คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2554

Page 1


คานา การประกันคุณภาพการศึกษา ถือเป็นภารกิจหนึ่งทีส่ าคัญเนื่องจาก การประกันคุณภาพการศึกษาเป็น เครือ่ งมือทีจ่ ะตรวจสอบ ประเมิน และกระตุน้ การปฏิบตั พิ นั ธกิจของวิทยาลัย และการขับเคลื่อนวิทยาลัยให้กา้ วสู่ การเป็นองค์กรแห่งคุณภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รวมทัง้ สอดรับ กับนโยบายของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะทีว่ ทิ ยาลัยเป็นหน่วยงานในกากับ สาหรับปีการศึกษา 2554 มีการเปลีย่ นแปลงจากภายนอกทีส่ ่งผลกระทบต่อการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในวิทยาลัยได้แก่ การเปลีย่ นแปลงตัวบ่งชีแ้ ละเกณฑ์การประเมินคุณภาพภาย นอกสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาของ สมศ. ทีม่ งุ่ ยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ด้วยการพิจารณาจากผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ โดยคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละสถาบันการศึกษา วิทยาลัยจึงได้จดั ทาคู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปีการศึกษา 2554 ฉบับนี้ขน้ึ โดยมี วัตถุประสงค์ให้วทิ ยาลัยมีแนวทางกากับและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาทีช่ ดั เจน และเป็นแนวทางในการ จัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) รวมถึง การติดตามและประเมินผลตัวบ่งชีใ้ นแต่ ละองค์ประกอบจาก ฝา่ ยต่างๆ ภายในวิทยาลัย ซึง่ จะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านและ ผูเ้ กีย่ วข้องเข้าใจวิธกี ารในการ จัดเก็บตัวบ่งชีไ้ ด้ดยี งิ่ ขึน้ สอดคล้องกับกรอบแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานเกีย่ วกับการศึกษา ระดับอุดมศึกษาต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง และเป็นคู่มอื ส่งเสริมให้ วิทยาลัย สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ และนาไปสู่การสร้างผลผลิตทีม่ คี ุณภาพ สามารถตอบสนองสังคมและประเทศชาติตามเป้าหมายของ วิทยาลัย ต่อไป

ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ เมษายน 2555


สารบัญ หน้ า บทที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ วิสยั ทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมาย และพันธกิจ วัตถุประสงค์ นโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการประกันคุณภาพของการศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน กลไกในการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา บทที่ 2 กระบวนการประเมิ นคุณภาพการศึกษาภายใน บทที่ 3 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิ นคุณภาพการศึกษาตามองค์ประกอบคุณภาพ บทที่ 4 การวิ เคราะห์ตวั บ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ระดับอุดมศึกษา และมุมมองด้านการบริ หารจัดการ บทที่ 5 แนวทางการเขียนรายงานการประเมิ นตนเองของวิ ทยาลัย ภาคผนวก ภาคผนวก ก คาสังแต่ ่ งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาแผนการปฏิบตั ริ าชการ มาตรฐานการศึกษา การบริหารความเสีย่ งและการควบคุมภายใน ภาคผนวก ข ผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชีค้ ุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2554 ภาคผนวก ค แผนการดาเนินงานประกันคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2554 ภาคผนวก ง ตัวอย่างการเขียนผลการดาเนินงานรายตัวบ่งชี้ ในรายงานการประเมินตนเอง

1 1 2 2 3 5 7 14 21 24 26 29 37 41


บทที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ 1.1 วิ สยั ทัศน์ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นผูน้ าด้านการเรียนรูใ้ นการสร้างนวัตกรรมทาง วิชาการและงานวิจยั ทีผ่ สานศาสตร์จากหลากหลายองค์ความรูเ้ ข้าด้วยกัน และผลักดันใ ห้มกี ารนาองค์ความรู้ ทัง้ บางส่วนหรือทัง้ หมดมาใช้หรือประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางในสังคม 1.2 ปรัชญา ปณิ ธาน เป้ าหมาย และพันธกิ จ ปรัชญา: วิทยาลัยนวัตกรรม ต้องการเป็นผูน้ าด้านการ ปฏิรปู การเรียนรู้ และเป็นหน่วยงานต้นแบบ ด้านการบริหารการศึกษา ทีส่ ามารถสร้างเมล็ดพันธุ์ (SEED) ทางปญั ญาออกสู่สงั คม ปณิ ธาน: รวมพลังจากความหลากหลาย (Synergy from Diversity) ก้าวไกลด้วยคุณธรรม (Excellence with Ethics) เรียนรูแ้ ละพัฒนานวัตกรรม (Educator of Innovation) และพัฒนาอย่างเป็นองค์รวม (Develop Holistically) เป้ าหมายเชิ งนโยบาย : วิทยาลัยได้ถ่ายทอดปรัชญาดังกล่าวสู่เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อเป็ นหลักยึดโยงในการดาเนิน ภารกิจ ในระหว่างปี 2554-2556 ประกอบด้วยเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์4 ด้านสาคัญ ได้แก่ การเรียนการสอน งานวิจยั บริการวิชาการ และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. พัฒนางานวิชาการ ด้วยการสร้างหลักสูตรองค์ความรูใ้ หม่ทเ่ี ป็นนวัตกรรมทางวิชาการเพิม่ ขึน้ ตาม ความต้องการของสังคม สอดรับกับความสาคัญทีท่ วีมากขึน้ ของเอเชีย และประชาคม ASEAN เพื่อ ยกระดับ วิทยาลัยไปสู่ความเป็นนานาชาติเพิม่ ขึน้ และมีกระบวนการบริหารจัดการองค์ความรู้ และเพิม่ คุณภาพ หลักสูตรทีม่ อี ยูใ่ นปจั จุบนั ให้สามารถผลิตบัณฑิตทีม่ มี าตรฐานสูงขึน้ 2. สร้างงานวิจยั ให้ได้มาตรฐานสากล และนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยนาองค์ความรูไ้ ปบูรณาการกับ การเรียนการสอน และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและสังคม 3. ผลักดันให้ศูนย์พทั ยา เป็นแหล่งความรูท้ างวิชาการของภาคตะวันออก และ ร่วมมือกับเครือข่าย ภาครัฐ และภาคเอกชนเพื่อสนับสนุนเวทีแห่งการสร้างสรรค์และชีน้ าทิศทางแก่สงั คมในด้านนวัตกรรมและการ จัดการเทคโนโลยี 4. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการภายในอย่างมีธรรมาภิบาล โดยสร้างกระบวนการสอบทาน ชัดเจน ตรวจสอบได้ และให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ 5. ส่งเสริมและจัดเวทีเผยแพร่ผลงานวิจยั และถ่ายทอดองค์ความรูข้ องอาจารย์และนักศึกไปในวงกว้ ษา าง คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 1


