ชุดเอกสารสร้างวัฒนธรรมการวิจัย เล่ม3.pdf

Page 1

ั ิ ั ช ด เ อ ก ส า ร ส ร า  ง ว ฒน ธ ร ร ม ก า ร ว จ ยเ ล ม  ุ

ํ ั ึ ้ ั ้ ส า น ก ง า น ค ณะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศ ก ษ า ข น พื น ฐ า น


1

แนวการจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนใช้ กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้ สํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน บทนํา การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู ้ความสามารถในด้านการวิจยั และใช้กระบวนการ วิจยั ในการแสวงหาความรู้ที่เป็ นระบบน่าเชื่อถือ เป็ นส่ วนสําคัญที่ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีประสิ ทธิ ภาพ ดังที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ระบุไว้ในหมวด ๔ มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งส่ งเสริ มให้ผสู ้ อนสามารถใช้กระบวนการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ ที่ เหมาะสมในแต่ละระดับ การศึกษา และมาตรา ๒๔ (๕) ให้ส่งเสริ มสนับสนุนให้ครู สามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่ อ การเรี ยนและสื่ ออํานวยความสะดวกเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้และมีความรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการเรี ยนรู ้ (กระทรวงศึ กษาธิ การ, ๒๕๔๖) การพัฒ นาบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โดยเฉพาะครู ให้มีความรู้ ค วามสามารถในการใช้วิจยั เพื่ อพัฒนาการเรี ยนรู ้ ให้มี ประสิ ทธิ ภาพส่ งผลถึ ง คุ ณภาพของนักเรี ยน โดยครู ต้องสามารถนําการวิจยั เข้าสู่ กระบวนการเรี ยนรู้ และการจัดการเรี ยนรู ้ ต้อง ส่ งเสริ มและพัฒนาให้นกั เรี ยนทุกคนสามารถใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่ งในกระบวนการเรี ยนรู ้ และพัฒนา ตนเองได้ แต่จากสภาพปั ญหาการวิจยั พบว่า ครู ส่วนใหญ่ทาํ วิจยั และนําผลการวิจยั มาใช้ในการพัฒนาการ จัดการเรี ยนรู ้นอ้ ยมาก (สํานักงานประเมินมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา, ๒๕๕๑) และมีครู เพียง ๒๐ คน ที่ ส่ งโครงการวิจยั มาขอทุนวิจยั จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๒๕๕๒) นอกจากนั้น ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความรู ้ความสามารถในการนํากระบวนการวิจยั มาใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ แตกต่างกัน สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐาน จึ งได้กาํ หนดโครงการสร้ างวัฒนธรรมการวิจยั โดยการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ให้นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ โดยใช้ก ระบวนการวิจยั และส่ งเสริ มให้มีการ ดําเนิ น การอย่า งต่ อ เนื่ อ งจนเกิ ด เป็ นวัฒ นธรรมการวิจ ัย ในการเรี ย นรู้ ท้ ัง ครู นัก เรี ย นและบุ ค ลากรที่ เกี่ยวข้องทุกระดับเพือ่ นําไปสู่ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ โดยเน้นการปฏิรูปนักเรี ยนและครู ยุคใหม่ นอกจากนั้นการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้เป็ นนโยบายเร่ งด่วน ที่สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องดําเนินการตามกรอบการปฏิรูปการศึกษารอบสอง


2

๔ ด้าน คือ ปฏิรูปครู ยคุ ใหม่ ปฏิรูปนักเรี ยนยุคใหม่ ปฏิรูปสถานศึกษายุคใหม่และปฏิรูปแหล่งเรี ยนรู ้ ยุคใหม่ โดยส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ทุกเขตพื้นที่การศึกษาดําเนิ นโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั เพื่อให้ หน่ ว ยงานในสั ง กัด ทุ ก ระดับ ส่ ง เสริ ม ให้ ค วามรู ้ เทคนิ ค แก่ ค รู ใ นการจัด การเรี ย นรู ้ โ ดยนั ก เรี ย นใช้ กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ เพื่อยกระดับความรู ้ความเข้าใจและความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั และนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ องจนเกิดเป็ นวัฒนธรรม การวิจยั ในโรงเรี ยน เอกสาร “แนวการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้” ฉบับนี้ได้นาํ เสนอ รายละเอียดการดําเนินการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ๔ ขั้นตอน คือ ๑) ตั้งคําถาม ๒) เตรี ยมการค้นหาคําตอบ ๓) ดําเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคําตอบและ ๔) สรุ ปและนําเสนอผลการ ค้นหาคําตอบ การสร้ างบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ ที่ เอื้อต่อการเรี ยนรู้ ด้วยกระบวนการวิจยั และการ ประเมิ น ผลการจั ด การเรี ยนรู ้ โ ดยนั ก เรี ยนใช้ ก ระบวนการวิ จ ัย ในการเรี ยนรู ้ โ ดยนั ก เรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้และสามารถปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพของชุ มชนและท้องถิ่นได้ตาม ความเหมาะสม

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อให้ครู สามารถจัดการเรี ยนรู ้โดยให้นกั เรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ๒. เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีความสุ ข ๓. เพื่อให้ศึกษานิเทศก์สามารถนิเทศการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั

เป้ าหมาย

๑. ครู ก ลุ่ ม เป้ าหมายการพัฒนาไม่น้อยกว่าร้ อยละ ๕๐ สามารถจัดการเรี ยนรู ้ โดยให้นักเรี ยนใช้ กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ๒. นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมายสามารถใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีความสุ ข ๓. ศึกษานิเทศก์กลุ่มเป้ าหมายสามารถนิเทศการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั


3

แนวทางการจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนใช้ กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้ การจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ประกอบด้วยองค์ประกอบด้าน ผูใ้ ช้และด้านการใช้ องค์ป ระกอบด้านผูใ้ ช้จาํ แนกเป็ นครู และนัก เรี ย น ด้านการใช้จาํ แนกเป็ นการใช้ ผลการวิจยั และการใช้กระบวนการวิจยั ทําให้เกิดแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้การวิจยั ๔ แนวทาง ดังแสดงในแผนภาพที่ ๑

การใช้ ผลการวิจัย การใช้ กระบวนการวิจัย

ครู

นักเรียน

แนวทางที่ ๑

แนวทางที่ ๒

แนวทางที่ ๓

แนวทางที่ ๔

แนวทางที่ ๑ : ครู ใช้ผลการวิจยั ในการจัดการเรี ยนรู ้ แนวทางที่ ๒ : นักเรี ยนใช้ผลการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ แนวทางที่ ๓ : ครู ใช้กระบวนการวิจยั ในการจัดการเรี ยนรู ้ แนวทางที่ ๔ : นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ แผนภาพที่ ๑ แนวทางการใช้ การวิจัยในการจัดการเรียนรู้ แนวทางที่ ๑ เป็ นแนวทางที่ค รู นาํ ผลการวิจยั มาใช้ป ระกอบการจัดการเรี ย นรู ้ใ นสาระการ เรี ย นรู ้ ต่า งๆ ที ่ช่ ว ยให้น กั เรี ย นขยายขอบเขตของความรู ้ ที่ ท นั สมัย และเสริ ม ให้น ัก เรี ย นมีค วามรู้ เพิ่มขึ้ น ส่ วนแนวทางที่ ๒ เป็ นแนวทางที่นกั เรี ยนสื บค้นและศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรี ยนรู ้ ที่เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง สํา หรั บ แนวการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการใช้แนวทางที่ ๓ และแนวทางที่ ๔ คือครู ใช้กระบวนการวิจยั ในการจัดการเรี ยนรู ้ และนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ใน การเรี ยนรู ้มาบูรณาการโดยใช้กระบวนการวิจยั ตามขั้นตอน ๔ ขั้นตอนดังนี้ ๑. ตั้งคําถาม ๒. เตรี ยมการค้นหาคําถาม ๓. ดําเนินการค้นหาและตรวจสอบคําตอบ ๔. สรุ ปและนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ


