วารสารยุติธรรมเล่ม 5 ปี พ.ศ. 2559 / MOJ vol. 5

Page 1

ยุติธรรม วารสาร

เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม

ปีที่ 16 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2559 JUSTICE MAGAZINE

กำ�แพงมิอาจกั้น

หน้า

คนยุติธรรม รื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี กับภารกิจในยุค Digital Economy

44

กระทรวงยุติธรรม เปิดบ้านกาญจนา ต้อนรับ ผู้แทน UNDP ศึกษากระบวนการฟื้นฟูเยาวชน

คน เงิน แผน กระทรวงยุติธรรมกับการเสริมสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

หน้า

38

หน้า

57

ยุติธรรมเพื่อประชาชน ยุติธรรมเดินหน้า แผนประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้านชุมชน มั่นคง ปลอดภัย ยาเสพติด

รู้จักไอที

หน้า

29

วิธีใช้บัตรเดบิต และบัตรเครดิตให้ปลอดภัย

หน้า

26

หน้า

78

คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม ไทย-เวียดนามสานสัมพันธ์ 40 ปี สร้างเครือข่ายกิจการยุติธรรม และกฎหมาย

หน้า

03 เรื่องจากปก

หน้า

70

เก็บมาเล่า ป.ป.ส. เดินหน้าสร้างภูมิคุ้มกัน ยาเสพติดในเด็กปฐมวัย ต่อยอดสื่อชุดใหม่ -พัฒนา EF “เล่นล้อมรัก”



ยุติธรรม วารสาร

เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม

ปีที่ 16 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2559 JUSTICE MAGAZINE

ที่ปรึกษา

นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันตำ�รวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ นายวิทยา สุริยะวงค์

ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม

บรรณาธิการบริหาร

นายอุทัย ทะริยะ ผู้อำ�นวยการกองกลาง

บรรณาธิการ

นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ หัวหน้ากลุ่มงานประชาสัมพันธ์

กองบรรณาธิการ

นางสาวอัญญรัตน์ กัมปนานนท์ นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ นางสาวอรวิภา เกือกรัมย์ นางสาวชญาภา มงคลฉัตร นางสาวธิดาทิพย์ หอมมะลิ นายอรรถพล ปวัตน์รตั นภูมิ นางสาวเสาวลักษณ์ ตั้งจิตต์วัฒนา นางสาวพิมพ์สุภัค โลกานะวัตร นายปัญจกฤตย์ วารายานนท์ นางสาวฐิติพร ฉิมพลีวนาศรม นางสาวปัญญาวีร์ แป้นสุวรรณ

ฝ่ายภาพและศิลปกรรม

นายกฤษดา นายชัชวาล นายพิษณุ นายอรรถโกวิท นายปรัชญา

ฝ่ายบริหารจัดการ

กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

ออกแบบ

adulplus@gmail.com

เจ้าของ

สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์สำ�นักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ

สรวงศักดา ศิริสังข์ไชย มลแก้ว คงยิ่ง จ้างประเสริฐ

หมายเหตุ : วรรณกรรม บทความ หรือข้อคิดเห็นใดๆ ทีป่ รากฏในวารสาร ยุติธรรม เป็นผลงานของผู้เขียนโดยเฉพาะกองบรรณาธิการไม่จำ�เป็น ต้องเห็นด้วย

ปีที่ 16 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2559 สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กองบรรณาธิการวารสารยุติธรรม โทรศัพท์ 0 2141 5149 โทรสาร 0 2143 8246 เว็บไซต์ www.moj.go.th E-mail : prmoj@hotmail.com

บทบรรณาธิการ

พบกันอีกครัง้ กับวารสารยุตธิ รรม ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2559 ด้วยเรือ่ งราว ทีห่ ลากหลายในแวดวงยุตธิ รรมเช่นเคย เริ่มต้นกันด้วยคอลัมน์เรื่องจากปก เก็บตกบรรยากาศพิธีส่งมอบงาน ภารกิจกองทุนยุตธิ รรมระหว่างกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพกับสำ�นักงานปลัด กระทรวงยุตธิ รรม ก้าวไปข้างหน้ากับกองทุนยุตธิ รรม : ลดความเหลือ่ มลา้ํ ในสังคม เพือ่ ช่วยเหลือคนยากจนและผูด้ อ้ ยโอกาสในการดำ�เนินคดี การปล่อยตัว ชัว่ คราวผูต้ อ้ งหาหรือจำ�เลย และการสนับสนุนโครงการให้ความรูท้ างกฎหมาย แก่ประชาชน และยังขยายบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการช่วยเหลือผู้ถูกละเมิด สิทธิมนุษยชนอีกด้วย มาที่โครงการกำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา ร่วมกับเครือข่ายพุทธิกาของพระไพศาล วิสาโล นำ�พุทธศิลป์ มาพัฒนาจิตใจให้กับผู้ต้องขัง โดยจัดอบรมการปั้นพระพุทธรูปองค์เล็กแก่ ผู้ต้องขังหญิงเรือนจำ�กลางขอนแก่น มุ่งหวังขัดเกลาจิตใจผู้ต้องขังหญิงจะไม่ หวนกลับไปกระทำ�ผิดซํา้ จากนั้นติดตามบทสัมภาษณ์ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดี กรมบังคับคดี ในคอลัมน์คนยุตธิ รรม เกีย่ วกับภารกิจการขับเคลือ่ นงานบังคับคดี เพื่อก้าวเข้าสู่ Digital Economy ได้อย่างสมบูรณ์แบบด้วยการนำ�ระบบ อิเล็กทรอนิกส์มาใช้บริการประชาชน สร้างความสะดวกสบาย สอดคล้องกับ ยุคสมัยในปัจจุบัน ตามดู ก ารเดิ น หน้ า แก้ ปั ญ หายาเสพติ ด ของสำ � นั ก งาน ป.ป.ส. ตามยุทธศาสตร์ประชารัฐร่วมใจ หมูบ่ า้ นร่วมใจปลอดภัยยาเสพติด ในคอลัมน์ ยุตธิ รรมเพือ่ ประชาชน และตามติดด้วยเรือ่ งราวการจัดทำ�ชุดสือ่ พัฒนาทันสมัย “EF - เล่นล้อมรัก สร้างภูมคิ มุ้ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย” ในคอลัมน์เก็บมาเล่า พบกับเรือ่ งราว 40 ปี บนเส้นทางความสัมพันธ์ระหว่างไทยและเวียดนาม ในโอกาสที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พร้อมคณะ เดินทางเยือนประเทศไทยเพื่อลงนามความร่วมมือด้านกิจการ ยุติธรรมและกฎหมายระหว่างกระทรวงยุติธรรมแห่งราชอาณาจักรไทยและ กระทรวงยุติธรรมแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พร้อมทั้งศึกษาดูงาน หน่วยงานด้านกระบวนการยุตธิ รรมในคอลัมน์คยุ เฟือ่ งเรือ่ งยุตธิ รรม ส่วนคอลัมน์เรื่องเล่ายุติธรรม หยิบบทสำ�รวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ บทลงโทษคดีอาญาในมุมมองของประชาชนมาเล่าสูก่ นั ฟัง และติดตามคำ�ศัพท์ น่าสนใจเกีย่ วกับทรัพย์สนิ ทางปัญญาได้ในคอลัมน์ภาษายุตธิ รรม คอลัมน์ก�ำ แพงมิอาจกัน้ พาไปติดตามการศึกษาดูงานของคณะผูแ้ ทน UNDP ที่ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านกาญจนาภิเษก จังหวัด นครปฐม ขณะทีค่ อลัมน์ทกุ ทิศทัว่ ไทย ยังคงเกาะติดภารกิจของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมทีล่ งพืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรมเพือ่ ประชาชน กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน นำ�เสนอข้อควรรู้ เกีย่ วกับเรือ่ ง “ทวงหนี”้ ไม่วา่ เวลานีเ้ ราจะเป็นเจ้าหนีห้ รือลูกหนีก้ ต็ าม ส่วนคอลัมน์รจู้ กั ไอทีมเี คล็ดลับดีๆ เกีย่ วกับการใช้บตั รเดบิตและบัตรเครดิตให้ปลอดภัยมาฝากผูอ้ า่ นวารสารยุตธิ รรม ปิดท้ายการดูแลสุขภาพ ในคอลัมน์เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพให้ความรูเ้ รือ่ ง โรคภัยไข้เจ็บทีม่ าพร้อมกับฤดูฝน เพือ่ พร้อมรับมือโรคหวัด โรคทางเดินหายใจ หรือโรคน่ากลัวอย่างไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย แล้วพบกันในฉบับต่อไปค่ะ


CONTENTS

หนา

03

เร�่องจากปก

หนา

10

กาวไปขางหนากับกองทุน ยุติธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ ในสังคม หนา

กำลังใจในพระดำร�

12

หนา

26

หนา

ไทย-เวียดนาม สานสัมพันธ 40 ป สรางเครือขาย กิจการยุติธรรม หนา และกฎหมาย

คุมครองคน คุมครองสิทธิ

เหยื่ออาชญากรรม... ภัยใกลตัวที่เกิดขึ้นได กับทุกคน

29

38

47

หนา

ที่นี่แจงวัฒนะ หนา

62

54

หนา

The Choice หลักธรรมกับทางเลือก ชีวิต

57

68

กาวสูอาเซียน พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร รัฐบุรุษผูรวมกอตั้ง อาเซียน

หนา

การขายฝาก

หนา

หนา

รูจักไอที

64

ทวงหนี้ เรื่องใกลตัวควรรู

72

เคล็ดลับสุขภาพ หนา

74

รูไวใหระวัง โรคภัย ในชวงฤดูฝน

ทุกทิศทั่วยุติธรรม รวมกิจกรรมตางๆ จากหนวยงานสังกัด กระทรวงยุติธรรม

59

ทรัพยสินทางปญญา Intellectual Property

กฎหมายสามัญ ประจำบาน

70

วิธีใชบัตรเดบิต และบัตรเครดิต ใหปลอดภัย

หนา

ภาษายุติธรรม

ถามมาตอบไป

กับนโยบายความโปรงใส และแนวทางปองกัน และปราบปราม การทุจริต

ที่นี่แจงวัฒนะ หนา

50

กระทรวงยุติธรรม เปดบาน กาญจนาภิเษก ตอนรับผูแทน UNDP ศึกษากระบวนการ ฟนฟูเยาวชน

ยุติธรรมชวยประชาชน

พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจร�ต

หนา

44

กำแพงมิอาจกั้น

42

คนเง�นแผน

กระทรวงยุติธรรมกับการ สรางเสริมขีดความสามารถ ในการแขงขัน หนา ของประเทศ

32

ที่นี่แจงวัฒนะ หนา

รื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี กับภารกิจ ในยุค Digital Economy

16

บนความเคลื่อนไหว หนา

ยุติธรรมเดินหนาแผนประชารัฐ รวมใจ สรางหมูบานชุมชนมั่นคง ปลอดภัยยาเสพติด

คนยุติธรรม

หนา

หนา

บทลงโทษคดีอาญา ในทัศนะของประชาชน

ยุติธรรมเพ�่อประชาชน

คุยเฟ��องเร�่องยุติธรรม

34

14

เร�่องเลายุติธรรม

ที่นี่แจงวัฒนะ

แดนหญิง ขอนแกน ปนดิน ใหเปนบุญ

หนา

หนา

หนา

78

เก็บมาเลา

ป.ป.ส.เดินหนาสรางภูมิคุมกัน ยาเสพติดเด็กปฐมวัย ตอยอด สื่อยุคใหม - พัฒนา EF "เลนลอมรัก"


เรื่องจากปก กองบรรณาธิการ

ที่ ผ ่ า นมาในอดี ต ความรั บ รู ้ ข องคน ในสั ง คมไทยที่ มี ต ่ อ การเข้ า ถึ ง กระบวนการ ความยุ ติ ธ รรมนั้ น เป็ น เรื่ อ งยาก ค� ำ ว่ า “คุ ก มี ไ ว้ ขั ง คนจน” จึ ง เป็ น ประโยคที่ ไ ด้ ยิ น กั น ทั่ ว ไป และเป็ น การสะท้ อ นภาพให้ เ ห็ น ถึ ง ความเหลื่อมล�้ำของสังคมอย่างเด่นชัด ด้ ว ยเหตุ นี้ หนึ่ ง ในนโยบายที่ รั ฐ บาลภายใต้ ก ารน� ำ ของ พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ให้ ค วามส� ำ คั ญ มาโดยตลอด คือ ความพยายามในการลดความเหลื่อมล�้ำของสังคม ซึ่งกระทรวงยุติธรรมโดยพลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุตธิ รรม ได้กำ� หนดเป็นยุทธศาสตร์เร่งด่วนของกระทรวงยุตธิ รรม เพื่ อ ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง กระบวนการยุ ติ ธ รรมได้ อ ย่ า ง เสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยมีการผลักดันร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรมขึ้น เพื่อช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายให้เข้าถึง ความยุติธรรมได้มากขึ้น เช่น การให้ความรู้ทางกฎหมายและสิทธิ เสรีภาพ พร้อมทัง้ ให้หลักประกันสิทธิขนั้ พืน้ ฐานในกระบวนการยุตธิ รรม เพือ่ ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคม เช่น ชาวบ้านมีสทิ ธิทจี่ ะได้รบั การจัดหา ทนายความ ล่ามแปลภาษา มีเงินประกันตัวผูต้ อ้ งหา ไม่ตอ้ งถูกจองจ�ำ ในห้องขังหรือเรือนจ�ำ โดยความช่วยเหลือจากภาครัฐ และชาวบ้าน ไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย และทีผ่ า่ นมากองทุนยุติธรรมสามารถช่วยเหลือ ให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมได้มากขึ้น

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 3


เ มื่ อ วั น ที่ 2 7 เ ม ษ า ย น 2 5 5 9 พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานในพิธสี ง่ มอบ งานภารกิ จ กองทุ น ยุ ติ ธ รรมระหว่ า ง กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพกับส�ำนักงาน ปลั ด กระทรวงยุติธรรม“ก้ า วไปข้ า งหน้ า กับกองทุนยุติธรรม : ลดความเหลื่อมล�้ำ ในสังคม” โดยมีพลเอก นิวัตร มีนะโยธิน ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ กระทรวงยุ ติ ธ รรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวง ยุ ติธ รรม นายธวั ชชั ย ไทยเขียว รองปลัด กระทรวงยุ ติ ธ รรมและโฆษกกระทรวง ยุ ติ ธ รรม นางกรรณิ ก าร์ แสงทอง อธิ บ ดี กรมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ ผู ้ บ ริ ห าร หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม เข้าร่วมงาน ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคาร ราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

4 | Justice Magazine Ministry of Justice

พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า รัฐบาล ได้ให้ความส�ำคัญกับ “กองทุ น ยุ ติ ธ รรม” โดยประกาศเป็ น นโยบายและก� ำ หนดให้ ต้องมีการส่งเสริมกองทุนยุตธิ รรม เพือ่ คุม้ ครอง ช่ ว ยเหลื อ คนยากจนและผู ้ ด ้ อ ยโอกาส คุ้มครองผู้ถูกล่วงละเมิดสิทธิและเสรี ภ าพ จึ ง ได้ ต ราเป็ น พ.ร.บ.กองทุ น ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2558 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 และมีผลบังคับใช้ นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ วันที่ 24 เมษายน 2559 โดยให้กองทุนยุตธิ รรม ช่วยเหลือผู้ยากไร้ที่เดือดร้อนและไม่ได้รับ ความเป็นธรรมให้สามารถเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ ก�ำหนดให้ “กองทุนยุติธรรม” ตัง้ เป็นส�ำนักงานกองทุนยุติธรรม ส�ำนักงาน ปลั ด กระทรวงยุติธรรม และเป็นหน่วยงาน

รับผิดชอบภารกิจของกองทุนยุตธิ รรมต่อจาก กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภายหลังจาก ที่ ก ฎหมายมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ก องทุ น ยุ ติ ธ รรม จ ะ เ ป็ น หน่ ว ยง า นข อง รั ฐ ที่ มี ส ถานะ เป็นนิติบุคคล โดยมีวัตถุประสงค์ส�ำคัญ คือ เป็ น แหล่ ง เงิ น ทุ น ส� ำ หรั บ ใช้ จ ่ า ยเกี่ ย วกั บ การช่ ว ยเหลื อ ประชาชนในการด� ำ เนิ น คดี การปล่ อ ยชั่ ว คราวผู ้ ต ้ อ งหาหรื อ จ� ำ เลย และการสนั บ สนุ น โครงการให้ ค วามรู ้ ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชน และยั ง ขยาย บทบาทเพิ่มมากขึ้นในการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ถู ก ละเมิดสิทธิมนุษยชน และให้การสนับสนุน งบประมาณในการด�ำเนินโครงการให้ความรู้ ทางกฎหมาย รวมถึงการกระจายอ�ำนาจ การให้ความช่วยเหลือประชาชนลงสู ่ พื้ น ที่ ทั้ง 76 จังหวัด เพื่อน�ำบริการของรัฐลงสู่ ประชาชนให้มากที่สุด จึงนับเป็นการปฏิรูป กองทุนยุติธรรมครั้งใหญ่


ทีผ่ า่ นมากรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ได้รบั มอบหมายให้ด�ำเนินงานด้านกองทุนยุติธรรมตั้งแต่ ปี 2549 เป็นต้นมา และได้มีการพัฒนา ปรับปรุง กระบวนงาน ขัน้ ตอน รวมทัง้ ข้อกฎหมาย จนตราเป็น พ.ร.บ.กองทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558 และมีผลบังคับใช้ แล้วในปัจจุบัน ซึ่งผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมาตั้งแต่ มีการจัดตัง้ กองทุนยุตธิ รรมกว่า 10 ปี (ปีงบประมาณ 2549-2559) และตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กองทุนยุติธรรม ได้ให้ความช่วยเหลือไปประชาชน จ�ำนวนกว่า 19,491 ราย สามารถจ่ายเงินช่วยเหลือ ไปแล้วในวงเงินกว่า 500 ล้านบาท

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 5


การช่วยเหลือทางด้านการด�ำเนินคดีส�ำคัญ 1. กรณีชาวเลหาดราไวย์ โดยกองทุนยุติธรรมได้อนุมัติ ให้ความช่วยเหลือค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล ค่าตรวจ พิสูจน์พันธุกรรมและค่าประกันตัวช่วยต่อสู้คดีที่ถูกฟ้องขับไล่ที่ ช่วยเหลือทั้งศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกา จ�ำนวน 36 ราย เป็นเงิน 323,440 บาท และช่วยเหลือเงินประกันตัว จ�ำนวน 9 ราย เป็นจ�ำนวนเงิน 45,000 บาท

6 | Justice Magazine Ministry of Justice

2. กรณี ก ลุ ่ ม ชาวนาจั ง หวั ด ลพบุ รี จ� ำ นวน 35 ราย ขายข้าวเปลือกให้โรงสีข้าวแล้วไม่ได้เงิน โดยกองทุนยุติธรรม ได้อนุมัติค่าทนายความและค่าธรรมเนียมศาลในการต่อสู้คดี เป็นจ�ำนวนเงิน 210,000 บาท 3. กรณีนายสุรตั น์ มณีนพรัตน์สดุ า พนักงานประจ�ำรถขยะ ของกรุ ง เทพมหานคร จ� ำ เลยในคดี มี แ ผ่ น ซี ดี เ พื่ อ จ� ำ หน่ า ย โดยไม่ได้รับอนุญาตอันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ภาพยนตร์ และวีดทิ ศั น์ 2551 โดยกองทุนยุตธิ รรมอนุมตั หิ ลักประกันในการ ปล่อยชั่วคราว เป็นจ�ำนวนเงิน 240,000 บาท ทั้งในศาลชั้นต้น และศาลอุทธรณ์ เป็นต้น


ส�ำหรับในระดับจังหวัดผู้ว่าราชการจังหวัดจะมีอ�ำนาจในการด�ำเนินการเรื่อง ดังกล่าวได้โดยตรงเพื่อให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงอย่างแท้จริง แต่หากเกิดการร้องเรียนประชาชนสามารถจะมาร้องเรียนที่กระทรวงยุติธรรมได้ เนื่องจากในการพิจารณา เกี่ยวกับเงินกองทุนยุติธรรมจะมีคณะกรรมการอยู่ 2 ระดับ 1. ระดับบนมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็นประธาน และ 2. ระดับจังหวัด ในกรณีที่คณะกรรมการจังหวัดไม่เห็นด้วยหรือไม่ได้รับการพิจารณาช่วยเหลือตามระเบียบ เนื่องจาก บางประเด็นต้องใช้ดุลยพินิจการพิจารณาเพื่อสร้างบรรทัดฐานต่อไป การตอบรับของผู้ตกทุกข์ผ่านคดีที่เพิ่มขึ้นในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาถือเป็นแรงบันดาลใจ เป็นฐานรากที่มั่นคง และเป็นบทพิสจู น์การท�ำงานของกองทุนยุตธิ รรม เพือ่ สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคม ซึง่ จากนีไ้ ปกองทุนยุตธิ รรม กับภารกิจการเติมเต็มช่องว่างทางการเข้าถึงโอกาสของความยุติธรรม อาจเป็นก้าวที่กล้าของผู้คนในสังคมที่รอคอยความหวัง รอคอยโอกาส ของการได้รวู้ า่ ความเท่าเทียมในสังคมนัน้ มีสญ ั ญาณบ่งบอกว่ามีอยูจ่ ริงและจะก้าวต่อไปข้างหน้าอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน สมดั่งเจตนารมณ์ของกองทุนยุติธรรมที่ตั้งไว้

พนักงานเก็บสิ่งปฏิกูลเขตสะพานสูง เก็บแผ่นซีดีขายที่ถูกพนักงานอัยการ ยื่นฟ้อง เป็นจ�ำเลยต่อศาลอาญาในความผิดพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551 และต่อมานายสุรัตน์ฯ ได้ขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนยุติธรรมจากกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภ าพ กระทรวงยุ ติ ธ รรม เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลั ก ประกั น ในการปล่ อ ยชั่ ว คราว และคณะกรรมการบริหารกองทุนยุติธรรม ได้อนุมัติเงินกองทุนยุติธรรมเพื่อใช้เป็น หลักประกันในการปล่อยชัว่ คราวในชัน้ อุทธรณ์ เป็นเงินจ�ำนวน 100,000 บาท ในชัน้ ฎีกา เป็นเงินจ�ำนวน 200,000 บาท แต่ศาลใช้หลักทรัพย์ประกันตัวเพียง 140,000 บาท ต่ อ มาศาลฎี ก าได้ มี ค� ำ พิ พ ากษายื น ตามศาลอุ ท ธรณ์ และนายสุ รั ต น์ ฯ ไม่มีเงินช�ำระค่าปรับดังกล่าว ศาลจึงออกหมายกักขังแทนค่าปรับตามกฎหมายวันละ 200 บาท แต่รวมโทษกักขังไม่เกิน 1 ปี โดยพิพากษาปรับเป็นเงิน 133,400 บาท และเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 นายสุรัตน์ฯ ได้รับการปล่อยตัวเป็นอิสรภาพ ทั้ ง นี้ เมื่ อ วั น ที่ 21 พฤศจิ ก ายน 2558 นายสุ รั ต น์ ฯ ได้ เ ดิ น ทางเข้ า พบ พั น ต� ำ รวจเอก ดร. ณรั ช ต์ เศวตนั น ทน์ อธิ บ ดี ก รมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ ในขณะนั้น เพื่อขอบคุณที่กองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลือและได้มอบเงินบริจาค จากภาคประชาชนที่ตนได้รับ จ�ำนวน 20,000 บาท ให้กับทางกองทุนยุติธรรมเพื่อไป ใช้จา่ ยช่วยเหลือผูอ้ นื่ ตามเจตนารมณ์ของผูบ้ ริจาคต่อไป ซึง่ นับเป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารบริจาคเงิน เข้ากองทุนยุติธรรม วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 7


ขอขอบคุณกระทรวงยุติธรรมที่เข้ามาช่วยเหลืออย่างเต็มที่ เพราะการต่อสู้คดีตลอดเวลา 8 ปีที่ผ่านมาเพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์นั้น ผมรู้สึกเหมือนหมดหนทาง ครอบครัวได้รับผลกระทบและพบกับปัญหาต่างๆ ต้องกู้เงินเพื่อมาเป็นค่าปรับเพราะหากไม่สามารถหาเงินมาได้ ตนต้องติดคุก โดยช่วงแรกตนล�ำบากมาก เงินที่หยิบยืมมาได้ก็ต้องหมดไปกับค่าเดินทางเพื่อขึ้นศาล แต่หลังจากที่กระทรวงยุติธรรมช่วยเหลือ เรือ่ งเงินประกันตัวในชัน้ อุทธรณ์ทำ� ให้ตนสามารถสูค้ ดีตอ่ ในชัน้ ฎีกา และยังได้มผี ใู้ จดีบริจาคเงินเข้ามาช่วยเหลือตนอีก ตนไม่เคยคิดว่าในสังคมไทย จะมีกองทุนยุติธรรมที่ให้ความช่วยเหลือโดยที่ไม่หวังผลตอบแทน ท�ำให้ชีวิตคนคนหนึ่งสามารถก้าวผ่านปัญหามาได้เหมือนได้ชีวิตใหม่คืนมา เพราะหากชีวติ ต้องติดคุกไม่รวู้ า่ ชีวติ ของตนและครอบครัวจะเป็นอย่างไร และในเรือ่ งทีต่ นได้บริจาคเงินให้กองทุนยุตธิ รรม จ�ำนวน 20,000 บาทนัน้ เงินดังกล่าวเป็นเงินที่ตนได้รับมาจากการบริจาคเมื่อด�ำเนินการใช้จ่ายในเรื่องของคดีเสร็จสิ้นแล้ว จึงอยากจะช่วยเหลือคนอื่นที่อาจตกอยู่ใน สถานะเหมือนกับตน คนที่ล�ำบากกว่าตน เพราะตนไม่ต้องติดคุกสามารถออกมาต่อสู้คดีได้ ยังสามารถออกมาหาเงินเลี้ยงครอบครัวได้ พร้อมทัง้ ขอฝากไปยังประชาชนทุกคนว่า ก่อนทีจ่ ะท�ำอะไรควรไตร่ตรองดูกอ่ นว่าถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่หรือถ้าเราต้องต่อสูใ้ นกระบวนการ ยุติธรรมโดยที่มั่นใจว่าเราไม่ผิดหรือบุคคลที่หมดหนทาง ก�ำลังประสบปัญหาสามารถเข้ามาขอค�ำปรึกษาและขอความช่วยเหลือได้ที่ กองทุนยุติธรรม

ถูกด�ำเนินคดีอาญาต่อศาลจังหวัดนนทบุรีในข้อหาข่มขืนกระท�ำช�ำเรา เด็กอายุไม่เกิน 13 ปี โดยใช้อาวุธ ซึง่ ศาลได้มคี ำ� พิพากษาลงโทษจ�ำคุกตลอดชีวติ โดยศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ปัจจุบันคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา คดีนี้มีการน�ำภาพถ่ายของนายทรงกลด ทรัพย์มี มาให้ผู้เสียหายดูและชี้เพียง ภาพเดียว เเต่เนื่องจากภาพถ่ายดังกล่าวเป็นภาพขาวด�ำและผู้เสียหายไม่ได้ ดู ที่ ค วามสู ง ของบุ ค คลในภาพ จึ ง ท� ำ ให้ ผู ้ เ สี ย หายชี้ ภ าพดั ง กล่ า วต่ อ มา ในชั้นพิจารณาของศาล ผู้เสียหายได้เห็นนายทรงกลด ทรัพย์มี ตัวจริงผ่าน กล้องวิดโี อของศาล จึงแน่ใจว่านายทรงกลด ทรัพย์มี ไม่ใช่ผกู้ ระท�ำความผิดในคดีนี้ กองทุ น ยุ ติ ธ รรมได้ ช ่ ว ยเหลื อ เงิ น เป็ น หลั ก ประกั น การปล่ อ ยชั่ ว คราว ในชั้นฎีกา จ�ำนวน 1,000,000 บาท และค่าทนายความในคดีอาญาเพื่อยื่นฎีกา จ�ำนวน 20,000 บาท ให้กับนายทรงกลดฯ ซึ่งศาลได้มีค�ำสั่งอนุญาตให้ปล่อย ชั่วคราว และรับฎีกานายทรงกลดฯ แล้ว

ภายหลังจากทีท่ ราบว่าตนต้องกลายเป็นผูต้ อ้ งหา ตนได้ตอ่ สูท้ างกระบวนการยุตธิ รรมมาโดยตลอด พยายามรวบรวมเงินและหลักประกันต่างๆ จ�ำนวน 500,000 บาท เพื่อมาประกันตัวในชั้นโรงพัก จากนั้นต่อสู้จนมาถึงชั้นศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ได้ตัดสินให้ตนจ�ำคุกตลอดชีวิต ซึง่ ตนไม่ได้เป็นผูก้ ระท�ำผิด จึงเดินหน้าต่อสูแ้ ละหวังพึง่ หนทางสุดท้ายจากหน่วยงานของรัฐโดยเข้ามาขอความช่วยเหลือจากกระทรวงยุตธิ รรม ผ่านทางพันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อลงพื้นที่ที่เกิดเหตุจนสามารถรวบรวมพยานหลักฐาน ค�ำบอกเล่า จากพยานบุคคลว่าตนไม่ใช่ผู้กระท�ำผิด และได้ประสานงานให้ตนไปขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม เพื่อเป็นหลักประกันการปล่อย ชั่วคราวในศาลชั้นฎีกา จ�ำนวน 1,000,000 บาท และค่าทนายความในคดีอาญาเพื่อยื่นฎีกาในศาลชั้นฎีกา จ�ำนวน 20,000 บาท ซึ่งถ้าไม่มี เงินช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม ผมคงไม่มีปัญญาหาเงินจ�ำนวน 1,000,000 บาท เพื่อมาประกันตัวได้ จึงขอขอบคุณกระทรวงยุติธรรม และกองทุนยุติธรรม หน่วยงานของรัฐที่ได้เข้ามาช่วยเหลือ และขอฝากไปยังทุกคนว่าใช้ชีวิตอย่าประมาท เพราะเรื่องแบบนี้สามารถเกิดขึ้น กับทุกคน 8 | Justice Magazine Ministry of Justice


เนื่องจากนายพรพิชัย โยธา (บุตรนางพรวันจันทร์ โยธา) ถูกจ�ำเลย ฆ่ า โดยการใช้ ผ ้ า รั ด คอและเอาทรั พ ย์ สิ น คื อ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และ พระเครื่องไป พนักงานอัยการเป็นโจทก์ยื่นฟ้องจ�ำเลยเป็นคดีอาญา ข้อหาฆ่าคนตาย โดยเจตนาและชิงทรัพย์ ระหว่างการพิจารณาจ�ำเลย ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวและหลบหนีไป ต่อมานางพรวันจันทร์ โยธา ฟ้องคดีแพ่งต่อศาลจังหวัดตลิ่งชันในข้อหาละเมิด ซึ่งศาลมีค�ำพิพากษา ให้จ�ำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เป็นเงินจ�ำนวน 4,120,000 บาท คดี นี้ ศ าลมี ค� ำ พิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด แล้ ว แต่ จ� ำ เลยยั ง มิ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ตามค�ำพิพากษาแต่อย่างใด ท�ำให้นางพรวันจันทร์ โยธา ได้รบั ความเดือดร้อน เนื่องจากผู้ตายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวแต่เพียงผู้เดียวและจากการที่บุตร ถึงแก่ความตายท�ำให้นางพรวันจันทร์ โยธา ต้องหาเลี้ยงดูครอบครัว โดยการรับจ้างทั่วไปแต่เพียงผู้เดียว อีกทั้งมีบุตรที่ก�ำลังศึกษาอยู่ 1 คน ท� ำ ให้ น างพรวั น จั น ทร์ โยธา ได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นเป็ น อย่ า งมาก กองทุ น ยุ ติ ธ รรมจึ ง ได้ ช ่ ว ยเหลื อ เงิ น ค่ า ทนายความในชั้ น บั ง คั บ คดี เป็ น เงิ น จ� ำ นวน 25,000 บาท และค่ า ธรรมเนี ย มการบั ง คั บ คดี เป็นเงินจ�ำนวน 5,000 บาท รวมเป็นเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 30,000 บาท

ตนได้รับความช่วยเหลือเรื่องค่าทนาย ค่าธรรมเนียมศาล เพื่อน�ำไปบังคับคดีครั้งนี้เป็นครั้งที่สอง โดยครั้งแรกได้รับค่าทนาย และค่าธรรมเนียมศาลเพื่อน�ำไปบังคับคดีทางแพ่ง ซึ่งทางแพ่งให้เราชนะคดีได้รับเงินจากจ�ำเลยเป็นจ�ำนวน 4,120,000 บาท แต่ขณะนี้ ยังไม่เจอจ�ำเลย เนื่องจากจ�ำเลยหลบหนีหมายศาล จึงยังไม่ได้รับเงินจ�ำนวนนั้น ถ้าไม่มีกองทุนยุติธรรมเรื่องคงเงียบ ตนคงไม่มีปัญญา เพราะท�ำงานหาเช้ากินค�่ำแล้วลูกคนเล็กก็ยังเรียนหนังสือ ส่วนลูกที่เสียชีวิตเป็นเสาหลักของครอบครัวช่วยเลี้ยงแม่เลี้ยงน้อง ตนจึงต้อง ท�ำหน้าทีห่ ารายได้ทงั้ ทีต่ นมีอาการเจ็บป่วย ในตอนแรกทีย่ งั จับจ�ำเลยไม่ได้ทางต�ำรวจอ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้บอกให้ไป ติดต่อขอความช่วยเหลือจากศูนย์ด�ำรงธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา จากนั้นศูนย์ด�ำรงธรรมจังหวัดฉะเชิงเทราเห็นว่าตนต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการเดินทางจึงได้ประสานให้มาขอความช่วยเหลือทีก่ องทุนยุตธิ รรม เพือ่ ขอค่าช่วยเหลือเยียวยาโดยได้รบั เงินช่วยเหลือเป็นจ�ำนวนเงิน 106,000 บาท ไปจ่ายเป็นค่าธรรมเนียมศาลและอีก 15,000 บาท เป็นค่าทนายความ