พันธกิ จ : สร้างความเป็นเลิศในการบริหารวิ ทยาลัย โดยมุง่ เน้นธรรมาภิบาล ให้วทิ ยาลัยเป็น สถานศึกษาและวิจยั มีวตั ถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชัน้ สูง ทาการสอน ทาการวิจยั ให้บริการทางวิชาการแก่สงั คม 1.3 วัตถุประสงค์: 1. จัดการเรียนการสอน ระดับบัณฑิตศึกษา สาขาการบริหารเทคโนโลยี การบริหารงานวัฒนธรรม และนวัตกรรมการบริการ 2. สร้างงานวิจยั ทีไ่ ด้มาตรฐานสากลและแก้ไขปญั หาของสังคม 3. ให้บริการวิชาการจากความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญของวิทยาลัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน 4. ปลูกฝงั จิตวิญญาณธรรมศาสตร์ และส่งเสริมการทานุ บารุงสังคม ประชาธิปไตย คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ วัฒนธรรม ให้แก่ประชาชนและสังคม 1.4 นโยบายและแนวปฏิ บตั ิ ในการประกันคุณภาพของการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมให้ความสาคัญเรือ่ งการประกันคุณภาพการศึกษา ซึง่ มีผลต่อคุณภาพการจัดการ เรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต และเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษา ของ วิทยาลัย เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการพัฒนาและทิศทางการพัฒนาคุณภาพของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการทีจ่ ะมุง่ ไปสู่สถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ทีม่ คี ุณภาพและมีมาตรฐาน ระดับสากล การประกันคุณภาพการศึกษา ไม่ได้เป็นเพียงนโยบายของสา นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) แต่ได้กาหนดไว้ชดั เจนใน พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 48 ระบุว่า “ให้ หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มรี ะบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถอื ว่าการ ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริหารการศึกษาทีต่ อ้ งดาเนินการอย่างต่อเนือ่ ง โดยมี การจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพือ่ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ แล ะมาตรฐานการศึกษาและเพือ่ รองรับการประกันคุณภาพภายนอก ” รวมถึงให้ม ี สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ทาหน้าทีพ่ ฒ ั นาเกณฑ์ วิธกี ารประเมินคุณภาพ ภายนอกและทาการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิทยาลัย นวัตกรรม ตระหนักดีว่าการประกันคุณภาพการศึกษาเป็น สิง่ สาคัญทีจ่ ะสามารถสร้างความ เป็นเลิศทัง้ ด้านการเรียนการสอน การวิจยั การบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม จึงได้ ดาเนินการในเรือ่ งการประกันคุณภาพการศึกษา และมุง่ พัฒนาให้เป็นระบบอย่างจริงจัง เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและคุณภาพตามมาตรฐานสากล โดยในปี คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 2


การศึกษา 2554 วิทยาลัย ได้จดั ทาระบบและกลไ กการประกันคุณภาพ โดยการติดตามผลการดาเนินงานและ รวบรวมข้อมูลตัวบ่งชีค้ ุณภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพทีก่ าหนด ทัง้ นี้ วิทยาลัยได้กาหนดนโยบายใน การประกันคุณภาพการศึกษาไว้ดงั นี้ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาและเป็น ภารกิจขององค์กร 2. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลคุณภาพภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ และสามารถนาผล ย้อนกลับมาปรับปรุงหรือพัฒนาการปฏิบตั งิ านได้ 3. พัฒนาระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 4. พร้อมรับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากองค์กรภายนอกทุก 5 ปี แนวทางดาเนิ นงานตามนโยบาย เพื่อให้การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรมเป็นไปตามนโยบายการ ประกันคุณภาพการศึกษา จึงได้กาหนดแนวทางปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ให้ทุกฝา่ ยในวิ ทยาลัยนวัตกรรมมีส่วนร่วมในระบบประกันคุณภาพการศึกษาตามภารกิจทีต่ น รับผิดชอบ เพื่อตอบสนองต่อวิสยั ทัศน์ นโยบายและตัวชีว้ ดั ของวิทยาลัย 2. ให้ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ ทาหน้าทีใ่ นการพัฒนาระบบและกลไกในการประกันคุณภาพของ วิทยาลัย ให้สอดคล้องกับบริบทของมหาวิทยาลัยธรร มศาสตร์ ตลอดจนการส่งเสริมและสร้างความเข้าใจ ความรูก้ ารประกันคุณภาพการศึกษาแก่คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา รวมทั ้งการติดตามผล การ ดาเนินงานของฝา่ ยต่างๆ ตามตัวชีว้ ดั ทีม่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กาหนด 3. ให้ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ จัดทารายงานการประเมินตนเองของวิท ยาลัยนวัตกรรมและพร้อม รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปีละ 1 ครัง้ รวมทัง้ พร้อมรับการ ประเมินคุณภาพการศึกษาจากองค์กรภายนอกทุก 5 ปี 4. ให้มคี ณะกรรมการดาเนินการด้านประกันคุณภาพระดับ วิทยาลัย ฯ ทาหน้าทีด่ าเนินการในการ ประกันคุณภาพระดับ วิทยาลัย ฯ และนาผลการประเมินคุณภาพทีไ่ ด้กลับมาใช้ในการวางแผนพัฒนาและ ปรับปรุงระบบการทางานต่อไป 1.5 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 1.5.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพการศึกษา พ .ศ. 2553 ได้กาหนด เกีย่ วกับระบบการประกันคุณภาพไว้ว่า สถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาระบบประกันคุณภาพทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับระ บบการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็นระบบประกันคุณภาพทีใ่ ช้กนั แพร่หลายในระดับชาติ หรือนานาชาติ หรือเป็นระบบเฉพาะทีส่ ถาบันพัฒนาขึน้ เอง แต่ไม่ว่าจะเป็นระบบคุณภาพแบ บใดจะต้องมี คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 3


กระบวนการทางานทีเ่ ริม่ ต้นจากการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการ ปรับปรุงพัฒนา ทัง้ นี้ เพื่อให้การดาเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเป้าประสงค์และมีพฒ ั นาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันก็เป็นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มนใจว่ ั ่ าสถาบันอุดมศึกษาส ามารถสร้างผลผลิตทาง การศึกษาทีม่ คี ุณภาพ 1.5.2 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมิ นคุณภาพ มาตรฐานเป็ นกรอบสาคัญในการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประกอบไปด้วยมาตรฐานต่างๆ เช่น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานเพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบตั ริ าชการตามมิตดิ า้ นต่าง ๆ ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป็นต้น สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้พฒ ั นาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อเป็นกรอบให้ สถานศึกษา ดาเนินการประกันคุณภาพภายในตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนินงาน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สงั คม องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ โดยในแต่ละองค์ประกอบได้กาหนดตัวบ่งชีท้ ใ่ี ช้วดั คุณภาพ ซึง่ มีจานวนไม่เท่ากัน มีการกาหนดเกณฑ์ การประเมินคุณภาพโดยกาหนดระดับคุณภาพของตัวบ่งชีเ้ ที ยบเป็นคะแนน ทัง้ นี้ วิทย าลัย ได้นาแนวทาง องค์ประกอบคุณภาพทัง้ 9 องค์ประกอบ มาพัฒนาตัวบ่งชีเ้ ฉพาะและเกณฑ์การประเมินของวิทยาลัย 1.5.3 ความเชือ่ มโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมิ นคุณภาพ ภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ ให้ถอื ว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาทีต่ อ้ งดาเนินการอย่าง ต่อเนื่อง” ในขณะทีม่ าตรา 49 ของพระราชบัญญัตฉิ บับเดียวกันระบุถงึ การประเมินคุณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มสี านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทาหน้าทีพ่ ฒ ั นา เกณฑ์วธิ กี ารประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มกี ารตรวจสอบคุณภาพ ของสถานศึกษา ”จาก ข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นส่วนหนึ่งของ คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 4


กระบวนการบริหารการศึกษาปกติทต่ี อ้ งดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้องกับ คุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่าง สม่าเสมอ” ด้วยเหตุน้รี ะบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทัง้ ปจั จัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต หรือผลลัพธ์ (output/outcome) ซึง่ ต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกทีเ่ น้นการประเมินผล การจัดการศึกษา ดังนัน้ ความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการป ระเมินคุณภาพภายนอก จึงเป็นสิง่ จาเป็น โดยได้เชื่อมโยงให้เห็นจากแผนภาพที่ 1

การประกันคุณภาพภายใน การ ปฏิบตั งิ าน ของฝา่ ยฯ

การประเมิน ตนเองของ ฝา่ ยฯ

การประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิบตั งิ านและ การประเมินตนเอง ของวิทยาลัย

