คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา 2552

Page 1

คูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในวิทยาลัยนวัตกรรม ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


คํานํา การประกันคุณภาพการศึกษาถือเป็ นภารกิจหนึ่งที่สําคัญต่อการขับเคลื่อนวิทยาลัยให้ ก้ าวสู่การเป็ นองค์กรแห่งคุณภาพ สอดคล้ องกับมาตรฐานคุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรั บรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) รวมทังสอดรั ้ บกับนโยบายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะที่วิทยาลัยเป็ นหน่วยงานในกํากับ คู่มื อ การประกัน คุณ ภาพการศึก ษาภายในวิ ท ยาลัย นวัต กรรม นี ้ จัด ทํ า ขึ น้ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) การติดตามและ ประเมินผลตัวบ่งชี ้ในแต่ละองค์ประกอบจากฝ่ ายต่างๆ ภายในวิทยาลัย ซึง่ จะช่วยให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิงานและ ผู้เกี่ยวข้ องเข้ าใจวิธีการจัดเก็บในการจัดเก็บตัวบ่งชี ้ได้ ดียิ่งขึ ้น

ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพการศึกษา มิถนุ ายน 2552


สารบัญ หน้ า 1

บทที่ 1

ประวัตคิ วามเป็ นมาของวิทยาลัย

บทที่ 2

นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย

3

บทที่ 3

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

5

บทที่ 4

ตัวบ่งชี ้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามองค์ประกอบ

11

ภาคผนวก ภาคผนวก ก คําสัง่ แต่งตังคณะกรรมการจั ้ ดทําแผนยุทธศาสตร์ และ แผนประกันคุณภาพการศึกษา ภาคผนวก ข ตารางแสดงตัวบ่งชี ้และแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่งชี ้


บทที่ 1 ประวัตคิ วามเป็ นมาของวิทยาลัย วิทยาลัยนวัตกรรมเป็ นหน่วยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตังขึ ้ ้นตาม มติสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2538 โดยมีสถานภาพเทียบเท่าคณะ สํานัก หรื อสถาบัน ตามพระราชบัญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531 แรกเริ่ ม ใช้ ชื่ อ ว่ า “ศูน ย์ น วัต กรรม อุดมศึกษา” ต่อมาเพื่อต้ องการให้ เป็ นรูปแบบใหม่ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยที่ปรับเปลี่ยนจากการ จัด ตัง้ คณะหรื อ ภาควิ ช ามาเป็ นวิ ท ยาลัย (College) จึ ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วิ ท ยาลัย นวัต กรรม อุดมศึกษา” เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2540 สําหรับในปี ที่ 12 นี ้ สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีมติให้ แก้ ไขชื่อ “วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา” เป็ น “วิทยาลัยนวัตกรรม” และเปลี่ยนชื่อตําแหน่ง ผู้รับผิดชอบการบริหารงานวิทยาลัยจาก “ผู้อํานวยการ” เป็ น “คณบดี” เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 วิทยาลัยมุ่งเน้ นจัดการเรี ยนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาในลักษณะสหสาขาวิชาซึง่ มีการ ผสานศาสตร์ จากหลากหลายองค์ความรู้ เข้ าด้ วยกัน เพื่อให้ ได้ มาซึ่งหลักสูตรที่สมบูรณ์ และสมดุล ตอบสนองกับการพัฒนาของสังคมไทยในระดับสากล โดยมุ่งมัน่ ที่จะเป็ นผู้นําด้ านการเรี ยนรู้ และเป็ น สถาบันที่มีมาตรฐานการเรี ยนการสอนและมีผลงานวิจยั ในระดับนานาชาติ ภายใต้ ปณิธาน สร้ างพลัง จากความหลากหลาย (Synergy from Diversity) ก้ าวไกลด้ วยคุณธรรม (Excellence with Ethics) มุ่งสร้ างนวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) และพัฒนาโดยคํานึงถึงองค์รวม (Develop Holistically) ปี การศึก ษา 2552 วิทยาลัย จัดการเรี ย นการสอน 5 หลักสูตร ได้ แก่ หลัก สูตรวิท ยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ และศูนย์ พัทยา) หลักสูตรศิลป ศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารงานวัฒ นธรรม และหลัก สูต รวิท ยาศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิชานวัตกรรมการบริ การ (ท่าพระจันทร์ และศูนย์พทั ยา) จัดระบบการเรี ยนการสอนโดยใช้ ทงั ้ ทฤษฎีและกรณีศกึ ษาโดยเน้ นแนวคิดการบริ หารเชิงกลยุทธ์ ส่งเสริ มให้ มีการสร้ างสรรค์นวัตกรรมใน การบริ หารและการทํ างาน และให้ สอดคล้ องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงของ ระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาเทคโนโลยี ข้ อจํากัดของทรัพยากร การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้ อม ที่ ส่งผลต่อชุมชนและสังคมไทย บัณฑิตของวิทยาลัยจะต้ องสามารถนําความรู้ ที่ได้ รับไปประยุกต์ใช้ รองรับ ตอบสนอง และบริ หารความเปลี่ยนแปลงนัน้ ได้ ทัง้ ในมิติของการเรี ยนรู้ อย่างต่อเนื่ อง การ พัฒนาและนําองค์กร รวมทังการพั ้ ฒนาและร่วมนําสังคมไทยโดยรวม คูม่ ือประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

1


นอกจากนี ้ วิทยาลัยยังได้ ทําหน้ าที่บริ หารจัดการอุทยานการเรี ยนรู้ (Learning Resort) ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พทั ยา ตังอยู ้ ่ที่ตําบลโป่ ง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ซึง่ ได้ กําหนดให้ เป็ นศูนย์การศึกษาภายใต้ บรรยากาศความร่ มรื่ นและสะดวกสบาย ประกอบด้ วยห้ อง ประชุมและห้ องสัมมนาที่ทนั สมัย รองรับการประชุมและการสัมมนาได้ มากกว่าครัง้ ละ 300 คน ห้ อง คอมพิวเตอร์ ห้ องพักมาตรฐานจํานวน 75 ห้ อง พร้ อมด้ วยกลุม่ อาคารเรื อนรับรองอีกจํานวน 4 หลัง มี วัตถุประสงค์เพื่อสนองตอบต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยในการขยายโอกาสทางการศึกษาสู่ภมู ิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตการพัฒนาเศรษฐกิจชายฝั่ งทะเลตะวันออกที่เป็ นแหล่งของการขยายตัว ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ซึง่ เป็ นพื ้นที่สําคัญที่มีความต้ องการในการพัฒนากําลังคนมากที่สดุ ของประเทศ

วิสัยทัศน์ และเป้าหมายในการบริ หารวิทยาลัย วิสัยทัศน์

วิทยาลัยนวัตกรรมเป็ นองค์กรที่มีบทบาทสําคัญในการสร้ างนวัตกรรมทางวิชาการ เป็ น องค์ กรของการเรี ยนรู้ ที่ มีพืน้ ฐานงานวิจัย การทดลอง และรวบรวมรู ปแบบในการ เรี ย นรู้ ให้ การสนั บ สนุ น ความรู้ เป็ นแหล่ ง ข้ อมู ล ทางวิ ช าการ มี ก ารบริ ห ารที่ มี ประสิทธิ ภาพ มีธรรมาภิบาล และเอือ้ ต่อการทํางานวิชาการให้ สมั ฤทธิ ผลต่อสังคม ตลอดจนร่ วมมือ ประสานงานกับ ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย เครื อข่ายรัฐ และทุก ภาคส่วน เพื่อให้ เกิดการพัฒนา อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาให้ เต็มศักยภาพ เกิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู้ได้ รวดเร็ว และมีประสิทธิผล

เป้าหมาย

เป้าหมายสําคัญในการบริ หารงาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2551-2553) มีดงั ต่อไปนี ้ 1. พัฒนางานวิชาการ ด้ วยการสร้ างหลักสูตรองค์ความรู้ ใหม่ที่เป็ นนวัตกรรมทาง วิชาการตามความต้ องการของสังคม สร้ างกระบวนการบริ หารจัดการองค์ความรู้ และเพิ่มคุณภาพหลักสูตรที่มีอยู่ในปั จจุบนั ให้ สามารถผลิตบัณฑิตที่มีมาตรฐาน สูงขึ ้น 2. ผลิตผลงานวิจยั และผลงานวิชาการที่มีคณ ุ ภาพให้ มีปริ มาณสูงขึ ้น โดยสร้ างข่าย งานวิจยั ร่วมกับมหาวิทยาลัยชันนํ ้ าของประเทศ 3. ดําเนินการให้ ศนู ย์พทั ยา เป็ นแหล่งความรู้ทางวิชาการของภาคตะวันออก 4. จัดระบบการบริ หารงานภายในให้ มีประสิทธิภาพสูงขึ ้น 5. เพิ่ ม ความเข้ า ใจให้ กับ ประชาคมธรรมศาสตร์ และสัง คมไทย มี ค วามรู้ และ ตระหนักถึงบทบาทที่สําคัญของวิทยาลัย ในวงกว้ าง คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

2


บทที่ 2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย เพื่อให้ การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นไปตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 วิทยาลัยนวัตกรรมจึงได้ กําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ดังนี ้ 1.ส่งเสริ ม สนับสนุนให้ การประกันคุณภาพการศึกษาเป็ นส่วนหนึ่งของการบริ หารการศึกษา และเป็ นภารกิจขององค์กร 2.มีกระบวนการติดตามและประเมินผลคุณภาพภายในอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ และสามารถนํา ผลย้ อนกลับมาปรับปรุงหรื อพัฒนาการปฏิบตั งิ านได้ 3. พัฒนาระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 4. พร้ อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากองค์กรภายนอก ทุก 5 ปี แนวทางดําเนินงานตามนโยบาย เพื่อให้ การดําเนินงานด้ านประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัยนวัตกรรม เป็ นไปตาม นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา จึงได้ แนวทางปฏิบตั ดิ งั นี ้ 1. ให้ ทกุ ฝ่ ายในวิทยาลัยนวัตกรรมมีสว่ นร่วมในระบบประกันคุณภาพการศึกษาตามภารกิจ ที่ตนรับผิดชอบ เพื่อตอบสนองต่อวิสยั ทัศน์ นโยบายและตัวชี ้วัดของวิทยาลัย 2. ให้ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ทําหน้ าที่ในการพัฒนาระบบและกลไกในการประกัน คุณภาพของวิทยาลัย ให้ สอดคล้ องกับบริ บทของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตลอดจนการ ส่ ง เสริ ม และสร้ างความเข้ า ใจความรู้ การประกัน คุณ ภาพการศึ ก ษาแก่ ค ณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ และนักศึกษา รวมทัง้ การติดตามผลผลการดํ าเนินงานของฝ่ ายต่างๆตาม ตัวชี ้วัดที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กําหนด 3. ให้ ฝ่ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ จัดทํารายงานการประเมินตนเองของวิทยาลัยนวัตกรรม และพร้ อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีละ 1 ครัง้ รวมทังพร้ ้ อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากองค์กรภายนอกทุก 5ปี

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

3


4. ให้ มีคณะกรรมการดําเนินการด้ านประกันคุณภาพระดับคณะฯ ทําหน้ าที่ดําเนินการใน การประกันคุณภาพระดับคณะฯ และนําผลการประเมินคุณภาพที่ได้ กลับมาใช้ ในการ วางแผนพัฒนาและปรับปรุงระบบการทํางานต่อไป

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

4


บทที่ 3 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม ได้ กําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็ นแนวทางในการ ดําเนินการจัดการศึกษาให้ มีประสิทธิภาพ โดยจัดให้ มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาที่ เน้ นองค์ ประกอบสํา คัญตามที่ สมศ. สกอ. และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กํ าหนด ดังนัน้ เพื่ อให้ บุคลากรของวิทยาลัยได้ เข้ าใจการประกันคุณภาพการศึกษาในทิศทางเดียวกัน พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้ กําหนดความหมายที่เกี่ยวข้ องกับการประกันคุณภาพ ในมาตรา 4 ดังนี ้ การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรี ยนรู้ เพื่อความเจริ ญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ า ยทอดความรู้ การฝึ ก การอบรม การสื บ สนทางวัฒ นธรรม การสร้ างสรรค์ จ รรโลง ความก้ าวหน้ าทางวิชาการ การสร้ างองค์ความรู้ อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้ อม สังคม การเรี ยนรู้ และปั จจัยเกื ้อหนุนให้ บคุ คลเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มาตรฐานการศึกษา หมายความว่า ข้ อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ ต้องการให้ เกิ ดขึน้ ในสถาบันการศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้ เป็ นหลักในการเที ยบเคียง สํา หรั บ การส่ง เสริ ม และกํ า กับ ดูแล การตรวจสอบ การประเมิน ผล และการประกัน คุณ ภาพทาง การศึกษา การประกัน คุณ ภาพภายใน หมายความว่า การประเมิ น ผล และการติ ด ตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษานันเอง ้ การประกัน คุณภาพภายนอก หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยฯจากองค์ กรภายนอก(สมศ.) เพื่ อเป็ นการประกัน คุณภาพและให้ มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยฯ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม ได้ ใช้ รูปแบบของทฤษฎีระบบมา พัฒนาเป็ นกรอบคิดในการอธิ บายกระบวนการผลิตผลลัพธ์ ได้ แก่ บัณฑิต ผลงานวิจัย การบริ การ วิชาการ และอื่นๆ โดยพิจารณาถึง ปั จจัยนําเข้ า(Input) ปั จจัยด้ านกระบวนการ (Process) และ ปั จจัยด้ านผลลัพธ์ (Output) รวมทังให้ ้ มีการดําเนินการเพื่อให้ ข้อมูลย้ อนกลับ(Feedback) อันจะ คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

5


นําไปสู่การพัฒนา ซึ่งวงจรที่ใช้ ในกระบวนของการดําเนินการ จะเน้ นให้ มีการวางแผน (Plan) การ ดําเนินการ (Do) การตรวจสอบและประเมิน(Check) และการนําไปสูก่ ารปรับปรุ งแก้ ไข(Act) โดย กําหนดเป็ นแผนภาพดังนี ้ แผนภาพที่ 1 ระบบประกันคุณภาพ

โดยระบบการดําเนินงานที่เกี่ยวข้ องกับระบบการประกันคุณภาพ อันเป็ นการดําเนินการตาม ทฤษฎีระบบ มีรายละเอียดของการดําเนินการตามองค์ประกอบดังนี ้ 1. ปั จจัยนําเข้ า (Input) 1.1 ระบบการรับเเละการคัดเลือกนักศึกษา 1.2 ระบบการสรรหาคัดเลือกอาจารย์และพัฒนาบุคลากร 1.3 ระบบการสรรหา การพัฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอน ห้ องสมุ ด เทคโนโลยี สารสนเทศ 1.4 ระบบการจัดสรรงบประมาณ 1.5 ระบบการสร้ างเเละพัฒนาหลักสูตร 2. ปั จจัยด้ านกระบวนการ (Process) 2.1 ระบบการจัดเเละพัฒนาการเรี ยนการสอน 2.2 ระบบการบริ หารหลักสูตร 2.3 ระบบการวัดเเละประเมินผลการศึกษา 2.4 ระบบการบริ หารวิชาการ 2.5 ระบบวางเเผนเพื่อการพัฒนา คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