ทั้งหมดนี้คือผลด�ำเนินงานที่ผ่านมา ตั้งแต่มีการจัดตั้งกองทุนยุติธรรมมาตลอด ระยะเวลากว่า 10 ปี ก้าวย่างต่อจากนี้ กระทรวงยุ ติธ รรม จะขั บเคลื่ อนกองทุน ยุตธิ รรม ให้เป็นทีพ่ งึ่ ของคนยากไร้ ทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม ให้สามารถเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน เพือ่ น�ำ “ยุตธิ รรมสูห่ มูบ่ า้ น น�ำบริการของรัฐ สูป่ ระชาชน” วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 9


ก�โครงการก� ำลังำลัใจในพระด� ำริ งใจในพระด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

‘แดนหญิง’ขอนแก่น

ปั้นดินให้เป็นบุญ

ผู้ต้องขังหญิงภายใน “แดนหญิง” เรือนจ�ำกลางขอนแก่น จ� ำ นวน 30 คน ได้ รั บ โอกาสเรี ย นการปั ้ น พระพุ ท ธรู ป องค์ เ ล็ ก เพื่อใช้กระบวนการพุทธศิลป์พัฒนาจิตใจ ตามที่โครงการก�ำลังใจ ในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาจัดขึ้น โดยมีเครือข่ายพุทธิกาของพระไพศาล วิสาโล เป็นองค์กร ประสานงาน ทีมอาจารย์จากคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร และอาจารย์ จากโครงการปั้นพระที่เรือนจ�ำกลาง บางขวางเป็นผูส้ อน ตามหลักสูตร ที่ อ า จ า ร ย ์ ร ่ ว ม กั น ว า ง ไ ว ้ มีการสอน 3 ครั้ง ครั้งละ 3 วัน รวมเป็น 9 วัน เมือ่ ปัน้ พระเสร็จ มี ก ารสอนการท� ำ พิ ม พ์ แ ละ หล่ อ พระ จนถึ ง การขั ด องค์ พ ระ เพื่อเป็นพระพุทธรูปองค์เล็กที่งดงาม สมบูรณ์ นายกฤษณ์ วงษ์เวช ผูบ้ ญ ั ชาการ เรือนจ�ำกลางขอนแก่น ได้มาชืน่ ชมผลงานและให้กำ� ลังใจผู้ต้องขัง ที่ เ ข้ า เรี ย นปั ้ น พระพุ ท ธรู ป ทุ ก วั น ส่ ว นผู ้ ต ้ อ งขั ง ทุ ก คน มี ค วามสุ ข กั บ การเรี ย นรู ้ ก ารปั ้ น พระพุ ท ธรู ป เป็ น ครั้ ง แรกในชี วิ ต

10 | Justice Magazine Ministry of Justice

จากมื อ สี ข าวและใจอั น บริ สุ ท ธิ์ ส ะอาด ของผู้เคยพลั้งพลาด ความรัก ความเมตตา ของพระพุ ท ธองค์ ได้ ช ่ ว ยเยี ย วยาหั ว ใจ อันอ่อนแอ เปราะบาง ของชีวิตผู้พลั้งพลาด ให้เป็นใจดวงใหม่ที่เปี่ยมศรัทธา เพื่อก้าวสู่ หนทางใหม่ เป็นลูกหลานทีด่ ขี องพระพุทธองค์ อย่างแท้จริง ซึง่ แต่ละอาทิตย์อาจารย์ดอน อาจารย์เอ อาจารย์แห้วและอาจารย์ยี่หร่า จะเดินทาง จากกรุงเทพฯ มาสอนในวันพฤหัสบดี ศุ ก ร์ และเสาร์ อาจารย์ แ ห้ ว ชมว่ า ผลงานของ ผูต้ อ้ งขังหญิงมีความอ่อนช้อยและรายละเอียด มากกว่าผู้ต้องขังที่เรือนจ�ำกลางบางขวาง เสียดายที่มีเวลาในการสอนเพียง 8-9 วัน เท่ า นั้ น ขณะที่ อ าจารย์ ยี่ ห ร่ า มองว่ า งาน ของผู้ต้องขังเรือนจ�ำกลางบางขวางมีพลัง บางอย่าง ผู้ต้องขังหลายคนที่ได้พูดคุยด้วย บอกว่าขณะปั้นพระรับรู้ได้ถึงความมีสมาธิ งานพุทธศิลป์ช่วยขัดเกลาใจให้เยือกเย็นขึ้น


จากเดิมที่เป็นคนใจร้อน บางคนบอกว่าปกติ มักเป็นกังวล คิดเรือ่ งคดีความและเรือ่ งครอบครัว ที่อยู่ข้างนอก เมื่อได้มาปั้นพระท�ำให้จิตใจ สงบลงมาก ขณะที่ บ างรายบอกว่ า รู ้ สึ ก ผ่อนคลาย สบายใจ เข้านอนแล้วก็ยังนึกถึง พระที่ปั้นเหมือนใจจดจ่ออยู่กับพระเป็นที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ทุ ก คนปลื้ ม ปี ติ ในกุศลครั้งนี้ที่แม้อยู่ในเรือนจ�ำก็ยังมีโอกาส ได้ปน้ั พระ และจะไม่กลับไปอยูใ่ นเส้นทางเดิม ก่อนก้าวเข้ามาอยู่ในเรือนจ�ำ สิ่ ง นี้ นั บ เป็ น เป้ า หมายของโครงการ ก�ำลังใจในพระด�ำริฯ และเครือข่ายพุทธิกา ของพระไพศาล วิ ส าโล นั่ น คื อ การใช้ กระบวนการพุทธศิลป์ในการขัดเกลาจิตใจ ผู้ต้องขัง เพื่อจะได้ไม่หวนกลับมาท�ำผิดซ�้ำ อันจะส่งผลให้สังคมปลอดภัยขึ้น

วันสุดท้ายของการปัน้ พระพุทธรูป การเรียนการสอนของคณะครูได้จบสิน้ ลง ช่ ว งเช้ า เป็ น พิ ธี ก รรมทางศาสนา ท�ำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ฟงั ธรรม จากพระสงฆ์ และการเบิกเนตร พระพุ ท ธรู ป โดยมี พ ระสงฆ์ 3 รู ป จ า ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต อีสาน มานัง่ อยูบ่ นอาสนะ เบือ้ งซ้าย ของท่านเป็นพระพุทธรูปองค์เล็กขนาด หน้าตักราว 7-9 นิ้ว สีขาวบริสุทธิ์จ�ำนวน 30 องค์ ที่ ป ั ้ น จากมื อ ที่ เ คยพลั้ ง พลาด ของผู ้ ต ้ อ งขั ง หญิ ง เรื อ นจ� ำ กลางขอนแก่น และเบื้องหน้าของพระสงฆ์ ผู ้ ต ้ อ งขั ง หญิ ง จ� ำ นวน 500 คน ร่ ว มใจกั น สวดมนต์ นัง่ สมาธิ ฟังธรรมอย่างตัง้ ใจ เป็นภาพทีอ่ บอุน่ เปี่ยมศรัทธา น่าประทับใจ

บุ ญ กุ ศ ลนี้ เ กิ ด แต่ โ ครงการก� ำ ลั ง ใจ ในพระด�ำริฯ ผูร้ เิ ริม่ โครงการ เครือข่ายพุทธิกา ของพระไพศาล วิ ส าโล องค์ ก รประสาน งานกุ ศ ลนี้ ยั ง ส� ำ เร็ จ ลงได้ ด ้ ว ยการท� ำ งาน ของผู้บัญชาการเรือนจ�ำ นายกฤษณ์ วงษ์เวช คุณอรอินทร์ สุกาญจนเศรษฐ์ คณะเจ้าหน้าที่ ตลอดจนน้ อ งๆ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ ช ่ ว ยเหลื อ งาน ทุกส่วน

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 11


ทีกองบรรณาธิ ่นี่แจ้งการวัฒนะ

ต้อนรับ เอกอัครราชทูตรัสเซียประจ�ำประเทศไทย พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม ให้การต้อนรับ นายคีริลล์ บาร์สกี เอกอัครราชทูต สหพันธรัฐรัสเซียประจ�ำประเทศไทย พร้อมคณะ ในโอกาส เข้ า เยี่ ย มคารวะพร้ อ มหารื อ ข้ อ ราชการร่ ว มกั น เกี่ ย วกั บ ความร่วมมือที่ส�ำคัญระหว่างประเทศรัสเซียและประเทศไทย อาทิ ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ด้านการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน ด้านการแลกเปลีย่ นข้อมูล ข่าวสารร่วมกัน เป็นต้น ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

ถอดบทเรียนการด�ำเนินงานกองทุนยุติธรรม พื้นที่ภาคใต้ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร “ถอดบทเรียนการด�ำเนินงานกองทุนยุติธรรม : เพื่อการด�ำเนินงานก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง และยัง่ ยืน ครัง้ ที่ 1” พืน้ ทีภ่ าคใต้ พร้อมทัง้ ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “ความส�ำคัญของกองทุนยุตธิ รรม ในการช่วยเหลือผู้ยากไร้ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม” ทั้งนี้ ภายในงานได้เปิดเวทีการอภิปราย ในประเด็น “การแบ่งปันประสบการณ์กบั บทบาทคณะอนุกรรมการกองทุนยุตธิ รรมประจ�ำจังหวัด” ตลอดจนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างอนุบัญญัติรองรับพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 ซึ่ ง จะมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ใ นวั น ที่ 24 เมษายน 2559 ณ โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่ า จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ติดตามขบวนการท�ำรถยนต์จดประกอบ พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุม เพื่ อ ติ ด ตามและเร่ ง รั ด การด� ำ เนิ น งาน ของหน่วยงาน กรณีขบวนการท�ำรถยนต์ จดประกอบ ซึ่งประกอบด้วย กรมสอบสวน คดีพิเศษ กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ และส�ำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 1 อาคารกรมสอบสวนคดีพิเศษ

12 | Justice Magazine Ministry of Justice


พิจารณาด�ำเนินการปรับปรุงอนุบัญญัติ มาตรา 30/1 นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุมพิจารณาศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของข้อสังเกต คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (การบังคับโทษปรับ) เพื่อพิจารณาด�ำเนินการปรับปรุงอนุบัญญัติ เพื่อให้สอดคล้องกับ หลักเกณฑ์ตามบทบัญญัติมาตรา 30/1 ที่แก้ไขใหม่ อาทิ แนวปฏิบัติ ในการให้ท�ำงานบริการสังคมหรือสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ รวมทั้งพิจารณาทบทวนอัตราการกักขังแทนค่าปรับ ณ ห้องประชุม ค.ต.ป. ชั้น 8 กระทรวงยุติธรรม อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในฐานะผู้อ�ำนวยการศูนย์อ�ำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แห่งชาติ (ศอ.ปส.) เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ อ�ำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดครั้งที่ 1/2559 โดยพิจารณาแผนประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้านชุมชนมั่นคง ปลอดภั ย ยาเสพติ ด พ.ศ.2559-2560 และมาตรการ ด�ำเนินการต่อเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรือ ปล่อยปละละเลยให้มีการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อน�ำไปสู่แนวทางการด�ำเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติด ในระดับชุมชนและสังคมต่อไป ณ ห้องประชุมชิดชัย วรรณสถิตย์ ส�ำนักงาน ป.ป.ส.

แรงบันดาลใจให้เยาวชนด้วย IDOL นางกิ่งกาญจน์ บุญประสิทธิ์ รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน เป็นประธานการประชุมขับเคลื่อนการส่งเสริมและพัฒนา ทักษะด้านกีฬาส�ำหรับเด็กและเยาวชนในความดูแลของกรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน เพื่อก�ำหนดแนวทางพัฒนาทักษะด้านกีฬา ให้แก่เด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นการต่อยอดจาก “โครงการเสริมสร้างกีฬา เยาวชนไทย เสริมสร้างแรงบันดาลใจด้วย Idol” ณ ห้องประชุม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ชั้น 5 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 13


บนความเคลื่อนไหว กองบรรณาธิการ

ไทยประกาศจุดยืน

เรื่องยาเสพติดบนเวทีโลก ที่ผ่านมาประเทศไทยให้ความส�ำคัญกับการรณรงค์แก้ไขปัญหายาเสพติด อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการให้ความร่วมมือกับประชาคมโลกในการหาทางป้องกัน และหยุดยั้งการแพร่ระบาดของยาเสพติด เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา คณะผู้แทนจากประเทศไทย น�ำโดย พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม สมั ช ชาสหประชาชาติ ส มั ย พิ เ ศษ ว่าด้วยปัญหายาเสพติดโลก (United Nation General Assembly Special Session - UNGASS 2016 ซึ่ ง มี 193 ประเทศ โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม กว่ า 2,000 คน ณ ห้องประชุม General Assembly Hall ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ในการประชุมครั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และคณะได้หารือร่วมกับตัวแทนของประเทศต่างๆ ดังนี้ ในช่ ว งเวลา 10.00 น. พลเอก ไพบู ล ย์ คุ ้ ม ฉายา รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม ประชุ ม หารือทวิภาคีรว่ มกับ ท่านกุ จันสินา ประธานคณะ ก ร ร ม ก า ร แ ห ่ ง ช า ติ เ พื่ อ ต ร ว จ ต ร า แ ล ะ ควบคุ ม ยาเสพติ ด สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว หัวหน้าคณะผู้แทนสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีนายณรงค์ รัตนานุกลู เลขาธิการ ป.ป.ส. นายเพิม่ พงษ์ เชาวลิต ที่ ป รึ ก ษาโครงการปฏิ บั ติ ก ารแม่ น�้ ำ โขงปลอดภั ย และนายสิ ท ธิ ศั ก ดิ์ กั ล ยาณประดิ ษ ฐ์ ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักปราบปรามยาเสพติด เข้าร่วมหารือฯ ณ ห้อง GAB 6 ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ต่อจากนัน้ ในเวลา 11.00 น. พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุตธิ รรม พร้อมคณะ ประชุมหารือทวิภาคีรว่ มกับ Dr.Ken Wyatt รัฐมนตรีชว่ ยกระทรวง สาธารณสุขและผูส้ งู อายุ หัวหน้าคณะผูแ้ ทนออสเตรเลีย ณ ห้อง GAB 6 ศูนย์การประชุม 16 | Justice Magazine Ministry of Justice


สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ในเวลา 11.30 น. พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุ ติ ธ รรม พร้ อ มคณะ ประชุ ม หารื อ ทวิ ภ าคี ร ่ ว มกั บ Dr.Myint Hteay รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขเมียนมา หัวหน้าคณะ ผู้แทนเมียนมา ณ ห้อง GAB 8 ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ต่อมาเวลา 13.00 น. พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วย พลเอกนิวัตร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจ�ำกระทรวงยุตธิ รรม และคณะเข้าร่วมกิจกรรมคูข่ นาน High-Level Panel Discussion on Alternative Development and Sustainable Development Goal (SDGs) โอกาสนี้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุตธิ รรม เป็นประธานกล่าวเปิดในกิจกรรมคูข่ นานฯ ซึง่ จัดโดยรัฐบาลไทย ณ ห้ อ ง Conference Room 11 ศูน ย์ก ารประชุม สหประชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และในเวลา 14.30 น. พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วย พลเอกนิวัตร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจ� ำ กระทรวงยุ ติ ธ รรม และคณะเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมคู ่ ข นาน AD : New Approaches and Key Element for the post - UNGASS Framework จั ด โดยส� ำ นั ก กิ จ การในพระด� ำ ริ พ ระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา โดยมี ผู ้ ร ่ ว มอภิ ป ราย ประกอบด้ ว ย Mr.Fedotov, Mdm.Motler และหม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล ณ ห้ อ ง Conference Room 11 ศูน ย์ก ารประชุม สหประชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา จากนัน้ เวลา 15.00 น. พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงยุ ติ ธ รรม พลเอกนิ วั ต ร มี น ะโยธิ น ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ประจ�ำกระทรวงยุติธรรม และนายณรงค์ รัตนานุกูล เลขาธิการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรายาเสพติด (ป.ป.ส.) พร้อมด้วย ผู้แทนจากหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยพิเศษว่าด้วยปัญหายาเสพติดโลก (United Nation General Assembly Special Session - UNGASS 2016 ณ ห้องประชุม General Assembly Hall ศู น ย์ ก ารประชุ ม สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีตวั แทนจาก 193 ประเทศ จ�ำนวนกว่า 2,000 คน ร่วมประชุม โอกาสนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้กล่าวขอบคุณ ส�ำนักงานสหประชาชาติที่ได้จัดการประชุมดังกล่าวขึ้น และขอบคุณ ประชาคมโลกทีเ่ ห็นความส�ำคัญของปัญหายาเสพติดและมีความร่วมมือ ระหว่างกัน รวมทัง้ แสดงความยินดีตอ่ ความส�ำเร็จในการจัดท�ำเอกสาร ผลลัพธ์ที่ครอบคลุมในประเด็นส�ำคัญๆ ที่จ�ำเป็นในการแก้ไขปัญหา ยาเสพติด โดยประเทศไทยไม่เห็นด้วยเรื่องยาเสพติดให้ถูกกฎหมาย และไม่เห็นด้วยกับการลดทอนอาชญากรรมเฉพาะกรณีรายส�ำคัญ และประเทศไทยสนับสนุนแนวการปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วย การพัฒนาทางเลือกไปใช้อย่างกว้างขวางรวมทัง้ สนับสนุนการเชือ่ มโยง หลักการพัฒนาทางเลือกกับการพัฒนาทางเลือกอย่างยั่งยืน

นอกจากนี้ รัฐบาลไทยยังยืนยันในเจตนารมณ์ที่จะต่อสู้กับ ปัญหายาเสพติดในบริเวณสามเหลีย่ มทองค�ำโดยได้เน้นย�ำ้ เรือ่ งปัญหา การลักลอบน�ำสารตัง้ ต้นเข้าสูแ่ หล่งผลิต ดังนัน้ จึงขอให้ประเทศต่างๆ ร่วมกันสกัดกัน้ ยาเสพติดเคมีภณ ั ฑ์และสารตัง้ ต้นมิให้สแู่ หล่งผลิตอย่าง จริงจัง ตลอดจนความร่วมมือในการปฏิบัติงานในโครงการแม่น�้ำโขง ปลอดภัยทีไ่ ด้รบั ความร่วมมือต่างๆ จากประเทศในภูมภิ าคเป็นอย่างดี ซึ่งประเทศไทยยินดีและมีความพร้อมที่จะท�ำงานกับนานาประเทศ เพื่อลดระดับความรุนแรงและผลกระทบของปัญหายาเสพติด นับเป็นอีกครั้งหนึ่งที่ประเทศไทย ได้แสดงจุดยืนในการต่อสู้ กับปัญหายาเสพติดให้ประชาคมโลกได้รับทราบกันโดยทั่วกัน

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 17


บนความเคลื่อนไหว กองบรรณาธิการ

เดินหน้าหลักสูตรน�ำร่อง หนึ่งในหนทางแก้ปัญหา ผู้ต้องขังล้นคุก

เรือนจ�ำโครงสร้างเบา

หลังจากทีเ่ ตรียมการหามาตรการในการแก้ปญ ั หาผูต้ อ้ งขังล้นเรือนจ�ำทีม่ แี นวโน้มนับวัน จะมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น และหนึ่งในมาตรการที่กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรมน�ำมาใช้ คือ การจัดหลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย (เรือนจ�ำโครงสร้างเบา) เพื่อมุ่งพัฒนาพฤตินิสัย แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดให้กลับเป็นคนดีคืนสู่สังคม เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ 8 เมษายน 2559 พลเอก ไพบู ล ย์ คุ ้ ม ฉายา รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธีปล่อยตัวผู้ต้องขังที่ได้พักการลงโทษกรณีมีเหตุพิเศษ ตามโครงการน�ำร่องหลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย (เรือนจ�ำโครงสร้างเบา) โดยมี พลเอกนิวัตร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงยุติธรรม พลเอก อภิชัย หงษ์ทอง 18 | Justice Magazine Ministry of Justice

เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วย นายอุกริช พึ่งโสภา ผู้ว่าราชการ จังหวัดปราจีนบุรี นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รักษาการแทน อธิบดีกรมราชทัณฑ์ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ กรมราชทั ณ ฑ์ พ ร้ อ มด้ ว ยญาติ ผู ้ ต ้ อ งขั ง เข้าร่วมพิธี ณ ทัณฑสถานเปิดบ้านเนินสูง จังหวัดปราจีนบุรี พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุตธิ รรม กล่าวว่า กระทรวง ยุ ติ ธ รรมได้ ก� ำ หนดนโยบายส� ำ คั ญ ในการ พัฒนาพฤตินิสัย แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดและ ป้องกันการกระท�ำผิด ซึง่ เป็น 1 ใน 6 นโยบาย ส� ำ คั ญในการขั บเคลื่ อ นงานของกระทรวง ยุติธรรม เพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดให้กลับ เป็ น คนดี คื น สู ่ สั ง คม อี ก ทั้ ง เป็ น การแก้ ไ ข ปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำของกรมราชทัณฑ์ โดยก�ำหนดแผนการจัดประเภทเรือนจ�ำ เพื่อให้การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังมีความชัดเจน มากยิง่ ขึน้ มีระบบการเคลือ่ นย้ายของผูต้ อ้ งขัง


(FLOW) ตั้งแต่แรกเข้าจนกระทั่งปล่อยตัว มีการแบ่งเรือนจ�ำออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1) เรือนจ�ำความมั่นคงสูง 2) เรือนจ�ำทั่วไป และ 3) เรือนจ�ำโครงสร้างเบา โดยผู้ต้องขัง ที่ใกล้พ้นโทษจะจัดให้อยู่ในเรือนจ�ำประเภท เรือนจ�ำเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ซึ่งใช้ พื้นที่เรือนจ�ำชั่วคราว/ทัณฑสถานเปิดที่มีอยู่ ทั่วประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด พร้อมกับน�ำแนวคิดนวัตกรรม “เรือนจ�ำ โครงสร้ างเบา” (SOFT Prison) มาใช้ เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนปล่อยแบบเข้มข้น (Intensive Pre-release Program) โดยผูต้ อ้ งขังทีจ่ ะเข้ารับการอบรมในโครงการ ดังกล่าว จะต้องเป็นผู้ต้องขังที่เข้าเกณฑ์ พักการลงโทษ มีครอบครัวรองรับและต้องผ่าน การกลัน่ กรองจากคณะกรรมการพักการลงโทษ ส� ำ ห รั บ ก า ร ป ล ่ อ ย ตั ว ผู ้ ต ้ อ ง ขั ง พักการลงโทษกรณีมีเหตุพิเศษตามโครงการ น�ำร่องหลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ณ ทั ณ ฑสถานเปิ ด บ้ า นเนิ น สู ง จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี ถื อ เป็ น การเตรี ย มให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย จิ ต ใจ และทัศนคติ โดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพ เลีย้ งตนเองและครอบครัวภายหลังพ้นโทษ

อีก ทั้ง เป็ น มิ ติ ใ หม่ ใ นการแก้ ปั ญหา ผูต้ อ้ งขังล้นเรือนจ�ำของกรมราชทัณฑ์ ซึง่ เป็น เรื อ นจ� ำ น� ำ ร่ อ งแห่ ง แรกในการทดลอง จัดหลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย แบบเข้ ม ข้ น ให้ กั บ ผู ้ ต ้ อ งขั ง โดยผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละผ่ า นการพิ จ ารณาจาก คณะกรรมการพักการลงโทษของทัณฑสถาน และกรมราชทั ณ ฑ์ เ ข้ า รั บ การอบรมตาม หลักสูตรดังกล่าว มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 300 คน แบ่ ง เป็ น ผู ้ ต ้ อ งขั ง คดี ย าเสพติ ด ให้ โ ทษ จ�ำนวน 244 คน และคดีทวั่ ไป จ�ำนวน 56 คน ส�ำหรับผู้ต้องขังที่ผ่านเกณฑ์คัดเลือก เข้าโครงการจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) เป็นนักโทษเด็ดขาดชายชั้นดีขึ้นไป 2) ต้องโทษครั้งแรก กระท�ำผิดคดีเดียว ไม่เข้าข่ายเป็นผู้ร้ายรายส�ำคัญ 3) ไม่มีคดีอายัด หรือหมายจับ หรือโทษ กักขัง 4) ต้องโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของก�ำหนดโทษ 5 5) มีโทษจ�ำต่อไปไม่เกิน 4 ปี 6) มีผู้อุปการะเป็นหลักแหล่ง และยินดี ให้การอุปการะ 7) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยภายใน 2 ปี

ทัง้ นี้ มีผตู้ อ้ งขังกลุม่ แรกทีไ่ ด้รบั การพัก การลงโทษกรณี มี เ หตุ พิ เ ศษตามโครงการ น�ำร่องหลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย เรือนจ�ำโครงสร้างเบาที่ได้รับการปล่อยตัว จ�ำนวนทั้งสิ้น 282 คน โดยผ่านการอบรม แบบเข้ ม ข้ น ในระยะเวลา 3 เดื อ นตั้ ง แต่ เดือนมกราคม - มีนาคม 2559 เพื่อเป็นการ เตรี ย มความพร้ อ มด้ า นทั ก ษะอาชี พ การประกอบอาชี พ อิ ส ระ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษา ด้านอาชีพ ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ ในครอบครัว และบูรณาการความร่วมมือ กั บ สั ง คม เพื่ อ ส่ ง ต่ อ และประสานงาน ให้ความช่วยเหลือ เมื่อผู้ต้องขังพ้นโทษกลับ เข้าสู่ครอบครัวและสังคมต่อไป


บนความเคลื่อนไหว กองบรรณาธิการ

ยธ.จับมือธรรมศาสตร์ ยกระดับ นักวิจัยกฎหมาย

ปัจจุบนั นีบ้ คุ คล และองค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ มั ก ให้ ค วามสนใจการวิ จั ย มากขึ้ น เพราะช่ ว ยให้ เ กิ ด วิทยาการใหม่ๆ และสามารถใช้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง แม่นย�ำทราบข้อเท็จจริงได้กว้างขวาง รวมทั้งยังช่วยพัฒนา บุคคลและหน่วยงานให้เจริญก้าวหน้าดียิ่งขึ้น กระทรวงยุตธิ รรม โดยส�ำนักงานกิจการยุตธิ รรม ได้ร่วมมือกับ คณะสั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจยั สาขากฎหมาย และกระบวนการยุ ติ ธ รรม ระหว่ า งวั น ที่ 29 กุ ม ภาพั น ธ์ – 18 มีนาคม 2559 ภายใต้หัวข้อ “วิจัยอย่างมืออาชีพผลักดัน การปฏิบตั เิ พือ่ พัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย” โดยมี นายวิทยา สุ ริ ย ะวงค์ รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็นประธานเปิดการ ฝึกอบรม พร้อมด้วยนายวัลลภ นาคบัว รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานกิจการ ยุตธิ รรม รองศาสตราจารย์ศกั ดิช์ ยั เลิศพานิชพันธุ์ หัวหน้าศูนย์ฝกึ อบรม และพัฒนาแห่งคณะสังคมสงเคราะห์ มธ. พร้อมด้วยบุ ค ลากร

20 | Justice Magazine Ministry of Justice


ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และข้าราชการในกระบวนการยุติธรรม เข้าร่วมฯ ณ วิทยาลัย กิจการยุติธรรม ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม การจัดอบรมดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้และเสริมสร้างแนวคิด ด้านการวิจยั ทางกฎหมายและระบบงานในกระบวนการยุตธิ รรมแก่บคุ ลากรในหน่วยงาน กระบวนการยุติธรรม รวมถึงเป็นการสร้างและพัฒนานักวิจัยในสาขากฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม ตลอดจนเพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายนักวิจัยในกระบวนการ ยุติธรรมให้มีศักยภาพในการผลักดันผลการวิจัยไปสู่การปฏิบัติจะใช้เวลาในการ ฝึกอบรม 90 ชั่วโมง (15 วันท�ำการ) การอบรมแบ่งเป็น 5 หมวดวิชา ประกอบด้วย 1. องค์ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยของประเทศ 2. ความส�ำคัญของงานวิจัยกับการพัฒนากระบวนการยุติธรรม 3. การจัดท�ำรายงานทางวิชาการ (ข้อเสนอโครงการวิจัย) 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. พิธีการและกิจการกลุ่มสัมพันธ์

ทั้ ง นี้ การอบรมดั ง กล่ า ว มี ก ารถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันการศึกษาที่มีประสบการณ์ ด้านผลงานการวิจยั และมีประสบการณ์เฉพาะด้านกระบวนการคิดวิเคราะห์ ที่ มี ช่ื อ เสี ย งเป็ น ที่ ย อมรั บ ซึ่ ง ผู ้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมได้ รั บ ความรู ้ และประสบการณ์เกีย่ วกับการท�ำวิจยั ในภาพรวม รวมทัง้ เรียนรูเ้ ทคนิค การจัดท�ำและบริหารชุดโครงการวิจัย ซึ่งเป็นการสร้างและพัฒนา นักวิจยั ให้มคี ณ ุ ภาพและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดท�ำและเผยแพร่ ทั้ ง นี้ จึ ง อยากให้ ผู ้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมที่ เ ป็ น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน ผลงานวิจยั ไปสูก่ ารปฏิบตั มิ ากยิง่ ขึน้ อันจะช่วยพัฒนาและสร้างความ เกี่ยวข้องกับการวิจัยในกระบวนการยุติธรรม ต้องเป็นผู้ที่ค้นหา ก้าวหน้าให้แก่ระบบงานยุตธิ รรมของประเทศไทยในอนาคตต่อไป รวบรวมข้อเท็จจริงต่างๆ เพื่อให้มีการเผยแพร่ที่จะส่งผลต่อการ นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า วางแผนการแก้ไขและพัฒนาต่อไป จึงถือเป็นบทบาทที่มีความส�ำคัญ หลั ก สู ต รการพั ฒ นาศั ก ยภาพนั ก วิ จั ย ในกระบวนการยุ ติ ธ รรม อย่างยิ่ง ฉะนั้นจึงขอให้ผู้เข้าอบรมท�ำงานด้วยความเป็นมืออาชีพ เป็ น โครงการที่ มี ค วามส� ำ คั ญ และมี ค วามจ� ำ เป็ น ต่ อ การพั ฒ นา ยึ ด มั่ น ในหลั ก วิ ช าการที่ ถู ก ต้ อ งเพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ สามารถ กระบวนการยุติธรรมของประเทศ เนื่องจากปัจจุบันเป็นโลกแห่ง น�ำข้อมูลจากการวิจัยไปอ้างอิงหรือประกอบการพิจารณาด�ำเนินการ ข้อมูลข่าวสาร การแลกเปลี่ยนและการกระจายข่าวสารเป็นไปด้วย ที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไปได้ การฝึกอบรมครั้งนี้ มั่นใจว่า ความรวดเร็ว ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลทั้งในแง่บวกและแง่ลบ หากข้อมูล จะช่ ว ยพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นการวิ จั ย ในกระบวนการยุ ติ ธ รรม ทีเ่ ผยแพร่ออกไปเป็นข้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้องหรือไม่ผา่ นการกลัน่ กรองตาม ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หลักวิชาการอาจส่งผลให้เกิดการเข้าใจผิดซึง่ ยากต่อการแก้ไขได้ วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 21


บนความเคลื่อนไหว

ร้อยเอกกันณพงศ์ ทองมั่น พนักงานสอบสวนคดีพิเศษช�ำนาญการพิเศษ น.บ., น.ม.(กฎหมายมหาชน), ศศ.ม.(บริหารงานยุติธรรม)

งดการสอบสวน คดีพิเศษ เรื่องที่ควรรู้

ด้ ว ยสภาวะบ้ า นเมื อ งแบ่ ง ฝั ก แบ่ ง ฝ่ า ย อาจท� ำ ให้ ผู ้ ไ ม่ ห วั ง ดี หรื อ คนไม่ เ ข้ า ใจข้ อ กฎหมาย ตั้ ง ข้ อ สงสั ย เกี่ ย วกั บ การท� ำ งาน ของกระบวนการยุติธรรมไทย โดยเฉพาะคดีที่เกี่ยวข้องกับการเมือง หรื อ คดี บ างประเภท ที่ ไ ม่ มี ค วามคื บ หน้ า และยั ง มี ข ้ อ สงสั ย ไปถึ ง การท�ำงานของเจ้าหน้าที่รัฐ อาทิ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ การงดการสอบสวนคดีต่างๆ โดยผู้เสียหายเข้าใจว่า ไม่ได้รับความเป็นธรรมในชั้นสอบสวน โดยมีตัวออย่างจากสถิติส�ำนวน การงดการสอบสวนเป็นจ�ำนวนมาก อาทิ คดีลักทรัพย์ คดีฆ่าผู้อื่น โดยเจตนา ฯลฯ รวมทั้งคดีที่ได้รับความสนใจจากประชาชน เช่น คดีก่อการร้าย คดีเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ชุมนุมปี พ.ศ. 2553 และมี คดีพิเศษจ�ำนวนหลายคดีที่คณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษมีความเห็น ให้งดการสอบสวน ไปยังพนักงานอัยการคดีพิเศษ 22 | Justice Magazine Ministry of Justice


