คู่มือการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้คุณภาพ ฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน

Page 1

คูม ่ ือการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพ ฝ่ ายการคลังและทรัพย์สน ิ

P D C A ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมษายน 2555


คานา คู่มอื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม ประจาปีการศึกษา 2554 ระดับฝา่ ยฯ จัดทาขึน้ เพื่อสร้างมาตรฐานในการปฏิบตั งิ านประกันคุณภาพของบุลากรในวิทยาลัยนวัตกรรม ให้มแี นวทาง ปฏิบตั งิ านด้านการประกันคุณภาพการศึกษาทีถ่ ูกต้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเป็นคู่มอื ใน การจัดทา รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) รวมถึง การติดตามและประเมิ นผลตามตัวบ่งชี้ คุณภาพในแต่ละองค์ประกอบจาก หน่วยงานภายในวิทยาลัย ซึง่ จะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านและผูเ้ กีย่ วข้องเข้าใจ วิธกี ารในการจัดเก็บตัวบ่งชีค้ ุณภาพได้ดยี งิ่ ขึน้ ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคู่มอื ฉบับนี้จะเกิดประโยชน์ต่อการปฏิบตั งิ านของ บุคลากรในวิทยาลัย ต่อวิทยาลัย และต่อผูท้ ส่ี นใจ

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ เมษายน 2555


สารบัญ หน้ า บทที่ 1 ตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพของวิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ตัวบ่งชีค้ ุณภาพของวิทยาลัยนวัตกรรม เกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ การดาเนินการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ รูปแบบคาอธิบายตัวบ่งชี้ การจัดกลุ่มสถาบันเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. บทที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิ น และแนวทางการอธิ บายผล การประเมิ นตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพ (ทีเ่ กีย่ วข้องกับฝ่ ายการคลังและทรัพย์สิน ) องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ สกอ. 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ภาคผนวก ภาคผนวก ก ตัวอย่างการเขียนผลการดาเนินงานรายตัวบ่งชี้ ในรายงานการประเมินตนเอง ภาคผนวก ข ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชีค้ ุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2554 ภาคผนวก ค แผนการดาเนินงานประกันคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554

1 2 2 7 8

9 13 15 22


บทที่ 1 ตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพของวิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ 1. ตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพของวิ ทยาลัยนวัตกรรม ตัวบ่งชีค้ ุณภาพวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554 แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1.1 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพการศึกษาภายในของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ 1.2 ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ของสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 4 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้ 1.3 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพระดับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ตัวบ่งชี้ 1.4 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพตามอัตลักษณ์วทิ ยาลัยนวัตกรรม 3 ตัวบ่งชี้ โดยมีหลักการในการพัฒนาตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ดังนี้ 1) กาหนดตัวบ่งชีค้ ุณภาพของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ 2) กาหนดตัวบ่งชีค้ ุณภาพภายนอกรอบสามจาก สมศ. จานวน 20 ตัวบ่งชี้ 3) กาหนดตัวบ่งชีเ้ ฉพาะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ มธ .1 ร้อยละของ กิจกรรมจิตอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด และ มธ.3 ร้อยละของบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่ออาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา 4) กาหนดตัวบ่งชีท้ ส่ี ะท้อนเอกลักษณ์ของวิทยาลัยนวัตกรรม 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ CITU 1 ร้อยละ ของบทความวิชาการหรือบทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระทีต่ พี มิ พ์ต่อจานวนงานค้นคว้าอิสระ CITU 2 ระดับความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ และ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการ เผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบ่งชีใ้ นการประเมินคุณภาพการศึกษานัน้ ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ตัวบ่งชีเ้ ชิงคุณภาพ และตัวบ่งชีเ้ ชิงปริมาณ ดังนี้ 1) ตัวบ่งชีเ้ ชิงคุณภาพจะระบุเกณฑ์มาตรฐานเป็นข้อๆ กาหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชีเ้ ป็น 5 ระดับ มีคะแนนตัง้ แต่ 1 ถึง 5 การประเมินจะนับจานวนข้อและระบุว่าผลการดาเนินงานได้กข่ี อ้ ได้คะแนน เท่าใด กรณีทไ่ี ม่ดาเนินการใดๆ หรือดาเนินการไม่ครบทีจ่ ะได้ 1 คะแนน ให้ถอื ว่าได้ 0 คะแนน 2) ตัวบ่งชีเ้ ชิงปริมาณอยูใ่ นรูปของร้อยละหรือค่าเฉลีย่ กาหนดเกณฑ์การประเมินเป็นคะแนน ระหว่าง 1 ถึง 5 โดยคิดเป็นค่าต่อเนื่อง (มีจดุ ทศนิยม) สาหรับการแปลงผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ (ซึง่ อยูใ่ นรูปร้อยละหรือค่าเฉลีย่ ) เป็นคะแนนทาโดยการเทียบบัญญัตไิ ตรยางค์ โดยแต่ละตัวบ่งชีจ้ ะกาหนดค่าร้อยละ หรือค่าเฉลีย่ ทีค่ ดิ เป็นคะแนน 5 ไว้ ตัวอย่างเช่น