6


2.6 ระบบการให้ บริ การเเละพัฒนาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.7 ระบบการพัฒนางานวิจยั เเละบริการวิชาการ 2.8 ระบบการจัดเเละการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา 2.9 ระบบการบริการวิชาการเเก่สงั คม 2.10 ระบบบริ การห้ องสมุดเเละฐานข้ อมูลวิชาการและการบริหาร 2.11 ระบบบริ หารการเงินเเละบัญชี 2.12 ระบบสวัสดิการบุคลากร 3. ปั จจัยด้ านผลลัพธ์ (Output) 3.1 คุณภาพบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ 3.2 คุณภาพและปริมาณงานวิจยั 3.3 คุณภาพและปริ มาณงานบริ การสังคม 3.4 ผลงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 4. ข้ อมูลย้ อนกลับ (Feedback) 4.1 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ บณ ั ฑิต / ผู้ใช้ บริการ ทังนี ้ ้ วิทยาลัยนวัตกรรม ใช้ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 9 องค์ประกอบตามเกณฑ์ที่ สกอ. กําหนด ซึง่ ครอบคลุมพันธกิจที่สําคัญของวิทยาลัยฯ ดังนี ้ พันธกิจ องค์ ประกอบ จํานวนตัวบ่ งชี ้ ด้ านการผลิตบัณฑิต 2.การเรี ยน การสอน 15 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 2 ด้ านการวิจยั 4. การวิจยั 6 ด้ านการบริ การวิชาการ 5. การบริ การทางวิ ช าการแก่ 5 สังคม ด้ านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6.การทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม 1 2 ด้ านการบริ หาร 1.ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดําเนินการ 7.การบริ หารและการจัดการ 11 8.การเงินและงบประมาณ 3 ด้ านการประกันคุณภาพ 9.ระบบกลไกการประกันคุณภาพ 3 รวม 9 องค์ ประกอบ 48 คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

7


กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา กลไกในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรม ประกอบไปด้ วย การกํ าหนดโครงสร้ างองค์กร และคณะกรรมการทําหน้ าที่ รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ กํ าหนด มาตรฐาน และกิ จกรรมการประกันคุณภาพ ตลอดจนดําเนิ นการติต าม ตรวจสอบ และประเมิน คุณภาพ ดังนี ้ 1. แต่งตังคณะกรรมการและหน่ ้ วยงานในการดําเนินงานด้ านประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัย 2. จัดทําคูม่ ือการประกันคุณภาพ 3. กําหนดให้ การประกันคุณภาพเป็ นภารหนึง่ ของฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 4. ให้ ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาให้ แก่บคุ ลากรและนักศึกษา 5. ดําเนินการให้ มีระบบการติดตามผลการดําเนินงานของแต่ละฝ่ าย และให้ แต่ละฝ่ าย จัดทํารายงานแต่ละตัวบ่งชี ้พร้ อมหลักฐาน 6. รวบรวมผลการดําเนินงานของแต่ละฝ่ ายและจัดทํารายงานประเมินตนเองเสนอต่อ ฝ่ ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพภายใน แผนภาพที่ 2 โครงสร้ างการบริหารงานประกันคุณภาพของวิทยาลัย

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

8


แผนภาพที่ 3 กลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

9


ขัน้ ตอนการประกันคุณภาพการศึกษา

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7.

การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในของวิทยาลัยในแต่ละปี มีขนตอนการดํ ั้ าเนินงาน ดังนี ้ เข้ าร่ วมประชุมร่ วมกับฝ่ ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อรับฟั งคําชีแ้ จงนโยบาย ปฏิทินการทํางานและแนวทางการจัดเก็บข้ อมูลตัวชี ้วัด จัด ประชุม เชิ ง ปฏิ บัติ ก ารประจํ า ปี เพื่ อ นํ า ผลการประเมิ น คุณ ภาพของปี ที่ ผ่ า นมาจัด ทํ า แผนพัฒนาคุณภาพ รวมทังการชี ้ ้แจงตัวบ่งชี ้ แบบฟอร์ ม แต่ละองค์ประกอบให้ ผ้ จู ดั เก็บตัว บ่งชี ้รับทราบ แจ้ งให้ ผ้ จู ดั เก็บข้ อมูลทราบปฏิทินการจัดเก็บข้ อมูลในแต่ละรอบ ติดตามผลการดําเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี ้จากผู้จดั เก็บข้ อมูล รอบ 9 เดือน รวบรวมข้ อมูลเพื่อรายงานผลต่อมหาวิทยาลัยเบื ้องต้ นผ่านระบบ QA Online ติดตามผลการดําเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี ้จากผู้จดั เก็บข้ อมูล 12 เดือน รวบรวมข้ อมูล/วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทํารายงานประเมินตนเอง

แผนภาพที่ 4 ขัน้ ตอนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัย จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ (P) - ชี ้แจงตัวบ่งชี ้ แบบฟอร์ ม แต่ละองค์ประกอบให้ ผ้ จู ดั เก็บตัวบ่งชี ้รับทราบ

ดําเนินการตามแผน (D)

ติดตามผลการดําเนินงาน (C)

จัดทํารายงานการประเมินตนเอง นําเสนอ SAR ต่อมหาวิทยาลัยและรับการตรวจ ประเมินจากคณะกรรมการประกันคุณภาพ

นําผลการประเมินมาปรับปรังในปี ต่อไป (A) คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

10


บทที่ 4 ตัวบ่ งชี ้ และเกณฑ์ การประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบ องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดําเนินการ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 1.1 มีการกําหนดปรั ชญาหรือปณิธาน ตลอดจนถึงกระบวนการ พัฒนากลยุทธ์ แผนดําเนินงานและมีการกําหนดตัวบ่ งชีเ้ พื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน ตามแผนให้ ครบทุกภารกิจ (ระดับ) ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ที่ ประเมิน 1. ปรัชญาหรื อปณิธานของวิทยาลัย 1 มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน และวัตถุประสงค์ ของคณะวิชา 2. วัตถุประสงค์ของวิทยาลัย 2 มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนการดําเนินงานและ 1.แผนกลยุทธ์ของวิทยาลัย 2.แผนปฏิบตั กิ ารของวิทยาลัย แผนปฏิบตั กิ ารประจําปี ให้ สอดคล้ องกัน และ 3. คําสัง่ แต่งตังคณะกรรมการจั ้ ดทํา สอดคล้ องกับภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ และ แผนยุทธศาสตร์ และแผนประกัน แผนพัฒนาของชาติ คุณภาพการศึกษา 3 มีการกําหนดตัวบ่งชี ้ของการดําเนินงาน และกําหนด รายชื่อตัวบ่งชี ้ของแผนปฏิบตั กิ าร เป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี ้เพื่อวัดความสําเร็จของการ และเป้าหมายของตัวบ่งชี ้ ดําเนินงาน ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการ 4 มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ (กพร.) 5 มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการ 1.บันทึกส่งรายงานการติดตาม ดําเนินงานตามตัวบ่งชี ้ อย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง้ และ ตัวชี ้วัดให้ กองแผนงานประจํา 6 รายงานผลต่อผู้บริ หารและสภาสถาบัน เดือน 9 เดือน 12 เดือน (กพร.) 2. รายงานการประชุมที่แสดงให้ เห็น ว่ามีการรายงานผลการดําเนินงานตัว บ่งชี ้นี ้ต่อที่ประชุมบอร์ ด คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

11


ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ที่ 6 มีการวิเคราะห์ความสอดคล้ องระหว่างกลยุทธ์ แผนการดําเนินงาน เป้าประสงค์ เป้าหมายกับ ยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจน สภาพการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ มในอนาคตอย่าง สมํ่าเสมอ 7 มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะห์มา ปรับปรุงกลยุทธ์และแผนการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ไม่ครบ 5 ข้ อแรก

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน รายงานแสดงความสอดคล้ องของ แผนกลยุทธ์วทิ ยาลัย แผนกลยุทธ์มธ. และแผนพัฒนาของประเทศ

1.รายงานการประชุมที่แสดงให้ เห็น ว่า มีการนําผลการประเมินแผนการ ดําเนินงาน มาวิเคราะห์ปรับปรุงกล ยุทธ์และแผนการดําเนินงาน 2.เอกสารสรุปผลการประชุมเชิง ปฏิบตั กิ ารประจําปี

คะแนน 2 5 - 6 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี งบประมาณเดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

12


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 1.2 ร้ อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่ งชีข้ องการปฏิบัตงิ านที่กาํ หนด ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต ประเภทของเกณฑ์ มาตรฐาน : ร้ อยละ สูตรการคํานวณ จํานวนตัวบ่งชี ้ของแผนปฏิบตั ิงานประจําปี งบประมาณที่บรรลุเป้าหมาย x 100 จํานวนตัวบ่งชี ้ของแผนปฏิบตั ิงานประจําปี งบประมาณทังหมด ้

เอกสารหลักฐาน : คะแนนที่ได้ รับจากกองแผนงานตามคํารั บรองการปฏิบัตริ าชการ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 60-74.99

คะแนน 2 75-89.99

คะแนน 3 90-100

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี งบประมาณเดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

13


องค์ ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบ่ งชี ้ กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่ 1 2 3

4

5

6

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน

มีระบบและกลไกการเปิ ดและปิ ดหลักสูตร มีการกําหนดเป้ าหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรใน แผนการผลิตบัณฑิต มีการเตรี ยมความพร้ อมก่อนการเปิ ดหลักสูตรใหม่และการ ปรับปรุงหลักสูตรให้ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทุก เรื่ อง มีการวิเคราะห์ข้อมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปี การศึกษา เช่น ร้ อยละของหลักสูตรที่ไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้ อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ร้ อยละของบัณฑิตที่ทํางานตรงสาขา มีการนําผลการวิเคราะห์ข้อมูลการดําเนินการหลักสูตร ประจําปี การศึกษาไป ปรับปรุงหลักสูตรและหรื อปรับปรุง ระบบและกลไกการบริหารหลักสูตร หลักสูตรที่เปิ ดสอนทุกหลักสูตรได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ มาตรฐานทุกเรื่ อง และมีการประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุก ประเด็นตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ 5 ข้ อ แรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5 ข้ อแรก

แนวปฏิบตั ิในการเปิ ด/ปิ ดและปรับปรุง หลักสูตร ( แผนและเป้าหมายการผลิตบัณฑิต 1.หลักฐานการปรับปรุงหลักสูตร, 2. หลักฐานการศึกษาความเป็ นไปได้ ใน การเปิ ดหลักสูตร ข้ อมูลสรุปผลการดําเนินงานของแต่ละ หลักสูตรประจําปี การศึกษา

เอกสารแนวทางการปรั บ ปรุ ง หลักสูต ร จากผลวิเคราะห์ข้อมูลหลักสูตรประจําปี การศึกษา 1.ผลการรับรองมาตรฐานหลักสูตรจาก สกอ. 2.ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในในรอบปี ที่ผา่ นมา

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

14


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.2 มีกระบวนการเรียนรู้ท่ เี น้ นผู้เรียนเป็ นสําคัญ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่ 1

2

3

4 5 6

7

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน

1.แผนการดําเนินการเพื่อให้ ความรู้แก่ อาจารย์เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอน 2.จํานวนคณาจารย์ที่ได้ รับความรู้เกี่ยวกับ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัด การศึกษา มีการออกแบบการเรี ยนการสอนและจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่ เอกสารหลักสูตร แผนการสอน ประมวล เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ ทุกหลักสูตร รายวิชา Course Syllabus ของรายวิชาที่ แสดงกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ น สําคัญ มีการใช้ สื่อและเทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมในการสอนเพื่อ 1.สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสอน เช่น ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ทกุ หลักสูตร คอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และ ผลงานอาจารย์ที่เป็ นงานวิจยั เพื่อ พัฒนาสื่อและการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน มีการจัดการเรี ยนการสอนที่มีความยืดหยุน่ และหลากหลายที่ Course Syllabus ของรายวิชาที่แสดง จะสนองตอบต่อความต้ องการของผู้เรี ยน กิจกรรมการสอนที่หลากหลาย มีการประเมินผลการเรี ยนการสอนที่สอดคล้ องกับสภาพการ รายงานการประเมินผลการเรี ยนการสอน เรี ยนรู้ที่จดั ให้ ผ้ เู รี ยนและอิงพัฒนาการของผู้เรี ยนทุกหลักสูตร มีการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรี ยนในเรื่ องคุณภาพ เอกสารการสํารวจความพึงพอใจของ การสอนและสิ่งสนับสนุนการเรี ยนรู้ทกุ หลักสูตร นักศึกษาต่อคุณภาพการสอนและ สิง่ สนับสนุนการเรี ยนรู้ มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรี ยนการสอนและพัฒนาผู้เรี ยน หลักฐานการนําผลที่ได้ มาใช้ ในการ อย่างต่อเนื่องทุกหลักสูตร ปรับปรุงและพัฒนาการเรี ยนการสอน มีกลไกการให้ ความรู้ความเข้ าใจกับอาจารย์ผ้ สู อนถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ 5 ข้ อแรก

คะแนน 2

คะแนน 3

มีการดําเนินการ 5 - 6 ข้ อแรก

มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

15


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการ สอนซึ่งบุคคล องค์ กร และชุมชนภายนอกมีส่วนร่ วม ชนิดของตัวบ่ งชี ้

กระบวนการ

เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่ 1

2

3

4

5

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน

มีระบบและกลไกที่กําหนดให้ ผ้ ทู รงคุณวุฒิ หรื อผู้ร้ ูในชุมชนมา ช่วยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร

1.คําสัง่ แต่งตังหรื ้ อหนังสือเชิญ ผู้ทรงคุณวุฒิมาช่วย ในการพัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตร 2. การเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเข้ าร่วมประชุมใน การพัฒนาหลักสูตร หนังสือเชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยาย ในวิชาต่างๆ ทุกหลักสูตร

มีการจัดการเรี ยนการสอนที่สง่ เสริมให้ ผ้ เู รี ยนมีความรู้และ ทักษะที่นําไปใช้ ใน การปฏิบตั ิได้ จริง โดยผู้ทรงคุณวุฒิ หรื อผู้ร้ ู ในชุมชนมีสว่ นร่วมทุกหลักสูตร มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทังที ้ ่กําหนดและไม่ กําหนดในหลักสูตรโดยความร่วมมือกับองค์การหรื อหน่วยงาน ภายนอก มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรี ยนการ สอนที่ได้ รับการสนับสนุนจากผู้ทรงคุณวุฒิหรื อชุมชนภายนอก สถาบันทุกหลักสูตร มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสว่ นร่วมของบุคคล องค์การ และ ชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการ เรี ยนการสอนทุกหลักสูตร

รายละเอียดโครงการที่ดําเนินการร่วมกับ หน่วยงานภายนอก สรุปผลการจัดกิจกรรมและการประเมิน กิจกรรม หลักฐานการนําผลการประเมินผลการ ปฏิบตั ิงานของโครงการหรื อกิจกรรมไป ปรับปรุง

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ 4 ข้ อ แรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ข้ อแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

16


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ าต่ อจํานวนอาจารย์ ประจํา ชนิดของตัวบ่ งชี ้ ปั จจัยนําเข้ า เกณฑ์ ปกติของจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ าต่ ออาจารย์ ประจําของสาขาบริหารธุรกิจ พาณิชศาสตร์ บัญชี การจัดการ ท่ องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ เท่ ากับ 1:25 ตัวปรับค่าระดับบัณฑิตศึกษา 1.8 สูตรการคํานวณ 1. คํานวณค่า SCH ของแต่ละหลักสูตร ประจําภาคเรี ยนที่ 1-2 โดยใช้ สตู ร จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน X จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาในหลักสูตร

2. หาค่า FTES ของแต่ละหลักสูตร โดยนําค่า SCH ในภาคเรี ยนที่ 1รวมกับ SCH ในภาคเรี ยนที่ 2 ้ ดังนี ้ แล้ วหารด้ วย 24 (หน่วยกิตทังหมด) FTES (ระดับบัณฑิตศึกษา) = (SCH1+ SCH2) /24 แล้ วปรับค่าคูณ 1.8 3. นําค่า FTES ของแต่ละหลักสูตรมารวมกัน 4. หาค่า FTES ต่ออาจารย์ประจําที่ปฏิบตั งิ านจริ ง 5. หาค่าร้ อยละความแตกต่างระหว่าง FTES ต่ออาจารย์ประจําที่ปฏิบตั งิ านจริงกับเกณฑ์ มาตรฐาน (จํานวน FTES ต่ออาจารย์ประจํา - เกณฑ์มาตรฐาน(25)) x 100 เกณฑ์มาตรฐาน(25)

