2 ภาคพิเศษ 7. จํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา 7.1 ระดับปริญญาตรี 7.1.1 ภาคปกติ

572.50

626

632.93

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

7.1.2 ภาคพิเศษ 7.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 7.2.1 ภาคปกติ 7.2.2 ภาคพิเศษ

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................31

ขอมูล

2545 ผล

7.3 ระดับปริญญาโท

572.50

7.3.1 ภาคปกติ

7.3.2 ภาคพิเศษ

572.50

7.4 ระดับปริญญาเอก 7.4.1 ภาคปกติ 7.4.2 ภาคพิเศษ 8. จํานวนบุคลากรสายสนับสนุน

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 แผน

ผล

แผน

626 –

626

2549

ผล

แผน

ผล

แผน

632.93

702.23

648

632.93

702.23

648

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก 48

35

36

41

39

41

- จํานวนบุคลากรสาย สนับสนุนทั้งหมด

48

35

36

41

39

41

- จํานวนบุคลากรสาย สนับสนุนที่ปฏิบัติงานจริง

48

35

36

37

37

39

0

2

2

2

2

2

0

2

2

2

2

2

0

2

2

1

1

2

44

125

154

150

133

175

9. จํานวนนักวิจัย - จํานวนนักวิจัยทั้งหมด - จํานวนนักวิจัยที่ ปฏิบัติงานจริง 10. จํานวนบัณฑิตที่สําเร็จ การศึกษาทั้งหมด 10.1 ระดับปริญญาตรี

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

10.1.1 ภาคปกติ 10.1.2 ภาคพิเศษ 10.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 10.2.1 ภาคปกติ 10.2.2 ภาคพิเศษ 10.3 ระดับปริญญาโท

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

44

10.3.1 ภาคปกติ

0

10.3.2 ภาคพิเศษ

44

10.4 ระดับปริญญาเอก 10.4.1 ภาคปกติ 10.4.2 ภาคพิเศษ 11. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1ปนับจากวันที่สําเร็จการศึกษา

125 0

0 125

0

154

150

133

175

0

0

0

0

154

150

133

175

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................32

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548

2545

ขอมูล ผล

แผน

ผล

12. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดทํางานตรงสาขาที่สําเร็จ การศึกษา 13. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไป ตามเกณฑ ก.พ. 14. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ศึกษาตอภายใน 1 ป นับจาก วันที่สําเร็จการศึกษา 14.1 ศึกษาตอในประเทศ

แผน

ผล

2549 แผน

ผล

แผน

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

14.2 ศึกษาตอตางประเทศ 15. คาเฉลีย่ ความพึงพอใจของ นายจาง ผูประกอบการและผูใช บัณฑิต 16. จํานวนนักศึกษาหรือศิษยเกา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยก ยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัล ทางวิชาการหรือดานอื่นที่ เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ/นานาชาติในรอบ 3 ป ที่ผานมา 17. จํานวนวิทยานิพนธและงาน วิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัล ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา 18. จํานวนวิทยานิพนธทั้งหมด 18.1 วิทยานิพนธระดับปริญญาโท

N/A

3.18

4.07

4.00

4.16

4.00

N/A

N/A

N/A

N/A

1

1

0

0

0

0

1

1

4

7

1

0

1

2

4

7

1

0

1

2

18.2 วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

19. จํานวนบทความจาก วิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพร

0

0

0

0

0

2

19.1 บทความจาก วิทยานิพนธระดับปริญญาโทที่ ตีพิมพเผยแพร

0

0

0

0

0

0


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................33

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล

2545 ผล

19.2 บทความจาก วิทยานิพนธระดับปริญญาเอกที่ ตีพิมพเผยแพร 20. จํานวนผูสมัครเขาศึกษาตอ

2547 แผน

ผล

2548 แผน

ผล

2549 แผน

ผล

แผน

420

514

516

420

514

516

210

287

287

210

287

287

210

265

287

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก N/A

513

435

20.1 ระดับปริญญาตรี - ผานสกอ. (Admission)

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

- ผานการสอบ คัดเลือกของหนวยงาน (สอบ คัดเลือกตรง) 20.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 20.3 ระดับปริญญาโท

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

513

20.4 ระดับปริญญาเอก 21. จํานวนผูสมัครมีสิทธิเขา ศึกษา 21.1 ระดับปริญญาตรี

435 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

N/A

219

211

- ผานสกอ. (Admission)

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

- ผานการสอบ คัดเลือกของหนวยงาน (สอบ คัดเลือกตรง) 21.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 21.3 ระดับปริญญาโท

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

219

21.4 ระดับปริญญาเอก 22. จํานวนนักศึกษาที่ขึ้นทะเบียน เปนนักศึกษา

211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

N/A

219

211

22.1 ระดับปริญญาตรี - ผานสกอ. (Admission) - ผานการสอบ คัดเลือกของหนวยงาน (สอบ คัดเลือกตรง)

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................34

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล

2545 ผล

แผน

ผล

22.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 22.3 ระดับปริญญาโท

แผน

ผล

2549 แผน

ผล

แผน

210

265

287

210

265

287

210

265

287

2.50

2.74

2.70

2.50

2.74

2.70

10

9

12

10

9

12

150

133

175

133

175

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

219

22.4 ระดับปริญญาเอก 23. จํานวนนักศึกษาใหม

2548

2547

211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

N/A

219

211

23.1 ระดับปริญญาตรี

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

23.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 23.3 ระดับปริญญาโท

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

219

23.4 ระดับปริญญาเอก 24. คาเฉลี่ยสะสม (GPA) ของ นักศึกษา (GPA จากสถานศึกษาเดิม)

211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

N/A

2.73

2.65

24.1 ระดับปริญญาตรี

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

24.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 24.3 ระดับปริญญาโท

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

2.73

24.4 ระดับปริญญาเอก

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

25. จํานวนนักศึกษที่ไดรับยกเวน (Exempted) ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (สษ.172) 26. จํานวนนักศึกษาที่ไดรับการ จัดระดับ (PT) สษ.172 ขึ้นไป 27. จํานวนนักศึกษาที่สอบผาน TU-GET ไมต่ํากวา 550 คะแนน

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี N/A

18

27.1ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 27.2 ระดับปริญญาโท

28.4 ระดับปริญญาเอก

12

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

18

27.3 ระดับปริญญาเอก 28. จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จ การศึกษาตามระยะเวลาที่ หลักสูตรกําหนด 28.1 ระดับปริญญาตรี 28.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 28.3 ระดับปริญญาโท

2.65

12 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

N/A

125

148

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

125

148 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

150


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................35

ขอมูล

2545 ผล

29. จํานวนนักศึกษาที่ขึ้นทะเบียน เปนนักศึกษาใหมรุนเดียวกับ นักศึกษาในขอ 28 29.1 ระดับปริญญาตรี

N/A

แผน

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 ผล แผน ผล แผน

ผล

แผน

219

192

263

210

192

263

1

5

2

ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A

219

29.4 ระดับปริญญาเอก 30. จํานวนงานวิจัย และงาน สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร และ/ หรือนําไปใชประโยชนทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ 31. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบัน

210

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

29.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 29.3 ระดับปริญญาโท

211

2549

211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก

0

0

0

0

52,000.00

0.00

11,000.00

261,600.00

0

0

259,245.00

240,000.00

3,647,800.00

600,000.00

0

0

2

2

3

4

34. จํานวนอาจารยประจําที่ไดรับ ทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค จากภายนอกสถาบัน (ไมนับซ้ํา)

0

0

2

2

3

2

35. จํานวนบทความวิจัยที่ไดรับ การอางอิง (citation) ใน refereed journal) หรือในฐานขอมูล ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

0

0

0

0

0

2

0

0

0

0

0

0

0

0

2

2

7

2

0

0

0

0

0

0

32. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอก สถาบัน 33. จํานวนอาจารยประจําที่ไดรับ ทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค จากภายในสถาบัน (ไมนับซ้ํา)

36. จํานวนผลงานวิจัยและงาน สรางสรรคที่ไดรับการจด ทะเบียนทรัพยสินทางปญญา สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรใน รอบ 5 ปที่ผานมา 37.จํานวนผลงานทางวิชาการ 37.1 หนังสือ/ตํารา

1


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................36

ขอมูล

2545 ผล

แผน

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 ผล แผน ผล แผน

ผล

แผน

2549

37.2 ผลงานวิจัย

0

0

2

2

6

2

37.3 บทความทางวิชาการ 38. จํานวนกิจกรรม/โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความตองการของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ และ นานาชาติ 39. จํานวนอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธ ภายนอกสถาบัน เปนกรรมการ วิชาการและกรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ (ไมนับซ้ํา) 40. คาใชจาย และมูลคาของ สถาบันในการบริการวิชาการและ วิชาชีพเพื่อสังคม (นับเฉพาะ โครงการที่ไมเก็บเงินใดๆจาก ผูรับบริการ) 41. จํานวนกิจกรรมในการ อนุรักษ พัฒนา และสรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม

0

0

0

0

1

2

4

13

25

26

24

15

0

0

1

1

3

2

N/A

N/A

2

3

N/A

N/A

N/A

N/A

N/A

N/A

N/A

N/A

N/A

43,586,311.80

N/A

N/A

43,586,311.80

42. คาใชจาย และมูลคาที่ใชใน การอนุรักษ พัฒนา และสราง เสริมเอกลักษณ ศิลปะและ วัฒนธรรม 43. สินทรัพยถาวรสุทธิ 43.1 สินทรัพยถาวร 43.2 คาเสือ่ มราคาสะสม 44. คาใชจายทั้งหมด 44.1 จากงบประมาณ แผนดิน 44.2 จากงบประมาณ จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน

95,200.00 4,910,000.00

4

616,600.00

7,274,219.29 26,468,726.83 19,194,507.54 27,466,577.03 – 27,466,577.03

5,420,700.00

2

6

570,000.00

1,222,070.00

7,200,000 – –

3,967,778.95 27,522,447.83 23,554,668.88

230,000.00

5

500,000.00

12,500,000.00 37,500,000.00 25,000,000.00

47,200,000 45,986,212.99 67,800,000.00 –

8,208,066.93

– 45,986,212.99 67,800,000.00


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................37

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล ผล 45. งบดําเนินการทั้งหมด

แผน

35,429,389.30

45.1 จากงบประมาณแผนดิน – 45.2 จากงบประมาณ 35,429,389.30 จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน 46. เงินเหลือจายสุทธิ

2547

2545 ผล

2548 แผน

ผล

2549 แผน

ผล

N/A

66,150,040.00

N/A

66,150,040.00

66,000,000

แผน

66,000,000 41,598,025.07 67,800,000.00 –

41,598,025.07 67,800,000.00

23,172,971.10

10,161,645.4

46.2 จากงบประมาณ 23,172,971.10 จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน

10,161,645.4

28,623,990.61 11,297,000.0 34,897,248.18

47. เงินรายรับทั้งหมด

27,248,647.60

53,747,957.2

60,097,671.55 58,544,000.0 56,330,093.50 54,000,000.00

47.1จากงบประมาณแผนดิน – 47.2 จากงบประมาณ 27,248,647.60 จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน

46.1 จากงบประมาณแผนดิน

48. จํานวนอาจารยที่เขารวม ประชุมวิชาการ หรือนําเสนอ ผลงานทางวิชาการทั้งในประเทศ และตางประเทศ 48.1 ในประเทศ 48.2 ตางประเทศ 49. งบประมาณสําหรับการ พัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศ และตางประเทศ 49.1 ในประเทศ 49.2 ตางประเทศ 50. จํานวนบุคลากรประจําสาย สนับสนุนที่ไดรับการพัฒนา ความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้ง ในประเทศและตางประเทศ 50.1 ในประเทศ 50.2 ตางประเทศ 51. เงินเดือนบุคลากรสายวิชาการ (สาย ก) 52. เงินเดือนบุคลากรสาย สนับสนุน (สาย ข. และสาย ค.)