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 1


หากตัวบ่งชีน้ นั ้ กาหนดผลการดาเนินงาน ร้อยละ 85 เป็นคะแนน 5 เต็ม และในตัวบ่งชีน้ นั ้ มีผลการ ดาเนินงานจริงจากการประเมินเป็นร้อยละ 34.62 เท่ากับว่าในตัวบ่งชีน้ นั ้ ได้คะแนนเท่ากับ ตัวอย่างที่ กาหนดร้อยละ 85 เป็นคะแนน 5 ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชีไ้ ด้รอ้ ยละ 34.62 คะแนนทีไ่ ด้ =

34.62 85

X5

= 2.04

สรุปคือมีหลักการคานวณการแปลงค่าร้อยละหรือค่าเฉลีย่ เป็นคะแนนดังนี้ คะแนนทีไ่ ด้ =

ค่าร้อยละหรือค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้จากการดาเนินการ ค่าร้อยละหรือค่าเฉลีย่ ทีก่ าหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 ของตัวบ่งชีน้ นั ้ ๆ

X5

2. เกณฑ์การประเมิ นตัวบ่งชี้ กาหนดเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชีเ้ ป็น 5 ระดับ มีคะแนนตัง้ แต่ 1 ถึง 5 กรณีทไ่ี ม่ดาเนินการใด ๆ หรือดาเนินการไม่ครบทีจ่ ะได้ 1 คะแนน ให้ได้ 0 คะแนน โดยมีความหมายของคะแนน ดังนี้ คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุง คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับพอใช้ คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับดี คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดาเนินงานระดับดีมาก 3. การดาเนิ นการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้คณ ุ ภาพ การประกันคุณภาพการศึกษาถือเป็นความรับผิดชอบของ วิทยาลัย ทีจ่ ะต้องมีการรายงานข้อมูล ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ประกอบกับข้อมูลส่วนใหญ่เป็นผลการดาเนินงานของ หน่วยงานใน วิทยาลัย ทาให้ขอ้ มูลส่วนใหญ่อยูท่ ่ี ฝา่ ยงานต่างๆ ดังนัน้ การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ในปี การศึกษา 2554 จึงเป็นการจัดเก็บข้อมูลโดยฝา่ ยงานเป็ นหลัก ทัง้ นี้ ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพได้จดั ทา เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิน ขอบเขตของข้อมูลทีจ่ ดั เก็บ สูตรการคานวณ เกณฑ์มาตรฐาน และเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชีไ้ ว้ในบทที่ 2 รวมทัง้ ได้จดั ทาแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูล เพื่อ เป็นแนวทางให้ ฝา่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบจัดเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง (รายละเอียดแบบฟอร์มอยูใ่ นภาคผนวก) ในกรณีท่ี ฝา่ ยงานฯ ไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลผลการดาเนินงานได้อนั เนื่องมาจากข้อมูลไม่สมบูรณ์ หรือไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลจากหน่วยงานย่อย ให้รายงานในแบบฟอร์มเป็น N/A

