จุลสาร สมศ issuu 4

Page 1

ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๔ (ประจ�ำเดือน เมษายน-พฤษภาคม ๒๕๖๐)


ชื่อภาพ ภูมิพโลภิกขุ (แสงธรรมน�ำชีวิต) ศิลปิน สุวัฒน์ วรรณมณี

บทบรรณาธิการ (Editor’s Note)..

สวัสดีปีใหม่ไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ เดือนนี้มีเทศกาลและวันส�ำคัญของไทยคือเทศกาลสงกรานต์ และวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ของพุทธศาสนิกชนคือวันวิสาขบูชา สงกรานต์ ที่แปลว่า “ก้าวขึ้น” “ย่างขึ้น” นั้นหมายถึง การที่ดวงอาทิตย์ ขึ้นสู่ราศีใหม่ ที่เรียกว่าสงกรานต์เดือน ถือว่าเป็น วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ ท างสุ ริ ย คติ ในทางโหราศาสตร์ ปกติ วั น สงกรานต์ จ ะมี ๓ วั น คื อ วั น แรกในวั น ที่ ๑๓ เป็ น วั น มหาสงกรานต์ วั น ที่ ๑๔ เป็นวันเนา วันที่ ๑๕ เป็นวันเถลิงศกใหม่ และเริม่ จุลศักราชในวันนี้ วันวิสาขบูชา ค�ำว่า วิสาขบูชา ย่อมาจากค�ำว่า “วิสาขปุรณมีบชู า” หมายถึงการบูชาวันเพ็ญในเดือน ๖ เป็นวันทีม่ กี ารท�ำพิธพี ทุ ธบูชา เพือ่ เป็นการน้อมร�ำลึกถึงพระวิสทุ ธิคณ ุ พระปัญญาธิคณ ุ และพระมหากรุณาธิคณ ุ ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีม่ ตี อ่ มวลมนุษย์และสรรพสัตว์ พุทธศาสนิกชนจึงน้อมน�ำหลักธรรมค�ำสัง่ สอนของพระพุทธองค์มาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ใิ นการด�ำรงชีวติ ต่อไป จุลสาร สมศ. ฉบับนีข้ อน�ำเสนอบทสัมภาษณ์ ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา นายแพทย์ผไู้ ด้รบั พระราชทานทุนมูลนิธิ อานันทมหิดลคนแรกเพือ่ ศึกษาต่อด้านศัลยศาสตร์ และความเป็นมาของโครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ เพือ่ เป็นการเทิดพระเกียรติและน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช และการประกาศเจตจ�ำนงของผูบ้ ริหาร สมศ. ในการบริหารงานด้วยความโปร่งใสและซือ่ สัตย์สจุ ริตรายละเอียดติดตามได้ภายในเล่ม

สารบัญ : Content

กองบรรณาธิการ

๓ ทุนอานันทมหิดล ๗ โครงการสารานุกรมไทย หนังสือเพื่อเยาวชนไทย ๘ ผู้บริหาร สมศ. ประกาศ เจตจ�ำนงในการบริหารงาน

ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.มณฑล สงวนเสริมศรี ประธานกรรมการบริหาร สมศ. บรรณาธิการ นายนาวิน วิยาภรณ์ รักษาการผู้อ�ำนวยการ พล.ร.ต.วัชระ การุณยวนิช ผศ.จ�ำรูญ ณ ระนอง นายเอกพงษ์ เลาหะเทียนสินธุ์ ดร.วรวิชช ภาสาวสุวัศ ดร.สมยศ ชี้แจง นางขนิษฐา จรูญชนม์ นางอรนิศา เพชรผล นางวีรนุช สุขสว่าง นางสาวนภาภร ส่งแสง นางสาวมาลัย ศรีศิริรุ่งโรจน์ นางสาวภัคพิชา ภู่ทับทิม นายภูมิพัฒน์ ศรีวชิรพัฒน์ ออกเเบบเเละจัดพิมพ์โดย ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดส�ำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ ส�ำนักงานใหญ่ ๔๕,๔๗ ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๐ ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ +๖๖๒ ๔๓๓ ๗๗๕๕-๗ , ๐๙๕ ๙๗๙ ๓๘๗๒