4

กระบวนการวิจัย ๔ ขั้นตอน กระบวนการวิจยั เป็ นการแสวงหาความรู ้อย่างเป็ นระบบ ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. ตั้งคําถาม การตั้งคําถาม เป็ นขั้นตอนที่ สําคัญที่ สุดในการวิจยั ซึ่ งผูว้ ิจยั จะต้องระบุ ให้ชัดเจนว่า การวิจยั ครั้ง นั้นๆ มีคาํ ถามสําคัญหรื อโจทย์ที่มุ่งแสวงหาคําตอบคืออะไร ในแวดวงการวิจยั จะมีคาํ ที่เกี่ยวข้องกับการตั้ง คําถามอยู่ ๒ คํา คือ (๑) โจทย์ปัญหาการวิจยั เป็ นการตั้งคําถามหลักของการวิจยั ๑ คําถาม มักได้มาจากการ วิเคราะห์ เปรี ยบเที ยบความแตกต่า งระหว่า งสภาพปั จ จุ บ นั และสภาพความคาดหวัง ที่ พ ึง ประสงค์ และ (๒) คํา ถามการวิจ ยั เป็ นการตั้งประเด็นคําถามย่อยเพื่อนําไปสู่ การแก้ไขปั ญหาการวิจยั ให้สําเร็ จ ลุล่วง สามารถกําหนดได้มากกว่า ๑ คําถาม ดังนั้น ในการวิจยั แต่ละครั้งควรมีการตั้งคําถามทั้งสองส่ วน ก่ อนที่ นัก วิจยั จะตั้งโจทย์ก ารวิจยั และคําถามการวิจยั ได้น้ ัน นัก วิจยั ควรทํา ความรู้ จกั บริ บ ท วิเคราะห์สภาพปั จจุบนั ปั ญหาของสิ่ งที่มุ่งศึกษานั้นให้เข้าใจอย่างถ่องแท้เสี ยก่อน การสังเกตเพื่อทําความ เข้าใจปรากฏการณ์หรื อเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ จะกระตุน้ ให้นกั วิจยั เกิดข้อสงสัย ฉุ กคิดว่า “เอ๊ะ! ทําไมจึง เป็ นเช่ น นี้ และเป็ นเช่ น นี้ ได้อ ย่างไร” ฉะนั้น การใช้เวลาเพื่ อ ทํา ความเข้าใจปรากฏการณ์ ชี้ ชวนกัน วิเคราะห์ ตั้งข้อสังเกต กระตุน้ ให้คิด นับว่าเป็ นก้าวแรกที่สาํ คัญของกระบวนการสร้างปั ญญา สุ วิมล ว่องวาณิ ช (๒๕๔๕) ได้ให้หลักการตั้งโจทย์ปัญหาการวิจยั เกี่ ยวกับลักษณะของการตั้ง โจทย์ปัญหาการวิจยั ที่ดี หลักการตั้งโจทย์ปัญหาการวิจยั และระดับของโจทย์ปัญหาการวิจยั ไว้ดงั นี้ ลักษณะของการตั้งโจทย์ปัญหาการวิจยั ที่ดีจะต้อง ๑. เป็ นปั ญหาที่มีความสําคัญ จําเป็ นต้องเร่ งแก้ไข ๒. เป็ นปั ญหาที่เกิดขึ้นชัดเจน มีขอ้ มูลหลักฐานชี้ชดั ๓. เป็ นปั ญหาที่นาํ ไปสู่ คาํ ตอบที่มีคุณค่า ๔. เป็ นปั ญหาปั จจุบนั เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ได้ทนั เวลา ๕. เป็ นปั ญหาที่ผวู ้ จิ ยั สามารถทําได้จริ งและสําเร็ จได้ในปั จจัยเงื่อนไขที่มีอยู่ หลักการตั้งโจทย์ปัญหาการวิจยั ๑. อย่าตั้งโจทย์วจิ ยั ที่เน้นแต่การศึกษาสภาพปั ญหา ๒. อย่าตั้งโจทย์วจิ ยั เพื่อตรวจสอบว่าปั ญหานั้นเป็ นจริ งหรื อไม่ ๓. ตั้งโจทย์วจิ ยั ที่มีความลึกซึ้ง ให้คาํ ตอบที่นาํ ไปสู่ การปรับปรุ งพัฒนาเรื่ องนั้นๆ ได้อย่างแท้จริ ง เช่น ปั ญหานั้นมีสาเหตุมาจากอะไร ทําไมจึงเป็ นเช่นนั้น วิธีการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง จะแก้ปัญหานั้นได้ อย่างไร วิธีการแก้ปัญหาแบบใดเหมาะสมกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้น วิธีใดดีกว่ากัน ผลการแก้ไขได้คาํ ตอบ ว่าอย่างไร


5

๔. โจทย์วจิ ยั มีความเฉพาะเจาะจง มีขอบเขตของการศึกษาชัดเจน ไม่กว้างเกินไป ระดับ ของโจทย์ปัญหาการวิจยั จากระดับตํ่า (ระดับที่ ๑) ไปสู่ ระดับที่สูงขึ้น และดีกว่า ดังนี้ ระดับที่ ๑ โจทย์ปัญหาการวิจยั ที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาพของสิ่ งที่มุ่งศึกษา ระดับที่ ๒ โจทย์ปัญหาการวิจยั ที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์สาเหตุที่ทาํ ให้เกิดปั ญหา ระดับที่ ๓ โจทย์ปัญหาการวิจยั ที่เกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหา ๒. เตรียมการค้ นหาคําตอบ เมื่อนักวิจยั ได้การตั้งคําถามที่เป็ นลักษณะของโจทย์ปัญหาการวิจยั แล้ว จึงมาถึงขั้นของการ เตรี ยมการค้นหาคําตอบ เป็ นขั้นที่นกั วิจยั ต้องขบคิดเกี่ยวกับปั ญหาหรื อข้อสงสัยในขั้นตอนที่ ๑ ว่าสาเหตุ แนวทางแก้ไขที่จะเป็ นไปได้ และแนวทางแก้ไขที่นกั วิจยั เลือกนํามาใช้มากที่สุดเพื่อจัดการกับปั ญหาการ วิจยั คื ออะไร รวมทั้ง การคาดคะเนคําตอบที่ จะได้จากการดํา เนิ น การนั้น ๆ ด้ว ย เมื่ อมี ค วามชัด เจนก็ สามารถนํามาออกแบบหรื อวางการดําเนิ นการวิจยั เพื่อตอบคําถามการวิจยั อย่างมีประสิ ทธิ ภาพได้ ซึ่ งจะ เกี่ยวข้องกับการกําหนดกลุ่มเป้ าหมายการวิจยั การออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้ ๑. การกําหนดกลุ่มเป้ าหมายที่จะทําวิจยั ผูว้ ิ จ ัย จะต้อ งกํา หนดกลุ่ ม เป้ าหมายที่ จ ะทํา การวิ จ ัย ให้ ชัด เจน เป็ นกลุ่ ม เป้ าหมายที่ เกี่ยวข้องกับโจทย์ปัญหาการวิจยั ๒. การออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล สิ่ งที่ ต้ อ งคํา นึ ง ถึ ง ในการออกแบบวิ ธี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ ๓ ส่ วนคื อ แหล่งข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล และเครื่ องมือการเก็บข้อมูล หลังจากที่นกั วิจยั ออกแบบการวิจยั ในประเด็น ต่างๆ แล้ว ให้ลาํ ดับกิ จกรรมการวิจยั จัดทําเป็ นปฏิ ทินการปฏิ บตั ิงาน สําหรับการเลือกวิธีการเก็บข้อมูล ควรพิจารณาจากรายการต่อไปนี้ ๑. แหล่งข้อมูลที่เป็ นบุคคล หรื อไม่ใช่บุคคล ในแหล่งที่เป็ นบุคคลควรพิจารณาว่า ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเหมาะกับการให้เขียนตอบ สัมภาษณ์ สอบถาม หรื อสังเกต ๒. ลักษณะที่ตอ้ งการศึกษาเป็ นความสามารถ ความคิดเห็น พฤติกรรม หรื อทักษะ ๓. จํานวนผูใ้ ห้ขอ้ มูลมากหรื อน้อย ๔. ลักษณะของข้อมูลที่ตอ้ งการเป็ นข้อมูลเชิงปริ มาณ หรื อเชิงคุณภาพ ๕. ช่วงเวลาในการทําวิจยั ๓. การออกแบบวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล สามารถดําเนินการได้ใน ๔ ลักษณะดังนี้ ๑. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ สามารถทําได้โดยการวิเคราะห์เนื้อหา เขียนคําบรรยาย อธิ บาย ใช้คาํ พูดหรื อพฤติกรรมสนับสนุนการสรุ ปผลการวิจยั


