คู่มือการจัดเก็บข้อมูลตัวบ่งชี้คุณภาพ ประจำปีการศึกษา 2553

Page 1


คานา การประกันคุณภาพการศึกษาถือเป็นภารกิจหนึ่งที่สาคัญต่อการขับเคลื่อนวิทยาลัยให้ก้าวสู่การเป็นองค์กรแห่ง คุณภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รวมทั้งสอดรับกับนโยบายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในฐานะที่ วิทยาลัยเป็นหน่วยงานในกากับ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยนวัตกรรมนี้ ้​้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทารายงาน การประเมินตนเอง (Self Assessment Report) การติดตามและประเมินผลตัวบ่งชี้ในแต่ละองค์ประกอบจากฝ่ายต่างๆ ภายในวิทยาลัย ซึ่งจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องเข้าใจวิธีการจัดเก็บในการจัดเก็บตัวบ่งชี้ได้ดียิ่งขึ้น

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้

ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ้​้​้​้​้​้กุมภาพันธ์้2554


สารบัญ บทที่้1 ประวัติความเป็นมาของวิทยาลัย

หน้า 1

บทที่้2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้3

บทที่้3 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้4

บทที่้4 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามองค์ประกอบ

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้สกอ.้1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งชี้สมศ.้16 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา้ปณิธาน้พันธกิจ้และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบัน ตัวบ่งชี้สมศ.้17้ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้​้9 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้11 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้12

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้สกอ.้2.1 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.2 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.3 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.4 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.5 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.6 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.7 ตัวบ่งชี้สกอ.้2.8 ตัวบ่งชี้สมศ.้1 ตัวบ่งชี้สมศ. 2 ตัวบ่งชี้สมศ.้3 ตัวบ่งชี้สมศ.้4 ตัวบ่งชี้สมศ.้14 ตัวบ่งชีม้ ธ.้1 ตัวบ่งชีม้ ธ.้2้ ตัวบ่งชี้มธ.้3 ตัวบ่งชี้มธ.้4 ตัวบ่งชี้​้CITU 1

ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้13 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้15 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้17 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้19 ห้องสมุด้อุปกรณ์การศึกษา้และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้21 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้23 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้25 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้28 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน้1้ปี ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้29 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี้โทและเอก้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้29 ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้30 ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้33 การพัฒนาคณาจารย์ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้33 คะแนนเฉลี่ย้O-NET ของนักศึกษาใหม่ ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้34 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด้(ระดับปริญญาตรี) ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้34 ร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้35 ร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ภาระงานสอนที่มหาวิทยาลัยกาหนด ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้36 (4้วิชาต่อปีหรือเทียบเท่า) ร้อยละของบทความวิชาการหรือบทความวิจัยจากงานค้นคว้าอิสระที่ตีพิมพ์ต่อจานวนงานค้นคว้า้​้​้​้​้​้​้​้​้37 อิสระทั้งหมด


หน้า องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้สกอ.้3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ตัวบ่งชี้สกอ.้3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบ่งชีม้ ธ.้6 ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้สกอ.้4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้สกอ.้4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากกงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้สกอ.้4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ตัวบ่งชี้สมศ.้5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชีส้ มศ.้6้​้ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชีส้ มศ.้7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ตัวบ่งชี้​้CITU 2 ระดับความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ตัวบ่งชี้​้CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจัยไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้สกอ.้5.1้​้ ระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้สกอ.้5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ตัวบ่งชี้สมศ.้8 การนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน หรือการวิจัย ตัวบ่งชี้สมศ.้9 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ตัวบ่งชี้สมศ.้18 ผลการชี้นา้ป้องกัน้หรือแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ ตัวบ่งชีม้ ธ.้10 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้สกอ.้6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้สมศ.้10้ การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้สมศ.้11้ การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้38 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้40 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้42 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้43 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้45 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้47 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้48 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้53 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้55 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้57 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้58 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้59 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้60 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้61 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้62 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้63 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้64 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้65 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้67 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้69

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้สกอ.้7.1 ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.2 ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.3 ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.4 ตัวบ่งชี้สมศ.้12 ตัวบ่งชี้สมศ.้13

ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ระบบบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้70 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้72 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้73 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้75 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้77 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้78


หน้า องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชีส้ กอ.้8.1 ้ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

้​้​้​้​้​้​้​้​้​้79

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้สกอ.้9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้สมศ.้15้​้ ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

้​้​้​้​้​้​้​้81 ้​้​้​้​้​้​้​้​้​้83


บทที่ 1 ประวัติความเป็นมาของวิทยาลัย วิทยาลัยนวั ตกรรมเป็ นหน่วยงานในกากับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามมติสภามหาวิทยาลั ย เมื่อ วันที่ 30 มกราคม 2538 โดยมีสถานภาพเทียบเท่าคณะ สานัก หรือสถาบัน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531 แรกเริ่มใช้ ชื่อว่า “ศูนย์นวัตกรรมอุดมศึกษา” ต่อมาเพื่อต้องการให้เป็นรูปแบบใหม่ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยที่ปรับเปลี่ยนจากการจัดตั้งคณะ หรือภาควิชามาเป็นวิทยาลัย (College) จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา” เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2540 สาหรับในปี พ.ศ. 2551 สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีมติให้แก้ไขชื่อ “วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา” เป็น “วิทยาลัยนวัตกรรม” และเปลี่ยนชื่อ ตาแหน่งผู้รับผิดชอบการบริหารงานวิทยาลัยจาก “ผู้อานวยการ” เป็น “คณบดี” เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 วิทยาลัยมุ่งเน้น จัดการเรียนการสอนระดับบั ณฑิตศึกษาในลั กษณะสหสาขาวิ ชาซึ่งมี การผสานศาสตร์จากหลากหลายองค์ ความรู้เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักสูตรที่สมบูรณ์และสมดุลตอบสนองกับการพัฒนาของสังคมไทยในระดับสากล โดยมุ่งมั่นที่จะเป็น ผู้นาด้านการเรียนรู้ และเป็นสถาบันที่มีมาตรฐานการเรียนการสอนและมีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ภายใต้วิสัยทัศน์ „ องค์กรที่มีอัตลักษณ์ในทางวิชาการ สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมทางความคิดบนพื้นฐานของงานวิจัยและการทดลอง เพื่อ ก้าวสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ รวมทั้งผลักดันการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในวงกว้าง „ มุ่ง เน้นการผสมผสานศาสตร์ให้เ กิดบูรณาการทบทวีในสาขาการบริ หารเทคโนโลยี บริหารงานวั ฒนธรรม นวัตกรรมการ บริการ และสาขาอื่นๆ ตลอดจนเป็นองค์กรที่สามารถประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกวิทยาลัย เพื่อเพิ่มศักยภาพ และพัฒนานักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรของวิทยาลัยให้สามารถเติมเต็มศักยภาพของตนอย่างต่อเนื่อง „ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและการบริหารจัดการของวิทยาลัย „ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล ปีการศึกษา 2553 วิ ทยาลัยจัดการเรียนการสอน 5 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรวิท ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร เทคโนโลยี (ท่าพระจัน ทร์และศูนย์ พัทยา) หลักสูตรศิ ลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ชาการบริหารงานวัฒนธรรม และหลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบั ณฑิตสาขาวิ ชานวั ตกรรมการบริ การ (ท่ า พระจั นทร์ แ ละศู นย์ พั ท ยา) จั ดระบบการเรียนการสอนโดยใช้ ทั้ ง ทฤษฎี แ ละ กรณีศึกษาโดยเน้นแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ ส่งเสริมให้มีการสร้างสรรค์นวัตกรรมในการบริหารและการทางาน และให้สอดคล้องกับ สภาพสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาเทคโนโลยี ข้อจากัดของทรัพยากร การเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อชุมชนและสังคมไทย บัณฑิตของวิทยาลัยจะต้องสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้รองรับ ตอบสนอง และ บริหารความเปลี่ยนแปลงนั้น ได้ทั้งในมิติของการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาและนาองค์กร รวมทั้ งการพัฒนาและร่วมนาสังคมไทย โดยรวม นอกจากนี้วิทยาลัยยังได้ทาหน้าที่บริหารจัดการอุทยานการเรียนรู้ (Learning Resort) ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา ตั้งอยู่ที่ตาบลโป่ง อาเภอบางละมุ ง จังหวัดชลบุรี ซึ่งได้กาหนดให้เป็ นศูนย์การศึกษาภายใต้บ รรยากาศความร่ มรื่นและ สะดวกสบาย ประกอบด้วยห้องประชุมและห้องสัมมนาที่ทันสมัย รองรับการประชุมและการสัมมนาได้มากกว่าครั้งละ 300 คน ห้อง คอมพิวเตอร์ ห้องพักมาตรฐานจานวน 75 ห้อง พร้อมด้วยกลุ่มอาคารเรือนรับรองอีกจานวน 4 หลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อสนองตอบต่อ นโยบายของมหาวิ ทยาลั ยในการขยายโอกาสทางการศึ กษาสู่ภู มิ ภาค โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ในเขตการพัฒ นาเศรษฐกิ จ ชายฝั่ ง ทะเล ตะวันออกที่เป็นแหล่งของการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ซึ่งเป็นพื้นที่สาคัญที่มีความต้องการในการพัฒนากาลังคนมาก ที่สุดของประเทศ

1

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


วิสัยทัศน์ของวิทยาลัย วิทยาลัยนวัตกรรม เป็นองค์กรที่มีบทบาทสาคัญในการสร้างนวัตกรรมทางวิชาการ พื้นฐานงานวิจัย การทดลอง และรวบรวม รูปแบบในการเรียนรู้ ให้การสนับสนุนความรู้ เป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการ มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล และเอื้อต่อการ ทางานวิชาการให้สัมฤทธิผลต่อสังคม มหาวิทยาลัย เครือข่ายรัฐและทุกภาคส่วน วิทยาลัยนวัตกรรม ท่าพระจันทร์

วิทยาลัยนวัตกรรม ศูนย์พัทยา

2

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


บทที่ 2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย นวั ต กรรม มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ เ ป็ น ไปตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 วิทยาลัยนวัตกรรมจึงได้กาหนดนโยบายการประกัน คุณภาพการศึกษา ดังนี้ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาและเป็นภารกิจขององค์กร 2. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลคุณภาพภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และสามารถนาผลย้อนกลับมาปรับปรุงหรือ พัฒนาการปฏิบัติงานได้ 3. พัฒนาระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 4. พร้อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากองค์กรภายนอกทุก 5 ปี แนวทางดาเนินงานตามนโยบาย เพื่อให้การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรมเป็นไปตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา จึงได้แนวทางปฏิบัติดังนี้ 1. ให้ทุกฝ่ายในวิทยาลัยนวัตกรรมมีส่วนร่วมในระบบประกันคุณภาพการศึกษาตามภารกิจที่ตนรับผิดชอบ เพื่อตอบสนองต่อ วิสัยทัศน์ นโยบายและตัวชี้วดั ของวิทยาลัย 2. ให้ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ทาหน้าที่ในการพัฒนาระบบและกลไกในการประกันคุณภาพของวิทยาลัย ให้สอดคล้องกับ บริบทของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ ตลอดจนการส่งเสริมและสร้ างความเข้ าใจความรู้ การประกัน คุณภาพการศึกษาแก่คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา รวมทั้งการติดตามผลผลการดาเนินงานของฝ่ายต่างๆ ตามตัวชีว้ ดั ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กาหนด 3. ให้ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ จัดทารายงานการประเมินตนเองของวิทยาลัยนวัตกรรมและพร้อมรับการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปีละ 1 ครัง้ รวมทั้งพร้อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากองค์กรภายนอกทุก 5 ปี 4. ให้มีคณะกรรมการดาเนินการด้านประกันคุณภาพระดับคณะฯ ทาหน้าที่ดาเนินการในการประกันคุณภาพระดับคณะฯ และ นาผลการประเมินคุณภาพที่ได้กลับมาใช้ในการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงระบบการทางานต่อไป

3

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


บทที่ 3 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม ได้ กาหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการจัดการศึกษาให้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยจั ดให้ มี ระบบและกลไกการประกั น คุ ณภาพการศึ กษาที่ เ น้ น องค์ ป ระกอบสาคั ญตามที่ สกอ. สมศ. และ มหาวิ ท ยาลั ยธรรมศาสตร์ กาหนด ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ บุคลากรของวิ ทยาลั ยได้ เ ข้ า ใจการประกั น คุ ณภาพการศึ กษาในทิ ศทางเดี ยวกั น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กาหนดความหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ ในมาตรา 4 ดังนี้ การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสื บ สนทางวัฒ นธรรม การสร้ า งสรรค์ จรรโลงความก้ า วหน้ า ทางวิ ช าการ การสร้ า งองค์ ความรู้อั น เกิดจากการจั ด สภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มาตรฐานการศึกษา หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้ น ในสถาบันการศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการ ประกันคุณภาพทางการศึกษา การประกันคุณภาพภายใน หมายความว่า การประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง การประกันคุณภาพภายนอก หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ วิทยาลัยฯจากองค์กรภายนอก (สมศ.) เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยฯ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม ได้ใช้รูปแบบของทฤษฎีระบบมาพัฒนาเป็นกรอบคิดในการอธิบาย กระบวนการผลิตผลลัพธ์ ได้แก่ บัณฑิต ผลงานวิจัย การบริการวิชาการ และอื่นๆ โดยพิจารณาถึง ปัจจัยนาเข้า (Input) ปัจจัยด้าน กระบวนการ (Process) และปัจจัยด้านผลลัพธ์ (Output) รวมทั้งให้มีการดาเนินการเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) อันจะนาไปสู่ การพัฒนา ซึ่งวงจรที่ใช้ในกระบวนของการดาเนินการจะเน้นให้มีการวางแผน (Plan) การดาเนินการ (Do) การตรวจสอบและประเมิน (Check) และการนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข (Act) โดยกาหนดเป็นแผนภาพดังนี้ แผนภาพที่ 1 ระบบประกันคุณภาพ

4

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


โดยระบบการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับระบบการประกันคุณภาพ อันเป็นการดาเนินการตามทฤษฎีระบบ มีรายละเอียดของ การดาเนินการตามองค์ประกอบดังนี้ 1. ปัจจัยนาเข้า (Input) 1.1 ระบบการรับเเละการคัดเลือกนักศึกษา 1.2 ระบบการสรรหาคัดเลือกอาจารย์และพัฒนาบุคลากร 1.3 ระบบการสรรหา การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ห้องสมุด เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.4 ระบบการจัดสรรงบประมาณ 1.5 ระบบการสร้างเเละพัฒนาหลักสูตร 2. ปัจจัยด้านกระบวนการ (Process) 2.1 ระบบการจัดเเละพัฒนาการเรียนการสอน 2.2 ระบบการบริหารหลักสูตร 2.3 ระบบการวัดเเละประเมินผลการศึกษา 2.4 ระบบการบริหารวิชาการ 2.5 ระบบวางเเผนเพื่อการพัฒนา 2.6 ระบบการให้บริการเเละพัฒนาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.7 ระบบการพัฒนางานวิจัย เเละบริการวิชาการ 2.8 ระบบการจัดเเละการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา 2.9 ระบบการบริการวิชาการเเก่สังคม 2.10 ระบบบริการห้องสมุดเเละฐานข้อมูลวิชาการและการบริหาร 2.11 ระบบบริหารการเงินเเละบัญชี 2.12 ระบบสวัสดิการบุคลากร 3. ปัจจัยด้านผลลัพธ์ (Output) 3.1 คุณภาพบัณฑิตที่พึงประสงค์ 3.2 คุณภาพและปริมาณงานวิจัย 3.3 คุณภาพและปริมาณงานบริการสังคม 3.4 ผลงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 4. ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) 4.1 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต / ผู้ใช้บริการ ทั้ ง นี้ วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรมใช้ ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา 9 องค์ ป ระกอบ ตามเกณฑ์ ที่ ส กอ. สมศ. และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กาหนด ซึ่งครอบคลุมพันธกิจที่สาคัญของวิทยาลัยฯ ดังนี้

5

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


พันธกิจ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ ด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ด้านการบริหาร

ด้านการประกันคุณภาพ รวม

องค์ประกอบ 2 การผลิตบัณฑิต 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4 การวิจัย 5 การบริการวิชาการแก่สังคม 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดาเนินการ 7 การบริหารและการจัดการ 8 การเงินและงบประมาณ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9 องค์ประกอบ

จานวนตัวบ่งชี้ 18 3 8 6 3 3 7 1 2 51

กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา กลไกในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรม ประกอบด้วย การกาหนดโครงสร้างองค์กร และ คณะกรรมการทาหน้าที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ กาหนดมาตรฐาน และกิจกรรมการประกันคุณภาพ ตลอดจนดาเนินการติตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการและหน่วยงานในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย 2. จัดทาคู่มือการประกันคุณภาพ 3. กาหนดให้การประกันคุณภาพเป็นภาระหนึ่งของฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ให้ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาให้แก่บุคลากรและนักศึกษา 5. ดาเนินการให้มีระบบการติดตามผลการดาเนินงานของแต่ละฝ่าย และให้แต่ละฝ่ ายจัดทารายงานแต่ละตัวบ่งชี้ พร้อ ม หลักฐาน 6. รวบรวมผลการดาเนิ น งานของแต่ ละฝ่ า ยและจั ด ท ารายงานประเมิ น ตนเองเสนอต่ อ ฝ่ า ยวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพภายใน

6

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


แผนภาพที่ 2 โครงสร้างการบริหารงานประกันคุณภาพของวิทยาลัย

แผนภาพที่ 3 กลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย นโยบายประกันคุณภาพการศึกษา

การปฏิบัติตามภารกิจด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (9 องค์ประกอบ) 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนินงาน 2. การผลิตบัณฑิต 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4. การวิจัย 5. การบริการทางวิชาการแก่สังคม 6. การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 7. การบริหารและการจัดการ 8. การเงินและงบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การตรวจสอบคุณภาพภายใน

เพื่อปรับปรุงคุณภาพ

เพื่อปรับปรุงคุณภาพ

ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินคุณภาพ

การจัดทารายงานการประเมินตนเอง การตรวจสอบคุณภาพภายนอก

7

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


แผนภาพที่ 4 ขั้นตอนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัย

8

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


บทที่ 4 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามองค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้สกอ. 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของบุ ค ลากรในสถาบั น และได้ รั บ ความ เห็ นชอบของสภาสถาบั น โดยเป็ นแผนที่ เ ชื่อ มโยงกับ ปรัช ญา หรือ ปณิ ธานและพระราชบั ญญั ติสถาบัน ตลอดจนสอดคล้อ ง กับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบั บ ที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) และแผนพั ฒ นาการศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2551-2554)

2

3

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. มี ก ารก าหนดปรั ช ญาหรื อ ปณิ ธ านของสถาบั น หาก สถาบันได้กาหนดปรัชญาหรือปณิธานอยู่แล้วควรทบทวน ว่าปรัชญาหรือปณิธานยังมีความเหมาะสมกับสภาพการณ์ ในปั จ จุ บั น ของสถาบั น หรื อ ไม่ และผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งได้ ทราบโดยทั่วกัน 2. หากต้ อ งปรับ แก้ป รั ชญาหรื อ ปณิธ านของสถาบั นตาม สภาพการณ์ ที่ เ ปลี่ ยนไปควรเป็น การกาหนดปรั ช ญาหรื อ ปณิธานร่วมกันทั้งผู้บริหาร อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็น ที่ยอมรับของทุกฝ่าย 3. มีการพั ฒนาแผนกลยุ ทธ์ ให้สอดคล้ องกับปรัช ญาหรื อ ปณิ ธ านและนโยบายของสภาสถาบั น พระราชบั ญญั ติ สถาบัน จุดเน้นของสถาบัน และแผนอุดมศึกษาระยะยาว 4. มี การจั ดตั้ ง คณะกรรมการจั ดท าแผนกลยุ ท ธ์ เพื่ อ น า สถาบันไปสู่ความสาเร็จที่พึงประสงค์ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และวัตถุประสงค์ มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่หน่วยงานภายใน 1. มีการชี้แจงให้ผู้บริหารภายในทราบถึงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และเป้าหมายของกลยุทธ์ 2. มีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และมีการมอบหมายอย่างเป็นทางการ มีกระบวนการแปลงแผนกลยุ ทธ์ เ ป็น แผนปฏิ บัติการประจ าปี 1. มี การจั ดท าแผนที่ กลยุ ท ธ์ เพื่ อ ช่ ว ยในการแปลงแผน ครบ 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ กลยุทธ์ไปสู่แผนปฏิบัติการ ทางวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. มีการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแผนกลยุทธ์กับ แผนปฏิบัติการ คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการ ทางวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม

9

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 4

5 6

7

8

เกณฑ์มาตรฐาน มีตัวบ่งชี้แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และค่าเป้าหมาย ของแต่ ละตัวบ่ งชี้ เพื่อ วัดความสาเร็จของการดาเนิ นงานตาม แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีครบ 4 พันธกิจ

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. มีการจัดทาตัวบ่งชี้ เป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ 1. มีการส่งเสริมให้ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ดาเนินงาน ตามตัวบ่งชี้ร่วมกัน ควรจัดทาปฏิทินการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน

มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการ ประจาปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อ พิจารณา มีการประเมิ นผลการดาเนิน งานตามตั วบ่ ง ชี้ ของแผนกลยุ ท ธ์ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และรายงานต่อผู้บริหารและสภาสถาบัน เพื่อพิจารณา มีการนาผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของสภา สถาบันไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี

มี ก ารพั ฒ นาระบบการติ ด ตามการด าเนิ น งานตาม แผนปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

10

มีการประเมินผลการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์

1. มี ก าร มอ บ ห มา ยผู้ รั บ ผิ ด ชอ บ ด าเ นิ น ง า น ต า ม ข้ อ เ สน อ แ น ะ ที่ ไ ด้ รั บ แ ล ะ จั ด ท าการ ป รั บ ป รุ ง ตา ม ข้อเสนอแนะ 2. มี การน าแผนกลยุ ท ธ์ แ ละแผนปฏิ บั ติการที่ ไ ด้ รับ การ ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 หรือ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 8 ข้อ

ปีงบประมาณ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 16 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบัน ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีการก าหนดกลยุ ทธ์ การปฏิ บัติงานที่สอดคล้ องกั บอั ตลั กษณ์ 1. ปรั ช ญา ปณิ ธ าน พั น ธกิ จ และวั ตถุ ป ระสงค์ ข องการ ปรั ช ญา ปณิ ธ าน พั น ธกิ จ และวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการจั ด ตั้ ง จั ด ตั้ ง วิ ท ยาลั ย รวมทั้ ง แผนกลยุ ท ธ์ แ ละแผนปฏิ บั ติง าน สถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบัน ป ร ะ จ า ปี ข อ ง วิ ท ย า ลั ย ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก คณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย 2. แผนพั ฒนาคุ ณภาพของวิ ทยาลั ยในด้ านต่า งๆ ที่ ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย 2 มีการสร้างระบบการมีส่ว นร่วมของผู้ เรียนและบุคลากรในการ 1. ผู้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรของหน่ ว ยงานร่ ว มกั น จั ด ท า ปฏิ บั ติ ตามกลยุ ท ธ์ ที่ กาหนดอย่า งครบถ้ วนสมบู รณ์ ให้ ความ นโยบายและแผนการดาเนินงานของวิทยาลัย ร่วมมือในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 2. การจัดประชุม/การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่แผนกลยุทธ์ ที่เ กี่ ยวข้ อ งให้ แ ก่ ผู้เ รี ยนและบุ คลากรรั บ ทราบ รวมทั้ ง ให้ ความร่วมมือในการปฏิบัติ 3 มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถาบันอุดมศึกษา รายงานประเมิ น ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากรต่ อ การ โดยอยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ 4 ผลการด าเนิ น งานบรรลุ ตามปรั ช ญา ปณิ ธ าน พั น ธกิ จ และ รายงานผลการปฏิ บั ติง านประจาปีที่ ไ ด้รับความเห็ นชอบ วัตถุประสงค์การจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาและเกิดผลกระทบที่ จากคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย ซึ่งแสดงให้เห็นถึ ง เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม ผลการด าเนิ น งานและผลส าเร็ จ ของการด าเนิ น งานที่ สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ และพันธกิจของวิทยาลัย 5 ผู้เ รี ยนมี คุณลั กษณะที่ สะท้ อ นถึง อั ตลั กษณ์ ปรั ช ญา ปณิ ธ าน หลั กฐานการได้ รับ การยอมรั บ การได้รับ รางวั ล หรื อ การ พัน ธกิ จ และวั ตถุป ระสงค์ ของการจั ดตั้ง สถาบัน อุดมศึกษาจน ได้รับ การยกย่องว่าเป็ นแบบอย่างในการปฏิบั ติที่ดีใ นการ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ ขับเคลื่อนอัตลักษณ์ เช่น โล่ รางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ เกียรติบัตร หนังสือเชิดชูเกียรติ เป็นต้น เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

11

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มี ก ารก าหนดกลยุ ท ธ์ ก ารปฏิ บั ติ ง านที่ ส อดคล้ อ งกั บ จุ ด เน้ น 1. เอ กสารหลั กฐาน ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง กา รก าห น ด จุดเด่น หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน โดยได้ รับ การ เอกลักษณ์ จุดเน้น หรือจุดเด่นของวิทยาลัย เห็นชอบจากสภาสถาบัน 2. แผนกลยุ ท ธ์ แผนการปฏิ บั ติ ง านประจ าปี รวมทั้ ง แผนพัฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับเอกลักษณ์ จุดเน้น หรือ จุ ด เ ด่ น ข อ ง วิ ท ย า ลั ย ที่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก คณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย 2 มีการสร้างระบบการมีส่ว นร่วมของผู้ เรียนและบุคลากรในการ 1. ผู้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรของหน่ ว ยงานร่ ว มกั น จั ด ท า ปฏิ บั ติ ตามกลยุ ท ธ์ ที่ กาหนดอย่า งครบถ้ วนสมบู รณ์ ให้ ความ นโยบายและแผนการดาเนินงานของวิทยาลัย ร่วมมือในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 2. การจัดประชุม/การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่แผนกลยุทธ์ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งให้ แ ก่ ผู้เ รี ยนและบุ คลากรรั บ ทราบ รวมทั้ ง ให้ ความร่วมมือในการปฏิบัติ 3 มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถาบันอุดมศึกษา รายงานประเมิ น ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากรต่ อ การ โดยอยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ 4 ผลการดาเนินงานบรรลุตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญ รายงานผลการปฏิ บั ติง านประจาปีที่ ไ ด้รับความเห็ นชอบ เฉพาะของสถาบันและเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้า ง จากคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย ซึ่งแสดงให้เห็นถึ ง คุณค่าต่อสังคม ผลการดาเนิ น งานและผลสาเร็ จ ของการดาเนิ น งานตาม เอกลั กษณ์ จุ ดเน้ น หรื อ จุ ด เด่ น ของวิ ท ยาลั ยที่ ไ ด้ รับ การ ยอมรับ 5 สถาบั นมี เอกลั กษณ์ตามจุ ดเน้น จุ ดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญ เอกสารหลักฐานการได้รับ การยอมรั บ การได้รางวั ล หรื อ เฉพาะที่ ก าหนด และได้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ ชาติ ห รื อ การได้รับการยกย่องว่าเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติที่ดี เช่น นานาชาติ โล่รางวั ล ใบประกาศเกียรติคุณ เกียรติบัตร หนัง สือเชิดชู เกียรติ เป็นต้น เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

12

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตาม 1. การกาหนดขั้นตอนดาเนินการในการเปิดหลักสูตรใหม่ แนวทางปฏิ บั ติ ที่ ก าหนดโดยคณะกรรมการอุ ด มศึ ก ษาและ 2. มีรายงานการศึ กษาความต้ องการของตลาดในการเปิ ด ดาเนินการตามระบบที่กาหนด หลักสูตร 3. มีรายงานการศึกษาความก้าวหน้าของหลักสูตรและความ คิดเห็นจากผู้ใช้บัณฑิต (สาหรับการปรับปรุงหลักสูตร) 4. มีการปรับปรุงหลักสูตรตามที่สภาสถาบันกาหนด 5. มี ก ารเสนอหลั ก สู ต รใหม่ / หลั ก สู ต รที่ ป รั บ ปรุ ง แล้ ว ต่ อ ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาภายใน 30 วั น หลังจากสภาสถาบันอนุมัติ 2 มีร ะบบและกลไกการปิดหลั กสูตรตามแนวทางปฏิบั ติ ที่ กาหนด 1. การกาหนดขั้นตอนดาเนินการในการปิดหลักสูตร โดยคณะกรรมการอุดมศึกษาและดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. เมื่อหลักสูตรใดเข้าเกณฑ์ของการปิดหลักสูตรให้เสนอต่อ สภาสถาบันเพื่ออนุมัติ และแจ้งต่อสานักงานคณะ กรรมการ การอุดมศึกษาภายใน 30 วันหลังจากสภาสถาบันอนุมัติ 3 ทุ ก หลั ก สู ต รมี ก ารด าเนิ น งานให้ เ ป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 1. หลักสูตรที่เปิดสอนต้องเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร หลั กสู ตร ร ะ ดั บ อุ ดม ศึ กษ าแล ะ กร อ บ ม าตร ฐาน คุ ณ วุ ฒิ 2. มี ก ารด าเนิ น งานตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ ระดั บ อุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (ส าหรั บ หลั กสู ตรเก่ า หรื อ หลั กสู ต ร อุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) ปรั บ ปรุ ง ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ด าเนิ น การตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ หมายเหตุ มี การประเมิ น ผลการดาเนิ น งานตามที่ เสนอใน ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติก่อนปีการศึกษา 2555 ให้ยึดตามเกณฑ์ เอกสารขอเปิดหลักสูตร มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548) 4 มีคณะกรรมการรั บผิ ดชอบควบคุมกากั บ ให้ มีการดาเนิน การได้ 1. สร้างกลไกกากับดูแลให้ทุกหลักสูตรดาเนินงานตามเกณฑ์ ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา มาตรฐานและกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่ แห่งชาติ กาหนดในเกณฑ์ มาตรฐานหลัก สู ตร (กรณีหลักสู ตรที่ดาเนินงาน 2. มีการประเมินผลการดาเนินงานทุกหลักสูตรตามตัวบ่งชี้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา จะต้องกากับให้การ และเกณฑ์ที่กาหนดทุกปีการศึกษา (มคอ.7) ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรก 2. มีการกาหนดระบบการรายงานผลการดาเนินงานตามตัว และอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กาหนดในแต่ละหลักสูตร บ่งชี้ของแต่ละหลักสูตร และทุกหลักสูตร)

13

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 5

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มีกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนินการได้ครบถ้วน ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลที่ได้จากข้อ 4 ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมี พร้อมระบุจุดอ่อนและจุดแข็ง การพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ 4 กรณี หลักสูตรที่ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การดาเนินงานตาม ตัวบ่งชี้ใน ข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม ง 7 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท ระบุจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในแผน ก เฉพาะแผน ก) มีจานวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจานวนหลักสูตร ทั้งหมดทุกระดับการศึกษา 8 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท แผน ก) มีจานวนนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตรมากกว่าร้อยละ 30 ของจานวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา

หมายเหตุ: 1. การนั บ หลั กสู ตรปริ ญญาโทแผน ก และปริญญาเอก ให้ นั บหลั กสู ตรที่ มีนั กศึ กษาลงทะเบี ยนเรียนในรอบปี การศึ กษาที่ ท าการ ประเมิน สาหรับการนับหลักสูตรทั้งหมดให้นับหลักสูตรที่ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนทุกระดับปริญญา โดยนับรวมหลักสูตรที่งดรับนักศึกษา แต่ไม่นับหลักสูตรที่สภาสถาบันอนุมัติให้ปิดดาเนินการแล้ว 2. การนับจานวนนักศึกษาให้นับตามจานวนนักศึกษาเต็ มเวลาเทียบเท่า (FTES) ให้นับตามจานวนหัวนักศึกษาในปีการศึกษานั้นๆ และนับทั้งนักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษ ทั้งในที่ตั้งและนอกที่ตั้ง 3. คณะกรรมการรับผิดชอบ หมายถึง คณะกรรมการที่รับผิดชอบในการเสนอหลักสูตรใหม่หรือเสนอปรับปรุงหลักสูตร หรือเสนอปิด หลักสูตร และคณะกรรมการที่รับผิดชอบบริหารหลักสูตรให้เป็นไปตามรายละเอียดหลักสูตรที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ซึ่งอาจเป็นชุด เดียวกันทั้งหมดหรือต่างชุดก็ได้ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

14

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ หรือ 5 ข้อ

คะแนน 5 มี การดาเนิ น การครบ 5 ข้อตามเกณฑ์ทั่วไปและ คร บ ถ้ วน ต า มเ ก ณ ฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน สถาบันสามารถเลือกใช้เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้ 1) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา = ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มี คุณวุฒิปริญญาเอกในปีที่ประเมิน ลบด้วย ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกในปีก่อนหน้าปีที่ประเมิน 2) แปลงค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับ คะแนนเต็ม 5 เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ง 1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป สูตรการคานวณ: 1. คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีวุฒิปริญญาเอก จานวนอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก = x 100 จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อที่ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก คะแนนที่ได้ = x5 ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 หรือ 1. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา = ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มี คุณวุฒิปริญญาเอกในปีที่ประเมิน ลบด้วย ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกในปีก่อนหน้าปีที่ประเมิน 2. แปลงค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับ คะแนนเต็ม 5 ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา คะแนนที่ได้ = x5 ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่าน มาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: สามารถเลือกใช้เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทาง ต่อไปนี้ 1. ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ 2. ค่าการเพิ่มขึ้น ของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิป ริญญาเอกเปรียบเทียบกับปี ที่ผ่านมาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป 15

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

ปีการศึกษา ฝ่ายบุคคล

หมายเหตุ: 1. คุณวุฒิปริญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสาเร็จการศึกษาภายในรอบปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ อาจใช้คุณวุฒิอื่นแทนคุณวุฒิปริญญา เอกได้สาหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพ มีคุณวุฒิอื่นที่เหมาะสมกว่า ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 3. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑ์การประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเลือกเหมือนกับมหาวิทยาลัย

16

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน สถาบันสามารถเลือกใช้เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้ 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 หรือ 2) แปลงค่าการการเพิ่มขึ้นของค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ง 1) ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ดารงตาแหน่งผู้ช่ว ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกั น ที่กาหนดให้เป็ น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรือ 2) ค่า การเพิ่ม ขึ้น ของร้ อยละของอาจารย์ป ระจาที่ดารงตาแหน่ งผู้ ช่ว ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ แ ละศาสตราจารย์รวมกั น เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป สูตรการคานวณ: 1. คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ จานวนอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ = x 100 จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อที่ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ คะแนนที่ได้ = x5 ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 หรือ 1. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา = ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการในปีที่ประเมิน ลบด้วย ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการในปีก่อนหน้าปีที่ประเมิน 2. แปลงค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา คะแนนที่ได้ = x5 ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่าน มาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: สามารถเลือกใช้เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทาง ต่อไปนี้ 1. ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งรองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกันที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรือ 2. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งรองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกัน เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ที่กาหนดให้เป็นเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป 17

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

ปีการศึกษา ฝ่ายบุคคล

หมายเหตุ: 1. การนับจานวนอาจารย์ประจาให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 2. คณะสามารถเลือกประเมินตามเกณฑ์การประเมินแนวทางใดแนวทางหนึ่งก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเลือกเหมือนกับมหาวิทยาลัย

18

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มี แ ผนการบริ ห ารและการพั ฒ นาคณาจารย์ ทั้ ง ด้ า นวิ ช าการ เทคนิ ค การสอน และการวั ด ผล และมี แ ผนการบริ ห ารและ พั ฒ นาบุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ที่ มี ก ารวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจักษ์

2

มี ก ารบริ ห ารและการพั ฒ นาคณาจารย์ แ ละบุ ค ลากรสาย สนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด

3

มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้ คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

4

มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนา ความรู้และทักษะที่ได้จ ากการพัฒ นามาใช้ในการจั ดการเรียน การสอนและการวัดผลการเรี ยนรู้ ของนักศึกษา ตลอดจนการ ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

19

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. ข้อมูลอัตรากาลังของอาจารย์และบุคลากรปัจจุบัน และ ความต้อ งการในอนาคต (5 ปี ข้ างหน้ า) เพื่อ ปฏิ บัติง าน ตามแผนยุทธศาสตร์ 2. ข้ อ มู ล การส ารวจความต้ อ งการในการอบรมของ บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 3. ข้อ มู ลผลการปฏิ บั ติง านและผลพัฒ นาความก้ าวหน้ า ตามสายงาน 4. ข้อมูลวิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็งด้านทรัพยากรมนุษย์ 1. มีการสรรหา คัดเลือกบุคลากรอย่างเป็นระบบ โปร่งใส และกาหนดแนวปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร 2. มี การวิ เ คราะห์ ง าน (job analysis) โดยกาหนดค า อธิ บ ายลั ก ษณะงาน (job description) การก าหนด คุณลักษณะเฉพาะตาแหน่งและความสามารถที่จาเป็นใน การปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจในงานของ ตน 3. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานในรูปแบบที่ชัดเจน 4. มีการพัฒ นาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนั บสนุน ให้ เป็นไปตามแผนและเส้นทางของตาแหน่งงาน หลักฐานสาหรับการประเมินในเกณฑ์มาตรฐาน เช่น ผล การประเมิ น หรื อ ผลการส ารวจความพึ ง พอใจของ คณาจารย์แ ละบุคลากร ด้า นสวั สดิ การ การเสริ มสร้ า ง สุขภาพที่ดี และการสร้างขวัญและกาลังใจ หรือหลักฐาน เชิงประจักษ์อื่นๆ ที่เชื่อมโยงให้เห็นการทางานได้ดีขึ้น มีการกาหนดการติดตามเพื่อให้ ทราบว่าบุ คลากรที่เ ข้ารั บ การอบรมได้นาความรู้นั้นมาให้ในการปฏิบัติงานได้จริง

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 5

6 7

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มี ก ารให้ ความรู้ ด้ า นจรรยาบรรณอาจารย์ แ ละบุ คลากรสาย 1. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณ และกิจกรรมที่ส่งเสริม สนั บ สนุ น และดู แ ลควบคุ ม ให้ ค ณาจารย์ แ ละบุ ค ลากรสาย จรรยาบรรณแก่บุคลากร สนับสนุนถือปฏิบัติ 2. มี การติ ดตามผลการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาตนเองของ บุคลากรอย่างต่อเนื่อง มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนา มีการประเมิน ผลการปฏิ บัติงานตามกิจ กรรมที่กาหนดใน คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน แผนงาน มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหาร 1. น าผลการประเมิ น จากแผนงานไปปรั บ ปรุ ง แผนการ และการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน บริหารและพัฒนาบุคลากร 2. ดาเนินการตามแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากร 3. มี ก ารส ารวจความต้ อ งการและความพึ ง พอใจของ บุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

20

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบุคคล

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES 2 มีการบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิว เตอร์ และมี การฝึ กอบรมการใช้ งานแก่ นั กศึ กษาทุ กปี การศึกษา 3 มีบริการด้า นกายภาพที่ เหมาะสมต่อการจัดการเรี ยนการสอน และ การพั ฒ น านั กศึ กษ า อ ย่ างน้ อ ยใ น ด้ าน ห้ อ งเ รี ยน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษาและจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ในระบบไร้สาย 4 มีบริการสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้าน งานทะเบี ยนนั กศึ กษาผ่ า นระบบเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ การ บริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการ ด้านอาหารและสนามกีฬา 5 มี ระบบสาธารณู ป โภคและรั ก ษาความปลอดภั ยของอาคาร ตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบ ก าจั ด ของเสี ย การจั ดการขยะ รวมทั้ ง มี ร ะบบและอุ ป กรณ์ ป้องกัน อัคคีภั ยในบริเ วณอาคารต่ างๆ เป็ นไปตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง 6 มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2-5 ทุกข้อไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7 มีการนาผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็นข้อมูลในการ พัฒ นาการจั ดบริ การด้ า นกายภาพที่ สนองความต้อ งการของ ผูร้ ับบริการ เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

21

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ รายงานสรุ ป จ านวนคอมพิ ว เตอร์ ที่ จั ด ไว้ บ ริ การสาหรั บ นักศึกษา รายงานสรุปการบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่าน ระบบเครื อข่า ยคอมพิว เตอร์ รวมทั้ งรายงานการฝึกอบรม การใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา 1. ภาพถ่ายห้องเรียน อุปกรณ์การศึกษา ห้องคอมพิวเตอร์ และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย 2. รายงานสรุปจานวนคอมพิวเตอร์ที่จัดไว้บริการสาหรั บ นักศึกษา ภาพถ่ายสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอื่นๆ อย่างน้อยใน ด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

