จุลสาร สมศ issuu 2

Page 1


ดุจแผ่นฟ้ารินน้ำ�ตาอาลัยโศก

วิปโยคกำ�สรวลเศร้าคราวสิ้นสูญ

ธุลีทรายสายนทีฤดีหม่น

ทุกแห่งหนระทมทนปนร่ำ�ไห้

ปฐพีเหน็บหนาวเฝ้าอาดูร

บุปผชาติหมองช้ำ�ระกำ�ใจ

ทวีคูณความร้าวรานปานขาดใจ

หมองหม่นไหม้ระคนทุกข์ทุกเขตคาม

องค์ฉัตรแก้วของไพร่ฟ้าประชาราษฏร์ สิ้นขวัญชาติร่มไทรในสยาม สิ้นดวงแก้วส่องสว่างทุกย่างยาม

สิ้นพ่อหลวง ทรงพระนาม “ภูมิพล”

ภูมิพลังแผ่นดินบันดาลดล

ศรัทธาล้นภูมิใจรักเป็นหลักชัย

เสด็จคืนสู่แดนสวรรคาลัย

พระราชาในหัวใจชั่วกาลนาน

เจ็ดสิบปีทรงครองราชย์หยาดฝนหลวง หลั่งสู่ดวงหฤทัยไทยทุกหน โอ้มหาราชาของข้าบาท

ขอตั้งจิตอธิษฐานตามรอยพ่อ

น้อมรำ�ลึกซึ้งพระคุณอุ่นดวงมาน

ทรงนิราศจากพาราพาหวนไห้ สร้างความดีทวีต่อขอสืบสาน สถิต ณ ทิพย์วิมานนิรันดร

ข้าพระพุทธเจ้าคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ สำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ประพันธ์โดย นางวีรนุช สุขสว่าง

บทบรรณาธิการ (Editor’s Note).. ๓ พระราชประวัติ

พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ๔ พระบรมราชาภิเษก ๕ ทรงผนวช

๖ พระราชกรณียกิจ

๗ โครงการพระราชดำ�ริ

พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต เมือ่ วันที่ ๑๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๕๒ น. ณ โรงพยาบาลศิริราช ด้วยพระอาการสงบ สิริพระชนมพรรษา ปีที่ ๘๙ ทรงครองราชสมบัติได้ ๗๐ ปี นับเป็นความสูญเสียที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของปวงชนชาวไทย ทั้งประเทศ จุ ล สารฉบั บ นี้ ข อนำ � เสนอพระราชประวั ติ พระราชกรณี ย กิ จ และโครงการ พระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รวมถึงประโยชน์ที่เกิด ขึ้นแก่ประชาชนและประเทศชาติเพื่อร่วมสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อพสกนิกร ชาวไทยอันหาที่สุดมิได้

กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.มณฑล สงวนเสริมศรี บรรณาธิการ ดร.คมศร วงษ์รกั ษารองผูอ้ �ำ นวยการ รักษาการแทนผูอ้ �ำ นวยการ พล.ร.ต.วัชระ การุณยวนิช ผศ.จำ�รูญ ณ ระนอง นายเอกพงษ์ เลาหะเทียนสินธุ์ ดร.วรวิชช ภาสาวสุวัศ นางขนิษฐา จรูญชนม์ นางวีรนุช สุขสว่าง นางสาวนภาภร ส่งแสง นางสาวมาลัย ศรีศิริรุ่งโรจน์ นางสาวภัคพิชา ภู่ทับทิม นางสาวชนณิกานภ์ มั่นจันทร์ นายภูมิพัฒน์ ศรีวชิรพัฒน์ นายภาสกร โพธิ์สิงห์ ออกเเบบเเละจัดพิมพ์โดย ห้างหุ้นส่วนจำ�กัดสำ�นักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ สำ�นักงานใหญ่ ๔๕,๔๕ ซอยจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางกลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ +๖๖๒ ๔๓๓ ๗๗๕๕-๗ , ๐๙๕ ๙๗๙ ๓๘๗๒ (ขอขอบคุณภาพปก จาก Waranuch T NuchNaja)


พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชทรงพระนามเดิมว่า “พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมพิ ลอดุลยเดช” เป็นพระราชโอรส ในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลา นครินทร์ (ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย เป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่ อ มสั ง วาลย์ (ต่ อ มาได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย เป็นสมเด็จ พระศรีนครินทรา บรมราชชนนี) พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราช สมภพ เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น รัฐแมสสาชูเซตต์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เมือ่ พระชนมายุได้ ๕ พรรษา ทรงเข้ า รั บ การศึ ก ษาที่ โรงเรี ย น มาแตร์ เ ดอี กรุ ง เทพมหานคร ต่ อ จากนั้ น เสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในชั้ น ประถมศึ ก ษา ที่โรงเรี ย นเมี ย ร์ ม องต์ เมืองโลซานน์ ในปีพทุ ธศักราช ๒๔๗๘ ได้ทรงเข้า ศึกษาต่อที่ ECOLE NOUVELLE DE LA SUISSE ROMANDE ซึง่ เป็นโรงเรียนเอกชนทีร่ บั นักเรียน นานาชาติ ในระดับอุดมศึกษาทรงเข้าศึกษา ในแผนกวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเมืองโลซานน์ ต่อมาในปี พุทธศักราช ๒๔๘๑ ได้ เ สด็ จ นิ วัต กลั บ ประเทศไทยพร้ อ ม ด้ ว ยพระบรมเชษฐาธิ ร าช สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอเจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวง นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ และสมเด็ จ พระศรี นครินทราบรมราชชนนี ครั้นเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว อานันทมหิดล เสด็จสวรรคต คณะรัฐมนตรีได้มมี ติ ให้กราบบังคมทูลอัญเชิญ สมเด็จพระเจ้าน้องยา เธอเจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึ้นครองราช สมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี ๙ แห่ง พระบรมราชจักรีวงศ์ ในขณะนั้นมีพระชนมายุ เพียง ๑๙ พรรษา รัฐบาลได้แต่งตัง้ ผูส้ �ำ เร็จราชการบริหารราชการแผ่นดินแทนพระองค์ เนื่องจาก ยังทรงพระเยาว์ และมีพระราชภารกิจด้านการ ศึกษา จึงต้องทรงอำ�ลาประชาชนชาวไทยเสด็จ พระราชดำ�เนินกลับไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อีกครัง้ หนึง่ ในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ กรุงโลซานน์ แม้พระองค์ จะโปรดวิชาวิศวกรรมศาสตร์ แต่เพื่อประโยชน์ ในการปกครองประเทศได้ทรงเปลี่ยนมาศึกษา

วิชาการปกครองแทน เช่น วิชากฎหมาย อักษร ศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ นอกจากนี้ ท รงศึ ก ษาและฝึ ก ฝนการดนตรี ด้วยพระองค์เองด้วย

พระราชพิธรี าชาภิเษก สมรส

และหม่อมหลวงบัว กิตยิ ากร อย่างเป็นทางการ ในวั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๒ และเสด็จนิวตั พิ ระนครในปีถดั มา พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตง้ั การพระราชพิธถี วายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล เมือ่ วันที่ ๒๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ และต่อมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั การ พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ สิริกิต์ิ กิติยากร ณ พระตำ�หนักสมเด็จพระศรี สวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม เมือ่ วันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานหลั่งนํ้า พระมหาสั ง ข์ และทรงจดทะเบี ย นสมรส ตามกฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน ในการนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิ ขึ้นเป็น สมเด็จพระราชินี สิริกิต์ิ หลังจากนั้นได้เสด็จไปประทับพักผ่อน ณ พระราชวังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ์

ระหว่ า งที่ ป ระทั บ อยู่ ต่ า งประเทศนั้ น ได้ทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิ กิติยากร ธิดาในพระวรวงศ์เธอกรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ


พระบรมราชาภิเษก

วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุ ล ยเดช ได้ ท รงประกอบพระราชพิ ธี บ รม ราชาภิเษกตามโบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระที่น่งั ไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระปรมาภิไธยตามจารึกในพระสุพรรณบั ฏ ว่ า “พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรี นฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” และได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์ สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ในการนี้ ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติ ยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิต์ิพระอัครมเหสีเป็น

สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินี ทัง้ สองพระ องค์มพี ระราชธิดา และพระราชโอรส ๔ พระองค์ ดังนี้ ๑. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี พระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณ วดี ประสูติเมื่อวันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ ณ โรงพยาบาลมองซั ว นี่ โลซานน์ ต่อมาทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์ เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ ๒. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิรา ลงกรณ ประสู ติ เ มื่ อ วั น ที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ณ พระที่น่ัง อั ม พรสถาน ต่ อ มาทรงได้

รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เมือ่ วันที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ ๓. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรนิ ธรเทพ รัตนสุดา กิตวิ ฒ ั นาดุลโสภาคย์ ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ณ พระทีน่ ง่ั อัมพร สถาน ภายหลังทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รั ฐ สี ม าคุ ณ ากรปิ ย ชาติ สยามบรมราชกุ ม ารี เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ ๔. สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ า ภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ ณ พระทีน่ ง่ั อัมพรสถาน กรุงเทพมหานคร


ทรงผนวช

เมื่ อ วั น ที่ ๒๒ ตุ ล าคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงผนวช ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรตั นศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง และประทับจำ�พรรษา ณ พระตำ�หนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ปฏิบตั พิ ระศาสนกิจ เป็นเวลา ๑๕ วัน ในการนี้ มีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินี เป็นผู้สำ�เร็จราชการแทนพระองค์ตลอดเวลา ๑๕ วัน ต่อมาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็ น สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลนี้ ทรงพระกรุณา สถาปนาพระอิสริยยศสมเด็จพระบรมชนกนาถ ขึ้นเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก ทรงสถาปนาสมเด็จ พระราชชนนี เป็น สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าพีน่ าง เธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา เป็น สมเด็จพระเจ้าพี่ นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ และทรงประกอบพระราชพิธเี ฉลิม พระปรมาภิไธย สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช

พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว อานั น ทมหิ ด ล ใหม่ เมือ่ วันที่ ๘ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ เพื่อ ให้ ส มพระเกี ย รติ ต ามโบราณขั ต ติ ย ราชประเพณี ทั้งนี้ด้วยพระราชจริยวัตรอันเปี่ยม ด้วยพระกตัญญูกตเวทิตาธรรมอันเป็นที่แซ่ซ้อง สรรเสริญ พระปรมาภิไธยใหม่ท่ีทรงสถาปนา คือ “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล อดุลยเดชวิมลรามาธิบดี จุฬาลงกรณ ราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวรางกูร ไอศูรย สั น ตติ ว งศวิ สุท ธ์ วรุ ต มขั ต ติ ย ศั ก ตอรรคอุ ด ม จักรีบรมราชวงศนิวิฐ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฏ นิบุณ อดุลยกฤษฎาภินิหารรังสฤษฎ์ สุสาธิต

บู ร พาธิ ก าร ไพศาลเกี ย รติ คุ ณ อดุ ล ยพิ เ ศษ สรรพเทเวศรานุรกั ษ์ ธัญอรรคลักษณวิจติ รโสภา คยสรรพางค์ มหาชโนตมงคประณตบาทบงกช ยุคล อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศ มโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉตั ร สรรพรัฐทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวา มินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณ ารักษ์ วิศิษฏศักตอัครนเรศรามาธิบดี เมตตา กรุณสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาล มหารัษฏาธิบดี พระอัฐมรามาธิบดินทร สยามิน ทราธิราช บรมนาถบพิตร”


พระราชกรณียกิจ

ตลอดระยะเวลาการครองราชย์พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ มากมายหลาย ด้าน อาทิ ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี พุทธศักราช ๒๕๐๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ฟ้ื น ฟู พ ระราชพิ ธี พื ช มงคลจรดพระนั ง คั ล แรกนาขวั ญ ขึ้ น มาใหม่ ห ลั ง จากที่ ไ ด้ เ ลิ ก ร้ า ง ไปตั้งแต่พุทธศักราช๒๔๗๙ และทรงส่งเสริม ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทยแขนงอื่น ๆ ไม่ ว่า จะเป็ น ภาษาไทย ประวัติศาสตร์ไทย สถาปัตยกรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ การดนตรีและศิลปะอืน่ ๆ เช่น โปรดเกล้าฯ ให้กรมศิลปากรจัดทำ�โน้ตเพลง ไทยตามระบบสากลและจั ด พิ ม พ์ ข้ึ น ด้ ว ย พระราชทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ โปรดเกล้ า ฯ ให้ อ าจารย์ แ ละนิ สิ ต คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิจัยหาระดับเฉลี่ย มาตรฐานของเครื่องดนตรีไทย ทรงสนับสนุน ให้มีการจัดตั้งสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ด้านวรรณศิลป์พระบาทสมเด็จพระปรมินทร

มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์บทความ ทรงแปลหนังสือ เช่น นายอินทร์ผ้ปู ิดทองหลัง พระ ติโต พระมหาชนก พระมหาชนกฉบับการ์ตนู และพระราชนิพนธ์เรือ่ งทองแดง ซึง่ เป็นเรือ่ งเกีย่ ว กับคุณทองแดงสุนขั ทรงเลีย้ ง เป็นต้น ด้านการพัฒนาชนบท ทรงพัฒนาชนบท ในรู ป โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ � ริ มีจุดประสงค์คือการพัฒนาชนบทเพื่อให้ราษฎร ในชนบทได้ มีค วามเป็ น อยู่ต ลอดจนสามารถ ประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัวให้ดีข้นึ แนวพระ ราชดำ � ริ ท่ีสำ� คั ญ ในเรื่อ งการพั ฒ นาชนบทคื อ มีพระราชประสงค์ช่วยให้ชาวชนบทสามารถ พึ่งตนเองได้โดยการสร้างพื้นฐานหลักที่จำ�เป็น ต่อการผลิตให้แก่ราษฎรเหล่านั้น ทรงส่งเสริม ให้ ช าวชนบทมี ค วามรู้ใ นการประกอบอาชี พ ตามแต่ละท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังทรงหาทาง นำ�เอาวิทยาการสมัยใหม่มาประยุกต์กบั ภูมปิ ญ ั ญา ชาวบ้านด้านการเกษตรและชลประทาน ในด้าน การเกษตร จะทรงเน้นการค้นคว้าทดลองและ วิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ๆ ตลอดจนการศึกษาแมลง ศัตรูพชื และพันธุส์ ตั ว์ตา่ งๆ ทีเ่ หมาะสมกับสภาพ

ท้องถิน่ นัน้ ๆ ซึง่ แต่ละโครงการจะเน้นให้สามารถ นำ�ไปปฏิบัติได้จริง นอกจากนี้ ยังทรงพยายาม ไม่ให้เกษตรกรยึดติดกับพืชผลทางการเกษตร เพียงอย่างเดียว แต่เกษตรกรควรมีรายได้จาก กิจกรรมอื่นด้วยเพื่อจะได้พ่งึ ตนเองได้ในระดับ หนึ่ง ด้านการแพทย์ โครงการของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชใน ระยะแรก ล้วนแต่เป็นโครงการด้านสาธารณสุข ในการเสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ตามท้องที่ต่างๆ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ มี ค ณะแพทย์ ท่ี ป ระกอบด้ ว ยผู้ เชี่ ย วชาญ ในแต่ละสาขาจากโรงพยาบาลต่างๆ และล้วน เป็นอาสาสมัครพร้อมด้วยเวชภัณฑ์และเครื่องมือแพทย์พร้อมให้การรักษาพยาบาลราษฎร ผู้ป่วยไข้ นอกจากนั้น ยังมีโครงการทันตกรรม พระราชทาน ซึง่ เป็นพระราชดำ�ริให้ทนั ตแพทย์ อาสาสมัครเดินทางออกไปช่วยเหลือบำ�บัดโรค เกี่ยวกับฟัน ตลอดจนสอนการรักษาอนามัย ของปากและฟันโดยไม่คิดมูลค่า นอกจากนั้น หน่วยแพทย์หลวงยังจัดเจ้าหน้าที่ออกเดินทาง ไปรั ก ษาราษฎรผู้ เจ็ บ ป่ ว ยตามหมู่ บ้ า นที่ อ ยู่


ห่างไกลออกไปอีกด้วย ด้านการศึกษา พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช โปรดเกล้ า ฯ ให้ จั ด ตั้ ง มู ล นิ ธิ อ านั น ทมหิ ด ล เพือ่ เป็นการถวายพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อสนับสนุนทาง ด้านคัดเลือกบัณฑิตในสาขาวิชาต่างๆ ให้ไปศึกษา ต่อต่างประเทศ โดยพระองค์พระราชทานทุนให้ ตลอดจนดู แ ลเกี่ ย วกั บ ความเป็ น อยู่ ใ นต่ า ง ประเทศนั้นๆ อีกด้วย ส่วนในประเทศทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯให้รฐั บาลเป็นผูด้ �ำ เนินการจัดการ บริหารทางการศึกษาแบบให้เปล่าตัง้ แต่ระดับชัน้ ประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในลักษณะทัง้ อยูป่ ระจำ�และไปกลับ แบ่งเป็นโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จ�ำ นวน ๒๖ โรงเรียน โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์จ�ำ นวน ๑๔ โรงเรียน