53,747,957.2

28,623,990.61 11,297,000.0 34,897,248.18 –

6,766,000.00 – 6,766,000.00

60,097,671.55 58,544,000.0 56,330,093.50 54,000,000.00

N/A

N/A

3

2

3

5

N/A N/A

N/A N/A

1 2

2 0

3 0

4 1

N/A

N/A

74,200

70,000

170,122.67

100,000.00

N/A N/A

N/A N/A

4,200 70,000

– –

25,287 144,836

– –

48

35

36

41

37

40

48 0

35 0

36 0

41 0

37 0

40 40

N/A

N/A

303,035

300,000

2,866,247.00

2,542,600.00

N/A

N/A

8,484,457.50

8,400,000

7,304,784.96

7,286,500.00


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................38

ขอมูล 2545 ผล 53. คาเฉลี่ยความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีตอคุณภาพการสอนของ อาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู 54. จํานวนของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีที่เขารวมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษา 55. คาใชจายทั้งหมดที่ใชใน ระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ 56. จํานวน Section ที่เปดสอน

N/A

แผน

วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 ผล แผน ผล แผน

ผล

แผน

4.11

4.16

4.00

4.09

4.00

2549

ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี

N/A

N/A

7,311,968.83

62

62

62

7,300,000 15,588,700.71 62

84

4,188,000.00 62


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................39

แบบฟอรม SAR 1 รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้

น้ําหนัก (รอยละ)

อิง มาตรฐาน

คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย

รวม

คะแนน สุทธิ

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 1.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงาน ทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

-

1.2 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงาน ทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา 1.3 รอยละของบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตน เปนไปตามเกณฑ 1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต 1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่ไดรับการ ประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทาง วิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพ บัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ใน รอบ 3 ปที่ผานมา 1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของ นักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปที่ผานมา 1.7 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวน วิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด 1.8 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธ ปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวน วิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด

-

1.9 อัตราการแขงขันสอบเขา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1.10 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบ เขามธ.ได 1.11 รอยละของนักศึกษาที่ไดรับการจัดระดับวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ตั้งแตสษ.172 ขึ้นไป 1.12 รอยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ สอบผาน TU-GET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน) 1.13 ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตร กําหนด รวมมาตรฐานที่ 1 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 1

ไมมีบัณฑิต ป.ตรี ไมมีบัณฑิต ป.ตรี

-

ไมมีบัณฑิต ป.ตรี

-

ไมมีบัณฑิต ป.ตรี

13.13

2

1

1

4

1.50

13.12

0

0

0

0

0.00

8.75

0

0

0

0

0.00

-

ไมมีบัณฑิต ป.เอก

-

-

2

0

1

3

-

-

3

1

1

5

-

-

-

ไมมีบัณฑิต ป.ตรี

-

0

0

0

0

-

-

1

0

1

2

-

35

1.50 2.00


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................40

ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้

น้ําหนัก (รอยละ)

อิง มาตรฐาน

คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย

รวม

คะแนน สุทธิ

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 2.1 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ ตีพิมพเผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชน ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอ จํานวนอาจารยประจํา 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรควิจัย จากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

4.00

3

1

1

5

0.67

4.00

1

1

0

2

0.27

2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรควิจัย จากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

4.00

3

1

1

5

0.67

2.4 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา 2.5 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือใน ฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอ อาจารยประจํา 2.7 จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับ การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุ สิทธิบัตรในรอบ 5 ปที่ผานมา 2.8 ผลงานทางวิชาการตออาจารยประจํา

4.00

1

0

0

1

0.13

4.00

2

0

1

3

0.40

10.00

0

0

0

0

0.00

รวมมาตรฐานที่ 2 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 2

-

ผลงานมีแตในลักษณะของลิขสิทธิ์ ไมใชสิทธิบัตร 0

1

1

2

30

2.13

2.57


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................41

ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้

น้ําหนัก (รอยละ)

อิง มาตรฐาน

คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย

รวม

คะแนน สุทธิ

มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ และวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการ พัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ ตออาจารย ประจํา 3.2 รอยละของอาจารยทเี่ ปนที่ปรึกษา เปนกรรมการ วิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการ วิชาการ และกรรมการวิชาชีพในระดับชาติและ นานาชาติ ตออาจารยประจํา 3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการ วิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย 3.4 คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการ และวิชาชีพเพือ่ สังคมตออาจารยประจํา รวมมาตรฐานที่ 3 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 3

6.25

3

1

1

5

1.25

6.25

3

1

1

5

1.25

6.25

3

1

1

5

1.25

6.25

3

1

1

5

1.25

25.00 5.00

มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 4.1 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษพัฒนาและสราง เสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวน นักศึกษาปริญญาตรีภาคปกติเต็มเวลาเทียบเทา 4.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ 10.00 พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม ตองบดําเนินการ รวมมาตรฐานที่ 4 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 4

5.00

ไมประเมิน

3

1

-

1

5

10.00

5.00

5.00 5.00


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................42

ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้

น้ําหนัก (รอยละ)

อิง มาตรฐาน

คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย

รวม

คะแนน สุทธิ

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 5.1 ระดับคุณภาพของสภามหาวิทยาลัย/ กรรมการบริหารสถาบัน 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดย อาศัยผลการประเมินจากภายในและ ภายนอก 5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตรชาติ 5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน รวมกัน 5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย 5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา 5.7 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเทา 5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตอ งบดําเนินการ 5.9 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุม วิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและตางประเทศ 5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้ง ในและตางประเทศตออาจารยประจํา 5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ ไดรับการพัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและตางประเทศ 5.12 สัดสวนเงินเดือนบุคลากรสายกตอเงินเดือนบุคลากร สายสนับสนุน 5.13 สัดสวนของบุคลากรสาย ก ตอจํานวน บุคลากรสายสนับสนุน รวมมาตรฐานที่ 5 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 5

1.81

3

1

1

5

0.45

1.81

3

1

0

4

0.36

1.82

3

1

1

5

0.46

1.82

3

1

1

5

0.46

1.82

3

1

0

4

0.36

1.82

3

1

1

5

0.46

1.82

1

0

0

1

0.09

1.82

2

0

0

2

0.18

1.82

1

0

0

1

0.09

1.82

3

1

1

5

0.46

1.82

3

1

1

5

0.46

-

0

1

1

2

-

-

0

1

1

2

-

20.00

3.82 3.54


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................43

ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้

น้ําหนัก (รอยละ)

อิง มาตรฐาน

คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย

รวม

คะแนน สุทธิ

มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอ หลักสูตรทั้งหมด 6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารย ประจํา 6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา 6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนง วิชาการ 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารย (Professional Ethics) 6.6 กระบวนการการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติ และประสบการณจริง 6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอ คุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู 6.8 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม / โครงการพัฒนานักศึกษาตอนักศึกษา ปริญญาตรีทั้งหมด 6.9 คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอ นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา 6.10 จํานวน(Section)ตออาจารยประจํา รวมมาตรฐานที่ 6 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 6

2.50

3

1

1

5

0.63

2.50

1

1

0

2

0.25

2.50

2

1

1

4

0.50

2.50

1

1

1

3

0.38

2.50

3

1

0

4

0.50

2.50

3

1

1

5

0.63

2.50

3

1

1

5

0.63

ไมมีบัณฑิต ป.ตรี

2.50

3

1

1

5

0.63

-

1

1

0

2

-

20.00

4.13 3.89

มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานระบบประกันคุณภาพ 7.1 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ ภายในที่กอใหเกิดการพัฒนา คุณภาพ การศึกษาอยางตอเนื่อง 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน รวมมาตรฐานที่ 7 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 7

คาเฉลี่ยรวมมาตรฐานที่ 1-7 สมศ. คาเฉลี่ยรวมมาตรฐานที่ 1-7

10.00

3

1

1

5

2.50

10.00

3

1

1

5

2.50

20.00

5.00 5.00

160.00

3.44 3.86


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................44

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ภายใน 3 ปที่ผานมา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

2 1 1 4 0 0 1 1 >2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ตั ว บ ง ชี้ ที่ แ สดงถึ ง คุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : อุดมศึกษาไดแกการที่นักศึกษาหรือศิษยเกาไดรับการประกาศเกียรติ แบบฟอรม ข 3 คุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทาง วิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือ ระดับนานาชาติ ในระหวางปการศึกษา 2547-2549 มีนักศึกษาหรือศิษย เกาของวิทยาลัยฯ จํานวน 1 คน ที่ไดรับประกาศเกียรติคุณยกยองใน ดานวิชาการ ไดแกรางวัล Best Paper Awards ทั้งนี้วิทยาลัยฯ กําลัง ดําเนินการจัดทําระบบในการติดตามขอมูลของบัณฑิตที่จบการศึกษา เพื่อเปนขอมูลในปการศึกษาหนา 13.13

1

ตัวบงชี้ที่ 1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

0 0 0 1-5 6-8 >9 ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 มีนักศึกษาเลือกทําวิทยานิพนธ (แผน ก) เพียง 1 คน นักศึกษาสวนใหญเลือกทํางานวิจัยคนควาอิสระ (แผน ข) ทั้งนี้ สาเหตุหนึ่งคือการที่นักศึกษาสามารถนํางานวิจัยคนควาอิสระไป ประยุกตจริงในการทํางานประจําได และเนื่องจากอาจารยของวิทยาลัยฯ สวนใหญเปนอาจารยพิเศษ ทําใหนักศึกษาเลือกทํางานวิจัยแผน ก นอย งานวิจัยที่เกิดขึ้นจึงมีนอยตามมาดวย ดังนั้นทําใหโอกาสที่งานวิจัยของ นักศึกษาจะไดรับรางวัลในระดับชาติและระดับนานาชาติจึงมีจํานวนนอย ตามไปดวย 13.12

1

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0

0

0 เอกสารอางอิง (ไมมี)

รวม คะแนน 0


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................45

ตัวบงชี้ที่ 1.7 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธ ปริญญาโททั้งหมด เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

8.75

100

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

0

ผลการประเมิน

2548

2549

1

2

3

0

0

1-39

4059

>60

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0

0

0

รวม คะแนน 0

เอกสารอางอิง (ไมมี)

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ตั้งเปาหมายวาจะตีพิมพบทความ จากวิทยานิพนธปริญญาโทเปนอัตราสวน 100 % เนื่องจากวิทยาลัยฯ พิจารณาวาวิทยานิพนธของนักศึกษาไดมาตรฐาน แตเนื่องจากงาน วิทยานิพนธ 1 รายการดังกลาวนั้นยังอิงเกณฑมาตรฐานเดิมของ สกอ. จึงทําใหผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2549 เปนศูนย

ตัวบงชี้ 1.9 อัตราการแขงขันสอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (บัณฑิตศึกษา) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก -

เปาหมาย (แผน) 1.79

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

n/a

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

1.80 1.90 2.00 2.06 1.98 – – – 1.89 1.99 2.19

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 2

1

0

รวม คะแนน 3

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน มีผูสนใจเขาสมัครเรียนในปการศึกษา 2549 ของวิทยาลัยฯ ทั้งสิ้น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : จํานวน 514 คน และมีจํานวนผูมีสิทธิเขาศึกษาตอทั้งสิ้น 259 คน คิด แบบฟอรม ข 8 เปนสัดสวนอัตราการแขงขันเทากับ 1:1.98 ถือวาเปนอัตราสวนที่สูง กวาคาเปาหมายที่วิทยาลัยตั้งไวที่ 1.79 ทั้งนี้ สาเหตุที่วิทยาลัยฯ ตั้งเปาหมายไวต่ํากวาปการศึกษา 2548 เนื่องจากวิทยาลัยฯ ตระหนัก ถึงขอจํากัดของนักศึกษาที่สมัครเขาเรียนในโครงการพิเศษที่สวนใหญ เปนบุคคลทํางานมาเปนระยะเวลาหนึ่ง ทําใหความเขมแข็งทางดาน วิ ช าการอาจลดลงเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ประสบการณ ก ารทํ า งานที่ มี มากขึ้น ดังนั้น วิทยาลัยฯ เห็นวาเกณฑการรับเขาควรเอื้อประโยชน ใหกับกลุมผูสมัครที่เปนคนทํางานโดยเนนที่ประสบการณการทํางาน และความคาดหวังของนักศึกษาที่จะนําความรูใหมที่ไดไปใชประโยชน ในการทํางานตอไป