รายงานสรุ ป การบริ การระบบสาธารณู ป โภคและรั ก ษา ความปลอดภัยของอาคาร อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกาจั ดของเสี ย การจั ดการขยะ รวมทั้ ง มี ระบบและ อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่างๆ รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพของบริการ รายงานสรุ ป ผลการประเมิ น คุ ณภาพในข้ อ 6 มาใช้ เ ป็ น ข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

หมายเหตุ 1. ในเกณฑ์มาตรฐานข้อ 1 ให้นับรวม notebook และ mobile device ต่างๆ ของนักศึกษาที่มีการลงทะเบียนการใช้ wifi กับสถาบันด้วย 2. การคิดจานวน FTES ให้นาจานวน FTES ของแต่ละระดับการศึกษารวมเข้าด้วยกัน โดยไม่ต้องเทียบเป็น FTES ของระดับปริญญาตรี นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (Full Time Equivalent Student: FTES) หมายถึง นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนตามเกณฑ์จานวนหน่วยกิต มาตรฐานของการลงทะเบียน ดังนี้ ระบบทวิภาค - สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทั้งโครงการปกติและโครงการภาคพิเศษ : ลงทะเบียน 24 หน่วยกิตต่อปีการศึกษา (12 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษาปกติ) ระบบไตรภาค - สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา : ลงทะเบียน 30 หน่วยกิตต่อปีการศึกษา (10 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา) ขั้นตอนการคานวณค่า FTES มีดังนี้ 1) คานวณค่าหน่วยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours : SCH) ซึ่งก็คือ ผลรวมของผลคูณระหว่างจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน เรียนกับจานวนหน่วยกิตแต่ละรายวิชาที่เปิดสอนทุกรายวิชาตลอดปีการศึกษา รวบรวมหลังจากนักศึกษาลงทะเบียนแล้วเสร็จ (หมด กาหนดเวลาการเพิ่ม-ถอน) โดยมีสูตรการคานวณ ดังนี้ SCH = Σ nici เมื่อ ni = จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในวิชาที่ i Ci = จานวนหน่วยกิตของวิชาที่ i 2) คานวณค่า FTES โดยใช้สูตรคานวณดังนี้ FTES = ผลรวมของผลคูณระหว่างจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกับจานวนหน่วยกิต ที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน (SCH) จานวนหน่วยกิตต่อปีการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานการลงทะเบียนในระดับปริญญานั้นๆ

22

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่ 1. มีการพัฒนาระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทุกหลักสูตร ตอบสนองต่อความต้องการและความถนัดของผู้เรียน 2. มี ก ารจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เช่ น ชั่ ว โมงปฏิ บั ติ ก าร อภิ ป รายกลุ่ ม สั ม มนา การท ากรณี ศึ ก ษา โครงงาน / งานวิจัย การเรียนรู้นอกสถานที่ ฝึกงาน/ฝึกประสบการณ์ 3. กาหนดตั ว บ่ ง ชี้ ค วามส าเร็ จ ในแต่ ล ะรายวิ ช า มี ก าร ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลเพื่อน ามาปรั บปรุงการสอน ให้มีประสิทธิภาพ 2 ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตรมีรายละเอียดของรายวิชาและของ 1. อาจารย์ จั ดท ารายละเอี ยดรายวิ ช าที่ จ ะสอนในแต่ ละ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค ภาคการศึกษา (มคอ.3) การศึ ก ษาตามที่ ก าหนดในกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ 2. อาจารย์ แจกรายละเอี ยดรายวิ ชาและแผนการสอนแก่ อุดมศึกษาแห่งชาติ ผู้เรียนในคาบแรก 3. มีการประเมินผลการเรียนทั้งในระหว่างภาคการศึกษา และเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 3 ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และ 1. คณะกรรมการผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รก าหนดให้ ทุ ก การให้ ผู้เ รียนได้ เ รี ยนรู้ จากการปฏิบั ติง านทั้ งภายในและนอก หลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและ ห้องเรียนหรือการทาวิจัย เรียนรู้จ ากการปฏิบัติจ ริง เช่ น ชั่วโมงปฏิบั ติการ อภิปราย กลุ่ ม สั มมนา การท ากรณี ศึกษา โครงงาน/งานวิ จัย การ เรียนรู้นอกสถานที่ ฝึกงาน/ฝึกประสบการณ์ 2. มีระบบการรายงานพัฒนาการของผู้เรียนที่แสดงให้เห็น ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองและการปฏิ บัติจริ ง เป็นรายบุคคลหลังจบหลักสูตร 4 มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงาน มีการออกแบบให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากบุคคลหรือหน่วยงาน หรื อชุ มชนภายนอกเข้า มามีส่วนร่ว มในกระบวนการการเรียน ภายนอกโดยการเชิญผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ มาเป็น อาจารย์พิ เ ศษ การสอนทุกหลักสูตร หรือวิทยากรในการบรรยาย 5 มีการจัดการเรียนรู้ที่ พัฒนาจากการวิจั ยหรื อจากกระบวนการ 1. อาจารย์ควรพัฒนาการเรียนการสอนโดยการทาวิจัยใน จัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ชั้นเรียนว่าวิธีการสอนและกระบวนการเรียนการสอน และ การประเมินผลการสอนมีความเหมาะสมกับผู้เรียนหรือไม่ ควรปรับปรุงด้านใด 23

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 5

6

7

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มีการจัดการเรียนรู้ที่ พัฒนาจากการวิจั ยหรื อจากกระบวนการ 2. ควรมี เ วที แ ลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ เ กี่ ยวกั บ การท าวิ จั ย และ จัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (ต่อ) ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนระหว่างอาจารย์เพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน มี ก ารประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ เ รี ยนที่ มี ต่ อ คุ ณ ภาพการ มีการประเมินความคิดเห็ นของผู้ เรียนที่ มีต่อ คุณภาพการ จัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุก จัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชา ทุกภาคการศึกษา ต้องไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การ มี การตั้ ง คณะกรรมการรั บ ผิ ดชอบหลั กสู ต ร โดยมี ห น้ า ที่ สอน หรื อ การประเมิ น ผลการเรี ยนรู้ ทุ กรายวิ ช า ตามผลการ ดังนี้ ประเมินรายวิชา 1. พิจารณารายละเอียดของรายวิชาตามข้อ 2 2. ติดตาม วิเคราะห์ผลการดาเนินงานแต่ละรายวิชาและ ภาพรวมของหลักสูตร 3. ดูแ ลให้การดาเนิน การหลั กสู ตรได้รับการประเมิ นจาก ผู้เรียนปัจจุบัน ผู้กาลังสาเร็จการศึกษา ศิษย์เก่า /กรรมการ อิสระ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

หมายเหตุ 1. มหาวิท ยาลัยหรือคณะจะต้องประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ คุณภาพการเรี ยนการสอนและสิ่งสนับสนุน การเรี ยนรู้ทุ ก รายวิชา ทุกภาคการศึกษา ยกเว้น รายวิชาที่ไม่มีการเรียนการสอนในชั้นเรียนหรือในห้องปฏิบัติการ เช่น การฝึกงาน สหกิจศึกษา การ ค้นคว้าอิสระ วิชาโครงงาน สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ เป็นต้น 2. งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนตามเกณฑ์ข้อ 5 หมายถึง งานวิจัยของผู้สอนของสถาบันที่ได้พัฒนาขึ้น และนาไปใช้ในการ พัฒนาวิธีการสอน กรณีหลักสูตรที่ไม่เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ต้องมีการจัดทารายละเอียดของรายวิชาและ ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาด้วย

24

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการสารวจความต้ อ งการของมหาบั ณฑิ ตที่ พึ ง ประสงค์ ตาม ความต้องการของผู้ใช้มหาบัณฑิตอย่างน้อยสาหรับทุกหลักสูตร ระดับ ปริญญาโท ทุกรอบเวลาตามแผนกาหนดการศึกษาของ หลักสูตร

2

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. คณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รต้ อ งส ารวจหรื อ วิ เ คราะห์ ค วามต้ อ งการของผู้ ใ ช้ ม หาบั ณ ฑิ ต เกี่ ย วกั บ คุณลั กษณะของมหาบั ณฑิ ตเป็น ระยะอย่า งน้อ ยทุ ก 5 ปี เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร 2. คณะกรรมการรั บ ผิ ดชอบหลั กสู ตรต้ อ งมี การทบทวน ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ลั ก ษณะของมหาบั ณ ฑิ ต ที่ จ าเป็ น แล ะ เหมาะสมกับ สาขาวิ ชา ระดั บการศึกษาเพื่อ ให้สอดคล้อ ง กั บ ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ ม หาบั ณ ฑิ ต มี ก ารก าหนด เป้ าหมายการผลิ ตมหาบั ณฑิ ตระหว่ างผู้ สอนร่ ว มกั นและ เผยแพร่ให้ผู้ที่รับผิดชอบในการผลิตมหาบัณฑิตทุกคนรับรู้ และร่วมกันพัฒนานักศึกษา มีการนาผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุง หลักสูตร การจัดการ 1. คณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รมี ก ารวิ เ คราะห์ เรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียน ติดตามประเมิ น ผลการใช้ ห ลักสู ตร โดยน าผลการสารวจ ที่ ส่ง เสริ ม ทั กษะอาชี พ และคุ ณลั กษณะของมหาบั ณ ฑิ ตที่ พึ ง จากข้อ 1 มาปรับปรุงกาหนดโครงสร้า งของหลักสูตร การ ประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้มหาบัณฑิต จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน สื่ อ การศึ ก ษา และการ ประเมินผล 2. คณะกรรมการรับ ผิดชอบหลักสู ตรมีการวางระบบการ ประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอน โดยอาจเชื่อมโยง รายวิชากับคุณลักษณะมหาบัณฑิตที่กาหนด 3. คณะกรรมการรับ ผิดชอบหลักสู ตรมีการวางระบบการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ตนเองของนักศึกษา 4. มี ก ารวางระบบการประเมิ น ผลที่ ส ะท้ อ นทั ก ษ ะ ความสามารถด้ านการเรี ยนรู้ ของผู้เรียน เน้นการประเมิ น ตามสภาพจริงโดยใช้วิจัยเป็นฐาน 5. ควรมี การประชุม ระหว่างกรรมการรั บผิดชอบหลั กสูตร ในการแลกเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนและแก้ปัญหา ร่ ว มกั น สาหรั บ ผู้ เ รี ย นที่ จ าเป็ น ต้ อ งได้ รับ การพั ฒ นาเป็ น พิเศษ

25

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 3

4

5

6

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มีการส่ งเสริ ม สนั บ สนุ นทรั พยากรทั้ ง ด้ านบุคลากร เทคโนโลยี 1. คณะกรรมการรั บ ผิ ดชอบหลั กสู ตรมี การวางแผนการ สารสนเทศ และงบประมาณที่ เอื้ อ ต่อ การพั ฒนาคุณลั กษณะ จัดหางบประมาณหรือทรัพยากรสนับสนุนการจัดกิจกรรม ของบัณฑิต การเรี ยนการสอนที่ ส่ง เสริม คุณลักษณะของบั ณฑิ ตอย่า ง เพียงพอ 2. ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียน รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีระบบและกลไกการส่ง เสริ มให้ นั กศึ กษาระดับ บัณฑิตศึกษา 1. เผยแพร่ประชาสั มพัน ธ์การจัดการประชุมวิ ชาการในที่ เข้าร่วมร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนาเสนอผลงานทาง ต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศให้นักศึกษาทราบ วิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือ 2. จั ด หางบประมาณให้ นั กศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทาง นานาชาติ วิชาการ 3. อาจมีการกาหนดเงื่ อนไขให้นักศึกษาเข้าร่ วมกิจกรรม ทางวิช าการระดั บชาติห รือ นานาชาติ อย่า งน้ อย 1 ครั้ งใน ระหว่างภาคการศึกษา 4. ผู้สอนส่งเสริมให้นักศึกษาส่งผลงานวิชาการให้ที่ประชุม วิชาการต่างๆ พิจารณา มีกิ จ กรรมเสริม สร้า งคุณธรรม จริ ยธรรมให้แ ก่ นักศึ กษาระดั บ 1. มี ก ารจั ด หางบประมาณส าหรั บ กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม บัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบัน คุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษา 2. กาหนดเงื่ อ นไขให้ นั กศึ กษาเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุณธรรมจริยธรรมที่มีการประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม มี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะนั ก ศึ ก ษาในการจั ด ท าบทความจาก 1. มอบหมายให้ นั กศึ ก ษาอ่ า นบทความวิ จั ยที่ ตีพิ ม พ์ ใ น วิ ท ยานิ พ นธ์ แ ละมี การน าไปตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ใ นวารสารระดั บ วารสารวิ ช าการ มี ก ารวิ พ ากษ์ บ ทความ การสั ง เคราะห์ นานาชาติ (มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม ง) ความรู้จากบทความวิจัยในรายวิชาต่างๆ 2. จั ด หลั ก สู ต รรายวิ ช า/กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกั บ การจั ด ท า บทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 3. มีการตั้ง ศูน ย์ใ ห้ความช่ วยเหลือ ในการจั ดท าบทความ วิจัย 4. สนั บ สนุ น ให้ นั กศึ กษ าจั ด ท าบ ทควา มวิ จั ยจ า ก ผลงานวิ จั ยบางส่ วนที่ สามารถตีพิ ม พ์ เผยแพร่ ไ ด้ ส่ง ไปยั ง วารสารต่างๆ ในระหว่างการทาวิทยานิพนธ์ 5. นาบทความวิ จัยที่ได้ รับการตีพิมพ์ /ไม่ไ ด้รับการตีพิม พ์ มาเรียนร่วมกันในชั้นเรียน

26

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

27

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มี ก ารด าเนิ น การ 5 ข้ อ ตามเกณฑ์ ทั่ ว ไป และ คร บ ถ้ วน ต า มเ ก ณ ฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการกาหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษา ที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร 2 มีการถ่ ายทอดหรือ เผยแพร่ พ ฤติ กรรมด้า นคุณธรรมจริ ยธรรม สาหรั บ นั กศึ ก ษาที่ ต้ อ งการส่ ง เสริ ม ตามข้ อ 1ไปยั ง ผู้ บ ริ ห าร คณาจารย์ นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน 3

4

5

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ เอกสารการก าหนดพฤติ ก รรมด้ า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม สาหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริม โครงการ/กิจกรรมการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้าน คุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาตามข้อ 1ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นั กศึกษาและผู้ เ กี่ ยวข้ อ งทราบอย่ า งทั่ ว ถึ ง ทั้ ง สถาบัน โครงการ/กิจกรรมการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้าน คุณธรรมจริ ยธรรมสาหรั บ นั กศึ กษา โดยระบุ ตัว บ่ง ชี้ แ ละ เป้าหมายวัดความสาเร็จ รายงานประเมิ น โครงการ/กิ จ กรรมการถ่ า ยทอดหรื อ เผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษา

มี โ ครงการหรื อ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาพฤติ ก รรมด้ า น คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมที่ ก าหนดในข้ อ 1 โดยระบุ ตั ว บ่ ง ชี้ แ ละ เป้าหมายวัดความสาเร็จที่ชัดเจน มี ก ารประเมิ น ผลโครงการหรื อ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กาหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของ ตัวบ่งชี้ มีนั กศึ กษาหรื อ กิ จ กรรมที่ เ กี่ ยวกั บ นั กศึ กษาได้ รับ การยกย่ อ ง รายชื่ อ นั กศึ กษาหรื อ กิ จ กรรมที่ ไ ด้ รับ การยกย่ อ งชมเชย ชมเชย ประกาศเกี ย รติ คุ ณ ด้ า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม โดย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่ วยงาน หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ หรือองค์กรระดับชาติ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

หมายเหตุ การยกย่องชมเชยประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรม จริยธรรม หากดาเนินการในระดับมหาวิทยาลัย ต้องมีกรรมการภายนอก มหาวิทยาลัยอย่างน้อยร้อยละ 50 และมีผู้เข้าร่วมการแข่งขันหรือเข้าร่วมการคัดเลือกที่มาจากหลากหลายสถาบัน (ตั้งแต่ 3 สถาบันขึ้น ไป)

28

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ วิทยาลัยไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ตัวบ่งชี้สมศ. 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ค่าเฉลี่ย เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) สูตรการคานวณ: ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต คานวณคะแนนการประเมินบัณฑิต =

จานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

หมายเหตุ: 1. คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF: HEd. หรือ Thai Qualifications Framework for Higher Education) หมายถึง คุ ณลั กษณะของบั ณฑิ ตระดั บปริญญาตรี ปริญญาโท และปริ ญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่ สกอ.ระบุ โดยเป็นคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามที่สถาบันกาหนด ครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน คือ 1) ด้าน คุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ด้าน ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้ง TQF ตามสาขาวิชาชีพที่ประกาศใช้ ตลอดจนสอดคล้อง กับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สภาหรือองค์กรวิชาชีพกาหนดเพิ่มเติม หรือสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต 2. ขอบเขตข้อมูลที่จั ดเก็บ : คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในรอบปี การศึกษาที่จัดเก็บข้อมูล โดยมีข้อมูลประกอบการพิจารณา ดังนี้ 1) ข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพบัณฑิตในด้านต่างๆ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2) ข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพบัณฑิตจากสถานประกอบการผู้ใช้บัณฑิต หรือสถาบันที่รับบัณฑิตเข้าศึกษาต่อ 3) ข้อมูลผลการดาเนินงานด้านการผลิตบัณฑิตจากระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online System) โดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กรณีที่เป็นวิชาชีพที่มีการเพิ่มเติมคุณลักษณะของบัณฑิตที่เพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐานทั้ง 5 ด้าน ต้องทาการประเมินครบทุกด้าน

29

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 3 ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ ผลงานของผู้ สาเร็ จการศึ กษาระดั บ ปริญญาโทที่ ไ ด้ รับ การตีพิ ม พ์ ห รื อ เผยแพร่ เป็ น ปั จ จั ยสาคั ญของคุ ณภาพของผู้ สาเร็ จ การศึกษาระดับปริญญาโทที่แสดงถึงความเป็นผู้นาทางความคิด ความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์ การนาเสนอผลงาน มีทักษะใน การวิจัย ทักษะและภูมิปัญญาในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้นสูง ผลงานผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หมายถึง บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ที่ตีพิมพ์ หรือศิลปนิพนธ์ที่ เผยแพร่ การตีพิมพ์ หมายถึง การตีพิมพ์บทความจากวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติหรือนานาชาติ ที่ปรากฏในฐานข้อมูลที่กาหนด รวมถึงบทความวิ จัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ที่ ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กาหนด บทความจากวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์และสามารถนามานับได้มีเฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่ านั้น ส่วนบทความที่ตีพิม พ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุ มวิชาการนั้ น สามารถนามานับได้เ ฉพาะที่เป็น Full Paper เท่านั้น การเผยแพร่ หมายถึ ง การเผยแพร่ ง านสร้ า งสรรค์ จ ากศิ ลปนิ พ นธ์ โดยการจั ดนิ ท รรศการ (Exhibition) หรื อ จั ดการแสดง (Performance) ซึ่งเป็นการนาเสนอผลงาน หรือสิ่งประดิษฐ์ทางศิลปะ ดนตรี ที่เป็นผลงานวิชาการ (นอกเหนือจากงานวิจัย ) สู่สาธารณะ และ/หรือกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการจัดการนาเสนอในระดับชาติหรือนานาชาติอย่างเป็นระบบ และเป็นวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือ ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร สมาคมที่เกี่ยวข้องและมีชื่อเสียงในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีกระบวนการประเมินคุณค่าของผลงาน ในการเผยแพร่ เช่น - มีคณะกรรมการผู้พิจารณากลั่นกรองคุณภาพของผลงานก่อนเผยแพร่ ซึ่งอาจประกอบด้วย ศิลปินระดับชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ - การประกวด มีรางวัลรับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่มีคุณภาพ และเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ กาหนดระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย 0.125 - บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติที่มีกองบรรณาธิการ จัดท ารายงานฯ หรื อ คระกรรมการจัดประชุ ม ประกอบด้ ว ย ศาสตราจารย์ หรื อ ผู้ท รงคุ ณวุ ฒิระดับ ปริญญาเอก หรื อ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิช านั้นๆ จากนอกสถาบัน เจ้าภาพอย่างน้ อยร้อยละ 25 และมีผู้ประเมิ น บทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจ้าของบทความ