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 2


ตารางที่ 1 ด้านล่างสรุปตัวบ่งชีท้ งั ้ หมดของวิทยาลัยทีจ่ ะต้องได้รบั การประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2554 โดยเครื่ องหมาย  หมายถึง ฝา่ ยงาน /ผูร้ บั ผิดชอบในคอลัมน์นนั ้ จะต้องประเมินผล ตนเองตามตัวบ่งชีใ้ นแถวนัน้ ตางราง 1: องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน และตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมิ นคุณภาพตามองค์ประกอบ วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ หน่ วยวัด ฝ่ าย ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้ คุณ ศูนย์ อาจารย์ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี พัทยา ประจา องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนิ นการ  สกอ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ข้อ สมศ. 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของ สถาบัน สมศ.16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ข้อ ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย)   สมศ.16.2 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ข้อ สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ ข้อ ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย) ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต สกอ.2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร ข้อ    หลักสูตร สกอ.2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก ร้อยละ  สกอ.2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทาง ร้อยละ   วิชาการ สกอ.2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร ข้อ  สายสนับสนุน สกอ.2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และ ข้อ  สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ สกอ.2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียน ข้อ   การสอน  สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผล ข้อ (ข้อ4,  การเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 5, 7) สกอ.2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้าง ข้อ  คุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา คุณภาพของบัณฑิตปริญญาโทและเอก สมศ. 2 ค่าเฉลีย่ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

สมศ. 3

ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ

ร้อยละ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 3


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

ปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์หรือ เผยแพร่ สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์ CITU 1 ร้อยละของบทความวิชาการหรือ บทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระที่ ตีพมิ พ์ต่อจานวนงานค้นคว้าอิสระ องค์ประกอบที่ 3 กิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา สกอ.3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและ บริการด้านข้อมูลข่าวสาร สกอ.3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรม นักศึกษา มธ. 1 ร้อยละของกิจกรรมอาสาต่อจานวน กิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรือ งานสร้างสรรค์ สกอ.4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ าก งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ สกอ.4.3

สมศ. 5 สมศ. 6 สมศ. 7 มธ. 3

CITU 2

เงินสนับสนุนงานวิจยั และงาน สร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและ นักวิจยั ประจา งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การ ตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ ประโยชน์ ผลงานวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรอง คุณภาพ ร้อยละขอบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การ อ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวน อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ระดับความสาเร็จในการจัดประชุม

หน่ วยวัด

ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ฝ่ าย คุณ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี

ค่าเฉลีย่ ร้อยละ

ศูนย์ อาจารย์ พัทยา ประจา

 

ข้อ

ข้อ

ร้อยละ

ข้อ

(ข้อ2) 

ข้อ 

อัตรา ส่วน (บาท ต่อคน) ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

(ข้อ2, 3, 4) 

  

  

ร้อยละ 

ข้อ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 4


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

วิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่ งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิ ชาการแก่สงั คม สกอ.5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการ แก่สงั คม

หน่ วยวัด

ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ฝ่ าย คุณ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี

ศูนย์ อาจารย์ พัทยา ประจา

ข้อ 

ข้อ

(ข้อ 2, 3,4,5)

สกอ.5.2

กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิด ข้อ ประโยชน์ต่อสังคม สมศ. 8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จาก ร้อยละ การให้บริการวิชาการมาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการ วิจยั สมศ. 9 ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความ ข้อ เข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก สมศ. 18 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของ สังคมในด้านต่างๆ ั หาของ สมศ.18.1 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญ ข้อ สังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน ั หาของ สมศ.18.2 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญ ข้อ สังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม สกอ.6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและ ข้อ วัฒนธรรม สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและ ข้อ วัฒนธรรม สมศ. 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะ ข้อ และวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ สกอ.7.1 ภาวะผูน้ าของสภาบันและผูบ้ ริหารทุก ข้อ ระดับของสถาบัน สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันการเรียนรู้ ข้อ สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและ ข้อ การตัดสินใจ

ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย) ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัย (ใช้ผลระดับมหาวิทยาลัย)

 

 

  

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 5


ตัวบ่งชี้ สกอ.7.4 สมศ. 13

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

หน่ วยวัด

ระบบบริหารความเสีย่ ง ข้อ การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ อง ค่าเฉลีย่ ผูบ้ ริหารสถาบัน องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ สกอ.8.1 ระบบละกลไกการเงินและงบประมาณ ข้อ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ สกอ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ข้อ การศึกษาภายใน สมศ. 15 ผลการประเมินการประกันคุณภาพ ค่าเฉลีย่ ภายในรับรองโดยต้นสังกัด

ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ฝ่ าย คุณ ฝ่ าย ฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย วิ จยั ฯ การศึกษา ส่วนกลาง การคลัง พาวิ ณี 

ศูนย์ อาจารย์ พัทยา ประจา

 

 