โครงการพระราชดำ�ริ

ตั้ ง แต่ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๒ เป็ น ต้ น มา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรม ราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงกระชับ สัมพันธไมตรีกบั ประเทศต่างๆทัง้ ในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และเอเชีย และได้เสด็จพระราชดำ�เนิน ไปทรงเยี่ย มราษฎรในภู มิภ าคต่ า งๆ ทุ ก ภาค ทรงประจักษ์ในปัญหาของราษฎรในชนบททีด่ �ำ รง ชีวิตด้วยความยากจน ลำ�เค็ญ และด้อยโอกาส ได้ทรงพระราชวิริยะอุตสาหะหาทางแก้ปัญหา ตลอดมาตราบจนปัจจุบนั อาจกล่าวได้วา่ ทุกหน ทุกแห่งบนผืนแผ่นดินไทยทีร่ อยพระบาทได้ประทับ ลง ได้ทรงขจัดทุกข์ยาก นำ�ความผาสุกและทรงยก ฐานะความเป็นอยูข่ องราษฎรให้ดขี น้ึ

ทรงจั ด ตั้ ง โครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดำ�ริจ�ำ นวนมาก โครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริโครงการแรกเกิดขึน้ เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๙๕ ที่บ้า นห้ ว ยมงคล ตำ � บลหิ น เหล็ ก ไฟ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้โปรดให้ ตัด “ถนนสายห้วยมงคล” ออกสู่ตลาดหัวหิน เพื่อให้เกษตรกรได้มีถนนเพื่อนำ�ผลิตผลเกษตร ออกไปสูต่ ลาด ถนนสายนีถ้ อื เป็น “ถนนมงคล” สายแรกเริ่ม เป็นเส้นทางบำ�บัดทุกข์บำ�รุงสุข แก่อาณาประชาราษฎร์ท่ีทอดไปสู่ “โครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ” อืน่ ๆ ตั ว อย่ า งโครงการที่สำ � คั ญ เช่ น มู ล นิ ธิ ชัยพัฒนา ซึง่ ก่อตัง้ เมือ่ ๑๔ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๕๓๑ เพือ่ สนับสนุนการดำ�เนินงานตามโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริและโครงการพัฒนา อื่นๆ เพื่อช่วยเหลือประชาชนในด้านเศรษฐกิจ และสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและสามารถ พึง่ พาตนเองได้ มูลนิธโิ ครงการหลวง ก่อตัง้ เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๑๒ เพื่อส่งเสริมการปลูกพืช เมื อ งหนาวแก่ ช าวเขาเพื่อ เป็ น การหารายได้

ทดแทนการปลู ก ฝิ่น โครงการส่ ว นพระองค์ สวนจิ ต รลดา ก่ อ ตั้ง เมื่อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๔ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการดำ � เนิ น งานเพื่ อ ศึ ก ษา ทดลองและวิจัยหาวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับงาน ทางด้านการเกษตรต่างๆ เช่น การปลูกข้าว การเลี้ยงโคนม การเพาะพันธุ์ปลานิลและอื่นๆ อี ก มากมาย โครงการแก้ ม ลิ ง ก่ อ ตั้ง ขึ้น เมื่อ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ เพือ่ แก้ปญ ั หาอุทกภัย หลังเกิดอุทกภัยในประเทศไทย พุทธศักราช ๒๕๓๘ โดยให้จัดหาสถานที่เก็บกักนํ้าตามจุด


ต่างๆ ในกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับนํ้าฝนไว้ ชั่วคราวเมื่อถึงเวลาที่คลองพอจะระบายนํ้าได้ จึงค่อยระบายนํ้าจากส่วนที่กักเก็บไว้ออกไป โครงการฝนหลวง ก่อตัง้ เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๑๒ เพือ่ แก้ปญั หาความเดือดร้อนทุกข์ยากของราษฎร และเกษตรกรทีข่ าดแคลนนา้ํ อุปโภคบริโภคและ การเกษตร โครงการสารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน มี ฉ บั บ ปกติ ๓๙ เล่ ม ฉบั บ เสริ ม การเรี ย นรู้ ๑๙ เล่ม เริม่ พิมพ์ครัง้ แรกในปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๖ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรูท้ เ่ี กิด ขึน้ และใช้อยูใ่ นประเทศไทย แต่ละเล่มรวบรวม เนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของ เรือ่ งต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับเด็กรุน่ เล็ก เด็กรุน่ กลางและเด็กรุน่ ใหญ่ โครงการแกล้งดินเพือ่ แก้ปญ ั หาดินเปรีย้ ว หรือดินเป็นกรดโดยขังน้ำ�ไว้ในพื้นที่จนกระทั่ง เกิดปฏิกิริยาเคมีทำ�ให้ดินเปรี้ยวจัดจนถึงที่สุด แล้วจึงระบายน้�ำ ออกและปรับสภาพฟืน้ ฟูดนิ ด้วย