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 > +10% หรื อ < -10 % ของเกณฑ์มาตรฐาน

คะแนน 2 6 – 9.99 % และ -6 – (9.99)% ของเกณฑ์มาตรฐาน

คะแนน 3 (-5.99) -5.99 % ของเกณฑ์ มาตรฐาน

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

17


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.5 สัดส่ วนของอาจารย์ ประจําที่มีวุฒปิ ริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเท่ าของอาจารย์ ประจํา ชนิดของตัวบ่ งชี ้

ปั จจัยนําเข้ า

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : ้ ่ปฏิบตั ิงานจริ งและ จํานวนและรายชื่ออาจารย์ประจํา /อาจารย์ประจําเสริ มหลักสูตร(รวมทังที ลาศึกษาต่อ) ที่มีระยะเวลาการจ้ างงานไม่น้อยกว่า 9 เดือน ในกรณีที่อาจารย์มีระยะเวลาทํางาน 6-11 เดือน ให้ นบั เป็ น 0.5 คน ไม่นบั อาจารย์ที่มีระยะเวลาการทํางานไม่ถึง 6 เดือน แยกเป็ นจํานวนอาจารย์ ุ ิปริ ญญาโท และอาจารย์ที่มีวฒ ุ ิปริญญาเอก ที่มีวฒ ุ ิปริญญาตรี อาจารย์ที่มีวฒ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 วุฒิปริญญาเอกอยูร่ ะหว่าง 1. วุฒิปริญญาเอกอยูร่ ะหว่าง ร้ อยละ 40-59 1. วุฒิปริ ญญาเอก ร้ อยละ 1 - 39 หรือ วุฒิ และ มากกว่า หรื อเท่ ากับ ปริญญาเอกอยูร่ ะหว่างร้ อย 2. วุฒิปริญญาตรี เท่ากับหรือ น้ อยกว่าร้ อยละ ร้ อยละ 60 และ ละ 40-59 แต่ วุฒิปริ ญญา 5 2. วุฒิปริญญาตรี หรื อ เท่ากับหรื อ น้ อยกว่า ตรี มากกว่าร้ อยละ 5 1. วุฒิปริญญาเอกมากกว่า หรื อเท่ากับร้ อย ร้ อยละ 5 ละ 60 และ 2. วุฒิปริ ญญาตรี มากกว่า ร้ อยละ 5 ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : งานบุคคล

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

18


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.6 สัดส่ วนของอาจารย์ ประจําที่ดาํ รงตําแหน่ งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ชนิดของตัวบ่ งชี ้

ปั จจัยนําเข้ า

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : จํานวนและรายชื่ออาจารย์ประจํา (รวมทังที ้ ่ปฏิบตั งิ านจริ งและลาศึกษาต่อ) ที่มีระยะเวลาการ จ้ างงานไม่น้อยกว่า 9 เดือน ในกรณีที่อาจารย์มีระยะเวลาทํางาน 6-11 เดือน ให้ นบั เป็ น 0.5 คน ไม่นบั อาจารย์ ที่ มี ร ะยะเวลาการทํ า งานไม่ถึ ง 6 เดื อ น แยกเป็ นจํ า นวนอาจารย์ ที่ มี ตํ า แหน่ ง อาจารย์ อาจารย์ ที่ มีตํา แหน่ ง ผู้ช่ วยศาสตราจารย์ อาจารย์ ที่ มี ตํา แหน่งรองศาสตราจารย์ และอาจารย์ ที่ มี ตําแหน่งศาสตราจารย์ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยู่ ระหว่าง ร้ อยละ 1 – 44 หรือ ผู้ดํารงตําแหน่งระดับผศ. รศ. และศ. รวมกันอยู่ ระหว่างร้ อยละ 45-69 แต่ผ้ ู ดํารงตําแหน่ง ระดับ รศ. ขึ ้น ไปน้ อยกว่า ร้ อยละ 30

คะแนน 2 1. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันอยูร่ ะหว่าง ร้ อยละ 45 - 69 และ 2. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ รศ. ขึ ้นไปเท่ากับ หรื อมากกว่า ร้ อยละ 30 หรือ 1. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกันมากกว่า หรื อเท่ากับร้ อยละ 70 และ 2. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ รศ. ขึ ้นไปน้ อยกว่า ร้ อยละ 30

คะแนน 3 1. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ผศ. รศ. และศ. รวมกัน มากกว่า หรื อเท่ากับ ร้ อย ละ 70 และ 2. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ รศ. ขึ ้นไปเท่ากับหรื อ มากกว่า ร้ อยละ 30

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : งานบุคคล

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

19


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.7 มีกระบวนการส่ งเสริมการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ กระบวนการ ประเภทของเกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ที่ 1 สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.คูม่ ือจรรยาบรรณ คณาจารย์ไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2

3 4 5

มีกระบวนการส่งเสริ มให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องได้ ปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

มีการกํากับดูแลการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ วิชาชีพ มีระบบในการดําเนินการกับผู้ที่ไม่ปฏิบตั ติ าม จรรยาบรรณวิชาชีพ มีการดําเนินการวางแผน ป้องกัน หรื อหาแนว ทางแก้ ไขการกระทําผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

1.รายชื่อคณะกรรมการกํากับติดตามการปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณของอาจารย์ มีการมอบหมาย ผู้รับผิดชอบดูแลด้ านจรรยาบรรณ 2. แผนงาน/โครงการ หรื อแนวทางอย่างเป็ น รูปธรรมในการที่จะส่งเสริมการปฏิบตั ติ าม จรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์ของคณะ และหลักฐานการดําเนินงานตามแผนตลอดจน การประเมินและปรับปรุง 1.รายงานการประชุมของคณะวิชาเกี่ยวกับการ กํากับดูแลการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.หลักเกณฑ์ ประกาศ ระเบียบ ข้ อบังคับ มาตรการและแนวปฏิบตั ทิ ี่เกี่ยวข้ อง 1.แนวทางการป้ องกันหรื อแนวทางแก้ ไขการ กระทําผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อ มีการดําเนินการ 3 ข้ อแรก แรก ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : งานบุคคล

คะแนน 3 มีการดําเนินการอย่างน้ อย 4 ข้ อ แรก

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

20


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้ อาจารย์ ประจําทําการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ชนิดของตัวบ่ งชี ้

กระบวนการ

เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย์ด้านความรู้ความ เข้ าใจเกี่ยวกับการวิจยั และพัฒนา นวัตกรรมการเรี ยนการ สอน

2

มีกลไกการบริ หารวิชาการที่จะกระตุ้นให้ อาจารย์คิดค้ น พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้ านการเรี ยนการสอน

3

มีแหล่งทุนสนับสนุนการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษา

4

มีผลงานวิจยั ด้ านการเรี ยนการสอนและมีการจัดเวที แลกเปลี่ยนและเผยแพร่ ผลงานวิจยั ด้ านการเรี ยนการสอน และนวัตกรรมทางการ ศึกษาอย่างสมํ่าเสมอ

5

มีการสร้ างเครื อข่ายวิจยั ด้ านนวัตกรรมการเรี ยนการสอนทัง้ ภายในและ ภายนอกสถาบัน

1.แผนงานหรื อนโยบายที่กําหนดเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษร ที่สนับสนุนให้ อาจารย์ประจํา ทําการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 2.โครงการสนับสนุนให้ อาจารย์ประจําทําการ วิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน ตลอดจน หลักเกณฑ์ ประกาศ ระเบียบ ข้ อบังคับ มาตรการและแนวปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ อง ข้ อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับการ สนับสนุนให้ อาจารย์ประจําทําการ วิจยั เพื่อ พัฒนาการเรี ยนการสอน เช่น ข้ อมูลการ เผยแพร่ผลงาน เครื อข่ายวิจยั และพัฒนา นวัตกรรมการเรี ยนการสอน รายชื่อแหล่งทุนสนับสนุนการวิจยั เพื่อ พัฒนาการเรี ยนการสอนและนวัตกรรมทาง การศึกษา 1.จํานวนอาจารย์ที่ได้ รับการพัฒนาความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับการวิจยั และ พัฒนา นวัตกรรมการเรี ยนการสอน 2.ข้ อมูลผลงานวิจยั และนวัตกรรมการเรี ยน การสอนของคณาจารย์ เช่น การจัดการเรี ยน การสอนแบบ e-learning การพัฒนา เครื่ องมือวินิจฉัยมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน (misconceptions) ในรายวิชาต่างๆ การ พัฒนารูปแบบการสอนแบบโมดูล 1.หนังสือความร่วมมือในการสร้ างเครื อข่าย ด้ านนวัตกรรมการเรี ยนการสอนทังภายใน ้ และ ภายนอกสถาบัน

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

21


เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 – 4 ข้ อ

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.9 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ ไี ด้ งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน1ปี ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.10 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ ไี ด้ รับเงินเดือนเริ่มต้ นเป็ นไปตามเกณฑ์ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้ าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้ บณ ั ฑิต

(ตัวชี ้วัดที่ 2.9 -2.11 วิทยาลัยไม่มีการเก็บข้ อมูล เนื่องจากไม่มีการจัดการเรี ยนการสอนระดับปริ ญญาตรี )

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

22


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.12 ร้ อยละของนักศึกษาปั จจุบันและศิษย์ เก่ าที่สาํ เร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผ่าน มาที่ได้ รับการประกาศเกียรติคุณยกย่ องในด้ านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้ านสิ่งแวดล้ อมในระดับชาติหรือนานาชาติ ชนิดของตัวบ่ งชี ้

ผลผลิต

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : ข้ อมูลพื ้นฐานและเอกสารหลักฐานอ้ างอิงที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ จํานวนและชื่อนักศึกษาและหรื อ ศิษย์เก่าที่ได้ รับรางวัลหรื อประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องในด้ าน วิชาการวิชาชีพ (รวมถึงรางวัลผลงาน วิทยานิพนธ์) ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ด้ านกีฬาและสุขภาพ ด้ านศิลปวัฒนธรรม และด้ านสิง่ แวดล้ อม โดยเป็ นรางวัลระดับชาติและนานาชาติที่มีลายลักษณ์ อักษรปรากฏ ทังนี ้ ้ ให้ นบั รางวัลที่ได้ รับในรอบปี การศึกษาปั จจุบันจากนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าที่สําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี การศึกษาที่ผา่ นมา หากผู้ได้ รับรางวัลนันเป็ ้ นศิษย์เก่าหลายสถาบัน สถาบันเหล่านันต่ ้ างก็สามารถนับรางวัลนันได้ ้ และการ ุ หลายครัง้ นับสามารถนับซํ ้าได้ หากนักศึกษา หรื อศิษย์เก่าผู้นนได้ ั ้ รับรางวัลหรื อประกาศเกียรติคณ สูตรการคํานวณ จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าที่สาํ เร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมาทังหมดทุ ้ กระดับการศึกษาที่ ได้ รับรางวัลทุกประเภทในปี การศึกษาปั จจุบนั X 100 จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าที่สาํ เร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมาทังหมดทุ ้ กระดับการศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 0.003 – ร้ อยละ 0.015

คะแนน 2 ร้ อยละ 0.016 – ร้ อยละ 0.029

คะแนน 3 1.มากกว่าหรื อเท่ากับร้ อยละ 0.030 และ 2.นักศึกษาบัณฑิตศึกษาและศิษย์ เก่าที่ได้ รับรางวัลจากผลงานวิจยั และหรื อวิทยานิพนธ์มากกว่าหรื อ เท่ากับ 0.060 หมายเหตุ กรณีได้ ตามข้ อ 1 แต่ ไม่ได้ ข้อ 2 ถือว่าได้ คะแนน2

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

23


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.13 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมีคุณสมบัตเิ ป็ นที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ ท่ ที าํ หน้ าที่อาจารย์ ท่ ปี รึกษาวิทยานิพนธ์ ชนิดของตัวบ่ งชี ้

ปั จจัยนําเข้ า

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. รายชื่ออาจารย์ประจําหลักสูตรทุกสาขาวิชาที่มีคณ ุ สมบัติเป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรบัณฑิตศึกษาของสกอ. พ.ศ. 2548 (จบการศึกษาระดับปริ ญญาเอก หรื อ มีตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว่า รองศาสตราจารย์) นับเฉพาะอาจารย์ ท่ ปี ฏิบัตงิ านจริง 2. คํ า สั่ง แต่ง ตัง้ หรื อ บัน ทึ ก ข้ อ ความที่ แ สดงว่ า อาจารย์ ป ระจํ า หลัก สูต รที่ มี คุณ สมบัติ เ ป็ น อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ทําหน้ าที่เป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ โดยปรากฏรายชื่อนักศึกษา ที่อยูภ่ ายใต้ การดูแลของอาจารย์ท่านนันๆ ้ สูตรในการคํานวณ จํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทําหน้ าที่ X100 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทังหมดที ้ ่มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 50 – ร้ อยละ 69

คะแนน 2 ร้ อยละ 70 – ร้ อยละ 89

คะแนน 3 มากกว่าหรื อเท่ากับร้ อยละ 90

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

24


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.14 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่ อคุณภาพการสอนของอาจารย์ และสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ ผลลัพธ์ สูตรการคํานวณ ผลรวมของค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาทุกรายวิชา จํานวนรายวิชาที่มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 1.00-2.49

คะแนน 2 2.50-3.49

คะแนน 3 3.50-5.00

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

25


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.15 ร้ อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาโทที่ตพ ี มิ พ์ เผยแพร่ ต่อจํานวน วิทยานิพนธ์ ปริญญาโททัง้ หมด ชนิดของตัวบ่ งชี ้ ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. รายชื่อบทความจากวิทยานิพนธ์ โดยระบุวารสารที่ได้ รับการตีพิมพ์ทงในระดั ั้ บชาติ และนานาชาติ ฉบับที่ ปี ที่ หรื อระบุรายละเอียดชื่อการประชุมวิชาการที่มี Peer review ,วันเดือนปี ที่ นําเสนอ โดยจะมีหลักฐานการตอบรับจากวารสารหรื อการนําเสนอในที่ประชุมวิชาการ 2. รายชื่อนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในปี การศึกษานันที ้ ่ทําวิทยานิพนธ์ทงหมด ั้ สูตรการคํานวณ จํานวนบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทของมหาบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา ในปี การศึกษานันที ้ ่ได้ ตีพิมพ์เผยแพร่ จํานวนวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโทของมหาบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาในปี การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 1-ร้ อยละ39

คะแนน 2 ร้ อยละ 40-ร้ อยละ59

X100

คะแนน 3 มากกว่าหรื อเท่ากับร้ อยละ60

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษาและฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.16 ร้ อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอกที่ตพ ี มิ พ์ เผยแพร่ ต่อ จํานวนวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอกทัง้ หมด (วิทยาลัยไม่มีการจัดการเรี ยนการสอนระดับปริญญาเอก) ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.17 อัตราการแข่ งขันสอบเข้ ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปริญญาตรี) ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.18 ร้ อยละของผู้สาํ เร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด(ปริญญาตรี ) (วิทยาลัยไม่มีการจัดการเรี ยนการสอนระดับปริญญาตรี ) คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

26


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.19 ร้ อยละของผู้สาํ เร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด(ระดับ บัณฑิตศึกษา) ชนิดของตัวบ่ งชี ้ ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : จํานวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ขึ ้นทะเบียนเป็ นนักศึกษารุ่ นเดียวกับนักศึกษาที่สําเร็ จ การศึกษา และจํ า นวนนัก ศึก ษาระดับบัณฑิ ตศึก ษาที่ สําเร็ จการศึกษาตามระยะเวลาที่ หลักสูตร กําหนด สูตรการคํานวณ จํานวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่สาํ เร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด X100 จํานวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่ขึ ้นทะเบียนเป็ นนักศึกษารุ่นเดียวกันกับนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษา เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 น้ อยกว่า ร้ อยละ59