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................46

ตัวบงชี้ 1.10 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรได (ปริญญาตรี/ บัณฑิตศึกษา) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

-

2.70

n/a

2.65

2.74

1

ผลการประเมิน 2

3

2.61- 2.66- ≥ 2.65 2.70 2.71

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

1

รวม คะแนน 5

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง ค า ระดั บ เฉลี่ ย สะสมของนั ก ศึ ก ษาที่ ส อบเข า วิ ท ยาลั ย ฯ ในป รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ก : การศึกษา 2549 พบวา มีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 2.74 ซึ่งสูงกวาคา แบบฟอรม ก 5 เปาหมายที่ตั้งไวคือ 2.70 ทั้งนี้ เนื่องจากวิทยาลัยฯ ไมไดกําหนดเกณฑ ระดับคาเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขาไดแตใชเกณฑประสบการณ การทํางานของผูสมัครเรียนเปนหลักในการพิจารณารับเขาศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 1.12 รอยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สอบผาน TU-GET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

-

4.56

n/a

3.81

3.40

5.415.50

ผลการประเมิน 2

3

5.51- ≥ 5.60 5.61

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0

0

0

รวม คะแนน 0

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน นัก ศึ ก ษาที่สอบเข าของวิท ยาลัยฯ มี ค วามสามารถในการใช รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : ภาษาอังกฤษที่ต่ํากวาเกณฑ ในปการศึกษา 2549 พบวา จํานวน แบบฟอรม ข 9 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สอบผาน TU-GET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน) มีจํานวน 9 คน ตอจํานวนนักศึกษาเขาใหมระดับ บัณฑิตศึกษาทั้งหมด 265 คน คิดเปนรอยละ 3.39 เนื่องจากอัตราการ แขงขันสอบเขามีจํานวนลดลง แตทั้งนี้วิทยาลัยฯ ไดมีการพัฒนาความรู ภาษาอั ง กฤษให กั บ นั ก ศึ ก ษาในรายวิ ช าปรั บ พื้ น ฐาน เพื่ อ พั ฒ นาให นักศึกษามีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษใหสูงขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................47

ตัวบงชี้ที่ 1.13 ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด (ปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

-

66.53

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

n/a 80.87 69.27 60-69 70-79 ≥ 80 1 1 0 2 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง ในป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาตาม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : ระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด จํานวน 133 คน จากจํานวนรับเขา 192 คน แบบฟอรม ข 10 ซึ่งจําแนกออกเปนหลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี จํานวน 121 คน และ หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 69.27 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไว

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค ตัวบงชี้ที่ 2.1 รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคทตี่ ีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชน ทั้งใน ระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

4.00

22

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

0 20 50 1-19 20-29 >30 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ตีพิมพเผยแพรและ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ แบบฟอรม ข11, ข 44, ข 42 ทั้งสิ้น 5 รายการ คิดเปนรอยละ 50 ตออาจารยประจํา โดยแบงเปนงานวิจัยที่ นําไปใชประโยชนดานการเรียนการสอนได 2 รายการ และเปนงานวิจัยที่นําไปใช ประโยชนในองคกรภาครัฐ 3 รายการ จากผลงานดังกลาว วิทยาลัย สามารถผลิตงานวิจัยไดมากกวา เปาหมายที่ไดตั้งไวจาก 2 รายการเปน 5 รายการ เนื่องจากวิทยาลัยฯ ไดมีการจัด จางอาจารยประจําเพิ่มขึ้นและยังไดสงเสริมใหอาจารยประจําผลิตงานวิจัยหรือ เขารวมในงานวิจัยของหนวยงานตางๆ อีกทั้งยังมีการสรางระเบียบวิทยาลัยฯ วา ดวยการขอทุนอุดหนุนการเขียนบทความทางวิชาการ ตํารา งานวิจัย พ.ศ. 2549 เพื่อเปนการกระตุนใหอาจารยประจําสรางผลงานวิจัยอีกทางหนึ่งดวย อยางไรก็ตามผลการดําเนินงานที่ผานมา พบวา ระดับคุณภาพของการ ตีพิมพยังมีโอกาสที่จะพัฒนาผลงานวิจัยไปยัง กลุมที่ 1 และ 2 ซึ่งคณะผูบริหาร วิทยาลัยฯ ไดกําหนดกรอบนโยบายการสนับสนุนกิจกรรมวิจัยไวทั้งในระยะสั้น และระยะยาว


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................48

ตัวบงชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

4.00

29,066

0

10,400

1,100

1

ผลการประเมิน 2

3

1- 20,000> 19,999 29,999 30,000

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 1

0

รวม คะแนน

1

2

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ ไดจัดสรรเงินสนับสนุนงานวิจัยตามแผนงานวิจัยที่ไดตั้ง รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ไว 2 รายการแตวิทยาลัยฯ ไดใชเงินเพื่องานวิจัยเพียง 1 รายการเปน แบบฟอรม ข12, ข44, ข42 จํานวนเงิน 11,000 บาท ตออาจารยประจํา สวนงานวิจัยอีก 1 รายการ นั้น ไมมีคาใชจายเนื่องจากวิทยาลัยฯ เล็งเห็นวางานวิจัยรายการดังกลาว สามารถใชทรัพยากรต างๆ ที่มี อยู แ ลวภายในองคก รเองเพื่ อเปน การ ประหยัดเงินสนับสนุนงานวิจัยและในขณะเดียวกันวิทยาลัยฯ เองไดตั้ง งบประมาณเพื่อสนับสนุนงานวิจัยภายในองคกรไวสวนหนึ่งแลว ดั้งนั้น เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคภายในสถาบันจึงยังคงเหลืออยู ทั้งนี้ วิทยาลัยฯ ตั้งเปาหมายวาเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ภายในสถาบันจะยังคงไวเพื่อการพัฒนาหลักสูตรใหมๆ ของวิทยาลัยฯ ตอไป

ตัวบงชี้ที่ 2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

4.00

66,667

0

2548

2549

51,849

546,280

1

ผลการประเมิน 2

3

1- 35,000> 34,999 49,999 50,000

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

รวม คะแนน

1

ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดรับเงินสนับสนุนงานวิจัยจาก รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: หนวยงานภายนอกเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 3,647,800 บาท ตออาจารย แบบฟอรม ข13, ข44, ข42 ประจําและนักวิจัย 10 คน เฉลี่ยเทากับ 546,280 บาท ซึ่งสูงกวา คาเปาหมายที่ตั้งไว จะเห็นไดวานโยบายของวิทยาลัยฯ ที่จัดจางอาจารย ประจํามากขึ้นและในขณะเดียวกันวิทยาลัยสนับสนุนใหอาจารยประจําที่มี ศักยภาพสามารถสรางเครือขายงานวิจัยกับหนวยงานภายนอกไดเพื่อ ความคลองตัวในการทํางานวิจัยและการจัดสรรงบประมาณจึงทําใหจํานวน เงินวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนจากภายนอกสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไวเปน จํานวนมาก

5


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................49

ตัวบงชี้ที่ 2.4 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวน อาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

4.00

44

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

40 40 30 1-34 35-49 > 50 1 0 0 1 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 อาจารยประจําและนักวิจัยของวิทยาลัยฯ ที่ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ไดรับทุนทําวิจัยจากภายในสถาบันคิดเปนรอยละ 30 (หรือจํานวน 3 คน) แบบฟอรม ข12, ข44, ข42 ทั้งนี้ เนื่องจากอาจารยประจําวิทยาลัยฯ บางทานไดรับเงินสนับสนุนจาก หน ว ยงานภายนอกและบางท า นเปน กรรมการวิ ช าการหรื อ ที่ ป รึ ก ษา ใหกับหนวยงานภายนอกทําใหจํานวนรอยละของอาจารยที่ไดรับทุนจาก ภายในสถาบันต่ํากวาเกณฑที่ไดตั้งไว

ตัวบงชี้ที่ 2.5 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

4.00

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

22 60 60 30 1-24 25-39 > 40 2 1 0 3 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงานกลุมสาขาบริหารธุรกิจ ในปการศึกษา 2549 อาจารยประจําของวิทยาลัยฯ ที่ไดรับทุนทํา รายละเอี ย ด ปรากฏในภาคผนวก ข: วิจัยจากภายนอกคิดเปนรอยละ 30 (หรือจํานวน 3 คน) ทั้งนี้ อัตรารอย แบบฟอรม ข13, ข44, ข42 ละสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไวเนื่องจากวิทยาลัยฯ มีจํานวนอาจารยประจํา เพิ่มขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................50

ตัวบงชี้ 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูล ระดับชาติหรือนานาชาติตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

10.00

22

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

1-14 15-19 > 20 0 0 0 ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิงมี ค า เป น ศู น ย เนื่ อ งจากวิ ท ยาลั ย ฯ รั บ อาจารย ป ระจํ า มากขึ้ น และเป น อาจารย ใ หม ที่ อ ยู ร ะหว า งการสร า งผลงานวิ จั ย ดั ง นั้ น งานวิ จั ย ของ อาจารย จึ ง ยั ง ไม เ ป น ที่ รู จั ก ในวงวิ ช าการ จึ ง ต อ งอาศั ย ระยะเวลาที่ บทความวิจัยของอาจารยประจําจะเปนที่ยอมรับและไดรับการอางอิงใน ระดั บ ชาติแ ละระดับ นานาชาติต อ ไป ทั้ งนี้ วิท ยาลัยฯ ตั้งเปา หมายวา งานวิ จั ย ของอาจารย ป ระจํ า วิ ท ยาลั ย ฯจะได รั บ การอ า งอิ ง ในวงกว า ง ภายในระยะเวลา 3 ป

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0

0

0 เอกสารอางอิง (ไมมี)

รวม คะแนน 0

ตัวบงชี้ที่ 2.8 ผลงานทางวิชาการตออาจารยประจําทุกระดับ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

-

0.20

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

2 >3 0.00 0.40 0.70 1 0 1 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 มีอาจารยประจําและนักวิจัย จํานวน 10 คน มี รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: อาจารยที่ทําผลงานวิชาการทั้งหมด 7 เรื่อง อัตราสวนเฉลี่ยเทากับ 0.70 แบบฟอรม ข17, ข18, ข44, ข42 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไว คือ 0.20


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................51

มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ ตัวบงชี้ที่ 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพทีต่ อบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

6.25

60

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

100 833 266.67 1-19 20-29 > 30 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีจํ านวนกิจกรรม/โครงการ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: บริ ก ารทางวิ ช าการที่ ต อบสนองความต อ งการของสั ง คม ชุ ม ชน แบบฟอรม ข19 ประเทศชาติ และนานาชาติ จํานวน 24 โครงการ ตอจํานวนอาจารย 9 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 266.67 ทั้ ง นี้ ก ารจั ด โครงการบริ ก ารวิ ช าการและ วิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ สอดคลองกับพันธกิจและปรัชญาของวิทยาลัย และวิ ทยาลัยมีการตั้งฝ ายกิจกรรมสั มพัน ธและฝกอบรมเพื่อทํา หนา ที่ ดังกลาว นอกจากนี้ กิจกรรมบางโครงการยังอยูในรายวิชาสัมมนาของ หลักสูตรการบริหารเทคโนโลยีและหลักสูตรการบริหารวัฒนธรรม ซึ่งมี การจัดในรูปแบบของงานเสวนา/สัมมนาที่เปดใหบุคคลทั่วไปที่สนใจเขา รวมงานแบบใหเปลา

ตัวบงชี้ 3.2 รอยละของอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกมหาวิทยาลัย เปน กรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