เรื่องดังกล่าวก่อให้เกิดเป็นความสงสัย กับผูเ้ สียหายและประชาชนโดยทัว่ ไป ว่าท�ำไม พนั ก งานสอบสวน และพนั ก งานอั ย การ ถึ ง ไม่ สั่ ง ฟ้ อ งคดี รวมทั้ ง ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตว่ า การสอบสวนคดี มีความละเอียดถีถ่ ว้ น สมบูรณ์ และมี ข ้ อ กฎหมาย หลั ก เกณฑ์ พิ จ ารณา รองรับเอาไว้หรือไม่ พร้อมความเคลือบแคลงใจ ว่ามีอะไรอยู่เบื้องหลังหรือไม่ ผู ้ เ ขี ย นจึ ง ขอถื อ โอกาสรวบรวม หลักกฎหมาย ค�ำอธิบาย ตัวอย่าง คดีงดการ สอบสวน ทีน่ า่ สนใจและเป็นประโยชน์นำ� เสนอ แก่ผศู้ กึ ษากฎหมาย อาทิ นักศึกษา ทนายความ พนักงานในกระบวนการยุตธิ รรม และประชาชน ทั่วไป ให้เกิดความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย เกี่ ย วกั บ การงดการสอบสวน และสามารถ น�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ดังต่อไปนี้ ส�ำหรับค�ำว่า “งดการสอบสวน” ไม่มี ค�ำอธิบายความหมายไว้โดยเฉพาะ แต่ปรากฏ อยู ่ ใ นประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณา ความอาญา และผู ้ ที่ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมโดยเฉพาะ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ จะคุน้ เคย ค�ำว่า “งดการสอบสวน” เป็นอย่างดี โดยมีหลักกฎหมาย และประเภท ของส�ำนวนการสอบสวน ดังนี้ ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณา ความอาญา มาตรา 140 บั ญ ญั ติ ไ ว้ ว ่ า เมื่ อ พนั ก งานสอบสวนผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการ สอบสวนเห็ น ว่ า การสอบสวนเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ให้จัดการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 1. ถ้ า ไม่ ป รากฏว่ า ผู ้ ใ ดเป็ น ผู ้ ก ระท� ำ ความผิดและความผิดนั้นมีอัตราโทษจ�ำคุก อย่างสูงไม่เกินสามปี ให้พนักงานสอบสวน งดการสอบสวน และบั น ทึ ก เหตุ ที่ ง ดนั้ น ไว้ แล้ ว ให้ ส ่ ง บั น ทึ ก พร้ อ มกั บ ส� ำ นวนไปยั ง พนั ก งานอั ย การ ถ้ า อั ต ราโทษอย่ า งสู ง เกิ น สามปีให้พนักงานสอบสวนส่งส�ำนวนไปยัง พนักงานอัยการ พร้อมทัง้ ความเห็นทีค่ วรให้งด การสอบสวน ถ้ า พนั ก งานอั ย การสั่ ง ให้ ง ด หรื อ ให้ ท� ำ การสอบสวนต่ อ ไป ให้ พ นั ก งาน สอบสวนปฏิบัติตามนั้น

ในฐานะเป็นพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ที่มีอ�ำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการ สอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 (ที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551) มาตรา 23 ในการปฏิบัติหน้าที่ เกี่ยวกับคดีพิเศษ ให้พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ มีอ�ำนาจสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษ และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจชั้นผู้ใหญ่หรือพนักงานสอบสวน ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แล้วแต่กรณี ให้เจ้าหน้าทีค่ ดีพเิ ศษมีหน้าทีช่ ว่ ยเหลือพนักงานสอบสวนคดีพเิ ศษในการปฏิบตั หิ น้าที่ เกี่ยวกับคดีพิเศษ เพียงเท่าที่พนักงานสอบสวนคดีพิเศษมอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าที่ ดังกล่าวให้เจ้าหน้าที่คดีพิเศษเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจ หรือพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในความหมาย พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ และเจ้าหน้าที่คดีพิเศษ มีอ�ำนาจในการ สืบสวนสอบสวน เช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจชั้นผู้ใหญ่ หรือพนักงาน สอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แต่เฉพาะการสืบสวนสอบสวน ที่เป็นคดีพิเศษเท่านั้น

คดีงดการสอบสวนเกี่ยวข้องกับคดีพิเศษและพนักงานสอบสวนคดีพิเศษอย่างไร และพนักงานสอบสวนคดีพิเศษด�ำเนินการกับคดีงดการสอบสวนอย่างไร ดังที่กล่าวข้างต้น พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ มีอ�ำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานสอบสวน ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หลั ก กฎหมาย คื อ เมื่ อ พนั ก งานสอบสวนผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ มี ห น้ า ที่ ใ นการรวบรวม พยานหลักฐานที่เป็นคดีพิเศษเห็นว่าการสอบสวนเสร็จแล้ว น�ำส�ำนวนส่งพนักงานอัยการ คดีพิเศษ พิจารณาสั่งคดีต่อไป สรุป ส�ำนวนการสอบสวนที่พนักงานสอบสวนเสร็จสิ้น และน�ำส่งพนักงานอัยการ แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ 2 ประเภท คือ 1. ส�ำนวนไม่ปรากฏตัวผู้กระท�ำผิด (งดการสอบสวน) 2. ส�ำนวนรู้ตัวผู้กระท�ำผิด วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 23


เมื่ อ พนั ก งานสอบสวนผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ ในการสอบสวน เห็นว่าการสอบสวนเสร็จแล้ว พนักงานสอบสวนที่มีอ�ำนาจสรุปส�ำนวนการ สอบสวน คือ พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ เท่ า นั้ น มิ ฉ ะนั้ น มี ผ ลท� ำ ให้ ก ารสอบสวน ไม่ชอบด้วยกฎหมาย พนักงานอัยการไม่มี อ� ำ นาจฟ้ อ ง ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิจารณาความอาญา มาตรา 120 (เทียบฎีกา ที่ 3466/2557) ปกติ ส� ำ นวนที่ บ กพร่ อ ง ในสาระส�ำคัญเช่นนี้ พนักงานอัยการจะไม่รบั ส�ำนวน เพื่อพนักงานสอบสวนน�ำไปแก้ไข ให้ถูกต้องก่อนส่งส�ำนวนมา ข้ อ สั ง เกต เมื่ อ พนั ก งานสอบสวน ผู้รับผิดชอบเห็นว่าการสอบสวนเสร็จแล้ว และส่ ง ส� ำ นวนไปยั ง พนั ก งานอั ย การแล้ ว ถือว่าหน้าที่ของพนักงานสอบสวนจบสิ้นลง แม้จะพบหลักฐานใหม่ในภายหลัง พนักงาน สอบสวนจะเพิม่ เติมเองไม่ได้ เว้นแต่พนักงาน อั ย การจะสั่ ง ให้ ส อบสวนเพิ่ ม เติ ม เท่ า นั้ น ศาลฎีกาให้เหตุผลว่า หากยอมให้พนักงาน สอบสวนเข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งโดยล� ำ พั ง ได้ อี ก อาจท�ำให้เสียหายแก่คดี โดยพนักงานอัยการ ผู้รับผิดชอบไม่ได้รู้เห็นด้วย (ฎีกาที่ 9/2481) และในกรณีที่พนักงานอัยการสั่งให้สอบสวน เพิ่มเติมพนักงานสอบสวนท�ำการสอบสวน เพิม่ เติมได้ เฉพาะในประเด็นทีพ่ นักงานอัยการ สัง่ เท่านัน้ เช่น พนักงานอัยการสัง่ ให้ทำ� แผนที่ บริเวณที่เกิดเหตุอย่างละเอียดกับถ่ายภาพ บริเวณสถานที่ข้างเคียงพนักงานสอบสวน จะไปสอบปากค�ำพยานบุคคลเพิม่ เติมไม่ได้

24 | Justice Magazine Ministry of Justice

ตามบทบั ญ ญั ติ ข ้ า งต้ น ส� ำ นวนการ สอบสวนไม่ปราฏตัวผู้กระท�ำผิด ได้แก่ กรณี 1. ภายหลั ง จากการสอบสวนแล้ ว ไม่ทราบว่าใครเป็นคนร้าย เช่น ปิดประตูบา้ น แล้วออกไปท�ำธุระนอกบ้าน กลับมาบ้าน ถูกคนร้ายงัด มีสิ่งของหายไป ไม่ทราบว่าใคร เป็นคนร้าย หรือในคดีฆ่าคนตาย ไม่ทราบว่า ใครเป็นคนฆ่าผู้ตาย 2. มีผรู้ เู้ ห็นการกระท�ำความผิดทีเ่ กิดขึน้ แต่ไม่รู้ว่าเป็นใคร เช่น มีคนเห็น คนท�ำผิด เป็นเงาตะคุ่มๆ มองเห็นไม่ชัด รูปร่างสูงๆ ไม่ทราบว่าเป็นใคร หรือในทีม่ ดื มองไม่เห็นชัด ว่าเป็นใคร การสรุปส�ำนวนของพนักงานสอบสวน ผูร้ บั ผิดชอบส�ำนวน ตามมาตรา 140 ได้บญ ั ญัติ กรณีไม่ปรากฏตัวผูก้ ระท�ำผิด (ไม่รตู้ วั ผูก้ ระท�ำ ความผิด) แบ่งเป็น 2 กรณี (ตามอัตราโทษ) 1) กรณี ค วามผิ ด มี อั ต ราโทษจ� ำ คุ ก อย่ า งสู ง ไม่ เ กิ น 3 ปี พนั ก งานสอบสวน มีอำ� นาจงดการสอบสวนได้เอง แล้วส่งส�ำนวน ไปยังพนักงานอัยการ 2) กรณี ค วามผิ ด มี อั ต ราโทษจ� ำ คุ ก อย่ า งสู ง เกิ น 3 ปี พนั ก งานสอบสวน ไม่มีอ�ำนาจงดการสอบสวนได้เอง ต้องส่ง ความเห็ น ควรให้ ง ดการสอบสวนไปยั ง พนักงานอัยการ หน้ า ที่ พ นั ก งานอั ย การในส� ำ นวน ไม่ปรากฏตัวผูก้ ระท�ำความผิด ไม่วา่ ความผิด นั้นจะเป็นประเภท มีอัตราโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปีหรือสูงกว่า 3 ปี ก็ตามพนักงานอัยการ จะสั่งได้ 2 กรณี คือ

1) สั่งให้งดการสอบสวน 2) สั่ ง ให้ ท� ำ การสอบสวนต่ อ ไปได้ (พนักงานอัยการอาศัยอ�ำนาจ ตามมาตรา 140 วรรคสาม สัง่ ให้พนักงานสอบสวนท�ำการ สอบสวนต่อไปได้ เช่น ควรจะสอบบุคคลนี้ เพราะอาจท�ำให้รู้ตัวผู้กระท�ำความผิดได้ ข้อสังเกต การส่งส�ำนวนการสอบสวน ในคดีอาญาทัว่ ไป พนักงานสอบสวนผูร้ บั ผิดชอบ ต้องส่งส�ำนวนไปยังพนักงานอัยการในเขต ท้ อ งที่ ส่ ว นพนั ก งานสอบสวนคดี พิ เ ศษ ต้องส่งส�ำนวนไปยังพนักงานอัยการคดีพเิ ศษ เว้นแต่ 2 กรณี ที่ต้องส่งส�ำนวนไปยังอัยการ สูงสุด คือ 1) ส�ำนวนการกระท�ำความผิด นอกราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมาย วิธพี จิ ารณาความอาญา ตามมาตรา 20 และ 2) ส�ำนวนคดีวสิ ามัญฆาตกรรม ตามประมวล กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 143 วรรคท้าย


กรณีศึกษา (คดีพิเศษที่..ปกปิด/....) ตามมติ ค ณะกรรมการคดี พิ เ ศษ (กคพ.) ได้ รั บ คดี ก าร เสียชีวิตจากเหตุการณ์ชุมนุมปี พ.ศ. 2553 เป็น (คดีพิเศษ ที.่ .ปกปิด/....) พนักงานสอบสวนคดีพเิ ศษ ผูร้ บั ผิดชอบได้ทำ� การ สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน เห็นว่าการสอบสวนเสร็จสิน้ แล้ว โดยมีความผิดฐานฆ่าผูอ้ นื่ โดยเจตนา ส่งส�ำนวนพนักงานอัยการ คดีพิเศษ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 140 เป็นคดีไม่ปรากฏตัวผู้กระท�ำความผิดตามมาตรา 140 (1) วรรคสองในชัน้ สอบสวนโดยพิจารณาตามประมวลกฎหมาย วิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา 67 บัญญัตไิ ว้วา่ จะออกหมายจับ บุ ค คลที่ ยั ง ไม่ รู ้ จั ก ชื่ อ ก็ ไ ด้ แต่ ต ้ อ งบอกรู ป พรรณของผู ้ นั้ น ให้ละเอียดเท่าที่จะท�ำได้ จากบทบัญญัติ เห็นได้ว่า ถึงแม้จะไม่ทราบชื่อหรือที่อยู่ ของผู้ต้องหาหรือผู้กระท�ำผิด เพียงแต่รู้รูปพรรณของผู้กระท�ำ ความผิดกฎหมาย ก็ยอมรับว่าเป็นเรื่องรู้ตัวผู้กระท�ำความผิด จึงยอมให้ออกหมายจับได้ แต่เมื่อพนักงานสอบสวนได้รวบรวม พยานหลั ก ฐานเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ไม่ มี พ ยานใดๆ ที่ ยื น ยั น ว่ า จ�ำผู้ต้องหาได้ และไม่สามารถแจ้งรูปพรรรณผู้ต้องหาได้ ก็ย่อม จะถือว่าไม่รู้ตัวผู้กระท�ำความผิดนั่นเอง ข้อหาฆ่าผูอ้ นื่ โดยเจตนา : มีอาวุธปืนและเครือ่ งกระสุนปืน ไว้ในการครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต, พาอาวุธปืนติดตัวไป ในเมือง หมู่บ้าน หรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาตให้มี อาวุ ธ ปื น ติ ด ตั ว และไม่ มี เ หตุ จ� ำ เป็ น เร่ ง ด่ ว นตามสมควร แก่พฤติการณ์, ยิงปืนซึ่งใช้ดินระเบิดโดยไม่ใช่เหตุ ในเมือง หมู่บ้าน หรือที่ชุมชน หลักฐานทางคดี : มีความเห็นว่า การกระท�ำของคนร้าย มีความผิดฐาน “ข้อหาฆ่าผูอ้ นื่ โดยเจตนา, มีอาวุธปืนและเครือ่ ง กระสุนปืนไว้ในการครอบครองโดยไม่ได้รบั อนุญาต, พาอาวุธปืน ติดตัวไปในเมือง หมูบ่ า้ น หรือทางสาธารณะโดยไม่ได้รบั อนุญาต ให้มีอาวุธปืนติดตัวและไม่มีเหตุจ�ำเป็นเร่งด่วนตามสมควรแก่ พฤติการณ์, ยิงปืนซึ่งใช้ดินระเบิดโดยไม่ใช่เหตุ ในเมือง หมู่บ้าน

หรือที่ชุมชน” อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288, 371, 376 และตามพระราชบัญญัตอิ าวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 7, 9 ทวิ วรรคแรก มาตรา 72 วรรคแรก, มาตรา 72 ทวิ วรรคสอง และแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยประกาศของคณะปฏิ รู ป ปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2519 คดีนี้คณะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ได้ท�ำการสืบสวน สอบสวนมาเป็นเวลานานพอสมควรแล้ว แต่ยังไม่ปรากฏพยาน หลักฐานว่าผูใ้ ดเป็นผูก้ ระท�ำความผิด จึงเห็นควรงดการสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 140 (1) วรรคสอง และส่ ง ส� ำ นวนการสอบสวนให้ พ นั ก อั ย การ คดีพิเศษ พิจารณาด�ำเนินการต่อไป คดี ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น เป็ น คดี ฆ ่ า ผู ้ อื่ น ถึ ง แก่ ค วามตาย และพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ได้ท�ำการสอบสวนเป็นเวลา พอสมควรแล้ว ไม่สามารถทราบได้ว่าผู้ใดเป็นผู้กระท�ำผิด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือไม่ทราบตัวคนร้ายนั่นเอง ตามวันเวลา เกิดเหตุ ซึ่งมาตรา 140 (1) วรรคสอง, วรรคสาม แห่งประมวล กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาได้บญ ั ญัตวิ า่ ให้พนักงานสอบสวน เสนอความเห็นควรงดการสอบสวนแล้วส่งส�ำนวนไปยังพนักงาน อัยการ พนักงานอัยการ อาจสัง่ ให้งดการสอบสวนหรือให้ทำ� การ สอบสวนต่อไป ให้พนักงานสอบสวนปฏิบัติตามนั้น ในทางปฏิบัติพนักงานอัยการมักจะสั่งงดการสอบสวน ตามที่พนักงานสอบสวนเสนอมา แต่ผลในทางกฎหมายการ งดการสอบสวน ไม่ท�ำให้คดีถึงที่สุด (ต้องดูโทษตามกฎหมาย อาญา มาตรา 288 ต้องระวางโทษประหารชีวิตหรือจ�ำคุกตั้งแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี มีอายุความ 20 ปี ) หากต่อมาภายในอายุความ 20 ปี พนักงานสืบสวนสอบสวนได้สอบสวน จนทราบว่าใครเป็น ผูก้ ระท�ำผิดไม่วา่ จะจับตัวได้หรือไม่ ก็ตอ้ งด�ำเนินการสอบสวนใหม่ แล้วเสนอพนักงานอัยการว่าควรสัง่ ฟ้องหรือสัง่ ไม่ฟอ้ งอีกครัง้ หนึง่

เชือ่ ว่าบทความนี ้ จะท�ำให้ประชาชนทัว่ ไปเข้าใจกระบวนการ ยุติธรรม โดยเฉพาะเรื่องงดการสอบสวนว่าท�ำได้มีกฎหมาย รองรับ มิใช่เจ้าหน้าที่รัฐบกพร่องหรือผู้มีอ�ำนาจทางการเมือง สั่งให้ยุติคดีตามอ�ำเภอใจแต่อย่างใด

เอกสารอ้างอิง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ.๒๔๗๗ พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.๒๕๔๗ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ สหรัฐ กิติศุภกร, หลักและค�ำพิพากษา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, กรุงเทพ : ส�ำนักพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน),๒๕๕๗. วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 25


คุกองบรรณาธิ ยเฟื่อการงเรื่องยุติธรรม

ไทย-เวียดนาม สานสัมพันธ์ 40 ปี

สร้างเครือข่ายกิจการยุติธรรม และกฎหมาย

การเดินทางมาครั้งนี้ถือเป็นโอกาสที่ดีทป ี่ ระเทศไทย และเวียดนามจะได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในฐานะ ประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อร่วมกันพัฒนา ข้อกฎหมายอันจะน�ำไปสู่ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคม ของทั้งสองประเทศต่อไป

26 | Justice Magazine Ministry of Justice

ประเทศไทยและสาธารณรัฐสังคมนิยม เวี ย ดนามได้ มี ก ารสถาปนาความสั ม พั น ธ์ ทางการทูตกันมาตั้งแต่ วันที่ 6 สิงหาคม 2519 และจะครบรอบ 40 ปี ในปี 2559 โดยในปั จ จุ บั น ความสั ม พั น ธ์ ข องทั้ ง สอง ประเทศอยู่ในระดับที่ดีมาก มีการไปมาหาสู่ ระหว่างกันอย่างต่อเนือ่ ง และทีผ่ า่ นมาได้มกี าร ลงนามความร่ ว มมื อ ด้ า นกิ จ การยุ ติ ธ รรม และกฎหมายระหว่ า งกระทรวงยุ ติ ธ รรม แห่งราชอาณาจักรไทย และกระทรวงยุตธิ รรม แห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เมือ่ วันที่ 23 มีนาคม 2558 ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม


เมื่ อ วั น ที่ 25 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วย Mr. Ha Hung Cuong รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นประธาน ในพิธลี งนามความร่วมมือด้านกิจการยุตธิ รรม และกฎหมายระหว่ า งกระทรวงยุ ติ ธ รรม แห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวงยุตธิ รรม แห่ ง สาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 โดยมีนายชาญเชาวน์ ไชยานุกจิ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วย ผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม และคณะท�ำงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรมแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนามเข้าร่วม ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 1 กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ ศู น ย์ ร าชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า ขณะนี้ ประเทศไทยและสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย ม เวี ย ดนามอยู ่ ใ นช่ ว งของการวางรากฐาน ความยุติธรรมสู่ชุมชนโดยมีเป้าหมายส�ำคัญ คื อ ประชาชนในทุ ก พื้ น ที่ จ ะต้ อ งได้ รั บ การอ�ำนวยความยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน จึ ง ถื อ เป็ น เรื่ อ งน่ า ยิ น ดี อ ย่ า งยิ่ ง ที่ ทั้ ง สอง ประเทศจะประสานความร่ ว มมื อ เพื่ อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�ำงานรวมทั้ง ร่ ว มกั น พั ฒ นาข้ อ กฎหมายเพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการยุ ติ ธ รรมให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม ด้าน Mr. Ha Hung Cuong รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรมสาธารณรั ฐ สังคมนิยมเวียดนาม กล่าวว่า ประเทศไทย ประสบความส�ำเร็จในหลายๆ เรื่อง เกี่ยวกับ

การสร้างกระบวนการยุติธรรมสู่ชุมชน จึงมี ความหวังว่าจะได้เรียนรู้ประสบการณ์และ แนวทางการท� ำ งานของกิ จ การด้ า นความ ยุติธรรม เพื่อน�ำไปเป็นต้นแบบการพัฒนา กระบวนการยุติธรรมของเวียดนามให้ดีขึ้น พร้อมกล่าวว่า การเดินทางมาครั้งนี้ถือเป็น โอกาสที่ดีที่ประเทศไทยและเวียดนามจะได้ สร้างความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันในฐานะประเทศ สมาชิ ก ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น เพื่อร่วมกันพัฒนาข้อกฎหมายอันจะน�ำไป สู ่ ค วามก้ า วหน้ า ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม ของทั้งสองประเทศต่อไป

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 27

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 27


บุคลากรที่มีคุณภาพและศักยภาพ เพื่อน�ำไป สู่การเปลี่ยนแปลงในการปฏิรูปกระบวนการ ยุติธรรมของประเทศเวียดนาม - ศึ ก ษาดู ง านเนติ บั ณ ฑิ ต ยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อศึกษาโครงสร้าง ขององค์ ก รและเรี ย นรู ้ ก ารผลิ ต บุ ค ลากร ด้านงานยุติธรรม ตลอดจนเยี่ยมชมการเรียน การสอนของผูเ้ ข้าอบรมศึกษากฎหมาย ส�ำหรับการลงนามความร่วมมือฯ ระหว่าง - ศึกษาดูงานกรมบังคับคดี เพือ่ เยีย่ มชม กระทรวงยุ ติ ธ รรมแห่งราชอาณาจัก รไทย ระบบโครงสร้างและข้อมูลเกีย่ วกับการบังคับ และกระทรวงยุ ติ ธ รรมแห่ ง สาธารณรั ฐ คดีทางแพ่งและคดีลม้ ละลายของประเทศไทย สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม ได้ ก� ำ หนดขอบเขต พร้อมเยี่ยมชมการสาธิตการขายทอดตลาด ของความร่วมมือในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ซึง่ เป็นทีย่ อมรับตามมาตรฐานสากล และการ - การศึ ก ษาการด� ำ เนิ น งานของ คณะผูแ้ ทนของทัง้ สองประเทศ การแลกเปลีย่ น ด้านกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย พัฒนาระบบแอพพลิเคชัน่ ของกรมบังคับคดี ประสบการณ์ ใ นการด� ำ เนิ น งาน รวมถึ ง เพื่อเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ - ศึ ก ษ า ดู ง า น ค ณ ะ นิ ติ ศ า ส ต ร ์ แนวทางในการพัฒนาการบังคับคดีทางแพ่ง ด�ำเนินงานด้านกระบวนการยุติธรรม อันจะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) แนวทางการเผยแพร่ความรูด้ า้ นกระบวนการ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ และสร้ า ง เพื่ อ ร่ ว มแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ด้ า นระบบการ ยุตธิ รรม และกระบวนการไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท เครือข่ายการด�ำเนินงานด้านกระบวนการ ศึ ก ษางานยุ ติ ธ รรม และเสริ ม สร้ า งความ ร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันเข้าศึกษา ในระดับท้องถิน่ ยุตธิ รรมร่วมกันของทัง้ สองประเทศ ดังนี ้ - ความร่วมมือในการจัดการฝึกอบรม - ศึ ก ษาดู ง านศาลฎี ก า เพื่ อ หารื อ การด� ำ เนิ น งานของหน่ ว ยงานต่ า งๆ ด้ า นกฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรม ข้อราชการเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ในกระบวนการยุติธรรม ได้แก่ ส�ำนักงาน การแลกเปลี่ยนแนวทางในการด�ำเนินงาน ของกระบวนการยุ ติ ธ รรม ภายหลั ง จาก กิ จ การยุ ติ ธ รรม (กระบวนการจั ด การ องค์ ค วามรู ้ ด ้ า นกฎหมายและบุ ค ลากร ศาลแยกการท�ำงานออกจากกระทรวงยุตธิ รรม ฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รต่ า งๆ) กรมบั ง คั บ คดี เช่ น การแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาฝึ ก งาน - ศึ ก ษาดู ง านส� ำ นั ก งานอั ย การ (กระบวนการบั ง คั บ คดี ท างแพ่ ง ) และ ั ฑิตยสภา (หลักสูตรการเรียนการสอน) เจ้าหน้าที่ และนักวิจยั ด้านกฎหมาย เป็นต้น เ พื่ อ แ ล ก เ ป ลี่ ย น แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า เนติบณ - การแลกเปลี่ ย นเอกสารวิ ช าการ ความสั ม พั น ธ์ แ ละความร่ ว มมื อ ในกรอบ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ดู ง านและ ด้ า นกฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรม อาเซียนทางด้านกฎหมายและคดีอาญา การลงนามความร่ ว มมื อ ด้ า นการกิ จ การ และบทความต่างๆ - ศึกษาดูงานส�ำนักงานกิจการยุตธิ รรม ยุ ติ ธ รรมและทางด้ า นกฎหมายในครั้ ง นี้ - การร่วมมือกันในการด�ำเนินงานด้าน โดยได้เข้าศึกษาดูงานสถาบันพัฒนาบุคลากร จะช่วยกระชับความสัมพันธ์อนั ดีทมี่ มี าตลอด กฎหมายของทั้ ง สองประเทศในทั้ ง ระดั บ ในกระบวนการยุ ติ ธ รรม ซึ่ ง จะน� ำ ไปเป็ น 40 ปี ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นไปอีก ภูมิภาค และระดับนานาชาติภายใต้กรอบ แนวทางในการประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ การผลิ ต ของอาเซียน นอกจากนี้ ในการเดิ น ทางมาเยื อ น ประเทศไทยครั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุ ติ ธ รรมสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม และคณะได้ เ ข้ า ศึ ก ษาดู ง านหน่ ว ยงาน

28 | Justice Magazine Ministry of Justice


ยุกองบรรณาธิ ติธรรมเพื ่อประชาชน การ

“ยุติธรรม”

เดินหน้าแผนประชารัฐร่วมใจ

สร้างหมู่บ้านชุมชนมั่นคง ปลอดภัยยาเสพติด

เมื่อวันพุธที่ 9 มีนาคม 2559 เวลา 14.00 น. พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในฐานะผู้อ�ำนวยการ ศู น ย์ อ� ำ นวยการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด แห่ ง ชาติ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติ ด ครั้ ง ที่ 1/2559 โดยมี พลเอก นิ วั ต ร มี น ะโยธิ น ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงยุติธรรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม พร้ อ มด้ ว ยคณะกรรมการฯ ผู ้ บ ริ ห ารและ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมฯ ณ ห้องประชุม ชิดชัย วรรณสถิตย์ ส�ำนักงาน ป.ป.ส. กรุงเทพฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า กระทรวงยุติธรรม มีความพยายามอย่างยิ่งที่จะด�ำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไป จากประเทศ โดยบู ร ณาการความร่ ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น เพื่ อ สกั ด กั้ น สารตั้ ง ต้ น และเคมี ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ผ ลิ ต ยาเสพติ ด ตลอดจน

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 29


การปราบปรามยาเสพติ ด ในแหล่ ง ชุ ม ชน ส่ ว นในด้ า นการป้ อ งกั น ได้ เ ปิ ด โอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมมากขึน้ เพราะจะ ท�ำให้สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่าง ยั่ ง ยื น และเข้ า ถึ ง ระดั บ ชุ ม ชน กระทรวง ยุ ติ ธ รรมจึ ง ได้ ร ่ ว มกั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จั ด ตั้ ง แผนประชารั ฐ ร่ ว มใจ สร้างหมูบ่ า้ นชุมชนมัน่ คง ปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2559-2560 อันเป็นแผนการด�ำเนินงาน ที่มีเป้าหมายส�ำคัญเพื่อเอาชนะยาเสพติด ในระดั บ หมู ่ บ ้ า นและชุ ม ชนทั่ ว ประเทศ จ� ำ นวน 81,905 แห่ ง ภายในปี 2560 ด้ ว ยกลไกและกระบวนการของประชารัฐ ที่ประชาชนจะเข้ามามีบทบาทในด้านการ ป้องกันดูแลปัญหายาเสพติดในชุมชนของ ตนเองพร้อมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม กล่ า วต่ อ ว่ า การแก้ ป ั ญ หายาเสพติ ด อย่างยั่งยืนจะต้องสลายโครงสร้างปัญหา ด้วยการลดและขจัดอิทธิพลของกลุ่มหรือ เครือข่ายยาเสพติด รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่ เ ข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด จึ ง ได้ เ พิ่ ม มาตรการเอาผิดและด�ำเนินการกับเจ้าหน้าที่ รัฐที่เข้าไปเกี่ยวข้อง โดยกรณีที่มีการพบเห็น สถานการณ์ ป ั ญ หายาเสพติ ด ในพื้ น ที่ แ ละ ยังไม่มีการด�ำเนินการใดๆ ตามค�ำสั่งภายใน ระยะเวลา 30 วัน ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งค�ำสั่ง ให้ ถื อ ว่ า เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ที่ รั บ ผิ ด ชอบพื้ น ที่ ดั ง กล่ า วปล่ อ ยปละละเลย หรื อ เพิ ก เฉย ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ หากมีความจ�ำเป็น 30 | Justice Magazine Ministry of Justice

ก็ พ ร้ อ มจะใช้ อ� ำ นาจตามมาตรา 44 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย ฉบั บ ชั่ ว คราว พ.ศ. 2557 เพื่ อ พิ จ ารณา ด�ำเนินการทางวินัยและการปกครองต่อไป ซึง่ มาตรการดังกล่าวจะท�ำให้ประชาชนในพืน้ ที่ เกิดความมั่นใจที่จะเข้าสู่กระบวนการแก้ไข ปั ญหายาเสพติ ด ร่ ว มกั บหน่ ว ยงานของรัฐ และลดความรู้สึกกังวลต่อปัญหายาเสพติด เพราะทีผ่ า่ นมาแม้วา่ ประเทศไทยจะสามารถ ปราบปรามและลดจ�ำนวนผูเ้ สพยาเสพติดได้มาก แต่ประชาชนยังคงรูส้ กึ กังวลว่ายาเสพติด เป็นภัยที่อยู่ใกล้ตัวและเป็นอันตรายต่อชีวิต จึงมีการเสนอแผนประชารัฐร่วมใจฯ เข้าสู่ การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ซึ่งหากผ่าน ความเห็นชอบจะเริม่ ด�ำเนินการทันทีโดยเริม่ จากพืน้ ทีช่ มุ ชนสีแดงทีม่ ปี ญ ั หายาเสพติดมาก คาดว่าเมื่อด�ำเนินการตามมาตรการต่างๆ ได้ ค รบถ้ ว นแล้ ว จะสามารถเห็ น ผลอย่ า ง ชัดเจนขึ้นได้ภายใน 2 เดือน ส�ำหรับการประชุมครัง้ นี้ ทีป่ ระชุมมีมติ เห็ น ชอบแผนประชารั ฐ ร่ ว มใจฯ โดยแผน ปฏิบตั กิ ารจะแบ่งออกเป็น ๓ ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 (เมษายน – กั น ยายน 2559) พัฒนารูปแบบและแก้ปัญหาพื้นที่มี ปัญหามาก ระยะที่ 2 (ตุลาคม 2559 กันยายน 2560) ขยายผลลดสถานการณ์ ป ั ญ หา ในหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ ระยะที่ 3 (ตุลาคม 2560 เป็นต้นไป) ด�ำรงภารกิจอย่างต่อเนื่อง


นอกจากนี้ ที่ประชุมยังมีมติเห็นชอบ เรื่ อ งการมอบอ� ำ นาจให้ผู้อ�ำนวยการศูน ย์ อ�ำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แห่งชาติ เสนอต่อหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ในการด�ำเนินการต่อเจ้าหน้าที่ของ รัฐที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรือปล่อยปละ ละเลยให้ มี ก ารกระท� ำ ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติด รวมถึงเห็นชอบมาตรการส�ำคัญ 9 มาตรการ ตามแผนประชารั ฐ ร่ ว มใจฯ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ • จั ด หน่ ว ยเฉพาะกิ จ ด้ า นการข่ า ว และปราบปรามยาเสพติ ด โดยสนธิ ก� ำ ลั ง พลเรือน-ต�ำรวจ-ทหาร ปฏิบัติการข่าวและ ปราบปรามยาเสพติดตามทีผ่ อู้ ำ� นวยการศูนย์ อ�ำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แห่งชาติมอบหมาย • ใช้อ�ำนาจตาม พ.ร.บ.ป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2539 ให้บุคคล ผู ้ อ าจมี พ ฤติ ก ารณ์ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด มารายงานตัวเพื่อปรับทัศนคติ • จัดระบบการข่าวชุมชนให้มีข้อมูล ผู ้ ค ้ า /ผู ้ เ สพในพื้ น ที่ และสามารถรายงาน แจ้งข่าวสารยาเสพติดเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัต ิ

การพิ สู จ น์ ท ราบ และปราบปรามตลอด 24 ชั่วโมง • ด� ำ เนิ น งานโครงการที่ ก� ำ หนดไว้ ตามแผนให้ประสานสอดคล้องและเข้าถึง ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน • จัดก�ำลังภาคประชาชนให้สามารถ เฝ้ า ระวั ง และดู แ ลปั ญ หาของชุ ม ชนอย่ า ง ต่อเนื่อง โดยมีศูนย์/สถาบัน/กลไก ท�ำหน้าที่ พัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นระบบ และรูปธรรม • จัดศูนย์ปฏิบัติการศูนย์อำ� นวยการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ เพื่ออ�ำนวยการประสาน ควบคุม ก�ำกับการ ปฏิบัติการ และรายงานผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯ และผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งผ่ า นระบบการสื่ อ สาร ทางไกล • ก� ำ หนดให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิดชอบของผูบ้ ริหาร ผูน้ ำ� พืน้ ที่ ต้องรับผิดชอบ การจัดการและควบคุมสถานการณ์ปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่รับผิดชอบ • จั ด การตรวจ นิ เ ทศ ติ ด ตาม ประเมิ น ผล ระดั บ จั ง หวั ด อ� ำ เภอ จนถึ ง หมู่บ้าน/ชุมชน และน�ำผลการตรวจนิเทศ