30

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย 0.25 - บทความจากผลงานวิ จัยที่ได้รับการตีพิมพ์ใ นวารสารวิชาการ (Journal) ระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมู ล TCI หรื อ บทความวิจัยฉบั บสมบูรณ์ (Full Paper) ที่ ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิช าการระดับนานาชาติ ที่มีกอง บรรณาธิการจัดทารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญา เอก หรื อ ผู้ ท รงคุณวุ ฒิ ที่ มี ผลงานเป็ น ที่ ยอมรั บ ในสาขานั้ น ๆ จากต่ างประเทศอย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 25 และมี ผู้ป ระเมิ น บทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากต่างประเทศ 0.50 - บทความจากผลงานวิ จั ยที่ ได้ รับ การตี พิ มพ์ ใ นวารสารวิช าการ (Journal) ที่ มีชื่ อ ปรากฏอยู่ ในบั ญชี รายชื่ อ วารสาร ระดับชาติที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่ใน website ของสานักงานฯ 0.75 - บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล อื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตร์นั้น นอกเหนือฐานข้อมูล ISI หรือบทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสารระดับนานาชาติที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่ใน website ของสานักงานฯ 1.00 - บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI กาหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ 0.125 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.25 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับชาติ 0.50 - มีการเผยแพร่ โดยการจัดนิท รรศการ (Exhibition) หรือ การจัดการแสดง (Performance) ระดั บความร่วมมือ ระหว่า ง ประเทศ 0.75 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับภูมิภาคอาเซียน* 1.00 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับนานาชาติ (ทั้งในและนอก ประเทศ) *อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดเนเซีย สิงคโปร์ บูรไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า สูตรการคานวณ: 1. คานวณค่าร้อยละของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปีปฏิทินเดียวกับปีการศึกษานั้น

x 100

จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมดในปีการศึกษานั้น

31

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

x 100

ร้อยละของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงร้อยละของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. ค่าร้อยละของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 50 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : จัดเก็บตามปีปฏิทิน 1) จานวนและรายชื่อ วิท ยานิ พนธ์ สารนิ พ นธ์ ของผู้สาเร็ จการศึ กษาระดั บปริ ญญาโทที่ ได้ รับการตีพิ มพ์ ใ นวารสารระดับ ชาติห รื อ นานาชาติรายปีตามปีปฏิทินที่ตรงกับปีการศึกษา พร้อมชื่อเจ้าของบทความ ชื่อวิทยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ ปีทีตีพิมพ์ ค่าน้าหนักของ บทความวิจัยแต่ละชิ้น 2) จานวนและรายชื่อผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ของผู้สาเร็ จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้ รับการเผยแพร่ในระดับชาติหรื อ ระดับ นานาชาติ พร้อมชื่อเจ้าของผลงาน ปี ที่เผยแพร่ ชื่อ หน่ว ยงานหรื อองค์กร พร้ อมทั้ งจังหวัด ประเทศที่เผยแพร่ รู ปแบบของการ เผยแพร่พร้อมหลักฐาน ค่าน้าหนักของการเผยแพร่ผลงานแต่ละชิ้น 3) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมดในแต่ละปีการศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

32

ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 4 ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ วิทยาลัยไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอก ตัวบ่งชี้สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน ค่าเฉลี่ย เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน คุณภาพของคณาจารย์เ ป็นปัจจั ยสาคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน รวมทั้ง พิจารณาจากความสาเร็จของสถาบั นในการ ส่งเสริม สนั บสนุ นการพั ฒนาคุณภาพอาจารย์ เพื่ อให้ อาจารย์ ติดตามความก้า วหน้ าทางวิ ชาการอย่างต่อเนื่อ ง อั นจะทาให้สถาบั น สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล คุณภาพอาจารย์พิจารณาจากคุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการ กาหนดค่าน้าหนักระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้ วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ 0 2 5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 3 6 รองศาสตราจารย์ 3 5 8 ศาสตราจารย์ 6 8 10 สูตรการคานวณ: 1. คานวณผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา = ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา อาจารย์ประจาทั้งหมด 2. แปลงค่าที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา

x5

ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 คะแนน เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจาเป็นคะแนนระหว่าง 0 ‟ 5 2. ค่าผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 6 ข้อมูลประกอบการพิจารณา รายชื่ออาจารย์ประจาทั้งหมด จาแนกตามวุฒิการศึกษาและตาแหน่งวิชาการ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้: 33

ปีการศึกษา ฝ่ายบุคคล

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีม้ ธ. 1

คะแนนเฉลี่ย O-NET ของนักศึกษาใหม่

ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์มาตรฐาน: คะแนนเฉลี่ย วิทยาลัยไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ตัวบ่งชีม้ ธ. 2

ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด (ระดับปริญญาตรี)

ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์มาตรฐาน: คะแนนเฉลี่ย วิทยาลัยไม่มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี

34

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้มธ. 3

ร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน

ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ให้ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน ทั้งในแง่ของการเรียนหลัก หรือการเรียนเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียน หรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา ซึ่งจะทาให้ประสิทธิภาพและคุณภาพ ด้านการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยดีขึ้น จึงได้กาหนดให้คณะ/หน่วยงานจัดการเรียนการสอนนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ เรียนการสอน ทั้งนี้ วิชาที่ใช้เทคโนโลยรสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ได้แก่ วิชาที่มีการทาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) หรือ CAI เป็นส่วนหนึ่งของบทเรียนและ / หรือการใช้ Class Web ในการเรียนการสอน ไม่นับรวมวิชาที่ใช้ PowerPoint ในการเรียนการสอน โดยวิชาที่จะนับเป็นวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน จะต้องมีการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนไม่ น้อยกว่าร้อยละ 20 ของเนื้อหาวิชา สูตรการคานวณ: 1. คานวณค่าร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน จานวนวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนไม่ต่ากว่าร้อยละ 20 ของเนื้อหาวิชา x 100 จานวนวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน

x 100

ร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. ค่าร้อยละของวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนกาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 15 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

35

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้มธ. 4

ร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ภาระงานสอนที่มหาวิทยาลัยกาหนด (4 วิชาต่อปีหรือเทียบเท่า)

ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ ให้เปรียบเทียบจานวนอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็น ไปตามเกณฑ์ภ าระงานสอนที่มหาวิทยาลั ยกาหนดกับจ านวนอาจารย์ ประจาที่ปฏิบัติงานจริง โดยแสดงในรูปของร้อยละ เกณฑ์ ภ าระงานสอนที่ มหาวิ ท ยาลัย ก าหนด หมายถึ ง เกณฑ์ ภ าระงานสอนของอาจารย์ ไ ม่ น้อ ยกว่ า 4 วิ ช าต่ อ ปี ห รื อ เทียบเท่า สูตรการคานวณ: 1. คานวณร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ ภาระงานสอนที่มหาวิทยาลัยกาหนด (4 วิชาต่อปีหรือเทียบเท่า) จานวนอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ ภาระงานสอนที่มหาวิทยาลัยกาหนด x 100 จานวนอาจารย์ปฏิบัติงานจริง 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ภาระงานสอนที่ มหาวิทยาลัยกาหนด (4 วิชาต่อปีหรือเทียบเท่า) x 100 ร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ภาระงานสอนที่ มหาวิทยาลัยกาหนด (4 วิชาต่อปีหรือเทียบเท่า)ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ ภาระงานสอนที่มหาวิทยาลัยกาหนดเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. ค่าร้อยละของอาจารย์ที่มีภาระงานสอนเป็นไปตามเกณฑ์ ภาระงานสอนที่มหาวิทยาลัยกาหนดเป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 93 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

36

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้ CITU 1 ร้อยละของบทความวิชาการหรือบทความวิจัยจากงานค้นคว้าอิสระที่ตีพิมพ์ต่อจานวนงานค้นคว้าอิสระ ทั้งหมด ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ ให้เปรียบเทียบจานวนบทความวิชาการหรือบทความวิจัยจากงานค้นคว้าอิสระของมหาบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาที่ได้ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่อจานวนงานค้นคว้าอิสระทั้งหมดของมหาบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้น โดย นาเสนอในรูปร้อยละ ข้อมูลอ้างอิงสาหรับผู้ประเมิน : 1. หนังสือตอบรับการตีพิมพ์ หรือหน้าปกวารสารที่ได้รับตีพิมพ์ 2. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ สูตรการคานวณ: จานวนบทความวิชาการหรือบทความวิจัยจากงานค้นคว้าอิสระของมหาบัณฑิต ที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้นที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ X 100 จานวนงานค้นคว้าอิสระของมหาบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้น เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ร้อยละ 1-5 ร้อยละ 6-10 ร้อยละ 11-15 ร้อยละ 15-20 ร้อยละ 20 ขึ้นไป ขอบเขตในการเก็บข้อมูล: ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

37

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชีส้ กอ. 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีการจัดบริการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนวการใช้ชีวิตแก่ 1. หน่วยงานจัดเก็ บข้อมูลของนักศึกษาด้ านสุขภาพ การ นักศึกษา เรียน ครอบครัวและบุคคลที่สามารถติดต่อได้เมื่อนักศึกษา มีปัญหา 2. มี การตั้ ง ระบบอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ช าการที่ เ หมาะสม คานึงถึงสัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา 3. มีการจัดเจ้าหน้าที่ให้คาปรึกษาและรับเรื่องร้องทุกข์จาก นักศึกษา 4. มีระบบการส่ ง ต่ อ การดู แ ลสุ ข ภาพของนั กศึกษาไปยั ง โรงพยาบาล 5. มี ร ะบบการติ ด ตามผลการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ นักศึกษา 6. มีการจัดประชุมอาจารย์/ผู้ที่ดูแลนักศึกษาเป็นระยะ 7. มีการจัดประชุมร่วมกับครอบครัวของนักศึกษาเพื่อแก้ไข ปัญหา 8. มีช่ อ งทางให้ ผู้เ กี่ ยวข้อ งให้ ข้ อ เสนอแนะเพื่อ ใช้ ใ นการ ปรับปรุงการให้บริการ 2 มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษา 1. จัดทาฐานข้อมูล บอร์ด เว็บไซด์ สาหรับประกาศข้อมูลที่ เป็นประโยชน์แก่นักศึกษา 2. มีช่ อ งทางให้ นักศึ กษา/ผู้ เ กี่ยวข้อ งได้ ใ ห้คาแนะนาเพื่ อ นามาปรับปรุงการให้บริการ 3. มีระบบติดตามและประเมินผลการให้บริการ มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพ 1. ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อเป็นสถานที่ดูงานของ 3 แก่นักศึกษา นักศึกษา 2. มี ก ารจั ด กิ จ กรรมวิ ช าการ/กิ จ กรรมทางสั ง คมโดยให้ นักศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ 3. มีช่องทางให้นักศึกษา/ผู้เกี่ยวข้ องได้ให้ข้ อเสนอแนะเพื่ อ ปรับปรุงการพัฒนาประสบการณ์วิชาการ/วิชาชีพ 4. มีการติ ดตามประเมิ น ผลการฝึ กประสบการณ์ วิชาการ/ วิชาชีพ 38

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 4

5

6

7

เกณฑ์มาตรฐาน มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. มีฐานข้อมูลศิษย์เก่า การจัดทาเว็บไซด์ จดหมายข่าวเพื่อ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 2. ส่งข่าวให้ศิษย์เก่าทราบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเป็นระยะ 3. เปิ ดโอกาสให้ ศิษ ย์ เก่ ามี ส่วนร่ วมในการพัฒนาหลั กสู ตร การจัดการเรียนการสอน การทาวิจัยในลักษณะสหวิทยาการ การเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 4. มีช่องทางให้ศิษย์เก่าให้ข้อ เสนอแนะเพื่อ นามาปรั บปรุ ง การให้บริการ 1. มี ก ารจั ด กิ จ กรรมทางวิ ช าการและวิ ช าชี พ เพื่ อ พั ฒ นา มีการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า ความรู้และประสบการณ์ของศิษย์เก่าโดยส่งข่าวให้ศิษย์เก่า ทราบ 2. มีช่อ งทางให้ศิษ ย์เก่าให้ข้ อเสนอแนะเพื่ อนามาปรับ ปรุ ง กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และประสบการณ์ของศิษย์เก่า มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อ 1 -3 ทุกข้อไม่ 1. มีร ะบบการติ ดตามประเมิน ผลการให้ บ ริการทุ กด้ านแก่ นักศึกษาและศิษ ย์เก่า มีการมอบหมายผู้รั บผิ ดชอบในการ ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ประเมินและระยะเวลาในการประเมิน 2. มี ก ารประเมิ น ในทุ ก ด้ านและเสนอผลการประเมิ น แก่ ผู้รับผิดชอบ และผู้บริหารคณะ 3. คะแนนเฉลี่ ย ของผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของ นักศึกษาควรอยู่ในระดับ 3.50 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม 5 มีการนาผลการประเมินคุณภาพของการบริการมาใช้เป็นข้อมูล 1. น าผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารเสนอให้ ผุ้ ในการพัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนักศึกษา เกี่ ย วข้ อ งทราบทุ ก ระดั บ และมี แ ผนพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง การ ให้บริการ 2. มีการปรับปรุงพัฒนาการให้บริการแก่นักศึกษาและศิษย์ เก่าและประเมินคุณภาพตามแผนที่กาหนด 3. มีการสารวจข้อ มูลจากนั กศึก ษา และศิษ ย์เก่าเพื่อศึกษา ความพึงพอใจในบริการที่สถาบันจัดให้ในทุกด้านอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ 1 ข้อ

มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

มีการดาเนินการ 6 ข้อ

มีการดาเนินการ 7 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้: 39

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 สถาบันจัดทาแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผล 1. มีการกาหนดแผนการส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษา การเรี ย นรู้ ต ามกรอบมาจรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา 2. มีการกาหนดตัว บ่งชี้ความสาเร็ จของการจัดกิ จกรรมของ แห่งชาติทุกด้าน นั ก ศึ ก ษาตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ มิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา แห่งชาติ 2 มีกิจกรรมให้ความรู้ และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษา มีการพัฒนาความรู้ความเข้า ใจแก่นักศึกษาด้านการประกั น แก่นักศึกษา คุ ณ ภาพ และก าหนดเงื่ อ นไขให้ นั ก ศึ ก ษาระบุ ตั ว บ่ ง ชี้ ความสาเร็จของการดาเนินงาน วิธีการประเมินคุณภาพเพื่ อ ขอรับทุนสนับสนุนจากสถาบัน 3 มีการส่งเสริมให้นักศึกษานาความรู้ด้านการประกันคุณภาพไป 1. หน่ ว ยงานต้ อ งส่ ง เสริ ม การจั ดท าแผนการจั ด กิ จ กรรมที่ ใช้ ใ นการจั ดกิจ กรรมที่ ดาเนิ น การโดยนักศึ กษาอย่ า งน้ อ ย 2 ดาเนิ น การโดยนั กศึ กษาอย่ า งน้ อ ย 2 ประเภทจากกิ จ กรรม ประเภท สาหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษาจากกิจกรรมต่อไปนี้ ต่อไปนี้ ได้แก่ กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่ - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ พึง ประสงค์ กิ จ กรรมกี ฬาหรื อการส่ง เสริม สุ ข ภาพ กิจ กรรม - กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ บาเพ็ญประโยชน์ห รือ รักษาสิ่ง แวดล้ อม กิ จกรรมเสริ มสร้า ง - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม คุณธรรมและจริยธรรม กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม - กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม โดยควรมีกิจกรรมวิชาการรวมอยู่ด้วย - กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 2. การจัดกิจกรรมของนั กศึกษาทุกกิจ กรรมต้ องทาข้ อเสนอ โครงการให้ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ (อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา/ฝ่ า ยกิ จ การ นักศึกษาของหน่วยงานอนุมัติ) โดยแนบเอกสารประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ ลักษณะ ของกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย วิธีการประเมินความสาเร็จ การ ติ ด ตามประประเมิ น ผลมาใช้ ทั้ ง ก่ อ นและหลั ง การด าเนิ น กิจกรรม 3. ผู้ รับ ผิ ด ชอบควรให้ ข้ อ มู ลป้ อ นกลั บ แก่ นั กศึ กษาในการ ปรับปรุงพัฒนาการจัดทาข้อเสนอโครงการที่เหมาะสม

40

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 4

5

6

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มี ก ารสนั บ สนุ น ให้ นั ก ศึ ก ษาสร้ า งเครื อ ข่ า ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพ 1. ให้นักศึกษาเสนอแผนการจัดกิจกรรมการสร้างเครือข่าย ภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน พั ฒ นาคุ ณ ภาพภายในสถาบั น และให้ ก ารสนั บ สนุ น ใน รูปแบบต่างๆ 2. ควรมี การประชุ ม ระหว่ า งผู้ รับ ผิ ดชอบของสถาบั น กั บ หน่ ว ยงานภายนอกเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท ากิ จ กรรมร่ ว มกั น ระหว่างนักศึกษา รวมทั้งการให้ทุนสนับสนุน 3. ในแต่ ละปี ควรมี การหมุน เวียนการจัดกิ จกรรมระหว่า ง สถาบัน 4. อาจมีการร่วมมือกันเพื่อเผยแพร่การจัดกิจกรรมระหว่าง สถาบัน มีการประเมินผลความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัด 1. มีระบบติดตาม ประเมินผลการจัดกิจกรรมของนักศึกษา กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ตามตัวบ่งชี้ที่กาหนด 2. มีการกาหนดให้นักศึกษาทารายงานผลการจัดกิจกรรม และน าผลที่ ได้ ม าวิเ คราะห์ ภ าพรวมและผลที่ เ กิ ดขึ้ น จาก การจัดกิจกรรม 3. หน่ ว ยงานมี การติ ดตาม ประเมิน ความรู้ ความเข้ า ใจ และการประยุกต์ใช้กับการประกันคุณภาพ 4. หน่ ว ยงานวิ เ คราะห์จุ ดอ่ อ น จุ ดแข็ ง ของนั กศึ กษาเพื่ อ จัดทาแผนกิจกรรมนักศึกษาครั้งต่อไป มี การน าผลการประเมิ น ไปปรั บ ปรุ ง แผนหรื อ ปรั บ ปรุ ง การจั ด 1. มีการนาผลการประเมิน /การวิ เคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ ง กิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา ของการจั ดกิ จกรรมนักศึกษาไปใช้ใ นการวางแผนพัฒ นา นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง 2. น าเสนอผลการจั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ เ กี่ ยวข้ อ งทราบ และ ระดมความคิดเพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีลักษณะตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

41

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้มธ. 6

ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด

ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ เกณฑ์การประเมิน ให้เปรียบเทียบกิจกรรมจิตอาสากับกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด โดยแสดงค่าเป็นร้อยละ กิจกรรมจิตอาสา หมายถึง กิจกรรมที่นักศึกษาเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมเพื่อทาประโยชน์ให้กับคนอื่น โดยกิจกรรมจิตอาสาควรมี ลักษณะ ดังนี้ 1. นักศึกษาทาโดยความสมัครใจ 2. ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน 3. ไม่มีผลตอบแทน 4. เป็นประโยชน์ต่อสังคมในด้านใดด้านหนึ่ง สูตรการคานวณ: 1. คานวณค่าร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด จานวนกิจกรรมจิตอาสา

x 100

จานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมด

x 100

ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมดที่กาหนด ให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมดเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทั้งหมดที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 14 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