6.25

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

22 20 33.33 33.33 1-14 15-24 > 25 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงานกลุมสาขาบริหารธุรกิจ ถึงแมวาจํานวนอาจารยประจําของวิทยาลัยฯ มีเพิ่มมากขึ้นจาก รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: เดิมจํานวน 3 คน ในปการศึกษา 2548 เปน 9 คนในปการศึกษา 2549 แบบฟอรม ข20, ข21 แตอัตราสวนรอยละของอาจารยที่เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกอยู ในปริมาณเทาเดิมคือ 3:9 คิดเปนรอยละ 33.33 ทําใหคารอยละที่ได เทากับคารอยละเทาเดิมซึ่งไมแตกตางจากปที่แลว


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................52

ตัวบงชี้ที่ 3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการ เรียนการสอน และการวิจัย เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

6.25

4

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1 2 >3 0 3 3 3 1 1 5 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง วิ ท ยาลั ย ฯ มี แ ผนการนํ า ความรู แ ละประสบการณ จ ากการ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: บริการวิชาการและวิชาชีพของอาจารยมาใชในการพัฒนาการเรียนการ แบบฟอรม ข 23 สอนและการวิจัยดังตัวอยาง เชน แผนการจัดสัมมนาใหบริการวิชาการ ของฝ า ยกิ จ กรรมสั ม พั น ธ แ ละฝ ก อบรมและแผนการจั ด สั ม มนาของ หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม เชน การจัดเสวนาเรื่อง “นวัตกรรม การจัดการกับงานทางลิขสิทธิ”์

ตัวบงชี้ 3.4 คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

6.25

25,556

31,733

2548

2549

31,733 602,300

1

ผลการประเมิน 2

3

1- 5,000- > 4,999 7,499 7,500

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

รวม คะแนน

1

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี ค า ใช จ า ย/มู ล ค า ของ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: มหาวิทยาลัยในการใหบริการวิชาการตออาจารยประจํา ทั้งสิ้น 602,300 แบบฟอรม ข 19 บาท เมื่ อ เที ย บอั ต ราส ว นต อ อาจารย ป ระจํ า จํ า นวน 9 คน เหตุ ผ ลที่ ตัวบงชี้สูงกวาปการศึกษา 2548 คอนขางมากเนื่องจากวิทยาลัยฯ มี หนวยงานฝา ยกิจกรรมสัม พัน ธและฝกอบรม ซึ่งไดดําเนินการจัดการ อบรม สัมมนา และเสวนา เปนประจําสม่ําเสมอ และกิจกรรมสวนใหญ เป น กิ จ กรรมแบบให เ ปล า จึ ง ส ง ผลให ตั ว เลขค า ใช จ า ยในการบริ ก าร วิชาการและวิชาชีพจึงสูงตามมา

5


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................53

มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ที่ 4.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และวัฒนธรรมตองบดําเนินการ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

10.00

0.73

0.93

0.93

1.80

1

ผลการประเมิน 2

0.01- 0.500.49 0.99

3 > 1.00

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

รวม คะแนน

1

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ทยาลั ยฯ มี จํ านวนค าใช จ ายและมู ลค า ที่ ใช ในการส งเสริ ม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ทํ านุ บํ ารุ งศิ ล ปวั ฒ นธรรมจํ า นวน 1,222,070 บาท โดยคิ ด เป น ร อ ยละ แบบฟอรม ข 27 1.80 ตองบดําเนินการทั้งหมด (67,826,998.25 บาท) เมื่อพิจารณาการ จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ กิ จ กรรมด า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมแล ว จะเห็ น ว า งบประมาณดานนี้ของวิทยาลัยนวัตกรรมคอนขางสูง ทั้งนี้เนื่องจากทาง วิทยาลัยฯ มีหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรมในระดับปริญญาโทซึ่ง เกี่ยวของกับการบริหารจัดการและทํานุงบํารุงศิลปวัฒนธรรมโดยตรง วิทยาลัยฯ จึงไดใหความสําคัญกับกิจกรรมและโครงการดานการสงเสริม ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมค อ นข า งมาก รวมทั้ ง วิ ท ยาลั ย ฯ ยั ง มี ฝ า ย ฝก อบรมและกิ จ กรรมสั ม พัน ธ ที่ มี ห น า ที่ โ ดยตรงในการดํ า เนิ น การจั ด กิจกรรมตางๆ

5


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................54

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ตัวบงชี้ที่ 5.1 ระดับคุณภาพของสภามหาวิทยาลัย/กรรมการบริหารสถาบัน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.81

6

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-3 4 >5 0 4 7 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน จากววิสัยทัศนและพัน ธกิจ ของวิทยาลัยฯ ที่กํา หนดไว ไดนํ า ไป รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: จัดทําแผนเพื่อดําเนินการตามพันธกิจตามแผนที่กําหนดไว โดยมีการ แบบฟอรม ข 28 นําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัยฯ เพื่อขออนุมัติกอนดําเนินการ จากนั้นวิทยาลัยฯ ไดเผยแพรใหบุคลากรภายในวิทยาลัยฯ รับทราบทาง ระบบ Intranet ของวิทยาลัยฯ เมื่อดําเนินการตามแผนแลว มีการติดตาม ผลและรายงานผลการดําเนินการใหที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัยฯ เพื่อปราบผลการดําเนินงาน

ตัวบงชี้ที่ 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.81

5

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-2 3 >4 0 4 4 3 0 1 4 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ ได ดํ า เนิ น การจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นา ตลอดจนเผยแพร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: องค ค วามรู ใ ห แ ก บุ ค ลากรในวิ ท ยาลั ย ฯ ทุ ก ระดั บ อย า งต อ เนื่ อ ง ซึ่ ง แบบฟอรม ข 29 สามารถนําไปประยุกตใชกับการทํางานได เชน สายอาจารย จั ด อบรมความรู ด า นการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพ ด า นวิ จั ย ให แ ก ค ณาจารย ใ นวิ ท ยาลั ย อี ก ทั้ ง เป น การแลกเปลี่ ย น ประสบการณระหวางอาจารยของวิทยาลัยฯ และอาจารยจากหนวยงาน ภายนอก สายสนับสนุนการศึกษา กิจกรรมที่จัดไดแก แผนการจัดความรูของฝาย สนับสนุนการศึ กษา ทุกเชาวันศุกรของสัปดาห และจัดทําระบบ intranet เพื่อใหบุคลากรสามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................55

ตัวบงชี้ที่ 5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชือ่ มโยงกับยุทธศาสตรชาติ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.82

3

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-2 3 >4 0 2 5 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีการกําหนดกลยุทธโดยใหสอดคลองกับยุทธศาสตร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ของชาติ สอดคลองกับเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แบบฟอรม ข 30 (สกอ.) เกณฑ ข องสํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษา (สมศ.) และคํ า รั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการที่ ผู บ ริ ห ารของ วิ ท ยาลั ย ฯลงนามไว กั บ ผู บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย และสํ า นั ก งาน คณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยมี ค ณะกรรมการ วิเคราะหความสอดคลองของแผนดังกลาว

ตัวบงชี้ที่ 5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.82

4

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-2 3 >4 0 4 4 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี ก ารใช ท รั พ ยากรร ว มกั บ หน ว ยงานอื่ น ๆ ภายใน รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรคอนขางมาก ทั้งดานวิชาการ ที่ไดรับความ แบบฟอรม ข 31 รวมมือจากคณาจารยจากคณะตางๆ เชน คณะวิศวกรรมศาสตร คณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี คณะเศรษฐศาสตร คณะศิลปศาสตร และคณะวารสารศาสตร เปนตน ทั้งดานการรวมกันพัฒนาหลักสูตร และ รวมเปนอาจารยพิเศษใหกับวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังมีการใช ทรัพยากรอื่นๆ เชน หองเรียน เนื่องจากวิทยาลัยฯ ทําการเรียนการสอน นอกเวลาราชการ ในเวลาราชการไดมีการอนุญาตใหหนวยงานอื่นๆ ใช หองเรียนของวิทยาลัยเพื่อจัดการเรียนการสอน เชน การจัดการเรียนการ สอนโครงการไทยศึกษา งานวิเทศนสัมพันธ มธ. เปนตน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................56

ตัวบงชี้ที่ 5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.82

4

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1 2 >3 0 3 5 3 0 1 4 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีการพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการเรียนการบริหาร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: และการสนับสนุนการเรียนการสอน รวมถึงการวิจัยมาโดยตลอด โดยใน แบบฟอรม ข 32 ปการศึกษา 2549 วิ ทยาลัยฯ ไดมีการพัฒนาใหนั ก ศึกษาสามารถยื่น คํารองเพื่อใหวิทยาลัยฯ ดําเนินการในเรื่องตางๆ ตามที่ไดกําหนดไวผาน ระบบ Online และไดมีการสรางฐานขอมูลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ ไดแก งานวิ ท ยานิ พ นธ งานค น คว า อิ ส ระ และงานโครงการทางวั ฒ นธรรม เพื่อใหนักศึกษาและบุคคลที่ไดรับอนุญาตไดมีโอกาสเขาถึงขอมูลผาน ระบบ Online ไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังไดมีความพยายามในการดําเนินการพัฒนาระบบฐานขอมูลใหสามารถ รายงานผลอัตโนมัติสําหรับการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาให ไดมากที่สุดดวย (ขณะนี้อยูระหวางการดําเนินงาน)

ตัวบงชี้ที่ 5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1.82

57,870

378,845

378,840

180,126

1

ผลการประเมิน 2

3

1- 65,000> 64,999 99,999 100,000

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

รวม คะแนน

1

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี มู ล ค า สิ น ทรั พ ย ถ าวร ทั้ ง สิ้ น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: 126,489,623.41 บาท เมื่อเทียบอัตราสวนตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา แบบฟอรม ข 33 เทียบเทา 702.23 มีคาเทากับ 180,125.63 บาท สินทรัพยถาวรที่สําคัญ สํ า หรั บ สถาบั น การศึ ก ษา ได แ ก ที่ ดิ น อาคาร และสิ่ ง ปลู ก สร า ง ซึ่ ง วิ ท ยาลั ย ฯ ใช ร ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร อย า งไรก็ ต าม ในป การศึกษา 2550 วิทยาลัยฯ ไดมีการลงทุนปรับปรุงอาคารสถานที่ ไดแก สํานักงาน หองเรียน และอุปกรณ IT อีกกวา 10 ลานบาท เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ * สาเหตุที่ตัวเลขป 2549 ต่ํากวา 2548 คอนขางมากเนื่องจากมีการปรับ วิธีการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา โดยมีการถวงน้ําหนัก สําหรับระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้น

5


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................57

ตัวบงชี้ที่ 5.7 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

1.82

เปาหมาย (แผน)

104,630

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545 139,926

2548

139,924

2549

77,175

1

ผลการประเมิน 2

3

±5– ± ± 10% 9.99% 4.99% ของ ของ ของ เกณฑ เกณฑ เกณฑ

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 1

0

รวม คะแนน

0

1

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีสัดสวนคาใชจายทั้งหมด เปนจํานวนเงิน รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: 54,194,279.92 บาท เมื่อเทียบอัตราสวนตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลามีคา แบบฟอรม ข 34 เทากับ 77,174.54 บาท พบวาลดลงเมื่อเทียบกับปการศึกษาที่ผานมา ทังนี้ เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีการกําหนดวิธีการตรวจสอบการใชจายดานการเงินอยาง คอนขางเข็มงวดมากยิ่งขึ้น ทําใหสามารถลดคาใชจายที่ไมจําเปนบางประการ ลงได นอกจากนี้ วิ ทยาลั ยฯ ยั งรั บนักศึกษาไดมากขึ้ นในชวงป การศึ กษา 2548-2549 โดยเฉพาะนักศึ กษาหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ทํ าให จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาของวิทยาลัยฯ ในปการศึกษา 2549 มีคา สูงขึ้นกวาปกอน * สาเหตุที่ตัวเลขป 2549 ต่ํากวา 2548 คอนขางมากเนื่องจากมีการปรับ วิธีการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา โดยมีการถวงน้ําหนัก สําหรับระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้น