ปูนขาวจนกระทั่งดินมีสภาพดีพอที่จะใช้ในการ เพาะปลู ก ได้ กั ง หั น ชั ย พั ฒ นาสร้ า งต้ น แบบ ได้ ค รั้ ง แรกในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๒ เป็ น กังหันนํ้าเพื่อบำ�บัดน้ำ�เสียด้วยวิธีการเติมอากาศ วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๖ เครือ่ งกล เติมอากาศ กังหันน้�ำ ชัยพัฒนา ได้รบั การพิจารณา และทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบตั รในพระปรมาภิไธย นับเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศเครื่อง ที่ ๙ ของโลกทีไ่ ด้รบั สิทธิบตั ร และเป็นครัง้ แรก ทีไ่ ด้มกี ารรับจดทะเบียนและออกสิทธิบตั รให้แก่ พระบรมราชวงศ์ดว้ ย จึงนับได้วา่ เป็น สิทธิบตั รใน พระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยพ์ ระองค์แรก ในประวัตศิ าสตร์ชาติไทยและเป็นครัง้ แรกของโลก ด้ ว ยพระบุ ญ ญาธิ ก าร และพระปรี ช า สามารถปราดเปรื่อง พร้อมด้วยสายพระเนตร อั น ยาวไกล ทรงอุ ทิศ พระองค์ เ พื่อ ประโยชน์ สุ ข ของราษฏรและเพื่ อ ความเจริ ญ พั ฒ นา ของประเทศชาติตลอดระยะเวลาโดยมิได้ทรง คำ�นึงถึงประโยชน์สขุ ส่วนพระองค์เลย พระบาท

สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ได้ พ ระราชทานโครงการนานั ป การมากกว่ า ๔,๐๐๐ โครงการ ทั้งการแพทย์ สาธารณสุข การเกษตร การชลประทาน การพัฒนาที่ดิน การศึ ก ษา การพระศาสนา การสั ง คม วัฒนธรรม การคมนาคม ตลอดจนการเศรษฐกิจ เพือ่ ประโยชน์สขุ ของพสกนิกรในชนบท ทัง้ ยังทรง ขจัดปัญหาทุกข์ยากของประชาชนในชุมชนเมือง เช่น ทรงแก้ปญ ั หาการจราจร อุทกภัยและปัญหา นํา้ เน่าเสีย ทรงริเริม่ โครงการการช่วยสงเคราะห์ และอนุรกั ษ์ชา้ งของไทยอีกด้วย พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงตรากตรำ� พระวรกายทรงงานอย่ า งมิ ท รงเหน็ ด เหนื่อ ย แม้ในยามทรงพระประชวร ก็มิได้ทรงหยุดยั้ง พระราชดำ � ริ เ พื่ อ ขจั ด ความทุ ก ข์ ผ ดุ ง สุ ข แก่ พสกนิกร กลางแดดแผดกล้าพระเสโทหลั่งชุ่ม พระพั ก ตร์ แ ละพระวรกาย หยาดตกต้ อ งผื น ปฐพี ประดุจนํา้ ทิพยมนตร์ชโลมแผ่นดินแล้งร้าง ให้กลับคืนความอุดมสมบูรณ์ นับแต่เสด็จเถลิง ถวัลยราชย์ตราบจนปัจจุบนั นานกว่า ๗๐ ปีแล้ว แม้ในยามประเทศประสบภาวะเศรษฐกิจตั้งแต่ ปี พุทธศักราช ๒๕๓๙ เป็นต้นมา ก็ได้พระราชทาน แนวทางดำ�รงชีพแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้พง่ึ ตนเอง ใช้ผนื แผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประกอบอาชีพ อยู่กินตามอัตภาพ ซึ่งราษฎรได้ยึดถือปฏิบัติ เป็นผลดีมาถึงปัจจุบนั


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.