รายงานประจาปี

การตรวจ เยีย่ ม

รายงานผล การประเมิน

การ ติดตามผล

ติดตามตรวจสอบโดย ต้นสังกัดทุก 3 ปี

ข้อมูลป้อนกลับ

ข้อมูลป้อนกลับ

จากแผนภาพที่ 1 จะเห็นว่า เมือ่ ฝา่ ยงานฯ มีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในแล้วจาเป็ นต้องมี การประเมินตนเอง และนาผลการประเมินมาจัดทา รายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมิ นคุณ ภาพภายใน ซึง่ เป็นผลจากการประกันคุณภาพภายในหรือเรียกว่า รายงานการประเมิ นตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อนาเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และเปิดเผยต่อ สาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็นเอกสารเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายใน ของสถาบัน การ ติดตามตรวจสอบของตันสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ดังนัน้ วิทยาลัย จาเป็ นต้องจัดทารายงานการประเมินตนเอง ทีส่ ะท้อนภาพทีแ่ ท้จริงของวิทยาลัยในทุกองค์ประกอบคุณภาพ 1.6 กลไกในการดาเนิ นงานการประกันคุณภาพการศึกษา ในด้านของกลไกการประกันคุณภาพ ผูท้ ม่ี คี วามสาคัญส่งผลให้การดาเนินงาน ประสบความสาเร็จและ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องคือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบ้ ริหารสูงสุดของสถาบัน ทีจ่ ะต้องให้ความสาคัญและกาหนดนโยบายการ ประกันคุณภาพการศึกษาทีช่ ดั เจนและเข้าใจร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบประเมิน และกระตุน้ ให้เกิด คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 5


การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หน้าทีส่ าคัญประการหนึ่งของคณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ คือ การ จัดระบบประกันคุณภาพพร้อมทั ้ งตัวบ่งชีแ้ ละเกณฑ์การประเมินคุณภาพทีเ่ หมาะสมสาหรับสถาบัน ระบบ ประกันคุณภาพทีใ่ ช้ตอ้ งสามารถเชื่อมโยงให้เกิดคุณภาพของการปฏิบตั งิ าน ตัง้ แต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชา หรือสาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจาเป็นต้องจัดทาคู่มอื คุณภาพในแต่ละระดับเพื่อ กากับการดาเนินงาน แต่ทส่ี าคัญคณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ตอ้ งประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบ ฐานข้อมูลและสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพซึง่ สามารถใช้งานร่วมกันได้ในทุกระดับ สาหรับ กลไกในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรม ประกอบด้วย การกาหนดโครงสร้างองค์ กร และคณะกรรมการทาหน้าทีร่ บั ผิดชอบงานประกันคุณภาพ กาหนดมาตรฐาน และกิจกรรมการประกันคุณภาพ ตลอดจนดาเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ ดังนี้ 1. แต่งตัง้ คณะกรรมการและหน่วยงานในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย 2. จัดทาคู่มอื การประกันคุณภาพ 3. กาหนดให้การประกันคุณภาพเป็ นภาระหนึ่งของฝา่ ยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 4. ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการประกันคุณภาพการศึกษาให้แก่บุคลากรและนักศึกษา 5. ดาเนินการให้มรี ะบบการติดตามผลการดาเนินงานของแต่ละฝา่ ยและให้แต่ละฝา่ ยจัดทารายงานแต่ละ ตัวบ่งชีพ้ ร้อมหลักฐาน 6. รวบรวมผลการดาเนินงา นของแต่ละฝา่ ยและจัดทารายงานประเมินตนเองเสนอต่อฝา่ ยวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพภายใน แผนภาพที่ 2 โครงสร้างการบริ หารงานประกันคุณภาพของวิ ทยาลัย คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรม คณะกรรมการพัฒนาแผนการปฏิบตั ริ าชการ มาตรฐานการศึกษา การบริหารความเสีย่ งและการควบคุมภายใน

รองคณบดีฝา่ ยวางแผนและวิจยั ผูจ้ ดั การฝา่ ยวิจยั และพัฒนาคุณภาพ

จนท. ฝา่ ยวิจยั ฯ

จนท. ฝา่ ยวิจยั ฯ

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 6


บทที่ 2 กระบวนการประเมิ นคุณภาพการศึกษาภายใน กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรม ถือเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการบริหาร วิทยาลัย โดยดาเนินการประกันคุณภาพตามแนวทางการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามระบบการพัฒนาคุณภาพ PDCA คือ การวางแผน (Plan) การการดาเนินงานและเก็บข้อมูล (Do) การประเมินคุณภาพ (Check) และการเสนอแนวทางปรับปรุง (Act) โดยกาหนดเป็นแผนภาพดังนี้ แผนภาพที่ 3 กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิ ทยาลัย จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ (P) - ชีแ้ จงตัวบ่งชี้ แบบฟอร์ม แต่ละองค์ประกอบให้ผจู้ ดั เก็บตัวบ่งชี้

รับทราบ ดาเนินการตามแผน (D) ติดตามผลการดาเนินงาน (C) จัดทารายงานการประเมินตนเอง นาเสนอ SAR ต่อมหาวิทยาลัยและรับการตรวจ ประเมินจากคณะกรรมการประกันคุณภาพ นาผลการประเมินมาปรับปรุงในปี ต่อไป (A)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 7


เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชน์ดงั ทีก่ ล่าวข้างต้น จึงควรมีแนวทางการจัด กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (ดังปรากฏในตารางที่ 1.1) ซึง่ แบ่งแนวทางการจัดกระบวนการ ประเมินคุณภาพฯ ไว้เป็น 4 ขัน้ ตอนตามระบบการพัฒนาคุณภาพ PDCA คือ การวางแผน (plan) การ ดาเนินงานและเก็บข้อมูล (do) การประเมินคุณภาพ (check) และการเสนอแนวทางปรับปรุง (act) โดย มีรายละเอียดดังนี้ P = กิจกรรมข้อที่ 1 เริม่ กระบวนการวางแผนการประเมินตัง้ แต่ตน้ ปีการศึกษา โดยนาผลการประเมิน ปีก่อนหน้านี้มาใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนด้วย กรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงระบบประกันคุณภาพหรือตัวบ่งชี้ หรือเกณฑ์การประเมินจะต้องมีการประกาศให้ ทุกหน่วยงานในสถาบัน ได้รบั ทราบและถือปฏิบตั โิ ดยทัวกั ่ น ก่อนเริม่ ปีการศึกษา เพราะต้องเก็บข้อมูลตัง้ แต่เดือนมิถุนายน D = กิจกรรมข้อที่ 2 ดาเนินงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการดาเนินงานตัง้ แต่ตน้ ปีการศึกษาคือเดือน ที่ 1 – เดือนที่ 12 ของปีการศึกษา (เดือนมิถุนายน – เดือนพฤษภาคม ปีถดั ไป) C = กิจกรรมข้อที่ 3 – 6 ดาเนินการประเมินคุณภาพในระดับ ฝา่ ยฯ และระดับวิทยาลัย ระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม ของปีการศึกษาถัดไป A = กิจกรรมข้อที่ 7 วางแผนปรับปรุงและดาเนินการปรับปรุงตามผลการประเมินโดยคณะ กรรมการบริหาร วิทยาลัย นาข้อเสนอแนะและผลการประเมินของค ณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมา วางแผนปรับปรุงการดาเนินงาน (รวมทัง้ ข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย ) มาทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี และเสนอตัง้ งบประมาณปีถดั ไป หรือจัดทาโครงการพัฒนาและเสนอใช้งบประมาณกลางปีหรืองบประมาณ พิเศษก็ได้ สาหรับกิจกรรมข้อที่ 8 ในตาราง ที่ 1 เป็น กิจกรรมทีส่ ถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งต้องดาเนินการตาม กฎหมาย เพื่อประโยชน์ของสถาบันในการปรับปรุงคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ของสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย เพื่อการส่งเสริม สนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของชาติให้ทดั เทียมกับนานาอารยะประเทศและมีความเป็นสากล

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 8


ตารางที่ 1.1: วงจรและแผนการดาเนิ นงานการประเมิ นคุณภาพภายใน กิ จกรรม

ปี การศึกษาปัจจุบนั ปี การศึกษาถัดไป มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. วิทยาลัยวางแผนการดาเนินงาน ประเมินคุณภาพ และแจ้งรายละเอียด ตัวบ่งชีส้ าหรับใช้ประเมินคุณภาพ ภายในให้แก่บุคลากรและผูร้ บั ผิดชอบ ในการจัดเก็บข้อมูลทราบ 2. ฝา่ ยงานฯ ต่างๆ เก็บข้อมูลรายตัว บ่งชี้ รอบ 12 เดือน พร้อมทัง้ พิจารณา ปรับปรุงการดาเนินงานตามความ เหมาะสม 3. ฝา่ ยงานฯ ทีร่ บั ผิดชอบ รายตัวบ่งชี้ รวบรวมและสรูปผลการ ดาเนินงานเพือ่ จัดทา SAR 4. ฝา่ ยวิจยั ฯ จัดประชุมผูร้ บั ผิดชอบ ตัวบ่งชีเ้ พือ่ ติดตามผลการดาเนินงาน รอบ 12 เดือน พร้อมทัง้ พิจารณา ปรับปรุงการดาเนินงานตามความ เหมาะสม 5. วิทยาลัยสรุปผลการดาเนินงานของ ทุกฝา่ ยฯ มาจัดทา SAR บนระบบ CHE QA Online และเตรียมการ คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 9