และติดตามประกอบการพิจารณาให้คณ ุ ให้โทษ • ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละปฏิ บั ติ ก าร จิตวิทยาเชิงรุก ทั้งในการสร้างความเข้าใจ ดึงมวลชนเข้าร่วมต่อต้านยาเสพติด การรับรู้ ของประชาชนต่อสถานการณ์และการด�ำเนิน งานอย่างต่อเนื่อง

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 31


ทีกองบรรณาธิ ่นี่แจ้งการวัฒนะ เปิดนิทรรศการในการประชุมกรรมาธิการยาเสพติด สมัยที่ 59 พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมคณะ เข้าร่วม การประชุมกรรมาธิการยาเสพติด สมัยที่ 59 ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย โอกาสนี้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วย Mr. Yury Fedotov ผูอ้ ำ� นวยการ บริหารส�ำนักงานยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC) เป็นประธาน เปิดนิทรรศการความร่วมมือของประเทศในอนุภมู ภิ าคในโครงการแม่นำ�้ โขงปลอดภัย (Safe Mekong) กับการพัฒนาทางเลือกเพือ่ แก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมีผแู้ ทนระดับ รัฐมนตรีของ 4 ประเทศสมาชิก Safe Mekong ประกอบด้วย เมียนมา สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน และไทย ณ โถง Rotunda ตึก UN กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ทั้งนี้ การจัดนิทรรศการดังกล่าวเป็นกิจกรรม คู่ขนานในระหว่างการประชุมกรรมาธิการยาเสพติด สมัยที่ 59

ประชุมคณะกรรมการอนุญาโตตุลาการ นายชาญเชาวน์ ไชยานุ กิ จ ปลั ด กระทรวง ยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธานการประชุ ม คณะกรรมการ สถาบันอนุญาโตตุลาการ ครัง้ ที่ 2/2559 เพือ่ พิจารณา หลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขคณะกรรมการสถาบั น อนุญาโตตุลาการว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทนผูม้ าช่วย ปฏิบัติหน้าที่ในสถาบันอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2557 ณ ห้องสุขุมวิท ที เอช เอ ซี สถาบันอนุญาโตตุลาการ ชั้น 26 ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร

เสริมศักยภาพการประชาสัมพันธ์ยุคใหม่ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม และโฆษกกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดการอบรม เพื่อพัฒนาทักษะการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารงานยุติธรรม สู่ประชาชน โดยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะ ที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การจั ด ท� ำ สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ นรู ป แบบ อินโฟกราฟฟิก รวมถึงการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของกระทรวงยุติธรรมสู่สาธารณชนได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและทันเหตุการณ์ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

32 | Justice Magazine Ministry of Justice


รับพระราชทานปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ พลเอก ไพบู ล ย์ คุ ้ มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เข้ า รั บ พระราชทานปริ ญ ญา นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ตามทีส่ ภามหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ได้ อ นุ มั ติ ป ริ ญ ญากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ แก่ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงมีผลงาน เป็นทีป่ ระจักษ์ และได้เสียสละ อุทศิ ตนเพือ่ สังคมส่วนรวม รวมทัง้ ได้สร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ ณ อาคารหอประชุม พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

พิธีเททองหล่อพระพุทธรูปเพื่อแผ่นดิน พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็ น ประธานประกอบพิ ธี บ วงสรวงเทพยดาและบู ช าฤกษ์ ใ นพิ ธ ี เททองหล่ อ พระพุ ท ธรู ป เพื่ อ แผ่ น ดิ น เพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า ธรรมบูชา สังฆบูชา และน�ำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และน้อมถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ณ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

ประชุมสามัญมูลนิธิเพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุมสามัญ ประจ�ำปี 2559 มูลนิธิเพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชน ในความดูแลของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนเพื่อรับทราบ ผลการด�ำเนินงานของมูลนิธฯิ ประจ�ำปี 2558 พร้อมทั้งหารือถึงแนวทาง การพัฒนาการจัดกิจกรรมของมูลนิธิฯ ให้สามารถช่วยเหลือเด็กและ เยาวชนในความดูแลของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนและ ศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ณ ห้องประชุม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ชั้น 5 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 33


คุนายพั้มครองคน คุ้มครองสิทธิ สกร เพชรในหิน หัวหน้ากลุ่มงานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

เหยื่ออาชญากรรม ภัยใกล้ตัวที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน

ปัจจุบนั เราคงปฏิเสธไม่ได้วา่ อาชญากรรมเกิดขึน้ ได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งจะเห็นได้จากข่าวหนังสือพิมพ์ โทรทั ศ น์ หรื อ สื่ อ ออนไลน์ ต ่ า งๆ อย่ า งเช่ น กรณี เมื่ อ วั น ที่ 15 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 เวลา 14.00 น. ได้มเี หตุยงิ กันภายในห้างสรรพสินค้าชือ่ ดังย่านรัตนาธิเบศร์ เป็ น เหตุ ใ ห้ ด.ญ.ปภั ส สร ขวั ญ เยี่ ย ม อายุ 9 ขวบ ได้รับบาดเจ็บสาหัสจากกระสูนปืนลูกหลงถูกบริเวณ กรามจนทะลุ จากการสอบถามพีส่ าวของ ด.ญ.ปภัสสรทราบว่า วั น เกิ ด เหตุ ต นได้ พ าน้ อ งสาวซึ่ ง ไม่ ส บายไปหาหมอ จากนัน้ ได้พากันไปเดินเล่นบนชัน้ 2 ของห้างฯ จนกระทัง่ มี เ สี ย งร้ อ งเอะอะโวยวาย ก่ อ นที่ จ ะมี เ สี ย งปื น ดั ง ขึ้ น หลายนั ด “ตอนนั้ น ตกใจมากเห็ น น้ อ งสาว มีเลือดไหลที่ใต้คาง และมารู้ว่ามีการยิงกันน้องสาว โดนลูกหลงจากกระสูนปืน จึงรีบน�ำตัวส่งโรงพยาบาล ไม่คิดว่าจะโชคร้ายขนาดนี้” หรื อ กรณี ข องนางสาวณั ฏ ฐ์ ธ มน ธนไตรสิ ท ธิ์ หรือน้องวันใหม่ อายุ 19 ปี นักเรียนหญิงชัน้ ม.6 ทีถ่ กู คนร้ า ยยิ ง บริ เ วณใบหน้ า 1 นั ด และล� ำ คอ 4 นั ด ขณะซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์เพื่อนไปทานอาหาร ท�ำให้ต้องสูญเสียตาทั้งสองข้าง

34 | Justice Magazine Ministry of Justice


น้องวันใหม่ กล่าวว่า ขณะซ้อนท้ายรถ จักรยานยนต์เพื่อน มีคนร้ายเรียกให้เธอหัน ไปมอง และยิงเข้าทีใ่ บหน้า 1 นัด และล�ำคอ 4 นั ด ข ณ ะ นั้ น รู ้ สึ ก ว ่ า โ ล ก ทั้ ง ใ บ มื ด และทุ ก สิ่ ง ดู เ หมื อ นเคลื่ อ นไหวช้ า ไปหมด ซึง่ หลังเกิดเหตุถกู คนร้ายยิงทีล่ ำ� คอ ท�ำให้เธอ พูดไม่ชดั และทานได้แค่อาหารเหลวเท่านัน้ นายประเสริฐ คุณพ่อของน้องวันใหม่ เล่ า ว่ า วั น เกิ ด เหตุ น ้ อ งวัน ใหม่ ขออนุญ าต ไปกิ น ข้ า วกั บ เพื่ อ น ขณะที่ ซ ้ อ นท้ า ยรถ จั ก รยานยนต์ เ พื่ อ น มื อ ปื น ได้ ต ามประกบ และยิ ง ใส่ ใ นระยะประชิ ด ซึ่ ง ตนยื น ยั น ว่ า ทั้งน้องวันใหม่และเพื่อนไม่ได้มีปัญหากับ กลุ่มมือปืนมาก่อนเลย ด้ า นพี่ ส าวฝาแฝดของน้ อ งวั น ใหม่ กล่าวว่า ครอบครัวจะให้กำ� ลังใจน้องวันใหม่เสมอ มั ก จะย�้ ำ ให้ น ้ อ งอดทน สู ้ เ พื่ อ ตั ว เอง และครอบครัว ส�ำหรับตนนั้นอยากบริจาค ดวงตาให้น้องหนึ่งข้าง แต่คุณหมอกล่าวว่า ทางเทคนิ ค การแพทย์ ไ ม่ ส ามารถท� ำ ได้ น้ อ งวั น ใหม่ เปิ ด ใจว่ า หลั ง เกิ ด เหตุ รู ้ สึ ก จิตใจย�ำ่ แย่ แต่ยงั ดีทหี่ มอจิตเวชเข้ามาพุดคุย และให้ก�ำลังใจ ท�ำให้ยังสู้ต่อไปได้ ตอนนี้ อยากให้คนร้ายออกมาขอโทษกับการกระท�ำ ครั้งนี้ เพราะชีวิตของทุกคนมีคุณค่า

ถ้ า เราวิ เ คราะห์ ส าเหตุ ก ารเกิ ด อ า ช ญ า ก ร ร ม ข อ ง เ จ ้ า ห น ้ า ที่ ต� ำ ร ว จ จะพบว่าการตกเป็นเหยือ่ อาชญากรรมได้นนั้ เกิดจากการคบหากับคนพาล หรือไปอยู่ใน สถานที่อโคจร หรือใช้ชีวิตในเวลายามวิกาล แต่ ใ นปั จ จุ บั น กลั บ พบว่ า อาชญากรรม เกิ ด ขึ้ น ได้ ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา และที่ ส� ำ คั ญ มันเกิดขึ้นได้กับทุกคน จากตัวอย่างข้างต้น มีน้อยคนที่จะคาดเดาได้ว่าการไปเดินเล่น ในห้างสรรพสินค้าซึ่งเป็นสถานที่สาธารณะ จะตกเป็นเหยือ่ ของคมกระสูนปืนลูกหลงได้

ซึ่ ง ต้ อ งสู ญ เสี ย การมองเห็ น หรื อ บางกรณี หัวหน้าครอบครัวถูกท�ำร้ายเสียชีวิตท�ำให้ ครอบครัวต้องพังพินาศ “ผลปวงจากความสูญเสียดังกล่าว จะมีใครบ้างที่เข้ามาช่วยเหลือเยียวยา” การฟ้ อ งร้ อ งเรี ย กค่ า สิ น ไหมทดแทน จากคู่กรณีก็เป็นช่องทางหนึ่ง แต่ส่วนมาก แล้วคูก่ รณีมกั ไม่มที รัพย์สนิ ใดๆ หรือบางครัง้ กว่ า คดี จ ะถึ ง ที่ สุ ด ต้ อ งใช้ ร ะยะเวลานาน หลายปี หมายความว่ า การที่ จ ะได้ รั บ การช่วยเหลือเยียวยามีระยะเวลายาวนานเช่นกัน อย่ า งไรก็ ต าม ยั ง มี ก ารช่ ว ยเหลื อ จากรั ฐ ในกรณีทไี่ ม่สามารถให้ความคุม้ ครองพลเมือง ของตนให้ปลอดภัยจากอาชญากรรมได้

“ไม่มีอาชญากรรมใด ไม่มีความสูญเสีย”

เมื่ อ ตกเป็ น เหยื่ อ อาชญากรรม สิ่ ง ที่ ต ามมาคื อ บุ ค คลดั ง กล่ า วจะพบกั บ ความสู ญ เสี ย ไม่ ว ่ า จะเสี ย ชี วิ ต ร่ า งกาย ได้รบั บาดเจ็บ หรือได้รบั ผลกระทบทางจิตใจ หลายคนต้องพิการถึงขนาดช่วยเหลือตัวเอง ไม่ ไ ด้ ต ้ อ งทนทุ ก ข์ ท รมานตลอดชี วิ ต เช่นน้องวันใหม่

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 35


“รัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันเหยื่ออาชญากรรม ดังนั้น รัฐจึงต้องรับผิดชอบ ชดเชยความเสี ย หายให้ แ ก่ ผู ้ เ สี ย หาย หรื อ เหยื่ อ อาชญากรรม เพราะรั ฐ ไม่ ส ามารถ ให้ความคุ้มครองพลเมืองของตนให้ปลอดภัยจากอาชญากรรมนั้นได้” แนวทางการช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาผู ้ ที่ ต กเป็ น เหยื่ อ อาชญากรรมในคดี อ าญาโดยรั ฐ ตามพระราชบัญญัตคิ า่ ตอบแทนผูเ้ สียหายและค่าทดแทนและค่าใช้คา่ จ่ายแก่จำ� เลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 ได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิการรับความช่วยเหลือจากรัฐของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ อาชญากรรม เนื่ อ งจากการกระท� ำ ผิ ด อาญาของผู ้ อื่ น โดยตนมิ ไ ด้ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ ง กับการกระท�ำความผิด และไม่มโี อกาสได้รบั การบรรเทาความเสียหายโดยทางอืน่ ซึง่ หลักการ เยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาดังกล่าวได้สอดรับกับปฏิญญาว่าด้วยหลักการขั้นพื้นฐาน เกีย่ วกับการอ�ำนวยความยุตธิ รรมแก่ผทู้ ไี่ ด้รบั ความเสียหายจากอาชญากรรม และการใช้อำ� นาจ โดยไม่ถูกต้อง (Declaration of Basic Principles of Justice for Victim of Crime and Abuse of Power) อันเป็นมาตรฐานรองรับสิทธิต่างๆ ของเหยื่อหรือผู้เสียหาย ด้วยการก�ำหนดหลักการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่พึงปฏิบัติต่อผู้เสียหายในคดีอาญานับตั้งแต่ เริ่ ม ด� ำ เนิ น คดี จ นถึ ง ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ในเรื อ นจ� ำ เพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั น สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา และเหยื่ออาชญากรรมว่าจะได้รับการคุ้มครอง การช่วยเหลือ และการปฏิ บั ติ ที่ เ หมาะสม เพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั น ขั้ น พื้ น ฐานในการคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ ผู้เสียหาย รวม 4 ด้าน คือ

ส�ำหรับเหยื่อผู้เสียหายที่จะได้รับการ ช่วยเหลือตามพระราชบัญญัติฯ นี้ จะต้องมี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังนี้ ได้ รั บ ความเสี ย หายแก่ ชี วิ ต และ ร่างกาย เช่น ถูกยิง ถูกแทง ถูกฆ่า ถูกท�ำร้าย ร่างกาย ถูกระเบิด ถูกลูกหลง หรือถูกข่มขืน

การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม (Access to Justice and fair treatment)

ต้ อ งยื่ น ค� ำ ขอรั บ เงิ น ภายในระยะ เวลา 1 ปี นับแต่วันเกิดเหตุ

การได้รับชดใช้ความเสียหายจากผู้กระท�ำผิด (Restitution) การได้รับการชดเขยความเสียหายโดยรัฐ (Compensation) การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เสียหาย (Asstance) เพื่อให้เหยื่อกลับสู่สภาพเดิม รวมทั้งการคุ้มครองความปลอดภัยเมื่อผู้เสียหายเป็นพยานในคดีอาญา

36 | Justice Magazine Ministry of Justice

ต้องเกิดจากการกระท�ำความผิดอาญา ของบุ ค คลอื่ น ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ก รณี ก ารเสี ย ชี วิ ต จากการฆ่าตัวตาย ผู ้ เ สี ย หายต้ อ งไม่ มี ส ่ ว นร่ ว มในการ กระท� ำ ความผิ ด เช่ น ไม่ ใ ช่ ก ารสมั ค รใจ ทะเลาะวิวาท หรือเมาสุราแล้วท�ำร้ายร่างกายกัน


อัตราค่าตอบแทนที่จะได้รับตามหลักเกณฑ์ มีดังนี้ กรณีบาดเจ็บ • ค่าตอบแทนความเสียหายไม่เกิน 30,000 บาท โดยพิจารณาตามความหนักเบา หรือความรุนแรงที่ได้รับ • ค่ารักษาพยาบาล ไม่เกิน 30,000 บาท • ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ ไม่เกิน 20,000 บาท • ค่าขาดประโยชน์ท�ำมาหาได้ วันละ 200 บาท ไม่เกิน 1 ปี เช่น กรณีถูกท�ำร้าย จนพิการท�ำงานไม่ได้ตลอดชีวิต กรณีเสียชีวิต • ค่าตอบแทนกรณีเสียชีวิต จ�ำนวน 30,000-100,000 บาท • ค่าจัดการศพ ไม่เกิน 20,000 บาท • ค่าขาดอุปการะเลี้ยงดู ไม่เกิน 30,000 บาท

ช่ องทางการขอรับความช่วยเหลือ

ส่วนกลาง • ยื่ น ค� ำ ขอได้ ที่ ก รมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ อาคารราชบุ รี ดิ เ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ หรือทาง www.rlpd.go.th สายด่วน 1111 กด 77 ส่วนภูมิภาค • ยื่นค�ำขอได้ที่ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ • สถานีต�ำรวจทั่วประเทศ

“บางครั้งชีวิตอาจเต็มไปด้วยความเลวร้าย แต่ชีวิตก็ต้องด�ำเนินต่อไป” จากสถานการณ์ภัยอาชญากรรม ทีใ่ กล้ตวั เราในทุกขณะ และทุกคนมีโอกาส ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมได้ตลอดเวลา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวง ยุ ติ ธ รรม ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ในการช่วยเหลือเยียวยาผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ ผู้เสียหายในคดีอาญา ขอเป็นส่วนหนึ่ง ที่จะเคียงข้างช่วยเหลือและเป็นก�ำลังใจ ให้กบั ผูท้ ตี่ กเป็นเหยือ่ ในการทีจ่ ะลุกขึน้ ยืน และพร้อมทีจ่ ะก้าวเดินได้อย่างมัน่ คงต่อไป

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 37


คนยุ ติธรรม กองบรรณาธิการ

“รื่นวดี สุวรรณมงคล”

อธิบดีกรมบังคับคดี

กับภารกิจในยุค

Digital Economy ยุคทีร่ ฐั บาลได้กำ� หนดนโยบาย Digital Economy เป็นหลักในการขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิ จ ด้ ว ยการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ท� ำ งานผ่ านรู ป แบบการสื่อสารที่เชื่อมโยง ด้วยระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ขนาดใหญ่ เพื่ อ น� ำ พาภาคธุ ร กิ จ และ เศรษฐกิ จ ของประเทศให้ ก ้ า วหน้ า อย่ า ง รวดเร็วเพียงปลายนิ้วสัมผัส และที่ส�ำคัญ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ นั ก ลงทุ น ที่ มี ต ่ อ ประเทศไทยอีกด้วย กรมบังคับคดี กระทรวง ยุตธิ รรม ได้เดินหน้าปรับปรุงงานด้านบังคับคดี ให้ ค ล้ อ งกั บ สภาพสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นแปลง ไปเพื่ อสนองความต้ อ งการของประชาชน มาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน คอลัมน์คนยุตธิ รรมฉบับนี้ ได้รบั เกียรติ จาก นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดี กรมบั ง คั บ คดี มาบอกเล่ า ถึ ง ทิ ศ ทาง ขับเคลื่อนงานบังคับคดีเพือ่ ก้าวเข้าสู่ Digital Economy ในหลายประเด็นด้วยกัน อธิ บ ดี ก รมบั ง คั บ คดี กล่ า วเริ่ ม ต้ น บทสนทนาว่า พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุตธิ รรม มอบนโยบายอย่าง ชัดเจนว่า Digital Economy มีความเกีย่ วข้อง โดยตรงกับกรมบังคับคดี เพราะเป็นหนทาง ช่ ว ยอ� ำ นวยความสะดวกในกระบวนการ 38 | Justice Magazine Ministry of Justice

ยุ ติ ธ รรมแก่ พี่ น ้ อ งประชาชน ที่ ผ ่ า นมา กรมบั ง คั บ คดี ไ ด้ ด� ำ เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่น ใช้ระบบน�ำร่องประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ ผ่ า นระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Offering Auction Pilot Project System) ซึง่ จะช่วย ลดค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง เพิม่ ความสะดวก ในการประมู ล และสร้ า งความโปร่ ง ใส โดยพัฒนาระบบน�ำร่องใน 4 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดขอนแก่น จังหวัด นครราชสีมา และจังหวัดสงขลา ซึ่งผู้สนใจ ซื้อทรัพย์จากกรุงเทพฯ จะสามารถเข้าร่วม ซื้อทรัพย์ได้ทันที โดยไม่เสียเวลาเดินทาง อีกทั้งยังเป็นทางเลือกให้ผู้สนใจซื้อทรัพย์ จากการขายทอดตลาดแต่ไม่สะดวกเดินทาง มายังสถานทีข่ ายทอดตลาดของกรมบังคับคดี สามารถเสนอราคาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

ณ ส� ำ นั ก งานบั ง คั บ คดี ที่ เ ป็ น เครื อ ข่ า ยได้ ซึง่ เริม่ ด�ำเนินการตัง้ แต่วนั ที่ 27 มีนาคม 2559 และในปีงบประมาณ 2560 จะขยายระบบ ดั ง กล่ า วให้ ค รอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ป ระเทศ และครอบคลุ ม ในการซื้ อ ขายระหว่ า งกั น รวมทั้ ง จะก้ า วสู ่ ก ารซื้ อ ขายผ่ า นโทรศั พ ท์ มือถืออีกด้วย เพื่อน�ำกรมบังคับคดีก้าวไปสู่ จุดทีเ่ รียกว่า Easier , Anywhere , Better: ง่ายขึ้น ทุกที่ และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กรมบังคับคดียงั ได้เพิม่ ช่องทาง การค้ น หาทรั พ ย์ ซึ่ ง นอกจากค้ น หาจาก เว็ บ ไซต์ แ ล้ ว ยั ง ได้ พั ฒ นาแอพพลิ เ คชั่ น ส� ำ หรั บ ทรั พ ย์ ที่ ร อการขายสิ น ค้ า ทุ ก ชิ้ น ทั่วประเทศ ภายใต้ชื่อ “LED PROPERTY” ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งระบบ iOS และ Android อี ก ทั้ ง ได้ ต ่ อ ยอดเป็ น แอพพลิ เ คชั่น “LED


PROPERTY PLUS” เพื่ อ ตอบโจทย์ ผู ้ ที่ ต้องการซื้อห้องชุดใกล้แนวรถไฟฟ้าทุกสาย โดยผู ้ ส นใจสามารถดู ส ถานที่ ตั้ ง ทรั พ ย์ ในรู ป แบบ Google Street View หรื อ การมองเห็นสภาพคอนโดในรูปเรียลไทม์เสมือน เดินทางไปชมของจริง ทัง้ นี้ ได้นำ� แอพพลิเคชัน่ ดังกล่าวน�ำสู่สายตาประชาชนที่เข้าร่วมงาน มหกรรมการเงิน (MONEY EXPO) ครัง้ ที่ 16 และงานดิจิทัลไทยแลนด์ 2016 พร้อมทั้ง ประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้ประชาชนได้รบั ทราบ ถึงภารกิจของกรมบังคับคดีอกี ด้วย อธิ บ ดี ก รมบั ง คั บ คดี กล่ า วต่ อ ว่ า ก้าวต่อไปจะมุ่งเน้นการท�ำงาน E –service หรือการบริการที่ต้องเข้าถึงมือประชาชน โดยน�ำระบบน�ำร่องยื่นค�ำร้องผ่านทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (E – Filling) เพือ่ ให้ผปู้ ระสงค์ ทีจ่ ะยืน่ ค�ำร้องจัดพิมพ์ใบ Pay – in slip หรือ ใบน�ำฝากเงิน หน้าเว็บไซต์ของกรมบังคับคดี เพือ่ จ่ายเงินผ่านทางเคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขา โดยเริ่มท�ำการเปิดใช้งานระบบ เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2558 รวมทัง้ ยังมีระบบการจ่ายเงินให้คคู่ วาม และผู้มีส่วนได้เสียทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E – Payment) โดยเริ่มต้นใช้งานระบบ การจ่ายค่าส่วนแบ่ง และค่าใช้จ่ายเลี้ยงชีพ บุคคลล้มละลายผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ เต็มรูปแบบไปเมื่อต้นปี 2559 และเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ได้นำ� ระบบ EDC Payment หรือการวางเงินหลักประกันเพือ่ เข้าซือ้ ทรัพย์ จากการขายทอดตลาดด้วยบัตรเดบิต/เครดิต มาใช้กบั การวางเงินหลักประกันเพือ่ เข้าซือ้ ทรัพย์ จากการขายทอดตลาด ซึ่ ง กรมบั ง คั บ คดี ร่ ว มกั บ ธนาคารกรุ ง ไทย จ� ำ กั ด (มหาชน) เปิ ด ให้ บ ริ ก ารระบบดั ง กล่ า ว เพื่ อ เป็ น ทางเลื อ กใหม่ ข องผู ้ ซื้ อ ทรั พ ย์ ใ นการวาง หลักประกันทีส่ ามารถใช้บตั ร ATM บัตร VISA DEBIT หรื อ บั ต ร CREDIT โดยไม่ ต ้ อ งน� ำ เงินสดมาวางหลักประกันในการซื้อทรัพย์ และไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเช็ค ส�ำหรับ ค่าธรรมเนียม หากเป็นบัตร ATM หรือบัตร VISA DEBIT ของธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) จะจ่ายค่าธรรมเนียม 10 บาทต่อ 1 รายการ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ใ ช้ บั ต ร CREDIT

จะคิดค่าธรรมเนียมร้อยละ 1 ของยอดช�ำระ แต่หากซือ้ ทรัพย์ไม่ได้ สามารถยกเลิกรายการ ได้ทันทีโดยไม่เสียค่าธรรมเนียม ซึ่งขณะนี้ ให้ บ ริ ก ารแล้ ว ณ ห้ อ งขายทอดตลาด กรมบั ง คั บ คดี และระยะต่ อ ไปจะเปิ ด ให้ บริการเพิม่ เติมอีก 29 ส�ำนักงาน และจะขยาย ให้ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ ภายในเดื อ น มิถุนายน 2559 นอกจากนีไ้ ด้พฒั นาระบบ E – Insovency Case Management System มาใช้ในการ บั ง คั บ คดี ล ้ ม ละลาย เช่ น การท� ำ งาน ในส�ำนวนกลางไม่มีทรัพย์ การยื่นค�ำร้องใน คดีล้มละลายทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งคาดว่า จะน�ำมาใช้งานจริงประมาณเดือนพฤษภาคม 2559 และพัฒนาไปสู่การท�ำงานในส�ำนวน คดีสาขาทั้งหมดในคดีล้มละลาย และการ ยื่นค�ำร้องในคดีล้มละลายทางอิเล็กทรอนิกส์ อีกด้วย ทั้ ง นี้ กรมบั ง คั บ คดี ได้ ก� ำ หนดให้ การด�ำเนินงานเรือ่ ง Digital Economy บรรจุ

อยู ่ ใ นแผนยุ ท ธศาสตร์ ร ะยะ 20 ปี ข อง กรมบังคับคดี ภายใต้ยุทธศาสตร์ด้านการ ส ร ้ า ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข ่ ง ขั น โดยต้องการเข้าสู่ระบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ ในกระบวนการบั ง คั บ คดี แ ละล้ ม ละลาย พร้ อ มกั บ มี ศู น ย์ ก ลางฐานข้ อ มู ล ลู ก หนี้ ล้มละลายด้วย ซึ่งวันนี้ได้เริ่มท�ำก้าวแรกคือ การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ จ� ำ นวน 18 นายทะเบี ย นภาครั ฐ ในการ รวบรวมข้อมูลท�ำ database กับหน่วยงาน ราชการ เพือ่ บูรณาการข้อมูลในการท�ำงานให้ เกิดประโยชน์สงู สุด โจทย์ทสี่ อง คือ โครงสร้าง องค์กรกรมบังคับคดีที่ในอนาคตจะเป็นเพียง ผู้กับกับดูแล ไม่ใช่ผู้ปฏิบัติอีกต่อไป โดยให้ เอกชนเป็นผูร้ บั ผิดชอบเอง ซึง่ ข้อกลางระหว่าง ทางไปสู่เป้าหมายคือ การท�ำงานเป็นระบบ หน่วยบริการพิเศษ Special Delivery Unite (SDU) อธิ บ ดี ก รมบั ง คั บ คดี ได้ เ ล่ า ถึ ง การด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ การประเมิ น ผล

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 39


การจัดอันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจ ของธนาคารโลก (Doing Business 2016) ว่า กรมบั ง คั บ คดี รั บ ผิ ด ชอบตั ว ชี้ วั ด 2 ด้ า น คือ ตัวชี้วัดที่ 9 ด้านการบังคับให้เป็นไปตาม ข้อตกลง (Enforcing Contract) และตัวชีว้ ดั ที่ 10 ด้านการแก้ไขปัญหาการล้มละลาย (Resolving Insolvency) ส�ำหรับตัวชีว้ ดั ที่ 9 เป็นการด�ำเนินงาน ระหว่างกรมบังคับคดีกบั ศาลยุตธิ รรม ซึง่ เป็น โจทย์ของประเทศไทยที่ต้องพัฒนาอีกมาก ในปี 2558 ไทยได้อันดับที่ 57 จาก 189 ประเทศ ทั้ ง นี้ ธนาคารโลกพิ จ ารณาจาก หลักเกณฑ์ 4 เรือ่ ง คือ มีขนั้ ตอนการด�ำเนินงาน ที่ ง ่ า ยและสะดวก (Easier) ค่ า ใช้ จ ่ า ย ที่ประหยัด(Cheaper) กฎหมาย กฎระเบียบ ทีท่ นั สมัย (Smart Regulations) และมีระยะ เวลาการด�ำเนินการที่รวดเร็ว รวมทั้งดูจาก ก า ร ด� ำ เ นิ น ค ดี ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ ซึง่ กรมบังคับคดีได้ปรับปรุงระบบงาน รวมทัง้ พัฒนาช่องทางและปรับปรุงการให้บริการ ด้วยการน�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา เพิ่มประสิทธิภาพ และอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ประชาชนและคูค่ วามดังทีก่ ล่าวไปข้างต้น นอกจากนี้ ได้หารือกับศาลยุติธรรม เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ส ่ ง ห ม า ย บั ง คั บ ค ดี ท า ง อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งปัจจุบันได้รับการตอบรับ จากศาลแพ่งธนบุรี แต่ความส�ำเร็จคือจะต้อง เกิดขึ้นทุกศาล โดยธนาคารโลกจะนับเวลา การด�ำเนินคดีแพ่งตัง้ แต่ฟอ้ งจนถึงการคืนเงิน แก่เจ้าหนี้ รวมทั้งธนาคารโลกจะประเมิน 40 | Justice Magazine Ministry of Justice

จากธุรกิจขนาดกลาง-ขนาดย่อม เเละประชาชน ทั่วไปกรณีจะตั้งธุรกิจในประเทศว่า ใช้เวลา จดทะเบี ย นเท่ า ไหร่ ขอสิ น เชื่ อ เท่ า ไหร่ หากฟ้องร้องกันมีกระบวนการอย่างไร รวดเร็ว เพียงใดและถ้าล้มละลายจะท�ำอย่างไร ส�ำหรับตัวชีว้ ดั ที่ 10 ประเด็นค�ำถามจะ พิ จ ารณาจากระยะเวลา ค่ า ใช้ จ ่ า ย และ ผลลัพธ์จากการบังคับคดีล้มละลายและการ บังคับช�ำระหนี้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรธุรกิจ ภายในประเทศ ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญที่ช่วย สนับสนุนการลงทุนของชาวต่างชาติ การด�ำเนินงานที่ผ่านมากรมบังคับคดี ได้ เ ร่ ง ปรั บ ปรุ ง ร่ า งแก้ ไ ขพระราชบั ญ ญั ติ ล้มละลาย (ฉบับที่ 9) ว่าด้วยการฟืน้ ฟูกจิ การ ธุ ร กิ จ (เอสเอ็ ม อี ) ซึ่ ง มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ แ ล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤษภาคม 2559 เพื่ อ เป็ น การช่วยเหลือธุรกิจเอสเอ็มอีทปี่ ระสบปัญหา หนี้ สิ น ล้ น พ้ น ตั ว ให้ ส ามารถที่ จ ะยื่ น ขอ ศาลล้มละลายกลางให้ฟื้นฟูกิจการได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญการส่งเสริมธุรกิจ SMEs อย่างครอบคลุมวงจรธุรกิจ BUSINESS LIFE CYCLE กฎหมายดังกล่าว จึงได้เปิดโอกาส ให้ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ SMEs ที่ ป ระสบ ปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงินไม่สามารถ ช�ำระหนี้ได้ สามารถยื่นขอฟื้นฟูกิจการได้ โดยไม่ต้องถูกบังคับยึดทรัพย์หรือต้องหยุด กิจการ ซึ่งสาระส�ำคัญของกฎหมายก�ำหนด ให้ ลู ก หนี้ ที่ เ ป็ น วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาที่มีมูลหนี้ ไม่น้อยกว่าสองล้านบาท นิติบุคคลมีมูลหนี้ ไม่น้อยกว่าสามล้านบาท และบริษัทจ�ำกัด มีมลู หนีไ้ ม่นอ้ ยกว่าสามล้านบาท และไม่เกิน สิบล้านบาท สามารถยืน่ ขอฟืน้ ฟูกจิ การต่อศาล พร้อมแผนฟืน้ ฟูกจิ การส�ำเร็จรูป (Prepackage) ทีไ่ ด้รบั ความยินยอมจากเจ้าหนีแ้ ล้ว นอกจากนี้ ได้ เ สนอแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ ง ซึ่ ง เป็ น การปฏิ รู ป กระบวนการยุ ติ ธ รรม ทางแพ่งโดยลดขั้นตอน สร้างความแน่นอน ท�ำให้ก ระบวนการมี ประสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างหารือร่วมกับส�ำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎี ก า เพื่ อ หาข้ อ ยุ ติ ก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป

อย่างไรก็ตาม พบว่า ที่ผ่านมา ผู้ตอบ แบบสอบถามของธนาคารโลกที่เป็นเอกชน จะตอบตามความเคยชิน อีกทั้งค�ำถามภาษา อังกฤษอาจจะไม่ชัดในเรื่องของการตีความ ของผูต้ อบแบบสอบถาม ดังนัน้ กรมบังคับคดี จึงได้หารือกับธนาคารโลกโดยตรงเพื่อความ ชัดเจนในการตอบแบบถาม และได้จดั ประชุม เพือ่ สร้างความเข้าใจให้กบั ผูท้ ตี่ อบแบบสอบถาม มาเพือ่ ท�ำความเข้าใจให้ตรงกัน และขอให้ตอบ แบบสอบถามตามกรณีตวั อย่างไม่ใช่ตอบตาม ประสบการณ์ อีกประเด็นหนึง่ คือ การเลือก ผู ้ ต อบแบบสอบถามจากเอกชนของ ธนาคารโลกนั้น โดยเราจะไม่ก้าวก่ายการ คัดเลือกของธนาคารโลก แต่จะขอให้เพิ่ม ผู ้ ต อบแบบสอบถามที่ มีประสบการณ์ตรง ในการท� ำ คดี ค วามเกี่ ย วกั บ การบั ง คั บ คดี ซึ่งการเพิ่มจ�ำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่มี ความเข้าใจเป็นอย่างดี น่าจะท�ำให้ภาพรวม ของค�ำตอบของประเทศไทยชัดเจนขึน้ รวมทัง้ ได้เชิญธนาคารโลกมาดูงานที่กรมบังคับคดี เมื่ อ เดื อ นเมษายน 2559 ซึ่ ง คาดหวั ง ว่ า จะท�ำให้ธนาคารโลกเข้าใจการด�ำเนินงาน ตามความเป็นจริงมากขึน้ นอกจากนี้ ได้ศกึ ษา แนวทางปฏิ บั ติ ที่ ดี (Best Practices) จากประเทศสิงคโปร์ ซึง่ ได้อนั ดับ 1 ในเอเชีย จากการประเมินตัวชีว้ ดั ที่ 9 อีกด้วย เมือ่ ถามถึงความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาหนี้ ค รั ว เรื อ น หนีร้ ายย่อย หนีธ้ รุ กิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ฯลฯ อธิบดีกรมบังคับคดีกล่าวว่า กรมบั ง คั บ คดี ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ ง ดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง หนี้ กู ้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา หนี้เกษตรกร หนี้สินบุคลากรทางการศึกษา เเละสินเชื่อบัตรเครดิต จึงน�ำเรื่องนี้เสนอ คณะรั ฐ มนตรี และน� ำ โจทย์ นี้ ไ ปหารื อ กับนายวิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคาร แห่งประเทศไทย เพราะเชือ่ ว่าจะเป็นกลไกหนึง่ ในการแก้ไขปัญหาหนีค้ รัวเรือนเพราะบางครัง้ การเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมมีค่าใช้จ่าย และเสียเวลามาก “เราจึงต้องมองหาหนทางอืน่ ทีจ่ ะช่วยเหลือ โดยการไกล่เกลี่ยหนี้ ซึ่งประสบความส�ำเร็จ อย่างยิง่ ในการไกล่เกลีย่ ภายหลังศาลพิพากษา


และยังเป็นการผ่อนปรนหนี้เสีย หรือสินเชื่อ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดรายได้ NPL (Non-Performing Loan) ของธนาคาร ให้ เ ป็ น NPA (Non-Performing Assets)” อธิ บ ดี กรมบังคับคดีกล่าว ที่ ผ ่ า นมากรมบั ง คั บ คดี ได้ จั ด งาน มหกรรมการไกล่ เ กลี่ ย ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนชั้นน�ำของประเทศ จ�ำนวน 10 หน่วยงาน ได้แก่ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารออมสิน บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท บริหาร สินทรัพย์สขุ มุ วิท จ�ำกัด บริษทั พัฒนสินลิสซิง่ (ซีพแี อล) จ�ำกัด ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เอส ที ลอว์แอนด์คอลเลคชัน่ จ�ำกัด และธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร ตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2558 - วันที่ 28 เมษายน 2559 มีเรือ่ งเข้าสูก่ ารไกล่เกลีย่ จ� ำ นวน 2,558 เรื่ อ ง ทุ น ทรั พ ย์ จ� ำ นวน 663,925,335 บาท ไกล่เกลีย่ ส�ำเร็จ จ�ำนวน 2,294 เรือ่ ง ทุนทรัพย์ จ�ำนวน 550,846,821 บาท คิดเป็นร้อยละ 88.64 ซึ่งถือเป็นการท�ำงาน แบบบู ร ณาการและสร้ า งความพึ ง พอใจ ระหว่างลูกหนีแ้ ละเจ้าหนี้ แบบกรณี win-win ทัง้ สองฝ่าย นอกจากนี้ เมื่อทราบว่ารัฐบาลจัดท�ำ โครงการบ้ า นประชารั ฐ มองว่ า สิ น ทรั พ ย์ รอการขายของกรมบังคับคดี สามารถเข้าร่วม โครงการนีไ้ ด้ จึงติดต่อไปยังกระทรวงการคลัง เพื่ อ ขอน� ำ สิ น ทรั พ ย์ ที่ มี มู ล ค่ า ไม่ เ กิ น 1.5 ล้านบาท เข้าร่วมด้วย “เรียกได้วา่ กรมบังคับคดีจบั ทุกช่องทาง ที่เราจะท�ำตลาดได้ ถึงแม้ว่าจะมีคู่แข่งขัน สู ง มากก็ ต าม แต่ เ ราก็ ห ยุ ด นิ่ ง ไม่ ไ ด้ แ ละ พยายามอย่างเต็มที่ที่จะผลักดันทรัพย์สิน ออกสู่ระบบให้ได้มากที่สุด เราจึงต้องพัฒนา ช่ อ งทางที่ จ ะท� ำ ให้ ค นรั บ รู ้ ด ้ ว ยเช่ น กั น โดยเฉพาะสินทรัพย์ตามแนวรถไฟฟ้า ซึง่ เป็น ท�ำเลที่ประชาชนให้ความสนใจ ทั้งนี้ตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2558 - มีนาคม 2559 สามารถ ผลักดันทรัพย์สนิ ออกจากระบบการบังคับคดีได้ จ� ำ นวน 51,396,546,800 บาท คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 51.40 ของเป้าหมาย (เป้าหมาย 100,000 ล้านบาท)”

สิ่งส�ำคัญที่สุดในการด�ำเนินงานคือ ยึดประโยชน์ของประเทศชาติ และความรอบคอบในการพิจารณาเป็นที่ตั้ง ต่อค�ำถามทีว่ า่ ทิศทางการพัฒนาระบบ การบังคับคดีเพือ่ เสริมสร้างขีดความสามารถ ด ้ า น ก า ร แ ข ่ ง ขั น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ในมิตติ า่ งประเทศ อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวว่า ได้ ก� ำ หนดไว้ ว ่ า กรมบั ง คั บ คดี ต ้ อ งท� ำ ให้ ประเทศไทยเป็นอีกหนึ่งประเทศในโลกที่น่า สนใจในการลงทุน โดยมีกฎหมายที่ทันสมัย มีกระบวนการท�ำงานทีโ่ ปร่งใส และน�ำระบบ อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ให้เกิดความสะดวกทุกที่ ทุ ก แห่ ง และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง กรมบังคับคดี ได้ประกาศตัวเป็นศูนย์การ เรียนรู้ในอาเซียนในเรื่องการบังคับคดีแพ่ง และคดีล้มละลาย โดยในวันที่ 23 มิถนุ ายน 2559 จะจั ด การประชุ ม ระหว่ า งประเทศ ว่าด้วยการบังคับคดีลม้ ละลายข้ามชาติระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศคูเ่ จรจา (จี น ญี่ ปุ ่ น และเกาหลี ใ ต้ ) ซึ่ ง ถื อ เป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งกรมบั ง คั บ คดี และ คณะกรรมาธิการสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมาย การค้าระหว่างประเทศ (UNCITRAL) ทั้งนี้ สหประชาชาติ มี ก ฎหมายแม่ แ บบว่ า ด้ ว ย ล้มละลายข้ามชาติตั้งแต่ปี 2540 จึงเป็น เหตุ ผ ลให้ อ ยากปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขกฎหมาย เพื่ อ ให้ อ� ำ นาจศาลล้ ม ละลายไทยเป็ น ผู้พจิ ารณาค�ำร้องขอจากต่างประเทศในกรณี

ข้ อ พิ พ าทเกิ ด ขึ้ น ในไทย โดยอาศั ย การใช้ กฎหมายไทยในการบังคับคดี ทัง้ นี้ สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ในการด�ำเนินงานคือ ยึ ด ประโยชน์ ข องประเทศชาติ แ ละ ความรอบคอบในการพิ จ ารณาเป็ น ที่ ตั้ ง เพราะฉะนั้น ต้องท�ำให้ชาวต่างชาติรวมทั้ง ธนาคารโลก IMF สหประชาชาติ UNCITRAL และ อาเซียน ฯลฯ มีความเข้าใจ และเชื่อมั่น ในประเทศไทย ทัง้ ในเรือ่ งตัวบทกฎหมายไทย กระบวนการเริ่มต้นกิจการจนถึงการแก้ไข ปัญหาข้อพิพาทการบังคับคดี และล้มละลาย “อย่างไรก็ตามการไปสู่เป้าหมายได้ ต้องมาจากแรงผลักดันของบุคลากรทัง้ หมด ของกรมบังคับคดี โดยสวมหัวใจการตลาด ในการท�ำงานเข้าไปเสริม ซึ่งตนในฐานะ อธิบดีเป็นเพียงผูป้ ระสานงานเท่านัน้ ทัง้ หมดนี้ จึ ง ต้ อ งขอบคุ ณ เจ้ า หน้ า ที่ ก รมบั ง คั บ คดี ทุกคนที่ร่วมมือกันจนประสบความส�ำเร็จ” อธิบดีกรมบังคับคดีกล่าวทิ้งท้าย ทั้งหมดนี้คือมิติใหม่ของกรมบังคับคดี ภายใต้กรอบ Digital Economy ที่จะช่วย ขับเคลื่อนภาคธุรกิจ และเศรษฐกิจ ให้เกิด ความรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อี ก ทั้ ง ยั ง สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ ช าวไทยและ คนต่างชาติอีกด้วย วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 41


ทีกองบรรณาธิ ่นี่แจ้งการวัฒนะ ให้สัมภาษณ์ผ่านรายการ คม ชัด ลึก พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม บั น ทึ ก เทป ให้ สั ม ภาษณ์ ผ ่ า น รายการคม ชั ด ลึ ก ในประเด็ น “กระบวนการสอบสวน คดีรถหรู”ด�ำเนินรายการโดย คุณโมไนย เย็นบุตร ทางสถานีโทรทัศน์ Nation TV ช่อง 22 ณ ห้องรับรองกระทรวงยุติธรรม ชัน้ 9 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

เตรียมจัดงานตลาดคลองผดุงกรุงเกษม นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็นประธานการประชุมคณะท�ำงานจัดงานตลาดคลองผดุงกรุงเกษม ของกระทรวงยุตธิ รรม ครั้งที่ 1/2559 เพื่อพิจารณารูปแบบและ แนวทางการจัดงานตลาดคลองผดุงกรุงเกษมของกระทรวงยุตธิ รรม โดยภายในงานจะมี นิ ท รรศการแสดงผลการด� ำ เนิ น งาน ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม การให้ ค� ำ ปรึ ก ษาทางด้ า นกฎหมาย แก่ประชาชน การจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์และสินค้าของหน่วยงาน ในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ณ ห้ อ งประชุ ม ส� ำ นั ก นโยบาย และยุทธศาสตร์ ชั้น 9 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

มิติใหม่ของการบังคับคคี นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดี กรมบังคับคดี เป็นประธานการแถลงข่าว “มิติใหม่ของการบังคับคดี เพื่อเข้าสู่ Digital Economy” โดยน�ำเสนอการปรับปรุงแก้ไข กฎหมายและขั้ น ตอนการขายทอดตลาด ตลอดจนรูปแบบการให้บริการของกรมบังคับคดี ที่ ไ ด้ มี ก ารพั ฒ นาให้ มี ก ารเข้ า ถึ ง บริ ก าร ณ ศูนย์บังคับคดีล้มละลายส่วนหน้า ชั้น 1 อาคารราชบุ รี ดิ เ รกฤทธิ์ ศู น ย์ ร าชการ เฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ 42 | Justice Magazine Ministry of Justice


แถลงผลการตรวจสอบโครงการก่อสร้างอุทยานราชภักดิ์ พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม ในฐานะประธาน กรรมการอ� ำ นวยการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต แห่งชาติ (ศอตช.) แถลงผลการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงโครงการก่อสร้างอุทยานราชภักดิ์ ชีแ้ จงในประเด็นส�ำคัญ อาทิ การจัดซือ้ จัดจ้าง การใช้จ่ายงบประมาณ ฯลฯ ณ ห้องรับรอง กระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศู น ย ์ ร า ช ก า ร เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ กรุงเทพมหานคร

แสดงความขอบคุณที่ ได้รับโอกาส

นายวิโรจน์ แซ่หว้า อดีตผู้ต้องขังในคดียาเสพติดเข้าพบพลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เพื่อแสดง ความขอบคุณกรณีได้รับโอกาสให้ได้รับการพักการลงโทษ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

ไทย-ออสเตรเลีย ลงนามความร่วมมือ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วย Ms.Deborah Lockhart, Ceo Australia Center ร่วมลงนามความร่วมมือ เกี่ ย วกั บ กระบวนการระงั บ ข้ อ พิ พ าททางเลื อ กระหว่ า งสถาบั น อนุญาโตตุลาการ (Thailand Arbitration Center :THAC) กับศูนย์ระงับ ข้อพิพาทประเทศออสเตรเลีย เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลงานวิจัย และความรู้ ทางวิชาการด้านกระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือกทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ จะน�ำ ไปสู่การพัฒนากระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือก รวมทั้งการสนับสนุน ด้านการศึกษาอืน่ ๆ และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการระงับข้อพิพาท ทางเลือกร่วมกัน ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ อาคารอภิรัช ทาวเวอร์ ชั้น 26 สุขุมวิท 35 กรุงเทพมหานคร วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 43


ก�กองบรรณาธิ ำแพงมิการอาจกั้น

กระทรวงยุติธรรม เปิด “บ้านกาญจนาภิเษก”

ต้อนรับ ผู้แทน UNDP ศึกษากระบวนการฟื้นฟูเยาวชน เพื่อจัดท�ำแนวทางป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในที่คุมขัง ของสหประชาชาติ

การให้โอกาสผูอ้ นื่ ถือเป็นการหยิบยืน่ สิง่ ส�ำคัญ ในการเปลี่ยนแปลงชีวิตของผู้ที่ได้รับ โดยที่ผู้ให้ ไม่ตอ้ งสูญเสียทรัพย์สนิ หรือเงินทอง ซึง่ การให้โอกาส บุ ค คลมี ห ลากหลายรู ป แบบและหนึ่ ง ในรู ป แบบ ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการอยูร่ ว่ มกันในสังคม คือ การให้ โอกาสบุ ค คลผู ้ ที่ เ คยกระท� ำ ผิ ด ได้ ก ลั บ ตั ว กลั บ ใจ เป็นคนดี เพือ่ เป็นพลังขับเคลือ่ นสังคมโดยเฉพาะเด็ก และเยาวชนผู้ที่เคยก้าวผิดพลาดเป็นกลุ่มบุคคล ที่ส�ำคัญยิ่งที่จ�ำเป็นจะต้องได้รับโอกาสนั้น

44 | Justice Magazine Ministry of Justice


เนื่องจากเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า ว และมี ส่วนราชการทีด่ ำ� เนินงานเกีย่ วข้องกับการแก้ไข ฟืน้ ฟู เด็กและเยาวชน ที่เคยกระท�ำความผิดให้กลับกลายเป็นคนดีและเป็นพลังของสังคม เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กและเยาวชนทีก่ า้ วพลาดเห็นคุณค่าและ ศักยภาพของตนเอง อันจะเป็นการช่วยเหลือให้เด็กและเยาวชน กลุ่มดังกล่าวสามารถกลับคืนสู่สังคมอย่างมีศักดิ์ศรี และสามารถ ด�ำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างปกติ ตลอดจนเพื่อให้ภาคประชาสังคม และ นานาชาติเข้าใจและรับทราบในสิทธิและการปฏิบัติต่อกลุ่มเยาวชน ผูเ้ คยกระท�ำผิดในสถานทีค่ มุ ขังซึง่ เป็นหน่วยงานในสังกัดของกระทรวง ยุ ติ ธ รรม เมื่ อ วั น ที่ 29 มี น าคม 2559 นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วยนายเกิดโชค เกษมวงศ์จิตร รักษาการในต�ำแหน่งที่ปรึกษาเฉพาะด้านกฎหมายมหาชน จึงได้น�ำ คณะผู้แทนจากส�ำนักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคของโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme : UNDP) เข้ า เยี่ ย มชมและศึ ก ษาดู ง านกระบวนการแก้ ไ ข ฟื ้ น ฟู เด็ ก และเยาวชน ณ ศู น ย์ ฝ ึ ก และอบรมเด็ ก และเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก กระทรวงยุตธิ รรม จังหวัดนครปฐม โดยมีนางทิชา ณ นคร ผู้อ�ำนวยการสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก ให้การต้อนรับ

รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม กล่าวว่า ศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและ เยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก เป็นหน่วยงานราชการในสังกัด กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม มีภารกิจ แก้ไข ฟื้นฟู เยียวยาเยาวชนหลังค�ำพิพากษา โดยเปิดโอกาสให้บุคคล ภายนอกเข้ า มาบริ ห ารองค์ ก รร่ ว มกั บ ภาคราชการในลั ก ษณะ สถานควบคุมระบบเปิด กล่าวคือสถานที่แห่งนี้ไม่ใช่ทัณฑสถานเด็ก แต่เป็นที่พักพิงชั่วคราวของเด็กที่ก้าวพลาด เปิดโอกาสให้เยาวชน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมก�ำหนดกติกาหรือสิทธิประโยชน์ รวมถึง บทลงโทษ ซึ่งสถานที่แห่งนี้จะไม่มีรั้วสูงก�ำแพงกั้นเหมือนกับ สถานควบคุมแห่งอื่น แต่จะล้อมรั้วด้วยใจ งดใช้ความรุนแรง ในทุกมิติ ไม่วา่ จะเป็นการกระท�ำ ค�ำพูด และสายตา เน้นการ ใช้ความสัมพันธ์ในแนวราบ โดยเจ้าหน้าทีท่ กุ คนจะไม่สวมใส่ เครื่องแบบของทางราชการ เนื่องจากเป็นสัญลักษณ์ ที่แสดงถึงอ�ำนาจ ซึ่งจะท�ำให้เด็กและเยาวชนรู้สึก ผ่อนคลาย ไม่เคร่งเครียด เมื่อสามารถลดช่องว่าง ระหว่างเจ้าหน้าที่กับเด็กและเยาวชนลงได้ ก็จะ ท�ำให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็ก และเยาวชนได้ง่ายขึ้น โดยส่วนตัว

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 45


เป็นบ้านแห่งโอกาสของเยาวชน เปลีย่ นชีวติ ของเด็กต้องโทษให้กลาย เป็นคนดีของสังคม มีเป้าหมายเพื่อเข้าใจ เข้าถึงผู้เสียหายหรือเหยื่อ เยียวยาวัยรุน่ ทีก่ า้ วพลาด เพือ่ กลับสูค่ รอบครัว และสังคมอย่างผูม้ พี ลัง ไม่ใช่ภาระ รวมถึงเพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุนและพิทักษ์เด็ก บนหลักการปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ ส�ำหรับ การจั ด การเรี ย นการสอนและกิ จ กรรมในบ้ า นกาญจนาภิ เ ษก จะแบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี้ 1) การเรี ย นหนั ง สื อ โดยระบบการศึ ก ษานอกโรงเรี ย น ในสั ด ส่ ว น 25% ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบโดยศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกโรงเรี ย น พุทธมณฑล ศาลายา 2) การเรียนอาชีพ ในสัดส่วน 25% เช่น เบเกอรี่ ขนมไทย ขับรถยนต์ บาติก กรอบรูปวิทยาศาสตร์ สกรีนเสื้อ ฯลฯ 3) การเรียนชีวิต หรือการพัฒนาทักษะชีวิต ในสัดส่วน 50% ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการในรูปแบบการวิเคราะห์ข่าว บทความ บทกวี ค�ำสอน ภาพยนตร์ รวมถึงการเรียนรูท้ กั ษะชีวติ - สิทธิ ทางเพศ เพื่ อ ให้ ทุ ก คนเคารพและไม่ ก ้ า วล่ ว งในสิ ท ธิ ข องผู ้ อื่ น โดยเปิดพื้นที่ให้เยาวชนมีส่วนร่วมตั้งแต่การร่วมคิดจนถึงการร่วม ตัดสินใจ เนื่องจากเชื่อว่าทุกการตัดสินใจผูกพันกับชีวิต ซึ่งเยาวชน จะต้องตระหนักถึงความจริงดังกล่าว ส�ำหรับผลจากการศึกษาดูงานในครั้งนี้ คณะผู้แทน UNDP จะน�ำไปศึกษาวิธกี ารป้องกันการปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องกับการละเมิดสิทธิ มนุ ษ ยชนส� ำ หรั บ กลุ ่ ม บุ ค คลหลากหลายทางเพศในสถานคุ ม ขั ง เพื่อน�ำไปสู่การจัดท�ำรูปแบบ แนวทางการป้องกันการปฏิบัติต่อกลุ่ม คนข้ามเพศในที่คุมขัง และส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของกลุ่มหลากหลาย ทางเพศในแผนสิทธิมนุษยชน เพื่อเสนอต่อองค์กรด้านสิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศต่อไป

เชือ่ ว่ามนุษย์ทกุ คนสามารถปรับเปลีย่ นตนเองได้ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั สภาพ แวดล้ อ มที่ อ ยู ่ ร อบตั ว หากอยู ่ ใ นสถานที่ ดี มี บ ริ บ ทแวดล้ อ มที่ ดี ก็จะสามารถปรับเปลีย่ นชีวติ ไปสูอ่ นาคตทีด่ ไี ด้ ซึง่ กระบวนการส�ำคัญ ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคือกระบวนการผลิตซ�้ำให้เด็กและ เยาวชนเกิดความเชื่อในสิ่งที่ดีงาม จนกลับกลายเป็นค่านิยมส�ำหรับ ตัวเขาเอง โดยเชื่อว่ากระบวนการดังกล่าวข้างต้นสามารถน�ำไป ปรับใช้ในโรงเรียนและสถาบันศึกษาซึ่งมีความหลากหลายได้ ผู้อ�ำนวยการสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก กล่าวว่า การบริหารงานและการด�ำเนินงานของ บ้านกาญจนาภิเษกอยูภ่ ายใต้แนวคิดทีว่ า่ บ้านกาญจนาภิเษกไม่ใช่คกุ เยาวชนไม่ใช่อาชญากรหรือนักโทษ เจ้าหน้าที่ไม่ใช่ผู้คุม แต่บ้าน กาญจนาภิ เ ษก คื อ บ้ า นทดแทนชั่ ว คราวของวั ย รุ ่ น ที่ ก ้ า วพลาด 46 | Justice Magazine Ministry of Justice


คน เงิน แผน นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

กระทรวงยุติธรรม กับการสร้างเสริม

ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

กระทรวงยุติธรรมกับการสร้างเสริม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยเข้ากันเท่าไหร่ เพราะการสร้างเสริมขีดความสามารถในการ แข่ ง ขั น ของประเทศน่ า จะเป็ น ภารกิ จ ของหน่ ว ยงานด้ า นเศรษฐกิ จ เสี ย มากกว่ า แต่ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ 10 ปีนนั้ กระทรวงยุติธรรมได้วางบทบาทใหม่ในการ เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ซึ่งมีการก�ำหนดเป้าหมายในระยะ 5-20 ปีข้างหน้าว่า ใน 5 ปีข้างหน้ากฎหมาย กลไก และมาตรการที่เป็นอุปสรรคในการ

บังคับคดีและกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง รวมถึ ง มี ก ารเชื่ อ มโยง เครือข่ายระหว่างประเทศ และพัฒนาระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื่ อ ให้ บ ริ ก ารประชาชน ในทุกมิติ เมือ่ ไปถึงใน 10 ปีขา้ งหน้า กฎหมาย ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ การบั ง คั บ คดี และกระบวนการอนุญาโตตุลาการเป็นไปตาม มาตรฐานสากลและมีระบบฐานข้อมูลกลาง ที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย สถาบันการเงิน และหน่วยงานความมั่นคง ทั่วโลก จากนั้นใน 15 ปีข้างหน้าจะมีความ ร่วมมือในการบังคับคดีและระงับข้อพิพาท ทางเลือกด้วยกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ในกลุ่มภูมิภาคอาเซียนและระดับนานาชาติ และเป้ า หมายใน 20 ปี ข ้ า งหน้ า ก็ คื อ ระบบการบังคับคดีและการอนุญาโตตุลาการ ให้ มี ค วามเป็ น พลวั ต เชื่ อ มโยงนานาชาติ มีความทันสมัย เป็นมาตรฐานสากล

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 47


แนวทางการด� ำ เนิ น การส� ำ คั ญ ที่ จ ะ ประเทศนอกกลุ่มอาเซียน เช่น เอเชียและ ท� ำ ให้ บ รรลุ ถึง เป้ าหมายดังกล่าวนั้น จะมี ยุโรป และขยายไปทั่วโลกในที่สุด รวมถึง ตั้งแต่การพัฒนากฎหมาย กฎและระเบียบ จะมีการพัฒนาระบบการระงับข้อพิพาททาง ให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้อง ออนไลน์ (Online Dispute Resolution: กับมาตรฐานสากล และอนุสัญญาระหว่าง ODR) ของสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อให้ ประเทศ ซึ่งรวมถึงกรอบการประเมินความ บริการระงับข้อพิพาทจากการซื้อขายสินค้า ยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of ทางออนไลน์ทั้งในประเทศไทยและขยายไป Doing Business) และรายงานการปฏิบัติ ทั่วโลกในอนาคต ตามมาตรฐานกฎหมาย ROSC (Report of the Observance of Standards and Codes) ของธนาคารโลก ซึง่ เป็นการด�ำเนินการ นอกจากนี้ จะมีการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง ต่อเนื่องจากการด�ำเนินการในปัจจุบัน นายทะเบียนภาครัฐ ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานก�ำกับ ส�ำหรับการด�ำเนินงานใหม่ๆ ทีน่ า่ สนใจ ก็จะมีการพัฒนาระบบการบังคับคดี และการ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดีเป็นระบบ แห่งประเทศไทย และสถาบันการเงินทุกประเภท เพื่อใช้ในการสืบค้น อิเล็กทรอนิกส์ E-Enforcement, E-Filing, ทรัพย์สินทุกประเภทของบุคคลที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด E-Payment, E-Evidence, E-Insolvency และล้มละลาย ซึ่งก็จะขยายไปสู่การเชื่อมโยงข้อมูลกับประเทศ E-Public Auction และ E- Mediation ซึ่ ง จะเชื่ อ มโยงกั บ ระบบการบั ง คั บ คดี กั บ สมาชิกอาเซียน ประเทศอื่นในเอเชีย และทั่วโลกต่อไปเช่นกัน ประเทศอาเซียนก่อน แล้วก็จะขยายไปสู่ 48 | Justice Magazine Ministry of Justice


สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจอี ก ประการหนึ่ ง คื อ แนวคิ ด ในการปรั บ บทบาท และรู ป แบบ การให้บริการ (Business Model) ของกรม บั ง คั บ คดี จ ากผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน (Operator) เป็นผู้ก�ำกับดูแล (Regulator) ซึ่งจะเริ่มต้น จากการจัดตั้งหน่วยน�ำร่องบริการรูปแบบ พิเศษ (SDU) หรือหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ในการบั ง คั บ หลั ก ประกั น ของภาคเอกชน และให้ บ ริ ก ารกั บ ภาครั ฐ และภาคเอกชน ขึ้ น มาก่ อ น หากสามารถด� ำ เนิ น การไปได้ ด้วยดีก็จะมีการแก้ไขกฎหมายและระเบียบ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ เปลี่ ย นฐานะเจ้ า พนั ก งาน บั ง คั บ คดี แ ละเจ้ า พนั ก งานพิ ทั ก ษ์ ท รั พ ย์ ท�ำหน้าที่ในการก�ำกับดูแล (Regulator) ซึง่ ก็เป็นแนวปฏิบตั ขิ องประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว ในปัจจุบนั ทั้งนี้ ส�ำหรับการช่วยเหลือผู้ประกอบ การขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (SME’s) ที่เป็นนโยบายส�ำคัญของรัฐบาลที่กระทรวง ยุติธรรมได้สนับสนุนอย่างเต็มที่ในช่วง 2 ปี

ที่ ผ ่ า นมานั้ น ก็ จ ะมี ก ารสานต่ อ โดยการ เสริ ม สร้ า งองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นกฎหมายและ การเงินให้แก่ผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดเล็ก ซึ่งจะเน้นที่กลุ่มผู้ประกอบการ ขนาดย่อย (Micro) เป็นพิเศษ และขยาย ไปสู่กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไปด้วย จะเห็นได้ว่าในยุทธศาสตร์กระทรวง ยุติธรรมระยะ 20 ปี ที่เป็นการสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาตินั้น กระทรวง ยุติธรรมได้ก�ำหนดบทบาทที่ชัดเจนในการ เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นการสร้ า งความสามารถ ใ น ก า ร แ ข ่ ง ขั น ที่ มุ ่ ง เ น ้ น ก า ร เ พิ่ ม ขี ด ความสามารถทางการค้ า และการเป็ น ผูป้ ระกอบการ ซึง่ การบังคับคดี การฟืน้ ฟูกจิ การ และกระบวนการอนุญาโตตุลาการจะเป็น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น ส� ำ คั ญ ให้ ธุ ร กิ จ ที่ ป ระสบ ปั ญ หาสามารถกลั บ มาด� ำ เนิ น กิ จ กรรม ทางเศรษฐกิ จ ต่ อ ไปได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว

ซึ่ ง ก็ จ ะเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการส่ ง เสริ ม ให้ มี ผู ้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลาง และขนาดย่อมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งรวมถึงการ พัฒนากลุม่ วิสาหกิจชุมชนทีจ่ ะรากฐานส�ำคัญ ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศ ในระยะต่อไปด้วย

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 49


ยุพันตต�ำรวจโท ิธรรมช่ วยประชาชน วิชัย สุวรรณประเสริฐ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านคดีพิเศษ เลขานุการศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม

หลักธรรมกับทางเลือกชีวิต หากพิ เ คราะห์ แ ล้ ว จะเห็ น ได้ ว ่ า ปั ญ หา หนีน้ อกระบบเกิดจากหลายสาเหตุ และในแต่ละ สาเหตุ ต ่ า งมี ค วามความเชื่ อ มโยงกั น เป็ น ปั ญ หาที่ เ รี ย กว่ า “ความเหลื่ อ มล�้ ำ ” ดังนั้นการแก้ไขปัญหาจึงต้องมองในทุกมิติ และบริหารจัดการปัญหาอย่างเป็นองค์รวม รวมทัง้ จะต้องสร้างกลไกในการจัดการปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพ (ขอย�ำ้ ว่าเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ) มิ ใ ช ่ ก า ร แก้ ป ั ญ หา ต า มสถ านการณ์ หรือแก้เหมือนตาบอดคล�ำช้างที่มีลักษณะ ต่างคนต่างท�ำภายในกรอบภารกิจของตนเอง

เชือ่ ว่าหลายคนยังมีความเข้าใจเกีย่ วกับ สาเหตุของปัญหาหนีน้ อกระบบทีแ่ ตกต่างกัน บางคนมองว่ า เกิ ด เพราะไม่ รู ้ จั ก พอเพี ย ง ใช้จา่ ยสุรยุ่ สุรา่ ย อบายมุข ขาดวินยั ทางการเงิน บางคนอาจมองว่าเกิดจากความจ�ำเป็นเร่งด่วน ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ จึงต้องพึง่ พา เงินทุนนอกระบบและถูกเอารัดเอาเปรียบ บางคนอาจจะมองว่าเกิดจากนโยบายภาครัฐ

50 | Justice Magazine Ministry of Justice

ทีเ่ น้นการบริโภค การสนับสนุนแหล่งเงินทุน จากภาครั ฐ มากเกิ น ไป ขาดการติ ด ตาม ประเมิ น ผล จนเกิ ด พฤติ ก รรมการก่ อ หนี้ น อ ก ร ะ บ บ ห รื อ บ า ง ค น อ า จ ม อ ง ภาพใหญ่ว่าเป็นผลพวงจากภาวะเศรษฐกิจ การมองเห็นภาพดังกล่าวเป็นเรื่องที่ถูกต้อง แต่เป็นการมองในแง่มมุ เดียว ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ ก ารรั บ รู ้ ข องแต่ ล ะคน

ที่ ผ มเกริ่ น น� ำ ก็ เ พื่ อ ให้ เ ห็ น ถึ ง สาเหตุ และความซับซ้อนของปัญหาที่หลากหลาย แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับผลการส�ำรวจ ของศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ แ ละประชาชน ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม (ศนธ.ยธ.) ที่ได้ จั ด โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพประชาชน ทางด้านกฏหมายและการเข้าถึงความเป็นธรรม จ� ำ นวน 10 จั ง หวั ด กระจายครอบคลุ ม ทุกภาคของประเทศ ในปีงบประมาณ 2558 การจัดกิจกรรมนอกจากเป็นการให้ความรู้ ทางด้านกฏหมาย เผยแพร่บทบาท ภารกิจ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมและหน่ ว ยงาน