ตัวบงชี้ที่ 5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.82

9.00

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

78.55 41.52 38.67 1-4% 5-9% 10-15% 2 0 0 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีงบดําเนินการทั้งหมด 67,826,998.25 บาท รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: และเงินเหลือจายสุทธิรวมทั้งหมด 26,228,973.28 บาท คิดเปนรอยละ 38.67 แบบฟอรม ข 35 ของงบดําเนินการ เงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการลดลงเปนอยางมากเมื่อ เทียบกับปการศึกษาที่ผานมา ทั้งนี้ เนื่องจากวิทยาลัยไดมีการวางแผนและ พั ฒนากระบวนการจั ดทํ างบประมาณประจํ าป ได มี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังมีการลงทุนดานการพัฒนาอาจารย การสนับสนุน งานวิ จั ยต างๆ และมีการใชจายดานการบริ การสังคม เชน การจัดสั มมนา วิชาการโดยไมคิดมูลคาเพิ่มมากขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................58

ตัวบงชี้ที่ 5.9 รอยละของ อาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งใน ประเทศและตางประเทศ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.82

60

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

100 100 33.33 1-39 40-59 > 60 1 0 0 1 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: นํ าเสนอผลงานวิ ชาการทั้ งในประเทศและต างประเทศของวิ ทยาลั ยลดลง แบบฟอรม ข 36 เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีการรับอาจารยประจําเพิ่มขึ้น จากเดิม 3 คน ในป 2548 เปน 9 คน ในป 2549 ทําใหตัวหารซึ่งเปนจํานวนอาจารยประจํามีมากขึ้น จึง ส งผลให ตั วบ งชี้ ด านนี้ ลดลงดั งกล าว แต ทั้ งนี้ วิ ทยาลั ยจะรั บตั วบ งชี้ นี้ ไป ปรับปรุงแกไข ดวยการมีกลไกที่จะผลักดันใหอาจารยประจําของวิทยาลัยเขา รวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในและตางประเทศเพิ่มขึ้น ในปถัดไป

ตัวบงชี้ที่ 5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1.82

12,000

14,840

24,733

18,903

1

ผลการประเมิน 2

3

1- 10,000- > 9,999 14,999 15,000

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

1

รวม คะแนน 5

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีงบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยลดลงกวา รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ป 2548 เนื่องจากมีจํานวนอาจารยประจําเพิ่มขึ้น ทําใหตัวหารในงบประมาณเพิ่มขึ้น แบบฟอรม ข 37 อยางไรก็ตามวิทยาลัยฯ ก็ยังความพยายามในการพัฒนาคณาจารยอยางตอเนื่อง ดวยการเปดโอกาสใหอาจารยไดเขารับการอบรมในหัวขอที่ตรงกับความเชี่ยวชาญ หรือความสนใจ เชน อาจารย ดร. ยอดมนี เทพานนท และ ดร. สุพัชรจิต จิตประไพ ได เขารวมอบรมเรื่อง “การจัดการทองเที่ยวชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบาน” การเขา รวมอบรมในหัวขอที่เกี่ยวของกับการพัฒนางานวิจัย เชน อาจารยเวฬุรีย เมธาวีวินิจ เขารวมการอบรมวิจัยเชิงคุณภาพในสังคมตางวัฒนธรรม จัดโดยสมาคมนักวิจัย ที่ จังหวัดหนองคายและประเทศลาว และการดูงานในองคกรที่เกี่ยวของกับหลักสูตร เชน อาจารยสุรีรัตน บุบผา อาจารยประจําหลักสูตรบริหารงานวัฒนธรรม ไดเขาดูงานใน พิพิธภัณฑและองคกรที่ดานศิลปวัฒนธรรม ที่ประเทศฝรั่งเศส เปนตน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................59

ตัวบงชี้ที่ 5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที่ไดรับการพัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพทั้ง ในประเทศและตางประเทศ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

1.82

100

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

100 100 100 1-54 55-79 > 80 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดการพัฒนาความรู รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ รอยละ 100 ทั้ งนี้ แบบฟอรม ข 38 เพราะวิทยาลัยฯ ใหความสําคัญกับบุคลากรในทุกระดับ อาทิเชน งาน สัมมนาบุคลากรประจําปของวิทยาลัยฯ บุคลากรทุกคนในสายวิชาการ และสายสนับสนุนทุกคนมีสิทธิ์จะเขารวม ถือวาเปนการสรางใหเกิดความ สามัคคีในหมูคณะ นอกจากนี้ วิทยาลัยฯยังเปดโอกาสใหบุคลากรแตละ หนวยงานไดรับการฝกอบรม พัฒนาทักษะที่จําเปนตอหนวยงานนั้นๆ ทั้งโดยการเขารวมโครงการอบรมที่วิทยาลัยฯ ดขึ้นเอง หรือโครงการที่ องคกรหรือสถาบันอื่นจัดเปนตน

ตัวบงชี้ที่ 5.12 สัดสวนของเงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสายสนับสนุน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

-

0.34

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

0 0.03 0.39 0.5 0.75 1.00 0 1 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี สั ด ส ว นของเงิ น เดื อ นบุ ค ลากรสาย ก ต อ เงิ น เดื อ น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ค อ นข า งต่ํ า เนื่ อ งมาจากวิ ท ยาลั ย ฯ เพิ่ ง เริ่ ม มี แบบฟอรม ข 41 นโยบายรับอาจารยประจําในป 2548 อยางไรก็ดี จะเห็นไดวาสัดสวนของ เงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสายสนับสนุนไดเพิ่มขึ้นถึง รอยละ 36 (จากรอยละ 3 ในป 2548 เปน รอยละ 39 ในป 2549) หลังจากมีการรับอาจารยประจําเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จึงคาดวาตัวบงชี้นี้ จะเพิ่มขึ้นตามลําดับ สงผลใหวิทยาลัยฯ สามารถลดการพึ่งพาอาจารย พิเศษจากภายนอก และเพิ่มความเขมแข็งทางดานวิชาการมากขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................60

ตัวบงชี้ที่ 5.13 สัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอจํานวนบุคลากรสายสนับสนุน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

-

0.21

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

0 0.13 0.24 0.5 0.75 1.00 0 1 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีสัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอจํานวนบุคลากร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: สายสนับ สนุนเพิ่ม ขึ้น ตามนโยบายรับ อาจารยป ระจําเพิ่ม ขึ้ น ดังที่ไ ด แบบฟอรม ข 42 กลาวมาแลวขางตน ซึ่งตัวบงชี้นี้ก็สอดคลองกับ ตัวบงชี้ 5.12 สัดสวน ของเงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสายสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น และตัวบงชี้ดานงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เพิ่มขึ้นเชนกัน

มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ตัวบงชี้ที่ 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

2.50

100

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

0 0 100 1-79 80-99 100 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ดําเนินการเรียนการสอนทั้งสิ้น 3 รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: หลักสูตร ไดแก แบบฟอรม ข 43 1. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห าร เทคโนโลยี (ทาพระจันทร) 2. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห าร เทคโนโลยี (ศูนยพัทยา) 3. หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารงาน วัฒนธรรม ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของ สกอ. พ.ศ. 2548


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................61

ตัวบงชี้ที่ 6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

2.50

เปาหมาย (แผน)

72

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

143

2548

117

2549

78

1

ผลการประเมิน 2

3

±6– ± ± 10% 9.99% 5.99% ของ ของ ของ เกณฑ เกณฑ เกณฑ

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 1

0

รวม คะแนน

1

2

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน จากนโยบายในการบริหารจัดการวิทยาลัยฯ ในอดีต เนนการเรียน รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: การสอนที่เปน Professional approach จัดการเรียนการสอนโดยให แบบฟอรม ข 44, ข 45 สัดสวนของอาจารยพิเศษที่เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ รวมถึงเชิญ อาจารยประจําที่มีความรูความสามารถจากหนวยงานจัดการศึกษาตางๆ ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนผูถายทอดความรูใหแกนักศึกษา โดยวิ ท ยาลั ย ฯ ทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม คุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นการสอน ดังกลาวใหไดตรงตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย อยางไรก็ตาม ชวงเวลา 1-2 ป ที่ ผ า นมา วิ ท ยาลัย ฯ ได มี ก ารปรั บ ให มี อ าจารย ป ระจํ า วิ ท ยาลั ย เพิ่มมากขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการดําเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาของมหาวิทยาลัย ซึ่งจําเปนตองใชเวลาอีกระยะหนึ่ง เพื่อการ ปรับปรุงคาดัชดีดังกลาวใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่ตองการ

ตัวบงชี้ที่ 6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

2.50

44.44

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

25.00 33.33 44.44 1-39 40-59 > 60 2 1 1 4 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 จากจํานวนอาจารยประจํา ทั้งหมด 9 คน มี รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: อาจารยที่สําเร็จวุฒิปริญญาเอกเทากับ 4 คน คิดเปนรอยละ 44.44 ตอ แบบฟอรม ข 44 จํานวนอาจารยประจํา เนื่องจากวิทยาลัยฯ เพิ่งจะเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบาย อาจารยประจํา ในชวง 1-2 ปการศึกษาที่ผานมาวิทยาลัยฯ รับอาจารย วุฒิปริญญาโทเขามาจํานวนหนึ่ง ซึ่งจะตองไดรับการพัฒนาตอไปในอนาคต อันใกล


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................62

ตัวบงชี้ที่ 6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

2.50

22.22

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

0 33.33 22.22 1-44 45-69 > 70 1 1 1 3 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด 9 คน ในปการศึกษา รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: 2549 มีอาจารยประจําไดรับตําแหนงทางวิชาการรวม 22.22% ซึ่งเทากับ แบบฟอรม ข 44 เป า หมายที่ ตั้ ง ไว ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากวิ ท ยาลั ย ฯ เพิ่ ง จะเริ่ ม ปรั บ เปลี่ ย น นโยบายอาจารย ป ระจํ า ในช วง 1-2 ป ก ารศึ ก ษาที่ ผ า นมา อาจารย ที่ วิทยาลัยฯ รับเขายังมีอายุงานนอย และอยูระหวางการสรางผลงานทาง วิชาการ ทําใหมีอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการนอย คงมี เพียงอาจารยอาวุโส ที่วิทยาลัยฯ รับเขามาซึ่งถือเปนสัดสวนที่ไมมากนัก

ตัวบงชี้ที่ 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

2.50

5

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-2 3 >4 0 5 5 3 0 1 4 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง วิทยาลัยฯ ไดประกาศหนาที่ความรับผิดชอบ คุณธรรม จริยธรรม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ตลอดจนจรรยาบรรณวิชาชีพไวใหอาจารยถือปฏิบัติ พรอมมีการติดตาม แบบฟอรม ข 46 ผลวาอาจารยไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดไวหรือไมอยางไร ซึ่งใน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไมไดรับการรองเรียนเรื่องการประพฤติผิด จรรยาบรรณวิชาชีพของอาจารยแตอยางใด


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................63

ตัวบงชี้ที่ 6.6

กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและ ประสบการณจริง เกณฑการใหคะแนน

คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

2.50

6

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-2 3-4 >5 0 6 6 3 1 1 5 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง เปน นโยบายและแนวทางการดํา เนิน งานการเรี ย นการสอนของ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: วิ ท ยาลั ย ฯ ที่ จ ะสร า งกระบวนการเรี ย นรู โ ดยเน น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ แบบฟอรม ข 47 โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง ทั้งจากการ เชิ ญ วิ ท ยากรและผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภ ายนอกที่ เ ป น ผู เ ชี่ ย วชาญ อยู ใ น แวดวงการปฏิ บั ติ ง านและมี ป ระสบการตรง มาถ า ยทอดความรู แ ละ ประสบการณใหแกนักศึกษา การเนนใหนักศึกษาไดมีประสบการณใน การจัดการสัมมนาวิชาการในหัวขอหรือประเด็นที่นักศึกษาตองการทราบ ดวยตนเอง การมีวิชาเลือกที่หลากหลาย และกําหนดกระบวนการบริหาร การศึกษาใหนักศึกษามีสวนรวมในการกําหนดรายวิชาที่จะใหวิทยาลัยฯ เปดการสอน