กิ จกรรม

ปี การศึกษาปัจจุบนั ปี การศึกษาถัดไป มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ประเมินระดับคณะฯ 6. ประเมินระดับคณะฯ 7. คณะกรรมการพัฒนาแผนการ ปฏิบตั ริ าชการ มาตรฐานการศึกษาฯ นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะ ของกรรมการประเมินคุณภาภายใน มาวางแผนปรับปรุงการดาเนินงาน หรือ ปรับแผนกลยุทธ์/แผนปฏิบตั งิ าน ประจาปี และเสนอตัง้ งบประมาณปี ถัดไป หรือจัดทาโครงการพัฒนาและ เสนอใช้งบประมาณปี ถดั ไปหรือจัดทา โครงการพัฒนาและเสนอใช้ งบประมาณกลางปี 8. ส่งรายงานประจาปี ทเ่ี ป็ นรายงานการ ประเมินคุณภาพภายใน (ประกอบด้วย SAR และผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับคณะ) ให้สานักงานคระกรรมการ การอุดมศึกษาผ่านระบบ CHE QA Online และหน่วยงานต้นสังกัด (ภายใน 120 วันนับจากสิน้ ปี การศึกษา)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 10


การเตรียมการของวิ ทยาลัยนวัตกรรมก่อนการตรวจเยี่ยมของผูป้ ระเมิ น 1. การเตรียมรายงานประจาปี 1.1 จัดทารายงานประจาปีทเ่ี ป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้รปู แบบการจัดทา รายงานประจาปีทเ่ี ป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในตามทีก่ าหนดในระบบฐานข้อมูลด้านการประกัน คุณภาพ (CHE QA Online) 1.2 จัดการเตรียมเอกสารหรือหลักฐานอ้างอิงในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพ 2. การเตรียมบุคลากร 2.1 การเตรียมบุคลากรในหน่วยงานเพื่อให้คณะผูต้ รวจประเมินสัมภาษณ์ บุคลากร นักศึกษา อาจารย์ และผูม้ สี ่วนได้ส่วยเสีย และหลักสูตร ทีม่ กี ารจัดการเรียนการสอน โดยประกอบไปด้วยกลุ่มคนต่างๆ ดังต่อไปนี้ กลุ่ม อาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน เช่น ผูจ้ ดั การฝา่ ยฯ และผูแ้ ทน เจ้าหน้าที่ นักศึกษา

จานวน ตามความเหมาะสม ตามความเหมาะสม อย่างน้อยชัน้ ปีละ 1 คน

โดยการเตรียมบุคลากรควรมีความครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้ 2.1.1 ทาความเข้าใจเกีย่ วกับการประเมินคุณภาพในประเด็นทีส่ าคัญๆ อาทิ การประเมิน คุณภาพคืออะไร มีความสาคัญต่อการพัฒนาอย่างไร ขัน้ ตอนการประเมินคุณภาพเป็นเช่นไร 2.1.2 เน้นยา้ กับบุคลากรในการให้ความร่วมมือในการตอบคาถามหรือการสัมภาษณ์ โดยยึด หลักว่าตอบตามสิง่ ทีป่ ฏิบตั จิ ริงและผลทีเ่ กิดขึน้ จริง 2.1.3 เปิดโอกาสให้มกี ารอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น เพื่อสร้างความกระจ่างในการ ดาเนินงานของทุกหน่วยงานในทุกประเด็น เพื่อความเข้าใจทีถ่ ูกต้องของบุคลากร 2.1.4 เน้นยา้ ให้บุคลากรทุกคนตระหนักว่าการประกันคุณภาพ คือภารกิจประจาของทุกคนที่ ต้องร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง 2.2 การเตรียมบุคลากรผูป้ ระสานงานในระหว่างการตร วจเยีย่ ม จาเป็นต้องมีผปู้ ระสานงานอย่าง น้อย 1 คน ทาหน้าทีป่ ระสานงานกับฝา่ ย วิจยั และพัฒนาคุณภาพ ของ วิทยาลัย และคณะผูป้ ระเมิน ทัง้ นี้ ผูป้ ระสานงานควรเตรียมตัวดังนี้ 2.2.1 ทาความเข้าใจทุกกิจกรรมของแผนการประเมินอย่างละเอียด

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 11


2.2.2 ทาความเข้าใจอย่างดีกบั ภารกิจของวิทยาลัยเพื่อสามารถให้ขอ้ มูลต่อผู้ ประเมินรวมทัง้ ต้อง รูว้ ่าจะต้องติดต่อกับใครหรือหน่วยงานใด หากผูป้ ระเมินต้องการข้อมูลเพิม่ เติมทีต่ นเองไม่สามารถตอบได้ 2.2.3 มีรายชื่อ สถานที่ หมายเลขโทรศัพท์ของผูท้ ค่ี ณะกรรมการประเมินจะเชิญมาให้ขอ้ มูล อย่างครบถ้วน (บุคลากรในข้อ 2.1) 2.2.4 ประสานงานล่วงหน้ากับผูท้ จ่ี ะให้ขอ้ มูลว่าจะเชิญมาเวลาใด ห้องใด หรือพบกับใครตาม ตารางการประเมินทีค่ ณะกรรมการประเมินกาหนด 2.2.5 เมือ่ มีปญั หาในการอานวยความสะดวกแก่คณะผูป้ ระเมินจะต้องสามารถประสานงาน แก้ไขได้ทนั ที 2.3 การเตรียมการประสานงานกับคณะกรรมการประเมินคุณภาพ สถาบันอุดมศึกษาจัดทาคาสังแต่ ่ งตัง้ และจัดส่งให้คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ทราบ ทัง้ นี้ แนวทางการแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินนัน้ ใช้เกณฑ์เดียวกับทีก่ าหนดไว้ในคู่มอื การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 3. การดาเนิ นการของวิ ทยาลัยนวัตกรรมระหว่างการตรวจเยีย่ มเพือ่ ประเมิ นคุณภาพ 1) เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนได้รว่ มรับฟงั คณะกรรมการประเมินคุณภาพชีแ้ จงวัตถุประสงค์ และวิธกี ารประเมินในวันแรกของการตรวจเยีย่ ม 2) บุคลากรพึงปฏิบตั งิ านตามปกติระหว่างการตรวจเยีย่ ม แต่เตรียมพร้อมสาหรับการนาเยีย่ ม ชมตอบคาถาม หรือรับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการประเมินคุณภาพ 3) จัดให้มผี ปู้ ระสานงานทาหน้าทีต่ ลอดช่วงการตรวจเยีย่ ม ทัง้ นี้ เพื่อประสานงานกับบุคคลหรือ หน่วยงานทีค่ ณะกรรมการประเมินฯ ต้องการข้อมูล ตลอดจนอานวยความสะดวกอื่นๆ 4) ในกรณีทค่ี ณะกรรมการประเมินฯ ทางานต่อหลังเวลาราชการ ควรมีผปู้ ระสานงานส่วนหนึ่ง อยูอ่ านวยความสะดวก 5) บุคลากรทุกคนควรมีโอกาสได้รบั ฟงั การให้ขอ้ มูลป้อนกลับจากคณะกรรมการประเมินฯเมือ่ สิน้ สุดการตรวจเยีย่ ม ตลอดจนเปิดโอกาสให้ซกั ถามหรือขอความคิดเห็นเพิม่ เติมได้ตามความเหมาะสม 4. การดาเนิ นการของวิ ทยาลัย นวัตกรรม หลังการประเมิ นคุณภาพ 1) ผูอ้ านวยการหลักสูตร ผูจ้ ดั การฝา่ ยต่างๆ นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะเข้าสู่การประชุมของ ฝา่ ยฯ ตนเอง เพื่อวางแผนพัฒนาหรือปรับปรุงการดาเนินงานภารกิจอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยอาจจัดทา เป็นแผนปฏิบตั กิ ารในการแก้ไขจุดทีค่ วรปรับปรุง และเสริมจุดแข็ง ซึง่ ประกอบด้ วย กิจกรรมทีต่ อ้ งดาเนินการ กาหนดเวลาเริม่ ต้นจนถึงเวลาสิน้ สุดกิจกรรม งบประมาณสาหรับแต่ละกิจกรรมตลอดจนผูร้ บั ผิดชอบกิจกรรม เหล่านัน้ ทัง้ นี้ เพื่อให้สามารถติดตามตรวจสอบผลการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 12