ทีเ่ กีย่ วข้องกับการแก้ไขปัญหา รวมทัง้ การรับแจ้ง การจัดบริการให้คำ� ปรึกษาทางด้านกฎหมายแล้ว ยังได้จัดท�ำกระบวนการส�ำรวจความคิดเห็น เพื่อประโยชน์ในการน�ำข้อมูลมาศึกษาวิจัย สองประเด็ น คื อ ประเด็ น แรก ส� ำ รวจ ความคิดเห็นว่า หนีน้ อกระบบเกิดจากสาเหตุใด ประเด็นทีส่ อง วิธกี ารแก้ไขปัญหาหนีน้ อกระบบ จะท�ำอย่างไร ผลการส� ำ รวจข้ อ มู ล จากผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการ จ�ำนวน 5,939 คน ความคิดเห็น ระบุว่า ปัญหาหนี้นอกระบบเกิดจากปัญหา ด้านการด�ำรงชีวิตส่วนตัวมากที่สุด คิดเป็น 45 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา คือ ด้านเศรษฐกิจ คิดเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ ด้านแหล่งเงินทุน 18 เปอร์เซ็นต์ ด้านกฎหมายและการให้ความรู้ คิ ด เป็ น 9 เปอร์ เ ซ็ น ต์ และด้ า นนโยบายรั ฐ คิดเป็น 8 เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ ส่ ว นประเด็ น หนี้ น อกระบบแก้ ไ ข ได้อย่างไร มีการส�ำรวจผู้เข้าร่วมโครงการฯ จ� ำ นวน 5,363 คน ความคิ ด เห็ น ระบุ ว ่ า ต้องแก้ปญ ั หาหนีน้ อกระบบด้านการด�ำรงชีวติ มากทีส่ ดุ คิดเป็น 44 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา คือ ด้ า นนโยบายรั ฐ คิ ด เป็ น 31 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ด้ า นเศรษฐกิ จ คิ ด เป็ น 10 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ด้ า นกฎหมาย คิ ด เป็ น 10 เปอร์ เ ซ็ น ต์ และด้านแหล่งเงินทุน คิดเป็น 5 เปอร์เซ็นต์ ตามล�ำดับ ผลการส�ำรวจแสดงให้เห็นว่าสาเหตุหลัก ของหนี้ น อกระบบคื อ การใช้ จ ่ า ยในการ ด�ำรงชีวติ หากแยกสาเหตุยอ่ ยจะประกอบไปด้วย การช�ำระหนี้บัตรเครดิต การใช้จ่ายที่จ�ำเป็น ในการด� ำ รงชี วิ ต (สิ น ค้ า อุ ป โภค บริ โ ภค) การใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือยไม่พอเพียง การพนัน อบายมุ ข เหตุ จ� ำ เป็ น ฉุ ก เฉิ น เร่ ง ด่ ว น เช่น เจ็บป่วย ค่าเล่าเรียน เป็นต้น ศนู ย์ชว่ ยเหลือ ลูกหนี้ฯ ได้วิเคราะห์แล้วเห็นว่า ปัญหาที่มี

ต้ น เหตุ จ ากลู ก หนี้ เ อง หากสร้ า ง กระบวนการปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรม ให้เกิดการเรียนรู้ ตระหนัก ด้วยการเพิม่ โอกาส ในการศึกษาจะเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหา ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น จึ ง ได้ น� ำ ผลการวิ เ คราะห์ มาเป็นส่วนหนึง่ ของการจัดท�ำสือ่ การเรียนรู้ ในรูปแบบเกม The Choice : ทางเลือก -ทางรอด ซึง่ ในเนือ้ หาของเกมจะเป็นการสอน ความรูด้ า้ นกฏหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับหนีน้ อกระบบ การเข้าถึงหน่วยงานทีม่ หี น้าทีใ่ ห้ความช่วยเหลือ เข้าถึงความเป็นธรรม และให้รจู้ กั การด�ำรงชีวติ เพื่ อ ให้ ป ลอดจากหนี้ สิ น ตามแนวปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง ในบทความฉบับนีผ้ มจะกล่าวถึงปัญหา เฉพาะประเด็ น หลั ก เรื่ อ งการด� ำ รงชี วิ ต เพื่อให้ปลอดหนี้เท่านั้น ซึ่งในเบื้องต้นของ การคิดท�ำสื่อเกม ผมเพียงคาดหวังว่าจะเป็น สื่อการเรียนรู้เรื่องการครองตนและด�ำเนิน ชีวติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และเมือ่ วันที่ 18 มีนาคม 2559 ผมได้มีโอกาสน�ำเกม The Choice : ทางเลื อ ก-ทางรอด ไปร่ ว มแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ พระนิ สิ ต ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยได้ รั บ การอนุ เ คราะห์ อ ย่ า งดี ยิ่ ง จาก ผศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการทัว่ ไป จากการถอดบทเรียนภายหลังจากเรียนรู้ เรื่ อ งเกมแล้ ว ท� ำ ให้ ไ ด้ มี โ อกาสเรี ย นรู ้ หลักธรรมในการด�ำเนินชีวติ ซึง่ เป็นเป้าหมาย ของเกมได้อย่างลึกซึ้งมากกว่าที่คิด ผมจึง อยากน�ำมาบอกเล่าไว้พอสังเขป ดังนี้

หลักธรรมทางพุทธศาสนากับการ เพิ่มทักษะการเรียนรู้จากเกม หลักธรรมส�ำหรับการป้องกัน

อิณา ทานัง ทุกขัง โลเก = การเป็นหนี้ เป็นทุกข์ในโลก หนี้มีลักษณะเป็นการน�ำเงินในอนาคต มาใช้ หากน�ำมาใช้ในทางที่ก่อให้เกิดรายได้ ถือว่าเป็นแนวทางทีด่ ี หากกูย้ มื มาเพือ่ อุปโภค บริโภค ติดอบายมุข เล่นการพนัน ย่อมเกิดทุกข์ เพราะมี แ ต่ สู ญ เปล่ า ยิ่ ง เป็ น หนี้ ที่ ถู ก เอารัดเอาเปรียบทางด้านกฏหมายโดยเจ้าหนี้ ที่ มี โ อ ก า ส ฐ า น ะ ท า ง สั ง ค ม ที่ สู ง ก ว ่ า ย่อมสิ้นเนื้อประดาตัวในที่สุด หลั ก ธรรมที่ เ ป็ น หั ว ใจในการป้ อ งกั น ป ั ญ ห า ที่ ส� ำ คั ญ แ ล ะ น� ำ ม า ป รั บ ใ ช ้ ไ ด ้ อย่างทันยุคทันสมัย ได้แก่

1. สัปปุริสธรรม 7

หลั ก ธรรมที่ ท� ำ ให้ ค นเป็ น สั ต บุ รุ ษ หรือ เป็นคนดี มีคณุ ธรรม เป็นคนเก่ง มี 7 ประการ คือ 1.1 ธัมมัญญุตา ความเป็นผูร้ จู้ กั เหตุ คือ การรู้จักวิเคราะห์สาเหตุของสถานการณ์ และความเป็นไปของชีวติ รูจ้ กั หลักความจริง จะคิด จะท�ำอะไรก็มีหลัก รู้ว่าเมื่อกระท�ำ สิ่งนี้จะได้ผลตอบแทนเป็นความสุข แต่ถ้า กระท�ำอีกอย่างหนึ่งจะได้ผลเป็นความทุกข์ เช่น ถ้าขยันท�ำงานและเก็บออมจะมีชีวิต บั้นปลายที่มั่นคง เป็นต้น วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 51


1.2 อัตถัญญุตา ความเป็นผูร้ จู้ กั ผล คือ เมื่อมีปัญหาอันใดเกิดขึ้นเราจะต้องใช้ หลั ก เหตุ ผ ลมาพิ จ ารณาปั ญ หาเหล่ า นั้ น เพราะผลเกิดจากเหตุเสมอ การรูจ้ กั วิเคราะห์ เปรียบเทียบเหตุและผล จะท�ำให้เป็นคนรูเ้ ท่าทัน การกระท�ำของตน เช่น เราต้องเสียดอกเบี้ย ในจ�ำนวนที่สูงมากเกือบเท่าเงินต้นกับการ เช่าซือ้ สินค้าในลักษณะผ่อนน้อย และใช้เวลานาน 1.3. อัตตัญญุตา ความเป็นผูร้ จู้ กั ตน คื อ รู ้ จั ก ตนเองโดยฐานะ ภาวะ เพศ วั ย ค ว า ม รู ้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ค ว า ม ถ นั ด และคุณธรรม แล้วประพฤติตนให้เหมาะสม และรู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป 1.4 มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จัก ประมาณ หมายถึง ความพอดี ความพอเหมาะ พอสมควร การรู้จักประมาณ คือ การรู้จักท�ำ ทุกสิง่ ทุกอย่างหรือด�ำเนินชีวติ ให้อยูใ่ นสภาพ ทีเ่ หมาะสม ในการเล่นเกมก็ควรรูจ้ กั ประมาณ ในการใช้จ่ายได้เท่าไหร่ ควรเก็บเท่าไหร่ 1.5 กาลัญญุตา ความเป็นผูร้ จู้ กั เวลา หมายถึง การรู้จักเวลาที่เหมาะสมในการท�ำ กิจกรรมต่างๆ และรู้จักปฏิบัติตนให้ถูกกับ กาลเทศะ กล่าวคือ รู้ว่าในเวลาเช่นไรควรจะ ท�ำอะไร การรูจ้ กั กาลเวลาจะท�ำให้ไม่ดำ� รงตน อยู ่ ใ นความประมาณ ไม่ ท� ำ ให้ เ สี ย เวลา โดยเปล่าประโยชน์ 1.6 ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จัก ชุมชนและรูจ้ กั ทีป่ ระชุม คือ การรูจ้ กั หมูค่ ณะ หรือกลุ่มชนว่าดีหรือไม่ดีควรคบหาสมาคม ควรเข้าไปอยูเ่ ป็นพวกหรือไม่ เมือ่ อยูใ่ นชุมชน หรือทีป่ ระชุมนัน้ ๆ ควรวางตัวอย่างไร ควรท�ำ อะไร ควรพูดอย่างไร ความเป็นผู้รู้จักบริษัท คื อ รู ้ จั ก ชุ ม ชนและสั ง คม รู ้ ก ริ ย าที่ จ ะพึ ง 52 | Justice Magazine Ministry of Justice

ประพฤติ แล้ ว ประพฤติ ต นให้ เ หมาะสม ต่อชุมชนและสังคมนั้นๆ 1.7 ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโร ปรัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล การรู้จัก ประเภทบุ ค คลแต่ ล ะคนว่ า ฉลาดหรื อ โง่ ใครพึ่งพาได้ พึ่งพาไม่ได้ รู้จักว่าเป็นยังไง ควรจะคบหรือไม่ และรูท้ จี่ ะปฏิบตั ติ อ่ บุคคล นั้นๆ ด้วยดี

หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มี ค ว า ม ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ห ลั ก ธ ร ร ม สัปปุริสธรรม 7

“เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency Economy) เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พ ระราชด� ำ รั ส ชี้ แ นะ แนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดรวมถึงการพัฒนาและบริหาร ประเทศ ทีต่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของทางสายกลาง ค� ำ นึ ง ถึ ง ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่ เ บี ย ดเบี ย นตนเองและผู ้ อื่ น เช่ น การผลิ ต และการบริ โ ภคที่ อ ยู ่ ใ นระดั บ พอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล หมายถึ ง การตัดสินใจเกีย่ วกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนค�ำนึงถึงผล ที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น จากการกระท� ำ นั้ น ๆ อย่างรอบคอบ การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล

จะเห็นได้ว่าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี ค ว า ม ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ห ลั ก ธ ร ร ม สัปปุริสธรรม 7 ที่มีสาระส�ำคัญในการชี้แนะ แนวทางการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามวิ ถี ดั้ ง เดิ ม ของสังคมไทย การปรับตัวให้เท่าทันกับการ เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เพื่อความมั่นคง อ ยู ่ ร อ ด ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มี ค ว า ม ยั่ ง ยื น เช่น ความพอประมาณ ตรงกับมัตตัญญุตา เป็ น ผู ้ รู ้ จั ก ประมาณ และอั ต ตั ญ ญุ ต า เป็นผูร้ จู้ กั ตน ความมีเหตุผล ตรงกับธัมมัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั เหตุ และอัตถัญญุตา เป็นผูร้ จู้ กั ผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตรงกับกาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักบริษัท ชุ ม ชน และปุ ค คลั ญ ญุ ต า หรื อ ปุ ค คลปโร ปรัญญุตา เป็นผู้รู้จักบุคคล

2. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ เป็ น หลั ก ธรรมที่ ก ล่ า วถึ ง ประโยชน์ ในปัจจุบัน 4 อย่าง เรียกว่า “อุ อา กะ สะ” หรือหัวใจเศรษฐี (แสวงหา รักษาไว้ ใช้เป็น) หมายถึ ง ธรรมที่ เ ป็ น ไปเพื่ อ ประโยชน์ ในปัจจุบนั หลักธรรมอันอ�ำนวยประโยชน์สขุ ขั้นต้น เพื่อประโยชน์สุขสามัญที่มองเห็นกัน ในชาตินี้ ที่คนทั่วไปปรารถนา มีทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี เป็นต้น อันจะส�ำเร็จด้วยธรรม 4 ประการ คือ 2.1 อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วย ความหมั่น เช่น ขยันหมั่นเพียร เลี้ยงชีพด้วย การหมั่ น ประกอบการงาน เป็ น ผู ้ ข ยั น ไม่เกียจคร้านในการงานนั้น ประกอบด้วย ปัญญาเครือ่ งสอดส่อง อันเป็นอุบายในการงานนัน้ ให้สามารถท�ำได้ส�ำเร็จ 2.2 อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วย การรักษาโภคทรัพย์ (ทีห่ ามาได้ดว้ ยความขยัน หมั่นเพียร โดยชอบธรรม) เขารักษาคุ้มครอง โภคทรัพย์เหล่านัน้ ไว้ได้พร้อมมูล ไม่ให้ถกู ลัก หรือท�ำลายไปโดยภัยต่างๆ 2.3 กั ล ยาณมิ ต ตตา คบคนดี ไม่ ค บคบชั่ ว อยู ่ อ าศั ย ในบ้ า นหรื อ นิ ค มใด ย่อมด�ำรงตน เจรจา สนทนากับบุคคลในบ้าน หรื อ นิ ค มนั้ น ซึ่ ง เป็ น ผู ้ มี ส มาจารบริ สุ ท ธิ์ ผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา


2.4 สมชีวิตา อยู่อย่างพอเพียง รูท้ างเจริญทรัพย์และทางเสือ่ มแห่งโภคทรัพย์ แล้วเลี้ยงชีพพอเหมาะ ไม่ให้สุรุ่ยสุร่ายนัก ไม่ให้ฝืดเคืองนัก คิดว่ารายได้ของเราจักต้อง เหนือรายจ่าย และรายจ่ายของเราจักต้อง ไม่เหนือรายได้

3. ฆราวาสธรรม 4 ประการ

หลักธรรมส�ำหรับฆราวาสในการครองเรือน (หลักธรรมเบื้องต้นที่ฆราวาสทั่วไปใช้ในการ ฝึกตนเอง) ประกอบด้วย 3.1 สั จ จะ คื อ ความซื่ อ สั ต ย์ ต่อตนเองต่อผู้อื่น ตั้งใจว่าได้มาเท่าไหร่จะใช้ เท่าไหร่ก็ต้องใช้เท่านั้น 3.2 ทมะ คือ การข่มใจต่อสิ่งที่มา กระทบจิ ต ใจ (อดทนภายใน) เมื่ อ เกิ ด ความอยากได้อยากมี ต้องข่มจิตใจไว้ ไม่ใช้ จ่ายสุรุ่ยสุร่าย 3.3 ขันติ คือ ความอดทนเมื่อเกิด สถานการณ์ ขึ้ น กระทบร่ า งกาย (อดทน ภายนอก) รูจ้ กั แก้ปญ ั หาในสถานการณ์ตา่ งๆ 3.4 จาคะ คื อ ความเสี ย สละ เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นที่ตกทุกข์ได้ยากคนอื่น ได้รับความล�ำบากก็มีความเสียสละซึ่งอาจ เป็นก�ำลังทรัพย์หรือสติปญ ั ญา ในทางศาสนา คือ จาคะ เช่น ให้คำ� ปรึกษาในการหาทางออก อตฺตนา โจทยตฺตานิ จงเตือนตนด้วยตนเอง

หลักธรรมที่เป็นทางออกของปัญหา

อริยสัจ 4 เป็นหลักธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้า ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถือได้ว่าเป็น ธ ร ร ม สุ ด ย อ ด ข อ ง ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า คุ ณ ประโยชน์ ข องอริ ย สั จ 4 สอนให้ เ รา ไม่ประมาท สอนให้เราแก้ปัญหาด้วยปัญญา และเหตุผล สอนให้เราแก้ปัญหาด้วยตนเอง และช่วยให้เราเห็นสิง่ ต่างๆ ตามความเป็นจริง หลักธรรมอริยสัจ 4 ประกอบด้วย 1. ทุกข์ คือ สภาวะอันทนได้ยาก ไม่มี ใครทนทุกข์โดยไม่ยาก 2. สมุทัย คือ เหตุแห่งทุกข์ รู้ว่าทุกข์ เกิดมาจากอะไร เช่น เกิดจากความอยากมี อยากได้เหมือนคนอื่น 3. นิโรธ คือ เหตุแห่งการดับทุกข์ ตามหลักธรรมสัปปุรสิ ธรรม 7 คือ ต้องรูจ้ กั เหตุ

รู ้ จั ก ผล รู ้ จั ก ตน รู ้ จั ก ประมาณ รู ้ จั ก เวลา รู้จักชุมชน รู้จักบุคคล 4. มรรค คือ หนทางความพ้นทุกข์ ทางทีจ่ ะดับทุกข์นนั้ คือ “มรรคมีองค์ 8” หรืออริยมรรคแปลว่า ทางอันประเสริฐทางนัน้ มีทางเดียว แต่มอี งค์ประกอบ 8 ประการ คือ 1. สัมมาทิฎฐิ เห็นชอบ คือ ท�ำดีได้ดี ท�ำชัว่ ได้ชวั่ ในการเล่นเกม คือ ต้องดูความเสีย่ ง ในการลงทุนถ้ามากก็ไม่ควรลอง 2. สัมมาสังกัปปะ คิดชอบ ในการเล่น เกม คือ ต้องคิดว่าสิ่งที่เราจะท�ำดีหรือไม่ จะได้อะไร ต้องคิดในระยะยาวไม่ใช่คิดแค่ ระยะสัน้ ว่าต้องเก็บเงินไว้เผือ่ อนาคต ไม่ใช่คดิ จะใช้ในวันเดียวเพราะพรุง่ นีเ้ ราก็ยงั มีลมหายใจ 3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ในการเล่น เกม คือ เปรียบเทียบสถานการณ์จริงในการ เจรจาหนี้ เ ราจะมี วิ ธี ใ นการพู ด อย่ า งไร เพื่อให้การเจรจาส�ำเร็จ 4. สัมมากัมมันตะ ปฏิบัติชอบ คือ มีการปฏิบัติตัวตามสัปปุริสธรรม 7 หรือไม่ ในการเล่นเกมคือคิดว่าพรุ่งนี้จะรวยแต่ไม่ได้ ท�ำอะไร อยูเ่ ฉยๆ ซึง่ ก็ไม่มที างจะรวยขึน้ มาได้ 5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ ต้องรู้ว่า อาชีพไหนสุจริต อาชีพไหนทุจริต อย่าไปมอง ว่าอาชีพไหนเงินเดือนน้อยคือน่าอายซึง่ จริงๆ แล้ ว แม้ จ ะเงิ น เดื อ นน้ อ ยแต่ ก็ เ ป็ น อาชี พ ที่สูงค่า 6. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ มีความเพียรหรือไม่ในการประกอบอาชีพ ไม่ใช่ว่าท�ำนิดหน่อยอดทนต่อความล�ำบาก

ไม่ ไ ด้ ก็ เ ลิ ก ดั ง ที่ สุ ภ าษิ ต ไทยกล่ า วว่ า เหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ 7. สัมมาสติ ความมีสติชอบ ต้องระลึก อยู่ในปัจจุบันว่าเราจะท�ำอะไร เราเป็นใคร เราจะท�ำอะไรซึง่ จะเป็นแรงผลักดันให้ตวั เราเอง 8. สั ม มาสมาธิ ความมี ส มาธิ ช อบ ต้องมีการฝึกสมาธิสม�่ำเสมอ ถ้าฝึกมากๆ จะท�ำให้มีสติ สรุปได้วา่ มรรคมีองค์ 8 ย่อแล้วเรียกว่า “ ไตรสิกขา ” ซึง่ ได้แก่ ศีล สมาธิ และปัญญา ทีก่ ล่าวมาเป็นหลักธรรมทีน่ ำ� มาปรับใช้กบั สือ่ การสอน The Choice เกมทางเลือก-ทางรอด ซึง่ มีมติ ทิ งั้ ในด้านการป้องกันและการแก้ไขปัญหา ที่มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ จากการที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้ว ยังเป็นการสร้างเครือข่ายในการเผยแพร่เกมผ่าน วัดอีกช่องทางหนึ่งด้วย เป็นการยึดโยงสังคมที่มี ความเข้ ม แข็ ง ดั้ ง เดิ ม ในรู ป แบบของ “บวร” บ้าน วัด และโรงเรียน ซึ่งจะเป็นแนวทางในการ ด� ำ เนิ น งานเพื่ อ สร้ า งสั ง คมที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง และยั่งยืนต่อไป

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 53


พลั งคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม

สวัสดีชาวยุตธิ รรม เล่มนีศ้ นู ย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวง ยุติธรรม ขอน�ำเสนอนโยบายความโปร่งใสและแนวทางการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม รวมถึงระบบ บริหารจัดการข้อร้องเรียนของกระทรวงยุตธิ รรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 54 | Justice Magazine Ministry of Justice


เมือ่ วันที่ 28 เมษายน 2559 ศูนย์ปฏิบตั กิ าร ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ จั ด ประชุ ม มอบนโยบายความโปร่ ง ใส และแนวทางการป้ อ งกั น และปราบปราม การทุ จ ริ ต ของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง ยุ ติ ธ รรม มี น ายชาญเชาวน์ ไชยานุ กิ จ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ ม อบนโยบาย ความโปร่ ง ใสและแนวทางการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจริต ของส�ำนักงานปลัด กระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยมี ผู ้ อ� ำ นวยการ กอง/ส� ำ นั ก ข้ า ราชการ และเจ้ า หน้ า ที่ ในส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เข้าร่วม รับทราบนโยบาย นโยบายความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2559 สรุปได้ ดังนี้ 1. นโยบายด้ า นผู ้ บ ริ ห าร มี ค วาม พยายามและริเริ่มของหน่วยงานในการสร้าง ความโปร่งใส 1.1 ผูบ้ ริหารทุกระดับต้องมีบทบาท ส� ำ คั ญ ในการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งความโปร่ ง ใสในองค์ ก ร ต้ อ งสื่ อ สาร

4 . น โ ย บ า ย ด ้ า น ก า ร จั ด ก า ร เรื่องร้องเรียน และสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรู ้ 4 . 1 มี ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ความเข้ า ใจ รวมไปถึ ง การมี ส ่ ว นร่ ว ม ข้อร้องเรียนของกระทรวงยุตธิ รรมด้วยระบบ ในกระบวนการต่างๆ ของการด�ำเนินงานด้วย อิเล็กทรอนิกส์ (www.acc.go.th) เพือ่ อ�ำนวย 2. นโยบายด้านการเปิดเผย การมี ความสะดวกให้ กั บเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ ปฏิบัติงาน ระบบตรวจสอบภายในองค์ ก รและการมี รวมไปถึงประชาชนผูม้ คี วามประสงค์ยนื่ เรือ่ ง ส่วนร่วม ร้องเรียน โดยสามารถด�ำเนินการผ่านทาง 2.1 ผู ้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ ต้ อ งให้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ดงั กล่าวได้อย่างเบ็ดเสร็จ ความส�ำคัญในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ และเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถ เข้ามามีสว่ นร่วมในการรับทราบข้อมูลเกีย่ วกับ การด�ำเนินงาน และตรวจสอบผลการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงาน รวมทัง้ ให้ทกุ หน่วยงาน ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การประเมิ น คุ ณ ธรรม และความโปร่ ง ใสฯ (ITA) เนื่ อ งจาก เป็นตัวชี้วัดตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่ ว ยงาน ประจ� ำ ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2559 3. นโยบายด้านการใช้ดุลพินิจ 3 . 1 ใ ห ้ ก� ำ ห น ด ห ลั ก เ ก ณ ฑ ์ หรื อ แนวทางการพิ จ ารณาใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ในเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน โปร่งใส ไม่เลือก ปฏิ บั ติ ร วมทั้ ง การพิจารณาต่างๆ ควรระบุ เหตุผลประกอบด้วย วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 55


จากนั้น มีกิจกรรมเสวนาวิชาการ โดยมีการถอดบทเรียน กรณีตัวอย่างการกระท�ำ ผิดฐานทุจริต สาเหตุการกระท�ำผิดและแนวทางการแก้ไข โดยมีนางสาวสวาสดิ์ อินทวังโส หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง นายอุทัย ชาญ หัวหน้ากลุ่มงานวินัย และพิ ทั ก ษ์ ร ะบบคุ ณ ธรรม กองการเจ้ า หน้ า ที่ ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และนางปรียานุช วิริยราชวัลลภ นักวิชาการยุติธรรมช�ำนาญการ กลุ่มงานป้องกัน และปราบปรามการทุ จ ริ ต ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็นวิทยากรบรรยาย นอกจากนี้ ช่วงท้ายของการประชุมมอบนโยบาย ได้มกี จิ กรรมเสริมสร้างวัฒนธรรม องค์กร โดยร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด�ำเนินงาน ตามอ�ำนาจหน้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นระบบ มีการประสานงานระหว่างกอง/ส�ำนัก แบบบูรณาการและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ มีความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้นและปฏิบัติงานในต�ำแหน่งหน้าที่ได้อย่างมีความสุข

ระบบบริหารจัดการข้อร้องเรียนของกระทรวงยุติธรรม ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (www.acc.go.th) กระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต กระทรวงยุตธิ รรม ได้รว่ มกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม จัดท�ำระบบบริหารจัดการข้อร้องเรียน ของกระทรวงยุติธรรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นช่องทาง ในการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในการแจ้งเบาะแสปัญหา การทุจริต หรือกรณีพบเห็นเจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงยุตธิ รรมกระท�ำการ ทุจริตหรือประพฤติมิชอบ กรณีปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ กรณีฝา่ ฝืนประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และกรณีอนื่ ๆ โดยสามารถเข้าไปลงทะเบียนและกรอกหมายเลขบัตรประชาชน ผ่านทาง Website : http://acc.moj.go.th เพื่อร้องเรียนการกระท�ำ ดังกล่าว รวมถึงสามารถติดตามเรื่องที่ตนเองร้องเรียนผ่านระบบ ดังกล่าวได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส นอกจากนี้ ระบบดังกล่าวยังช่วยสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีใ่ นสังกัด ในเรือ่ งการจัดการ ข้อร้องเรียนให้เกิดความคล่องตัว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดการบูรณาการร่วมกันในด้านการขับเคลื่อนการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต รวมถึงเรื่องอื่น ๆ ระหว่างหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม

แผนผังการท�ำงานของระบบบริหารการจัดการข้อร้องเรียน การต่อต้านการทุจริต เป็นหน้าที่ของเราทุกคนที่จะต้อง ร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น และคอยเป็ น หู เ ป็ น ตาสอดส่ อ งดู แ ล เพื่อป้องกันไม่ให้มีการทุจริตเกิดขึ้น ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้าน การทุจริต กระทรวงยุตธิ รรม ขอย�้ำปณิธานเดิมว่า เพือ่ รักษาไว้ ซึ่งประโยชน์ของรัฐและประชาราษฎร์ จักด�ำเนินการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตอย่างจริงจัง และจะร่วมสนับสนุน ขับเคลือ่ นการแก้ไขปัญหาการทุจริตกับทุกภาคส่วน เพือ่ ร่วมขจัด ปัญหาการทุจริตให้หมดสิน้ จากผืนแผ่นดินไทย 56 | Justice Magazine Ministry of Justice


ถามมากองบรรณาธิ ตอบไปการ

ขายฝาก

การ

การขายฝาก คืออะไร

การขายฝากตามกฎหมาย คือ การซือ้ ขาย ชนิ ด หนึ่ ง แต่ เ ป็ น การซื้ อ ขายที่ มี ข ้ อ ตกลง พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม ว่ า ผู ้ ข ายฝากสามารถ ไถ่ทรัพย์สินนั้น คืนจากผู้ซื้อฝากได้ภายใน ก�ำหนดระยะเวลาที่ตกลงกัน แต่ ใ นความเป็ น จริ ง การขายฝาก เป็ น รู ป แบบหนึ่ ง ของการกู ้ ยื ม เงิ น เจตนา ที่ แ ท้ จ ริ ง ของผู ้ ข ายฝากต้ อ งการกู ้ เ งิ น แต่เจ้าหนี้ไม่ต้องการผูกพันในรูปสัญญากู้ เพราะมีอัตราเสี่ยงสูง จึงให้ลูกหนี้ท�ำสัญญา ในรูปขายฝาก ซึ่งท�ำให้เจ้าหนี้มีหลักประกัน

ที่ มั่ น คงและไม่ ยุ ่ ง ยากเหมื อ นการจ� ำ นอง หรือจ�ำน�ำเพราะกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ ตกเป็น ของผู ้ ซื้ อ ฝากทั น ที ที่ ท� ำ สั ญ ญาขายฝาก หากลูกหนี้ไม่ช�ำระหนี้ไถ่ถอนภายในก�ำหนด ก็หมดสิทธิ์ไถ่ ผู้รับซื้อฝากไม่ต้องเสียเวลา และเสียค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้องด�ำเนินคดี

ทรัพย์ที่ขายฝากได้

ทรัพย์สินทุกชนิดสามารถน�ำมาขาย ฝากได้ไม่ว่าจะเป็น “ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้” หรือ “ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้”

วิธีขายฝาก

ถ ้ า เ ป ็ น ก า ร ข า ย ฝ า ก ท รั พ ย ์ ที่ เ ค ลื่ อ น ที่ ไ ม ่ ไ ด ้ เ ช ่ น บ ้ า น ที่ ดิ น หรือ “ทรัพย์เคลือ่ นทีไ่ ด้ชนิดพิเศษ” (เรื อ มี ร ะวางตั้ ง แต่ ห ้ า ตั น ขึ้ น ไป แพ สั ต ว์ พ าหนะ) จะต้ อ งท� ำ

สัญญากันเป็นหนังสือและน�ำไปจดทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนัน้ สัญญาขายฝาก เป็นโมฆะเสียเปล่า เสมือนไม่มีการขายฝาก ถ้าเป็นการขายฝากทรัพย์ทเี่ คลือ่ นทีไ่ ด้ ต้องดูว่าขายฝากกันในราคาเท่าไร ถ้าราคา ต�่ำกว่า 20,000 บาท ก็ตกลงกันด้วยวาจาได้ แต่ถ้าขายฝากในราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นไป ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใด อย่างหนึ่งลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ หรื อ มี ก ารวางมั ด จ� ำ หรื อ มี ก ารช� ำ ระหนี้ กันแล้วบางส่วน มิฉะนัน้ จะฟ้องร้องหรือต่อสู้ คดีไม่ได้ ค� ำ ว่ า หนั ง สื อ อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง มีความหมายเหมือนที่กล่าวไว้แล้วในเรื่อง การกูย้ มื เงิน ค� ำ ว่ า ลายมื อ ชื่ อ ฝ่ า ยที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด หมายความว่ า จะบั ง คั บ กั บ ฝ่ า ยไหนต้ อ งมี ลายมือชื่อของฝ่ายนั้น ในหนังสือ

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 57


สินไถ่ คืออะไร

สิ น ไถ่ คื อ จ� ำ นวนเงิ น ที่ ผู ้ ข ายฝาก น� ำ มาช� ำ ระแก่ ผู ้ รั บ ซื้ อ ฝาก เพื่ อ ขอไถ่ เ อา ทรัพย์คนื ซึง่ อาจจะตกลงไว้ในสัญญาขายฝาก หรือไม่ได้ตกลงไว้ก็ได้ และสินไถ่จะต้องเป็น เงินเสมอไถ่ถอนด้วยทรัพย์สินอย่างอื่นไม่ได้

การก�ำหนดเวลาไถ่คืน ทรัพย์ที่ขายฝาก

ทรัพย์ประเภทเคลือ่ นทีไ่ ม่ได้ เช่น ทีด่ นิ บ้ า นเรื อ น ก� ำ หนดเวลาไถ่ ค รั้ ง เดี ย ว หรื อ หลายครั้ ง รวมกั น ต้ อ งไม่ เ กิ น 10 ปี นับแต่วนั ขายฝาก แต่หากเป็นทรัพย์เคลือ่ นทีไ่ ด้ ก�ำหนดเวลาไถ่ต้องไม่เกิน 3 ปี นับแต่วัน ที่ ท� ำ สั ญ ญาขายฝาก คู ่ สั ญ ญาจะตกลงกั น ขยายเวลาไถ่กี่ครั้งก็ได้ แต่ระยะเวลาที่ขยาย รวมกับเวลาเดิมแล้ว ต้องไม่เกินก�ำหนดเวลา ดังกล่าว การขยายก�ำหนดเวลาไถ่ อย่างน้อยต้อง มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้รับไถ่

(เจ้าหนี้) และหากเป็นทรัพย์ที่จดทะเบียน ขายฝากไว้ การมี ห ลั ก ฐานเป็ น หนั ง สื อ ลงลายมือชือ่ ผูร้ บั ไถ่ ใช้บงั คับในระหว่างคูส่ ญ ั ญา ได้เท่านั้น แต่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับบุคคล ภายนอกทีไ่ ด้กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์ทขี่ ายฝากไป โดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตไม่ได้ เว้นแต่ จะได้ น� ำ หลั ก ฐานเป็ น หนั ง สื อ ดั ง กล่ า วไป จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว

การไถ่ทรัพย์ที่ขายฝาก จากใครได้บ้าง

โดยปกติ ผูข้ ายฝากต้องขอไถ่จากผูซ้ อื้ ฝาก แต่ เ มื่ อ ขายฝากไปแล้ ว ผู ้ ซื้ อ ฝากอาจขาย ทรัพย์สนิ ต่อไป หรือมีการกระท�ำใดๆ ทีท่ ำ� ให้ ทรัพย์สนิ มีการเปลีย่ นแปลงมือไปเป็นของผูอ้ นื่ ในกรณีเช่นนี้ ผูข้ ายฝากยังสามารถไถ่ทรัพย์สนิ ได้จากบุคคลต่อไปนี้ - ทายาทของผู้ซื้อเดิม - ผู้ที่รับโอนทรัพย์สินที่ขายฝากนั้น

ข้อสังเกต กรรมสิทธิ์ ในทรัพย์ที่ขายฝากโอนไปยัง ผู้ซื้อฝากทันที ผู้ขายฝากไม่มี สิทธิครอบครองหรือเก็บเกี่ยว ผลประโยชน์ เว้นแต่จะ ตกลงกันไว้เป็นพิเศษ ให้ผู้ขายฝากยังคงมีสิทธิ ครอบครองเก็บเกี่ยว ผลประโยชน์ในทรัพย์ทขี่ ายฝาก

ที่มา : ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชน ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม 58 | Justice Magazine Ministry of Justice


ภาษายุ ติธรรม กองบรรณาธิการ

ทรัพย์สินทางปัญญา

Intellectual Property การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาไม่ว่า จะเป็ น “สิ น ค้ า ละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ” หรื อ “สินค้าเลียนแบบ” เป็นปัญหาทีม่ องเห็นได้ อย่างชัดเจนและส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยตรง รวมทั้ ง ยั ง ส่ ง ผลต่ อ ภาพลั ก ษณ์ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของประเทศ เนื่ อ งจาก ประเทศไทยถู ก จั ด อั น ดั บ การค้ า ลิ ข สิ ท ธิ์ ในบัญชีประเทศที่ต้องจับตามองเป็นพิเศษ (PWL)1 อยู่ในอันดับต้นๆ ของการค้าขาย สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ ภาษายุ ติ ธ รรมฉบั บ นี้ จึ ง ขออธิ บ าย เพิ่มเติมเรื่องความรู้เกี่ยวกับ ทรัพย์สินทาง ปัญญา (Intellectual Property) ว่าหมายถึง ผลงานอั น เกิ ด จากการประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิต ของสติ ป ั ญ ญาและความช� ำ นาญ โดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ชนิ ด ของการสร้ า งสรรค์ ห รื อ วิ ธี ในการแสดงออก เช่น สินค้าต่าง ๆ การบริการ กรรมวิธกี ารผลิตทางอุตสาหกรรม เป็นต้น ในทางสากล ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ทรัพย์สินทาง อุตสาหกรรม (Industrial Property) และ ลิขสิทธิ์ (Copyright)2 1 2

ทรัพย์สนิ ทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ของ มนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ได้พัฒนาหรือคิดค้นขึ้นใหม่ นอกจากนี้ยังรวมถึง การออกแบบผลิตภัณฑ์ เครือ่ งหมายการค้า ชือ่ และถิน่ ทีอ่ ยูท่ างการค้า โดยรวมถึงแหล่งก�ำเนิด และการป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 ประเภทได้แก่

ข้อมูลจาก http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000049984 ข้อมูลจาก http://www.en.kku.ac.th/research/th/index.php?view=article&catid=60%3A201406-19-06-57-31&id=67%3A2011-08-31-09-16-29&option=com_content&Itemid=143 และ http://www.trueinnovationcenter.com/ip.php วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 59


1. สิทธิบัตร (Patent) คือ หนังสือส�ำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือ การออกแบบ

ผลิตภัณฑ์ (Industrial Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายก�ำหนด ได้แก่ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Invention Patent) สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Design Patent) และอนุสทิ ธิบตั ร (Petty Patent) ซึง่ ผูท้ รงสิทธิบตั รหรืออนุสทิ ธิบตั ร มีสิทธิเด็ดขาด หรือ สิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการแสวงหาผลประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับสิทธิบัตร หรือ อนุสิทธิบัตรนั้น ภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายก�ำหนด

2. แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-Designs of Integrated Circuits) คือ การออกแบบ

ผังภูมิ (ขัน้ ตอนการผลิตช่วงต้น) แผ่นบัง - ไมโครชิพ - วงจรรวมเป็นชิน้ DIEs (ช่วงกลางและช่วงปลาย) โดยลักษณะงาน ที่ได้รับความคุ้มครอง จะต้องเป็นแบบผังภูมิที่ได้รับการออกแบบ (topography) แผ่นบังหรืองานหน้ากาก (Mask work) ตัววงจรรวม (Integrated circuit) และผลิตภัณฑ์ที่วงจรรวมดังกล่าวประกอบอยู่ที่ออกแบบขึ้นมาใหม่

3. เครื่องหมายการค้า (Trademark) คือ สิ่งที่ใช้กับสินค้า เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา

ชื่อ ค�ำ ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ กลุ่มของสี รูปร่าง หรือรูปทรงของวัตถุ หรือสิ่งเหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน โดยลักษณะงานทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครอง ได้แก่ เครือ่ งหมายการค้า เครือ่ งหมายบริการ เครือ่ งหมาย รับรอง และเครื่องหมายร่วมที่ประการแรกมีลักษณะเฉพาะ ประการต่อมาไม่มีลักษณะต้องห้าตามพ.ร.บ.เครื่องหมาย การค้า พ.ศ. 2534 เเละไม่เหมือนหรือคล้ายกับของผู้อื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว

4. ความลับทางการค้า (Trade Secrets) คือ ความลับทางการค้าที่เป็นข้อมูลการค้าด้านอุตสาหกรรม

และพาณิชยกรรม ซึ่งต้องเป็นข้อมูลทางการค้าที่ยังไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน มีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เนื่องจาก การเป็นความลับนั้น และได้ใช้มาตรการที่เหมาะสมเพื่อรักษาไว้เป็นความลับ

5. ชื่อทางการค้า (Trade Name) คือ ชื่อที่ใช้ ในการประกอบกิจการ 6. สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication) คือ ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียก

หรือใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์ สามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์นั้น ป้องกันความหลงผิดหรือสับสนของสาธารณชน และเพื่อให้ประโยชน์ แก่ผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับความคุ้มครอง ส�ำหรับลักษณะงานที่ได้รับความคุ้มครอง ได้แก่ สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยตรง เช่น ส้มบางมด ครกอ่างศิลา เบลเยี่ยมช็อกโกแลต สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยอ้อม เช่น ชาละวันหมายถึงจังหวัดพิจิตร ก� ำ แพงเมื อ งจี น หมายถึ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น หรื อ หอนาฬิ ก า Big Ben หมายถึ ง กรุ ง ลอนดอน หรือประเทศอังกฤษ3 ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของ ผู้สร้างสรรค์ท่ีจะกระท�ำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ท�ำขึ้น ตามประเภทลิ ข สิ ท ธิ์ ที่ ก ฎหมายก� ำ หนด ได้ แ ก่ งานวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึก เสียง งานแพร่เสียง แพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนก วิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ไม่ว่างานดังกล่าวจะแสดงออกโดยวิธี หรือรูปแบบทั้งโดยจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ นอกจากนี้กฎหมายลิขสิทธิ์ยังให้ความคุ้มครองถึงสิทธิของ นักแสดงด้วย อย่างไรก็ตาม การคุ้มครองลิขสิทธิ์ ไม่ครอบคลุมถึง ความคิดหรือขัน้ ตอน กรรมวิธหี รือระบบ วิธใี ช้หรือท�ำงาน แนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ 3 ข้อมูลจาก http://www.kmutt.ac.th/rippc/ipcat.htm 60 | Justice Magazine Ministry of Justice

นอกจากนี้สินค้าละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ สิ น ค้ า ละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ หรื อ ที่ ผู ้ บริโ ภคทั่วไป เรียกว่า “สินค้าเถื่อน” ซึ่งตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Pirated Goods” และสินค้าเลียนแบบ หรือที่เรียกกันว่า “สินค้าก๊อบปี้” ซึ่งตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Counterfeit Goods” สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ : Pirated Goods จะหมายถึง สินค้า ที่มีการท�ำซ�้ำ ผลิตซ�้ำ คัดลอก ท�ำส�ำเนา ท�ำแม่พิมพ์ บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกภาพและเสียงจากต้นฉบับโดยไม่ได้รบั อนุญาต ทางกฎหมายและมั ก จะหมายถึ ง สิ น ค้ า ประเภทเทคโนโลยี ห รื อ การท�ำซ�้ำเนื้อหาของสื่อต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์ แผ่นซีดี ฟิล์ม ดีวีดี รวมถึงการบันทึกเพลงและภาพยนตร์


ส่วนสินค้าเลียนแบบ : Counterfeit Goods จะเป็นสินค้าที่ละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญาซึง่ แตกต่างออกไปในรูปแบบอืน่ อาทิ การลอกเลียนแบบกระเป๋า เสือ้ ผ้าหรือ นาฬิกาจากตราสินค้าชื่อดัง สินค้าเลียนแบบจึงหมายถึง สินค้าที่ผลิตขึ้นเพื่อพยายาม ลอกเลียนแบบหรือจงใจปลอมแปลงอย่างผิดกฎหมายให้มีคุณลักษณะใกล้เคียงหรือ เหมือนกับสินค้าของแท้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งมักจะเป็นการลอกเลียนรูปแบบของ สินค้า ลวดลาย บรรจุภัณฑ์เครื่องหมายการค้าและฉลาก เพื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจหรือ ดูเหมือนสินค้าของแท้ รวมถึงสินค้าที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ผลิตและไม่ได้รับการคุ้มครอง ตามสิทธิแห่งทรัพย์สินทางปัญญา โดยทั่วไปสินค้าเลียนแบบมักจะเป็นการลอกเลียน แบบสินค้าประเภทแฟชัน่ จากตราสินค้าทีม่ ชี อื่ เสียงหรือทีเ่ รียกว่า “สินค้าแบรนด์เนม” 4

Intelle Prope Intellectual Property Intellectu Property สินค้าของแท้

ทั้งนี้เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ที่ผ่านมา กระทรวงยุตธิ รรม โดยกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ได้ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธีท�ำลายของกลาง คดีละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาทีค่ ดีถงึ ทีส่ ดุ แล้ว ณ สถานี ข นส่ ง สิ น ค้ า คลองหลวง จั ง หวั ด ปทุมธานี โดยมี นางนั น ทวั ล ย์ ศกุ น ตนาค อธิบดีกรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา เป็นประธาน ในพิธี ซึง่ การจัดงานดังกล่าวเป็นความร่วมมือ ร ะ ห ว ่ า ง ก ร ม ท รั พ ย ์ สิ น ท า ง ป ั ญ ญ า กระทรวงพาณิชย์ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ กรมศุลกากร กรมสอบสวนคดีพิเศษ และ

4

สินค้าเลียนแบบ

ภาคเอกชนเจ้าของสิทธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยในพิธที ำ� ลายของกลางในปี 2559 มีจำ� นวน ของกลางทัง้ สิน้ 1,244,549 ชิน้ คิดเป็นน�ำ้ หนัก ประมาณ 126 ตั น มู ล ค่ า 729 ล้ า นบาท โดยเป็นของกลางของกรมสอบสวนคดีพิเศษ จ�ำนวน 484,222 ชิ้น โดยของกลางจากกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ที่น�ำมาท�ำลายประกอบด้วย สินค้าจ�ำพวก เสื้ อ ผ้ า กระเป๋ า เข็ ม ขั ด รองเท้ า นาฬิ ก า โทรศัพท์มอื ถือ แผ่นซีดี ล้อแม็กซ์ เครือ่ งส�ำอาง ฯลฯ “ สิ น ค ้ า ล ะ เ มิ ด ท รั พ ย ์ สิ น ท า ง ป ั ญ ญ า เหล่ า นี้ เ ป็ น ของผิ ด กฎหมายจะต้ อ งน� ำ มา ท� ำ ลาย ซึ่ ง การท� ำ ลายของกลางคดี ล ะเมิ ด ทรัพย์สินทางปัญญาที่คดีถึงที่สุดแล้ว ถือเป็น ขั้นตอนสุดท้ายของการปราบปรามที่จะต้อง ด� ำ เนิ น การอย่ า งโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ไม่วา่ จะเป็น พั น ธกรณี ภ ายใต้ ข ้ อ ตกลงด้ า นทรั พ ย์ สิ น ทางปัญญาขององค์การการค้าโลก (TRIPS) หรือ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

ข้อมูลจาก สุมาลี เล็กประยูร “สินค้าละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาและคุณค่า แห่งแบรนด์” http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/july_sep_10/ pdf/aw31.pdf ภาพสิ น ค้ า ของแท้ จาก www.prada.com และภาพสิ น ค้ า เลี ย นแบบจาก google.co.th/imglanding

ทั้ ง นี้ ส� ำ นั ก คดี ท รั พ ย์ สิ น ทางปัญ ญา จะด�ำเนินการปราบปราบการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยการสืบสวนจับกุมการละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญาทั้งในกรุงเทพฯ และ ต่ า งจั ง หวั ด โดยเฉพาะเขตพื้ น ที่ ที่ ต ้ อ ง เฝ้าระวังเป็นพิเศษ (พื้นที่สีแดง) ต่อไป

ปัญหาสินค้าละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญา ที่มีอยู่ทั่วไปในเมืองไทย

จะลดลงหรือหมดไปได้ หากทุกภาคส่วน ของสังคมช่วยกันต่อต้าน และไม่สนับสนุนสิ่งของที่เกิดจากการ

ละเมิดลิขสิทธิ์ แล้วพบกับค�ำศัพท์

ที่น่าสนใจในคอลัมน์ภาษายุติธรรมฉบับต่อไป

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 61


ทีกองบรรณาธิ ่นี่แจ้งการวัฒนะ งานสถาปนากระทรวงยุติธรรม พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานเปิดงานวันสถาปนากระทรวงยุติธรรม ครบรอบ 125 ปี ภายใต้แนวคิด “ยุตธิ รรมสูห่ มูบ่ า้ น น�ำบริการ รัฐสูป่ ระชาชน”ณ ลานอเนกประสงค์ ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ภายในงานมีพิธีสงฆ์ การท�ำบุญตักบาตร มอบรางวัล ข้าราชการพลเรือนดีเด่น รางวัลพนักงานราชการดีเด่น รางวัล อาสาสมัครคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพดีเด่น รางวัลประกวดงาน วิจยั ดีเด่น การแสดงของศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนหญิง บ้านปรานี การแสดงดนตรีจากกรมราชทัณฑ์ รวมทั้งการ ประมูลสังหาริมทรัพย์จากส�ำนักงาน ป.ป.ส. และการแข่งขัน ตอบปั ญ หาด้ า นกฎหมายของนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลายนอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมการรับบริจาคเพือ่ การกุศล ให้แก่ศริ ริ าชมูลนิธิ การรับบริจาคโลหิตโดยโรงพยาบาลราชวิถี

“เรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท” นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธเี ปิดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “การเรียนรู้ ตามรอยพระยุ ค ลบาท : เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” เพื่ อ ให้ ข้าราชการในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมน้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นแนวทาง ในการประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต น และการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ร าชการ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ข้ า ราชการที่ ดี ข องประชาชน ณ ห้ อ งรั บ รอง กระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

วิพากษ์ร่างรองรับพรบ.กองทุนยุติธรรม นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลั ด กระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการประชุมวิพากษ์ร่าง อนุบัญญัติหลักรองรับพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 เพือ่ น�ำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปประกอบ การพิจารณาปรับปรุงร่างอนุบัญญัติฯ จ�ำนวน 7 ฉบับ ให้มีความครบถ้วน และสมบูรณ์ต่อไป เพื่อช่วยเหลือ ผู ้ ย ากไร้ เดื อ ดร้ อ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ น ธรรม ให้ ส ามารถเข้ า สู ่ ก ระบวนการความยุ ติ ธ รรมได้ อ ย่ า ง เท่าเทียมมากยิ่งขึ้น ณ ห้องวายุภักษ์ 5 โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการฯ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ 62 | Justice Magazine Ministry of Justice


ประชุมคณะกรรมการต่อต้านการทุจริต พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้า คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ เป็ น ประธานการประชุ ม คณะกรรมการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 2/2559 เพื่อติดตามความคืบหน้าและหารือถึงมาตรการการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต ณ ห้องสีเขียว ตึกไทยคูฟ่ า้ ท�ำเนียบรัฐบาล

ต้อนรับองค์การนิรโทษกรรมสากล นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ให้การต้อนรับ นางสาวแชมพา พาเทล รักษาการผูอ้ ำ� นวยการ องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International) ประจ�ำส�ำนักงานภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟกิ ในโอกาสเข้าร่วมแสดงความยินดีเนือ่ งจากเข้ารับต�ำแหน่งใหม่ พร้อมหารือข้อราชการเกี่ยวกับประเด็นโทษประหารชีวิต ในประเทศไทย และทบทวนสถานการณ์ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ของประเทศไทยตามกลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 รวมถึงติดตามความคืบหน้าการพัฒนา กฎหมาย เพื่ อ ป้ อ งกั น และปราบปรามการทรมาน และการบังคับบุคคลให้สญ ู หาย ณ ห้องประชุมปลัดกระทรวง ยุ ติ ธ รรม ชั้ น 8 อาคารราชบุ รี ดิ เ รกฤทธิ์ ศู น ย์ ร าชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

คณะ UNDP ดูงานบ้านกาญจนาภิเษก นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลั ด กระทรวงยุติธรรม น�ำคณะผู้แทนจาก ส� ำ นั ก งานภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ค ของ โครงการพั ฒ นาแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations Development Programme : UNDP) เข้าเยี่ยมชมและ ศึ ก ษาดู ง านกระบวนการแก้ ไ ข ฟื ้ น ฟู เด็กและเยาวชน ณ ศูนย์ฝกึ และอบรมเด็ก และเยาวชน(ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก กระทรวงยุติธรรม จังหวัดนครปฐม

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 63


กฎหมายสามั ญประจ�ำบ้าน กองบรรณาธิการ

“ทวงหนี้”

เรื่องใกล้ตัวควรรู้

64 | Justice Magazine Ministry of Justice

การเป็นหนี้ อาจเป็นเรื่องปกติ ของคนหาเช้ากินค�ำ่ อย่างเรา แต่ปญ ั หา จะตามมามากมายหากลูกหนี้ผิดนัด การช�ำระหนี้ กลายเป็นเหตุให้ถกู เจ้าหนี้ ทั้ ง บุ ค คล หรื อ สถาบั น การเงิ น ติดตามทวงหนี้สารพัดรูปแบบ และ บางครั้งอาจถึงขั้นติดตามหนี้ด้วยการ ข่มขู่ ล่อลวง ประจาน ก่อกวน เป็นต้น ซึ่งถือเป็นการละเมิดสิทธิ์ส่วนบุคคล ของลูกหนี้ ภาครัฐเห็นความส�ำคัญเรื่องนี้ จึ ง ได้ ค ลอด พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 และมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ แ ล้ ว ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 2558 เป็น กติกากลางให้เจ้าหนีแ้ ละลูกหนี้ ปฏิบตั ิ เพือ่ สร้างความเป็นธรรมในการติดตาม ทวงหนีโ้ ดยมีรายละเอียดทีท่ งั้ สองฝ่าย ควรทราบดังนี้


เจ้าหนี้ควรรู้

1 2 3 4

“ผูท้ วงถามหนี”้ คือ เจ้าหนี้ ผูใ้ ห้กเู้ งิน ไม่วา่ จะโดยถูกกฎหมายหรือไม่กต็ าม รวมถึงผูไ้ ด้รบั มอบอ�ำนาจ จากเจ้าหนี้ให้ทวงถามหนี้ อาทิ บริษัทรับทวงหนี้ “ธุรกิจทวงถามหนี้” คือ ผู้ประกอบธุรกิจรับจ้างทวงหนี้ ซึ่งต้องได้รับการจดทะเบียนทวงถามหนี้ ต่อนายทะเบียน กรณีผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความ ให้จดทะเบียนกับสภาทนายความ ผู้ฝ่าฝืนไม่ไปจดทะเบียนมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท ผูท้ ปี่ ระกอบธุรกิจทวงถามหนี้ จะต้องยืน่ ค�ำขอจดทะเบียนภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 มีผลบังคับใช้ (2 กันยายน 2558) โดยระหว่างนี้ให้ยังประกอบธุรกิจได้อยู่ ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น ทหาร ต�ำรวจ ประกอบธุรกิจรับทวงหนี้ หรือไปช่วยคนอื่นทวงหนี้ที่ไม่ใช่ หนีข้ องตัวเอง เว้นแต่เป็นหนีข้ องสามีภรรยา พ่อแม่ หรือลูก ให้สามารถท�ำได้ภายใต้กรอบของกฎหมาย ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

5

ห้ า มทวงหนี้ กั บ คนที่ ไ ม่ ใ ช่ ลู ก หนี้ เว้ น แต่ เ ป็ น บุ ค คลที่ ลู ก หนี้ ร ะบุ ใ ห้ ไ ปทวงถาม โดยมีข้อปฏิบัติ คือ - ผู้ทวงหนี้ต้องแสดงตัว แจ้งชื่อ-สกุล พร้อมแสดงเจตนาว่าต้องการถามหาข้อมูล เพื่อติดต่อลูกหนี้ - ผู้ทวงหนี้ห้ามเผยข้อมูลการเป็นหนี้ของลูกหนี้ ยกเว้นผู้ที่ได้ติดต่อนั้นเป็นสามี ภรรยา พ่อ-แม่ หรือลูกของลูกหนี้ โดยให้บอกเล่าเท่าที่จ�ำเป็น - ห้ามใช้ข้อความ เครื่องหมาย หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย - ห้ามหลอกลวงหรือท�ำให้บุคคลอื่นเข้าใจผิด เพื่อให้ได้ข้อมูลของลูกหนี้ - ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท

6

การทวงถามหนี้ ให้ปฏิบัติ ดังนี้ - ติดต่อลูกหนี้ตามสถานที่ติดต่อที่ให้ไว้ - ติดต่อในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-20.00 น. และในวันหยุดราชการ เวลา 08.00-18.00 น. หากฝ่าฝืนจะถูกสัง่ ระงับการด�ำเนินการ และหากยังฝ่าฝืนซ�ำ้ จะถูกโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท - ติดต่อตามจ�ำนวนครั้งที่เหมาะสม - กรณีเป็นผูร้ บั มอบอ�ำนาจให้ทวงหนีต้ อ้ งแสดงหลักฐานด้วยว่าตนเองได้รบั มอบหมายมา วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 65


ลูกหนี้ควรรู้

1 2

ข้อห้ามปฏิบัติของผู้ทวงหนี้ - ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ท�ำให้เกิดความเสียหายต่อร่างกายหรือทรัพย์สิน ผู้ฝ่าฝืน จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ - พูดจาไม่สุภาพ ดูหมิ่น ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท - เปิดเผยความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้คนอื่นได้รู้ ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมีโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท - ทวงหนี้ ผ ่ า นไปรษณี ย ์ หรื อ โทรสาร โดยมี ข ้ อ ความแสดงการทวงหนี้ ชั ด เจน ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท - ระบุข้อความ เครื่องหมาย หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท ห้ามทวงหนี้แบบหลอกให้เข้าใจผิด - ส่งเอกสารท�ำให้ลกู หนีเ้ ข้าใจผิดว่าเป็นการกระท�ำของศาล เช่น ส่งเอกสารทีม่ ตี ราครุฑ มาให้ลูกหนี้ ผู้ฝ่าฝืนจําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ - ท�ำให้เชื่อว่ามีการส่งหนังสือบอกกล่าวทวงถาม (Notice) จากทนายความ ผู้ฝ่าฝืน มีโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ - ใช้เอกสารที่ทำ� ให้ลูกหนี้เข้าใจผิดว่าจะถูกด�ำเนินคดี หรือถูกยึดทรัพย์ ผู้ฝ่าฝืนมีโทษ จําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ - แอบอ้างว่าเป็นการทวงหนี้จากบริษัทข้อมูลเครดิตใด ๆ ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

66 | Justice Magazine Ministry of Justice


3 4 5

การทวงถามหนี้ไม่เป็นธรรม - เรี ย กเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มหรื อ ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการ ทวงถามหนี้ในอัตราเกินกว่าที่ก�ำหนด - เสนอให้ลูกหนี้สั่งจ่ายเช็คช�ำระหนี้ทั้ง ๆ ที่รู้ว่า ลูกหนี้ไม่มีเงินช�ำระหนี้ตามเช็ค ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ คณะกรรมการกํากับการทวงถามหนี้ มีอ�ำนาจหน้าที่ ในการก�ำกับดูแลการทวงหนี้ของผู้ทวงถามหนี้ โดยหาก ลู ก หนี้ ห รื อ คนอื่ น ๆ ได้ รั บ การปฏิ บั ติ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม หรือไม่เป็นไปตามกฎหมายจากผู้ทวงถามหนี้ สามารถร้อง เรียนต่อคณะกรรมการกํากับการทวงถามหนีป้ ระจ�ำจังหวัด ให้ทที่ ำ� การปกครอง หรือกองบัญชาการต�ำรวจนครบาล มี อ� ำ นาจรั บ ร้ อ งเรี ย นการทวงหนี้ ผิ ด กฎหมาย ติ ด ตาม พฤติกรรมของผู้ทวงถามหนี้

เมื่อเจ้าหนี้และลูกหนี้ เข้าใจสาระส�ำคัญของ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 แล้วก็เชื่อว่า จะสร้างความเป็นธรรม ให้เกิดขึ้นและช่วยลดปัญหา การละเมิดสิทธิส่วนบุคคลลงได้ วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 67


ก้นายมนิาวสู ่อาเซียน นธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์

รัฐบุรุษผู้ร่วมก่อตั้งอาเซียน

เมื่ อ วั น ที่ 3 มี น าคม พ.ศ. 2559 ประเทศไทยและอาเซียนได้สูญเสียบุคคล ส�ำคัญ ซึง่ เป็นผูร้ ว่ มก่อตัง้ “สมาคมอาเซียน” หรื อ “สมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้” ขึน้ ใน ปี พ.ศ. 2510 นัน่ คือ พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ซึ่งได้ ถึงแก่กรรมด้วยโรคชรา ในอายุ 102 ปี 68 | Justice Magazine Ministry of Justice

พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง การต่ า งประเทศอย่ า งต่ อ เนื่ อ งถึ ง 12 ปี (พ.ศ. 2502-2514) ในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต์ จนถึ ง รั ฐ บาลจอมพลถนอม กิ ต ติ ข จร และเคยเป็ น หั ว หน้ า พรรค ประชาธิ ป ั ต ย์ ระหว่ า งปี พ.ศ. 2522 ถึงพ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นช่วงตกต�่ำอย่างมาก ของพรรค โดยท่านได้เป็น ส.ส. ของพรรค เพี ย งคนเดี ย วในเขตกรุ ง เทพมหานคร ในการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2522 และต�ำแหน่ง ทางการเมืองสุดท้ายของท่านคือ รองนายก รัฐมนตรีในรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ในขณะที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงการต่างประเทศในคณะรัฐมนตรี

จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ริเริ่มการสร้าง กรอบความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขนึ้ มาใหม่ เพื่อทดแทนสมาคมอาสา (Association of


Southeast Asia-ASA) ที่ไม่ประสบความส�ำเร็จเนื่องจากความขัดแย้งเรื่องพรมแดน ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย โดยท่านได้เชิญรัฐมนตรีต่างประเทศ ของอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และรองนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย มาร่วมประชุม อย่างไม่เป็นทางการ ณ บ้านพักรับรองแหลมแท่น ชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี ซึง่ ก็สามารถบรรลุความตกลงร่วมกันได้วา่ จะมีการจัดตัง้ องค์กรเพือ่ ความร่วมมือระหว่าง ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขนึ้ มาใหม่ โดยตัง้ ชือ่ ว่า “Association of Southeast Asian Nations” หรือ “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซึง่ ได้มี การลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพือ่ จัดตัง้ ขึน้ อย่างเป็นทางการ เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีจดุ ประสงค์สำ� คัญ 2 ประการ คือ การส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เพือ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชน และการรักษาเสรีภาพและอธิปไตย เพือ่ ให้ประเทศต่างๆ ที่ มี ค วามหลากหลายทางการเมื อ ง การปกครอง ภาษา ศาสนาและวั ฒ นธรรม สามารถอยูร่ ว่ มกันด้วยความเข้าใจและปรองดอง และต่อมาได้มพี ฒ ั นาการมาอย่างต่อเนือ่ ง มีการเพิ่มจ�ำนวนสมาชิกจาก 6 ประเทศ เป็น 10 ประเทศ และยกระดับความร่วมมือ ขึน้ มาเป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) และมาสูก่ ารเป็น ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 การจัดตัง้ ขึน้ มาได้ในขณะนัน้ ถือเป็นการสร้างจุดยืนทีส่ ำ� คัญให้แก่กลุม่ ประเทศ โลกที่สาม ซึ่งเผชิญกับภัยคุกคามจากการขยายตัวของกลุ่มคอมมิวนิสต์ที่มีสหภาพ โซเวียตเป็นผูน้ ำ � และการต่อสูก้ บั คอมมิวนิสต์ของกลุม่ โลกเสรีทมี่ สี หรัฐอเมริกาเป็นผูน้ ำ � ซึ่งก็ไม่แน่ใจว่าจะเป็นภัยคุกคามในระดับที่ไม่แตกต่างกันหรือไม่ การรวมตัวกัน ของประเทศเล็กๆ เพื่อให้เกิดอ�ำนาจต่อรองมากขึ้นในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในขณะนั้น นอกจากบทบาทในทางการเมืองระหว่างประเทศแล้ว พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ยังมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ภาคใต้อีกด้วย โดยท่าน ได้เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ในปี พ.ศ. 2506 ซึ่งได้มีการจัดท�ำแผนการ พัฒนาภาคใต้ และสนับสนุนให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยภาคใต้ขึ้น ซึ่งต่อมาได้มีการ ขอพระราชทานชื่อใหม่ ได้ชื่อว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” และได้มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ ให้ทา่ นเป็นอธิการบดีคนแรก ซึง่ ต่อมาท่านก็ได้เป็นนายก สภามหาวิทยาลัย คนที่ 2 ต่อจากจอมพลถนอม กิตติขจร และได้ด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกัน 4 วาระจนถึงปี พ.ศ. 2522 ซึ่งบทบาทในการพัฒนาภาคใต้ โดยเฉพาะในเรื่องของ การศึกษา น่าจะเป็นรากฐานส�ำคัญในการสร้างฐานเสียงที่มั่นคงของพรรคประชาธิปัตย์ ในพื้นที่ภาคใต้มาจนถึงปัจจุบัน เกร็ดเล็กๆ น้อยๆ อีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับตัวท่านที่อยากจะน�ำมาเล่าสู่กันฟังคือ เรื่ อ งที่ น ายอั ม ริ น ทร์ คอมั น ตร์ เล่ า ถึ ง ปู ่ ข องท่ า นว่ า ในช่ ว งที่ ท ่ า นด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจ�ำสหรัฐอเมริกานั้น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นหัวหน้า คณะปฏิวตั ใิ นขณะนัน้ ได้เดินทางไปรักษาตัวทีส่ หรัฐอเมริกา ซึง่ โดยปกติแล้ว เมือ่ มีบคุ คล ส�ำคัญระดับนี้เดินทางไปเอกอัครราชทูตไทยก็จะต้องเดินทางมารับตั้งแต่ที่ฮาวาย (สมัยนั้นยังไม่มีเที่ยวบินตรงไปถึงสหรัฐอเมริกาเลย จะต้องแวะที่ฮาวายก่อน) แต่ท่าน กลับให้เจ้าหน้าที่เป็นผู้ไปรับจอมพลสฤษดิ์ที่ฮาวายเนื่องจากเห็นว่าเป็นการสิ้นเปลือง ซึ่ ง ท� ำ ให้ จ อมพลสฤษดิ์ ขอดู ตั ว เอกอั ค รราชทู ต คนนี้ เ ลยที เ ดี ย ว แต่ เ มื่ อ ได้ พ บปะ พูดคุยกันแล้วก็กลายเป็นว่าจอมพลสฤษดิ์ ถูกอกถูกใจท่านเป็นอย่างมาก และเอ่ยปาก ชักชวนให้ทา่ นเข้ารับต�ำแหน่งรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ทา่ นปฏิเสธ โดยตอบกลับว่า ถ้าจะให้เป็นก็ต้องเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเลย ซึ่ ง ต่ อ มาท่ า นก็ ไ ด้ เ ข้ า มาเป็ น รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศต่ อ จาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมืน่ นราธิปพงศ์ประพันธ์ และได้อยูใ่ นต�ำแหน่งนีย้ าวนานทีส่ ดุ ถึง 12 ปี วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 69


รูกองบรรณาธิ ้จักไอทีการ

วิธีใช้ บัตรเดบิต และบัตรเครดิต

ให้ปลอดภัย

เท่าที่เรารู้เกี่ยวกับบัตรเครดิต บัตรเดบิต และบัตร ATM นั้น มี ค วามเหมื อ นกั น และต่ า งกั น อย่ า งไร ซึ่ ง บั ต รทั้ ง 3 ชนิ ด นี้ มีประโยชน์ ช่วยอ�ำนวยความสะดวกสบายในการใช้จ่ายตามร้านค้า ต่างๆ แค่รูด ช้อปปิ้งออนไลน์ หรือใช้ร่วมกับ ตู้ ATM เพื่อถอนเงิน โอนเงิ น จ่ า ยค่ า บริ ก ารต่ า งๆได้ แต่ เ ราต้ อ งใช้ บั ต รเหล่ า นี้ อย่างระมัดระวัง เราจะใช้บัตรเหล่านี้..ให้เงินในบัตรของเรานั้น ปลอดภัยอย่างไร? มาดูวิธีการกัน

ตัวเลข.. • หลังจา กคุณได้ท�ำบัตรให รหัสบัตรนั้น ส�ำคัญ ม่ ทั้งบัตรเครดิต ผู้ออกบัตร ให้คุณ บัตร ท�ำการเปลี่ยนรห ส ั บัตรทันที เป็นรห เดบิต ซึ่งจะมาพร้อมกับรหัสผ่าน ตั้งรหัสผ่านบัตรเป ัสที่คุณ จาก ็น 1 • ห้ามเป 234 เป็นอันขาด โดยการตั้งรหัส จ�ำได้แม่นย�ำ แต่อย่างไรก็ตามไม่ค นั้นให้กลุ่มแฮกเก ิดเผย อร์เดายาก แต่เรา วร • หมั่นเป หมายเลขบัตร และรหัสบัตรให้ก จ�ำง่าย ับคน ลี่ยน • หลงั จา รหัสผ่านทุกๆ 3 เดือนเพื่อความป อื่นเด็ดขาด กตงั้ ลอด เปน็ อนั ขาด เพรา รหสั แลว้ ไมค่ วรจดรหสั ผา่ นใสก่ ระ ภัย ะหากถกู ลมื มคี นเก ดาษ และแปะไวใ้ นบตั รหรอื ในซองใ บ็ ได้ หรอื มคี นแอ เงินได้ทันที ซึ่งอา ส บขโมยบตั รไป กไ็ จท�ำให้เงินในบัญ ดบ้ ตั รพรอ้ มรหสั น บ่ ตั ร ชีหมดตัวได้ ำ� ไปถอน 70 | Justice Magazine Ministry of Justice


การใช้ตู้ ATM ให้ปลอดภัย ้ ATM ในที่เปลี่ยว ่ เพราะบางครั้งอาจมีมิจฉาชีพ • ไม่ควรใช้บริการตู ไม อ รื ห ติ ปก ด ิ รผ ะไ อ มี า ว่ M ภาพตู้ AT ะดู • ก่อนใช้ตู้ ATM ดูส หัสผ่าน ผ่านทางแป้นกด แล ดร รก กา ก ั ด มี ร ต ั บบ ย ี งเส อ ่ จากช ท�ำเครื่องมือรอดัก skimmer ่ งจิ๋วแอบถ่ายตัวแป้นกดหรือไม ด้านบนและรอบๆ ตู้ว่ามีกล้อ ใช้มือบังปุ่มกด จ • การกดรหัสผ่านควร สร็จออกมาด้วยแล้ว ควรตรวจสอบรายการที่ท�ำบนใบเสร็ จ มีใบเ • เมื่อท�ำรายการเสร็ ม ่ควรทิ้งใบเสร็จไว้หน้าตู้เอทีเอ็ ไม ก้ไข ว ตั บ ั ก ้ ไว อ ถื วร ะค แล ง ้ ั คร อีก าคารผูอ้ อกบัตร เพอื่ หาทางแ ธน ้ ง แจ รด โป ง อ ต้ ู ก ่ ถ ไม าร ยก พบรา • หากตรวจสอบแลว้

หากท�ำบัตรหาย ท�ำอย่างไรดี?