ตัวบงชี้ที่ 6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู เกณฑการใหคะแนน

ผลการประเมิน

คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

2

3

2.50

4.00

4.05

4.09

4.16

12.49

2.53.49

> 3.5

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

รวม คะแนน

1

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน จากการประเมิ น ผลการเรี ย นการสอนที่ วิ ท ยาลั ย ฯ ดํ า เนิ น การ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ประเมิ น ระดั บ ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาต อ คุ ณ ภาพการสอนของ แบบฟอรม ข 48 อาจารย ประจําปการศึกษา 2549 ผลสํารวจความพึงพอใจเทากับ 4.16 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่กําหนดไว

5


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................64

ตัวบงชี้ที่ 6.9 คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2.50

6,463

0

2548

2549

20,795

22,199

1

ผลการประเมิน 2

3

1- 4,500- > 4,499 6,999 7,000

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3

1

รวม คะแนน

1

5

เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี ค า ใช จ า ยด า นห อ งสมุ ด รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ มูลคา 15,588,700.71 บาท ซึ่งสูงกวา แบบฟอรม ข 51 ป ก ารศึ ก ษา 2548 ค อ นข า งมาก อย า งไรก็ ต าม ในป นี้ ได มี ก ารปรั บ วิธีการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) ใหม โดยปรับ เพิ่มคาสําหรับปริญญาโท ทําใหคาดัชนีเพิ่มขึ้นไมสูงมากนัก อยางไรก็ ตาม วิ ท ยาลั ย ฯ ไมตั้ ง เป า หมายค า ใช จ า ยสว นนี้ สูง มากนั ก เนื่ อ งจาก จําเปนตองใชระบบสนับสนุนสวนนี้จากสวนกลางของมหาวิทยาลัย โดย วิทยาลัยไมสามารถดําเนินการในสวนนี้เองไดทั้งหมด

ตัวบงชี้ที่ 6.10 จํานวนวิชา (Section) ตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

-

6.88

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

>8 7.5 <7 20.66 9.33 0 1 0 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน เนื่องจากวิทยาลัยฯ เพิ่งจะเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายอาจารยประจํา รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ในชวง 1-2 ปการศึกษาที่ผานมาทําใหคาดัชนีจํานวนวิชา (Section) ตอ แบบฟอรม ข 56 จํานวนอาจารยประจําของวิทยาลัยอยูในระดับสูง อยางไรก็ตามคาดัชนี ดังกลาวไดลดลงอยางตอเนื่องจากการปรับเปลี่ยนนโยบายของวิทยาลัยฯ ใหสอดคลองกับการประกั น คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย อนึ่ง แมวาสัดสวนของจํานวนวิชาตออาจารยประจําจะมีคาสูง แตในความเปน จริง รายวิชาที่อาจารยประจํารับผิดชอบจะมีคาไมสูงมากนัก เนื่องจาก วิทยาลัยฯมีการเชิญอาจารยพิเศษ ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน ภายนอก รวมถึงอาจารยประจําภายในมหาวิทยาลัย รวมดําเนินการสอน/ ถายทอดความรูใหแกนักศึกษาของวิทยาลัยฯ


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................65

มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยางตอเนื่อง เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

10.00

5

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1-2 3 >4 4 5 0 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี ร ะบบและกลไกในการประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง เมื่อพิจารณาผล แบบฟอรม ข 57 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ในปการศึกษา 2549 พบวา วิทยาลัยฯ มี การดําเนินการในเกณฑการพิจารณา 5 ลําดับ สรุปไดดังนี้ 1. โดยวิทยาลัยฯ มีการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพ ภายในวิทยาลัยฯ ที่ประกอบดวย ผูอํานวยการวิทยาลัย เปนประธาน กรรมประกอบดวย ผูอํานวยการหลักสูตร ผูแทนอาจารยประจําวิทยาลัย ผูจัดการฝาย และหัวหนางาน คณะกรรมการดังกลาวมีบทบาทในการ กําหนดนโยบาย และใหขอสังเกต ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนินการ ประกัน คุณภาพการศึ ก ษาของวิท ยาลัยฯ นอกจากกลไกดังกลา วแล ว วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกาของวิทยาลัยฯ เพื่ อ เป น แนวทางในการดํ า เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ หนวยงาน 2. มีการกําหนดมาตรฐานและตัวบงชี้ที่สอดคลองกับมาตรฐาน และตัวบงชี้ของมหาวิทยาลัยฯ และของสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 3. มีการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่องทุกป โดยมีการตรวจสอบคุณภาพภายในวิทยาลัยฯ การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการใหความรู อบรม เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาใหแกบุคลากรในหนวยงาน โดยได จัดสรรงบประมาณไวสําหรับดําเนินการในการประกันคุณภาพการศึกษา 4. วิทยาลัยฯ ไดนําผลการตรวจสอบ ขอสังเกตและขอเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบของมหาวิทยาลัย เพื่อนําไปปรับปรุงการ ดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................66

ตัวบงชี้ที่ 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก

เปาหมาย (แผน)

10.00

4

ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545

2548

2549

1

ผลการประเมิน 2

3

เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ

รวม คะแนน

1 2 >3 4 4 0 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี ก ารดํ า เนิ น การตามระบบและกลไกการประกั น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: คุณภาพการศึกษาภายในดังกลาวไวในตัวบงชี้ที่ 7.1 และมีการปรับปรุง แบบฟอรม ข 58 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่สอดคลองกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย และของวิ ท ยาลั ย ฯ เอง โดยทุ ก ป ห ลั ง จากที่ ไ ด มี ก ารดํ า เนิ น การตาม แผนงานการประกันคุณภาพประจําปแลว มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผล/ทบทวนระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยในป การศึ ก ษา 2549 ได มี ก ารสั ม มนาเมื่ อ วั น ที่ 10-11 เมษายน 2550 ณ อุทยานการเรียนรู ศูนยพัทยา ซึ่งผลจากการสัมมนาดังกลาวจะนํามา ปรั บ ปรุ ง ตั ว บ ง ชี้ ป ก ารศึ ก ษา 2549 และปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารดํ า เนิ น การ ประกั นคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ เชน กระบวนการเก็บขอมูล กระบวนการตรวจสอบ นอกจากนี้วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการปรับปรุงระบบ ฐานขอ มูลสํา หรับรวบรวมขอมูล และดํ าเนิน การประมวลขอมู ล ในการ ประกั น คุ ฯ ภาพการศึ ก ษา ซึ่ ง ระบบยั ง อยู ใ นระหว า งการทดสอบและ ปรับปรุงแกไขใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................67

การรายงานผลการดําเนินการตามขอสังเกตและขอเสนอแนะจาการตรวจสอบใน ปการศึกษา 2548 รวมทั้งผลการดําเนินงานตามการพัฒนาที่หนวยงานจัดทําเอง จากขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพของวิทยาลัยฯ ใน ปการศึกษา 2548 ไดใหขอสังเกตและขอเสนอแนะในดานตางๆ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. ควรมีการวิเคราะหสาเหตุและแนวทางแกปญหาคุณภาพของนักศึกษารับเขาที่มีแนวโนม ลดลง ดังจะเห็นไดจาก คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขาวิทยาลัยฯ อัตราการแขงขันสอบ เขาวิทยาลัยฯ คะแนนสอบ TU-GET ที่มีคาลดลง ตลอดจนศึกษาสาเหตุและแนวทางแกปญหา ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กําหนดที่มีแนวโนมลดลงดวย 2. ในการจัดเก็บขอมูลระดับความพึงพอใจของนายจาง/ผูประกอบการ/ผูใชบัณฑิต เปนผล ของผูตอบกลับ 20 ฉบับ จากจํานวนแบบสอบถาม 125 ฉบับ วิทยาลัยฯ ควรหามาตรการที่จะให ไดผลการประเมินที่นาเชื่อถือในการสะทอนคุณภาพของบัณฑิต และในการจัดทําแบบสอบถามนั้น อาจจะตองปรับขอคําถามใหเหมาะสมเพราะบัณฑิตของวิทยาลัยฯ จะเปนผูที่ทํางานแลว โดยขอ คําถามอาจจะถามถึงการเปลี่ยนแปลงของบัณฑิตกอนเขาศึกษาและหลังจบการศึกษา การนําความรู ไปประยุกตใชในการทํางาน เปนตน 3. วิทยาลัยฯ ควรสรางความแตกตางของวิทยาลัยฯ กับสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ที่มีการสอน ในลักษณะเดี ยวกั น โดยวิ ทยาลัย ฯ ควรคงความเปนนวัตกรรม ความเป นเอกลั กษณเฉพาะของ วิทยาลัยฯ ไดแก การสรางหลักสูตรที่มีความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม (Industrial Partnership) การเรียนการสอนแบบ Professional Learning และหลักสูตรที่มีความเปนสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ซึ่งจะเปนเปาหมายในการผลิตบัณฑิตที่ชัดเจน และเปนสิ่งดึงดูดผูตองการความ เปนนวัตกรรมเขามาศึกษา รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดทําการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอคุณภาพบัณฑิต เชน งานวิจัยเพื่อปรับปรุง หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม โดยสอบถามไปยังนักศึกษา ปการศึกษา 2549 และโครงการ สํารวจความตองการศึกษาตอในระดับปริญญาโท 2. วิทยาลัยฯ กําลังอยูในระหวางการดําเนินการแกไขรูปแบบของขอคําถามในแบบสอบถาม และกระบวนการในการติ ด ตามผลในการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ความพึ ง พอใจของนายจ า ง/ผู ใ ช บั ณ ฑิ ต นอกจากนี้วิทยาลัยฯ ยังไดสนับสนุนการกอตั้งชมรมศิษยเกา เพื่อใหสามารถติดตามขอมูลของศิษย เกาไดดีขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................68

3. วิทยาลัยฯ ริเริ่มการสรางความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม อาทิ หลักสูตร CIO (Chief Information Officer) ซึ่งมีการรวมมือกับ NECTEC, Waseda University และ Gorge Mason University มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. วิทยาลัยฯ มีผลงานดานการวิจัยและงานสรางสรรคจํานวนนอย อาจเปนเพราะปรัชญา การดําเนินการของวิทยาลัยฯ มิไดมุงเนนทางดานนี้มากนัก ประกอบกับมีอาจารยประจําในจํานวน ไมมากนัก อยางไรก็ตามวิทยาลัยฯ ก็ไดมีการวางแผนการสนับสนุนการทํางานวิจัยที่ไดกลาวมา 2. ควรมีการผลักดันใหนักศึกษาสรางผลงานวิชาการในรูปแบบตางๆ (ที่อาจไมใชบทความ วิชาการ) จากงานสารนิพนธใหมากขึ้น โดยอาจกําหนดหัวขอที่สามารถนําไปใชในการแขงขัน/ การประกวดผลงานตางๆ 3. ควรมี ม าตรการในการกระตุ น /ผลั ก ดั น งานวิ จั ย และงานสร า งสรรค ข องอาจารย แ ละ นักศึกษาอยางตอเนื่อง 4. เนื่ องจากวิทยาลัยฯ อาจมีลักษณะเฉพาะในการผลิตผลงานทางวิชาการของอาจารย วิทยาลัยฯ อาจมีการพัฒนาหรือกําหนดตัวบงชี้เพิ่มเติมที่แสดงถึงศักยภาพของอาจารย หรือลักษณะ งานที่อาจารยดําเนินการ รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ มีอาจารยประจําและผลงานวิจัยเพิ่มขึ้นในป 2549 เนื่องจากนโยบายรับ อาจารยประจําเพิ่มขึ้น และการสรางเครือขายกับองคกรภายนอกที่สนับสนุนทุนในการทําวิจัย 2. วิทยาลัยฯ มีการผลักดันใหนักศึกษานําบทความจากวิทยานิพนธตีพิมพเผยแพร ใน วารสารที่มีคุณคาทางวิชาการ เนื่องมาจากระเบียบมาตรฐานหลักสูตรของ สกอ. ในปการศึกษา 2548 มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. ลักษณะของโครงการและกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นคอนขางเนนไปทางบริหารเทคโนโลยี เปนสวนมาก ควรมีการแบงสัดสวนใหเหมาะสมในการจัดกิจกรรมของหลักสูตรบริหารเทคโนโลยีและ หลักสูตรบริหารงานวัฒนธรรม 2. ควรมีการประชาสัมพันธในวงกวางเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมตางๆ ของวิทยาลัย เพื่อใหมี ผูสนใจเขารวมกิจกรรมมากขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................69

รายงานผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีการประชาสัมพันธการบริการวิชาการในวงกวางมากขึ้น โดยการสรางเครือขาย กับสื่อมวลชน อาทิ รายการทิศทางเศรษฐกิจทางสถานีโทรทัศนชอง 11 เปนตน นอกจากนี้ วิทยาลัย ยังประสบความสําเร็จในการดึงผูเขารวมเสวนามาเปนผูสนใจสมัครเขาศึกษาตอในหลักสูตร ทั้งนี้ กิจกรรมบริการวิชาการของวิทยาลัยมุงเนนทั้งทางดานบริหารเทคโนโลยีและดานการบริหารงาน วัฒนธรรม มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. แมกิจกรรมจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นแตจํานวนกิจกรรมยังไมเพียงพอ วิทยาลัยฯ จึงควรดึง จุดเดนของหลักสูตรบริหารงานวัฒนธรรมมาเปนประโยชนและเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมมากขึ้น 2. ควรสรางเครือขายความรวมมือกับคณะ/หนวยงานที่จัดการเรียนการสอน ที่มีลักษณะหรือ หลักสูตรที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เชน คณะศิลปกรรมศาสตร โดยอาจใชทรัพยากรในสวนที่สามารถ ใชรวมกันได ในการทํากิจกรรมรวมกัน หรือสรางความรวมมือในดานตางๆ รายงานผลการดําเนินงาน หลั ก สู ต รการบริ ห ารงานวั ฒ นธรรมของวิ ท ยาลั ย ฯ ได ดํ า เนิ น การจั ด เสวนาวิ ช าการที่ เกี่ยวเนื่องกับการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยตั้งเปาหมายในการจัดงาน 3 ครั้ง ตอป และ ประชาสัมพันธใหมีผูเขารวมในงานโดยเฉลี่ย 80-150 คน ตอการจัดงานในแตละครั้ง อีกยังมีกิจกรรม ของนักศึกษาในหลักสูตรการเรียนการสอน อาทิ โครงการพี่นองคลองแขนทองแดนศิลปะ ซึ่งนําเด็ก บานราชวิถีมาเรียนรูทักษะการสรางงานศิลปะที่สวนสัตวดุสิต และโครงการนิทรรศการภาพถาย Bangkok Rhapsody ที่หางสรรพสินคา Playground ทองหลอ เปนตน นอกจากนี้ บุคลากรของวิทยาลัยฯ ยังไดมีการสรางเครือขายกับองคกรที่สนับสนุนงานวิจัย ดานศิลปวัฒนธรรมในระดับประเทศ เชน สถาบันไทยคดี ศูนยมนุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ และกระทรวงวัฒนธรรม เปนตน และระดับนานาชาติ เชน Korean University of Arts, Ministry of Culture and Tourism ประเทศเกาหลีใต, National museum, Ministry of Culture ราชอาณาจักรกัมพูชา และ APSARA Authority ราชอาณาจักร กัมพูชา เปนตน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................70

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานพัฒนาสถาบันและบุคลากร ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. หลังจากที่ไดจัดทําแผนกลยุทธแลว ควรแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการ (Action Plan) โดยใชจุดแข็งของการเปนองคกรนอกกรอบระบบราชการ ซึ่งแผนปฏิบัติการดังกลาวควรมี ความเชื่อมโยงระหวางกิจกรรมที่จะดําเนินการกับงบประมาณของวิทยาลัยฯ 2. ควรใชประโยชนจากการที่ไมไดอยูในกรอบของระบบราชการใหเปนจุดแข็ง ในการพัฒนา วิทยาลัยฯ ใหมีความโดดเดนมากขึ้น (Prestige) เพื่อใหเปนองคกรที่สามารถดึงดูดคณาจารยที่มี ความรูและประสบการณในภาคอุตสาหกรรมมารวมงานกับวิทยาลัย 3. ควรมีการศึกษาวิเคราะหความคุมทุน (Break Even - Cost Analysis) ของจํานวนรับ นักศึกษากับคาใชจายของวิทยาลัยฯ เพื่อกําหนด Cost-price Model ของวิทยาลัยฯ ที่ควรจะมีรายได เพียงพอที่จะรับอาจารยที่มีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอนอยางมีคุณภาพ รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดทําสัมมนาแผนกลยุทธของวิทยาลัย และอยูในระหวางการจัดทํา แผนปฏิบัติการ (Action Plan) โดยมีการเชื่อมโยงกิจกรรมของฝายตางๆ กับงบประมาณของ วิทยาลัยฯ 2. วิทยาลัยฯ มีการรวมมือกับทั้งภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม เชน NECTEC, Waseda University และ George Mason University ในการจัดทําหลักสูตร CIO (Chief Information Officer) ทั้งนี้สวนหนึ่งที่ทางภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมเลือกที่จะรวมมือในการสรางหลักสูตรกับวิทยาลัยฯ เพราะจุดแข็งในดานความคลองตัวของการเปนหนวยงานนอกระบบราชการ 3. วิทยาลัยฯ มีการศึกษาวิเคราะหความคุมทุน (Break Even Analysis) ทุกครั้งกอนที่จะ เปดหลักสูตรใหม เชน หลักสูตร CIO และหลักสูตรอุตสาหกรรมการบริการ เปนตน แตทั้งนี้ วิทยาลัยฯ ก็ตระหนักถึงความสําคัญในการทบทวนความคุมทุนของหลักสูตรที่เปดอยู ณ ปจจุบัน ดวยเชนกัน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................71

มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. ควรปรับปรุงหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑของมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) ป พ.ศ.2548 ไดแก การกําหนดใหมีการตีพิมพวิทยานิพนธเปนเงื่อนไขในการ สําเร็จการศึกษา จํานวนอาจารยประจําหลักสูตร เปนตน 2. ควรวางแผนการรับอาจารยประจําหลักสูตร เปนตน 3. เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีการเชิญอาจารยพิเศษมาสอนเปนจํานวนมาก จึงควรมีการนําเสนอ ขอมูลเชิงวิเคราะหในสวนของคุณสมบัติของอาจารยพิเศษ กลไกการควบคุมคุณภาพอาจารยพิเศษ เปนตน 4. ระดับคะแนนการประเมินบางวิชาไมไดเกณฑดี-ดีมาก ตามที่วิทยาลัยกําหนด อาจตองมี การพิจารณาปรับปรุงแนวทางการเรียนการสอน 5. ควรทําการประเมินผลการสัมมนา/ดูงานวากิจกรรมที่จัดนักศึกษาไดรับประโยชนสูงสุด หรือไม รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดปรับปรุงหลักสูตรทั้ง 3 หลักสูตร ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ป พ.ศ.2548 ไดแก การกําหนดใหมีการตีพิมพ วิท ยานิ พนธเ ปนเงื่ อนไขในการสํ าเร็จการศึกษา และมีไดดําเนินการรับอาจารยประจํ าหลักสูต ร เพิ่มขึ้นตามลําดับ นอกจากนี้ ยังมีกลไกดในการควบคุมคุณภาพของอาจารยพิเศษ อาทิ รวบรวม ขอมูลประวัติยอของอาจารยพิเศษที่เขามาทําการเรียนการสอน มีการนําผลประเมินการสอนของ อาจารยพิเศษเพื่อประกอบการพิจารณาในการเชิญอาจารยพิเศษในแตละปการศึกษา 2. การสัมมนาทุกครั้งจะมีการประเมินผล แตการดูงานยังไมมีการประเมินผลอยางเปน ทางการ เนื่ อ งจากการดู ง านส ว นใหญ อ าจารย ป ระจํ า วิ ช าจะมี ก ารทดสอบและมอบหมายงานที่ เกี่ยวของกับกิจกรรมการดูงาน ดังนั้นจึงสามารถถือไดวานักศึกษาเปนผูที่ไดรับผลประโยชนโดยตรง ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาวิชา


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................72

มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีลักษณะเฉพาะที่มีควมแตกตางจากหนวยงานจัดการเรียนการสอน อื่นบางประการ ในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองควรมีการวิเคราะห หรืออธิบายลักษณะพิเศษ หรือลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ ประกอบดวย เพื่อทําใหผูอานมีความเขาใจในลักษณะเฉพาะของ วิทยาลัยฯ มากขึ้น 2. ดังที่กลาวแลววาวิทยาลัยฯ มีลักษณะเฉพาะที่แตกตางจากหนวยงานจัดการเรียนการสอน อื่นๆ ตัวบงชี้ของมหาวิทยาลัยฯ บางตัวจึงไมสามารถสะทอนคุณลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ ได วิทยาลัยฯ สามารถกําหนดตัวบงชี้เฉพาะที่สะทอนลักษณะหรือธรรมชาติของหนวยงานเพิ่มเติมได รายงานผลการดําเนินงาน ตัวบงชี้ของวิทยาลัยฯ จําเปนตองสอดคลองกับตัวบงชี้มาตรฐานของทางมหาวิทยาลัย และ สมศ. อยางไรก็ตามวิทยาลัยฯ ไดมีการเขียนอธิบายลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ เพื่อประกอบใน การใหเหตุผลของการเพิ่มขึ้นและลดลงของตัวบงชี้ที่ชัดเจนมากขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................73

บทที่ 4 แนวทางการพัฒนา จากผลการประเมินตามคุณภาพตัวบงชี้ของ สมศ. ในภาพรวมของแตละมาตรฐาน วิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษาไดจัดทําแผนการปรับปรุง ตาม 7 มาตรฐาน โดยใชขอมูลจากการวิเคราะหผลการ ดําเนินการตามตัวบงชี้คุณภาพของวิทยาลัยฯ ประจําปการศึกษา 2549 และรายงานสรุปผลการประเมิน คุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงในแตละสวน มาวิเคราะหจุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา เพื่อนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ จุดแข็ง มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต

จุดที่ควรพัฒนา

แผนพัฒนาปรับปรุง

1. นักศึกษาของวิทยาลัยฯ มีความ หลากหลายในสาขาอาชีพ และตองการ ที่จะเรียนรูวิชาการดานบริหารขั้นสูงเนน ในดานเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับงาน ที่ทํา ซึ่งทางหลักสูตรมีโปรแกรม การศึกษาที่นักศึกษาสามารถเลือกลงได และมีวิชาเลือกที่นักศึกษาสามารถเลือก เรียนไดตามความสนใจ

1. ผูสมัครเขาศึกษาตอมีจํานวน ลดลง ทําใหอัตราการแขงขันของ ผูสมัครเขาศึกษามีนอย เปนเหตุใหมี ขอจํากัดกับการเปลี่ยนแปลง ในการ คัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณภาพดีเขา ศึกษาตอในหลักสูตร

2. วิทยาลัยฯ ยังไดดําเนินการสราง ระบบสนับสนุนการทํางานวิจัยของ นักศึกษา โดยมีกําหนดใหนักศึกษาสง ผลงานใหอาจารยพิจารณาเปนระยะๆ แทนที่จะสงครั้งเดียวกอนสอบ ซึ่งจะ ทําใหนักศึกษาสามารถปรับแกผลงาน ของตนใหมีคุณภาพและสําเร็จไดภายใน ระยะเวลาที่กําหนด

2. หลักสูตรปริญญาโทใหมๆ ที่ เปดขึ้นมากมายในปจจุบัน มีความ ใกลเคียงกับหลักสูตรของวิทยาลัยฯ ทําใหมีคูแขงเพิ่มขึ้น