4. รูปแบบคาอธิ บายตัวบ่งชี้ ในคาอธิบายตัวบ่งชีจ้ ะประกอบด้วย 1) ชื่อตัวบ่งชี้ 2) ชนิดของตัวบ่งชี้ เป็ นการอธิบายว่าตัวบ่งชีน้ นั ้ เป็ นตัวบ่งชีท้ ว่ี ดั ปจั จัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) หรือผลผลิต (Output) และระบุทม่ี าของตัวบ่งชี้ ได้แก่ ตัวบ่งชีข้ อง สกอ. ตัวบ่งชี้ คุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. ตัวบ่งชีเ้ ฉพาะของ มธ. และตัวบ่งชี้ ทส่ี ะท้อนเอกลักษณ์ของ วิทยาลัย นวัตกรรม 3) หน่วยวัด อธิบายหน่วยในการแสดงค่าตัวบ่งชี้ เช่น ร้อยละ ค่าเฉลีย่ อัตราส่วน จานวน ระดับ 4) คาอธิบายตัวบ่งชี้ เป็นการอธิบายความหมายของตัวแปรทีจ่ ะนามาจัดทาเป็นค่าตัวบ่งชี้ ทัง้ นี้ ในกรณีทค่ี าอธิบายใช้คาว่าสถาบัน ขอให้หมายถึง หน่วยงานในระดับนัน้ ๆ กล่าวคือ หากเป็น การดาเนินงานในระดับมหาวิทยาลัย คาว่าสถาบันหมายถึง มหาวิทยาลัย หากเป็นการดาเนินงานในระดับ คณะ/สานัก/สถาบัน คาว่าสถาบันหมายถึง วิทยาลัยนวัตกรรม 5) สูตรการคานวณ แสดงวิธใี นการคานวณค่าตัวบ่งชี้ (สาหรับตัวบ่งชีเ้ ชิงปริมาณ ) หรือ เกณฑ์ มาตรฐาน เป็นการอธิบายเกณฑ์มาตรฐานสาหรับการประเมินตัวบ่งชีท้ ว่ี ดั ผลการดาเนินงานเป็นข้อ 6) เกณฑ์การประเมิน เป็นเกณฑ์การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐาน 5 คะแนน 7) แหล่งข้อมูลและวิธกี ารจัดเก็บข้อมูล แสดงแหล่งข้อมูล ขอบเขตของข้อมูลทีจ่ ดั เก็บ เครือ่ งมือ การจัดเก็บข้อมูล วิธกี ารจัดเก็บข้อมูลการประเมินทุกตัวบ่งชีเ้ ป็นการประเมินในรอบปีการศึกษายกเว้นตัวบ่งชี้ สกอ.1.1 ตัวบ่งชีส้ กอ. 4.3 และตัวบ่งชีส้ กอ. 8.1 ประเมินตามปีงบประมาณ โดยใช้ พ.ศ.ของปีงบประมาณที่ ตรงกับปีการศึกษาทีป่ ระเมิน ตัวบ่งชี้ สมศ.5 สมศ.6 และสมศ.7 ให้ใช้รอบปีปฏิทนิ การเก็บข้อมูลในตัวบ่งชี้ ทีร่ ะบุให้ใช้รอบปีงบประมาณหรือปีปฏิทนิ ให้ใช้ปี พ .ศ.ทีต่ รงกับปีการศึกษานัน้ เช่น ปีการศึกษา 2554 จะต้องจัดเก็บข้อมูลในปีงบประมาณ 2554 (1 ตุลาคม 2553- 30 กันยายน 2554) คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 6


8) ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ในปีการศึกษา2554 นี้ วิทยาลัยนวัตกรรมได้มกี ารกาหนดผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้ ในระดับ ฝา่ ยงาน อันประกอบไปด้วยฝา่ ยต่างๆ ซึง่ จะรับผิดชอบดาเนินการ /กาหนดมาตรการในระดับ วิทยาลัย และสรุปผลการดาเนินงาน เพื่อให้ผลการดาเนินงานเป็ นไปตามเป้าหมายทีก่ าหนด จึ งได้ระบุ ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชีไ้ ว้เพื่อประสานผลการดาเนินงาน 9) ผูป้ ระสานงานตัวบ่งชี้ เป็นการระบุช่อื เจ้าหน้าทีข่ องงานประกันคุณภาพการศึกษา และ หมายเลขโทรศัพท์ทต่ี ดิ ต่อ ที่ มหาวิทยาลัยจะ สามารถติดต่อเพื่อขอคาปรึกษาเกีย่ วกับรายละเอียดของตัว บ่งชีแ้ ต่ละตัวบ่งชี้ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังได้มกี ารจัดทาแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ) ซึง่ ในแบบฟอร์มดังกล่าว ขอให้ระบุรายนามผูด้ แู ลตัวบ่งชี้ (ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้) และผูจ้ ดั เก็บข้อมูล เพื่อประโยชน์ในการสอบถามข้อมูลเพิม่ เติม 5. การจัดกลุ่มสถาบันเพื่อการประเมิ นคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. เพื่อเป็นการเตรียมการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. ซึง่ เริม่ ในปีงบประมาณ 25542558 นัน้ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน ) ได้มบี นั ทึกที่ มศ 0002 / (ว)2648 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2552 เรือ่ ง พิจารณาเลือกกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสาม มีใจความสรุปได้ดงั นี้ สานักงานได้ปรับกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามประกาศก าร แบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ผนวกกับการจัดกลุ่มตามจุดเน้นตามพันธกิจของ สถาบันอุดมศึกษา โดยกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญา เป็น 5 กลุ่ม คือ ข(1), ข(2), ค(1), ค(2), และ ง จึงขอให้มหาวิทยาลัยพิจารณาว่าตามปณิธาน อัตลักษณ์ และจุดเน้นของสถาบันเ หมาะสมทีจ่ ะจัดอยูใ่ น สถาบันอุดมศึกษากลุ่มใด ทัง้ นี้ ในการประชุมสภามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ครัง้ ที่ 11/2552 เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 ได้พจิ ารณาเลือกกลุ่มสถาบันเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของ สมศ . และมีมติให้ความ เห็นชอบเลือกรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของ สมศ. ในกลุ่ม ง. สถาบันที่เน้ นการวิ จยั ขัน้ สูง และผลิ ตบัณฑิ ตระดับบัณฑิ ตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก ดังนัน้ ในการประเมิน ในตัวบ่งชีส้ กอ . 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ . 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชีส้ กอ . 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนา สัมฤทธิผลการเรียนการสอนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชีส้ กอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้ จากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ และตัวบ่งชี้ สกอ.4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวน อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา วิทยาลัย นวัตกรรมจะใช้เกณฑ์มาตรฐานกลุ่ม ง สถาบันทีเ่ น้นการวิจยั ขัน้ สูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก เป็นเกณฑ์ในการประเมินตัวบ่งชี้

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 7


บทที่ 2 องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิ น (ทีเ่ กีย่ วข้องกับฝ่ ายการคลังและทรัพย์สิน) องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ สกอ.8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 1. ตัวบ่งชี้ สกอ. 8.1 : ระบบและกลไกการเงิ นและงบประมาณ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ 3. หน่ วยวัด : ข้อ 4. คาอธิ บายตัวบ่งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาจะต้องมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องมีแผนกลยุทธ์ ทางด้านการเงินซึง่ เป็นแผนจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนต่าง ๆ ทีส่ ามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของสถาบัน ให้สามารถดาเนินการได้ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จา่ ยของการดาเนินงาน ทัง้ จากงบประมาณแผ่นดินและ เงินรายได้อ่นื ๆ ทีส่ ถาบันได้รบั มีการจัดสรรงบประมาณและการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ ครบทุกพันธกิจ มีระบบการตรวจสอบการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงินต้องแสดง รายละเอียดการใช้จา่ ยในทุกพันธกิจ โครงการ กิจกรรมเพื่อให้สามารถ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและ ความมันคงของสถาบั ่ นได้ แผนกลยุทธ์ทางการเงิน เป็นแผนระยะยาวทีร่ ะบุทม่ี าและใช้ไปของทรัพยากรทางการเงินของ สถาบันทีส่ ามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของสถาบันให้สามารถดาเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทางการเงินจะสอด รับไปกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน สถาบันควรปร ะเมินความต้องการทรัพยากรทีต่ อ้ งจัดหาสาหรับการ ดาเนินงานตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมาเป็นเงินทุนทีต่ อ้ งการใช้ ซึง่ จะ เป็นความต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาทีส่ ถาบันใช้ในการดาเนินการให้กลยุทธ์นนั ้ บังเกิดผล จากนัน้ จึงจะกาหนดให้เห็นอย่ างชัดเจนถึงทีม่ าของเงินทุนทีต่ อ้ งการใช้ว่าสามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุน ใด เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมการศึกษา งบประมาณแผ่นดินหรือเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินทุนสะสมของ หน่วยงาน เงินบริจาคจากหน่วยงานภายนอกหรือศิษย์เก่า หรือสถาบันจะต้องมีการระดมทุนด้วยวิธกี าร อื่นๆ อีกเพิม่ เติม ระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ทางการเงินจะเท่ากับระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ของสถาบัน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 8


5. เกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลประกอบการประเมิ น ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

1

มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน

2

มีแนวทางจัดหาทรัพยากร ทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การ จัดสรร และการวางแผนการใช้ เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้

3

มีงบประมาณประจาปี ท่ี สอดคล้องกับแผนปฏิบตั กิ ารใน แต่ละพันธกิจและการพัฒนา สถาบันและบุคลากร

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานกระบวนการ 1. ควรแต่งตัง้ คณะกรรมการ วิเคราะห์ทรัพยากรทีต่ อ้ งใช้ในการดา นินงานตามแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ของวิทยาลัย 2. แผนกลยุทธ์ทางการเงินของ วิทยาลัยนวัตกรรม ปี งบประมาณ 2554 - แผนการใช้เงินของฝา่ ยต่าง ๆ ทีส่ อดรับกับแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ควรวิเคราะห์แหล่งลงทุนทีใ่ ห้ ประโยชน์สงู สุด และมีความเสีย่ งน้อย ทีส่ ดุ 3. รายงานการวิเคราะห์งบการเงิน ผลการดาเนินงานการเงิน เปรียบเทียบปี 53 – 54

เอกสารที่ ใช้ในการประเมิ น คุณภาพ 1. แต่งตัง้ คณะกรรมการวิเคราะห์ ทรัพยากรทีต่ อ้ งใช้ในการดานิน งานตามแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ของวิทยาลัย 2. แผนกลยุทธ์ทางการเงินของ วิทยาลัยนวัตกรรม ปี งบประมาณ 2554 - แผนการใช้เงินของฝา่ ยต่าง ๆ ทีส่ อดรับกับแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิเคราะห์แหล่งลงทุนทีใ่ ห้ ประโยชน์สงู สุด และมีความเสีย่ ง น้อยทีส่ ดุ 3. รายงานการวิเคราะห์งบ การเงินผลการดาเนินงานการเงิน เปรียบเทียบปี 53 – 54

1. มีแนวทางจัดหาแหล่งทุนที่ เหมาะสมกับลักษณะการใช้จ่าย 2. มีแนวทางจัดสรรทรัพยากรตาม หลักเกณฑ์ทก่ี าหนด 3. มีแผนการจัดหาทรัพยากรทางการ เงินอย่างเพียงพอ มีการวิเคราะห์การใช้เงินตาม งบประมาณในด้านต่างๆ ดังนี้ - งบประมาณประจาปี สอดคล้องกับ แผนปฏิบตั กิ ารเพียงใด - งบประมาณประจาปี เพียงพอต่อแต่ ละพันธกิจ - งบประมาณประจาปี สาหรับพัฒนา บุคลากรมีความเหมาะสม

ระเบียบด้านการเงินของวิทยาลัย เพือ่ เป็ นแนวทางในการเบิกจ่าย ปี งบประมาณ 2554

แผนงบประมาณประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2554

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 9


ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

4

มีการจัดทารายงานทางการเงิน อย่างเป็ นระบบ และรายงานต่อ สภาสถาบันอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้

5

มีการจัดทารายงานทางการเงิน อย่างเป็ นระบบ และรายงานต่อ สภาสถาบันอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้

6

7

แนวปฏิ บตั ิ เพื่อให้เป็ นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานกระบวนการ

มีการจัดทารายงานทางการเงิน ประกอบด้วยงบรายรับค่าใช้จ่าย งบดุล อย่างน้อยทุก 6 เดือน