เมื่อคุณใช้บัตรเดบิตและบัตรเครดิต ไปช้อปปิ้ง

• ดูแลบัตรของคุณให้ดีอย่าให้หาย อย่าให้บัตรเราอยู่นอก สายตา • ขณะช�ำระเงินให้เดินตามพนักงานไปเซ็นชือ่ ทีจ่ ดุ จ่ายเงินด้วย • ในกรณีได้รบั SMS พบยอดใช้จา่ ยผิดปกติให้โทรแจ้งธนาคาร ผู้ออกบัตรทันที ในกรณีบัตรเครดิตสามารถโทรสั่งระงับการจ่าย รายการนั้นได้

• ให้โทรแจ้ง Callcenter ของธนาคารผูอ้ อกบัตรเพือ่ สัง่ อายัดบัตรทันที เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ได้บัตรของเราน�ำไปรูดบัตร หรือน�ำไปท�ำธุรกรรมการเงินต่างๆ • ทั้ ง นี้ ใ นตอนออกบั ต รควรจดเบอร์ Call center ของธนาคารไว้ด้วย

หากใช้บัตรอย่างมีสติ ใช้อย่างปลอดภัยละก็ เงินในบัตรของคุณก็จะไม่หายไปไหน ที่มา : ข้อมูลจาก facebook ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ศคง.1213 ธนาคารแห่งประเทศไทย วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 71


เคล็ ดลับเกร็ดสุขภาพ กองบรรณาธิการ

รู้ไว้ให้ระวัง

โรคภัยในช่วงฤดูฝน ผ่านพ้นฤดูร้อน เข้าสู่ช่วง ฝนพร�ำกันแบบเต็มตัวแล้ว เรื่องของสุขภาพก็ยังต้องใส่ใจ กันเหมือนเดิม โดยเฉพาะโรคภัย ไข้เจ็บที่มาพร้อมกับความ ชื่นฉ�่ำของสายฝนซึ่งมีอยู่ หลายกลุ่มดังนี้

1. กลุ่มโรคติดต่อทางน�้ำและอาหาร

ทีพ่ บบ่อย คือ โรคท้องเดิน โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน บิดไทฟอยด์ อาหารเป็นพิษ ตับอักเสบ เป็นต้น สาเหตุเกิดจากการรับประทาน อาหารที่ปนเปื้อนเชื้อจุลชีพ อันก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร และล�ำไส้ ดังนั้นจึงควรระมัดระวังเรื่องอาหารการกินมากเป็นพิเศษ ควรรับประทานอาหารทีป่ รุงสุกใหม่ ๆ ใช้ชอ้ นกลาง และล้างมือให้สะอาด ทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร

2. กลุ่มโรคติดเชื้อผ่านทางบาดแผลหรือเยื่อบุผิวหนัง

โรคกลุ่มนี้ที่พบบ่อยในฤดูฝน ได้แก่ โรคแลปโตสไปโรซิสหรือไข้ฉี่หนู และโรคตาแดง สาเหตุ มาจากการสัมผัสกับน�ำ้ ทีป่ นเปือ้ นเชือ้ โดยเฉพาะเชือ้ โรคทีม่ าพร้อมกับน�ำ้ ท่วมขัง น�ำ้ เสียในท่อระบายน�ำ ้ น�้ำที่ปนเปื้อนสิ่งปฏิกูลจากทั้งคนและสัตว์ โดยกลุ่มเสี่ยงโรคนี้จะอยู่ในกลุ่มเกษตรกร ชาวนา ชาวไร่ ประชาชนในพื้นที่ที่เกิดน�้ำท่วม คนงานในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ และพนักงานขุดท่อระบายน�้ำ เป็นต้น อาการของโรคที่ควรสังเกต คือ หลังได้รับเชื้อประมาณ 1-2 สัปดาห์ จะมีไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะ มักปวดกล้ามเนื้อบริเวณน่องและโคนขาอย่างรุนแรง รวมถึงอาการตาแดง คอแข็ง สลับกับ ไข้ลด หากเป็นมากอาจมีจุดเลือดออกที่เพดานปาก หรือตามผิวหนัง จนกระทั่งตับวาย ไตวายได้

3. กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ

แน่นอนว่าฤดูฝนต้องพาเอาโรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ และปอดบวมมาด้วยแน่ ๆ เนือ่ งจากสภาพอากาศทีแ่ ปรปรวนบวกกับเชือ้ ไวรัสและแบคทีเรียทีป่ นเปือ้ น อยู่ในอากาศชื้นช่วงฤดูฝนจะเป็นพาหะของโรคระบบทางเดินหายใจ อีกทั้งการแพร่กระจาย ของเชื้อโรคง่ายมาก เพียงแค่ไอ จาม หรือสัมผัสกับน�้ำมูกที่ปนเปื้อนเชื้อก็ป่วยได้แล้ว เราจึงควรดูแลตัวเองด้วยการใช้ผา้ ปิดจมูกเมือ่ ต้องอยูใ่ นทีแ่ ออัด หรือเมือ่ มีอาการป่วยก็ควร จะต้องสวมหน้ากากเพื่อหยุดการกระจายของเชื้อโรคด้วย ที่ส�ำคัญควรหมั่นล้างมือบ่อย ๆ และหลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหน้าด้วยมือด้วยนะคะ

72 | Justice Magazine Ministry of Justice


4.โรคไข้เลือดออก

โรคไข้เลือดออกจัดเป็นโรคติดต่อทีเ่ กิดจาก ยุง โดยไข้เลือดออกมียุงลายเป็นพาหะน�ำโรค ซึ่งกว่าร้อยละ 80 จะเกิดจากยุงลายที่อยู่ในบ้าน เราจึ ง ต้ อ งก� ำ จั ด ลู ก น�้ ำ ยุ ง ลายในบ้ า นให้ ห มด โดยเฉพาะในจุดที่มีน�้ำท่วมขัง รวมทั้งพยายาม ปกป้องตัวเองและคนในบ้านจากการโดนยุงกัดด้วย

5. โรคไข้สมองอักเสบ เจอี

อี ก หนึ่ ง โรคติ ด ต่ อ ที่ เ กิ ด จากยุ ง คื อ โรคไข้ ส มอง อักเสบมียงุ ร�ำคาญเป็นพาหะ โดยมักจะแพร่พนั ธุใ์ นแหล่งน�ำ้ ตามทุ่งนา ส่วนอาการของโรคผู้ป่วยจะมีไข้ ปวดศีรษะ อาเจียน ก่อนจะมีอาการซึมหรือชัก ต้องรีบน�ำตัวไปรักษา กับแพทย์โดยด่วน แต่ทางที่ดีควรป้องกันตัวเองจากการ โดนยุงกัด ซึ่งจะความปลอดภัยได้มากที่สุด

6. โรคมาลาเรีย

นับเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุง (ยุงก้นปล่อง) ที่มีความ รุนแรงของโรคค่อนข้างสูง โดยผูป้ ว่ ยจะมีไข้สงู หนาวสัน่ ซีด จากการ ที่เม็ดเลือดแดงแตก หรือหากมีอาการหนักอาจมีอาการไตวาย ตับอักเสบ ปอดผิดปกติ หรือบางกรณีอาจมีภาวะมาลาเรียขึ้น สมองได้ ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการเดินป่าในหน้าฝน หรือ พยายามอยู่ให้ห่างจากพื้นที่มีน�้ำเฉอะแฉะ เพื่อป้องกันไม่ให้ยุง ก้นปล่องมากัดได้

7.โรคมือ เท้า ปาก

ทั้งหมดเป็นแนวทางในการดูแล สุขภาพเพื่อให้ปลอดจากโรคภัย ไข้เจ็บที่มาพร้อมกับฤดูฝน และ อย่าลืมออกก�ำลังกาย พร้อมกับ รับประทานอาหารให้ครบหมวดหมู่ ตามหลักโภชนาการด้วยค่ะ

โรคนี้พบบ่อยในเด็กอายุต�่ำกว่า 10 ปี เกิดจากสภาพอากาศที่เย็นและชื้น ไวรัสที่เจริญเติบโตได้ในล�ำไส้ เช่น คอกซากีไวรัส เอนเทอโรไวรัส ซึ่งเป็นไวรัส ตัวการที่ท�ำให้เกิดโรค มือ เท้า ปาก จะแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็วมากเป็นพิเศษ เด็กเล็กอาจได้รบั เชือ้ ไวรัสเหล่านี้ จากการติดมากับมือหรือของเล่นทีเ่ ปือ้ นน�ำ้ ลาย น�้ำมูก น�้ำจากตุ่มแผลพุพอง หรืออุจจาระที่ปนเปื้อนเชื้อ ป่วยได้ง่าย ผู้ปกครอง ควรตัดเล็บของเด็กให้สั้น รวมทั้งให้ล้างมือเมื่อเห็นว่าสกปรก

ที่มา : www.kapook.com วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 73


ทุกองบรรณาธิ กทิศกทัาร่วยุติธรรม

รวมกิจกรรมต่างๆ สังกัดกระทรวงยุติธรรม จากหน่วยงาน ช่ ว งที่ ผ ่ า นมาหน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ ด�ำ เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่ อ เผยแพร่ บ ทบาทภารกิ จ ของหน่ ว ยงาน รวมทั้งให้ความช่วยเหลือประชาชน เพื่ออ�ำนวยความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล�้ำให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่องดังนี้

1

สถานพินิจเชียงรายฯ สืบสาน ประเพณีสงกรานต์ 59

นายนภสิ น ธุ ์ นาชั ย พลอย ผู ้ อ� ำ นวยการสถานพิ นิ จ และ คุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงราย คณะกรรมการสงเคราะห์เด็ก และเยาวชนประจ�ำสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด เชียงราย และเจ้าหน้าทีพ่ ร้อมด้วยเด็กและเยาวชนสถานพินจิ ฯ เชียงราย ร่วมรดน�้ำด�ำหัวขอพรกับคณะกรรมการสงเคราะห์เด็กและเยาวชนฯ อาวุโส ตามประเพณีไทยเพื่อเสริมสร้างความเป็นสิริมงคลในชีวิต

2

คุ้มครองสิทธิ ภาค 3 ลงพื้นที่รับเรื่องร้องเรียน

ส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 3 พร้อมอาสาสมัคร คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และศูนย์ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท ลงพื้นที่ ช่วยเหลือประชาชนรับเรื่องกรณีพ่อเมาคลั่งฟันคอลูกเสียชีวิต ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม ณ อ�ำเภอ สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่

74 | Justice Magazine Ministry of Justice


3

เรือนจ�ำแม่สะเรียงเปิดหลักสูตร มัคนายก

เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สะเรียงจัดโครงการอบรมพัฒนา จิตใจผู้ต้องขัง หลักสูตร มัคนายก รุ่นที่ 1/59 โดยมี ว่าทีพ่ นั ตรี ดร.รุง่ โรจน์ โพธิท์ อง ผูบ้ ญ ั ชาการเรือนจ�ำอ�ำเภอ แม่สะเรียง นิมนต์พระครูอนุศาสตร์ ถาวรคุณ เจ้าคณะ อ�ำเภอแม่สะเรียง ประธานฝ่ายสงฆ์ และนายศุภศิษฏ์ หล้ากอง นายอ�ำเภอแม่สะเรียง ประธานฝ่ายฆราวาส วัฒนธรรม อ� ำ เภอแม่ ส ะเรี ย ง และวั ฒ นธรรมอ� ำ เภอแม่ ล าน้ อ ย ร่วมเป็นเกียรติฯ มี รศ.ดร.สุวัฒน์วัฒนวงศ์ รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ สถาบันรัชด์ภาคย์ ร่วมเป็นวิทยากรบรรยาย พิเศษ มีผู้ต้องขังชายเข้ารับการอบรม จ�ำนวน 24 คน ณ เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

4

ศูนย์ปฏิบัติการคดีพิเศษ จังหวัดชายแดนภาคใต้รับรางวัล

พันต�ำรวจตรี อิทธิพล พรหมดวง ผู้อ�ำนวยการศูนย์ ปฏิบัติการคดีพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้กรมสอบสวน คดี พิ เ ศษ (ศปพ.จชต.) เป็ น ผู ้ แ ทนรั บ มอบรางวั ล จาก ผู้บัญชาการทหารบก ในฐานะเป็นหน่วยสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของ กอ.รมน.ภาค 4 เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจ แก่ เ จ้ า หน้ า ที่ ใ นหน่ ว ยทุ ก คนที่ ทุ ่ ม เทท� ำ งานเบื้ อ งหลั ง อย่างมุ่งมั่นไม่ท้อถอย ณ กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคง ภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน. ภาค 4 สน.) ค่ายสิรินธร จังหวัดปัตตานี

5

ส�ำนักงาน ปปท. เขต ๓ ตรวจโครงการต�ำบลละ 5 ล้านบาท

ส�ำนักงาน ปปท. เขต 3 ส่งชุดปฏิบัติการลงพื้นที่ตรวจสอบ โครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยูร่ ะดับต�ำบล (ต�ำบลละ 5 ล้านบาท) ณ อ�ำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.โครงการก่อสร้างรั้วคอนกรีตเสริมเหล็ก บ้านรุงหมู่ที่ 1 ต�ำบลรุง งบประมาณ 370,000 บาท ยังไม่ด�ำเนินการติดตั้งป้าย โครงการ 2. โครงการปรับปรุงห้องเรียน ห้องสือ่ โรงเรียนบ้านโดนอาว์ หมู่ที่ 7 ต�ำบลรุง งบประมาณ 250,000 บาท กรรมการยังไม่ ตรวจรับเนื่องจากผู้รับจ้างยังส่งของไม่ครบตามสัญญา 3. โครงการปูกระเบื้องลานศาลาเอนกประสงค์ วัดบ้านภูมิซรอล หมู่ที่ 2 ต�ำบลเสาธงชัย งบประมาณ 156,600 บาท ยังไม่ด�ำเนินการ ติดตั้งป้ายโครงการ 4. โครงการน�้ำดื่มเพื่อสุขภาพบ้านหัวทด หมู่ที่ 7 ต�ำบลเสาธงชัย งบประมาณ 360,000 บาท ยังไม่ด�ำเนินการติดตั้งป้ายโครงการ วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 75


6

บังคับคดีจังหวัดขอนแก่น สาขาพล ให้ความรู้ ด้านกฎหมาย ส� ำ นั ก งานบั ง คั บ คดี จั ง หวั ด ขอนแก่น สาขาพลจัดโครงการให้ความ รู้กฎหมายด้านการบังคับคดีเคลื่อนที่ เนื่องในโอกาสครบรอบการสถาปนา 125 ปี กระทรวงยุติธรรม ณ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลโจดหนองแก อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น

Ministry of Justice

7

คุมประพฤติชุมพรร่วมรณรงค์ ป้องกันอุบัติเหตุ

คุมประพฤติจังหวัดชุมพร จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายจราจร เพื่อรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วง เทศกาลสงกรานต์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 โดยให้ความรูเ้ กีย่ วกับกฎหมาย จราจรทีค่ วรทราบ/ปฏิบตั ิ มารยาทในการขับรถบนท้องถนน การจัดท�ำ ประกันภัยและความคุ้มครองที่จะได้รับ โดยมีวิทยากรจากหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องร่วมบรรยาย มีผสู้ นใจเข้ารับการอบรมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 85 คน ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดชุมพร

76 | Justice Magazine Ministry of Justice


8

9

ยุติธรรมจังหวัดปัตตานีจัดกิจกรรมราษฎร์-รัฐ ฟื้นคืนไว้วางใจ ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดปัตตานี ร่วมกับคณะกรรมการศูนย์ยตุ ธิ รรม ชุมชนอ�ำเภอหนองจิก จัดกิจกรรมราษฎร์-รัฐ ฟื้นคืนไว้วางใจ เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์บทบาทภารกิจของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม การบริการประชาชนในด้านต่างๆ เเละบทบาทภารกิจของเครือข่ายยุตธิ รรม ชุมชน โดยมีเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด พร้อมด้วยปลัดประจ�ำ ต�ำบลยาบี และทหารหน่วย ฉก.๒๔ ก�ำนันและผู้ใหญ่บ้าน เข้าร่วมกิจกรรม โดยได้ลงพื้นที่พบปะพูดคุยกับประชาชนที่สัญจรไปมาอย่างใกล้ชิด ท�ำให้ ประชาชนเกิดความอุ่นใจที่เจ้าหน้าที่รัฐได้เข้ามาดูแลและให้ความส�ำคัญ ณ จุดตรวจยาบี หมู่ 4 ต�ำบลยาบี อ�ำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ป.ป.ส.ภาค 5 ตรวจเยี่ยมให้ก�ำลังใจเด็กและเยาวชน

นายวิชัย ไชยมงคล ผอ.ป.ป.ส.ภาค 5 พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ป.ป.ส.ภาค 5 ตรวจเยี่ยมและให้ก�ำลังใจเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นแกนน�ำที่เข้าร่วมอบรม ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน�ำเยาวชนและจัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการ ประสานงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภาคเยาวชนระดับจังหวัด รุ่นที่ 2 (เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง แม่ฮ่องสอน) จัดโดยศูนย์อ�ำนวยการ ประสานงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเยาวชนภาค 5 (ศอ.ปส.ย.ภ.5) ร่วมกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นแกนน�ำ ศอ.ปส.ย.ภ.5 เยาวชนแกนน�ำในสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยง และแกนน�ำเครือข่ายเด็กและเยาวชนในพืน้ ที่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดล�ำพูน จั ง หวั ด ล� ำ ปาง จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน จ� ำ นวนกว่ า 70 คน ณ หอฝิ ่ น อุทยานสามเหลี่ยมทองค�ำ อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 77


เก็ บมาเล่า กองบรรณาธิการ

ป.ป.ส. เดินหน้าสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย ต่อยอดสื่อชุดใหม่ - พัฒนา EF “เล่นล้อมรัก”

การแก้ปญ ั หายาเสพติดนัน้ เป็นเรือ่ งที่ ต้องกระท�ำอย่างต่อเนือ่ ง และนอกจากการใช้ วิ ธี ป ราบปรามแล้ ว สิ่ ง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากที่สุด คือ การป้องกัน โดยสร้างจิตส�ำนึก ให้คนเข้าใจว่า ยาเสพติดนั้นเป็นสิ่งอันตราย และไม่ ค วรเข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมา ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติ ด (ป.ป.ส.)ได้ ร ณรงค์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ให้ประชาชนได้ตระหนักของภัยยาเสพติด ตลอดมา ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ น โยบายการป้ อ งกั น ยาเสพติ ด เป็ น ไปอย่ า งได้ ผ ล และเกิ ด ความยั่งยืน ป.ป.ส.หาทางสร้างภูมิคุ้มกัน ลงไปจนถึงกลุ่มเด็กปฐมวัย อายุตั้งแต่ 2-6 ปี เพือ่ วางรากฐานให้เด็กกลุม่ นีเ้ ข้าใจและไม่คดิ ทีจ่ ะเข้าไปเกีย่ วข้องกับยาเสพติด โดยร่วมกับ สถาบั น อาร์ แอลจี (รัก ลูก เลิร์น นิ่ง กรุ๊ป ) และมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล โดยน� ำ แนวคิ ด

78 | Justice Magazine Ministry of Justice

(การคิดเชิงบริหาร = Executive Functions : EF) หรื อ ทั ก ษะการคิ ด เพื่ อ ชี วิ ต ที่ ส� ำ เร็ จ มาประยุกต์ใช้ในกลุ่มเด็กปฐมวัย อายุตั้งแต่ 2-6 ปี ซึ่งในปี 2558 ได้จัดท�ำหนังสือนิทาน ชุด “อ่านอุ่นรัก” พร้อมมอบให้กับโรงเรียน และศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก ในประเทศไทยจ� ำ นวน 150,000 ชุด เพื่อเป็นเครื่องมือให้ครูปฐมวัย ได้น�ำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน ภายหลั ง การใช้ นิ ท านชุ ด อ่ า นอุ ่ น รั ก เป็นสื่อการสอน มีการประเมินผลเบื้องต้น แล้วพบว่า เด็กปฐมวัยที่ผ่านการอ่านนิทาน มีพัฒนาการของพฤติกรรมในทางที่ดี ซึ่งถึง แม้ เ ด็ ก กลุ ่ ม นี้ จ ะยั ง ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ปั ญ หา ยาเสพติ ด โดยตรง แต่ ห ากสร้ า งพื้ น ฐาน ภูมิคุ้มกันที่เข้มแข็งตั้งแต่ต้นแล้ว เมื่อเติบโต ถึ ง วั ย ที่ ต ้ อ งเผชิ ญ กั บ ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ า งๆ ก็จะสามารถประคองชีวติ ให้อยูใ่ นหนทางทีด่ ี ไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด

ดังนัน้ เพือ่ เป็นการต่อยอดความส�ำเร็จ จากหนั ง สื อ นิ ท านชุ ด “อ่ า นอุ ่ น รั ก ” ในปี 2559 ส�ำนักงาน ป.ป.ส. จึงน�ำความรูเ้ กีย่ วกับ “ความสามารถของสมองในการบริ ห าร จัดการชีวิต” มาจัดท�ำชุดการเล่นพัฒนา EF “เล่ น ล้ อ มรั ก ” จ� ำ นวน 150,000 ชุ ด พร้อมเปิดตัวสื่ อ ดั ง กล่ า วไปแล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 2 เมษายน 2559 โดยมี น ายวิ ต ถวั ล ย์ สุ น ท ร ข จิ ต ร อ ง เ ล ข า ธิ ก า ร ป . ป . ส . เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน โดยมี “ป๋อ-ณัฐวุฒิ สกิ ด ใจ” ดารานั ก แสดงชายยอดนิ ย ม และลู ก ชายน้ อ งภู เด็ ก ชายภู ดิ ศ สกิ ด ใจ ร่ ว มพิ ธี เ ปิ ด ฯ ณ ลานเวที เ อเทรี ย ม ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ นายวิตถวัลย์ สุนทรขจิต รองเลขาธิการ ป.ป.ส.กล่าวว่าสาเหตุที่ส�ำนักงาน ป.ป.ส. มุ ่ ง เน้ น กลุ ่ ม เป้ า หมายเป็ น เด็ ก ปฐมวั ย เนื่องจากเด็กเป็นวัยบริสุทธิ์ที่เปรียบเสมือน ผ้าขาว อีกทัง้ แนวโน้มผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับยาเสพติด


ปั ญ หายาเสพติ ด เป็ น ภั ย คุ ก คามที่ ร้ า ยแรงต่ อ ความมั่ น คงของประเทศชาติ ส ่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ทั้ ง ท า ง ด ้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มีชว่ งอายุทลี่ ดน้อยลง ผูก้ ระท�ำผิดมีการน�ำเด็ก และสังคม และยิง่ ไปกว่านัน้ ปัจจุบนั ยาเสพติด มาใช้เป็นเครือ่ งมือในการค้ายาเสพติดมากขึน้ ได้แพร่ระบาดเข้าไปสู่กลุ่มเด็กและเยาวชน กอปรกับทาง ป.ป.ส.ได้กำ� หนดกรอบนโยบาย ซึ่งเป็น กลุ่มที่มีความอ่อนแอและเป็นต้นทุน และยุทธศาสตร์ในด้านการป้องกันกลุ่มผู้มี ทางสั ง คมที่ สํ า คั ญ กระทรวงยุ ติ ธ รรม โอกาสเข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด โดยส� ำ นั ก งาน ป.ป.ส. ได้ ต ระหนั ก ถึ ง โดยเฉพาะเด็ ก และเยาวชนจึ ง ได้ ร ่ ว มมื อ ความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการก�ำหนดแนวทาง กับสถาบันอาร์แอลจี (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) การป้องกันเด็กและเยาวชนไทยให้ห่างไกล และมหาวิทยาลัยมหิดลซึ่งเป็นนักวิชาการ จากภัยยาเสพติดจึงได้ผนึกก�ำลังกับสถาบัน ที่ท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนเสนอแนวคิด อาร์แอลจี เดินหน้าสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ExecutiveFunctions (EF) และมาร่วมสร้าง ส� ำ ห รั บ ชุ ด ก า ร เ ล ่ น พั ฒ น า E F “เล่นล้อมรัก” เป็ น การด� ำ เนิ น การตาม ภูมิคุ้มกันให้แก่เด็กผ่านทักษะ 9 ด้าน “หากเราสามารถปลู ก ฝั ง ทั ก ษะนี้ ไ ว้ ยุทธศาสตร์การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไป ในตัวเด็กได้ เมือ่ ถึงเวลาทีเ่ ด็กจะคิดหรือตัดสินใจ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด ปี 2558 - 2562 เด็กจะดึงน�ำเอาทักษะนี้มาใช้เป็นภูมิคุ้มกัน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย ในการตั ด สิ น ใจไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด (ช่วงอายุ 3-6 ปี) ผ่านชุดสื่อพัฒนาทักษะ หรือสิง่ ไม่ดอี นื่ ๆได้ ซึง่ การด�ำเนินงานดังกล่าว ทางสมอง (EF) โดยเสริ ม สร้ า งทั ก ษะ สอดคล้องกับนโยบายของพลเอก ประยุทธ์ ความสามารถของสมองในการบริ ห าร จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ทีต่ อ้ งการให้สร้าง จัดการชีวิต อันส�ำคัญ 9 ประการ ได้แก่ ภูมคิ มุ้ กันยาเสพติด โดยปลูกฝังตัง้ แต่กลุม่ เด็ก 1) จ�ำเพื่อใช้งาน (Working Memory) และเยาวชน อั น จะน� ำ ไปสู ่ ก ารป้ อ งกั น 2) ยงั้ คิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) และแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ให้ เ กิ ด ผลเป็ น 3) ยืดหยุ่นความคิด (Shift/Cognitive รูปธรรมต่อไป” รองเลขาธิการ ป.ป.ส.กล่าว Flexibility)

4) ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) 5) จดจ่อใส่ใจ (Focus/Attention) 6) ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self-Monitoring) 7) ริเริ่มลงมือท�ำ (Initiating) 8) วางแผนและจั ด ระบบด� ำ เนิ น การ (Planning & Organizing) 9) มงุ่ เป้าหมาย (Goal-directed Persistence) ทั้งนี้ ป.ป.ส. ได้แจกจ่ายชุดการเล่น ดังกล่าวไปยังโรงเรียนอนุบาลและศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กทัว่ ประเทศเรียบร้อยแล้วผ่านหน่วยงาน ภาคีเครือข่าย ได้แก่ ท้องถิน่ จังหวัด ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ส�ำนักงาน ป.ป.ส. ภาค 1-9 ส� ำ นั ก งาน ป.ป.ส.กรุ ง เทพมหานคร และหน่ ว ยงานที่ ดู แ ลด้ า นพั ฒ นาการเด็ ก ปฐมวัย เพื่อใช้เป็นสื่อในการส่งเสริมทักษะ ทางด้านความคิด อารมณ์ และการตัดสินใจ ของเด็กให้มีศักยภาพมากขึ้น

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม | 79


อีกทัง้ ยังเป็นการเสริมสร้างทักษะทางสมอง และวางรากฐาน สร้างภูมคิ มุ้ กันยาเสพติดให้แก่เด็กเล็ก อันจะเป็นการเตรียมความพร้อม ในด้านความคิดและพฤติกรรมให้กับเด็กรุ่นใหม่ที่จะเติบโตขึ้น อย่างแข็งแกร่งให้สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัย ตลอดจนสามารถรั บ มื อ กั บ สภาพแวดล้ อ มในปั จ จุ บั น ที่ มี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วซึ่งจะเป็นรากฐานส�ำคัญต่อการ เติบโตเป็นผู้ที่มีภูมิคุ้มกันยาเสพติดที่แข็งแกร่งในวันข้างหน้า ปัญหายาเสพติดเป็นภัยคุกคามทีร่ า้ ยแรง ต่อความมั่นคงของประเทศชาติ ส่งผลกระทบ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม และยิง่ ไปกว่านัน้ EF คืออะไร เพราะเหตุใดจึงส�ำคัญ ปัจจุบนั ยาเสพติดได้แพร่ระบาดเข้าไปสูก่ ลุม่ เด็ก ExecutiveFunctions (EF) หรือทักษะการคิดเพื่อชีวิตที่ส�ำเร็จ ประกอบด้วย และเยาวชนซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ที่ มี ค วามอ่ อ นแอ • Working memory ความจ�ำที่น�ำมาใช้งาน ความสามารถในการเก็บข้อมูล และเป็ น ต้ น ทุ น ทางสั ง คมที่ สํ า คั ญ กระทรวง ประมวล และดึงข้อมูลทีเ่ ก็บในคลังสมองของเราออกมาใช้ตามสถานการณ์ทตี่ อ้ งการ ยุตธิ รรม การจัดท�ำชุดสือ่ “เล่นล้อมรัก” ในครัง้ นิ้ • Inhibitory Control การยัง้ คิด และควบคุมแรงปรารถนาของตนให้อยูใ่ นระดับ นับเป็นการช่วยป้องกันเด็กและเยาวชนไทย ที่เหมาะสม จนสามารถหยุดยั้งพฤติกรรมได้ในกาลเทศะที่สมควร เด็กที่ขาดความ ให้ห่างไกลจากภัยยาเสพติดอย่างยั่งยืนต่อไป ยับยั้งชั่งใจก็เหมือน “รถที่ขาดเบรก” • Shift หรือ Cognitive Flexibility การยืดหยุ่นความคิด สามารถปรับเปลี่ยน ความคิดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นไปยืดหยุน่ พลิกแพลงเป็น เห็นทางออก ใหม่ๆ และคิดนอกกรอบได้ • Focus/Attention การใส่ใจจดจ่อมุ่งความสนใจอยู่กับสิ่งที่ท�ำอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเวลาหนึ่งๆโดยไม่วอกแวก • Emotional Control การควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม จัดการ กับความเครียดความเหงาได้ มีอารมณ์มั่นคง และแสดงออกแบบที่ไม่รบกวนผู้อื่น • Planning and Organizing การวางแผนและการจัดระบบด�ำเนินการ เริม่ ตัง้ แต่การตัง้ เป้าหมาย การเห็นภาพรวม จัดล�ำดับความส�ำคัญจัดระบบโครงสร้าง จนถึงการแตกเป้าหมายให้เป็นขั้นตอน • Self-Monitoring การรู้จักประเมินตนเอง รวมถึงการตรวจสอบการงาน เพื่อหาจุดบกพร่อง และรู้ตัวว่าก�ำลังท�ำอะไร ได้ผลอย่างไร • Initiating การริเริ่มและลงมือท�ำงานตามที่คิดเมื่อคิดแล้วก็ลงมือท�ำไม่ผลัดวัน ประกันพรุ่ง • Goal-Directed Persistence ความพากเพียรมุ่งสู่เป้าหมาย เมื่อตั้งใจ และลงมือท�ำแล้ว มีความมุ่งมั่นบากบั่น ไม่ว่าจะมีอุปสรรคใดๆก็พร้อมฝ่าฟันจนถึง ความส�ำเร็จ (ข้อมูลจาก www.momypedia.com สื่อคุณภาพในเครือ RLG (รักลูกเลิร์นนิ่งกรุ๊ป)) 80 | Justice Magazine Ministry of Justice



กระทรวงยุติธรรม Ministry of Justice

สถาบั​ัน อนุญาโตตุลาการ

www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฎหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส

โทรศัพท์ 0 2141 5100

facebook.com

/Ministry of Justice, Thailand


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.