42

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั ตัวบ่งชีส้ กอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มี ระบบและกลไกบริ ห ารงานวิ จั ยหรื อ งานสร้ า งสรรค์ เพื่ อ ให้ 1. มีการวางแนวทาง ขั้นตอน หลักเกณฑ์ รวมทั้งบุคคลที่ บรรลุ เ ป้ า หมายตามแผนด้ า นการวิ จั ย ของสถาบั น และ รับผิดชอบ และมีงบประมาณสนับสนุนการบริหารงานวิจัย ดาเนินการตามระบบที่กาหนด และสร้างสรรค์อย่างเพียงพอ 2. มีการตั้งงบประมาณเพื่อบริหารงานวิจัย 2 มี การบู ร ณาการกระบวนการวิ จั ยหรื อ งานสร้ า งสรรค์ กับ การ 1. การกาหนดให้ นักศึ กษาเป็ นส่ ว นหนึ่ งของที มวิ จั ยของ เรียนการสอน อาจารย์ 2. กาหนดให้นักศึกษาทาโครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 3. กาหนดให้ นั กศึ ก ษาเข้ า ฟั ง การบรรยายหรื อ สั ม มนา เกี่ยวกับผลความก้าวหน้าในงานวิจัยของอาจารย์ 4. จัดให้มีการประชุมเสนองานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของ นักศึกษา 5. ส่งเสริมให้อาจารย์นาผลลัพท์ที่เกิดจากงานวิจัยไปเป็น ส่วนหนึ่งของเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน 3 มีการพัฒ นาศักยภาพด้า นการวิจั ยหรือ งานสร้า งสรรค์แ ละให้ 1. จัดระบบการรับเข้าและกากับดูแลอาจารย์และนักวิจั ย ความรู้ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแก่อาจารย์ประจาและนักวิจัย กาหนดแนวทางปฏิบัติและส่ง เสริมให้อาจารย์ทางานวิจั ย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ และตี พิม พ์ ผลงานในวารสารหรื อ จั ด แสดงผลงานที่ ได้ รับการยอมรั บระดับ ชาติ และนานาชาติ โดยกาหนดเป็นภาระงานที่ชัดเจน 2. พัฒนาสมรรถนะนักวิจัยผ่านกระบวนการที่เหมาะสมกับ บุคลากรนั้น 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณแก่อาจารย์และนักวิจัย 4. สร้ า งแรงจู ง ใจแก่ นั ก วิ จั ย เช่ น การยกย่ อ ง การให้ ผลตอบแทน หรือการให้รางวัล 4 มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบั นเพื่อ เป็ นทุ นวิ จัยหรื องาน มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นทุนแก่นักวิจัยรุ่นใหม่ของ สร้างสรรค์ หน่วยงาน

43

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 5

6 7

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ตามอัต 1. งบประมาณสนับสนุนการวิจัยควรประกอบด้วย ลักษณ์ของสถาบัน - งบประมาณสนับสนุนการบริหารงานวิจัย - งบประมาณสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ - งบประมาณสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ของนักศึกษา - งบประมาณสนับสนุนศาสตราจารย์รับเชิญ 2. มีห้องปฏิบัติการที่เหมาะสมกับงานวิจัยแต่ละประเภท 3. มีแหล่งค้ นคว้ าทางวิช าการ ได้แก่ หนั งสือ วารสาร สื่ อ อิ เ ล็ กทรอนิ กส์ และสนั บ สนุ น การไปร่ ว มท างานวิ จั ยกั บ หน่วยงานอื่นทั้งในประเทศ และระดับนานาชาติ 4. มีระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูลด้านการวิจัย ได้แก่ - ข้อมูลแหล่งทุนวิจัย - ข้อมูลผลงานวิจัยทั้งในปัจจุบันและที่ผ่านมา - ข้อมูลเผยแพร่ผลงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ - ข้ อ มู ล ด้ า นการน างานวิ จั ย /งานสร้ า งสรรค์ ไ ปใช้ ประโยชน์ - ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบ/แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัย มีการติดตามและประเมิ นผลการสนับ สนุน ในข้ อ 4 และข้อ 5 มีระบบการประเมินผลการสนับสนุนการวิจัยในทุกด้าน อย่างครบถ้วนทุกประเด็น มีการน าผลการประเมิ นไปปรั บปรุงการสนั บสนุนพั นธกิจ ด้า น นาผลการประเมิ น ไปจั ดท าแผนการปรั บ ปรุ ง โดยกาหนด การวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของสถาบัน บุคคล และหน่วยงานที่รับผิดชอบ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

44

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากกงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มี ระบบและกลไกสนั บ สนุ น การเผยแพร่ ผลงานวิ จั ย หรื อ งาน สร้ า งสรรค์ ใ นการประชุ ม วิ ช าการหรื อ การตี พิ ม พ์ ใ นวารสาร ระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองาน สร้ า งสรรค์ ใ นการประชุ ม วิ ช าการหรื อ การตี พิ ม พ์ ใ นวารสาร ระดับชาติหรือนานาชาติ

2

3 4

5

6

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ วางแนวทาง ขั้ น ตอน และหลั ก เกณฑ์ ตลอดจนกาหนด ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการสนั บ สนุ น การตี พิ ม พ์ ห รื อ เผยแพร่ งานวิ จั ยหรื อ งานสร้ า งสรรค์ ใ นวารสารหรื อ ในที่ ป ระชุ ม วิชาการที่มี peer review เช่น - การมีพี่เลี้ยงช่วยเขียนรายงานแก่นักวิจัยรุ่นใหม่ - การสนับสนุนการตรวจสอบภาษาอังกฤษที่นาเสนอ - การสนับสนุนงบประมาณในการเผยแพร่ผลงานวิจัย - การจ่ายค่าตอบแทนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ - การจ่ายค่าตีพิมพ์ (กรณีวารสารเรียกเก็บเงิน) มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ การวางแผน ขั้นตอน หลักเกณฑ์ กาหนดผู้รับ ผิดชอบการ ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่ รวบรวม คัดสรร วิเคราะห์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย คนทั่วไปเข้าใจได้ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด มีการประชาสั มพัน ธ์และเผยแพร่ องค์ ความรู้จากงานวิจั ยหรื อ การเผยแพร่ความรู้ที่ ได้จากข้อ 2 ผ่า นสื่อ ต่างๆ อย่า งเป็ น งานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง ระบบ มี ก ารน าผลงานงานวิ จั ย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ ไ ปใช้ ใ ห้ เ กิ ด สนั บ สนุ น การน าผลงานวิ จั ย /ผลงานสร้ า งสรรค์ ไ ปใช้ ประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ป ระโยชน์ จริงจากหน่วยงาน ประโยชน์ ภายนอกหรือชุมชน มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรือ 1. วางแนวทาง ขั้ นตอน และ หลั กเกณฑ์ ก า หน ด งานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบที่ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการเจรจาต่ อ รองการน างานวิ จั ย ไปใช้ กาหนด ประโยชน์ 2. กาหนดวิธีการรักษาสิทธิประโยชน์ของอาจารย์ นักวิจัย ที่เกิดจากการซื้อขายหรือทาธุรกิจที่เป็นผลจากงานวิจัยโดย หลักเกณฑ์ที่โปร่งใสเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิ บัตร และ วางแนวทาง ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบและอานวยความสะดวก มีการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร (มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ ในการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรแก่อาจารย์และนักวิจัย กลุ่ม)

45

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

46

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มี การดาเนิ น การครบ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไปและ คร บ ถ้ วน ต า มเ ก ณ ฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์มาตรฐาน: อัตราส่วน (บาทต่อคน) เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงจานวนเงินต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทขึ้นไปต่อ คน สูตรการคานวน: 1. คานวนจ านวนเงิ น สนั บสนุ นงานวิจั ยหรื องานสร้ างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบั นต่อ จานวนอาจารย์ป ระจ าและนักวิจั ย ประจา

จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายในและภายนอก จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา 2. แปลงจานวนเงินที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายในและภายนอก คะแนนที่ได้ = x5 จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ =

5 สรุปคะแนนที่ได้ในระดับคณะวิชาและระดับสถาบัน 1. คะแนนที่ได้ในระดับคณะวิชา = ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ของทุกกลุ่มสาขาวิชาในคณะวิชา 2. คะแนนที่ได้ในระดับสถาบัน = ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ของทุกคณะวิชาในสถาบัน หมายเหตุ 1. จานวนอาจารย์และนักวิจัยประจา ให้นับตามปีการศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ 2. ให้นับจานวนเงินที่มีการเซ็นสัญญารับทุนในปีการศึกษาหรือปีงบประมาณนั้นๆ ไม่ใช่จานวนเงินที่เบิกจ่ายจริง 3. กรณีที่มีหลักฐานการแบ่งสัดส่วนเงินสนับสนุนงานวิจัย ซึ่งอาจเป็นหลักฐานจากแหล่งทุนหรือหลักฐานจากการตกลงร่วมกันของ สถาบันที่ร่วมโครงการ ให้แบ่งสัดส่วนเงินตามหลักฐานที่ปรากฏกรณีที่ไม่มีหลักฐาน ให้แบ่งเงินตามสัดส่วนผู้ร่วมวิจัยของแต่ละสถาบัน 4. การนับจานวนเงินสนับสนุนโครงการวิจัย สามารถนับเงินโครงการวิจัยสถาบันที่ได้ลงนามในสัญญารับทุนโดยอาจารย์หรือนักวิจัย แต่ไม่สามารถนับเงินโครงการวิจัยสถาบันที่บุคลากรสายสนับสนุนที่ไม่ใช่นักวิจัยเป็นผู้ดาเนินการ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

47

ปีงบประมาณ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ งานวิจัย หมายถึง ผลงานทางวิชาการที่ได้มีการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมกับสาขาวิชาเพื่อให้ เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ หรือเป็นการต่อยอดองค์ความรู้เดิม งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) หรือวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็นวารสารระดับชาติ รวมทั้งการเผยแพร่ผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับชาติ การเผยแพร่ ผ ลงานวิ จัย ในที่ ประชุ มวิ ช าการระดั บชาติ หมายถึ ง การน าเสนอบทความวิ จัยในที่ป ระชุ ม วิ ชาการและ บทความฉบับ สมบู รณ์ (Full Paper) ได้ รับการตี พิมพ์ ในรายงานสื่ บเนื่ องจากการประชุ มวิช าการ (Proceeding) ระดับชาติที่ มีกอง บรรณาธิ การจัดท ารายงานฯ หรือ คณะกรรมการจัดประชุ ม ประกอบด้ ว ย ศาสตราจารย์ หรื อ ผู้ท รงคุ ณวุ ฒิระดับ ปริญญาเอก หรื อ ผู้ท รงคุ ณวุ ฒิ ที่ มี ผลงานเป็น ที่ ยอมรั บ ในสาขานั้ น ๆ นอกจากสถาบัน เจ้ า ภาพอย่ า งน้ อ ยร้ อยละ 25 และมีผู้ป ระเมิน บทความที่ เ ป็ น ผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันเของเจ้าของบทความ งานวิจัย ที่ได้รับการตีพิ มพ์ ในระดั บนานาชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิ จัยที่ได้ รับ การตีพิ มพ์ใ นวารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล เช่น ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index, Social Science Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือ ฐานข้ อมูล Scopus หรื อฐานข้ อมูลสากลอื่น ๆ ที่ยอมรับ ในศาสตร์นั้ นๆ หรื อ วารสารวิ ช าการที่ ยอมรั บ โดยสานั กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา (สกอ.) ให้ เป็ น วารสารระดั บ นานาชาติ รวมทั้ง การเผยแพร่ ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การเผยแพร่ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจัยในที่ประชุ มวิชาการและ บทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceeding) ระดับนานาชาติที่มีกอง บรรณาธิ การจัดท ารายงานฯ หรือ คณะกรรมการจัดประชุ ม ประกอบด้ ว ย ศาสตราจารย์ หรื อ ผู้ท รงคุ ณวุ ฒิระดับ ปริญญาเอก หรื อ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อยร้อยละ 25 และมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญใน สาขานั้นจากต่างประเทศ งานสร้างสรรค์ หมายถึง ผลงานทางศิลปะที่มีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบที่เหมาะสมกับกลุ่มวิชาทางศิลปะ ตามการจัด กลุ่มศิลปะของอาเซียน ได้แก่ ทัศนศิลป์ (Visual Arts) ศิลปะการแสดง (Performing Arts) และตามการแบ่งกลุ่ม ISCED (International Standard Classification of Education) ได้แก่ คณะวิจิตรศิลป์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ คณะมัณฑนศิลป์ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี คณะมนุษยศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ โดยเป็นผลงานที่แสดงออกถึงแนวคิด แนวทางการ ทดลอง เพื่อให้เกิดผลงานในมิติใหม่ หรือเป็นการพัฒนาจากแนวคิดการสร้างสรรค์เดิม เพื่อเป็นต้นแบบหรือความสามารถในการบุกเบิก ศาสตร์ ท างศิ ล ปะงานสร้ า งสรรค์ ยั ง ครอบคลุ ม ไปถึ ง สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ และงานออกแบบตามสาขาศิ ลปะเฉพาะทางที่ มี คุณ ค่ า และ คุณประโยชน์เป็นที่ยอมรับในวงการวิชาชีพ

48

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


งานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ในระดับชาติ หมายถึง การนาเสนอผลงานศิลปะแขนงต่างๆ อาทิ ผลงานศิลปะ ดนตรี นาฎศิลป์ ฯลฯ ที่เป็นผลงานวิ ชาการสู่สาธารณะหรือกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการจัดการการนาเสนอในระดั บชาติอย่ างเป็นระบบและเป็นวิธีการที่ ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือได้รับการสนับสนุนจากองค์กร สมาคมที่เกี่ยวข้องและมีชื่อเสียงในระดับประเทศ งานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ในระดับ นานาชาติ หมายถึ ง การนาเสนอผลงานศิลปะแขนงต่ างๆ อาทิ ผลงานศิลปะ ดนตรี นาฎศิลป์ ฯลฯ ที่เป็นผลงานวิชาการสู่สาธารณะหรือกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการจัดการการนาเสนอในระดับนานาชาติอย่างเป็นระบบและ เป็นวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือได้รับการสนับสนุนจากองค์กร สมาคมที่เกี่ยวข้องและมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ การตีพิมพ์ หมายถึง การตีพิมพ์บทความจากผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติหรือนานาชาติที่ปรากฏใน ฐานข้ อมูลที่ กาหนด รวมถึง บทความวิ จัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ที่ตีพิ มพ์ใ นรายงานสื บเนื่ องการประชุมวิ ชาการระดับชาติหรื อ นานาชาติตามเงื่อนไขที่กาหนด บทความจากผลงานวิ จัยที่ไ ด้รับการตี พิมพ์ที่ ส ามารถน ามานั บได้มี เฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่า นั้น ส่ วนบทความจากผลงานวิจั ยที่ ตีพิ มพ์ใ นรายงานสืบ เนื่ องจากการประชุม วิช าการนั้ น สามารถน ามานั บได้เฉพาะที่ เป็ น Full Paper เท่านั้น การเผยแพร่ หมายถึง การเผยแพร่งานสร้างสรรค์ โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือจัดการแสดง (Performance) ซึ่ง เป็นการนาเสนอผลงาน หรือสิ่งประดิษฐ์ทางศิลปะ ดนตรี และการแสดงที่เป็นผลงานวิชาการ (นอกเหนือจากงานวิจัย) สู่สาธารณะหรือ กลุ่มเป้าหมาย โดยมีการจัดทาการนาเสนอในระดับชาติ หรือนานาชาติอย่างเป็นระบบ และเป็นวิธีการที่ ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือได้รับ การสนับสนุนจากองค์กร สมาคมที่เกี่ยวข้อง และมีชื่อเสียงในระดับชาติ หรือนานาชาติ และมีกระบวนการประเมินคุณค่าของผลงานใน การเผยแพร่ เช่น - มีคณะกรรมการผู้พิจารณากลั่นกรองคุณภาพของผลงานก่อนเผยแพร่ ซึ่งอาจประกอบด้วย ศิลปินระดับชาติ ผู้ท รงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ - การประกวด มีรางวัลรับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่มีคุณภาพ และเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ แหล่งเผยแพร่ที่มีคุณภาพ หมายถึง สถานที่สาหรับการเผยแพร่ โดยการจัดนิทรรศการหรือจัดการแสดง ซึ่งเป็นการนาเสนอ ผลงานสร้างสรรค์สู่สาธารณะ หรือกลุ่มเป้าหมาย โดยประกอบด้วยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคุณภาพ ดังต่อไปนี้ 1. ต้องเป็นหอศิลป์ระดับสถาบันการศึกษา 2. หอศิลป์ขององค์กร หรือสมาคมจะต้องเป็นสถานที่จัดการแสดงงานศิลปะโดยเฉพาะ และมีคณะกรรมการบริหารจัดการหอศิลป์ เพื่อดูแลการจัดนิทรรศการทางวิชาการ 3. แหล่ง เผยแพร่ ระดับ นานาชาติ ต้อ งได้รับการยอมรั บในวงการศิลปะในระดับ นานาชาติ หรื อเป็น การร่ วมมือ ทางศิ ลปะระหว่า ง ประเทศ 4. มีคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองคัดเลือกงานศิลปะหรือการจัดแสดงผลงาน โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมการที่สอดคล้อง กับเกณฑ์การประเมิน ประกอบด้วย ศิลปินระดับชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับในวงวิชาการ

49

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


5. ศิลปะที่ไม่ต้องการแสดงที่หอศิลป์ จะต้องมีโครงสร้างงาน แผนงานและการประเมินผล โดยผลงานที่จัดแสดงต้องได้รับการยอมรับ จากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นวงวิ ช าการ หรื อ หลั ก ฐานที่ แ สดงกิ จ กรรมการด าเนิ น การอย่ า งเป็ น ระบบและมี คุ ณ ภาพของการแสดงที่ มี ลักษณะเฉพาะ เช่น การแสดงพื้นบ้าน ดนตรี ดุริยางค์ศิลป์ และนาฏศิลป์นอกสถานที่ (Street Performance) เป็นต้น วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) หรือวารสารที่ยอมรับโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็นวารสารระดับชาติและมีชื่อปรากฏในบัญชีรายชื่อ ที่เผยแพร่ วารสารระดับนานาชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลสากล เช่น ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index Expand, Social Science Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือฐานข้อมูล Scopus หรือในฐานข้อมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตร์นั้นๆ หรือวารสารที่ยอมรับโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็นวารสารระดับนานาชาติและมีชื่อปรากฏในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร่ การนับจานวนบทความจากผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับ การตีพิม พ์ที่สามารถนามานับได้มี เฉพาะ Article หรือ Conference หรื อ Review เท่านั้ น ส่วนบทความจากผลงานวิ จัยที่ ตีพิมพ์ใ น รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการนั้น สามารถนามานับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper เท่านั้น ทั้งนี้ให้นับบทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์หรือผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ของอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด (นับ รวมผู้ลาศึกษาต่อ) ตามปฏิทิน ในกรณีที่บทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์หรือผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่เป็นผลงานเดิมแต่นาไปตีพิมพ์ หรื อเผยแพร่ม ากกว่ า 1 ครั้ ง ให้นั บได้ เพี ยง 1 ผลงาน ทั้ ง นี้จ ะนับ เมื่ อ บทความจากผลงานวิ จัยหรือ ผลงานสร้า งสรรค์ไ ด้ ตีพิ ม พ์ห รื อ ดาเนินการไปแล้ว หรือได้รับตอบรับอย่างเป็นทางการเป็นลายลักษณ์อักษรให้มีการตีพิมพ์หรือเผยแพร่แล้วเท่านั้น อาจารย์ประจา หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน และบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษาทั้งปีการศึกษา ซึ่งมีหน้าที่ ความรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา นัก วิจัยประจา หมายถึ ง ข้ าราชการ หรื อพนักงาน หรื อบุ คลากรที่มี สัญญาจ้ า งกั บสถาบั นอุ ดมศึ กษาทั้ ง ปีการศึ กษา ที่ มี ตาแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่วิจัยหรือนักวิจัย การนับจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ให้นับระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 9-12 เดือน

คิดเป็น 1 คน

6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน

คิดเป็น 0.5 คน

น้อยกว่า 6 เดือน

ไม่สามารถนามานับได้

กาหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย 0.125 - บทความวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ (Full Paper) ที่ ตีพิ ม พ์ ใ นรายงานสื บ เนื่ อ งจาการประชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ ที่ มี กอง บรรณาธิการจัดทารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุมประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญา เอก หรือผู้ทรงคุณวุ ฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้ นๆ จากนอกสถาบั นเจ้าภาพอย่างน้อยร้อยละ 25 และมี ผู้ ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจ้าของบทความ 50