1. จัดทารายงานการใช้เงิน งบประมาณเสนอผูบ้ ริหาร 2. มีการจัดทาค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักศึกษา 3. มีการจัดทารายงานการลงทุนของ สถาบัน 4. มีการวิเคราะห์เพือ่ พยากรณ์ รายรับและรายจ่ายในอนาคต มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน 1. จัดให้มผี ตู้ รวจสอบภายนอกเข้ามา และภายนอก ทาหน้าทีต่ รวจ ตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี ติดตามการใช้เงินให้เป็ นไปตาม 2. มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการ ระเบียบและกฎเกณฑ์ทส่ี ถาบัน ตรวจสอบ/ กาหนด ผูต้ รวจสอบภายในอย่างเป็ นทางการ ผูบ้ ริหารระดับสูงมีการติดตาม 1. ผูบ้ ริหารสามารถใช้ระบบ ผลการใช้เงินให้เป็ นไปตาม สารสนเทศเพือ่ การบริหารและการ เป้าหมาย และนาข้อมูลจาก ตัดสินใจช่วยในการติดตามการใช้เงิน รายงานทางการเงินไปใช้ในการ จัดทารายงานต่างๆ ทีจ่ าเป็ นต้อง วางแผนและการตัดสินใจ ทราบ 2. มีการนารายงานทางการเงินเสนอ สภาสถาบันตามแผนทีก่ าหนด

เอกสารที่ ใช้ในการประเมิ น คุณภาพ

1. รายงานสถานะการเงินและ การลงทุนของวิทยาลัย 2. รายงานการประชุม คณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัย - ครัง้ ที่ ....วาระ (ระบุชอ่ื วาระที่ เกีย่ วข้องให้ชดั เจน) 1. จัดทารายงานการใช้ งบประมาณเสนอต่อผูบ้ ริหาร 2. จัดทารายงานการลงทุนของ วิทยาลัย

รายงานผูต้ รวจสอบบัญชีภายใน และภายนอก

1. จัดทารายงานการติดตามผล การใช้เงินของวิทยาลัย 2. จัดทาวาระการติดตามผลการ ใช้เงิน เพือ่ นาเสนอทีป่ ระชุม คณะกรรมการอานวยการ วิทยาลัยทุกครัง้

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 10


6.เกณฑ์การประเมิ น : คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

มีการดาเนินการ

1 ข้อ

2 หรือ 3 ข้อ

4 หรือ 5 ข้อ

6 ข้อ

7 ข้อ

7. ขอบเขตในการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณเดียวกับปีการศึกษาทีจ่ ดั เก็บข้อมูล 8. ผูร้ บั ผิดชอบจัดเก็บตัวบ่งชี้นี้ : ฝา่ ยการคลังและทรัพย์สนิ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 11


ภาคผนวก

\

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 12


ภาคผนวก ก ตัวอย่างการเขียนผลการดาเนินงานของแต่ละตัวบ่งชีใ้ นรา ยงานการประเมินตนเองสาหรับตัวบ่งชี้ คุณภาพ ประกอบด้วย 7 หัวข้อหลัก ดังนี้ 1. ตัวบ่งชี้......... : ชื่อตัวบ่งชี้ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ปจั จัยนาเข้า หรือกระบวนการ หรือผลผลิต 3. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 4. ผลการดาเนิ นงาน : มีผลการดาเนินงาน......................... ข้อโดยมีรายละเอียด ดังนี้ ผลการดาเนิ นงาน เอกสารอ้างอิ ง - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 2 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 4 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 5 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน 5. ผลการประเมิ นของคณะกรรมการปี ที่ผา่ นมา เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ จานวนข้อ

จานวนข้อ

6. ผลการประเมิ นตนเอง ปี การศึกษา ............ เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ จานวนข้อ

จานวนข้อ

คะแนนประเมิ น จากกรรมการ คะแนนทีไ่ ด้

คะแนนประเมิ น ตนเอง คะแนนทีไ่ ด้

บรรลุเป้ าหมาย บรรลุ หรือ ไม่บรรลุ

บรรลุเป้ าหมาย บรรลุ หรือ ไม่บรรลุ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 13


7. ผลการประเมิ นของคณะกรรมการประเมิ นคุณภาพ ปี การศึกษา ............ เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ คะแนนประเมิ นจาก กรรมการ (เว้นว่างไว้สาหรับ (เว้นว่างไว้สาหรับ (เว้นว่างไว้สาหรับ ผูป้ ระเมิน) ผูป้ ระเมิน) ผูป้ ระเมิน)

บรรลุเป้ าหมาย (เว้นว่างไว้สาหรับ ผูป้ ระเมิน)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 14