1. กําหนดนโยบายที่จะพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรใหมีความทันสมัย โดดเดน สอดคลองกับความตองการ ของสังคม นอกจากนี้อัตราการ แขงขัน คะแนน TU-GET พบวา ลดลงเล็กนอย เนื่องจากการเปด หลักสูตรที่คลายคลึงกันในสถาบัน อื่นๆ จึงควร เนนการประชาสัมพันธ ใหมากขึ้นกวาเดิม 2. กําหนดนโยบายที่จะให ทุนการศึกษาแกนักศึกษาที่มีผลการ เรียนดี และผูแทนจากหนวยงาน ภาครัฐบาลหรือภาคเอกชน เพื่อสราง เครือขายความรวมมือวิทยาลัยฯ กับ หนวยงานภายนอก

3. การผลักดันใหนักศึกษาตีพิมพ บทความจากวิทยานิพนธทั้งใน ระดับชาติและระดับนานาชาติยังมี นอย

3. เรงสรางเครือขายศิษยเกาเพื่อ เปนสื่อในการติดตามขอมูล ความ เคลื่อนไหว และดําเนินกิจกรรมตางๆ ระหวางศิษยเกากับวิทยาลัยฯ และ ศิษยเกากับนักศึกษาปจจุบัน


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................74

จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 2 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 1. มีงบประมาณที่วิทยาลัยไดจัดสรร ไวเพื่อสนับสนุนการทําวิจัยสําหรับ อาจารยประจําและนักวิจัยของวิทยาลัย

แผนพัฒนาปรับปรุง

1. สงเสริมและสนับสนุนให อาจารยและนักวิจัย สรางผลงานวิจัย เพิ่มขึ้น และจัดหาเงินทุนสนับสนุน การวิจัยภายในใหมากขึ้น เชน นโยบายการสนับสนุนโครงการการ วิจัยสําหรับนักวิจัยรุนใหม โครงการวิจัยที่มีความจําเปน/เรงดวน โครงการวิจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการ เรียนการสอน โครงการวิจัยเกี่ยวกับ นวัตกรรม โครงการวิจัยเกี่ยวกับ วัฒนธรรม และโครงการวิจัยที่ เกี่ยวเนื่องกับวิทยานิพนธ เปนตน 2. อาจารยประจําบางสวนเปน 2. วิทยาลัยฯ มีมาตรฐานดาน งานวิจัยและงานสรางสรรคคอนขาง อาจารยที่มีวุฒิปริญญาโท มีภาระ งานสอนคอนขางนอย วิทยาลัยฯ ต่ํา เนื่องจากอาจารยที่ทําการสอน สวนใหญเปนอาจารยพิเศษ ซึ่งมีทั้ง จึงกําหนดสัดสวนภาระงานใหชัดเจน ขอดีและขอเสีย ในดานขอดีคือทําให และกําหนดแนวทางใหอาจารย นักศึกษาไดมีการเรียนรูที่หลากหลาย ผลิตผลงานวิจัยใหชัดเจนโดยอาจ ทั้งในดานวิชาการและการปฏิบัติ กําหนดจํานวนชิ้นงานตอปการศึกษา เนื่องจากอาจารยมีทั้งที่มาจาก เพื่อทดแทนภาระงานสอนของ ภาครัฐบาลและเอกชน สวนขอเสีย อาจารยที่มีภาระงานสอนนอย คืออาจารยที่มาจากภาคเอกชนจะให ความสนใจในดานงานวิจัยที่ตอง ตีพิมพหรือเผยแพรนอย 3. กําหนดทิศทางงานวิจัยและงาน สรางสรรคใหและสอดคลองกับความ ตองการของประเทศและนานาชาติ มากขึ้นและนําไปสูการปฏิบัติที่ เครงครัด รวมทั้งจัดใหมีการวิจัยเปน กลุมคณะ เพื่อเนนการทํางานเปนทีม ที่มีประสิทธิภาพ 4. จัดอบรมเพิ่มพูนทักษะเรื่อง งานวิจัยที่อยูในทิศทางของการ พัฒนาประเทศ พรอมทั้งสราง แรงจูงใจใหอาจารยผลิตผลงานวิจัย ที่มีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติ ใหมากขึ้น 1. ผลงานวิจัยและงานสรางสรรค ที่ไดรับการตีพิมพหรือนําไปใช ประโยชนมีนอย


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................75

จุดแข็ง

จุดที่ควรพัฒนา

แผนพัฒนาปรับปรุง 5. กําหนดนโยบายที่จะสงเสริม และสนับสนุนใหทุนการศึกษาแก นักศึกษา รวมถึงองคกรทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยกระตุนใหอาจารย และนักศึกษาสงโครงการวิจัยเพื่อ ขอรับทุนสนับสนุนการทําวิจัยจาก หนวยงานภายนอกที่มีทุนวิจัย เชน ทุนวิจัยของ สกว. / วช.และทุน บริษัทเอกชน

มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ 1. วิทยาลัยฯ มีฝายกิจกรรมสัมพันธ และฝกอบรมซึ่งมีหนาที่ในการจัด กิจกรรม อบรม และสัมมนาวิชาการให ผูที่สนใจเขารวมกิจกรรมอยางตอเนื่อง จึงสงผลใหกิจกรรมดานการบริการ วิชาการของวิทยาลัยฯ มีจํานวนมาก

1. มีขอจํากัดดานงบประมาณใน การจัดกิจกรรมโครงการบริการ วิชาการแกสังคม โดยไมเรียกเก็บ คาธรรมเนียม

1. ประชาสัมพันธขอมูลเกี่ยวกับ โครงการบริการวิชาการของ วิทยาลัยฯ แกประชาชนและบุคคลที่ สนใจ โดยเนนใหตรงกลุมเปาหมาย ใหมากขึ้นและกวางขวางขึ้น 2. สรางความรวมมือการบริการ วิชาการกับหนวยงานภายใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและกับ หนวยงานภายนอก และเครือขาย อุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อ เปนการใชทรัพยากรรวมกัน และให เกิดประโยชนสูงสุด

มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 1. วิทยาลัยฯ ไดใหความสําคัญตอ การดําเนินงานดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม โดยเห็นไดชัดเจนจาก รายวิชาที่เปดสอนในปการศึกษา 2549 โดยเฉพาะในหลักสูตรการบริหารงาน วัฒนธรรม และจํานวนกิจกรรมที่ สงเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

1. กิจกรรมดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมยังไมชัดเจน เพราะ สวนใหญเปนกิจกรรมที่อยูในรายวิชา การเรียนการสอนของวิทยาลัยอยู แลว

1. จัดสัมมนาวิชาการที่สงเสริม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประจําป และจัดอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ควรมีการนําผลการจัดงานมาสรุป เพื่อเปนแนวทางในปรับปรุงและ พัฒนาการจัดกิจกรรม อีกทั้งยังเปน ฐานในการพัฒนาองคความรูใหมๆ ตอไป 2. การประชาสัมพันธและจัด กิจกรรมรวมกับชุมชนใหกวางขวาง ขึ้น


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................76

จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 1. มีการฝกอบรมและสงเสริมบุคลากร ของวิทยาลัยฯ ใหเขาใจถึงการรักษา มาตรฐานการศึกษา

1. การพัฒนาความรูและทักษะ ใหกับบุคลากรยังไมตรงกับสายการ ปฏิบัติงานอยางแทจริง

แผนพัฒนาปรับปรุง

1. สนับสนุนและกระตุนให บุคลากรมีการพัฒนาความรูและ ทักษะในสายงานของตนเอง และ สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีใน การบริหารและจัดการ รวมทั้งการ ปลูกจิตสํานึกในการใหบริการแก อาจารย นักศึกษา และผูมารับการ บริการอยางตอเนื่อง 2. อัตราหมุนเวียนของพนักงานสูง 2. ควรวางแผนการพัฒนาบุคลากรให 2. มีการประชุมทั้งระดับผูบริหาร และ ทําใหสงผลตอระบบการพัฒนาไดไม ชัดเจนและเปนรูปธรรม และควรทํา ระดับปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาวิทยาลัยฯ ตอเนื่อง อยางตอเนื่อง อีกทั้งสรางแรงจูงใจใน อยางตอเนื่อง การทํางาน เพื่อลดอัตราการ หมุนเวียนของพนักงานที่สูง 3. ไมมีแผนพัฒนาบุคลากรที่ 3. พนักงานสวนใหญอยูในชวงอายุ 3. มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ ชัดเจน เฉลี่ย 25 -35 ป ซึ่งยังสามารถ การบริหารจัดการของวิทยาลัฯ เชน มี พัฒนาศักภาพไดอีก ดังนั้นควร ระบบ Intranet มีเครื่องมือดาน ผลักดันและสงเสริมใหพนักงานไดใช เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสะทอนภาพ ศักยภาพของตนเอง ความเปนนวัตกรรมอยางแทจริง อีกทั้ง กอใหเกิดความรวดเร็ว ถูกตอง ในการ บริหารจัดการองคกร 4. บุคลากรของวิทยาลัยฯ มี 4. มีระเบียบที่เอื้อตอการบริหาร จัดการที่ยืดหยุนและเปนอิสระจากระบบ จํานวนมากเมื่อเทียบกับคณะ ซึ่ง ราชการ ทําใหเกิดความคลองตัวในการ บุคลากรบางสวนไมมีคุณภาพและไม แสดงศักยภาพที่มีอยูอยางเทาที่ควร ทํางาน อีกทั้งยังไมมีระบบการบริหารจัดการ ที่เหมาะสม


รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................77

จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 1. มีความหลายหลายในวิชาการซึ่ง ทําใหนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได ตามความตองการ เชน มีวิชาเลือกให นักศึกษาเลือกไดตามความสนใจของแต ละคน 2. มีการปฐมนิเทศอาจารยผูสอนใน แตละภาคการศึกษา เพื่อใหอาจารย ผูสอนมีความเขาใจถึงกฎระเบียบ และ มาตรฐานการสอนของวิทยาลัย 3. มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ใหเขมแข็งและทันสมัยอยางตอเนื่อง

1. วิทยาลัยฯ ยังคงใชอาจารย พิเศษที่มีสัดสวนมากกวาอาจารย ประจํา

2. การสรรหาอาจารยประจําใน ระดับปริญญาเอก ยังไมเปนไปตาม เปาหมาย

มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ 1. การจัดเก็บขอมูลบางตัวบงชี้ยัง 1. วิทยาลัยฯ มีการแตงตั้งคณะกรรม ประกันคุณภาพของวิทยาลัยฯ อยางเปน ไมครบถวน และขาดระบบการ จัดเก็บขอมูลตัวบงชี้ที่มี ทางการ โดยมีการประชุมเพื่อวางแผน ประสิทธิภาพ จัดระบบการจัดเก็บขอมูลอยางชัดเจน 2. บุคลากรสวนใหญของ วิทยาลัยฯ ยังไมมีความเขาใจใน ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาปรับปรุง 1. รับอาจารยประจําเพิ่มมากขึ้นเพื่อ ลดภาระอาจารยพิเศษ โดยมีการสรรหา อาจารยประจําในระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับการจัดการเรียน การสอนในระดับปริญญาโท 2. พัฒนาอาจารยประจําที่มีอยู เพื่อเพิ่มศักยภาพในการสอนและ สรางผลงานวิชาการ 3. พัฒนาหลักสูตรที่มีอยูเดิมใหตรง กับการเปลี่ยนแปลงในสภาวะปจจุบัน และอนาคต รวมถึงสรางหลักสูตร ใหมที่มีความโดดเดนและสะทอนถึง พันธกิจของวิทยาลัยฯ เพื่อความตาง จากหลักสูตรที่มีอยูในทองตลาด 1. ควรปรับระบบการจัดเก็บขอมูล เปนระบบที่ชัดเจนและมี ประสิทธิภาพ 2. สงเสริมใหบุคลากรทุกคนมีสวน รวมและตระหนักในความรับผิดชอบ ในกิจกรรมดานประกันคุณภาพ การศึกษา โดยจัดสัมมนา เชิงปฏิบัติการเพื่อกระตุนใหบุคลากร เขาใจและเห็นความสําคัญ รวมถึงมี สวนรวมในการวางแผนและพัฒนา ตัวบงชี้ และควรจัดอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.