ทุน

อานันทมหิดล

พระมหากรุณาธิคุณ ที่ ไม่มีสัญญาผูกมัด “ทุนการศึกษาพระราชทาน” หรือทุนจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช เป็นทุนให้เปล่า ไม่มขี อ้ ผูกมัดใดๆ เป็นพระมหากรุณาธิคุณของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่พระองค์ท่านโปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อช่วยเหลือ ในด้านการศึกษา ทั้งนักเรียนที่ด้อยโอกาส มีฐานะยากจน ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความประพฤติเรียบร้อย และมีความขยันหมั่นเพียร รวมถึงนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเยี่ยม เป็นคนดี มีความขยัน อดทน โดยพระราชทานเป็นทุนประเดิม และต่อมาผู้มีจิตศรัทธาบริจาค โดยเสด็จพระราชกุศลอีกเป็นจ�ำนวนมาก จนกระทั่งตั้งเป็นมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลนในพระบรมราชูปถัมภ์ ใช้เฉพาะดอกผลเป็น ทุนการศึกษาต่อไปในภายภาคหน้า ซึ่งเป็นที่มาของมูลนิธิอานันทมหิดล

มูลนิธิอานันทมหิดล (ที่มา: www.manager.co.th)

มูลนิธอิ านันทมหิดล พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชทรง พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตงั้ ขึน้ ด้วยทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ มุง่ พัฒนาสภาพ ความเป็นอยูข่ องประชาชน ทรงเข้าพระราช หฤทัยดีวา่ ในการพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องมี ผูเ้ ชีย่ วชาญวิชาการขัน้ สูงสาขาต่างๆ วิธกี ารหนึง่ ที่ จ ะสร้ า งผู ้ เ ชี่ ย วชาญคื อ การส่ ง ผู ้ มี ความสามารถออกไปศึ ก ษาหาความรู ้ ณ ประเทศทีเ่ ป็นแหล่งวิทยาการแขนงต่างๆ ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ การพั ฒ นาประเทศ จึ ง ทรง พระราชด�ำริที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้ นั ก ศึ ก ษาผู ้ แ สดงความสามารถยอดเยี่ ย ม ได้มโี อกาสไปศึกษาวิชาความรูใ้ ห้ถงึ ขัน้ สูงสุด ในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว ด้วยทรงพระราชด�ำริ ว่าเมื่อได้ศึกษาถึงขั้นสูงสุดแล้ว จะเห็นว่า ศาสตร์ต่างๆ นั้นมีความสัมพันธ์กัน และ สามารถน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่เพื่อน มนุษย์และประเทศชาติได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตงั้ ทุนเพือ่ การนีเ้ มือ่ พ.ศ.๒๔๙๘ พระราชทาน นามทุ น ว่ า “อานั น ทมหิ ด ล” เพื่ อ เป็ น

พระบรมราชานุสรณ์ในสมเด็จพระบรมเชษฐา ธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ต่อมาทรง เห็นว่า ได้ผลสมพระราชประสงค์ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดทะเบียนตราสาร ทุนอานันทมหิดล เป็น “มูลนิธอิ านันทมหิดล” เมื่ อ วั น ที่ ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๒ โดย พระราชทานทุนเริม่ แรกจ�ำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท (ทีม่ า:http://km.rdpb.go.th)

ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา นายแพทย์ผไู้ ด้รบั พระราชทานทุน มู ล นิ ธิ อ านั น ทมหิ ด ลคนแรก เกิ ด ที่ ต� ำ บล ทับเที่ยง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตร ของนายจ้อง สุวรรณเวลา และนางแล่ม สุวรรณเวลา มีพนี่ อ้ งทัง้ หมด ๕ คน สมรสกับ ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ แพทย์หญิง คุณหญิง นิตยา สุวรรณเวลา มีธดิ า ๒ คน คือ ศาสตราจารย์ แพทย์หญิง นิจศรี ชาญณรงค์ และอาจารย์ ทันตแพทย์หญิง ดร.ใจแจ่ม โรขนาภรณ์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ ๖ จากโรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง

และชั้ น เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาจากโรงเรี ย น สวนกุหลาบวิทยาลัย ส�ำเร็จเตรียมแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับเหรียญ ทองแดงคะแนนเยี่ยมปีที่ ๑ และ ๒ และ ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยม) จากคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับเหรียญ ทองแดงคะแนนเยีย่ มในการสอบและเหรียญ ทองคะแนนเยี่ ย มตลอดหลั ก สู ต ร รวมทั้ง เหรียญทองแดงคะแนนเยีย่ มในวิชากายวิภาค ศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวทิ ยา อายุรศาสตร์ และสูต-ิ นรีเวชวิทยา และได้รบั พระราชทาน ทุนมูลนิธอิ านันทมหิดล แผนกแพทยศาสตร์ เป็นคนแรก เพื่อไปศึกษาต่อวิชาประสาท ศัลยศาสตร์ทปี่ ระเทศสหรัฐอเมริกา (ที่มา:หอประวัติคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย http://mdcu.flexiplan.co.th)

ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส กล่าวว่า หลังยุคสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ ประเทศไทยประสบปัญหาขาดแคลนแพทย์ ขาดแคลนบุคลากรที่ท�ำหน้าที่เป็นครูผู้สอน และถ่ายทอดวิชาทางการแพทย์ เป็นยุคที่มี ความล�ำบากทางด้านสาธารณสุข มีการระบาด จุลสาร สมศ.


ของโรคโปลิโอและอหิวาตกโรคอย่างรุนแรง ท�ำให้มผี เู้ สียชีวติ จ�ำนวนมาก ด้วยเหตุนสี้ ง่ ผลให้ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดชทรงพิจารณาตามความจ�ำเป็นว่า จะต้องมีบุคลากรหรือผู้ที่มีความรู้ด้านการ แพทย์เพิ่มมากขึ้น นี่คือสาเหตุให้ทรงตัดสิน พระราชหฤทัยส่งบุคลากรไปศึกษาต่อต่าง ประเทศ โดยมีเงื่อนไขต้องมีผลการเรียน อยูใ่ นระดับ “เยีย่ ม” ย้อนหลังไปปี พ.ศ.๒๔๖๐ ได้มีการ จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้นโดยใช้ชื่อโรงเรียน ราชแพทยาลัย (ซึง่ ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็นคณะ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ขณะนัน้ การแพทย์ยังล้าหลัง การศึกษาวิชาแพทย์มี เพียงระดับประกาศนียบัตร ยังไม่มีปริญญา ครัน้ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงส�ำเร็จการศึกษาวิชา แพทยศาสตร์ และสนพระทัยการสาธารณสุข ของประเทศเป็นอย่างยิง่ และได้พระราชทาน ทุนเพื่อให้คนไทยไปศึกษาต่อไม่เฉพาะสาขา แพทยศาสตร์ แต่ยงั มีสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ พืน้ ฐานของวิชาแพทยศาสตร์ ซึง่ ได้แก่ ฟิสกิ ส์ เคมี ชีววิทยาและคณิตศาสตร์ซงึ่ ต่อมาได้ขยาย

จุลสาร สมศ.

สาขาเป็นวิชาทีส่ ำ� คัญของประเทศ จะเห็นได้วา่ เมือ่ ๑๐๐ ปีทผี่ า่ นมา หรือเมือ่ ๖๐ ปีทผี่ า่ นมา “สถานการณ์ ค ล้ า ยกั น ” ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานทุนแก่ ผู ้ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาวิ ช าแพทยศาสตร์ เ ป็ น ประเดิม ทรงเจริญรอยตามพระยุคลบาทแห่ง สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทุนที่ ไม่มีสัญญา ในการเลือกบุคคล เข้ารับพระราชทานทุน ผูผ้ า่ นการคัดเลือกต้อง มีผลการเรียนอยูใ่ นระดับดี และให้ทดลองงาน ก่อนเป็นเวลา ๒ ปี สิง่ นีค้ อื พระราชประสงค์ แต่ แ รกเริ่ ม คื อ ไม่ ใ ช่ แ ค่ มี ผ ลการเรี ย นดี ด้านเดียว จากนัน้ คณะกรรมการได้พจิ ารณา และร่างสัญญาการขอรับพระราชทานทุน และ ทูลเกล้าถวายฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระองค์ทรงมีรบั สัง่ ว่า ไม่ต้องท�ำสัญญา เมื่อให้ก็คือให้ ให้โดยไม่มี ข้ อ แม้ จึ ง เกิ ด เป็ น สั ญ ญาทางใจขึ้ น มา มีตวั อย่างทีน่ า่ สนใจอีกตัวอย่างคือ ต่อมามีคน ขอรั บ พระราชทุ น แล้ ว เมื่ อ ไปศึ ก ษาต่ อ ต่างประเทศได้แต่งงานกับชาวต่างชาติ จึงได้ ขอลาออกจากการขอรับพระราชทานทุน