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย 0.25 - บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้ อมูล TCI หรื อ บทความวิจั ยฉบั บสมบู รณ์ (Full Paper) ที่ ตีพิ มพ์ จ ากรายงานสื บเนื่อ งจากการประชุม วิช าการระดั บนานาชาติ ที่ มี กองบรรณิการจัดทารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุมประกอบด้วย ศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญา เอก หรือผู้ทรงคุ ณวุฒิที่มีผลงานเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่า งน้อยร้อยละ 25 และมีผู้ประเมิ น บทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากต่างประเทศ 0.50 - บทความจากผลงานวิ จั ยที่ ได้ รับ การตี พิ มพ์ ใ นวารสารวิช าการ (Journal) ที่ มีชื่ อ ปรากฏอยู่ ในบั ญชี รายชื่ อ วารสาร ระดับชาติที่ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่ใน Website ของสานักงานฯ 0.75 - บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล อื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตร์นั้นนอกเหนือฐานข้อมูล ISI หรือบทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสารระดับนานาชาติที่ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่ใน Website ของสานักงานฯ 1.00 - บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI กาหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ 0.125 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.25 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับชาติ 0.50 - มีการเผยแพร่ โดยการจัดนิท รรศการ (Exhibition) หรือ การจัดการแสดง (Performance) ระดั บความร่วมมือ ระหว่า ง ประเทศ 0.75 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับภู มิภาค (อาเซียน 10 ประเทศ)* 1.00 - มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือการจัดการแสดง (Performance) ระดับนานาชาติ *อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดเนเซีย สิงคโปร์ บูรไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า หมายเหตุ แหล่ งเผยแพร่และรายชื่อวารสารที่ได้รับรองมาตรฐานติดตามได้จากประกาศของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิ น คุณภาพการศึกษา (สมศ.) สูตรการคานวณ: 1. คานวณงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ หรือเผยแพร่ในรอบปีปฏิทินนั้น

x 100

อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมดในรอบปีการศึกษานั้น 51

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


2. แปลงจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

ร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

คะแนนที่ได้ =

x 100

ร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ที่กาหนด ให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. โดยกาหนดร้อยละเท่ากับ 5 คะแนน จาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้ กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

52

5 คะแนน 20 20 10

ปีปฏิทิน ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ การวิจัยเป็นพันธกิ จหนึ่งที่สาคัญของสถาบันอุดมศึกษา การดาเนิ นการตามพันธกิจ อย่างมีประสิทธิภาพและประสบความ สาเร็จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและมีประโยชน์สู่การนาไปใช้จากการเปรียบเทียบจานวน งานวิจัยหรือ งานสร้า งสรรค์ ของอาจารย์ ประจาและนักวิ จัยประจ าที่น ามาใช้ป ระโยชน์ในการแก้ปั ญหาตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไ ว้ใ น โครงการวิจัยและรายงานการวิจัย โดยได้รับการรับรองประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา งานวิ จั ย หรื อ งานสร้ างสรรค์ ที่ น ามาใช้ ประโยชน์ หมายถึ ง งานวิ จั ยหรื อ งานสร้ า งสรรค์ ที่ ไ ด้ น ามาใช้ ป ระโยชน์ ตาม วัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในโครงการ โครงการวิจัย และรายงานการวิจัยอย่างถูกต้อง สามารถนาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม มี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการประยุกต์ใช้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยมีหลักฐานปรากฏอย่างชัดเจนถึงการนาไปใช้จนก่อให้เกิดประโยชน์ได้ จริงอย่างชัดเจนตามวัตถุประสงค์ และ/หรือได้การรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประเภทของการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ที่สามารถนาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม มีดังนี้ 1. การใช้ประโยชน์เชิงสร้างสรรค์ เช่น ผลงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์แก่สาธารณชนในเรื่องต่างๆ ที่ทาให้คุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ ของประชาคมดีขึ้น ได้แก่ การใช้ประโยชน์ด้านสาธารณสุข ด้านการบริหารจัดการสาหรับวิสาหกิจขนากลางและขนาดย่อม (SMEs) ด้าน การส่งเสริมประชาธิปไตยภาคประชาชน ด้านศิลปะและวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิตและเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 2. การใช้ ประโยชน์ ใ นเชิ งนโยบาย เช่ น ใช้ ประโยชน์ จ ากผลงานวิ จัยเชิง นโยบายในการนาไปประกอบเป็น ข้ อมู ล การประกาศใช้ กฏหมาย หรือกาหนดมาตรการ กฏเกณฑ์ต่างๆ โดยองค์กร หรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป็นต้น 3. การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เช่น งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปสู่การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ หรือนาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เป็นต้น 4. การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับจิตใจ ก่อให้เกิดสุนทรียภาพ สร้างความสุข เช่น งานศิลปะที่นาไปใช้ในโรงพยาบาล ซึ่งได้มีการศึกษาและประเมินไว้ 5. การใช้ประโยชน์ด้วยการถ่า ยทอดเทคโนโลยีโ ดยการให้สัม ภาษณ์สื่อ ลงข่ าวในหนั งสือพิ มพ์ เว็บ ไซด์ (อ้ างอิง จาก สรุ ปประเด็ น คาถามและคาตอบของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 ของสถาบันอุดมศึกษา ศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 หน้า 4) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรับรองการนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์มาใช้ประโยชน์ หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กร ภายนอกสถาบันอุ ดมศึกษา ที่มีการนางานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ ของสถาบันอุดมศึ กษาไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ โดย มีการรับรองเป็ น เอกสารหลักฐานที่ชัดเจน พร้อมทั้งระบบผลของการนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ การนาไปใช้ ประโยชน์ข องงานวิ จัย เป็ นการนาไปใช้ป ระโยชน์ ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไ ว้ใ นโครงการ โครงการวิ จัย และ รายงานการวิจัยอย่างถูกต้อง สามารถนาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรมกับกลุ่มเป้าหมาย โดยมีหลักฐานปรากฏอย่างชัดเจนถึง การนาไปใช้ประโยชน์จนก่อให้เกิดประโยชน์ได้จริงตามวัตถุประสงค์ และได้การรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การนับจานวนผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ให้นับจากวันที่ นาผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ของอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา (นับรวมของผู้ลาศึกษาต่อ) มาใช้และเกิดผลอย่างชัดเจนตามปีปฏิทิน ในกรณีที่งานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ มีการนาไปใช้ประโยชน์มากกว่า 1 ครั้ง ให้ นับการนาไปใช้ประโยชน์ได้เพียงครั้งเดียว ยกเว้นในกรณีที่มีการใช้ประโยชน์ ที่ แตกต่างกันอย่างชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ากัน 53

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


การน าไปใช้ประโยชน์ข องงานสร้างสรรค์ จะต้องปรากฏชัดตามที่ระบุ ไว้ใ นวัตถุประสงค์ ของโครงการสร้า งสรรค์ ซึ่งได้ นาเสนอรายงานขั้นตอนการสร้างสรรค์ ผ่านการวิเคราะห์และสรุ ปผลตามผลงานอย่างเป็นระบบ สามารถนาผลงานและรายงานการ ดาเนินงานไปใช้เป็น ประโยชน์ ได้จริงตามวัตถุประสงค์และได้ นาเสนอผลการนาไปใช้จากผู้เ กี่ยวข้อง เช่น สถาบันการศึกษา สถาบั น ศิลปะ เป็นต้น ทั้งนี้ให้แสดงข้อมูลที่ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์ที่ชัดเจนด้วย ตามแนวทางดังต่อไปนี้ - ข้อมูลแสดงผลดีที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจากการนาสิ่งประดิษฐ์อันเป็น ผลจากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ของงานวิจัย - ข้อมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจากการนานโยบาย กฏหมาย มาตรการที่เป็นผลจากงานวิจัยนโยบายไปใช้ - ข้อมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจากการนาผลงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาสาธารณะไปใช้ อาจารย์ประจา หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน และบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษาทั้งปีการศึกษา ซึ่งมีหน้าที่ ความรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา นัก วิจัยประจา หมายถึ ง ข้ าราชการ หรื อพนักงาน หรื อบุ คลากรที่มี สัญญาจ้ า งกั บสถาบั นอุ ดมศึ กษาทั้ ง ปีการศึ กษา ที่ มี ตาแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่วิจัยหรือนักวิจัย การนับจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ให้นับระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 9-12 เดือน

คิดเป็น 1 คน

6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน

คิดเป็น 0.5 คน

น้อยกว่า 6 เดือน

ไม่สามารถนามานับได้

สูตรการคานวณ: 1. คานวณงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ผลรวมของจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ในปีปฏิทินนั้น

x 100

จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมดในรอบปีการศึกษานั้น 2. แปลงจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์

x 100

ร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. ค่าร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 20 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้: 54

ปีปฏิทิน ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้ ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ สะท้อนถึง สมรรถนะในการศึกษา ค้ นคว้า วิ เคราะห์ สังเคราะห์ วิ จัย การปฏิบัติจริ งและได้ นาไปใช้ ในการแก้ปั ญหา หรือ พัฒ นางานในหน้า ที่จ นเกิ ดผลดี ต่อ การพั ฒนาคุ ณภาพการจัดการศึ กษา และเป็ นประโยชน์ ต่อ ความ ก้าวหน้าทางวิชาการ ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ หมายถึง บทความวิชาการ ตารา หรือหนังสือที่ผ่านกระบวนการกลั่นกรองและได้รับการ รับรองคุณภาพแล้ว ตามเกณฑ์ของ กพอ. เรื่องหลักเกณฑ์การขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการหรือเทียบเท่า ผลงานวิชาการที่เป็นบทความวิชาการ (Academic Papers) ตารา (Textbook) หรือหนังสือ (Books) ต้องเป็นผลงานที่ผ่าน การกลั่นกรองผลงานก่อนตีพิมพ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - บทความวิชาการ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ มีข้อความรู้ที่สะท้อนมุมมอง แนวคิดเชิงทฤษฎี ที่ไ ด้จ ากประสบการณ์ การสั งเคราะห์ เอกสาร หรื อการวิ จัย โดยจั ดท าในรู ป ของบทความเพื่ อตี พิ มพ์ เผยแพร่ ใ นวารสารวิช าการที่ มี คุณภาพซึ่งมีผู้ตรวจอ่าน - ตารา หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ อาจเขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหาทั้งหมดของรายวิชา หรือ เป็นส่วนหนึ่ง ของวิชาหรือ หลักสูตรก็ไ ด้ โดยมีการวิเคราะห์แ ละสังเคราะห์ความรู้ที่เ กี่ยวข้อง และสะท้อนให้ เห็นความสามารถในการ ถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษา - หนังสือ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่ เขียนขึ้น เพื่อเผยแพร่ความรู้ ไปสู่วงวิช าการหรือผู้อ่านทั่วไป โดยไม่จาเป็นต้อ ง เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรหรือต้องนามาประกอบการเรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง ทั้งนี้จะต้องเป็นเอกสารที่เรียบเรียงขึ้น อย่า งมี เอกภาพ มีรากฐานทางวิ ชาการที่ มั่นคง และให้ทั ศนะของผู้ เขี ยนที่ เสริม สร้ างปัญญาความคิ ด และสร้ างความแข็ง แกร่ง ทาง วิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หมายเหตุ หนังสือที่มีลักษณะเป็น book chapter ซึ่งมีผู้เขียนหลายคน เป็นอาจารย์จากมหาวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศ โดยหนังสือนี้ได้รับการ edit แล้ว กรณีที่อาจารย์เป็นผู้เขียนหนึ่งในนั้นจะสามารถนับได้ก็ต่อเมื่อมีส่วนร่วมในการเขียนร้อยละ 50 ขึ้นไป (อ้างอิงจาก สรุปประเด็นคาถามและคาตอบของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 ของสถาบันอุดมศึกษา ศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 หน้า 4) การนับจานวนผลงานทางวิชาการที่รับรองคุณภาพ จะนับผลงานวิชาการของอาจารย์ประจา (นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ ) โดย เป็นผลงานที่ไ ด้รับ การพิ จารณาให้ตีพิ มพ์เผยแพร่ในรูปแบบของบทความวิช าการในวารสารวิ ชาการ ทั้ งในระดั บชาติ หรือ นานาชาติ หนังสือ หรือตาราทางวิช าการ ซึ่งมีระบบการพิจารณาต้นฉบับจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ก่อนการตี พิมพ์ ในกรณีที่มีการตีพิม พ์ มากกว่า 1 ครั้ง ให้นั บการตีพิ มพ์ เพี ยงครั้ ง เดี ยวต่อ งานวิ ชาการ 1 เล่ ม ไม่ นับ ซ้ากรณี ที่ไ ด้รับการตีพิ มพ์ หลายครั้ ง หรื อที่ อยู่ ระหว่ า ง กระบวนการตีพิมพ์ กาหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ 0.25 - บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 0.50 - บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 55

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


0.75 1.00

- ตาราหรือหนังสือที่มีการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ - ตาราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว หรือตาราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตาแหน่งวิชาการ หมายเหตุ รายชื่ อวารสารที่ ได้ รับการรั บรองมาตรฐานติ ดตามได้ จากประกาศของสานั กงานรั บรองมาตรฐานและประเมิน คุ ณภาพ การศึกษา (สมศ.) สูตรการคานวณ: ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพในปีปฏิทินนั้น x 100 อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมดในรอบปีการศึกษานั้น เกณฑ์การประเมิน: 1. โดยการแปลงจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 2. ค่าร้อยละของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 10 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

56

ปีปฏิทิน ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้ CITU 2 ระดับความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการประชุมร่วมกันระหว่างหน่วยงานพันธมิตร 2 มีการจัดทาโครงการ/นาเสนอแนวความคิดในการจัดการประชุม ระดับชาติหรือนานาชาติ 3 มี ก ารก าหนดกรอบและเป้ า หมายในการจั ด การประชุ ม กั บ หน่วยงานพันธมิตร 4 ดาเนินการจัดโครงการประชุม ระดับชาติหรือนานาชาติได้ตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ 5. มีผลงานทางวิ ชาการของวิท ยาลั ยร่ ว มน าเสนอในการประชุ ม ดังกล่าว เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 ดาเนินการได้ 1 ข้อ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

57

คะแนน 2 ดาเนินการได้ 2 ข้อ

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ รายงานการประชุมร่วมกันระหว่างหน่วยงานพันธมิตร รายงานสรุ ป โครงการการจั ดการประชุ ม ระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ เอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ เช่น โปสเตอร์ เวปไซด์ รายงานสรุ ป โครงการการจั ดการประชุ ม ระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ รายชื่อ ผลงานวิ ช าการของวิท ยาลั ยที่ ร่ว มนาเสนอในการ ประชุม

คะแนน 3 ดาเนินการได้ 3 ข้อ

คะแนน 4 ดาเนินการได้4 ข้อ

คะแนน 5 ดาเนินการครบ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจัยไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ระดับ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีการกาหนดช่องทางเผยแพร่งานวิจัยไปในวงกว้า งโดยอาศั ย มีช่องทางเผยแพร่งานวิจัย เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 3

4 5.

มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ มีการเผยแพร่ผลงานวิจั ยที่ รวบรวมจากวารสารวิ ชาการนานา ชาติซึ่ งปรากฏอยู่ ในฐานข้อ มูลสากล และผ่า นการสั ง เคราะห์ โดยอาจารย์ประจาวิทยาลัย ผลงานวิจัยของอาจารย์ประจามีการเผยแพร่ควบคู่กับข้อ 3 มีการนาข้อมู ลจากกลุ่มผู้ ใช้บ ริการฐานข้ อมูลมาวิ เคราะห์ เพื่ อ ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 ดาเนินการได้ 1 ข้อ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

58

คะแนน 2 ดาเนินการได้ 2 ข้อ

รายชื่อคณะกรรมการที่รับผิดชอบ ผลงานวิ จั ย ที่ ร วบรวมจากวารสารระดั บ นานาชาติ ใ น ฐานข้อมูลสากลโดยอาจารย์ประจาเป็นผู้สังเคราะห์ ผลงานวิจัยของอาจารย์ประจาเผยแพร่ รายงานสรุปจากกลุ่มผู้ใช้บริการฐานข้อมูล

คะแนน 3 ดาเนินการได้ 3 ข้อ

คะแนน 4 ดาเนินการได้4 ข้อ

คะแนน 5 ดาเนินการครบ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชีส้ กอ. 5.1 ระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มี ร ะบบและกลไกการบริ ก ารทางวิ ช าการแก่ สั ม คมและ มี ก ารวางแนวทาง ขั้ น ตอน หลั ก เกณฑ์ ก ารให้ บ ริ ก าร ดาเนินการตามที่ระบบกาหนด วิชาการด้านต่า งๆ มีการจั ดหางบประมาณสนับ สนุน และ จั ด ท าระเบี ย บของการให้ บ ริ การ รวมทั้ ง มี ก ารวางแผน ตรวจสอบ ติ ด ตาม ประเมิ น เพื่ อ น าไปสู่ ก ารปรั บ ปรุ ง คุณภาพอย่างสม่าเสมอ 2 มีการบู รณาการงานบริ การทางวิช าการแก่สัง คมกั บการเรี ยน มี การบู รณาการงานบริ การทางวิ ช าการแก่ สัง คมกั บ การ การสอน เรียนการสอนและการปฏิบัติงานด้านอื่นๆ 3 มีการบูรณาการงานบริการวิชาการกับสังคมกับงานวิจัย มีการบูรณาการงานบริ การวิช าการกั บ สั งคมกั บ งานวิ จั ย อย่างเป็นระบบ เช่น การนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์จริง หรื อ นาความรู้ จ ากการบริ การไปต่ อยอดเพื่ อ พั ฒนาองค์ ความรู้ใหม่ 4 มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการทาง มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการ วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ทั้ง ในระดับแผนการดาเนิ นงาน เป้า หมายของสถาบัน ความ ร่วมมือของบุคลากร คุณภาพของการให้บริการ 5 มีการน าผลการประเมิ นไปปรั บ ปรุ ง การบูรณาการงานบริการ มีการนาผลการประเมิ นไปพัฒ นาแผน กระบวนการ และ ทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและงานวิจัย ผลสัมฤทธิ์อย่างสม่าเสมอและเป็นรูปธรรม เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

59

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ศูนย์ให้คาปรึกษาและการพัฒนานวัตกรรม

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มี ก ารส ารวจความต้ อ งการของชุ ม ชน หรื อ ภาครั ฐ หรื อ ภาคเอกชน หรื อ หน่ ว ยงานวิ ช าชี พ เพื่ อ ประกอบการกาหนด ทิศทางและการจัดทาแผนบริ การทางวิช าการตามจุดเน้น ของ สถาบัน 2 มี ค วามร่ ว มมื อ ด้ า นการบริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ 3 มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการวิชาการ ต่อสังคม 4 มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือ กิจกรรมการให้บริการทางวิชาการ

5

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มี ก ารสารวจความต้ อ งการของชุ ม ชน หรื อ ภาครั ฐ หรื อ ภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกาหนด นโยบาย ยุ ท ธ์ ศาสตร์ ทิ ศทาง การจั ดท าแผนการบริ การ ตามความเชีย่ วชาญของสถาบัน มีการสร้างเครือข่ายเพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ

มีการประเมิ นประโยชน์ห รื อผลกระทบของการให้ บริ การ วิชาการต่อสังคมจาก นักศึกษา อาจารย์ และผู้ให้บริการ มี การน าผลการประเมิ น ไปพั ฒ นาระบบและกลไก หรื อ กิจกรรมการให้บริ การ คือ รูปแบบการให้บริ การ ขอบเขต การให้บริการ ค่าใช้จ่าย ระยะเวลาในการให้บริการ สัญญา การบริการ การควบคุมและกากับคุณภาพการให้บริการ มี ก ารพั ฒ นาความรู้ ที่ ไ ด้ จ ากการให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการและ มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและ ถ่ า ยทอดความรู้ สู่ บุ ค ลากรภายในสถาบั น และเผยแพร่ สู่ ถ่ า ยทอดความรู้ สู่ บุ ค ลากรภายในสถาบั น เช่ น การ สาธารณชน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

60

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ศูนย์ให้คาปรึกษาและการพัฒนานวัตกรรม