6

๒. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ ส่ วนใหญ่ใช้การแจงนับความถี่ คํานวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ๓. การนําเสนอเปรี ยบเทียบความเหมือนหรื อความต่างโดยใช้กราฟ ๔. การวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยวิธีผสม ใช้ท้งั การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ และขยายความ เสริ มโดยใช้ขอ้ มูลเชิงคุณภาพบรรยายประกอบให้เข้าใจมากขึ้น ๓. ค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ การค้นหาคําตอบเป็ นการนําแผนการวิจยั ที่ได้ออกแบบไว้ไปปฏิ บตั ิจริ ง ทั้งกิจกรรมการแก้ไข ปั ญหาการเก็ บ รวบรวมข้อมู ล เพื่ อศึ ก ษาผลที่ เกิ ดขึ้ น และการตรวจสอบสิ่ งที่ ได้ในแต่ล ะระยะว่าเป็ น หนทางนําไปสู่ คาํ ตอบของการแก้ปั ญหาที่ แท้จริ งหรื อไม่ จําเป็ นต้องปรับ ปรุ งการดําเนิ นงานส่ วนใด เพื่อให้ได้คาํ ตอบที่เชื่อถือได้ ๔. สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ การสรุ ปผลการวิจยั เป็ นการสกัดสิ่ งที่ได้ดาํ เนิ นการตลอดระยะเวลาการวิจยั เพื่อตอบโจทย์ ปั ญหาการวิจยั หรื อคําถามการวิจยั ที่ต้งั ไว้ การนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ ควรนําเสนอผลการวิจยั ให้เข้าใจง่าย มีสาระครบถ้วน ทําให้เข้าใจสิ่ งที่ศึกษาและค้นพบ ควรเน้นการแสดงหลักฐานเพื่อยืนยันข้อสรุ ปที่ได้จากการวิจยั รู ปแบบ การนําเสนอผลการวิจยั ไม่จาํ กัดว่าจะต้องเป็ นเอกสารเท่านั้น อาจเป็ นการนําเสนอด้วยวาจา โปสเตอร์ แผ่นพับ สื่ อ ICT ฯลฯ


7

บทบาทของครู และนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนใช้ กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้

ตาราง ๑ บทบาทครูและนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนใช้ กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้ กระบวนการวิจัย บทบาทครู บทบาทนักเรียน ๑. ตั้งคําถาม • ครู กระตุน้ ความสนใจของ • คิดประเด็นปั ญหาที่ตนสนใจ นักเรี ยนให้เกิดความ • ตั้งคําถามตามประเด็นปั ญหาที่ตน สงสัย ใคร่ หาคําตอบ สนใจ • ครู สนับสนุนให้นกั เรี ยน นําคําถามที่ตรงประเด็น ของปั ญหา ซึ่ งคาดว่าจะ นําไปสู่ การค้นหาคําตอบ ของปั ญหาได้ ไปทําการ วิจยั ๒. เตรี ยมการค้นหา • ครู กระตุน้ ให้นกั เรี ยนนึก • นักเรี ยนสํารวจความรู ้และ คําตอบ ถึงความรู ้หรื อ ประสบการณ์ที่คาดว่าอาจนําไปสู่ การ ประสบการณ์ที่คาดว่า ได้มาซึ่ งคําตอบ เกี่ยวข้องกับปั ญหา • นักเรี ยนคาดคะเนคําตอบตามข้อมูลที่ • ครู ฝึกกระบวนการวิจยั มีอยูแ่ ละออกแบบการทดลองหรื อการ ให้แก่นกั เรี ยน สื บค้นข้อมูลเพื่อตรวจสอบคําตอบ ๓. ดําเนินการค้นหาและ • ครู ให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ผา่ น • นักเรี ยนดําเนิ นการค้นหาคําตอบ ตาม ตรวจสอบคําตอบ กระบวนการวิจยั และ กิจกรรมที่ออกแบบไว้ ตรวจสอบและ สังเกตพฤติกรรมของ ปรับปรุ งจนได้คาํ ตอบที่ไม่มีขอ้ นักเรี ยน ขัดแย้งและไม่ขดั กับหลักฐานเชิง ประจักษ์ ๔. สรุ ปและนําเสนอผล • ครู และนักเรี ยนร่ วมกัน • นักเรี ยนทบทวนขั้นตอนการค้นหา การค้นหาคําตอบ อภิปรายและสรุ ป คําตอบ การตรวจสอบคําตอบ และ กระบวนการวิจยั และ การปรับปรุ งจนได้คาํ ตอบสุ ดท้าย และ ผลการวิจยั ที่เกิดขึ้น นําเสนอในรู ปแบบที่น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย และระดับการศึกษา • ครู ยกตัวอย่างวิธีนาํ เสนอ ผลการค้นหาคําตอบ