คณะกรรมการมีความเห็นพ้องต้องกันว่า ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต้ อ งให้ ช ดใช้ แต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชทรงมีรบั สัง่ ว่า “ไม่เป็นไร ให้ ไปแล้ว ก็ให้ ไปเลย” เป็นการตอกย�ำ้ เรือ่ งของการให้ โดยไม่ตอ้ งมีสญ ั ญา เป็นกระบวนการด้านการ ให้ ท านที่ ยิ่ ง ใหญ่ ก ว่ า ทานธรรมดาและมี ความหมาย ทั้งหมดขึ้นอยู่กับความไว้วางใจ และความศรัทธา ผมเลือกเรียนศัลยศาสตร์ด้านการ ผ่าตัดสมอง เมื่อคณะกรรมการสัมภาษณ์ มี ข ้ อ ซั ก ถามถึ ง ความถนั ด ผมก็ บ อกว่ า ผมช�ำนาญวิชากายวิภาค คณะกรรมการจึงมี ความเห็นให้ผมไปศึกษาต่อด้านกายวิภาค แต่ผมแย้งว่าผมต้องการเรียนจบกลับมาเป็น หมอ ผมไม่ต้องการเป็นหมอที่ผ่าซากศพ อย่ า งเดี ย ว ผมอยากเรี ย นศั ล ยศาสตร์ คณะกรรมการจึ ง น� ำ ความกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ พระองค์ทรงมีรบั สัง่ ว่า “เขาอยากเรียนอะไร ก็ ให้เขาเรียน” เมื่อได้รับพระราชทานทุน อานั น ทมหิ ด ลแล้ ว ก่ อ นออกเดิ น ทางไป ต่างประเทศ ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท ตอนหนึง่ ทรงสอนให้พยายามศึกษาในทุกสิง่ ทุกประการ ทีจ่ ะท�ำได้ ไม่มงุ่ แต่เพียงวิชาการ ทางแพทย์เท่านั้น แล้วพิจารณาไตร่ตรอง เลือกเฉพาะที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ มาใช้ พั ฒ นาประเทศชาติ ต ่ อ ไป ทรงเน้ น ว่ า ความรู้นั้นต้องน�ำมาแก้ปัญหาที่หลากหลาย


และแตกต่ างกั น ไปในต่างพื้น ที่ ตลอดจน ต้ อ งใช้ วิ ช าการหลายอย่ า งประกอบกั น นับเป็นค�ำสอนที่ได้ใช้มาตลอดชีวิต พระองค์ ไม่เพียงพระราชทานทุนอย่างเดียวแต่ทรง ดูแลตลอดเวลา ต้องมีการรายงานผลการ เรียนเป็นระยะ ต้องการเรียนอะไรหรือมี ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมพระองค์ก็ไม่เคยปฏิเสธ ครั้ ง หนึ่ ง พระองค์ ท รงเสด็ จ ประพาส ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ณ สถานทู ต กรุงวอชิงตัน ดีซี พระองค์ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ให้ เ ข้ า เฝ้ า ฯ และมี รั บ สั่ ง ให้ ช่างภาพถ่ายรูปผมยืนเคียงข้างพระองค์ท่าน ซึ่งปกติในประเทศไทยจะเป็นสิ่งที่ท�ำไม่ได้ แต่ธรรมเนียมต่างประเทศสามารถท�ำได้ และ ได้ทรงพระราชทานรูปนัน้ มา ผมใช้เวลาเรียน ๕ ปี จนส�ำเร็จการศึกษาและสอบได้ใบรับรอง ความเป็นแพทย์เชีย่ วชาญทางระบบประสาท ศั ล ยศาสตร์ เ ป็ น คนแรกของประเทศไทย จึงได้กราบบังคมทูลรายงานผ่านราชเลขานุการ ว่ า ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาและพร้ อ มจะกลั บ ประเทศไทยแล้ ว วั น หนึ่ ง ได้ รั บ โทรเลข จากราชเลขานุการในพระองค์ มีข้อความ แสดงความยิ น ดี จ ากพระองค์ “warm congratulations on your passing examination” ท�ำให้เด็กต่างจังหวัดอย่างผม รูส้ กึ ซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันใหญ่หลวง เมือ่ ผมกลับมา ขณะนัน้ วิชาศัลยศาสตร์ ยังเป็นของใหม่ในประเทศไทย ยังไม่มีใคร ตระหนักถึงความส�ำคัญ ประจวบกับมีสถาบัน