2) พิจารณาจัดกิจกรรมเสริมสร้างขวัญและกาลังใจ โดยแสดงให้เห็นว่า วิทยาลัย ชื่นชมผลสาเร็จ ทีเ่ กิดขึน้ และตระหนักว่าผลสาเร็จทัง้ หมดมาจากความร่วมมือร่วมใจของทุกฝา่ ย 3) หลักสูตร และฝา่ ยต่างๆ ควรให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่คณะกรรมการประเมินคุณภาพเพื่อ ประโยชน์ในการพัฒนาผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาภายในต่อไป

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 13


บทที่ 3 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิ นคุณภาพการศึกษาตามองค์ประกอบคุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กาหนดตัวบ่งชีแ้ ละเกณฑ์การประเมินคุณภาพทีม่ ี ความสอดคล้องกับตัวบ่งชีส้ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ .)ตัวบ่งชีข้ องสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และตัวบ่งชีข้ องมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเพิม่ ตัวบ่งชีท้ ่ี เป็นตัวบ่งชีอ้ ตั ลักษณ์ทส่ี ะท้อนภารกิจของวิทยาลัย ซึง่ ในปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยมีตวั บ่งชีจ้ านวน 9 องค์ประกอบ 43+ ตัวบ่งชี้ แยกเป็นตัวบ่งชีข้ อง สกอ. 23 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชีค้ ุณภ าพภายนอกรอบสามจาก สมศ . 15 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชีม้ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชีอ้ ตั ลักษณ์ของวิทยาลัย 3 ตัวบ่งชี้ ทัง้ นี้ ในตัวบ่งชีอ้ ตั ลักษณ์วทิ ยาลัยเป็นผูก้ าหนดมาตรฐานและเกณฑ์คุณภาพตามความเหมาะสม ดังนี้ ตางราง 2.1 องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน และตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมิ นคุณภาพตามองค์ประกอบ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้ หน่ วยวัด 1 2 3 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนิ นการ สกอ.1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ข้อ 1 ข้อ 2 หรือ 4 หรือ 6 หรือ 3 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ สมศ. 16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน สมศ.16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ

สมศ.16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 คะแนน ครบ 8 ข้อ

5 ข้อ (ประเมินระดับ สถาบัน) 5 ข้อ (ใช้ผลการประเมิน ความพึงพอใจของ ผูใ้ ช้บณ ั ฑิตเฉพาะข้อ คาถามทีต่ อบ อัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย) 5 ข้อ (วิทยาลัยใช้ผลการ ประเมินร่วมกับ มหาวิทยาลัย)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 14


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

เกณฑ์การให้คะแนน หน่ วยวัด 1 2 3 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต สกอ.2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร หลักสูตร

ข้อ

สกอ.2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก

ร้อยละ

สกอ.2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทาง วิชาการ

1 ข้อ

ร้อยละ

สกอ.2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน สกอ.2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ สกอ.2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

ข้อ

1 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

สกอ.2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการ เรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

ข้อ

1 ข้อ

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 คะแนน

5 ข้อ (ตามเกณฑ์ทวไป ั่ และครบถ้วนตาม เกณฑ์มาตรฐาน เพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม) แปลงร้อยละของ อาจารย์ทม่ี คี ุณวุฒ ิ ปริญญาเอกกาหนด เป็ นคะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้ ร้อยละ 60 ขึน้ ไป เท่ากับ 5 คะแนน แปลงค่าร้อยละของ อาจารย์ประจาทีด่ ารง ตาแหน่ง รองศาสตราจารย์และ ศาสตราจารย์รวมกัน กาหนดเป็ นคะแนน ระหว่าง 0-5 กาหนดให้ ร้อยละ 30 ขึน้ ไป เท่ากับ 5 คะแนน 2 ข้อ 3 หรือ 4 5 หรือ 6 7 ข้อ ข้อ ข้อ 2 หรือ 3 4 หรือ 5 6 ข้อ 7 ข้อ ข้อ ข้อ 2 หรือ 3 4 หรือ 5 6 ข้อ 7 ข้อ ข้อ ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 หรือ 5 5 ข้อ ข้อ (ตามเกณฑ์และ ครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติม เฉพาะกลุ่ม) วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 15


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

สกอ.2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา สมศ. 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาโทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ สมศ. 3 ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่

เกณฑ์การให้คะแนน หน่ วยวัด 1 2 3 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ ค่า เฉลีย่

ค่าเฉลีย่

CITU 1

ร้อยละ

ร้อยละของบทความวิชาการหรือบทความ วิจยั จากงานค้นคว้าอิสระทีต่ พี มิ พ์ต่อ จานวนงานค้นคว้าอิสระ

องค์ประกอบที่ 3 กิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา สกอ.3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและ บริการด้านข้อมูลข่าวสาร สกอ.3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรม นักศึกษา มธ. 1 ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจานวน กิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด

ค่าเฉลีย่ ของคะแนน ประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) แปลงร้อยละของ ผลงานของผูส้ าเร็จ การศึกษา ป.โท ที่ ได้รบั การตีพมิ พ์หรือ เผยแพร่เป็ นคะแนน ระหว่าง 0-5 กาหนดให้รอ้ ยละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน แปลงค่าดัชนีคุณภาพ อาจารย์เป็ นคะแนน ระหว่าง 0-5 กาหนดให้ค่าดัชนี คุณภาพอาจารย์ ค่าเฉลีย่ 6 เท่ากับ 5 คะแนน คะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้รอ้ ยละ 20 ขึน้ ไป เท่ากับ 5 คะแนน

ร้อยละ

สมศ. 14 การพัฒนาคณาจารย์

ข้อ

1 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

ร้อยละ

5 คะแนน 5 ข้อ

2 หรือ 3 4 หรือ 5 ข้อ ข้อ 2 ข้อ 3 หรือ 4 ข้อ

6 ข้อ

7 ข้อ

5 ข้อ

6 ข้อ แปลงร้อยละของ กิจกรรมจิตอาสาต่อ จานวนกิจกรรม นักศึกษาทัง้ หมดเป็ น

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 16


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั สกอ.4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรือ งานสร้างสรรค์ สกอ.4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ าก งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การให้คะแนน หน่ วยวัด 1 2 3 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ข้อ

1 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 หรือ 3 4 หรือ 5 6 ข้อ ข้อ ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 หรือ 5

5 คะแนน คะแนนระหว่าง 0 -5 กาหนดให้รอ้ ยละ 18 เท่ากับ 5 คะแนน 7 ข้อ

5 ข้อ (ตามเกณฑ์และ ครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติม เฉพาะกลุ่ม) สกอ.4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ อัตราส่วน แปลงจานวนเงินต่อ ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั (บาท อาจารย์ประจาและ ประจา ต่อคน) นักวิจยั ประจา เป็ นคะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้ ร้อยละ เท่ากับ 5 คะแนน ตามกลุ่ม สาขาวิชา สมศ. 5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การ ร้อยละ แปลงจานวนงานวิจยั ตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ หรืองานสร้างสรรค์ท่ี ได้รบั การตีพมิ พ์ เผยแพร่ เป็ นคะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้ ร้อยละ เท่ากับ 5 คะแนน ตามกลุ่ม สาขาวิชา สมศ. 6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ ร้อยละ แปลงร้อยละของ ประโยชน์ งานวิจยั หรืองาน สร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ ประโยชน์ เป็ นคะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้ คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 17