8

ตัวอย่ าง นักเรียนใช้ กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้ นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ คือ นักเรี ยนเป็ นผูท้ าํ การวิจยั โดยครู กระตุน้ ให้นกั เรี ยนเกิด ความสงสั ย การตั้งคําถาม เตรี ยมการค้นหาคําตอบ ดําเนิ นการค้นหาและตรวจสอบคําตอบ สรุ ป และ นําเสนอผลการค้นหาคําตอบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ที่กาํ ลังเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่ อง ตัวนําความร้อนและฉนวน เกิด ความสนใจ และสงสัยว่า บ้านเราเป็ นเมืองร้อน ทําอย่างไรจึงจะให้มีบา้ นที่เย็นสบาย นักเรี ยนสามารถหาคําตอบโดยใช้กระบวนการวิจยั ตามขั้นตอนหลัก ๔ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ตั้งคําถาม เพื่อให้ได้บา้ นที่เย็นสบาย นักเรี ยนอาจการตั้งคําถาม ดังนี้ - มีวธิ ี การอย่างไรที่จะทําให้อิฐที่นาํ มาสร้างบ้านป้ องกันความร้อนได้ดี ขั้นที่ ๒ เตรี ยมการค้ นหาคําตอบ ความรู ้และประสบการณ์เดิมของนักเรี ยนทําให้นกั เรี ยนเกิด ความคิดขึ้นมาว่า ถ้านําวัสดุเหลือใช้ เช่น เปลือกผลไม้มาช่วย เปลือกผลไม้น่าจะเป็ นฉนวนกันความร้อนได้ดี ครู จึงสนับสนุนให้นกั เรี ยนวางแผนเตรี ยมการค้นหาคําตอบเป็ นกลุ่ม โดยครู ทาํ หน้าที่ให้คาํ ปรึ กษาแนะนํา นักเรี ยนอภิปรายกันถึ งเปลื อกผลไม้ที่น่าจะนํามาใช้ แต่ละกลุ่มคาดคะเนคําตอบไม่เหมือนกันด้วยเหตุผลที่ ต่างกันและออกแบบการทดลองกันเอง โดยมีการเลือกใช้เปลือกแตงโม ทุเรี ยนและเปลือกผลไม้รวม ขั้นที่ ๓ ดําเนิ นการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มดําเนิ นการค้นหาคําตอบ ตามกิจกรรมที่เตรี ยมไว้ในขั้นตอนที่ ๒ โดยสับเปลื อกผลไม้เข้าเครื่ องปั่ นและผสมกับปูน เทลงบล็อก นําไปตากแดด แล้วนําเทอร์ โมมิเตอร์ ไปวัดอุณหภูมิของปูนผสมเปลือกผลไม้ปั่นในขณะที่ปูนยังไม่ทนั แข็งตัว บันทึกอุณหภูมิที่วดั ได้ เปรี ยบเทียบอุณหภูมิของปูนผสมเปลื อกผลไม้ต่างชนิ ดกัน ว่า ชนิ ดใดร้อน มากที่ สุด ชนิ ดใดร้ อนน้อยที่สุด นักเรี ยนแต่ละกลุ่มปรับเปลี่ ยนคําตอบตามหลักฐานข้อมูลที่ ปรากฏจริ ง ได้ คําตอบสุ ดท้ายเป็ นที่ยอมรับของนักเรี ยนทุกกลุ่ม ขั้ น ที่ ๔ สรุ ป และนํ าเสนอผลการค้ น หาคํ าตอบ นัก เรี ย นสรุ ป ผลที่ ไ ด้จากการเปรี ย บเที ย บ อุณหภูมิของปูนผสมเปลื อกผลไม้ปั่ นต่า งชนิ ดกันในขั้นที่ ๓ และนําเสนอให้เห็ นลําดับ ขั้นตอนของ การค้นหาคํา ตอบ การตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง คํา ตอบ ด้วยวิธี ก ารนํา เสนอที่ น่าสนใจ เหมาะกับ วัย และระดับ การศึ ก ษา เช่ น จัดทํารายงาน จัดป้ ายนิ เทศ นําเสนอโดยวิธีตอบปั ญหาหรื อนําเสนอในแบบ ดิจิทลั วีดีทศั น์ เป็ นต้น


9

การวิเคราะห์ หลักสู ตรสู่ การจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียนใช้ กระบวนการวิจัย

การจัดการเรี ยนรู ้เป็ นองค์ประกอบสําคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่ งมีลกั ษณะหมุน วนเป็ นวงและยกระดับความรู ้ ให้สู งขึ้นไปเรื่ อย ๆ จนเป็ นกระบวนการทางปั ญญา ในระบบการศึ กษา จําเป็ นต้องใช้กระบวนการวิจยั เพื่อสร้างความรู ้ใหม่ที่จะช่วยให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ สามารถแก้ปัญหาและ พัฒนางาน พัฒนาคนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เปลี่ ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ดังนั้นการ จัดการเรี ยนรู ้ และการวิจยั จึงต้องร้ อยรัดเป็ นกระบวนการเดี ยวกัน อันจะก่อให้เกิ ดการสร้ างองค์ความรู ้ และปั ญญา ครู เป็ นบุคคลสําคัญในการจัดการเรี ยนรู ้ให้กบั นักเรี ยนในลักษณะที่สอดคล้องกับชีวิตหรื อสถานการณ์ จริ ง ครู จะรับ ความรู ้ อย่างเดี ยวยังไม่พ อ ต้องสามารถศึกษาค้นคว้าทําวิจยั ได้ และใช้ก ระบวนการวิจยั ดังกล่าวถ่ายทอดไปสู่ นกั เรี ยน ทําให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิตามที่ครู มีประสบการณ์ผา่ นมา การจัดการเรียนรู้ ให้ นักเรียนเรี ยนรู้ ด้วยกระบวนการวิจัย มีข้นั ตอนสํ าคัญ ดังนี้ ๔. นําไปใช้สอนโดยใช้กระบวนการวิจยั ๓. ออกแบบการเรี ยนรู ้และเขียนแผนการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ๒. จัดทําหน่วยการเรี ยนรู ้ ๑. วิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้/ตัวชี้วดั ขั้นที่ ๑ วิเคราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั ขั้นตอนนี้ เป็ นการนําหลักสู ตรมาใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้และ ตัวชี้ วดั ซึ่ งเป็ นเป้ าหมายในการพัฒนานักเรี ยนว่านักเรี ยนจะต้องรู ้และทําอะไรได้ ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ที่ครู จะต้องสอน และจัดกลุ่มเนื้ อหาที่สอดคล้องสัมพันธ์กนั เป็ นกลุ่ม ๆ เพื่อกําหนดเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ (สํ า หรั บ สถานศึ ก ษาวิ เคราะห์ ค ํา อธิ บ ายรายวิ ช า ซึ่ งมี เนื้ อ หาสาระรายละเอี ย ดที่ เป็ นของท้อ งถิ่ น )


10

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวชี้วดั และเนื้อหากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ สาระศาสนา สาระหน้ าทีพ่ ลเมือง สาระเศรษฐศาสตร์ สาระประวัติศาสตร์ มฐ.ส.๑ มฐ.ส ๒.๑ มฐ. ส ๓.๑ มฐ. ส ๔.๑ ตัวชี้วดั ตัวชี้วดั ตัวชี้วดั ตัวชี้วดั ๑. ความสําคัญของ ๑. การเข้าร่ วมกิจกรรม ๑. ปั จจัยที่ส่งผลต่อการเลือก ๑. นับช่วงเวลา ทศวรรษ พระพุทธศาสนาหรื อศาสน ประชาธิ ปไตยของชุมชน การ ซื้ อสิ นค้าและบริ การ ศตวรรษ สหัสวรรษ สถานที่ตนนับถือ เป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน ๒. สิ ทธิ พ้ืนฐานของผูบ้ ริ โภค ๒. ยุคสมัยการศึกษา ๒. พุทธประวัติ ๒. การเป็ นผูน้ าํ และผูต้ ามที่ดี ๓. หลักการของเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ ๓. พุทธสาวก ศาสนิกชน ๓. สิ ทธิ พ้ืนฐานของเด็ก พอเพียงและการนําไป ๓. ประเภทหลักฐานทาง ตัวอย่าง ๔. วัฒนธรรมในภาคส่ วน ประยุกต์ใช้ ประวัติศาสตร์ ในการศึกษา ๔. พระรัตนตรัย ๕. การอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติวิธี มฐ. ส ๓.๒ ความเป็ นมาของท้องถิ่น ๕. ตัวอย่างการทําความดีของ (ปั ญหา สาเหตุ แนวทาง ตัวชี้วดั ตนเองและบุคคลในครอบครัว แก้ปัญหาความขัดแย้ง) ๑. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ โรงเรี ยน และชุมชน ของคนในชุมชน (อาชีพสิ นค้า ๖. สวดมนต์ไหว้พระ การพึ่งพากัน สร้างความ สรรเสริ ญคุณพระรัตนตรัยและ เข้มแข็ง) แผ่เมตตา ๒. หน้าที่ของเงิน ๗. หลักธรรมเพื่อการอยู่ (ความหมาย) ประเภท หน้าที่ ร่ วมกันอย่างสมานฉันท์ สกุลเงิน) ๘. ประวัติศาสดา