คะแนน 2 ร้ อยละ 59-ร้ อยละ 65

คะแนน 3 มากกว่าร้ อยละ 65

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

27


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.20 จํานวนชั่วโมงสอนของอาจารย์ ต่อคนต่ อปี ชนิดของตัวบ่ งชี ้ ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : การนับจํานวนชัว่ โมงสอนของอาจารย์ประจําวิทยาลัยนวัตกรรม สามารถนับได้ ดงั นี ้ 1. รายวิชาภาคทฤษฎี 1 หน่วยกิต ใช้ เวลาในการบรรยายไม่น้อยกว่า 15 ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา 2 หน่วยกิต ใช้ เวลาในการบรรยายไม่น้อยกว่า 30 ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา 3 หน่วยกิต ใช้ เวลาในการบรรยายไม่น้อยกว่า 45 ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา ถ้ าวิชานันอาจารย์ ้ บรรยายคนเดียว จะมีภาระการสอนเท่ากับจํานวยชัว่ โมงข้ างต้ น หากวิชานัน้ มีการบรรยาย 2 คน ขึ ้นไป ให้ นําจํานวนชัว่ โมงหารด้ วยจํานวนอาจารย์ที่บรรยาย 2. การค้ นคว้ าอิสระ /วิทยานิพนธ์ 3 หน่วยกิต คิดเป็ นภาระงานสอน 1 ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา 6 หน่วยกิต คิดเป็ นภาระงานสอน 2 ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา 9 หน่วยกิต คิดเป็ นภาระงานสอน 3 ชัว่ โมง/ภาคการศึกษา สูตรการคํานวณ จํานวนชัว่ โมงสอนของอาจารย์ตอ่ ปี การศึกษา จํานวนอาจารย์ที่ปฏิบตั งิ านจริ ง เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 น้ อยกว่า 96 ชัว่ โมง หรื อ มากกว่า 384 ชัว่ โมง

คะแนน 2 96-192 ชัว่ โมง หรื อ 289-384 ชัว่ โมง

คะแนน 3 193-288 ชัว่ โมง

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

28


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 2.21 ร้ อยละของวิชาที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : วิชาที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ได้ แก่ วิชาที่มีบทเรี ยนอิเลคทรอนิคส์ (Elearning) หรื อ CAI เป็ นส่วนหนึง่ ของบทเรี ยนและหรื อการใช้ Class web ในการเรี ยนการสอน โดย วิชาที่จะนับเป็ นวิชาที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี ยนการสอนจะต้ องมีการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศไม่น้อยกว่าร้ อยละ 20 ของเนื ้อหาวิชา สูตรการคํานวณ จํานวนวิชาที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี ยนการสอนไม่ตํ่ากว่าร้ อยละ20 ของเนื ้อหาวิชา จํานวนวิชาที่เปิ ดสอนทังหมด ้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 1-10

คะแนน 2 มากกว่า 10-20

X100

คะแนน 3 มากกว่าร้ อยละ 20

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

29


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี : 2.22 ระดับความสําเร็ จของการจัดการเรี ยนการสอนหลักสูตรนานาชาติ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ

เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

หลักสูตรได้ รับอนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลัยให้ จดั การ เรี ยนการสอนหลักสูตรนานาชาติ สามารถจัดการเรี ยนการสอนได้ ในปี การศึกษา 2552 มีจํานวนนักศึกษารับเข้ าเพิ่มขึ ้น

หนังสืออนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลัยให้ จัดการเรี ยนการสอนหลักสูตรนานาชาติ ตารางเรี ยนของหลักสูตร รายงานสรุปเปรี ยบเทียบจํานวน นักศึกษารับเข้ า จํานวนนักศึกษาคงอยู่ ตารางเรี ยนของหลักสูตร รายชื่อผลงานวิชาการ/งานวิจยั ด้ าน นวัตกรรมการบริการ

2 3 4 5

มีผ้ เู ชี่ยวชาญจากต่างประเทศร่วมบรรยาย มีผลงานวิชาการ/งานวิจยั ด้ านนวัตกรรมการบริ การ ตีพิมพ์เผยแพร่

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อ

คะแนน 2 ดําเนินการ 3-4 ข้ อ

คะแนน 3 ดําเนินการครบ 5 ข้ อ

ขอบเขตข้ อมูลที่จดั เก็บ : ปี การศึกษา ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

30


องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 3.1 มีการจัดบริการแก่ นักศึกษาและศิษย์ เก่ า ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

มีการสํารวจความต้ องการจําเป็ นของนักศึกษาปี ที่ 1

2

มีการจัดบริการด้ านสิง่ อํานวยความสะดวกที่เอื ้อต่อการ พัฒนาการเรี ยนรู้ของนักศึกษา

3

มีการจัดบริการด้ านกายภาพที่สง่ เสริ มคุณภาพชีวิตของ นักศึกษา มีการจัดบริการให้ คําปรึกษาแก่นกั ศึกษา

4

เอกสารหรื อหลักฐานการสํารวจความ ต้ องการจําเป็ นของนักศึกษาปี ที่ 1 1. เอกสารหลักฐานการจัดสรรทรัพยากร สนับสนุนการจัดบริ การแก่นกั ศึกษาและ ศิษย์เก่า 2. ข้ อมูลสถิติเกี่ยวกับจํานวนหนังสือ วารสาร สื่อสิง่ พิมพ์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้ องเพื่อการสืบค้ น ข้ อมูลที่จดั หาเข้ าห้ องสมุด หรื อจัด ให้ บริการแก่นกั ศึกษา ภาพถ่ายสภาพแวดล้ อมของวิทยาลัย ห้ องเรี ยน ห้ องอ่านหนังสือ ตารางเวลาให้ คําปรึกษา ตารางเวรการทํางานของจนท.LB หลักฐานการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับการจัดบริ การให้ แก่นกั ศึกษา และ ศิษย์เก่า ได้ แก่ ประกาศ แผ่นพับ การประชาสัมพันธ์ผา่ นสื่อสิง่ พิมพ์ หรื อ website ของวิทยาลัย หลักฐานการศึกษาดูงานนอกสถานที่

5

มีบริการข้ อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ตอ่ นักศึกษาและศิษย์ เก่า

6

มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ นักศึกษาและศิษย์เก่า

7

มีการประเมินคุณภาพของการให้ บริการทัง้ 5 เรื่ องข้ างต้ นเป็ น รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ ประจําทุกปี ของนักศึกษาเกี่ยวกับการ บริการที่ได้ รับ

8

นําผลการประเมินคุณภาพของการให้ บริการมาพัฒนาการ จัดบริการแก่นกั ศึกษา และศิษย์เก่า

ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุงตามผลการ ประเมินฯ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

31


เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 ไม่ครบ 7 ข้ อแรก 7 ข้ อแรก ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คะแนน 3 ดําเนินการครบทุกข้ อ

ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 3.2 มีการส่ งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้ วนและสอดคล้ องกับคุณลักษณะของ บัณฑิตที่ พึงประสงค์ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

มีการจัดทําแนวทางส่งเสริ มการจัดกิจกรรมที่สอดคล้ องกับ วิสยั ทัศน์ของ สถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มีการส่งเสริ มให้ สถาบันและองค์การนักศึกษาจัดกิจกรรม นักศึกษาให้ ครบทุกประเภท โดยอย่างน้ อยต้ องดําเนินการ ใน 5 ประเภท ดังนี ้ - กิจกรรมวิชาการ - กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์และรักษาสิง่ แวดล้ อม - กิจกรรมนันทนาการ - กิจกรรมส่งเสริ มศิลปวัฒนธรรม มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรื อกิจกรรม ทัง้ ที่จดั โดยสถาบันและองค์การนักศึกษาทุกสิ ้นปี การศึกษา

โครงสร้ างองค์กร/คําสัง่ แต่งตังหรื ้ อ มอบหมาย คณะทํางาน/บุคคลเพื่อทํา หน้ าที่จดั กิจกรรมนักศึกษา จํานวนและรายชื่อโครงการหรื อกิจกรรม นักศึกษา จําแนกตามประเภท กิจกรรม อาทิ กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและ ส่งเสริ มสุขภาพ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ และ รักษาสิง่ แวดล้ อม กิจกรรม นันทนาการ กิจกรรมส่งเสริ ม ศิลปวัฒนธรรม เอกสารรายงานการประเมินผลการจัด กิจกรรมนักศึกษาทังที ้ ่จดั โดยหน่วยงาน และนักศึกษา ข้ อเสนอแนะในการปรับปรุงตามผลการ ประเมินฯ

2

3

4

มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 ไม่ครบ 3 ข้ อแรก 3 ข้ อแรก ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คะแนน 3 ดําเนินการครบทุกข้ อ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

32


องค์ ประกอบที่ 4 การวิจยั ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงาน สร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ :

กระบวนการ

เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

1

มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ เพื่อให้ บรรลุเป้าหมาย ตามแผนของคณะวิชาและสอดคล้ องกับ ยุทธศาสตร์ การวิจยั ของสถาบัน มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับการ บริหารงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ที่ใช้ ประโยชน์ได้ จริง

2

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

3

มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหล่งค้ นคว้ า ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์

4

มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้ านการวิจยั

5

มีระบบสร้ างขวัญและกําลังใจและยกย่องนักวิจยั ที่มี ผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ดีเด่น

6

มีระบบและกลไกส่งเสริมความร่วมมือระหว่างนักวิจยั กับ องค์กรภายนอกทัง้ ภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรม

ประกาศเรื่ องหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ของอาจารย์ประจํา ข้ อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับการ บริหารงานวิจยั เช่น ชื่องานวิจยั ผู้ทํา งบประมาณ แหล่งทุน แหล่งตีพิมพ์ เผยแพร่ หรื อการนําไปใช้ ประโยชน์ ข้ อมูลการจัดสรรงบประมาณเพื่อ สนับสนุนการวิจยั ข้ อมูลการสนับสนุน ทรัพยากรด้ านอื่นๆ ต่อการวิจยั ข้ อมูลทุน วิจยั ที่คณาจารย์ได้ รับพร้ อมชื่อคณาจารย์ ประกาศเรื่ องหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ของอาจารย์ประจํา นโยบาย ระเบียบ/แนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับ การสร้ างขวัญและกําลังใจแก่นกั วิจยั ข้ อมูลหรื อหลักฐานการสร้ างขวัญและ กําลังใจแก่นกั วิจยั เป็ นต้ น 1. นโยบาย ระเบียบ/แนวทางปฏิบตั ิ เกี่ยวกับความร่วมมือในการวิจยั กับ หน่วยงานต่างๆ 2. ผู้รับผิดชอบ/หน่วยงานด้ านความ ร่วมมือในการวิจยั กับหน่วยงานต่างๆ 3. เอกสารหลักฐานความร่วมมือในการ วิจยั กับหน่วยงานต่างๆ (MOU)

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

33


เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ไม่ครบ 3 ข้ อ

คะแนน 2 3 – 4 ข้ อ

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 5 ข้ อ

ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.2 : มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจยั และงาน สร้ างสรรค์ทงในวงการ ั้ วิชาการและการนําไปใช้ ประโยชน์

2

มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จาก งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ที่เชื่อถือได้ และรวดเร็วทันต่อการ ใช้ ประโยชน์ มีการสร้ างเครื อข่ายเผยแพร่ผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ไป ยังผู้เกี่ยวข้ องทัง้ ภายในและภายนอกสถาบัน

3

4

มีระบบและกลไกการสนับสนุนความร่วมมือระหว่างนักวิจยั กับองค์การภายนอก สถาบันเพื่อการนําผลงานไปใช้ ประโยชน์

5

มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบตั รการซื ้อขายทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญา ตลอดจนการ คุ้มครองสิทธิของงานวิจยั หรื อ สิง่ ประดิษฐ์ หรื อนวัตกรรมให้ แก่นกั วิจยั เจ้ าของผลงาน

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ไม่ครบ 3 ข้ อ

คะแนน 2 3 ข้ อ

คําสัง่ หรื อการมอบหมายบุคคล/ คณะทํางาน จัดทํา ระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และ สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจยั และงาน สร้ างสรรค์ (ITU Review) ITU Review

เอกสารโครงการ/ภาพถ่ายเครื อข่ายการ เผยแพร่ผลงานการวิจยั และการสร้ างสรรค์ ระหว่างวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอก คําสัง่ แต่งตังผู ้ ้ รับผิดชอบจัดการประชุม เครื อข่าย / คณะกรรมการพิจารณาบทความ/ ระเบียบการทํางานของศูนย์ให้ คําปรึกษาเพื่อ การพัฒนานวัตกรรม นโยบาย ระเบียบ /แนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการจด สิทธิบตั ร

คะแนน 3 อย่างน้ อย 4 ข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี ปฏิทนิ เดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

34


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบัน ต่ อจํานวนอาจารย์ ประจําที่ปฏิบัตงิ านจริง ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ปั จจัยนําเข้ า ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริง และไม่นบั รวมอาจารย์ประจําและ นักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อ 2. ชื่อผู้ทําผลงาน ชื่องานวิจยั จํานวนเงินสนับสนุนการทําวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทงภายใน ั้ และภายนอกที่อาจารย์และนักวิจยั มีการเซ็นต์สญ ั ญารับทุนวิจยั หมายเหตุ 1. กรณีมีผ้ รู ่วมวิจยั หลายคนหลายหน่วยงาน ให้ แบ่งสัดส่วนเงินเป็ นค่าเฉลี่ยตามจํานวนผู้เข้ าร่วม โครงการวิจยั 2. กรณีที่โครงการวิจยั นันได้ ้ รับทุนสนับสนุนเป็ นเวลามากกว่า 1 ปี ให้ รายงานจํานวนเงินเฉลี่ยตามสัดส่วน ในปี ปฎิทินนันๆ ้ สูตรการคํานวณ จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอกที่อาจารย์ประจําและนักวิจยั มีการเซ็นต์สญ ั ญารับทุนวิจยั ในปี ปฏิทินนันๆ ้ จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริ งในปี การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 อยูร่ ะหว่าง 1-54,999 บาท

คะแนน 2 55,000-79,999 บาท

คะแนน 3 >80,000 บาท

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี ปฏิทนิ เดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

35


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.4 ร้ อยละของงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ท่ ตี พ ี มิ พ์ เผยแพร่ ได้ รับการจด ทะเบียนทรัพย์ สินทางปั ญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใช้ ประโยชน์ ทงั ้ ในระดับชาติและใน ระดับนานาชาติต่อจํานวนอาจารย์ ประจํา ชนิดของตัวบ่ งชี ้

ผลผลิต

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. รายชื่องานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ และ/หรื อนําไปใช้ ประโยชน์ทงใน ั้ ระดับชาติและระดับนานาชาติในปี ปฏิทินเดียวกับปี การศึกษา 2. การรายงานข้ อมูลบทความจากที่ได้ รับการตีพิมพ์ในวารสารทังหมด ้ โดยจําแนกตาม ประเภทผลงานที่ได้ รับการตีพิมพ์ในวาระสารระดับต่างๆโดยระบุรายละเอียดดังนี ้ ชื่อ เล่มที่ และวัน/เดือน/ปี ของวารสารที่ตพี ิมพ์ ชื่อบทความ และเลขหน้ า ชื่อผู้เขียน 3. จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริงในปี การศึกษานัน้ และไม่นบั รวมอาจารย์และ นักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อ สูตรในการคํานวณ จํานวนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ที่ได้ รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ฯ ในปี ปฏิทิน x 100 จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริ งในปี การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 1-29

คะแนน 2 ร้ อยละ 30-39

คะแนน 3 > ร้ อยละ 40

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี ปฏิทนิ เดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