ในทันที และยังเป็นการสร้างความมัน่ ใจให้กับ ประชาชนว่าการผ่าตัดสมองสามารถท�ำได้ ในคืนวันที่ ๒๕ ต่อกับ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ประเทศไทยได้รบั ความเสียหาย จากพายุโซนร้อน “แฮเรียต” ประชาชน มากมายใน ๑๒ จังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หมู่บ้านชาวประมงแหลมตะลุมพุก อ�ำเภอ ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ มี พ ระราชกระแสรั บ สั่ ง ให้ ก องทั พ อากาศ จัดเครื่องบินน�ำอธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ และคณะแพทย์ แ ละพยาบาลจากสภา กาชาดไทยเดินทางไปช่วยเหลือในวันรุ่งขึ้น ทั น ที ในขณะที่ ค วามช่ ว ยเหลื อ จาก ทางราชการยังไปไม่ถงึ นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ป็นช่องว่าง ที่พระมหากษัตริย์ทรงให้ความช่วยเหลือได้

ทางการเงินแห่งหนึง่ ได้บริจาคเงินสร้างอาคาร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ศาสตราจารย์กติ ติคณ ุ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิ ท วงศ์ ท่านจึงด�ำริให้อาคารใหม่นี้เป็นอาคารของ ระบบประสาท ซึ่งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ขณะนั้น การผ่าตัดแต่ละครั้งต้องใช้ห้อง ผ่าตัดรวม ในขณะที่การผ่าตัดสมองจ�ำเป็น ต้องมีห้องปลอดเชื้อ ต้องเป็นห้องผ่าตัดที่ ทั น สมั ย ห้ อ งผ่ า ตั ด สมองต้ อ งมี ค วามดั น ภายในสูงกว่าข้างนอก จ�ำเป็นต้องมีเครื่อง กรองอากาศ เวลาเปิดประตูลมต้องพัดออก ไม่ใช่พัดเข้าเพื่อให้ห้องผ่าตัดสะอาดตลอด เวลา จึงได้สร้างห้องผ่าตัดสมองขึ้นมาใหม่ พร้อมจัดหาเครื่องมือในการผ่าตัดสมองใหม่ ทั้งหมด ประจวบกับประเทศไทยขณะนั้น มีคนไข้ทางด้านสมองรอการผ่าตัด จึงได้เริม่ งาน จุลสาร สมศ.


ในขณะทีท่ างราชการท�ำไม่ได้ จากเหตุการณ์นี้ พบผู้บาดเจ็บส่วนหนึ่งกระดูกและกระดูก สันหลังหัก เป็นอัมพาตซึง่ เป็นเรือ่ งของระบบ ประสาท พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ส่งคนเหล่านั้นมาให้ผมรักษา ๗-๑๐ คน แ ล ะ ยั ง ท ร ง พ ร ะ ร า ช ท า น ทุ น ท รั พ ย ์ ส่วนพระองค์ในการสร้างเตียงส�ำหรับผู้ป่วย ด้ า นระบบประสาทและกระดู ก สั น หลั ง นัน่ คือสิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงดูแลในทุกรายละเอียด โรคงวงช้ า ง ข ณ ะ ศึ ก ษ า อ ยู ที่ ต่างประเทศ ๕ ปีถงึ จะพบโรคนี้ ๑ ครัง้ แต่ใน ประเทศไทยพบคนไข้ โ รคนี้ ไ ด้ เ นื่ อ งจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ เสด็ จ เยี่ ย มราษฎรในถิ่ น ทุ ร กั น ดารต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศ พระองค์ ท รงรั บ คนไข้ ไ ว้ ใ น พระบรมราชานุเคราะห์ และส่งตัวมาให้ผม รักษามากกว่า ๑๐๐ ราย ส่งผลให้เกิดงานวิจยั โรคงวงช้างขึน้ เมือ่ ๕๐ ปีทแี่ ล้ว ปัจจุบนั ยังมี การอ้างอิงถึงงานวิจยั เรือ่ งนีอ้ ยูเ่ สมอ ๓๐ บาทรักษาทุกโรค เมื่ อ รั ฐ บาล จัดตั้งโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือ ๓๐ บาทรักษาทุกโรค เป็นการขยายการ ให้ บ ริ ก ารรั ก ษาพยาบาลออกไปสู ่ ช นบท เพือ่ ให้ประชาชนมีโอกาสเข้ารับการรักษาโรค ได้ ต ามความจ� ำ เป็ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทรงรับสั่งถึงผู้ที่อยู่ ห่างไกลออกไปที่ไม่สามารถเข้ามายังสถาน บริการปฐมภูมิได้ หรือผู้ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายที่จะ เดินทางมายังสถานรักษาพยาบาล แสดง อย่างชัดเจนว่าพระองค์ทรงรู้จัก และเข้าใจ