สาระภูมิศาสตร์ มฐ. ส ๕.๑ ตัวชี้วดั ๑. ใช้แผนที่ภาพถ่ายระบุ ลักษณะสําคัญทางกายภาพของ จังหวัดตน ๒. ตําแหน่ง ระยะทาง และทิศ ของทรัพยากรและสิ่ งต่าง ๆ ของจังหวัดตน ๓. แผนที่แสดงความสัมพันธ์ ของสิ่ งต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นจังหวัด ลักษณะทางกายภาพ(ภูมิ ประเทศ และภูมิอากาศ) ที่มีผล ต่อสภาพสังคมในจังหวัด


11

สาระศาสนา มฐ.ส ๑.๒ ตัวชี้วดั ๑. ศาสนสถาน ๒. มารยาทของศาสนิกชน ๓. การปฏิบตั ิตนในพิธีกรรม (อาราชธนาศีล อาราธนาธรรม วัฒนธรรมสวนะ)

สาระหน้ าทีพ่ ลเมือง สาระเศรษฐศาสตร์ มฐ.ส ๒.๒ ตัวชี้วดั ๑. อํานาจอธิ ปไตย ความสําคัญ การปกครองระบอบ ประชาธิ ปไตย ๒. บทบาท หน้าที่ ในการ เลือกตั้ง ๓. สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ และความสําคัญของสถาบัน

สาระประวัติศาสตร์ มฐ. ส ๔.๒ ตัวชี้วดั ๑. การตั้งหลักแหล่งและ พัฒนาการของมนุษย์ยคุ ก่อน ประวัติศาสตร์ ๒. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่พบในท้องถิ่นที่แสดง พัฒนาการของมนุษย์ชาติใน ดินแดนไทย มฐ. ส ๔.๓ ตัวชี้วดั ๑. พัฒนาการของอาณาจักร สุ โขทัย ๒. ประวัติและบุคคลสําคัญ สมัยสุ โขทัย ๓. ภูมิปัญญาไทยสมัยสุ โขทัย (ภาษาไทย ศิลปกรรม ได้รับยก ย่องเป็ นมรดกโลก)

สาระภูมิศาสตร์ มฐ. ส ๕.๒ ตัวชี้วดั ๑. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ของชุมชนที่ส่งผลต่อการ ดําเนินชี วติ ของคนในจังหวัด (บ้านอาหาร) ๒. การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมในจังหวัด และ ผลจากการเปลี่ยนแปลง(ตั้งถิ่น ฐาน ย้ายถิ่น) ๓. การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัด


1

ขั้นที่ ๒ จัดทําหน่ วยการเรียนรู้ จัดทําหน่ วยการเรี ยนรู ้ โดยวิเคราะห์ เนื้ อหาที่ สามารถสอนด้วยกันได้เป็ นกลุ่ ม ๆ หรื อหน่ วย แล้ว กําหนดลําดับชื่อหน่วย มาตรฐานและตัวชี้วดั เนื้อหาสาระ และเวลาสอนลงในตาราง (ตัวอย่ าง) การจัดทําหน่ วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ สั งคมศึ กษา ศาสนา และวัฒนธรรม แบ่ งเป็ น ๒ ส่ วน คื อ ส่ วนที่ ๑ มี ๔ สาระ ได้แก่ศาสนา หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ส่ วนที่ ๒ สาระประวัติศาสตร์ มีเวลาเรี ยน ตามหลักสู ตร ปี ละ ๘๐ ชัว่ โมง จัดแบ่งเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ ดังนี้ มาตรฐาน เวลา หน่ วยที่ ชื่ อหน่ วย เนือ้ หาสาระ และตัวชี้วดั (ชม.) ๑ ศาสนาของเรา มฐ. ส ๑.๑ ๑. ความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรื อ ๕ ตัวชี้วดั ๑, ๒, ๘ ศาสนาที่ตนนับถือ ๒. พุทธประวัติ ๓. ประวัติศาสดา ๒ ที่พ่ ึงทางใจ มฐ. ส ๑.๑ ๑. พุทธสาวก สาวิกา ชาดก ๕ ตัวชี้วดั ๓, ๔, ๖ ๒. พระรัตนตรัย ๓. สวดมนต์ไหว้พระสรรเสริ ญคุณพระ รัตนตรัยและแผ่เมตตา ๓ ศาสนิกชนคน มฐ. ส ๑.๒ ๑. ศาสนสถาน ๕ ไทย ตัวชี้วดั ๑, ๒, ๓ ๒. มารยาทของศาสนิกชน ๓. การปฏิบตั ิตนในพิธีกรรม ๔ อยูอ่ ย่าง มฐ. ส ๑.๑ ๑. ตัวอย่างการทําความดีของตนเองและบุคคล ๕ สมานฉันท์ ตัวชี้วดั ๕, ๗ ในครอบครัว โรงเรี ยน และชุมชน ๒. หลักธรรมเพื่อการอยูร่ ่ วมกันอย่าง สมานฉันท์


13

มาตรฐาน และตัวชี้วดั ส่ วนร่ วม มฐ. ส ๒.๑ ประชาธิ ปไตย ตัวชี้วดั ๑, ๒ มฐ. ส ๒.๒ ตัวชี้วดั ๒, อยูอ่ ย่างสันติวธิ ี มฐ. ส ๒.๑ ตัวชี้วดั ๓, ๔ วัฒนธรรมไทย มฐ. ส ๒.๑ ตัวชี้วดั ๔ ศูนย์รวมจิตใจ มฐ. ส ๒.๒ ตัวชี้วดั ๑, ๓ บริ โภคอย่างฉลาด มฐ. ส ๓.๑ ตัวชี้วดั ๑, ๒ อยูอ่ ย่างพอเพียง มฐ. ส ๓.๑ ตัวชี้วดั ๓ ชุมชนเข้มแข้ง มฐ. ส ๓.๒ ตัวชี้วดั ๑ คุณค่าเงิน มฐ. ส ๓.๒ ตัวชี้วดั ๒ จังหวัดของเรา มฐ. ส ๕.๑ ตัวชี้วดั ๑, ๒

หน่ วยที่ ชื่ อหน่ วย

เนือ้ หาสาระ

๑. การเข้าร่ วมกิจกรรมประชาธิ ปไตยของ ชุมชน การเป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน ๒. การเป็ นผูน้ าํ และผูต้ ามที่ดี ๓. บทบาทในการเลือกตั้ง ๑. สิ ทธิ พ้นื ฐานของเด็ก ๒. การอยูก่ นั อย่างสันติวธิ ี วัฒนธรรมในภาคต่าง ๆ

๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓

๑๔

สิ่ งดีมีคุณค่า

มฐ. ส ๕.๑ ตัวชี้วดั ๒, ๓

๑. อํานาจอธิ ปไตย ๒. สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ๑. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การ ๒. สิ ทธิ พ้ืนฐานของผูบ้ ริ โภค หลักการทางเศรษฐกิจพอเพียงและการนําไป ประยุกต์ใช้ ความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจของคนในชุมชน

เวลา (ชม.) ๕

๕ ๔ ๖ ๕ ๖ ๕

หน้าที่การเงิน

๑. การใช้แผนที่ ภาพถ่าย รวมลักษณะสําคัญ ทางกายภาพของจังหวัดตน ๒. ลักษณะทางกายภาพที่มีผลต่อสภาพสังคม ในจังหวัด ๑. ตําแหน่ง ระยะทาง และทิศของงทรัพยากร และสิ่ งต่าง ๆ ในจังหวัดตน ๒. แผนที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นจังหวัด


14

หน่ วยที่ ชื่ อหน่ วย ๑๕

รวม

รักษ์สิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน เนือ้ หาสาระ และตัวชี้วดั มฐ. ส ๕.๒ ๑. สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนที่ ตัวชี้วดั ๑, ๒, ๓ ส่ งผลต่อการดําเนินชีวิตของคนในจังหวัด ๒. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมใน จังหวัดและผลจากการเปลี่ยนแปลง ๓. การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติในจังหวัด

เวลา (ชม.) ๘

๘๐


15

(ตัวอย่ าง) การจัดทําหน่ วยการเรียนรู้ สาระประวัติสาสตร์ สาระประวัติศาสตร์ เป็ นสาระที่แยกจาก กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มี เวลาเรี ยน ปี ละ ๔๐ ชัว่ โมง (ระดับประถมศึกษา) ม าต รฐ าน เว ล า หน่ วยที่ ชื่ อหน่ วย เนือ้ หาสาระ และตัวชี้วดั (ชม.) ๑ ช่วงเวลา มฐ. ส ๔.๑ หลั ก การทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและการนํ า ไป ๖ ตัวชี้วดั ที่ ๑ ประยุกต์ใช้ ๒ ยุคสมัยในอดีต มฐ. ส ๔.๑ ๑. ยุคสมัยการศึกษาประวัติศาสตร์ ๗ ตัวชี้วดั ที่ ๒ ๒. การตั้ง หลัก แหล่ งและพัฒ นาการของมนุ ษ ย์ยุ ค มฐ. ส ๔.๒ ก่อนประวัติศาสตร์ ตัวชี้วดั ที่ ๑ ๓ ร่ องรอยในอดีต มฐ. ส ๔.๑ ๑. ประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษา ๑๐ ตัวชี้วดั ที่ ๓ ความเป็ นมาของท้องถิ่น มฐ. ส ๔.๒ ๒. หลัก ฐานทางประวัติ ศ าสตร์ ที่ พ บในท้อ งถิ่ น ที่ ตัวชี้วดั ที่ ๒ แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนไทย ๔ ภูมิใจในบรรพบุรุษ มฐ. ส ๔.๓ ๑. พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัย ๑๗ ตัวชี้วดั ที่๑,๒,๓ ๒. ประวัติ และบุคคลสําคัญสมัยสุ โขทัย ๓. ภูมิปัญญาไทยสมัยสุ โขทัย รวม ๔๐ ขั้นที่ ๓ ออกแบบการเรียนรู้ และเขียนแผนการเรี ยนรู้ นําหน่วยการเรี ยนรู ้มาออกแบบการเรี ยนรู้ และเขียนแผนการเรี ยนรู ้ โดยเน้นกระบวนการวิจยั ที่จะ ฝึ กนักเรี ยนการตั้งคําถาม ค้นหาคําตอบ ดําเนินการค้นหาและตรวจสอบ สรุ ปและนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ ดังตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ดังนี้


16

(ตัวอย่ าง) แผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง จังหวัดของเรา ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๖ ชั่ วโมง …………………………………………………………………………………………………………….. มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมี ผลต่อกันและกันใน ระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร์ ในการค้น หา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ข ้อ มู ล ภู มิ สารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ตัวชี้วดั

๑. ใช้แผนที่ ภาพถ่าย ระบุลกั ษณะสําคัญทางกายภาพของจังหวัดตน ๒. ใช้แผนที่อธิ บายความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นจังหวัด

สาระสํ าคัญ แผนที่ ภาพถ่าย เป็ นเครื่ องมือ ที่ช่วยให้ขา้ ใจลักษณะของกายภาพ ซึ่ งมีผลต่อสภาพสังคมในจังหวัดของเรา สาระการเรียนรู้ ความรู้ / ความสามารถ ๑. นักเรี ยนสามารถใช้แผนที่อธิ บายอธิ บายความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นจังหวัด ของตนได้ ๒. นักเรี ยนใช้แผนที่ภาพถ่ายเขียนระบุลกั ษณะสําคัญของทางกายภาพของจังหวัดตนเองได้ ทักษะ/กระบวนการ ๑. นักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๒. มุ่งมัน่ ในการทํางาน


17

เป้าหมาย/ จุดเน้ นของสถานศึกษา นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั การวัดและประเมินผล (ภาระงาน/ชิ้นงาน) และเกณฑ์ การประเมิน (Rubric) ภาระงาน/ชิ้นงาน ๑. การตั้งคําถามที่ ครอบคลุ มความรู ้ เกี่ ยวกับแผนที่ภาพถ่ ายที่ แสดงลักษณะสําคัญทางกายภาพและ อธิ บายความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นจังหวัดของตน ๒. แผนการค้นหาคําตอบตามคําถามตั้งไว้ ๓. บันทึกความรู ้ลกั ษณะสําคัญทางกายภาพของจังหวัดลงในแผนที่ และอธิ บายความสัมพันธ์ของ สิ่ งต่าง ๆ ในจังหวัดของตนเอง ๔. สรุ ปผลการศึกษาที่แสดงแผนที่ระบุลกั ษณะสําคัญทางกายภาพและเขียนอธิ บายถึ งความสัมพันธ์ ของสิ่ งต่าง ๆ ในจังหวัดของตน ๕. จัดทําแผ่นพับ/ เว็บไซต์ / หนังสื อเล่มเล็กแนะนําจังหวัดของตน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นการตั้งคําถาม (ชัว่ โมงที่ ๑) ๑. ครู ให้นกั เรี ยนดูแผนที่ และภาพถ่าย สถานที่ต่าง ๆ และร่ วมสนทนา - แผนที่และภาพถ่ายช่วยให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้เกี่ยวกับอะไรบ้าง - ถ้าไม่มีแผนที่หรื อภาพถ่ายจะเป็ นอย่างไร - ให้นกั เรี ยนสังเกตแผนที่หรื อภาพถ่ายจะเห็นสัญลักษณ์อะไร มีความว่าอย่างไร เช่น ภูเขา แม่ นํ้า เป็ นต้น - ครู นาํ เสนอเนื้อหาตามตัวชี้วดั ที่จะเรี ยนได้แก่แผนที่ภาพถ่าย ลักษณะทางกายภาพ แผนที่แสดง ความสัม พันธ์ ข องสิ่ งต่าง ๆ ที่ มี อยู่ในจังหวัดของตนและแนะนําวิธีการตั้งคําถามเพื่อจะได้องค์ ความรู ้ ตาม เนื้อหาดังกล่าวข้างต้น เช่น ใช้เทคนิคหมวก ๖ ใบ แผนที่ที่แสดงลักษณะกายภาพอะไรบ้าง สัญลักษณ์ที่มองเห็น ดังกล่าวหมายความว่าอย่างไร - ให้แต่ละกลุ่มตั้งคําถามเพื่อหาคําตอบเกี่ยวกับเนื้อหาที่ครู นาํ เสนอข้างต้นและให้ตวั แทนกลุ่ม นําเสนอผลงานการตั้งคําถามให้เพื่อนและครู ได้ให้ขอ้ แนะนํา - นักเรี ยนศึกษาและฝึ กวาดแผนที่ของจังหวัดพร้อมทั้งระบุสถานที่สาํ คัญ