36


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.5 จํานวนบทความวิจัยที่ได้ รับการอ้ างอิง (Citation) ใน refereed journal หรื อใน ฐานข้ อมูลระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต ข้ อมูลอ้ างอิงสําหรับผู้ประเมิน : 1. จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทังหมด ้ รวมผู้ที่ลาศึกษาต่อ 2. จํานวนบทความวิจยั ที่ได้ รับการอ้ างอิง (citation) ใน referred journal หรื อใน ฐานข้ อมูล ระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ โดยสามารถนับผลงานของนักวิจยั และผลงานของอาจารย์ที่ลาศึกษา ต่อได้ ด้วย หมายเหตุ 1. การนับบทความที่ได้ รับการอ้ างอิงใน referred journal หรื อในฐานข้ อมูลระดับชาติ หรื อระดับ นานาชาติ ไม่ นับซํา้ แม้ วา่ บทความวิจยั นันจะได้ ้ รับการอ้ างอิงหลายครัง้ ก็ตาม 2. บทความวิจยั ในฐานข้ อมูลมาตรฐานสากลตามที่กําหนด ให้ นบั เฉพาะที่เป็ นบทความวิจยั เท่านัน้ ได้ แก่ “research article” “ letter” และ “ review” สูตรในการคํานวณ จํานวนบทความวิจยั ที่ได้ รับการอ้ างอิงในrefereed journal หรื อในฐานข้ อมูลระดับชาติหรื อนานาชาติในปี ปฏิทิน การศึกษานัน้ จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทังหมดในปี ้

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 1-14

คะแนน 2 ร้ อยละ 15-19

X100

คะแนน 3 > ร้ อยละ 20

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี ปฏิทนิ เดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

37


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.6 ผลงานทางวิชาการที่ตพ ี มิ พ์ เผยแพร่ ต่ออาจารย์ ประจําทุกระดับ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต ข้ อมูลอ้ างอิงสําหรับผู้ประเมิน : 1. จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริง 2. จํานวนผลงานทางวิชาการ แบ่งเป็ น 4 ประเภท ได้ แก่ หนังสือ ตํารา บทความทางวิชาการ บทความวิจยั ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ สูตรในการคํานวณ ผลรวมของผลงานทางวิชาการทุกประเภทในรอบปี ปฏิทิน จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริงในปี การศึกษานัน้

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 < 1.14

คะแนน 2 1.15-1.27

คะแนน 3 > 1.27

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี ปฏิทนิ เดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

38


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.7 ระดับความสําเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรื อนานาชาติ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลประกอบการประเมิน

ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

1

มีการประชุมร่วมกันระหว่างหน่วยงานพันธมิตร

2

มีการจัดทําโครงการ/นําเสนอแนวความคิดในการ จัดการประชุมระดับชาติหรื อนานาชาติ

3

มีการกําหนดกรอบและเป้าหมายในการจัดการ ประชุมกับหน่วยงานพันธมิตร ดําเนินการจัดโครงการประชุมระดับชาติหรือ นานาชาติได้ ตามเป้าหมายที่ตงไว้ ั้ มีผลงานทางวิชาการของวิทยาลัยร่วมนําเสนอใน การประชุมดังกล่าว

4 5

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3-4 ข้ อ

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน ข้ อเสนอโครงการในการจัดการ ประชุมระดับชาติหรื อนานาชาติ รายงานการประชุมระหว่าง หน่วยงานที่ร่วมจัดการประชุม ระดับชาติหรื อนานาชาติ เอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ เช่น โปสเตอร์ เวปไซด์ รายชื่อผลงานวิชาการของวิทยาลัยที่ ร่วมนําเสนอในการประชุม รายงานสรุปโครงการ/รายชื่อคน ร่วมงาน/ภาพถ่าย

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบ 5 ข้ อ

ขอบเขตข้ อมูลที่จดั เก็บ : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

39


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 4.8 ระดับความสําเร็จในการเผยแพร่ งานวิจัยไปในวงกว้ างโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลประกอบการประเมิน

ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ที่ 1 มีการกําหนดช่องทางเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้ าง โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 3

4 5

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน ช่องทางเผยแพร่งานวิจยั ได้ แก่ ITU Review

มีการแต่งตังคณะกรรมการดํ ้ าเนินการ มีการเผยแพร่ผลงานวิจยั ที่รวบรวมจากวารสาร วิชาการนานาชาติซงึ่ ปรากฏอยูใ่ นฐานข้ อมูลสากล และผ่านการสังเคราะห์โดยอาจารย์ประจําวิทยาลัย

รายชื่อคณะกรรมการที่รับผิดชอบ ผลงานวิจยั ที่รวบรวมจากวารสาร ระดับนานาชาติในฐานข้ อมูล สากลโดยอาจารย์ประจําเป็ นผู้ สังเคราะห์ ผลงานวิจยั ของอาจารย์ประจํามีการเผยแพร่ควบคูก่ บั ผลงานวิจยั ของอาจารย์ประจํา ข้ อ 3 เผยแพร่ มีการนําข้ อมูลจากกลุม่ ผู้ใช้ บริการฐานข้ อมูลมา วิเคราะห์เพื่อปรับปรุง

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อ

คะแนน 2 ดําเนินการ 3-4 ข้ อ

รายงานสรุปจากกลุม่ ผู้ใช้ บริการ ฐานข้ อมูล

คะแนน 3 ดําเนินการครบ 5 ข้ อ

ขอบเขตข้ อมูลที่จดั เก็บ : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

40


องค์ ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ สังคม ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการแก่ สังคมตามเป้าหมาย ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ์ และแผนดําเนินงานของการ บริการวิชาการ แก่สงั คม

2

มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรื อหน่วยงานดําเนินการ ให้ บริการวิชาการแก่สงั คมตามแผนที่กําหนด มีการกําหนดหลักเกณฑ์และหรื อระเบียบในการให้ บริ การ วิชาการแก่สงั คม

นโยบาย แผนกลยุทธ์ และแผน ดําเนินงานของการบริการวิชาการแก่ สังคม และหลักฐานการดําเนินงานตาม แผน ตลอดจนการประเมินและปรับปรุง คําสัง่ แต่งตังหรื ้ อการมอบหมาย ผู้รับผิดชอบ /การจัดตังศู ้ นย์ ICC ประกาศมธ.ค่าใช้ จ่ายกลางของวิทยาลัย

3 4 5

6

7

มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามแผนที่กําหนด

สรุปประเมินแผนงานด้ านการบริการ วิชาการแก่สงั คมตามโครงการต่างๆ มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแก่สงั คม หลักฐานการนําผลการประเมินการ ดําเนินงานด้ านบริการวิชาการไป ปรับปรุงและพัฒนา มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทาง แผนบูรณาการการบริการทางวิชาการแก่ วิชาการแก่สงั คมเข้ ากับ การเรี ยนการสอน หรื อการวิจยั หรื อ สังคมเข้ ากับการเรี ยนการสอน การ วิจยั การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณา รายงานผลการประเมินสัมฤทธิผลของ ปรับปรุงความเชื่อมโยง และบูรณาการระหว่างการบริการ การเชื่อมโยงการบริการวิชาการแก่สงั คม วิชาการแก่สงั คมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบัน กับการเรี ยนการสอน การวิจยั และการ ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการอย่างน้ อย มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ 3-4 ข้ อแรก 5 ข้ อแรก ไม่ครบ 3 ข้ อแรก ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ศูนย์ ให้ คาํ ปรึกษาเพื่อการพัฒนานวัตกรรม คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

41


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 5.2 : ร้ อยละของอาจารย์ ประจําที่มีส่วนร่ วมในการให้ บริการทางวิชาการแก่ สังคม เป็ นที่ ปรึกษาเป็ นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน เป็ นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ ออาจารย์ ประจําทัง้ หมด ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ปั จจัยนําเข้ า ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. จํานวนอาจารย์ประจําทั้งหมด สามารถนับอาจารย์ประจําที่ลาศึกษาต่อได้ ด้วย 2. จํานวนอาจารย์ที่มีสว่ นร่ วมในการบริ การวิชาการซึง่ จะไม่นบั ซํ ้า แม้ ว่าอาจารย์ท่านนั้นมีสว่ นร่ วมใน กิจกรรมหรื อโครงการบริ การวิชาการของมหาวิทยาลัยหลายกิจกรรม หรื อหลายโครงการ หรื อเป็ นที่ปรึกษา หรื อ กรรมการหลายตําแหน่ง ทั้งนี ้ให้ รายงานโดยแบ่งเป็ นส่วนๆ คือ (1) จํานวนและรายชื่ออาจารย์ที่มีส่วนร่ วมในการให้ บริ การทางวิชาการแก่สงั คม โดยระบุโครงการที่มี ส่วนร่วม (2) จํานวนและรายชื่ออาจารย์ที่เป็ นที่ปรึ กษา หรื อเป็ นกรรมการวิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา ภายนอกสถาบัน โดยระบุชื่อนักศึกษา ชื่อหลักสูตร และ ชื่อสถาบันด้ วย (3) จํานวนและรายชื่ออาจารย์ที่เป็ นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพให้ กบั หน่วยงานภายนอก หรื อสถาบันองค์ การต่างๆ ทั้งภาครั ฐและเอกชน ทั้งในระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ โดยระบุชื่ อ คณะกรรมการ ตําแหน่งที่ได้ รับ และ หน่วยงานต้ นสังกัดด้ วย กรรมการวิชาการ หมายถึง กรรมการร่ างหลักสูตร กรรมการประเมินหลักสูตร กรรมการ ประเมินผลงานวิชาการ หรื ออยูใ่ นกองบรรณาธิการของวารสารวิชาการต่างๆ กรรมการ การประชุมวิชาการ ที่มีลกั ษณะการจัดเป็ นประจําระดับชาติ/นานาชาติ กรรมการประจําของหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งการเป็ น กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็ นต้ น กรรมการวิชาชีพ หมายถึง การเป็ นกรรมการของสมาคมวิชาชีพต่างๆ ที่ปรึ กษาระดับสูงของ ประเทศที่ได้ รับคัดเลือกหรื อได้ รับมอบหมายให้ ร่วมเป็ นคณะทํางานหรื อคณะดําเนินการเพื่อพัฒนางาน วิชาการหรื อวิชาชีพภายนอกสถาบันในระดับชาติ หรื อนานาชาติ

สูตรการคํานวณ จํานวนอาจารย์ประจําที่มีสว่ นร่วมในการให้ บริ การทางวิชาการแก่สงั คมในปี การศึกษานัน้ X 100 จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี ้ การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 ร้ อยละ1-14 ร้ อยละ 15-24 ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คะแนน 3 > ร้ อยละ25

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

42


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 5.3 : ร้ อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความ ต้ องการพัฒนาและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติต่อ อาจารย์ ประจําที่ปฏิบัตงิ านจริง ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. จํานวนและรายชื่อกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการแก่สงั คม โดยลักษณะการบริการวิชาการ มีดงั นี ้ 1) บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ และตรวจซ่อม 2) บริการเครื่ องมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ทางการศึกษา 3) บริการจัดฝึ กอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบตั ิการแบบเก็บค่าลงทะเบียนและแบบให้ เปล่า 5) บริ การจัดฝึ กอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบตั ิการในลักษณะการว่าจ้ าง 6) บริการเกี่ยวกับสุขภาพที่นอกเหนือจากหน้ าที่ความรับผิดชอบโดยตรงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 7) บริการศึกษา วิจยั สํารวจ การวางแผน การจัดการ 8) บริการศึกษาความเหมาะสมของโครงการการศึกษาผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม 9) บริการวางระบบ ออกแบบ สร้ าง ประดิษฐ์ และผลิต 10) บริการอื่น ๆ ทังนี ้ ้ไม่นบั รวมการเป็ นวิทยากรที่ไม่ได้ อยูใ่ นแผนของสถาบัน

2. จํานวนอาจารย์ประจําที่ปฏิบตั งิ านจริงในปี การศึกษานัน้ ไม่นบั รวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ หมายเหตุ : 1. กรณี 1 โครงการหรื อกิจกรรมมีการจัดหลายครัง้ ให้ นบั ซํ ้าได้ หากกลุม่ เป้าหมายที่รับบริการ แตกต่างกัน 2. กรณีบริ การวิชาการที่จดั ขึ ้นโดยหน่วยงานภายนอก และขอความร่วมมือให้ วทิ ยาลัยส่ง คณาจารย์ไปช่วยนันให้ ้ รายงานเป็ นโครงการ 1 โครงการตามชื่อโครงการ สูตรการคํานวณ จํานวนกิจกรรม/โครงการที่คณะวิชาได้ จดั ขึ ้นเพื่อให้ บริการทางวิชาการฯในปี การศึกษานัน้ x 100 จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ที่ปฏิบตั งิ านจริงในปี การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ1-19

คะแนน 2 ร้ อยละ20-29

คะแนน 3 > ร้ อยละ 30

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ศูนย์ ให้ คาํ ปรึกษาเพื่อการพัฒนานวัตกรรม คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

43


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 5.4 : ค่ าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้รับบริการ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : รายงานผลสํารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ โดยนําผลของทุกโครงการหาค่าเฉลีย่ ซึง่ การสํารวจความพึงพอใจโดยทัว่ ไปจะพิจารณา 4 ประเด็นสําคัญ คือ ้ บริการ 1. ความพึงพอใจด้ านกระบวนการ ขันตอนการให้ 2. ความพึงพอใจด้ านเจ้ าหน้ าที่ผ้ ใู ห้ บริ การ 3. ความพึงพอใจด้ านสิง่ อํานวยความสะดวก 4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้ บริ การ สูตรการคํานวณ ผลสํารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการในทุกโครงการในปี การศึกษานัน้ จํานวนโครงการทังหมดในปี ้ การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50

คะแนน 2 ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50

คะแนน 3 > 3.51

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ศูนย์ ให้ คาํ ปรึกษาเพื่อการพัฒนานวัตกรรม

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

44


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 5.5 : มีการนําความรู้ และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการ พัฒนาการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ ระดั บที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน

1

มีแผนในการนําความรู้และประสบการณ์จากการ บริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการ สอนและการวิจยั มีการนําความรู้และประสบการณ์จากการบริการ วิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการสอนอย่างน้ อย 1 โครงการ มีการนําความรู้และประสบการณ์จากการบริการ วิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการวิจยั อย่างน้ อย 1 โครงการ มีการนําความรู้และประสบการณ์จากการบริการ วิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการสอนและการ วิจยั อย่างน้ อย 1 โครงการ มีการบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอนกับการวิจยั และการบริ การวิชาการ/วิชาชีพ อย่างน้ อย 1 โครงการ

แผนในการนําความรู้และประสบการณ์จากการ บริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการ สอนและการวิจยั หลักฐานที่แสดงว่าได้ นําองค์ความรู้และ ประสบการณ์จากการให้ บริการวิชาการแก่สงั คมมา ใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน หลักฐานที่แสดงว่าได้ นําองค์ความรู้และ ประสบการณ์จากการให้ บริการวิชาการแก่สงั คมมา ใช้ ในการวิจยั หลักฐานที่แสดงว่าได้ นําองค์ความรู้และ ประสบการณ์จากการให้ บริ การวิชาการแก่สงั คมมา ใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและการวิจยั

2

3

4

5

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดําเนินการ 1 ข้ อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ1-2 ข้ อแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการมากกว่าหรื อ เท่ากับ 3 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ศูนย์ ให้ คาํ ปรึกษาเพื่อการพัฒนานวัตกรรม

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

45


องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

1

มีการกําหนดนโยบายที่ชดั เจนปฏิบตั ิได้ และมีแผนงาน รองรับ มี ก ารกํ า หนดกิ จ กรรมหรื อ โครงการที่ เ ป็ นประโยชน์ สอดคล้ องกับแผนงาน และ มีการดําเนินกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่อง