จุลสาร สมศ.

ประเทศไทยมากกว่ า ผู ้ ใ ด ซึ่ ง ทุ ก คนใน แผ่นดินล้วนอยู่ในสายพระเนตรและได้รับ พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระองค์ ศาสตราจารย์ กิตติคุณ นายแพทย์จรัส กล่าวทิ้งท้ายด้วย ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ ด้ ว ยทรงห่ ว งใยพสกนิ ก ร พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงตระหนักว่าความเจ็บไข้ได้ป่วย การมี สุขภาพอนามัยทีเ่ สือ่ มโทรม คือ ศัตรูรา้ ยต่อ ความผาสุกของประชาชน และเป็นความทุกข์ พืน้ ฐานของราษฎรไทยโดยทัว่ ไป พระองค์ทรง เล็งเห็นว่า ตราบใดที่คนไทยมีโรคภัยไข้เจ็บ เบียดเบียน มีคุณภาพชีวิตไม่ดี ขาดแคลน อาหารและปัจจัยในการด�ำรงชีพ มีสุขภาพ ร่างกายและจิตใจอันทรุดโทรม ตราบนั้น การพัฒนาชาติบา้ นเมืองในด้านอืน่ ๆ ก็หมดหวัง ดังพระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์

ณ หอประชุมราชแพทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๕ ความตอนหนึ่งว่า “อันวิชาแพทยศาสตร์นี้ ข้อส�ำคัญก็คอื การ รักษาพยาบาล และท�ำนุบำ� รุงให้ประชาชน พลเมื อ งได้ อ ยู ่ เ ย็ น เป็ น สุ ข ไม่ ป ่ ว ยไข้ มีพลานามัยและสุขภาพสมบูรณ์ เพือ่ จะได้ ประกอบภารกิจให้บงั เกิดเป็นคุณประโยชน์ แก่ประเทศชาติ บุคคลใดแม้จะมีความรูอ้ นื่ ๆ ดีเพียงไร แต่ถ้าร่างกายอ่อนแอไม่แข็งแรง มีการเจ็บป่วยอยู่เสมอ ก็ไม่สามารถที่จะ ประกอบกิจการใดๆ ให้สำ� เร็จประโยชน์ได้ ฉะนัน้ วิชาแพทย์จงึ เป็นสิง่ ส�ำคัญ การทีผ่ ลิต แพทย์ ขึ้ น ได้ ม ากเท่ า ไร ก็ เ ป็ น ที่ ห วั ง ว่ า ประชาชาติของเราจะได้รบั ความสุขสมบูรณ์ ในร่างกายดีขนึ้ ชาติของเราก็จะเจริญวัฒนา ถาวรยิง่ ขึน้ ”

เรียบเรียงบทสัมภาษณ์ โดย นายภูมิพัฒน์ ศรีวชิรพัฒน์ นักวิชาการภารกิจส่งเสริมและพัฒนาสัมพันธ์


“สารานุกรมไทย”

หนังสือเพื่อเยาวชนไทย โดยพระราชประสงค์ ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙

สื บ เนื่ อ งจากจุ ลสาร สมศ.ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๓ ได้นำ� เสนอสถานศึกษาทีไ่ ด้นำ� หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ จนประสบผลส�ำเร็จ จุลสาร สมศ. ฉบับนี้ ขอน� ำ เสนอความเป็ น มาของโครงการ สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ เพือ่ เป็นการ เทิ ด พระเกี ย รติ แ ละร� ำ ลึ ก ในพระมหา กรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช ทรงพระราชปรารภว่า การเรียนรู้ ในเรื่ อ งราวและวิ ช าการสาขาต่ า งๆ โดย กว้างขวาง เป็นเหตุให้เกิดความรู้ ความคิด และความฉลาด ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุด ส� ำ หรั บ ชี วิ ต ช่ ว ยให้ บุ ค คลสามารถสร้ า ง ประโยชน์สุข สร้างความเจริญมั่นคงให้แก่ ตนเอง ทัง้ แก่สงั คม และบ้านเมือง อันเป็นทีพ่ งึ่ อาศัยได้ ทุกคนจึงควรมีโอกาสที่จะศึกษา หาความรูไ้ ด้ตามความประสงค์และก�ำลังความ สามารถโดยทัว่ กัน ทรงพระราชด�ำริวา่ หนังสือ ประเภทสารานุกรมนั้น บรรจุสรรพวิชาการ อันเป็นสาระไว้ครบทุกแขนง เมือ่ มีความต้องการ หรือพอใจจะเรียนรู้เรื่องใดก็สามารถค้นหา อ่านทราบโดยสะดวก นับว่าเป็นหนังสือที่มี

ประโยชน์ เกื้อกูลการศึกษาเพิ่มพูนปัญญา ด้วยตนเองของประชาชนอย่างส�ำคัญ โดยเฉพาะ ในยามทีม่ ปี ญ ั หาการขาดแคลนครูเช่นขณะนี้ หนังสือสารานุกรมจะช่วยคลีค่ ลายให้บรรเทา เบาบางลงได้เป็นอย่างดี จึงมีพระราชด�ำรัสให้ ตั้งโครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ เพื่ อ ด� ำ เนิ น การสร้ า งหนั ง สื อ สารานุ ก รม ฉบับใหม่อกี ชุดหนึง่ มีความมุง่ หมายทีจ่ ะน�ำ วิชาการแขนงต่างๆ ทีค่ วรศึกษาออกเผยแพร่ แก่เยาวชนให้แพร่หลายทั่วถึง เพื่อเยาวชน จักได้หาความรู้ช่วยตัวเองได้จากการอ่าน หนังสือและเพือ่ ให้ได้ประโยชน์อนั กว้างขวาง ยิ่ ง ขึ้ น ทรงก� ำ หนดหลั ก การท� ำ ค� ำ อธิ บ าย เรือ่ งต่างๆ แต่ละเรื่องเป็นสามตอนหรือสาม ระดับ ส�ำหรับให้เด็กรุน่ เล็กอ่านเข้าใจระดับหนึง่ ส�ำหรับเด็กรุ่นกลางอ่านเข้าใจได้ระดับหนึ่ง และส� ำ หรั บ เด็ ก รุ ่ น ใหญ่ รวมถึ ง ผู ้ ใ หญ่ ผูส้ นใจอ่านได้อกี ระดับหนึง่ เพือ่ อ�ำนวยโอกาส ให้บดิ ามารดาสามารถใช้หนังสือนัน้ เป็นเครือ่ งมือ แนะน�ำวิชาแก่บตุ รธิดา และให้พแี่ นะน�ำวิชา แก่ น ้ อ งเป็ น ล� ำ ดั บ กั น ลงไป นอกจากนั้ น เมือ่ เรือ่ งหนึง่ เรือ่ งใดมีความเกีย่ วพันต่อเนือ่ ง ถึงเรื่องอื่นๆ ก็ให้อ้างอิงถึงเรื่องนั้นๆ ด้วย ทุกเรื่องไป ด้วยประสงค์จะให้ผู้ศึกษาทราบ