เกณฑ์การให้คะแนน หน่ วยวัด 1 2 3 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

สมศ. 7

ผลงานวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ

ร้อยละ

มธ. 3

ร้อยละขอบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวนอาจารย์ ประจาและนักวิจยั ประจา

ร้อยละ

CITU 2

ระดับความสาเร็จในการจัดประชุม วิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิ ชาการแก่สงั คม สกอ.5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่ สังคม สกอ.5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม สมศ. 8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จาก การให้บริการวิชาการมาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจยั

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 คะแนน ร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน แปลงร้อยละของ ผลงานวิชาการที่ ได้รบั รองคุณภาพ เป็ นคะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้ ร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน แปลงร้อยละของ บทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวน อาจารย์ประจาและ นักวิจยั ประจา เป็ น คะแนนระหว่าง 0 -5 กาหนดให้รอ้ ยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

ร้อยละ

แปลงร้อยละของ จานวนโครงการ/ กิจกรรมบริการ

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 18


ตัวบ่งชี้

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้

สมศ. 9

เกณฑ์การให้คะแนน หน่ วยวัด 1 2 3 4 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

5 คะแนน วิชาการ ทีน่ ามาใช้ใน การพัฒนาการเรียน การสอนและการวิจยั เป็ นคะแนนระหว่าง 0 -5 กาหนดให้รอ้ ยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน 5 ข้อ

ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนหรือองค์กรภายนอก สมศ. 18 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของ สังคมในด้านต่างๆ ั หาของ สมศ.18.1 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญ สังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

ข้อ

-

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

ั หาของ สมศ.18.2 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรื อแก้ปญ

ข้อ

-

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 หรือ 6 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

2 ข้อ

3 ข้อ

4 ข้อ

5 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

6 ข้อ

7 ข้อ

ข้อ ข้อ

1 ข้อ 1 ข้อ

4 ข้อ 4 ข้อ

5 ข้อ 5 ข้อ

ข้อ

1 ข้อ

5 ข้อ

6 ข้อ

สังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน

องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม สกอ.6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและ วัฒนธรรม สมศ. 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะ และวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ สกอ.7.1 ภาวะผูน้ าของสภาบันและผูบ้ ริหารทุก ระดับของสถาบัน สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสูส่ ถาบันการเรียนรู้ สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการ ตัดสินใจ สกอ.7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง

2 หรือ 3 4 หรือ 5 ข้อ ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 2 ข้อ

3 หรือ 4 ข้อ

4-5 ข้อ (วิทยาลัยใช้ผลการ ประเมินร่วมกับ มหาวิทยาลัย) 4-5 ข้อ (วิทยาลัยใช้ผลการ ประเมินร่วมกับ มหาวิทยาลัย)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 19


เกณฑ์การให้คะแนน ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้ หน่ วยวัด 1 2 3 4 5 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน สมศ. 13 การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหาร ค่าเฉลีย่ ใช้ค่าคะแนนการ สถาบัน ประเมินผลผูบ้ ริหาร โดยคณะกรรมการที่ สภาสถาบันแต่งตัง้ กาหนดให้ เท่ากับ 5 คะแนนเต็ม องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ สกอ.8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ข้อ 1 ข้อ 2 หรือ 3 4 หรือ 5 6 ข้อ 7 ข้อ ข้อ ข้อ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ สกอ.9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ข้อ 1 ข้อ 2 หรือ 3 4 หรือ 5 7 หรือ 8 9 ข้อ การศึกษาภายใน ข้อ หรือ 6 ข้อ ข้อ สมศ. 15 ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายใน ค่าเฉลีย่ ใช้ค่าคะแนน รับรองโดยต้นสังกัด ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษา ภายในโดย คณะกรรมการ ประเมินคุณภาพ ภายใน (เฉพาะตัว บ่งชีข้ อง สกอ. คะแนนเต็ม 5 คะแนน)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 20


บทที่ 4 การวิ เคราะห์ตวั บ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ระดับอุดมศึกษา และมุมมองด้านการบริ หารจัดการ เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานได้ตามภารกิจของวิทยาลัย จึงได้จาแนกตัวบ่งชี้ คุณภาพตามมิตขิ องระบบ ได้แก่ ปจั จัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต แ ละผลลัพธ์ เป็นกรอบในการพัฒนา ตัวบ่งชีเ้ พื่อให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษาได้ครบทุกมาตรฐาน 4.1 ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายในของวิ ทยาลัยนวัตกรรม ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ตาราง 3 องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน และตัวบ่งชีท้ ใ่ี ช้ในการประเมินคุณภาพตามองค์ประกอบ องค์ประกอบคุณภาพ 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ 2. การผลิตบัณฑิต 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4. การวิจยั

ปัจจัยนาเข้า -

จานวนตัวบ่งชี้ กระบวนการ ผลผลิ ตหรือผลลัพธ์ ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 1.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.16 และ 17

ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2, 2.3 ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1, และ 2.5 2.4, 2.6 และ 2.7 ตัวบ่งชี้ สกอ. 3.1 และ 3.2 ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 และ 4.2

5. การบริการทางวิชาการแก่ สังคม 6. การทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม 7. การบริหารและการจัดการ

-

-

ตัวบ่งชี้ 7.1, 7.2, 7.3 และ 7.4

8. การเงินและงบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพ รวม

-

ตัวบ่งชี้ สกอ. 8.1 ตัวบ่งชี้ สกอ. 9.1

-

4

ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 และ 5.2 ตัวบ่งชี้ 6.1

18

รวม 3

ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8, สมศ. 2 ,3 และ14 ตัวบ่งชี้ มธ. 1

11

ตัวบ่งชี้ สมศ. 5, 6, 7, มธ. 3, CITU 1, 2 และ 3 ตัวบ่งชี้ สมศ. 8, 9 และ 18 ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 และ 11 ตัวบ่งชี้ สมศ. 13

10

ตัวบ่งชี้ สมศ. 15

1 2

21

3

5 3 5

43

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 21


4.2 ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายในของวิ ทยาลัยนวัตกรรม ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตาราง 4 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษา องค์ประกอบคุณภาพ 1. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต 2.มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ อุดมศึกษา ก. มาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของการ บริหารการอุดมศึกษา ข. มาตรฐานด้านพันธกิจของการ บริหารการอุดมศึกษา

3. มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนา สังคมแห่งการเรียนรู้ รวม

ปัจจัยนาเข้า -

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.2, 2.3, 2.5 และ 4.3

4

จานวนตัวบ่งชี้ กระบวนการ ผลผลิ ตหรือผลลัพธ์ ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ.2.7 และ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 สมศ. 3.2 2, 3 และ มธ. 1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 1.1, 2.4, 7.1, 7.3, 7.4, 8.1 และ 9.1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.1, 2.6, 3.1, 4.1, 5.1, 5.2, และ 6.1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 4.2 และ 7.2 18

รวม 6

7 สมศ. , 5, 6, 7, 8, 10, 11 และ 14 สมศ. 13, 15, 16 และ 17, มธ. 3 CITU 1, 2 และ 3 สมศ. 9, 18

26

21

43

4

4.3 ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมิ นคุณภาพตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตาราง 5 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาและตัวบ่งชีท้ ใ่ี ช้ประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน องค์ประกอบคุณภาพ 1. มาตรฐานด้านศักยภาพและความ พร้อมในการจัดการศึกษา (1) ด้านกายภาพ (2) ด้านวิชาการ (3) ด้านการเงิน (4) ด้านการบริหารจัดการ

ปัจจัยนาเข้า

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.5 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.2 และ 2.3 -

2. มาตรฐานด้านการดาเนินการตาม ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา (1) ด้านการผลิตบัณฑิต

จานวนตัวบ่งชี้ กระบวนการ ผลผลิ ตหรือผลลัพธ์

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.1, 2.4 และ 2.6 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 8.1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 1.1, 7.1, 7.2, 7.3, 7.4 และ 9.1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.7, 3.1 และ 3.2