2

3

4

5

6

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน

นโยบายและแผนงานด้ านการทํ า นุ บํ า รุ ง ศิลปวัฒนธรรมของวิทยาลัย 1. กิจกรรม / โครงการด้ านศิลปวัฒนธรรม 2. หลั ก ฐานการดํ า เนิ น งานตามแผนงาน กิจกรรม / โครงการ ตลอดจนการประเมินและ ปรับปรุง มี การบูรณาการงานด้ า นทํ า นุบํ า รุ งศิลปวัฒนธรรมกับ หลักฐานกิจกรรม /โครงการ / การดําเนินงานที่ ภารกิจด้ านอื่น ๆ มี ก า ร บู ร ณ า ก า ร ง า น ด้ า น ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิลปวัฒนธรรมกับการเรี ยนการสอน มีการส่งเสริ มการดําเนินงานด้ านศิลปวัฒนธรรมทัง้ ใน 1. ข้ อมู ล และสารสนเทศที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การ ระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานข้ อมูลด้ าน บริ หารงานศิลปวัฒนธรรม เช่น คําสัง่ แต่งตัง้ ศิ ล ปวัฒ นธรรม การสร้ างบรรยากาศศิ ล ปะและ หรื อมอบหมายผู้รับผิดชอบ วัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ 2. ข้ อมูลและหลักฐานการจัด กิจกรรมด้ าน การจัด สรรงบประมาณสนับ สนุน อย่ า งพอเพี ย งและ ศิลปะและวัฒนธรรม การจัดสรรทรัพยากร ต่อเนื่อง สนับสนุน ข้ อ มูลเกี่ ย วกับ ผลงานและงาน สร้ างสรรค์ด้านศิลปวัฒนธรรม แบบประเมินผล การปฏิบตั ิงาน มีการกําหนดหรื อสร้ างมาตรฐานด้ านศิลปวัฒนธรรม โดย 1. หลักฐานการกําหนดหรื อสร้ างมาตรฐานด้ าน ผู้เชี่ยวชาญ และมี ผลงานเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติหรื อ ศิลปวัฒนธรรม นานาชาติ มีการเผยแพร่และบริ การด้ านศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติ ห ลั ก ฐ า น ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล ง า น ด้ า น และนานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรื อเวทีแสดงผลงาน จัดทํา ศิลปวัฒนธรรมทังระดั ้ บชาติและนานาชาติ วารสารศิลปวัฒนธรรมในระดับต่าง ๆ มีความร่วมมือใน การให้ การบริ การวิชาการด้ านศิลปวัฒนธรรมกับสังคมใน ระดับต่าง ๆ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

46


เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 4 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายบริการการศึกษา

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

47


องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.1 สภาสถาบันใช้ หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดัน สถาบันให้ แข่ งขันได้ ในระดับสากล ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ที่ ประเมิน 1

สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ และนโยบายของสถาบัน

2

สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจของ สถาบันมากกว่าปี ละ 2 ครัง้ มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอย่างตํ่าร้ อยละ 80 ของ แผน ในการประชุมแต่ละครัง้ มีกรรมการเข้ าร่วมโดยเฉลี่ยไม่ น้ อยกว่าร้ อยละ 80 โดยมีการส่งเอกสารให้ อย่างน้ อย 7 วัน ก่อนการประชุม สภาสถาบันจัดให้ มีการประเมินผลงานของคณบดี รอง คณบดี ตามหลักเกณฑ์ที่ตกลงกันไว้ ลว่ งหน้ า

3

4

5

สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลและ ส่งเสริ มการบริ หารงานโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลทัว่ ทังองค์ ้ กร

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ 4 ข้ อ

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ข้ อ

1.เอกสารรายงานแสดงการกําหนด วิสยั ทัศน์ นโยบาย และยุทธศาสตร์ ของ วิทยาลัยโดยคณะอํานวยการวิทยาลัย เช่น รายงานการประชุม 1.เอกสารแสดงการติดตามผลการ ดําเนินงานตามภาระกิจของคณะวิชา 1.รายงานการประชุมคณะกรรมการ 2.เอกสารแสดงส่งรายงานการประชุม ก่อนการประชุม 7 วัน 1.เกณฑ์การประเมินผลงานของ คณบดี รองคณบดี 2 ผลการประเมินผลงานของ คณบดี รองคณบดี ความสําเร็จของการถ่ายทอดนโยบาย หรื อทิศทางการบริหารงานด้ วยหลัก ธรรมาภิบาล

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ งานบุคคล และงานธุรการ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

48


หมายเหตุ หลักธรรมาภิบาล มาจากคําว่า ธรรมะ+อภิบาล หมายความว่าหลักการบริ หาร จัดการบ้ านเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) ประกอบด้ วยหลักพื ้นฐาน 6 ประการ ดังนี ้ 1.หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) ได้ แก่ การตรากฎหมาย กฎข้ อบังคับต่าง ๆ ให้ ทนั สมัยและเป็ น ้ ้ ออกกฎและผู้ปฏิบตั ติ าม ตลอดจนทุกคนในสังคมยินยอมพร้ อมใจปฏิบตั ิตาม ธรรมเป็ นที่ยอมรับทังผู 2.หลักคุณธรรม(Morality) ได้ แก่ การยึดมัน่ ในความถูกต้ องดีงาม ซือ่ สัตย์ จริ งใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ ตลอดจนมีความชอบธรรมในการใช้ อํานาจ 3.หลักความโปร่ งใส(Transparency) มีการเปิ ดเผยข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์อย่างตรงไปตรงมา ด้ วยภาษาที่เข้ าใจง่าย ประชาชนเข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารได้ สะดวก เปิ ดเผยข้ อมูลที่ถกู ต้ อง รวดเร็ว ไม่ บิดเบือน หรื อปิ ดบังบางส่วน 4.หลักความมีส่วนร่ วม(Participation) ได้ แก่ การเปิ ดโอกาสให้ ทกุ คนในสังคมมีสว่ นร่วมใน กิจกรรมที่เราทําทังร่้ วมคิด ร่วมทํา ร่วมแก้ ไขและร่วมรับผิดชอบ 5.หลักความรับผิดชอบตรวจสอบ(Accountability) ได้ นอกจากจะต้ องมีความรับผิดชอบแล้ ว ยังต้ องสร้ างกระบวนการให้ หน่วยงานต่าง ๆ มาตรวจสอบได้ วา่ การทํางานของเราโปร่งใสจริ ง 6.หลักความคุ้มค่ า(Effectiveness) ได้ แก่ การบริ หารจัดการและใช้ ทรัพยากรที่มีจํากัดให้ เกิด ประโยชน์สงู สุดคุ้มเงิน คุ้มเวลา คุ้มแรงงาน

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

49


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.2 ภาวะผู้นําของผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1 2

มีกระบวนการสรรหาผู้บริหารที่เป็ นระบบ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผู้บริหารดําเนินการบริหารด้ วยหลักธรรมาภิบาลและใช้ ศกั ยภาพ ภาวะผู้นําที่มีอยู่ โดยคํานึงถึงประโยชน์ของสถาบันและผู้มีสว่ น ได้ สว่ นเสีย

3

มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบตั ิงานของ ผู้บริหารที่ชดั เจน และเป็ นที่ยอมรับในสถาบัน มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผู้บริ หารตาม ผลการ ประเมิน และดําเนินการตามแผนอย่างครบถ้ วน

หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาผู้บริหาร แนวทางการบริ หารของผู้บริหารซึง่ แสดงให้ เห็นการบริหารงานที่ใช้ หลักธรรมาภิบาลและ ศักยภาพภาวะผู้นําที่มีอยู่ โดยคํานึงถึง ประโยชน์ของคณะและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย รายงานผลการประเมินผู้บริหารหน่วยงานทุก ระดับ 1.แผนพัฒนาสมรรถนะและ ภาวะผู้นําของ ผู้บริ หารหน่วยงานทุกระดับ 2.จํานวนกิจกรรมหรื อโครงการการส่งเสริม และพัฒนาผู้บริ หาร 3.จํานวนผู้บริหารที่ได้ รับการพัฒนาศักยภาพ และภาวะผู้นํา

4

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 3 ข้ อแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : งานบุคคล

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

50


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์ กรการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน

1

มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู้ เพื่อมุง่ สู่ องค์กรแห่งการเรี ยนรู้ และประชาสัมพันธ์เผยแพร่ให้ ประชาคมของสถาบันรับทราบ

2

มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู้และประสบ ความสําเร็จตามเป้าหมายไม่ น้ อยกว่า ร้ อยละ 50 มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู้และประสบ ความสําเร็จตามเป้าหมาย ร้ อยละ 100 มีการติดตามประเมินผลความ สําเร็จของการจัดการ ความรู้ มีการนําผลการประเมินไปปรับใช้ ในการพัฒนา กระบวนการจัดการความรู้ให้ เป็ นส่วนหนึง่ ของ กระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรู้

3 4 5

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 3 ข้ อแรก

1.แผนการจัดการความรู้ 2.เอกสารแสดงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ แผนการจัดการความรู้ให้ กบั บุคคลากร 3.ตัวบ่งชี ้และเป้าหมายของตัวบ่งชี ้ของ แผนปฏิบตั ิงานประจําปี ที่เกี่ยวข้ องกับการ จัดการความรู้ ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงานประจําปี ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการความรู้

ผลการประเมินการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิ งานประจําปี ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการความรู้ แนวทางในการพัฒนากระบวนการจัดการ ความรู้ตามผลการประเมินการดําเนินงานตาม แผนปฏิบตั ิงานประจําปี ที่เกี่ยวข้ องกับการ จัดการความรู้

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 4 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : งานบุคคล

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

51


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว้ ให้ บุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่ 1

2

3

4

5

6

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็ นรูปธรรม ภายใต้ การวิเคราะห์ ข้ อมูลเชิงประจักษ์

1.ข้ อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล บุคลากรทังด้ ้ านปริมาณ/คุณภาพ 2.แผนพัฒนาบุคลากร 3.ข้ อมูลเกี่ยวกับบุคลากร มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็ นการ เอกสารแสดง ข้ อกําหนดในเรื่ อง การ ส่งเสริ มสมรรถนะใน การปฏิบตั ิงาน เช่น การสรรหา การจัด สรรหา การจัดวางคนลงตําแหน่ง การ วางคนลงตําแหน่ง การกําหนดเส้ นทางเดินของตําแหน่ง การ กําหนดเส้ นทางเดินของตําแหน่ง การ สนับสนุนเข้ าร่วมประชุม ฝึ กอบรมและหรื อเสนอผลงานทาง สนับสนุนเข้ าร่วมประชุม ฝึ กอบรมและ วิชาการ การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน มาตรการสร้ างขวัญ หรื อเสนอผลงานทางวิชาการ การ กําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทังการพั ้ ฒนา และรักษา ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน มาตรการ บุคลากรที่มีคณ ุ ภาพ สร้ างขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทังการพั ้ ฒนา และรักษาบุคลากรที่ มีคณ ุ ภาพ มีระบบสวัสดิการและเสริมสร้ างสุขภาพที่ดี และสร้ าง เอกสารแสดงระบบสวัสดิการและ บรรยากาศที่ดีให้ บุคลากรทํางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพและ เสริมสร้ างสุขภาพของบุคคลากร อยูอ่ ย่างมีความสุข มีระบบส่งเสริ มสนับสนุนบุคลากรที่มีศกั ยภาพสูงให้ มีโอกาส นโยบาย ระเบียบ/แนวทางปฏิบตั ิ ประสบความสําเร็จและก้ าวหน้ าในอาชีพอย่างรวดเร็วตาม ส่งเสริ มสนับสนุนบุคลากรที่มีศกั ยภาพ สายงาน สูงให้ มีโอกาสประสบความสําเร็ จและ ก้ าวหน้ าในอาชีพอย่างรวดเร็วตามสาย งาน มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอย่างเป็ น 1.แบบประเมินประเมินความพึงพอใจ ระบบ ของบุคลากรทุกระดับ 2.ผลการประเมินความพึงพอใจของ บุคลากร มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผู้บริหารระดับสูง แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการ และมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อให้ ดีขึ ้น บริหารทรัพยากรบุคคล คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

52


เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 3 – 4 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 5 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ งานบุคคล

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

53


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ปั จจัยนําเข้ า เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1

มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานข้ อมูลเพื่อการตัดสินใจ

2 3

มีระบบฐานข้ อมูลเพื่อการตัดสินใจ มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบ ฐานข้ อมูล

4

มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ฐานข้ อมูล

5

มีการนําผลการประเมินในข้ อ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบ ฐานข้ อมูล

6

มีการเชื่อมโยงระบบฐานข้ อมูลของคณะวิชาผ่านระบบ เครื อข่ายกับหน่วยงานต่างๆของสถาบันตามรูปแบบ มาตรฐานที่กําหนด

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 2 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 2 ข้ อแรก

นโยบายหรื อแผนในการจัดทําระบบ ฐานข้ อมูลของคณะวิชา ฐานข้ อมูลของวิทยาลัย 1.แบบประเมินประสิทธิภาพและความ ผลอดภัยของระบบฐานข้ อมูล 2.ผลการประเมินประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยของระบบฐานข้ อมูล 1.แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบฐานข้ อมูลคณะ 2.ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ของระบบฐานข้ อมูลคณะ 3.สถิติการใช้ ฐานข้ อมูลของคณะ แนวทางการปรับปรุงและพัฒนา ฐานข้ อมูลคณะตามผลการประเมิน ความปลอดภัย ปะสิทธิภาพและความ พอใจ การเชื่อมโยงระบบฐานข้ อมูลของคณะ วิชาผ่านระบบเครื อข่ายกับหน่วยงาน ต่างๆนอกคณะวิชา

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 3 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

54


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.6 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดโอกาสให้ บุคคลภายนอกเข้ ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนา สถาบัน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ ที่

เกณฑ์ มาตรฐาน

1

มีการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างโปร่งใส ผ่าน ช่องทางต่าง ๆ อาทิ เอกสารสิง่ พิมพ์ เว็บไซด์ นิทรรศการ

2

3

4

5

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน

1.หลักฐานการดําเนินงานในเรื่ องการ เปิ ดเผยข่าวสารแก่ประชาชนอย่าง โปร่งใส อย่างน้ อย 3 ช่องทาง จาก จดหมายข่าว ประกาศ เว็บไซต์ มีระบบการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนผ่านช่องทางที่ 1.หลักฐานการมีระบบการรับฟั งความ เปิ ดเผยและเป็ นที่รับรู้กนั โดยทัว่ อย่างน้ อย 3 ช่องทาง คิดเห็นของประชาชนผ่านช่องทาง ต่าง ๆ อย่างน้ อย 3 ช่องทางเช่น ตู้รับฟั งความ คิดเห็น หมายเลขโทรศัพท์สายด่วน เว็บไซต์ เว็บบอร์ ด มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการ 1.คําสัง่ แต่งตังผู ้ ้ รับผิดชอบในการรวบรวม บริหารงาน โดยมีเจ้ าหน้ าที่ รับผิดชอบและมีการดําเนินงาน และนําความคิดเห็นของประชาชน อย่างเป็ นรูปธรรม 2.หลักฐานการนําความคิดเห็นของ ประชาชนไปประกอบการบริหารงาน มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทังที ้ ่เป็ นทางการและไม่ 1.คําสัง่ แต่งตังที ้ ่ปรึกษาที่มาจาก เป็ นทางการ และมี การดําเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง บุคคลภายนอก และชัดเจน เช่น จัดประชุมร่วมกันอย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง้ 2.รายชื่อหน่วยงานหรื อองค์กรหรื อบุคคล ที่เป็ นที่ปรึกษาภาคประชาชนที่ เข้ าร่วม กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 3.รายงานการประชุมที่แสดงถึงการมี ส่วนร่วมของที่ปรึกษาภาคประชาชน มีกระบวนการหรื อกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาค 1.ช่องทาง รูปแบบ รอบระยะเวลาการ ประชาชน ติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชนหรื อ บุคคลภายนอก 2.กิจกรรมหรื อแผนงานหรื อโครงการหรื อ ประเด็นหรื อเรื่ องที่มีการตรวจสอบ โดย ภาคประชาชนหรื อบุคคลภายนอก