ตระหนักว่า วิชาการแต่ละสาขามีความสัมพันธ์ เกีย่ วเนือ่ งถึงกัน พึงจะศึกษาให้ครบถ้วนทัว่ ถึง โครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ มีลกั ษณะพิเศษหลายประการทีแ่ ตกต่างจาก สารานุกรมและหนังสือชุดความรูท้ วั่ ไปทีพ่ มิ พ์ ออกเผยแพร่จำ� หน่ายในท้องตลาด ทัง้ นีเ้ ป็น ไปตามแนวพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทีพ่ ระราชทานแก่ คณะกรรมการโครงการฯ ในโอกาสต่างๆ เป็นหนังสือทีใ่ ห้ความรูโ้ ดยเน้นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง กั บ ประเทศไทย คนไทย และภู มิ ป ั ญ ญา ของคนไทย ดังพระราชด�ำรัสว่า “อยากให้ หนังสือชุดนีเ้ ป็นเรือ่ งไทยๆ จัดท�ำโดยคนไทย เพื่ อ คนไทย” เนื้ อ หาสาระในแต่ ล ะเรื่ อ ง มีรายละเอียดชัดเจนที่ให้ความรู้ความเข้าใจ แก่ผู้อ่านทุกระดับวัยและช่วงความรู้ คือ ส่วนเด็กเล็ก ส่วนเด็กกลาง และส่วนเด็กโต ซึ่งรวมถึงผู้ใหญ่และผู้สนใจทั่วไป หนังสือ สารานุกรมไทย จัดพิมพ์และเผยแพร่ครัง้ แรก เมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๖ จนถึงปัจจุบนั มีจำ� นวน ๔๑ ฉบับ และอยู่ระหว่างจัดท�ำฉบับพิเศษ สารานุกรมไทย ฉบับผูส้ งู วัย (ได้รบั ความอนุเคราะห์ขอ้ มูลจากโครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับ เยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ) (รายละเอียดเพิม่ เติมที่ http://www.saranukromthai.or.th)

จุลสาร สมศ.


ผู้บริหาร สมศ. เมือ่ วันอังคารที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ นายนาวิน วิยาภรณ์ รักษาการผูอ้ ำ� นวยการ ส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก ารมหาชน) ได้ประกาศเจตจ�ำนงในการบริหารงานด้วย ความซือ่ ตรงจงรักภักดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มุง่ มัน่ บริหารงานและปฏิบตั ิ งานด้วยหลักธรรมาภิบาล เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ซื่อตรง ต่ อ หน้ า ที่ แ ละผู ้ รั บ บริ ก ารจากภายนอก โดยบริ ห ารงานด้ า นมาตรการปฏิ บั ติ ง าน ด้วยคุณธรรมและความโปร่งใสของ สมศ.

จุลสาร สมศ.

ประกาศเจตจ�ำนงในการบริหารงาน ด้วยความโปร่งใสและซื่อสัตย์สุจริต ๖ ด้าน ได้แก่ การปฏิบตั งิ านตามอ�ำนาจหน้าที่ ด้วยความโปร่งใส มีคุณธรรม มีระบบการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมา ภิบาล มีเจตจ�ำนงสุจริตในการบริหารงาน และมีความพร้อมที่จะรับผิดในการปฏิบัติ งานและการบริหารงาน มีมาตรการส่งเสริม และป้องกันให้หน่วยงานปลอดจากการทุจริต ในเชิ ง นโยบายและการทุ จ ริ ต ต่ อ หน้ า ที่ โดยไม่ใช้ตำ� แหน่งหน้าทีใ่ นการเอือ้ ประโยชน์ หรือรับสินบน สร้างวัฒนธรรมองค์กรสืบทอด วัฒนธรรมสุจริตในหน่วยงาน ไม่ทนต่อการ ทุจริตทัง้ ปวง ให้มคี วามละอายและเกรงกลัว

ต่ อ การทุ จ ริ ต มี ม าตรการในการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจริต รวมทั้งป้องกัน ผลประโยชน์ ทั บ ซ้ อ น มี คุ ณ ธรรมในการ ปฏิบัติงาน โดยก�ำหนดเป็นมาตรฐานการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจนตามหลักการ “ครองตน ครองคน ครองงาน” มี คุ ณ ธรรมในการ ปฏิบตั งิ านและบริหารงานในเรือ่ งการบริหาร งานบุคคล งบประมาณ การมอบหมายงาน และสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน รวมถึง ด้านการสือ่ สารภายในหน่วยงานทีม่ วี ฒ ั นธรรม ในการสือ่ สารเชิงบวกภายในองค์กร เพือ่ ส่งเสริม การสร้างบรรยากาศทีด่ ใี นการปฏิบตั งิ านร่วมกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.