รวม

-

1

มธ. 3

6

-

1

สมศ. 13, 15, 16 และ 17

10

ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 สมศ. 2, 3 ,4

7

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 22


องค์ประกอบคุณภาพ (2) ด้านการวิจยั (3) ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่ สังคม (4) ด้านการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม รวม

ปัจจัยนาเข้า ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 4.3

จานวนตัวบ่งชี้ กระบวนการ ผลผลิ ตหรือผลลัพธ์ CITU 1, 2, 3 ตัวบ่งชีท้ ่ี 4.1 และ 4.2 สมศ. , 5, 6 , 7

-

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 5.1 และ 5.2

-

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 6.1

4

18

รวม 9

สมศ. 8, 9 และ 18

5

สมศ. 10, 11 และ มธ. 1 21

4 43

4.4 ตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิ ทยาลัยนวัตกรรม ตามมุมมองการบริ หาร จัดการด้านต่ างๆ ตาราง 6 ตัวบ่งชีค้ ุณภาพตามมุมมองการบริหารจัดการด้านต่างๆ องค์ประกอบคุณภาพ 1. ด้านนักศึกษาและผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย

ปัจจัยนาเข้า -

2. ด้านกระบวนการภายใน

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.5

3. ด้านการเงิน 4. ด้านบุคลากร การเรียนรูแ้ ละ นวัตกรรม

ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 4.3 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.2 และ 2.3

รวม

4

จานวนตัวบ่งชี้ กระบวนการ ผลผลิ ตหรือผลลัพธ์ ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.6, ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 2.8 2.7, 3.1, 3.2, 5.1 และ ตัวบ่งชี้ สมศ. 2, 3, 14 5.2 ตัวบ่งชี้ มธ. 1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ.1.1, ตัวบ่งชี้ สมศ. 13, 15, 2.1, 2.4, 4.1, 6.1, 16, 17 7.1, 7.3, 7.4 และ 9.1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 8.1 ตัวบ่งชีท้ ่ี สกอ. 4.2 ตัวบ่งชี้ CITU 1,2,3 และ 7.2 ตัวบ่งชี้ มธ. 3 ตัวบ่งชี้ สมศ. 5, 6, 7, 8, 9 , 10, 11, 18 18 21

รวม 11

14

2 16

43

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 23


บทที่ 5 แนวทางการเขียนรายงานการประเมิ นตนเอง รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) เป็นเอกสารทีว่ ทิ ยาลัยจัดทาขึน้ จากการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินผลการดาเนินงานของตนเองเทียบกับผลการ ดาเนินงานในปีการศึกษาทีผ่ ่านมา ตามเกณฑ์ มาตรฐานทีก่ าหนดไว้ เพื่อรายงานสัมฤทธิ ์ผลการดาเนินงานของวิทยาลัย ทีใ่ ช้รายงานต่อหน่ วยง านต้นสังกัด หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและสาธารณชน อันนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐาน การทางาน ซึง่ รายงานการประเมินตนเองของหน่วยงานต่างๆ ควรประกอบไปด้วย 5 ส่วน โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. บทสรุปผูบ้ ริ หาร 2. ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบด้วย 2.1 ชื่อหน่ วยงาน ทีต่ งั ้ ประวัตคิ วามเป็นมาโดยย่อ 2.2 วิสยั ทัศน์/ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมาย วัตถุประสงค์ 2.3 โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริหาร 2.4 รายชื่อผูบ้ ริหาร กรรมการประจาวิทยาลัย และกรรมการบริหารชุดปจั จุบนั 2.5 ข้อมูลเกีย่ วกับหลักสูตร และนักศึกษา ได้แก่ จานวนนักศึกษา จาแนกตามระ ดับ การศึกษา และหลักสูตร 2.6 ข้อมูลเกีย่ วกับบุคลากร ได้แก่ จานวนบุคลากร จาแนกตามวุฒกิ ารศึกษา ตาแหน่ง ทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน แยกจานวนทีป่ ฏิบตั งิ านจริง ลาศึกษาต่อ และอัตราว่าง 2.7 ข้อมูลเกีย่ วกับทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่ งบประมาณ จาแนกตามประเภทรายจ่าย 2.8 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพของวิทยาลัย 2.9 จุดเด่น และผลการดาเนินการทีส่ าคัญในรอบปี 2.10 สรุปผลการปรับปรุงตามผลการประเมินในรอบปีทผ่ี ่านมา 2.11 ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะในภาพรวมจากการประเมินคุณภาพทีผ่ ่านมา 3. ผลการดาเนิ นงาน และผลการประเมิ นตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบ ประกอบด้วย 3.1 การรายงานผลการดาเนินงานของแต่ละตัวบ่งชีใ้ นแต่ละองค์ประกอบ การประเมินผล ตามเกณฑ์ การประเมินผลเทียบกับเป้าหมาย โดยเทียบผลการดาเนินงานของปีปจั จุบนั เทียบกับผลการดาเนินงานของปีทผ่ี ่านมา 3.2 การายงานผลการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะจากการประเมินในรอบปีทผ่ี ่านมา 3.3 การนาเสนอจุดแข็ง จุดทีค่ วรพัฒนา และแนวทางการพัฒนาในแต่ละองค์ประกอบ คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 24


4. สรุปผลการประเมิ นและทิ ศทางการพัฒนา โดยแยกเป็นผลการประเมินในภาพรวมของแต่ละ องค์ประกอบคุณภาพ และแต่ละมาตรฐาน การอุดมศึกษา ตลอดจนจุดเด่นและจุดทีค่ วรพัฒนา แผนและเป้าหมายการพัฒนาในปีต่อไป ในการ นาเสนอ จะเป็นการสังเคราะห์และประเมินเพื่อ รายงานสรุปผลสาเร็จของการดาเนินงานการประกันคุณภาพ ของวิทยาลัย การนาเสนอในส่วนนี้ประกอบด้วย 4.1 รายงานข้อมูลเชิงปริมาณตามองค์ประกอบคุณภาพ ในตารางที่ ส.1 ส.2 ส.3 ส.4 และ ส.5 (ซึง่ เป็นผลการ ประเมินตามตัวบ่งชีใ้ นแต่ ละองค์ประกอบคุณภาพ แต่ละมาตรฐาน การอุดมศึกษา และตารางมุมมองด้านบริหารจัดการ ทัง้ นี้วทิ ยาลัย ได้เพิม่ ตัวบ่งชี้ ทีส่ ะท้อนอัตลักษณ์ตามพันธกิจของวิทยาลัยในตารางนี้ โดยแทรกผลการประเมินตัวบ่งชี้ เพิม่ เติมของวิทยาลัย ไว้ทา้ ยตัวบ่งชีเ้ ฉพาะของ มธ . และในการประเ มินผล รายองค์ประกอบ ประเมินเป็น 2 ช่วง คือ ผลการประเมินตามตัวบ่งชีข้ อง สกอ . และ ผลการประเมินตัวบ่งชีเ้ ฉพาะของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย) 4.2 สรุปผลการประเมินรวมทัง้ จุดแข็ง จุดทีค่ วรพัฒนาในภาพรวมของวิทยาลัย 4.3 แผนการพัฒนาวิทยาลัยในอนาคตให้สอดรับกับเป้าหมายการดาเนินงาน 5. ภาคผนวก ประกอบด้วยเอกสารเพิม่ เติมทีแ่ สดงข้อมูลและหลักฐานในการตรวจประเมิน ดังนี้ 5.1 ข้อมูลพืน้ ฐาน และตารางแสดงรายละเอียดในแต่ละตัวบ่งชี้ (ข้อมูลตามแบบฟอร์มการ จัดเก็บข้อมูล) 5.2 รายการเอกสารอ้างอิง 5.3 เอกสารอื่นๆ