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

55


เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 3 - 4 ข้ อแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.7 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําที่ได้ รับรางวัลผลงานทางวิชาการหรื อวิชาชีพใน ระดับชาติ หรื อนานาชาติ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน : จํ า นวนอาจารย์ ป ระจํ า ที่ ได้ รั บ รางวัล ผลงานทางวิช าการหรื อ วิช าชี พ ทัง้ ในระดับชาติ หรื อ นานาชาติ (สามารถนับซํ ้าได้ หากได้ รับหลายรางวัล) ให้ ระบุชื่ออาจารย์ ชื่อรางวัลผลงานทางวิชาการ หรื อวิชาชีพที่ได้ รับและชื่อหน่วยงานที่ให้ รางวัลวัน/เดือน/ปี ที่รับรางวัล สูตรการคํานวณ จํานวนอาจารย์ประจําที่ได้ รับรางวัลทางวิชาการหรื อวิชาชีพ X 100 จํานวนอาจารย์ประจําทังหมด ้ เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ร้ อยละ0.1-0.99

คะแนน 2 ร้ อยละ1-1.99

คะแนน 3 1. > ร้ อยละ2 และ 2.อย่างน้ อยร้ อยละ50 ของผู้ที่ ได้ รับรางวัลในข้ อ 1 เป็ นรางวัล ด้ านการวิจยั หมายเหตุ กรณีได้ ข้อ 1 แต่ ไม่ได้ ข้อ 2 ถือว่าได้ คะแนน 2

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

56


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ ในการกระบวนการบริหารการศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ที่ 1

2

มีการแต่งตังคณะกรรมการหรื ้ อคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผ้ บู ริ หาร ระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลัก ของสถาบันร่วมเป็ นคณะกรรมการหรื อคณะทํางาน โดย ผู้บริหารระดับสูงต้ องมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบาย หรื อแนวทางในการบริหารความเสี่ยง มีการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่สง่ ผลกระทบหรื อสร้ าง ความเสียหายหรื อ ความล้ มเหลวหรื อลดโอกาสที่จะบรรลุ เป้าหมายในการบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของ ปั จจัยเสี่ยง

3

มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกล่าวต้ อง กําหนดมาตรการหรื อ แผนปฏิบตั ิการในการสร้ างความรู้ ความเข้ าใจให้ กบั บุคลากรทุกระดับในด้ านการบริหารความ เสี่ยง และการดําเนินการแก้ ไข ลด หรื อป้องกันความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ ้นอย่างเป็ นรูปธรรม

4

มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง

5

มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจน มีการกําหนดแนวทางและข้ อเสนอแนะในการ ปรับปรุงแผนบริ หารความเสี่ยงโดยได้ รับความเห็นชอบจาก ผู้บริหาร สูงสุดของสถาบัน

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก ดําเนินการ 3 – 4 ข้ อแรก ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ

เอกสารแต่งตังคณะกรรมการหรื ้ อผู้รับผิดชอบ เรื่ องการบริหารความเสี่ยง

1.รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยง ปั จจัยเสี่ยงที่ จะส่งผลกระทบหรื อสร้ างความ เสียหายหรื อ ความล้ มเหลว หรื อลดโอกาสที่จะบรรลุ เป้าหมาย และการจัดลําดับความสําคัญของ ปั จจัยเสี่ยง 1.แผนบริหารความเสี่ยง 2.เอกสารการให้ ความรู้เรื่ องการบริหารความ เสี่ยงแก่บคุ คลากร 3.หลักเกณฑ์ ประกาศ กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และแนวปฏิบตั ิตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการบริหาร ความเสี่ยง 1.ผลการดําเนินงานตามแผนบริ หารความเสี่ยง 2.KPI ที่บง่ ชี ้ถึงความสําเร็จของการบริหาร ความเสี่ยง 1.ผลการดําเนินงานตามแผนบริ หารความเสี่ยง 2ผลการประเมินผลการดําเนินงานตามแผน บริ หารความเสี่ยง 3.แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาแผน บริ หารความเสี่ยง

คะแนน 3 ดําเนินการครบทุกข้ อ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

57


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.9 ระดับความสําเร็จของการถ่ ายทอดตัวบ่ งชีแ้ ละเป้าหมายของหน่ วยงานสู่ ระดับบุคลากร ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ที่ 1 2 3

4

5 6

7 8

มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายใน สถาบัน มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน มีการกําหนดตัวบ่งชี ้และเป้าหมายตามพันธกิจและ ยุทธศาสตร์ ของสถาบัน มีการจัดทํา Strategy Map ของหน่วยงานในระดับคณะวิชา หรื อเทียบเท่า โดยกําหนดเป้าประสงค์ของแต่ละประเด็น ยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องกับหน่วยงานให้ เชื่อมโยงกับ เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของสถาบัน มีการยืนยันวิสยั ทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ คณะในระดับ ภาควิชาหรื อเทียบเท่า มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี ้และ เป้าหมายตามคํารับรอง ของผู้บริหารระดับต่าง ๆ

หลักฐานที่แสดงว่าได้ จดั ทําแนวทางการ ดําเนินการในการประเมินผลการดําเนินงาน แผนงานการประเมินผลการดําเนิน หลักฐานแสดงการทบทวนวิสยั ทัศน์และ ประเด็นยุทธศาสตร์ การกําหนดตัวบ่งชี ้และ เป้าหมายตามพันธกิจของคณะวิชา Strategy Map ที่แสดงถึงความเชื่อมโยงของ เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ ของคณะกับของ มหาวิทยาลัย

หลักฐานแสดงการยืนยันวิสยั ทัศน์และประเด็น ยุทธศาสตร์ คณะวิชาหรื อเทียบเท่า นโยบาย ระเบียบ/แนวทางปฏิบตั ิในการติดตาม ผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี ้และเป้าหมาย ตามคํารับรอง ของผู้บริหารระดับต่าง ๆ มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี ้และเป้าหมายตาม ผลการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี ้ คํารับรอง และเป้าหมายที่กําหนดไว้ มีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผู้บริหาร ไป หลักฐานที่แสดงถึงหลักเกณฑ์และวิธีการ เชื่อมโยงกับระบบการ สร้ างแรงจูงใจ จัดสรรสิง่ จูงใจ โดยมีการนําผลการ ประเมินผล การดําเนินงานมาใช้ ประกอบการพิจารณา จัดสรรสิง่ จูงใจ

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 5 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 5 - 7 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

58


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.10 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําที่เข้ าร่ วมประชุมวิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงาน วิชาการ ทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศต่ ออาจารย์ ประจําทัง้ หมด ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต สูตรการคํานวณ จํานวนอาจารย์ประจําที่เข้ าร่วมประชุมวิชาการและ/หรือนําเสนอผลงานวิชาการ X 100 จํานวนอาจารย์ประจําทังหมด ้ เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ร้ อยละ 1-39

คะแนน 2 ร้ อยละ 40-59

คะแนน 3 > ร้ อยละ60

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 7.11 ร้ อยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ได้ รับการพัฒนาให้ มีความรู้ และ ทักษะในวิชาชีพ ทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต สูตรการคํานวณ จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ได้ รับการพัฒนาฯ X 100 ้ จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนทังหมด เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ร้ อยละ 1-39

คะแนน 2 ร้ อยละ 40-59

คะแนน 3 >ร้ อยละ 60

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี:้ งานบุคคล

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

59


องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 8.1 มีระบบวิเคราะห์ และการติดตามตรวจสอบการเงินและงบประมาณของ หน่ วยงาน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ที่ ประเมิน 1 2

3 4 5

6

7

มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของสถาบัน แผนยุทธศาสตร์ ทางการเงินของ เป็ นไปตาม เป้าหมาย วิทยาลัย มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้ านการเงิน แผนการจัดสรร 1 งบประมาณประจําปี และการวางแผนการใช้ เงินอย่างมีประสิทธิภาพโปร่งใส 2 แหล่งของงบประมาณรายได้ ตรวจสอบได้ มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูลทางการเงินที่ผ้ บู ริหารสามารถ ระบบฐานข้ อมูลทางการเงิน นําไปใช้ ในการตัดสินใจ และวิเคราะห์สถานะทางการเงิน มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ อย่างน้ อยปี ละ รายงานทางการเงิน 2 ครัง้ มีการนําข้ อมูลทางการเงินไปใช้ ในการวิเคราะห์ค่าใช้ จ่ายและ รายงานทางการเงิน วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมัน่ คงขององค์การอย่าง ต่อเนื่อง มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหน้ าที่ตรวจ 1.รายงานของผู้สอบบัญชี ติดตามการใช้ เงินให้ เป็ นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่ 2.รายงานของผู้ตรวจสอบภายใน สถาบันกําหนด ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใช้ เงินให้ เป็ นไปตาม รายงานการประชุมคณะอํานวยการ เป้าหมายและนําข้ อมูลจากรายงานทางการเงินไปใช้ ในการ วิทยาลัยที่มีวาระการพิจารณางบ วางแผนและการตัดสินใจ การเงิน

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 5 ข้ อแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 5-6 ข้ อแรก

คะแนน 3 มีการดําเนินการครบทุกข้ อ

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี งบประมาณเดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายการคลังและทรัพย์ สิน คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

60


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 8.2 มีการใช้ ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่ วมกัน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ที่ ประเมิน 1

2 3 4 5

มีคณะกรรมการวิเคราะห์ความต้ องการการใช้ ทรัพยากรของสถาบัน

1.คําสัง่ แต่งตังคณะทํ ้ างานวิเคราะห์ความ ต้ องการการใช้ ทรัพยากร 2.รายงานการประชุมของทีมงาน/ คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลัก มีผลการวิเคราะห์ความต้ องการในการใช้ ทรัพยากร ผลการวิเคราะห์ความต้ องการในการใช้ ของสถาบัน ทรัพยากร มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงานอื่นในสถาบัน แผนการใช้ ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงาน อื่นในสถาบัน มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงานอื่นนอกสถาบัน แผนการใช้ ทรัพยากรร่วมกันกับหน่วยงาน อื่นนอกสถาบัน มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใช้ ทรัพยากร 1.ข้ อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับการ ร่วมกับหน่วยงานอื่น ใช้ ทรัพยากรภายในและภายนอกคณะวิชา 2.ผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจาก การใช้ ทรัพยากรร่วมกับหน่วยงานอื่น

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 3 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 4 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี งบประมาณเดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : งานธุรการ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

61


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 8.3 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารย์ ทงั ้ ในและต่ างประเทศต่ ออาจารย์ ประจํา ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ปั จจัยนําเข้ า ข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน 1. จํานวนอาจารย์ประจําในปี การศึกษานัน้ นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ 2. จํานวนเงินที่หน่วยงานจัดสรรสําหรับการพัฒนาคณาจารย์ในประเทศในปี งบประมาณ 3. จํานวนเงินที่หน่วยงานจัดสรรสําหรับการพัฒนาคณาจารย์ในต่างประเทศใน ปี งบประมาณนัน้ สูตรการคํานวณ เงินจัดสรรจริ งสําหรับพัฒนาคณาจารย์ทงในประเทศและต่ ั้ างประเทศในปี งบประมาณนัน้ จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี ้ การศึกษานัน้ เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 อยูร่ ะหว่าง1-9,999 บาท/คน

คะแนน 2 10,000-14,999 บาท/คน

คะแนน 3 > 15,000 บาท/คน

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี งบประมาณเดียวกับปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายการคลังและทรัพย์ สิน

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

62


องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ ประเภทของเกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ที่ 1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในที่เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของสถาบัน

2

มีการกําหนดนโยบายและให้ ความสําคัญเรื่ องการประกัน คุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุด ของสถาบัน ภายใต้ การมีสว่ นร่วมจากภาคีทงภายใน ั้ และ ภายนอกคณะวิชา มีการกําหนดมาตรฐานตัวบ่งชี ้ และเกณฑ์คณ ุ ภาพที่ สอดคล้ องกับมาตรฐานกลางของสถาบัน และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง และสอดคล้ องกับการประเมินคุณภาพภายนอก มีการดําเนินงานด้ านการประกันคุณภาพที่ครบถ้ วน ทังการ ้ ควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ อย่างต่อเนื่องเป็ นประจํา (อย่างน้ อย 3 ปี นับรวมปี ที่มีการ ติดตาม) มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการ ดําเนินงาน มีระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกัน คุณภาพการศึกษา และใช้ ร่วมกันทังระดั ้ บบุคคล ภาควิชา คณะ วิชา มีระบบส่งเสริ มการสร้ างเครื อข่ายด้ านการประกันคุณภาพการ ศึกษาระหว่างหน่วยงานทังภายในและภายนอกคณะวิ ้ ชา

3

4

5 6

7

ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ประเมิน 1.นโยบาย ระเบียบ/แนวทางปฏิบตั ิการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ คณะวิชา 2. คําสัง่ แต่งตังบุ ้ คคลากรรับผิดชอบ งานประกันคุณภาพของคณะวิชา นโยบายและแผนงานด้ านการประกัน คุณภาพของคณะวิชา

ตัวบ่งชี ้เฉพาะของคณะวิชา

1.รายงานประเมินตนเอง(อย่างน้ อย 3 ปี ) 2.ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา (อย่างน้ อย 3 ปี ) แนวทางการพัฒนาการดําเนินจากผล การประเมินคุณภาพ 1.ระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศที่ สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา .ระบบส่งเสริมการสร้ างเครื อข่ายด้ านการ ประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างหน่วย งานทังภายในและภายนอก ้

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

63


เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 4 ข้ อแรก

คะแนน 2 มีการดําเนินการ 4 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 5 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

64


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 9.2 มีระบบและกลไกการให้ ความรู้และทักษะด้ านการประกันคุณภาพแก่ นักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ที่ ประเมิน 1

มีระบบการให้ ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพ การศึกษาแก่นกั ศึกษา

2

มีระบบส่งเสริ มให้ นกั ศึกษานําความรู้ด้านการประกัน คุณภาพไปใช้ กบั กิจกรรมนักศึกษา

3

มีกลไกให้ นกั ศึกษามีสว่ นร่วมในการประกันคุณภาพ การศึกษาของคณะวิชา นักศึกษามีการใช้ กระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนา คุณภาพของกิจกรรม หรื อโครงการนักศึกษา

4

5 6

7

นักศึกษาสร้ างเครื อข่ายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบัน และระหว่างสถาบัน มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่ นักศึกษา ดําเนินการ และในส่วนที่นกั ศึกษามีสว่ นร่วมกับ การประกันคุณภาพของคณะวิชา

มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการให้ ความรู้และ กลไกการ ดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวข้ องกับนักศึกษา อย่างต่อเนื่อง

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1

คะแนน 2

ดําเนินการไม่ครบ 4 ข้ อแรก ดําเนินการ 4 – 5 ข้ อแรก ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

เอกสารโครงการส่งเสริ มให้ นกั ศึกษามี ความรู้และทักษะด้ านการประกัน คุณภาพการศึกษา นโยบาย ระบบ/แนวทางปฏิบตั ิในการ ส่งเสริ มให้ นกั ศึกษานําความรู้ด้านการ ประกันคุณภาพไปใช้ กบั กิจกรรม นักศึกษา เอกสารแสดงการมีสว่ นร่วมในการ ประกันคุณภาพการศึกษา เอกสารโครงการที่แสดงว่านักศึกษามี การใช้ กระบวนการคุณภาพ ในการ พัฒนาคุณภาพของกิจกรรม หรื อ โครงการ เครื อข่ายการพัฒนาคุณภาพภายใน สถาบันและระหว่างสถาบัน แนวทางปฏิบตั ิในการติดตาม ประเมินผลการประกันคุณภาพใน กิจกรรมที่นกั ศึกษาดําเนินการ และใน ส่วนที่นกั ศึกษามีสว่ นร่วมกับการประกัน คุณภาพ แนวทางการพัฒนากระบวนการให้ ความรู้และกลไกการ ดําเนินงานประกัน คุณภาพที่เกี่ยวข้ องกับนักศึกษาตามผล การประเมิน