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 8 การนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิ ชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการ วิจัย ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 ร้อยละของจานวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับการเรียนการ 1. มีการกาหนดนโยบายและส่งเสริมการให้บริการวิชาการ สอนต่ อ จ านวนโครงการบริ ก ารวิ ช าการทั้ ง หมดไม่ น้ อ ยกว่ า ที่ ส นั บ สนุ น การเรี ย นการสอนและวิ จั ย สนั บ สนุ น และ ร้อยละ 10 ส่งเสริมให้ คณาจารย์น าความรู้และประสบการณ์จากการ บริ การวิ ชาการและวิ ชาชีพ มาประยุกต์ใ ช้ใ นการเรียนการ สอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่อง 2. ข้ อ มู ลที่ แ สดงว่ า อาจารย์ ไ ด้ น าประสบการณ์ จ ากการ บริการวิชาการมาใช้ประโยชน์ด้านการเรียนการสอน 2 ร้อยละของจานวนโครงการบริการวิ ชาการที่ ใช้ กับการวิจั ยต่ อ ข้อมูลที่แสดงว่าอาจารย์ได้นาประสบการณ์จากการบริการ จานวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 วิชาการมาใช้ประโยชน์ด้านการวิจัย 3 ร้อยละของจานวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับ การขยายผลสู่ ข้อมูลที่แสดงว่าอาจารย์ได้นาประสบการณ์จากการบริการ การปรับปรุงรายวิชาต่อจานวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมด วิชาการมาใช้ประโยชน์ โ ดยปรับ ปรุง รายละเอียดในแต่ละ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 รายวิชา 4 ร้อยละของจานวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับ การขยายผลสู่ ข้อมูลที่แสดงว่าอาจารย์ได้นาประสบการณ์จากการบริการ การเปิดรายวิชาใหม่ต่อจานวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมด วิชาการมาใช้ประโยชน์โดยการเปิดรายวิชาใหม่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 5. ร้อยละของจานวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับ การต่อยอดสู่ ข้อมูลที่แสดงว่าอาจารย์ได้นาประสบการณ์จากการบริการ หนังสือ หรือตาราต่อจ านวนโครงการบริการวิชาการทั้ง หมดไม่ วิชาการมาใช้ประโยชน์โดยการพัฒนาเป็นหนังสือหรือตารา น้อยกว่าร้อยละ 5 เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการปฏิบัติ 1 ข้อ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

61

คะแนน 2 มีการปฏิบัติ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการปฏิบัติ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการปฏิบัติ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการปฏิบัติ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ศูนย์ให้คาปรึกษาและการพัฒนานวัตกรรม

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 9 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ คาอธิบายตัวบ่งชี:้ โครงการที่มีผลต่อการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หมายถึง โครงการที่สถาบันจัดขึ้นเพื่อพัฒนาชุมชนหรือ องค์กรภายนอกและเมื่อดาเนินการแล้วมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแก่ชุมชนหรือองค์กรภายนอกในด้านต่างๆ หรือ ทาให้ชุมชนหรือองค์กรภายนอกสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของตน เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วม แผนและกิ จ กรรมหรื อ โครงการที่ ส่ ง เสริ ม ความเข้ ม แข็ ง ของชุมชนหรือองค์กร ของชุ ม ชน 2 บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 มีการทบทวนการดาเนินงานให้ บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ต่ากว่าร้อยละ 80 3 ชุม ชนหรือ องค์ กรมี ผู้น าหรือ สมาชิ กที่ มี การเรี ยนรู้ แ ละดาเนิ น รายงาน เ อ กสารผลการป ฏิ บ ั ต ิ ต ามกิ จ กรรมห รื อ กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โครงการ 4 ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ข้ อ มู ล ที ่ แ สดงถึ ง ผลการดาเนิ น งานตามกิ จ กรรมหรื อ และยั่ ง ยื น โดยคงอั ต ลั ก ษณ์ แ ละวั ฒ นธรรมของชุ ม ชนหรื อ โครงการโดยผู้ นาหรื อ สมาชิ ก ของชุ ม ชนหรื อ องค์ ก รได้ องค์กร เรี ย นรู้ แ ละดาเนิ น กิ จ กรรมอย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง และพั ฒ นา ตามอั ตลั กษณ์ แ ละวั ฒ นธรรมของชุ ม ชนหรื อ องค์ กร 5. มีผลกระทบที่เ กิ ดประโยชน์ สร้า งคุ ณค่ า ต่ อสั ง คม หรื อชุ ม ชน/ ข้ อ มู ล ที ่ แ สดงถึ ง ผลการดาเนิ น งานตามกิ จ กรรมหรื อ องค์กรมีความเข้มแข็ง โครงการของชุ ม ชนหรื อ องค์ ก รที่ ส ร้ า งประโยชน์ ความ เข้ ม แข็ ง และคุ ณค่ า ต่ อ สั ง คม เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการปฏิบัติ 1 ข้อ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

62

คะแนน 2 มีการปฏิบัติ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการปฏิบัติ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการปฏิบัติ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการปฏิบัติ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ศูนย์ให้คาปรึกษาและการพัฒนานวัตกรรม

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 18 ผลการชี้นา ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาเลือกดาเนินการ 2 เรื่อง จากประเด็นเรื่องที่ชี้นาหรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ อาทิ การส่งเสริมและสืบ สานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ความรักชาติ บารุงศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริย์ สุขภาพ ค่านิยม จิตสาธารณะ ความคิด สร้างสรรค์ ผู้ด้ อยโอกาสและผู้สูงอายุ นโยบายรัฐบาล เศรษฐกิ จ การพร้อ มรับการเป็ นสมาชิกสัง คมอาเซียน พลังงานสิ่งแวดล้อ ม อุบัติภัย สิ่งเสพติด ความฟุ่มเฟือย การแก้ปัญหาความขัดแย้ง สร้างสังคมสันติสุขและความปรองดอง ตลอดจนการน้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นสถานศึกษาพอเพียงแบบอย่างเป็นต้น ทั้งนี้ ประเด็นเรื่องที่ชี้นาหรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาเลือกดาเนินการในแต่ละเรื่องนั้น ต้องผ่านการ เห็นชอบจากสภาสถาบัน เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 2

บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80

3

มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

4 5.

ได้รับการยกย่องระดับชาติ ได้รับการยกย่องระดับนานาชาติ

เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการปฏิบัติ 1 ข้อ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

63

คะแนน 2 มีการปฏิบัติ 2 ข้อ

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ แผน และ กิ จ กรรมหรื อ โครงการที ่ ชี้ น า ป้ อ งกั น หรื อ แก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ มีการทบทวนการดาเนินงานให้ บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ ต่ากว่าร้อยละ 80 ข้ อ มู ล ที ่ แ สดงถึ ง ผลการดาเนิ น งานตามกิ จ กรรมหรื อ โครงการที ่ ชี้น า ป้อ งกั น หรือ แก้ ปัญหาของสั งคมในด้ า น ต่า งๆ โดยมี ผลกระทบที่ เกิ ดประโยชน์ และสร้ างคุ ณค่ าต่ อ สังคม รายงาน รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ การประกาศเกี ยรติ คุ ณ ยกย่ อ ง ระดับชาติและนานาชาติ จากสถาบันหรือหน่วยงานที่เป็นที่ ยอมรับ

คะแนน 3 มีการปฏิบัติ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการปฏิบัติ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการปฏิบัติ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ศูนย์ให้คาปรึกษาและการพัฒนานวัตกรรม

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีม้ ธ. 10 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ร้อยละ คาอธิบายตัวบ่งชี้: เปรียบเทียบจานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชากรที่เก็บค่าธรรมเนียมกับจานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ ทั้งหมด สูตรการคานวณ 1. คานวณค่าร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด จานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมในรอบปีการศึกษา x 100 จานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการทั้งหมดในรอบปีการศึกษา 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด

x 100

ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมด ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เกณฑ์การประเมิน : 1. แปลงร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมดเป็นคะแนนระหว่าง 0 - 5 2. ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมต่อโครงการบริการวิชาการทั้งหมดที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 43 ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

64

ปีการศึกษา ศูนย์ให้คาปรึกษาและการพัฒนานวัตกรรม

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชีส้ กอ. 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มี ร ะบบและกลไกการท านุ บ ารุ ง ศิ ลปะและวั ฒ นธรรม และ ดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2 มีการบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการ จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 3 มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรมต่อสาธารณชน 4

5

6

มีการประเมิน ผลความสาเร็ จของการบู รณาการงานด้ านทานุ บ ารุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมกั บ การจั ดการเรี ยนการสอนและ กิจกรรมนักศึกษา มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทานุ บ ารุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมกั บ การจั ดการเรี ยนการสอนและ กิจกรรมนักศึกษา

มี ก ารก าหนดหรื อ สร้ า งมาตรฐานคุ ณ ภาพด้ า นศิ ล ปะและ วัฒนธรรมและมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

65

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มี ก ารก าหนดระบบและกลไกการท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปะและ วัฒนธรรมและนาไปปฏิบัติ มีการน าการท านุ บารุ งศิ ลปะและวั ฒนธรรมไปบูรณาการ ร่วมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 1. มีการเผยแพร่และบริการด้านศิลปะและวัฒนธรรม 2. มีการจัดทาวารสารศิลปะและวัฒนธรรม 3. มีบริการวิชาการด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีการติ ดตามผลการบู รณาการงานด้ า นท านุ บ ารุ ง ศิ ลปะ และวั ฒ นธรรมกั บ การจั ดการเรี ยนการสอนและกิ จ กรรม นักศึกษา กาหนดตัวบ่งชี้ และติดตามผลอย่างเป็นระบบ 1. มี ก ารน าผลการประเมิ น ไปพั ฒ นากระบวนการทาง ศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนโดยใช้หลั กการ PDCA 2. มีแผนปรับปรุง และพัฒ นากระบวนการทางศิ ลปะและ วัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง 3. มีผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการดาเนินตามแผนปรับปรุงและ พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม 1. มีการกาหนด/สร้างมาตรฐานด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยการใช้ผู้เชี่ยวชาญและเผยแพร่สู่สาธารณชน 2. หน่วยงานได้รับการยอมรับจากสังคม เช่น มีบุคคลได้รับ เชิ ญเป็ น วิ ท ยากรด้ า นศิ ลปะและวั ฒ นธรรม ทั้ ง ในระดั บ ชุมชน ระดับชาติ ระดับนานาชาติ 3. มีผลงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่ ได้รับการเผยแพร่ทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับ นานาชาติ มีผลงานได้รับรางวัล/ได้รับการอ้างอิง

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

66

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้: ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ คาอธิบายตัวบ่งชี้ : การส่งเสริมและสนับสนุน หมายถึง การให้ความสาคัญและการขยายขอบเขตในโครงการหรือกิจกรรมให้ดีมีคุณภาพอย่าง สมบูรณ์ขึ้นด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ บุคลากร ความรู้ โอกาส และกาลังใจ เพื่อให้บรรลุผลตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่มีความเป็นไปได้อย่างเป็นรูปธรรม สามารถจะดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืน ศิลปะ คือ งานสร้างสรรค์ที่ส่งเสริมสร้างสุนทรีย์ ความงาม และความสุข แก่ผู้คน สภาพแวดล้อม และสังคม เพื่อพัฒนาการ ยกระดั บความมีรสนิ ยม ความสุน ทรีย์ เข้า ใจคุณค่ าและความสาคั ญของศิ ลปะ ตลอดจนเป็น แนวทางในการพั ฒนาส่ งเสริม การอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษย์ที่มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เช่น เรื่องความคิด ความรู้สึก ความเชื่อ ก่อให้เกิดวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถีชีวิตและสังคม รวมทั้งผลที่เกิดจากกิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมมีลักษณะเฉพาะและมีลักษณะสากล เปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปัจจุบันที่ดีควรมีความสอดคล้องกับความเป็น สากล แต่มี รากฐานของวั ฒนธรรมตนเองที่มี คุณค่า สาหรั บ วัฒ นธรรมในสถาบั นอุ ดมศึกษา หมายถึง วั ฒนธรรมที่แ สดงความเป็ น อุดมศึกษาที่ถือเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม มีความเจริญงอกงามทางปัญญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ และจิตใจ การมีน้าใจเสียสละ และการมีส่วนร่วมกับสังคม สามารถเป็นผู้นาที่ดีและเป็นที่พึ่งของสังคม มีวัฒนธรรมในวิถีชีวิตมหาวิทยาลัยที่น่าศรัทธาเป็นที่ยอมรับ มี บทบาทต่อการปกป้องวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และพัฒนาแนวทางการดารงชีวิตท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลได้เหมาะสมอย่าง ฉลาดรู้ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 2

บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80

3

มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

67

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ นโยบาย แผน ระบบและกลไกในการส่งเสริมและสนับสนุน ด้านศิลปะและวัฒนธรรม 1. โครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะ และวัฒนธรรม พร้อมรายละเอียดของโครงการหรือกิจกรรม รวมทั้งตัวบ่งชี้และเป้าหมายความสาเร็จ 2. รายงานสรุปผลหรือประเมินโครงการหรือกิจกรรม 3. หลักฐานที่ อธิ บายรายละเอียดและแสดงกระบวนการ ได้มาซึ่งข้อมูลของการสรุปผลสาเร็จ เช่น ขั้นตอนและช่ว ง ระยะเวลาการเก็บ ข้ อ มูล การสุ่ ม ตัว อย่ าง แบบสารวจหรื อ แบบสอบถามหรือแบบประเมิน วิธีการวิเคราะห์ผล เป็นต้น ข้ อ มู ล ที ่ แ สดงถึ ง ผลการดาเนิ น งานตามกิ จ กรรมหรื อ โครงการส่ง เสริม และสนับสนุน ด้านศิ ลปะและวัฒ นธรรม โดยมีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 4 5

เกณฑ์มาตรฐาน ได้รับการยกย่องระดับชาติ ได้รับการยกย่องระดับนานาชาติ

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

68

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ รายงาน รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ การประกาศเกี ยรติ คุ ณ ยกย่ อ ง ระดับชาติและนานาชาติ จากสถาบันหรือหน่วยงานที่เป็นที่ ยอมรับ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริการการศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้: ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ คาอธิบายตัวบ่งชี้: การพั ฒนาสุ น ทรี ย ภาพ หมายถึ ง การปรั บ ปรุ ง เปลี่ ยนแปลงอย่ า งมี แ ผนที่ เ ป็ น ระบบเกี่ ยวกั บ ความงามทางศิ ลปะและ วัฒนธรรม ที่ มีผลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคม ในแนวทางที่ ดีขึ้น โดยมีเ ป้าหมายที่ชั ดเจน และเป็นที่ยอมรั บ ร่วมกันได้ ผลการปรั บปรุ งเปลี่ยนแปลงหรื อสร้ างสิ่ งใหม่ต้อ งไม่ เป็ นการทาลายคุณค่ าทางสุน ทรีย์ของศิลปะและวัฒ นธรรมเดิม การ พัฒนาเชิงวัฒ นธรรมสามารถสร้างวั ฒนธรรมใหม่ ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับ สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและมี นวัตกรรมใหม่ ทั้งทาง เทคโนโลยี ระบบสังคม และความนิยม เพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจมีความเจริญก้าวหน้าอย่างสันติสุข สุนทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการรับรู้และความรู้สึก สามารถจรรโลงจิตใจให้มีความสุข มีรสนิยม ก่อให้เกิดวิถีชีวิตมนุษย์ที่งดงาม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมที่เข้าใจและผูกพัน ตลอดจน การรับรู้ถึงคุณค่าที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมของศิลปะและวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์เพื่อการดารงรักษ์สืบต่อไป เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี 2 3 4 5

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการสร้างวัฒนธรรม องค์กรที่ดี อาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมีความ 1. แผนงานและแผนงบประมาณในการปรับปรุงดูแลรักษา สุนทรีย์ อาคาร ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ 2. ภาพถ่าย 3. โครงการประหยัดพลังงานในอาคาร และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมี แผนการใช้พื้นที่และปฏิทินการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาไม่ต่ากว่า 3.51 แบบประเมินและผลการประเมิน จากคะแนนเต็ม 5

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

69

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 สภาสถาบันปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมี 1. กรรมการสถาบันควรได้รับคาชี้แจงและทาความเข้าใจ การประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า เกีย่ วกับกฎหมายข้อบังคับต่างๆ 2. กรรมการสถาบั น ก ากั บ ดู แ ลสถาบั น ไปในทิ ศ ทางที่ กาหนด 3. มีการเปิดเผยประวัติกรรมการสภาสถาบัน รายงานการ ประเมินตนเอง และรายงานต่อสาธารณชน 2 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถ 1. ผู้ บ ริ ห ารและสภาสถาบั น มี ส่ ว นร่ ว มในการก าหนด ถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผน นโยบาย จัดทาวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ และแนวทาง กลยุ ท ธ์ มี การน าข้อ มู ลสารสนเทศเป็ น ฐานในการปฏิบั ติง าน ปฏิบัติที่ชัดเจน และพัฒนาสถาบัน 2. ผู้ บ ริ ห ารสร้ า งระบบและกลไกในการถ่ า ยทอดไปสู่ บุคลากร 3. มี ก ารจั ด ท าระบบฐานข้ อ มู ล ให้ ทั น สมั ย สามารถ นามาใช้ติดตามผลการบริหารสารสนเทศที่กาหนดในแผน กลยุทธ์อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 3 ผู้ บ ริ ห ารมี การก ากั บ ติ ดตามและประเมิ น ผลการดาเนิ น งาน 1. ผู้บ ริห ารมีการกากับ ติ ดตามการนานโยบายและแผน ตามที่ ม อบหมาย รวมทั้ ง สามารถสื่ อ สารแผนและผลการ ยุทธ์ศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติในการประชุมผู้บริหารอย่างน้อย ดาเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน ปีละ 2 ครั้ง 2. ผู้บ ริ ห ารมี การประเมิ น ผลการดาเนิน งานและติดตาม ผลสัมฤทธิ์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4 ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันมีส่วนร่วมในการบริหาร 1. ผู้ บ ริ ห า รควรรั บ ฟั งคว ามคิ ดเ ห็ น จาก บุ คลา ก ร จั ด การ ให้ อ านาจในการตั ด สิ น ใจแก่ บุ ค ลากรตามความ ผู้ปฏิบัติงาน เหมาะสม 2. มี การปรั บ ลดขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติง านโดยการมอบ อ านาจในการตั ดสิ น ใจแก่ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ ผู้ ป ฏิ บั ติใ นระดั บ ถัดไป 3. มี การส่ ง เสริ ม การจั ดกิ จ กรรมเพื่ อ สร้ า งขวั ญก าลั ง ใจ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน

70

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 5

6

7

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ ผู้บริ หารถ่ ายทอดความรู้ และส่ งเสริม พัฒ นาผู้ ร่ว มงาน เพื่ อให้ 1. ผู้บ ริ ห ารมี การถ่ า ยทอดความรู้ สู่ผู้ป ฏิ บั ติง านเพื่ อ เพิ่ ม สามารถทางานบรรลุวัตถุประสงค์ของสถาบันเต็มตามศักยภาพ ทักษะในการปฏิบัติให้มากขึ้น 2. ผู้ บ ริ ห ารควรน าหลั ก การจั ด การความรู้ ม าใช้ เ พื่ อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ปฏิบัติงาน ผู้ บ ริ ห ารบริ ห ารงานด้ ว ยหลั ก ธรรมาภิ บ าล โดยค านึ ง ถึ ง 1. ผู้บริหารยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นหลักในการบริหารงาน ประโยชน์ของสถาบันและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้ไปในทิศทางที่กาหนดร่วมกัน 2. ผู้บ ริ ห ารดาเนิน งานภายใต้ห ลั กธรรมาภิบ าลโดยเน้ น การปกป้ อ งผลประโยชน์ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เรื่ อ ง คุณภาพทางวิชาการ 3. มี ก ารเปิ ด เผยประวั ติ รายงานการประเมิ น ตนเอง รายงานสรุป ผลการท างาน รายงานการเงิน เสนอต่ อสภา สถาบันทุกปี 4. มีการติ ดตามผลการควบคุ มภายใน การบริ หารความ เสี่ยง การตรวจสอบคุณภาพภายใน รายงานการเงิน เสนอ ต่อสภาสถาบันทุกปี สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของสถาบันและผู้บริหาร 1. สภาสถาบั น มี ก ารประเมิ น ผลการบริ ห ารงานและ นาผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม ผู้บริหารสถาบันตามข้อตกลงที่กาหนด 2. สภ า สถ าบั น ยึ ดห ลั กก าร ป ร ะ เ มิ น ผ ลง า น แ บ บ กัลยาณมิตร (ให้ข้อเสนอแนะในเชิงสร้างสรรค์)