18

ขั้นเตรียมการค้ นหาคําตอบ (ชัว่ โมงที่ ๒ - ๓) ๑. ครู แนะนําแหล่งเรี ยนรู ้ เพื่อหาคําตอบได้แก่อินเตอร์ เน็ตที่แสดงแผนที่ดาวเทียม เช่ น ตัวอย่างเว็บ http://www.thailandmaps.net http://www.gisdd.com ๒. ครู ยกตัวอย่างการวางแผนศึกษาค้นคว้า เรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งพร้ อมอธิ บายถึ งรายละเอี ยดของแผนที่ แสดงถึงสิ่ งที่จะต้องปฏิบตั ิ เครื่ องมือที่ใช้แต่ละขั้นตอนและผูร้ ับผิดชอบ ๓. ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการใช้แผนที่จงั หวัดของตนโดยการวิเคราะห์ ภาระงานที่จะทํา เพื่อให้ได้คาํ ตอบของคําถามวิจยั ที่ต้ งั ไว้ กําหนดปฏิทินปฏิบตั ิงานผูร้ ับผิดชอบ พร้อมรู ปแบบ การบันทึกข้อมูล การรายงานผลความก้าวหน้า ๔. แต่ละกลุ่มนําเสนอแผนการศึกษาค้นคว้าต่อครู และเพื่อน เพื่อให้ขอ้ แนะนําเพิ่มเติมโดยใช้เกณฑ์การ ประเมินเตรี ยมการค้นหาคําตอบ ๕. ครู นดั หมายให้แต่ละกลุ่มรายงานผลเป็ นระยะ ๆ โดยนําเสนอความก้าวหน้าของการดําเนิ นงานใน ชั้นเรี ยนเพื่อให้ขอ้ เสนอแนะและช่วยเหลือเมื่อพบปั ญหาอุปสรรค ขั้นดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ (ชัว่ โมงที่ ๓ - ๔) ๖. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มรายงานผลการดําเนิ นงานแต่ระยะ ๆ ตามปฏิทินการนัดหมายที่ครู กาํ หนดพร้อม เสนอปั ญหาอุปสรรคตลอดจนวิธีการแก้ไขปั ญหา ๗. ให้แต่ละกลุ่มทบทวนความรู ้ที่ได้วา่ ครอบคลุมคําถามที่ต้ งั ไว้หรื อไม่ มีแหล่งเรี ยนรู ้ที่นอกเหนื อได้ ค้นคว้าไปแล้วอีกหรื อไม่ และคําตอบที่ได้มีความเข้าใจตรงกันในกลุ่มเพื่อนหรื อยัง ๘. ให้แต่ ละกลุ่ มนําเกณฑ์ก ารประเมิ นการดําเนิ นการค้นหาและตรวจคําตอบ และถ้าพบสิ่ งใดไม่ สมบูรณ์จะดําเนินการอย่างไร ขั้นสรุปและนําเสนอการศึกษา (ชั่ วโมงที่ ๕ – ๖) ๙. ครู นาํ เสนอวิธีการสรุ ปข้อมูลเช่น จังหวัดลําพูนมีลกั ษณะสําคัญทางกายภาพคือ มีพ้นื ที่เหมาะสมใน การปลูก กระเที ยม หอมหัวแดง ลําไย มีศาสนสถานที่ สําคัญ เช่ น วัดพระธาตุหริ ภุญไชยเป็ นต้นและลักษณะ ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กบั อาชี พส่ วนใหญ่ ของคนในลําพูนคือ อาชี พปลูกกระเทียม อาชี พทําขนมเค้กลําไย ก๋ วยเตี๋ยวหมูต๋ ุนลําไย เป็ นต้น ซึ่ งแสดงถึงความสัมพันธ์ที่เกิดจากลักษณะสัมพันธ์กายภาพข้างต้น ๑๐. ครู ยกตัวอย่างการนําเสนอผลการศึกษาอาจเป็ นแผ่นพับ / เว็บไซต์ / หนังสื อเล่มเล็ก


19

๑๑. ให้แต่ละกลุ่มดําเนิ นการวิเคราะห์และสรุ ปผลการศึกษาพร้ อมออกแบบโครงร่ างการนําเสนอผล การศึกษาที่กลุ่มเลือก ๑๒. แต่ละกลุ่มนําเสนอโครงร่ างการข้อค้นพบจากการศึกษาค้นคว้าให้เพื่อนและครู ได้วิพากษ์วิจารณ์ และนําข้อเสนอแนะมาปรับปรุ ง ๑๓. จัดทําแผ่นพับ / เว็บไซต์ / หนังสื อเล่มเล็ก หรื อรู ปแบบที่กลุ่มเสนอเพื่อแนะนําจังหวัดตามโครง ร่ างที่กาํ หนดแล้วให้เพื่อนในกลุ่มได้ตรวจสอบผลงานการจัดทําโดยการใช้เกณฑ์การประเมินการสรุ ปและการ นําเสนอการศึกษา ๑๔. ตัวแทนกลุ่มนําเสนอผลงานของกลุ่มหน้าชั้นเรี ยนให้เพื่อนในห้องเรี ยนและครู ได้ช่วยกันประเมิน พร้อมนําเสนอสิ่ งกลุ่มจะคิดทําต่อยอกหรื อพัฒนาต่อไป สื่ อและแหล่ งเรียนรู้ ๑. เทคนิคการตั้งคําถาม ๒. ตัวอย่างแผนการค้นหาคําตอบ ๓. ตัวอย่างเว็บไซต์ แผนที่จงั หวัด ภาพถ่ายจังหวัด ๔. ตัวอย่างแผ่นพับ / เว็บไซต์ / หนังสื อแนะนําจังหวัด การวัดและประเมินผล ๑. วิธีวดั ๑.๑ สังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ ๑.๒ ตรวจผลงาน การตั้งคําถาม แผนการค้นหาคําตอบ บันทึกผลการดําเนินและตรวจคําตอบ ผลงานการจัดทําแผนพับ / เว็บไซต์ / หนังสื อ / อื่น ๆ ที่แนะนําจังหวัดของตนเอง ๒. เกณฑ์การประเมิน ๒.๑ การตั้งคําถามตัวชี้วดั ๒.๒ แผนการค้นคว้าหาคําตอบ ๒.๓ บันทึกและรายงานความก้าวหน้าแสดงถึงปั ญหาอุปสรรคและวิธีการแก้ไข ๒.๔ แผนพับ / เว็บไซต์ / หนังสื อ / อื่น ๆ ที่แนะนําจังหวัดของตนเอง ที่ได้จากการสรุ ปผล การศึกษา ๓. เครื่ องมือวัด ๓.๑ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้


20

๓.๒ แบบประเมินผลงาน สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้ - แผนที่ ภาพถ่าย แสดงลักษณะทางกายภาพของจังหวัดของตน - แบบฟอร์ มการวางแผนเตรี ยมการ - ประเด็นการวางแผนเตรี ยมการ - กระดาษปรู๊ ฟ ปากกาเขียน - สถานที่ใกล้เคียงกับโรงเรี ยน

การสร้ างบรรยากาศและแหล่งเรียนรู้ ทีเ่ อือ้ ต่ อการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการวิจัย

การเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้น้ นั การจัดบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ให้เอื้อ ต่อการเรี ยนรู ้ ด้วยกระบวนการวิจยั นับ ว่ามี ค วามสําคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นที่ ๑ ตั้งคําถาม และขั้นที่ ๒ เตรี ยมการค้นหาคําตอบ สถานศึกษาสามารถจัดสถานที่ภายในหรื ออาจเป็ นภายนอกสถานศึกษาเพื่อส่ งเสริ ม หรื อกระตุน้ ให้นกั เรี ยนสามารถใช้กระบวนการวิจยั ในการสร้างองค์ความรู ้ใหม่ได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกโอกาส จาก สื่ อ จากครู และจากแหล่งเรี ยนรู ้ ทุกประเภท รวมทั้งเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในท้องถิ่ น ซึ่ งนักเรี ยนสามารถ เรี ยนรู ้ ได้ด้วยตนเองอย่างอิ ส ระ เรี ยนรู ้ ร่วมกันระหว่างเพื่ อน ๆ หรื อวิท ยากรท้องถิ่ น ซึ่ งจะช่ วยให้นักเรี ยน สามารถเรี ยนรู ้ได้ตามสภาพจริ ง ได้คาํ ถามในการวิจยั ที่เหมาะสม ดําเนินการค้นคว้า ค้นพบคําตอบ และได้องค์ ความรู ้ไม่รู้จบ ก่อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้อย่างมีคุณภาพ มีความคงทน ได้เรี ยนรู ้อย่างมีความหมายต่อการนําไปใช้ จริ งและได้เรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข ดังนั้นสถานศึกษาควรส่ งเสริ มเติมเต็มบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ให้มีข้ ึนใน ส่ วนต่าง ๆ ดังนี้ ๑. บรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ภายในสถานศึกษา ๑.๑ ห้องเรี ยน ๑.๒ บริ เวณโรงเรี ยน ๑.๓ อาคารต่าง ๆ ๒. บรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ภายนอก ๒.๑ สถานประกอบการ ๒.๒ สถานที่ราชการ ๒.๓ แหล่งท่องเที่ยว ๒.๔ อื่นๆ