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 25


ภาคผนวก

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 26


ภาคผนวก ก

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 27


ภาคผนวก ข ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายวิ จยั และพัฒนาคุณภาพ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนิ นการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่งชีส้ มศ.16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ สมศ. 17 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นทีส่ ่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ สมศ.5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ สมศ.6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ สมศ.7 ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุ ณภาพ ตัวบ่งชี้ มธ.3 ร้อยละของบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ CITU 2 ระดับความสาเร็จในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.18 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในด้านต่างๆ 18.1 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน 18.2 ผลการชีน้ า ป้องกัน หรือแก้ปญั หาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน องค์ประกอบที่ 9 ระบบและและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ สกอ. 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ สมศ.15 ผลการประเมินคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 28


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายบริ การการศึกษา องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมทีจ่ ดั ให้กบั นักศึกษา ตัวบ่งชี้ สมศ.2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตัวบ่งชี้ สมศ.3 ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ CITU 1 ร้อยละของบทความวิชาการหรือบทความวิจยั จากงานค้นคว้าอิสระทีต่ พี มิ พ์ต่อ จานวนงานค้นคว้าอิสระ องค์ประกอบที่ 3 กิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ สกอ. 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ตัวบ่งชี้ สกอ.3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ตัวบ่งชี้ มธ. 1 ร้อยละของกิจกรรมอาสาต่อจานวนกิจกรรมนักศึกษาทัง้ หมด องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนหรือการวิจยั องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สกอ. 6.1 ระบบและกลไกในการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 29


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายบริ หารส่วนกลาง องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.2 อาจารย์ประจาทีม่ คี ุณ วุฒปิ ริญญาเอก ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สมศ.14 การพัฒนาคณาจารย์ องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ CITU 3 ระดับความสาเร็จในการเผยแพร่งานวิจยั ไปในวงกว้างโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ. 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.1 ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริหารทุกระดับของสถาบัน ตัวบ่งชี้ สกอ.7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ สกอ.7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ตัวบ่งชี้ สกอ. 7.4 ระบบบริหารความเสีย่ ง ตัวบ่งชี้ สมศ. 13 การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสถาบัน

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 30


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ฝ่ ายการคลังและทรัพย์สิน องค์ประกอบที่ 8 การเงิ นและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ สกอ. 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 31


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  หลักสูตร MSI (คุณพาวิ ณี) องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สมศ.9 ผลการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 32


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  ศูนย์ LR (พัทยา) องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิ ลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ สมศ.11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิตทิ างศิลปะและวัฒนธรรม

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 33


ตารางผูร้ บั ผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์  อาจารย์ประจาวิ ทยาลัย องค์ประกอบที่ 2 การผลิ ตบัณฑิ ต ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.3 อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ สกอ. 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนรูต้ ามคุณลักษณะของบัณฑิต (ข้อ 4, 5, 7) องค์ประกอบที่ 4 การวิ จยั ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ข้อ 2) ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจ้ ากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ (ข้อ 2, 3, 4) ตัวบ่งชี้ สกอ. 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ตัวบ่งชี้ สมศ. 5 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ สมศ. 6 งานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ สมศ. 7 ผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ ตัวบ่งชี้ มธ. 3 ร้อยละของบทความวิจยั ทีไ่ ด้รบั การอ้างอิง (Citation) ในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา องค์ประกอบที่ 5 การบริ การทางวิ ชาการแก่สงั คม ตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สงั คม (ข้อ 2, 3, 4, 5) ตัวบ่งชี้ สมศ. 8 ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนหรือการวิจยั

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 34


ภาคผนวก ค แผนการดาเนิ นงานประกันคุณภาพ วิ ทยาลัยนวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจาปี การศึกษา 2554 ลาดับ กิ จกรรม ผูร้ บั ผิดชอบ ที่ 1 การอบรมบุคลากรสายสนับสนุนและสายวิชาการ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน “การส่งเสริมความรูแ้ ละสร้างความเข้าใจด้านการ และวิจยั ประกันคุณภาพการศึกษา” -ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ 2 จัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร “การจัดทาแผนปรับปรุง - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน คุณภาพ แผนการดาเนินงาน ประจาปี การศึกษา และวิจยั 2554” -ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ 3 จัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพจากการประเมิน - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2553 และแผนการ คุณภาพ ดาเนินงานประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2554 - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ 4 ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงานประกัน ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ (รอบ 9 เดือน) คุณภาพ 5 ส่งรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานตามตัว ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา บ่งชีร้ ายองค์ประกอบ (9 เดือน) ไปยัง มธ. ตามที่ คุณภาพ มธ. กาหนด 6 จัดประชุมเจ้าหน้าที/่ ฝา่ ยงานฯ ทีร่ บั ผิดชอบ ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 35


ลาดับ ที่

กิ จกรรม

ผูร้ บั ผิดชอบ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพเกีย่ วกับเกณฑ์ตวั บ่งชีแ้ ละ

การจัดเก็บเอกสารอ้างอิงตัวบ่งชี้ 7

8 9

10

11

- ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 คุณภาพ จัดประชุมคณะกรรมการแผนฯ และผูร้ บั ผิดชอบ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน แต่ละองค์ประกอบตรวจ/แก้ไขข้อมูลร่าง SAR และวิจยั ครัง้ สุดท้าย - คณะกรรมการแผนฯ - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ รายงานข้อมูลการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 ผ่านระบบ คุณภาพ CHE QA Online จัดส่งรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรม ปี การศึกษา 2554 คุณภาพ (กาหนดส่ง SAR คณะ/สานัก/สถาบัน ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงานประกัน คุณภาพตามตัวบ่งชีค้ ุณภาพ (รอบ 12 เดือน)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 36


ลาดับ ที่

กิ จกรรม

ผูร้ บั ผิดชอบ

2554 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ .ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

วันศุกร์ที่ 29 มิ ถนุ ายน 2555)

12

13

- รองคณบดีฝา่ ยวางแผน และวิจยั - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ รับการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ปี การศึกษา - รองคณบดีฝา่ ยวางแผน 2554 จากคณะกรรมการประเมินภายใน และวิจยั - ฝา่ ยวิจยั และพัฒนา คุณภาพ - ฝา่ ยงานฯ /เจ้าหน้าที่ ทีร่ บั ผิดชอบตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ ประชุมเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมิน คุณภาพ

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 37


ภาคผนวก ง ตัวอย่างการเขียนผลการดาเนินงานของแต่ละตัวบ่งชีใ้ นรา ยงานการประเมินตนเองสาหรับตัวบ่งชีค้ ุณภาพ ประกอบด้วย 7 หัวข้อหลัก ดังนี้ 1. ตัวบ่งชี้......... : ชื่อตัวบ่งชี้ 2. ชนิ ดของตัวบ่งชี้ : ปจั จัยนาเข้า หรือกระบวนการ หรือผลผลิต 3. เกณฑ์การประเมิ น: คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

4. ผลการดาเนิ นงาน : มีผลการดาเนินงาน......................... ข้อโดยมีรายละเอียด ดังนี้ ผลการดาเนิ นงาน เอกสารอ้างอิ ง - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 2 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 4 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน - เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 5 รายการเอกสารอ้างอิง - อธิบายถึงผลการดาเนินงาน 5. ผลการประเมิ นของคณะกรรมการปี ที่ ผ่านมา เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ คะแนนประเมิ น บรรลุเป้ าหมาย จากกรรมการ จานวนข้อ จานวนข้อ คะแนนทีไ่ ด้ บรรลุ หรือ ไม่บรรลุ 6. ผลการประเมิ นตนเอง ปี การศึกษา ............ เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ คะแนนประเมิ นตนเอง บรรลุเป้ าหมาย จานวนข้อ จานวนข้อ คะแนนทีไ่ ด้ บรรลุ หรือ ไม่บรรลุ 7. ผลการประเมิ นของคณะกรรมการประเมิ นคุณภาพ ปี การศึกษา ............ เป้ าหมาย ผลการดาเนิ นการ คะแนนประเมิ นจาก บรรลุเป้ าหมาย กรรมการ (เว้นว่างไว้สาหรับผูป้ ระเมิน)

(เว้นว่างไว้สาหรับผูป้ ระเมิน)

(เว้นว่างไว้สาหรับผูป้ ระเมิน)

(เว้นว่างไว้สาหรับผูป้ ระเมิน)

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 38


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.