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

71

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ 1

2

3

4

5

เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่ 1. ศึกษาเป้าประสงค์ของประเด็นยุทธ์ศาสตร์เพื่อนามาใช้ใ น สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจ การกาหนดแผนยุทธ์ศาสตร์หรือแผนปฏิบัติการ ด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย 2. ผู้บริหารกาหนดทิศทางการบริหารงานและการผลิตบัณฑิต ให้เป็นไปตามอัตลักษณ์ของหน่วยงาน 3. มี ก ารก าหนดเป้ า หมายการจั ด การความรู้ เน้ น เรื่ อ งการ พัฒนาทักษะและความสามารถของบุคลากรเป็นหลัก กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการ 1. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาความรู้ควรเป็นบุคลากรที่ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต และด้ า นการวิ จั ย อย่ า งชั ด เจนตามประเด็ น ความรู้ ที่ เกี่ยวข้องกับการผลิตบัณฑิต กาหนดในข้อ 1 2. มีการสารวจผลการปฏิบัติงานที่เป็นจุดเด่นของบุคลากรและ นักศึกษา มี ก ารแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี 1. ควรเชิ ญบุ คคลที่มีผ ลงานดี เด่ น มาถ่า ยทอดความรู้ ให้ กั บ ประสบการณ์ ตรง เพื่ อ ค้น หาแนวปฏิ บั ติที่ ดี ตามประเด็น ความรู้ ที่ บุคลากร กาหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กาหนด 2. มีการส่งเสริมบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น ในองค์กร มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ 1. กาหนดผู้รับผิดชอบในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ในตัว ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและ บุคคลมาเป็นแนวทางปฏิบัติและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร 2. มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ จ ากเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ 3. จัดพิมพ์วารสารเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้เกียรติเจ้าของ ความรู้ มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือ 1. ผู้รั บ ผิ ดชอบในการจั ดการความรู้ ค วรเรี ย นรู้ แนวทางการ ปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็นลายลักษณ์อักษร และจากความรู้ ทักษะ ปฏิบัติที่ดีจากแห่งต่างๆ ของผู้ มี ป ระสบการณ์ ต รงที่ เ ป็ น แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี มาปรั บ ใช้ ใ นการ 2. ควรนาความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุงและนามาใช้ในหน่วยงาน ปฏิบัติงานจริง 3. มีการน าผลการประเมิน การจัด การความรู้มาใช้ /ปรับ ปรุ ง การจัดการความรู้ของหน่วยงาน

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้: 72

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มีแผนระบบสารสนเทศ

2

3

มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจ ของสถาบั นโดยอย่า งน้อ ยต้ องครอบคลุม การจัดการเรี ยนการ สอน การวิ จั ย การบริ ห ารจั ดการ และการเงิ น และสามารถ นาไปใช้ในการดาเนินงานประกันคุณภาพ มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ

4

มีการนาผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ มาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

5

มี การส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า นระบบเครื อ ข่ า ยของหน่ ว ยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้องตามที่กาหนด 73

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อจัดทาแผนระบบสารสนเทศ 2. แผนระบบสารสนเทศควรสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน 3. ระบบสารสนเทศต้องประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ - วัตถุประสงค์ ความสามารถในการทางานของระบบ - ความสอดคล้องของระบบต่อกลยุทธ์ของสถาบัน - ความสัมพั นธ์ข องระบบที่เสนอใหม่กับระบบที่ ใช้ใ น ปัจจุบัน - ทรัพยากรที่ต้องการในแต่ละระบบ - งบประมาณที่ต้องการใช้ - การประเมินความคุ้มค่า - การจัดลาดับความสาคัญของระบบ มี การน าระบบสารสนเทศจากการดาเนิ น งานปกติ เช่ น ระบบบั ญชี ระบบการลงทะเบียนนักศึกษา ฯลฯ มาสร้า ง เป็นระบบสารสนเทศให้ผู้บ ริหารใช้ใ นการบริห ารงานและ การตัดสินใจ 1. มีการท าการประเมิ น ผลความพึ ง พอใจของผู้ใ ช้ ระบบ ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 2. ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบอย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง 1. ก าห นดผู้ รั บผิ ดชอ บในการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล กา ร ประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ 2. น าผลการประเมิ น มาใช้ ใ นการจั ด ท าแผนระบบ สารสนเทศ 3. แผนปรั บ ปรุ ง ระบบสารสนเทศควรผ่ า นการพิ จ ารณา จากผู้บริหาร 4. มีการดาเนินงานตามแผน มี ก ารส่ งข้ อมู ล ผ่ านระบ บเ ครื อข่ ายข อง ส า นั ก งา น คณะกรรมการการอุดมศึกษา (CHE QA online) วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

74

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ กอ. 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มีการแต่ งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทางานบริ หารความเสี่ยง 1. มีการตั้งคณะกรรมการหรือคณะท างานโดยมีผู้บ ริหาร โดยมี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และตั ว แทนที่ รับ ผิ ดชอบพั น ธกิ จ ของ ระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจของสถาบัน สถาบันร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทางาน 2. มี การระบุ รายละเอี ยดการท างานของคณะกรรมการ เช่น หน้าที่ กาหนดระยะเวลาการประชุมอย่างสม่าเสมอ 2 มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความ 1. วิ เ คราะห์ ระบุ ปั จ จั ย ความเสี่ ย ง ที่ ส่ ง ผลต่ อ ความ เสี่ ยงอย่ า งน้ อ ย 3 ด้ า น ตามบริ บ ทของสถาบั น จากตั ว อย่ า ง เสียหายของการบริหาร ต่อไปนี้ 2. พิจารณาเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต - ความเสี่ ย งด้ า นทรั พ ยากร (การเงิ น งบประมาณ ระบบ 3. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสียหาย เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) 4. จัดลาดับความสาคัญความเสี่ยง - ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์สถาบัน - ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ ย งด้ านการปฏิ บั ติ งาน เช่ น ความเสี่ ย งขอ ง กระบวนการบริหารหลักสูตร การบริ หารงานวิจั ย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ ย งด้ า นบุ ค ลากรและความเสี่ ยงด้ า นธรรมาภิ บ าล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3 มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลาดับ 1. กาหนดระดับความเสี่ยง เช่น สูง กลาง ต่า ความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 2. กาหนดเกณฑ์ประเมินความเสี่ยง 3. ประเมินโอกาสในการเกิดความเสี่ยง 4. ประเมินผลกระทบความเสี่ยง 4 มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูงและ 1. จัดทาแผนบริหารความเสี่ยง (ลด/ป้องกันความเสี่ยง) ดาเนินการตามแผน 2. สร้างมาตรการควบคุมความเสี่ยง 5 มี การติ ด ตาม และประเมิ น ผลการดาเนิ น งานตามแผน และ 1. มีการรายงานความก้าวหน้า/ผลการดาเนินงานตามแผน 2. มีรายงานสรุปผลการดาเนินงาน ประเมินผลสาเร็จของ รายงานต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง การดาเนินงาน 6 มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใช้ แผนบริหารความเสี่ยงในปีถัดไปควรพิจารณาความเสี่ยงที่ ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป เหลืออยู่ ข้อเสนอจากสภาสถาบัน ความเสี่ยงจากนโยบาย หรือสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป 75

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

76

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 12 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน ชนิดของตัวบ่งชี้: ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ค่าเฉลี่ย คาอธิบายตัวบ่งชี:้ สภาสถาบันอุดมศึกษาถือเป็นองค์กรหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่ต้องมีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบาย กรอบทิศทาง การดาเนินงานตามอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษา กาหนดระบบกลไกและกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิด การก ากั บ ดู แ ลและขั บ เคลื่ อ นสถาบั น อุ ดมศึ กษา รวมทั้ ง การควบคุ ม และตรวจสอบการดาเนิ น งานของสถาบั น อุ ดมศึ ก ษาให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการพัฒนาสถาบันอย่างยั่งยืน การประเมิ นผลความสาเร็จ ในการปฏิบั ติตามบทบาทหน้า ที่ของสภาสถาบันจะมุ่ งเน้ นการประเมิน คุณภาพในการกาหนด ทิศทางกากับดูแลและขับเคลื่อนการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามหน้าที่และบทบาทของสภาสถาบัน การบริหารและการจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล และการดาเนินงานตามมติการประชุมสภาสถาบันอุดมศึกษา เกณฑ์การประเมิน 1. ใช้ค่าคะแนนผลการประเมินผลการดาเนินงานของคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย (คะแนนเต็ม 5) ข้อมูลประกอบการพิจารณา 1. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการกาหนดหรือทบทวนนโยบายการกากับดูแลสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งทบทวนกรอบทิศ ทางการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามหน้าที่และบทบาทของคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย 2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดาเนินการตามระบบการกากับดูแลวิทยาลัย โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือรายงาน หรือบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นว่าคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย ได้กาหนดให้มีกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการจัดการเพื่อให้ เกิดการควบคุมและตรวจสอบการดาเนินงานของวิทยาลัย 3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย มีการติดตามผลการดาเนินงานสาคัญ อาทิ ด้านนโยบาย และแผน ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่เป็น มติสภาสถาบัน 4. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงนโยบายของคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย ที่กาหนดให้มีระบบการประเมินตนเอง และมี การดาเนินงานตามระบบนั้น 5. รายงานการประชุมสภาสถาบันอุดมศึกษาที่ผ่านมา 6. รายงานการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของคณะกรรมการอานวยการวิทยาลัย 7. เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้: 77

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชี้สมศ. 13 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน ชนิดของตัวบ่งชี้: ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ค่าเฉลี่ย คาอธิบายตัวบ่งชี:้ การประเมิ นผลตามหน้ าที่ และบทบาทของผู้ บริ หารในการบริ ห ารและการจั ดการให้ บ รรลุ ผ ลสาเร็ จ ตามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละ แผนปฏิบัติงานประจาปีของสถาบันอุดมศึกษา จะมุ่งเน้นการประเมินคุณภาพของการบริหารงานตามนโยบายของสภาสถาบันอุดมศึกษา ประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการประจาปี ความสามารถในการบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร เกณฑ์การประเมิน ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่คณะกรรมการอานวยการวิทยาลัยแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม 5) ข้อมูลประกอบการพิจารณา 1. เอกสารหรือหลั กฐานที่แสดงรายละเอียดการกาหนดหรื อทบทวนนโยบายการกากับดูแลวิ ทยาลั ย รวมทั้ง ทบทวนกรอบทิ ศทางการ ดาเนินงานของวิทยาลัยตามหน้าที่และบทบาทของวิทยาลัย 2. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการดาเนินการตามระบบการกากับดูแลสถาบันอุดมศึกษา โดยมีเอกสารหรือหลักฐานหรือ รายงานหรือบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารวิทยาลัย ได้กาหนดให้มีกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการจัดการเพื่อให้เกิดการ ควบคุมและตรวจสอบการดาเนินงานของวิทยาลัย 3. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารวิทยาลัยมีการติดตามผลการดาเนินงานสาคัญ เช่น ระบบในด้านนโยบายและแผน ด้านการบริหารงานบุคล ด้านการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของวิทยาลัยที่เป็นมติคณะกรรมการ อานวยการวิทยาลัย 4. เอกสารหรือหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงนโยบายของวิทยาลัยที่กาหนดให้มีระบบการประเมิน ผู้บริหารโดยคณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัยที่แต่งตั้งและมีการดาเนินงานตามระบบนั้น 5. รายงานการสังเคราะห์มติหรือนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของผู้บริหารวิทยาลัย ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

78

ปีการศึกษา ฝ่ายบริหารส่วนกลาง

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชีส้ กอ. 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่งชี้: กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1 มี แ ผนกลยุ ท ธ์ ท างการเงิ น ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนกลยุ ท ธ์ ข อง 1. แผนกลยุ ทธ์ ท างการเงิ นแสดงแหล่ ง ที่ มาและแหล่ ง ใช้ สถาบัน เงินที่ดาเนินไปตามแผนกลยุทธ์ 2. ควรตั้งคณะกรรมการทาหน้าที่วิเคราะห์ทรัพยากรทางที่ ต้องใช้ในการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ 2 มี แ นวทางจั ดหาทรั พ ยากรทางด้ า นการเงิ น หลั ก เกณฑ์ การ 1. มีแนวทางจัดหาแหล่งทุนที่เหมาะสมกับลักษณะการใช้จ่าย จัดสรร และการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส 2. มีแนวทางจัดสรรทรัพยากรตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด 3. มีแผนการจัดหาทรัพยากรทางการเงินอย่างเพียงพอ ตรวจสอบได้ 3

4 5

6

7

มีงบประมาณประจาปีที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการในแต่ละ มีการวิเคราะห์การใช้เงินตามงบประมาณในด้านต่างๆ ดังนี้ พันธกิจและการพัฒนาสถาบันและบุคลากร - งบประมาณประจ าปี ส อดคล้ อ งกั บ แผนปฏิ บั ติ ก าร เพียงใด - งบประมาณประจาปีเพียงพอต่อแต่ละพันธกิจ - งบประมาณประจ าปี ส าหรั บ พั ฒ นาบุ คลากรมี ค วาม เหมาะสม มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และรายงานต่อ มี การจั ดท ารายงานทางการเงิ น ประกอบด้ ว ยงบรายรั บ สภาสถาบันอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ค่าใช้จ่าย งบดุล อย่างน้อยทุก 6 เดือน มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และ 1. จัดทารายงานการใช้เงินงบประมาณเสนอผู้บริหาร วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมั่ นคงของสถาบันอย่า ง 2. มีการจัดทาค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักศึกษา ต่อเนื่อง 3. มีการจัดทารายงานการลงทุนของสถาบัน 4. มี ก ารวิ เ คราะห์ เ พื่ อ พยากรณ์ ร ายรั บ และรายจ่ า ยใน อนาคต มี ห น่ ว ยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ท าหน้ า ที่ ตรวจ 1. จั ด ให้ มี ผู้ ต รวจสอบภายนอกเข้ า มาตรวจสอบเป็ น ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สถาบัน ประจาทุกปี กาหนด 2. มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ/ผู้ ต รวจสอบ ภายในอย่างเป็นทางการ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง มี การติ ด ตามผลการใช้ เ งิ น ให้ เ ป็ น ไปตาม 1. ผู้บริหารสามารถใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและ เป้ า หมาย และน าข้ อมู ลจากรายงานทางการเงิ น ไปใช้ ในการ การตั ดสิ นใจช่ วยในการติ ดตามการใช้เ งิน จั ดท ารายงาน วางแผนและการตัดสินใจ ต่างๆ ที่จาเป็นต้องทราบ 2. มีการนารายงานทางการเงินเสนอสภาสถาบันตามแผน ที่กาหนด 79

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

80

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

ปีงบประมาณ ฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้สกอ. 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน: ข้อ เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ข้อที่ เกณฑ์มาตรฐาน 1 มี ร ะบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในที่ เหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ ของสถาบั น ตั้ ง แต่ ระดั บ ภาควิ ชาหรื อหน่ว ยงานเที ยบเท่ า และดาเนิน การตามระบบที่ กาหนด

2

3

4

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ 1. ควรพั ฒ นาระบบประกั น คุ ณ ภาพที่ เ หมาะสมกั บ การ พัฒนาสถาบัน 2. ระบบประกั น คุ ณ ภาพที่ น ามาใช้ ต้อ งเป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของ กระบวนการบริ ห ารการศึ ก ษา เริ่ ม จากการวางแผน ดาเนิ น งานตามแผน ตรวจสอบ ประเมิ น ผลและปรั บ ปรุ ง พัฒนา 3. กาหนดผู้ รั บ ผิ ดชอบและประสานงานด้ า นการประกั น คุณภาพการศึกษา มี ก ารก าหนดนโยบายและให้ ค วามส าคั ญ เรื่ อ งการประกั น 1. คณะกรรมการระดับนโยบาย ผู้บริหารต้องให้ความสาคัญ คุณภาพการศึกษาภายในโดยคณะกรรมการระดับนโยบายและ กาหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจน 2. มีหน่วยงานรับผิดชอบการจัดระบบการประกันคุณภาพ ผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน 3. มี กลไกเชื่ อ มโยงการปฏิ บั ติง านตั้ ง แต่ ร ะดั บ บุ คคลและ ภาควิชา 4. มีคู่มือคุณภาพในแต่ละระดับเพื่อกากับการดาเนินงาน 5. มีกลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและกระตุ้นให้เกิด การพัฒนาคุณภาพ มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 1. อาจกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของตนเองแต่ต้อง

มีการด าเนิน งานด้ า นการประกัน คุ ณภาพการศึ กษาภายในที่ ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมิ น คุ ณภาพ 2) การจั ดท ารายงานประจ าปี ที่ เ ป็ น รายงานประเมิ น คุ ณ ภาพต่ อ สภาสถาบั น และส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนาผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถาบัน 81

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

ไม่ขัดกับมาตรฐานการอุดมศึกษา 2. ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ เ พิ่ ม เติ มควรชี้ วั ด คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ทั้ ง ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ 3. เกณฑ์หรือแนวปฏิบัติที่ดีต้องสามารถวัดระดับคุณภาพตาม เป้าหมายตัวบ่งชี้นั้นๆ 1. มี ก ารด าเนิ น งานตามระบบประกั น คุ ณ ภาพภายในโดย กาหนดการควบคุ มคุณ ภาพ การติ ดตามการดาเนิ นงาน และ ประเมินคุณภาพ 2. มี ก ารน าวงจร PDCA มาใช้ ใ นการด าเนิ น งานด้ า นการ ประกันคุณภาพ 3. มีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพ ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online เสนอสภาสถาบันพิจารณา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ข้อที่ 5

6 7

8

9

เกณฑ์มาตรฐาน มีการน าผลการประกัน คุ ณภาพการศึ กษาภายในมาปรั บปรุ ง การทางานและส่งผลให้มีการพัฒนาผลการดาเนินงานตามตั ว บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ มี ระบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข้ อ มู ลสนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ มี ส่ ว นร่ ว มของผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ในการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต และผู้ใช้บริการตาม พันธกิจของสถาบัน มี เ ครื อ ข่ า ยการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน

ข้อมูลหลักฐาน/แนวทางการปฏิบัติ มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์นาผลการ ประเมินคุณภาพ มาตรการ และแผนพัฒนาคุณภาพในแต่ ละปีไปวิเคราะห์/ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีระบบสารสนเทศที่สามารถเสนอข้อมูลประกอบการ ประกันคุณภาพที่ถูกต้องครบทั้ง 9 องค์ประกอบ ควรส่งเสริมให้นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรเข้ามามีส่วน ร่วมในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา

1. มีการสร้างเครือข่ายประกันคุณภาพการศึกษาระหว่าง สถาบัน 2. มีการทางานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาร่วมกัน ในเครือข่าย 3. มีการติดตาม ประเมินผลการสร้างเครือข่าย เพื่อนาไป พัฒนาการทางานร่วมกัน มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1. มีกระบวนการคัดสรรแนวปฏิบัติที่ดี ในแต่ละกิจกรรมที่ ที่ห น่ ว ยงานพั ฒ นาขึ้ น และเผยแพร่ ใ ห้ ห น่ ว ยงานอื่ น สามารถ เกิดขึ้น นาไปใช้ประโยชน์ 2. มีการเผยแพร่แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาที่ เป็นวิธีปฏิบัติที่ดีให้กับสาธารณชน 3. มีการวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาและนาผล การพัฒนาไปใช้ประโยชน์

เกณฑ์การประเมิน: คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ

ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

82

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 7 หรือ 8 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 9 ข้อ

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ตัวบ่งชีส้ มศ. 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์มาตรฐาน: ค่าเฉลี่ย เกณฑ์การประเมิน ใช้คะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน (เฉพาะตัวบ่งชี้ของสกอ.คะแนน เต็ม 5 คะแนน) คาอธิบายตัวบ่งชี้ : ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ระบุไว้ว่า “...ให้หน่วยงานต้ น สังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งผลให้ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน...” ทั้งนี้ สถานศึกษาจะ ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครอบคลุมตัวบ่งชี้ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือต้นสังกัดกาหนด โดยจะ เป็ นตั วบ่ ง ชี้ที่ เน้ น ด้า นปั จ จัยนาเข้า และกระบวนการ ซึ่ง ผลการประเมิ นการประกัน คุ ณภาพภายในโดยต้น สั งกั ดนี้ จะเป็ น คะแนนที่ สามารถสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลของคุณภาพการดาเนินงานด้านต่างๆ ของสถาบันอุดมศึกษาได้ ดังนั้น ในการประเมินตัว บ่งชี้นี้ จะใช้ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด โดยไม่ต้องทาการประเมินใหม่ ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้:

83

ปีการศึกษา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.