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 6 ข้ อแรก

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

65


ตัวบ่ งชีท้ ่ ี 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : ผลผลิต เกณฑ์ มาตรฐานและข้ อมูลหลักฐานประกอบการประเมิน ระดับ เกณฑ์ มาตรฐาน ข้ อมูลหลักฐานประกอบการ ที่ ประเมิน 1 2

3

4

5

มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการ รายงานประเมินตนเองของคณะวิชา ศึกษาภายใน ระดับคณะ อย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคล้ องกับ แนวทางการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพ ภายในโดยสอดคล้ องกับพันธกิจและ พันธกิจและ พัฒนาการของสถาบัน พัฒนาการของวิทยาลัย มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในต่อ รายงานผลการประกันคุณภาพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องและสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด การศึกษาภายในต่อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องและสาธารณชน มีการนําผลการประเมินไปใช้ ในการปรับปรุงการดําเนินงาน รายงานความเปลี่ยนแปลงอันสืบ ของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง เนื่องมาจากการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน มีนวัตกรรมด้ านการประกันคุณภาพที่หน่วยงานพัฒนาขึ ้น 1 นวัตกรรมด้ านการประกันคุณภาพ หรื อมีการจัดทําแนวปฏิบตั ิที่ดี เพื่อการเป็ นแหล่งอ้ างอิงให้ การศึกษาภายในที่สถาบันพัฒนาขึ ้น กับหน่วยงานและสถาบันอื่น ๆ 2 การปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ หรื อการเป็ น แหล่งอ้ างอิงของหน่วยงานอื่น ๆ ตลอดจนผลการพัฒนาหรื อ มูลค่าเพิ่ม (value added) จากการประกัน คุณภาพภายใน

เกณฑ์ การประเมิน คะแนน 1 ดําเนินการไม่ครบ 3 ข้ อแรก

คะแนน 2 ดําเนินการ 3 ข้ อแรก

คะแนน 3 ดําเนินการอย่างน้ อย 4 ข้ อแรก

ขอบเขตในการเก็บข้ อมูล : ปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบจัดเก็บตัวบ่ งชี ้ : ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ

คูม่ อื ประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยนวัตกรรม

66




ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

แผนดําเนินการ 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน ตลอดจนมี กระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนการดําเนินงาน และ มีการกําหนดตัวบ่งชี ้เพื่อวัดความสําเร็ จของการ ดําเนินงานตามแผนให้ ครบทุกภารกิจ 1.1.1 มีการกําหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1.2

ร้ อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี ้ของการ ปฏิบตั ิงานที่กําหนด องค์ ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 2.1

2.2

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

1

2

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ (โดยผู้ประสานงาน) ข้ อมูล)

3 12

z z

z

อ.อรพรรณ คงมาลัย

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

1-31 ธ.ค.

1-31 ธ.ค.

z z

z

อ.อรพรรณ คงมาลัย

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

1-31 ธ.ค.

1-31 ธ.ค.

z z

z z

อ.อรพรรณ คงมาลัย

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

30 เม.ย. 30 ก.ย.

15 พ.ค. 15 ต.ค.

3

2.1-1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริ หาร หลักสูตร

z

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.1-2 การได้ มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ.2548

z

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.2-1 กระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ

z

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.2-2 การรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตรที่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ

z

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

2.3

ชื่อตัวบ่ งชี ้

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

2.3-1 มีโครงการหรื อกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนา หลักสูตรและการเรี ยนการสอนซึง่ บุคคล องค์กร และ ชุมชนภายนอกมีสว่ นร่ วม

z

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

ดวงรักษ์ จันแตง

1 2 3

2.3-2 การรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตรที่มี โครงการหรื อกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตร และการเรี ยนการสอนซึง่ บุคคล องค์กร และชุมชน ภายนอกมีสว่ นร่ วม

z

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

ดวงรักษ์ จันแตง

z

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12 30-เม.ย.

15-พ.ค.

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.4

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจํานวนอาจารย์ ประจํา

2.5

สัดส่วนของอาจารย์ประจําที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก หรื อเทียบเท่าต่ออาจารย์ ประจํา

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.6

สัดส่วนของอาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.7

มีกระบวนการส่งเสริ มการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ วิชาชีพคณาจารย์

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.8

มีระบบและกลไกในการสนับสนุนให้ อาจารย์ประจํา ทําการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.9

ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ งานทําและ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

2.10 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ รับเงินเดือน เริ่ มต้ นเป็ นไปตามเกณฑ์

z z

z z ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั สินีรัชต์ พวังคะพินธุ์


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

1

2

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12

2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้ าง ผู้ประกอบการ และ ผู้ใช้ บณ ั ฑิต z z

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

30 ส.ค. 15 ธ.ค. 30 เม.ย.

15 ก.ย. 28 ธ.ค. 15 พ.ค.

z

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

z

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.12 2.12-1 ร้ อยละของนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าที่ สําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา ที่ได้ รับการ ประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่อง ในด้ านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริ ยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและ วัฒนธรรม และด้ านสิง่ แวดล้ อมในระดับชาติหรื อ นานาชาติ 2.12-2 จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าที่สาํ เร็ จ การศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา

z

2.13 ร้ อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึง่ มี คุณสมบัติเป็ นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทําหน้ าที่ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

z

2.15 2.15-1รายชื่อบทความจากวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญา โทที่ตีพิมพ์เผยแพร่ 2.15-2 รายชื่อวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโท

2.16 2.16-1 รายชื่อบทความจากวิทยานิพนธ์ระดับ ปริ ญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ 2.16-2 รายชื่อวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาเอก

นางอัจฉรา พลอยสดใส

z z

2.14 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการ สอนของอาจารย์และสิง่ สนับสนุนการเรี ยนรู้

ดวงรักษ์ จันแตง

3


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

1

2

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12

2.17 อัตราการแข่งขันสอบเข้ า มธ. (ปริ ญญาตรี ) 2.18 ร้ อยละของนักศึกษาที่สาํ เร็ จการศึกษาตามระยะเวลา ที่หลักสูตรกําหนด (ระดับปริ ญญาตรี ) 2.19 ผู้สาํ เร็ จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด (บัณฑิต)

z

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.20 จํานวนชัว่ โมงสอนของอาจารย์ต่อคนต่อปี

z

สุธารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

2.21 ร้ อยละของวิชาที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี ยน การสอน

z

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 3.1

มีการจัดบริ การแก่นกั ศึกษาและศิษย์เก่า

z

เพ็ญชนก ตาแก้ ว ธานินทร์ สังข์ทอง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

3.2

3.2-1 มีการส่งเสริ มกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้ วนและ สอดคล้ องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์

z

เพ็ญชนก ตาแก้ ว ธานินทร์ สังข์ทอง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

3.2-2 มีการส่งเสริ มกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้ วนและ สอดคล้ องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์

z

เพ็ญชนก ตาแก้ ว ธานินทร์ สังข์ทอง

ดวงรักษ์ จันแตง

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

สินีรัชต์ พวังคะพินธุ์

สินีรัชต์ พวังคะพินธุ์

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

3.2.1 ร้ อยละของนักศึกษาที่เข้ าร่ วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาต่อจํานวนนักศึกษา (ปริ ญญาตรี ) ทั ้งหมด องค์ ประกอบที่ 4 การวิจยั 4.1

มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิต งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์

z z


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

4.2

มีระบบบริ หารจัดการความรู้จากงานวิจยั และงาน สร้ างสรรค์

4.3

เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ภายในและ ภายนอกสถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้

z z

ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

1 2 3

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12

สินีรัชต์ พวังคะพินธุ์

สินีรัชต์ พวังคะพินธุ์

z

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

3 ทุกวันที่ 15 ของเดือน

ทุกสิ ้นเดือน

4.3.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนทําวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจํานวน อาจารย์ประจํา

z

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

3 ทุกวันที่ 15 ของเดือน

ทุกสิ ้นเดือน

4.3.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนทําวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจํานวน อาจารย์ประจํา

z

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

3 ทุกวันที่ 15 ของเดือน

ทุกสิ ้นเดือน

4.4

ร้ อยละของงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ได้ รับการจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทางปั ญญา หรื ออนุสทิ ธิบตั ร หรื อนําไปใช้ ประโยชน์ทั ้งในระดับชาติ และระดับนานาชาติ ต่อจํานวนอาจารย์ประจํา

z

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

3 ทุกวันที่ 15 ของเดือน

ทุกสิ ้นเดือน

4.5

ร้ อยละของบทความวิจยั ที่ได้ รับการอ้ างอิง (Citation) ใน Refereed Journal หรื อในฐานข้ อมูลระดับชาติ หรื อ ระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจํา

z

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

3 ทุกวันที่ 15 ของเดือน

ทุกสิ ้นเดือน

z

ดวงรักษ์ จันแตง

ดวงรักษ์ จันแตง

3 ทุกวันที่ 15 ของเดือน

ทุกสิ ้นเดือน

พัชรพล ชาญอุไร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

4.6 ผลงานทางวิชาการต่ออาจารย์ประจําทุกระดับ องค์ ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ สังคม 5.1

มีระบบและกลไกในการบริ การวิชาการแก่สงั คมตาม เป้าหมายของสถาบัน

z

30-เม.ย.

3

30 ส.ค. 15 ธ.ค. 30 เม.ย.

15-พ.ค.

15 ก.ย. 28 ธ.ค. 15 พ.ค.


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

5.1.1 มีการนําความรู้และประสบการณ์จากการ บริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการพัฒนาการ เรี ยนการสอน และการวิจยั

z

พัชรพล ชาญอุไร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

1

2

3 12 3

5.2

ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่มีสว่ นร่ วมในการ ให้ บริ การทางวิชาการแก่สงั คม เป็ นที่ปรึกษา เป็ น กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็ นกรรมการ วิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติ หรื อระดับ นานาชาติต่ออาจารย์ประจํา

z

พัชรพล ชาญอุไร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

5.3

ร้ อยละของกิจกรรมหรื อโครงการบริ การวิชาการและ วิชาชีพที่ตอบสนองความต้ องการพัฒนาและ เสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจํา

z

พัชรพล ชาญอุไร

5.4

ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริ การ

z

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

30 ส.ค. 15 ธ.ค. 30 เม.ย.

15 ก.ย. 28 ธ.ค. 15 พ.ค.

3 3

30 ส.ค. 15 ธ.ค. 30 เม.ย.

15 ก.ย. 28 ธ.ค. 15 พ.ค.

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30 ส.ค. 15 ธ.ค. 30 เม.ย.

15 ก.ย. 28 ธ.ค. 15 พ.ค.

พัชรพล ชาญอุไร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30 ส.ค. 15 ธ.ค. 30 เม.ย.

15 ก.ย. 28 ธ.ค. 15 พ.ค.

ธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ พจมาน ขอบุตร กาญจนา จันทร์ วนั

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

30-เม.ย.

15-พ.ค.

องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม 6.1

มีระบบและกลไกในการทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม

6.1.1 ร้ อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริ มเอกลักษณ์ ศิลปะและ วัฒนธรรมต่อจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

z

z

3


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

1

2

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 7.1

สภาสถาบันใช้ หลักธรรมาภิบาลในการบริ หารจัดการ z z และสามารถผลักดันสถาบันให้ แข่งขันได้ ในระดับสากล

7.2

ภาวะผู้นําของผู้บริ หารทุกระดับของสถาบัน

7.3

มีการพัฒนาสถาบันสูอ่ งค์การเรี ยนรู้

7.4

ทัศนีย์ ถาวรกิรติขจร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

z z

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

z

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

มีระบบและกลไกในการบริ หารทรัพยากรบุคคล เพื่อ พัฒนาและธํารงรักษาไว้ ให้ บคุ ลากรมีคณ ุ ภาพและ ประสิทธิภาพ

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.4.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่เข้ าร่ วมประชุม วิชาการ และ/หรื อนําเสนอผลงานวิชาการทั ้งใน ประเทศและต่างประเทศ

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.4.2 ร้ อยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที่ ได้ รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทั ้งใน ประเทศและต่างประเทศ

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.5

ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพื่อการบริ หาร การ เรี ยนการสอน และการวิจยั

z

กรี ฑาพล สังขกรม

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.6

ระดับความสําเร็ จของการเปิ ดโอกาสให้ บคุ คลเข้ ามามี ส่วนร่ วมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

เลขาฯ ผู้บริ หาร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.7

ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับรางวัลผลงานทาง วิชาการหรื อวิชาชีพในระดับชาติหรื อนานาชาติ

ดวงรักษ์ จันแตง

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.8

มีระบบการบริ หารความเสีย่ งมาใช้ ในกระบวนการ บริ หารการศึกษา

z

ณัฐกานต์ จาดเมือง

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

7.9

ระดับความสําเร็ จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี ้และ เป้าหมายของระดับองค์กรสูร่ ะดับบุคคล

z

จรัสศรี สายสืบ วิยดา มากท่าไม้

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30 เม.ย. 30 ก.ย.

15 พ.ค. 15 ต.ค.

z z z z z z

3

3


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้ ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

1

2

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 8.1

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ค่าใช้ จ่าย การตรวจสอบการเงิน และงบประมาณอย่างมี ประสิทธิภาพ

z

z

วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

8.1.1 ค่าใช้ จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการบริ การ วิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจํา

z

z

วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

8.1.2 ร้ อยละของค่าใช้ จ่ายและมูลค่าที่ใช้ ในการ อนุรักษ์ พัฒนาและสร้ างเสริ ม เอกลักษณ์ศิลปะและ วัฒนธรรมต่องบดําเนินการ

z

z

วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

8.1.3 สินทรัพย์ถาวรต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

z

z

วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

8.1.4 ค่าใช้ จ่ายทั ้งหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า 8.15 ร้ อยละของเงินเหลือสุทธิต่องบดําเนินการ

z z

z z

วรพจน์ สังฆปุญโญ วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3 3

30-เม.ย. 30-เม.ย.

15-พ.ค. 15-พ.ค.

8.16 งบประมาณสําหรับการพัมนาคณาจารย์ทั ้งใน ประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจํา

z

z

วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

8.17 ค่าใช้ จ่ายทั ้งหมดที่ใช้ ในระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเท่า

z

z

วรพจน์ สังฆปุญโญ

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.


ตารางแสดงตัวบ่ งชีแ้ ละแผนการจัดเก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้

ตัว บ่ งชีท้ ่ ี

ชื่อตัวบ่ งชี ้

8.2 การใช้ ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่ วมกัน องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

คณบดี รองคณบดีฝ.บริหารและวิชาการ ผอ.หลักสูตร อาจารย์ ประจํา ผอ.ศูนย์ ให้ คําปรึกษาฯ (ICC) ผจก.ฝ.บริการการศึกษา ผจก.ฝ.คลังและทรัพย์ สิน ผจก.ฝ.บริหารส่ วนกลาง รองคณบดีฝ.วางแผนและวิจยั ผอ.ฝ.วิจยั และพัฒนาคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบตัวบ่ งชี ้

z

z

ความถี่ในการ จัดเก็บข้ อมูล ผู้จดั เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ ผู้ประสานงานตัวบ่ งชี ้ (จํานวนครัง้ /ปี )

ทัศนีย์ ถาวรกิรติขจร

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

1 2 3

ช่ วงเวลาแจ้ งเตือน กําหนดส่ งข้ อมูลตัว เก็บข้ อมูลตัวบ่ งชี ้ บ่ งชี ้ (โดยผู้จดั เก็บ ข้ อมูล) (โดยผู้ประสานงาน)

3 12 30-เม.ย.

15-พ.ค.

9.1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็ น ส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริ หารการศึกษา

z z

z

อ.อรพรรณ คงมาลัย

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

9.2

มีระบบและกลไกการให้ ความรู้และทักษะด้ านการ ประกันคุณภาพแก่นกั ศึกษา

z z

z

อ.อรพรรณ คงมาลัย

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.

9.3

ระดับความสําเร็ จของการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน

z z

z

อ.อรพรรณ คงมาลัย

กุสมุ า กาญจนจูฑะ

3

30-เม.ย.

15-พ.ค.


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.