ภาคผนวก ข ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายวิ จยั และพัฒนาคุณภาพ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนิ นการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งชีส้ มศ.16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นทีส่ ง่ ผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ สมศ.5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ สมศ.6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ สมศ.7 ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ ตัวบ่งชี้ มธ.3 ร้อยละของบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ CITU 2 ระดับความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.18 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในด้านต่างๆ 18.1 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน 18.2 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน องค์ประกอบที่ 9 ระบบและและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ สกอ. 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ สมศ.15 ผลการประเมินคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 15


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายบริ การการศึกษา องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา ตัวบ่งชี้ สมศ.2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตัวบ่งชี้ สมศ.3 ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพิ มพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ CITU 1 ร้อยละของบทความวิชาการหรือบทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระทีต่ พี มิ พ์ต่อ จานวนงานค้นคว้าอิสระ องค์ประกอบที่ 3 กิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ สกอ. 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ตัวบ่งชี้ สกอ.3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบ่งชี้ มธ. 1 ร้อยละของกิจกรรมอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนหรือการวิจยั องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สกอ. 6.1 ระบบและกลไกในการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 16


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายบริ หารส่วนกลาง องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย์ องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.1 ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง ตัวบ่งชี้ สมศ. 13 การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสถาบัน

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 17


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายการคลังและทรัพย์สิน องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ สกอ. 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 18


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  หลักสูตร MSI (คุณพาวิ ณี) องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.9 ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 19


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ศูนย์พทั ยา (LR) องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 20


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  อาจารย์ประจาวิ ทยาลัย องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา (ข้อ 4, 5,7) องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ข้อ 2) ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ข้อ 2, 3, 4) ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ สมศ.5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ สมศ.6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ สมศ.7 ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สงั คม (ข้อ 2, 3, 4, 5) ตัวบ่งชี้ สมศ.8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนหรือการวิจยั

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 21


ภาคผนวก ค แผนการดาเนิ นงานประกันคุณภาพ วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจาปี การศึกษา 2554 ลาดับ กิ จกรรม ผูร้ บั ผิดชอบ ที่ 1 การอบรมบุคลากรสายสนับสนุนและสายวิชาการ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน “การส่งเสริมความรูแ้ ละสร้างความเข้าใจด้านการ และวิจยั ประกันคุณภาพการศึกษา” -ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ 2 จัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารการจัดทาแผนปรับปรุง - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน คุณภาพ แผนการดาเนินงาน ประจาปี การศึกษา และวิจยั 2554 -ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ 3 จัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพจากการประเมิน - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2553 คุณภาพ และแผนการดาเนินงานประกันคุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ปี การศึกษา 2554 ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ 4 ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงานประกัน ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ (รอบ 9 เดือน) คุณภาพ 5 ส่งรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานตามตัว ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา บ่งชีร้ ายองค์ประกอบ (9 เดือน) คุณภาพ ไปยัง มธ. ตามที่ มธ. กาหนด

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 22


ลาดับ กิ จกรรม ที่ 6 จัดประชุมเจ้าหน้าที/่ ฝา่ ยงานฯ ทีร่ บั ผิดชอบ ตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพเกีย่ วกับเกณฑ์ตวั บ่งชีแ้ ละ

ผูร้ บั ผิดชอบ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ

การจัดเก็บเอกสารอ้างอิงตัวบ่งชี้ 7

8 9

10

- ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 คุณภาพ จัดประชุมคณะกรรมการแผนฯ และผูร้ บั ผิดชอบ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน แต่ละองค์ประกอบตรวจ/แก้ไขข้อมูลร่าง SAR และวิจยั ครัง้ สุดท้าย - คณะกรรมการแผนฯ - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ รายงานข้อมูลการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 ผ่านระบบ คุณภาพ CHE QA Online ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงาน ประกันคุณภาพตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ (รอบ 12 เดือน)

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 23


ลาดับ กิ จกรรม ที่ 11 จัดส่งรายงานการประเมินตนเอง (SAR) วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 (กาหนดส่ง SAR คณะ/สานัก/สถาบัน วันศุกร์ที่ 29 มิ ถนุ ายน 2555) 12 ประชุมเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ปี การศึกษา 2554

13

ผูร้ บั ผิดชอบ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ

- รองคณบดีฝา่ ยวางแผน และวิจยั - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ รับการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ปี การศึกษา - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน 2554 จากคณะกรรมการประเมินภายใน และวิจยั - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ

คูม่ อื การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพ........ วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. | 24


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.