21

บรรยากาศและแหล่งเรียนรู้ ภายในสถานศึกษา

บรรยากาศในห้ องเรียน ๑. ครู เป็ นส่ วนสําคัญในสร้างบรรยากาศห้องเรี ยน ครู ตอ้ งเป็ นผูก้ ระตุน้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เป็ นกันเอง สนุ กสนานและไม่เคร่ งเครี ยด ให้นกั เรี ยนคิด ตั้งคําถาม เตรี ยมการค้นหาคําตอบ ดําเนิ นการค้นหา และตรวจสอบคําตอบและสรุ ปและนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ ตามวิธีและกระบวนการวิจยั ทั้ง ๔ ขั้นตอนที่ ทางโครงการกําหนดไว้ ๒. จัดและปรับเปลี่ยนห้องเรี ยนให้สอดคล้องกับกิจกรรมหรื อหน่ วยการเรี ยนรู ้ เพื่อกระต้นให้นกั เรี ยน สนใจและอยากเรี ยนรู ้ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่ น จัดโต๊ะเรี ยนเป็ นกลุ่ม ตั้งชื่ อกลุ่ ม ให้เป็ นชื่ อคล้ายงานวิจยั โดยให้ นักเรี ยนคิดตั้งชื่อกันเอง เช่น กลุ่มนักถาม กลุ่มค้นหาคําตอบ กลุ่มการแลกเปลี่ยนความรู ้ เป็ นต้น ๓. จัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์และสื่ อให้พร้อมในการใช้งานและเอื้อให้เกิดการเรี ยนอย่างมีความสุ ข เช่น จัด ให้มีการใช้คอมพิ วเตอร์ เครื่ องฉายทึ บ แสง LCD จอรับ ภาพ เครื่ องขยายเสี ยง สื่ อเทคโนโลยี เพื่ อให้เกิ ดการ เรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพ ๔. จัดป้ ายนิเทศ ประชาสัมพันธ์ ติดข้อความแสดงกระบวนหาความรู ้ดว้ ยกระบวนการวิจยั หรื อขั้นตอน การปฏิบตั ิ ๕. จัดมุมความรู ้ / แสดงผลงาน ที่เกิดจากกระบวนการเรี ยนรู ้ดว้ ยกระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน บรรยากาศภายในโรงเรียน (บริเวณโรงเรียน อาคารเรียน) สถานศึ กษาควรพัฒนาและจัดสภาพแวดล้อมของบริ เวณโรงเรี ยน โดยเฉพาะรอบ ๆ อาคารและตัว อาคารเรี ยนต่าง ๆ ให้มีบรรยากาศที่ส่งผลต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ในเรื่ องต่อไปนี้ ๑. สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ขจัดที่รกร้าง เพิ่มพื้นที่สีเขียว รักษาให้สะอาดและปลอดภัย ๒. อาคารเรี ยนที่เป็ น ห้องเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ โรงฝึ กงาน ห้องสมุด จัดแต่งให้มีสภาพพร้อม ใช้งานตลอดเวลา ๓. พื้นที่ทาํ กิจกรรมการเกษตรสําหรับนักเรี ยนใช้ปฏิบตั ิจริ งในรู ปแบบของการสาธิ ตหรื อทดลอง ในรู ปแบบของกระบวนการวิจยั ควรจัดเตรี ยมให้มีสภาพพร้อมใช้งาน ๔. พื้นที่ออกกําลังกาย เล่นกีฬา โรงพลศึกษา สําหรับกิจกรรมเพื่อการดูแลสุ ขภาพ ควรดูแลความ สะอาด ความปลอดภัยในการใช้งาน มีสถิติ ข้อมูลของผลการวิจยั เกี่ยวกับการดูแลสุ ขภาพ เพื่อให้นกั เรี ยนได้ มีโอกาสเก็บข้อมูลตนเองและเปรี ยบเทียบผลการปฏิบตั ิตนในการดูแลสุ ขภาพตนเอง ๕. บรรยากาศที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ดว้ ยกระบวนการวิจยั อื่น ๆ เช่น สวนสมุนไพร สวนป่ าโรงเรี ยน


22

ฯลฯ ควรจัดให้เอื้อต่อการเรี ยนรู ้โดยกระบวนการวิจยั ในรู ปแบบ ต้นไม้ต้ งั คําถามได้ ต้นไม้น้ ีมีคาํ ตอบ สวนป่ า นี้ ถามตอบได้ ป้ ายบอกเส้ น ทางให้ คิ ด ซุ ้ ม ม้า หิ น ใต้ร่ม ไม้ ที่ อ่ า น-เขี ย นหนั ง สื อ ที่ มี ผ ลงานการเรี ย นรู้ ด้ว ย กระบวนการวิจยั สวนหย่อมตามมุมต่าง ๆ ของอาคาร ๖. พื้นที่เพื่อการเรี ยนรู ้จากการฝึ กปฏิบตั ิ ในลักษณะของศูนย์ศึกษา-สาธิ ตกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ศูนย์ฝึกอาชี พท้องถิ่ น ศิลปวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย ฯลฯ ซึ่ งมีแนวการจัดกิ จกรรมที่นกั เรี ยนเกิด การเรี ยนรู ้ได้ โดยสามารถนํามาใช้ดงั นี้ ๖.๑ ฝึ กการการสังเกตข้อผิดปกติ หรื อสงสัย เพื่อตั้งคําถาม/ปั ญหา เพื่อสํารวจ สื บค้นที่มา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเทียบเคียงแนวคิดกับปั จจุบนั ๖.๒ เรี ยนรู ้และฝึ กฝนโดยปฏิบตั ิจริ งให้เกิดทักษะกระบวนการวิจยั ตามธรรมชาติของแต่ละ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ๖.๓ จัดทําโครงการวิจยั เพื่อพัฒนาต่อยอด เช่น โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง โครงการศึกษาค้นคว้าวิจยั ทดลอง สาธิ ตการเกษตร ๖.๔ จัดตั้งเป็ นชมรม ชุมนุม เช่น ชุมนุมยุวเกษตรกรทําโครงการทดลองเกษตรทฤษฎีใหม่ ๖.๕ จัดเป็ นศูนย์รวมข้อมูลและประวัติของปราชญ์ทอ้ งถิ่นที่เข้ามามีส่วนร่ วมการเรี ยนรู ้ ๗. ห้องสมุด ๗.๑ จัดให้เป็ นห้องสมุดมีชีวติ สวยงาม สะอาด สะดวกสบาย สว่าง สงบ การจัด บรรยากาศ และสิ่ งแวดล้อมในห้องสมุด จะต้องคํานึ งถึงความสวยงาม โล่งโปร่ งตา ไม่รกรุ งรัง จัดให้นงั่ อ่านได้ หลายรู ปแบบตามความชอบของนักเรี ยนในแต่ละวัย ให้ความรู ้ สึกสบายและผ่อนคลาย มี แสงส่ องเข้ามาได้ สะดวก มีการจัดมุมนักวิจยั ต่าง ๆ ให้นกั เรี ยนเลือกศึกษาได้ตามความสนใจ ๗.๒ จัดให้มีหอ้ งสมุดนอกอาคาร เช่น ห้องสมุดกลุ่มสาระ ห้องสมุดเคลื่อนที่ไปตามจุด ต่าง ๆ เช่ น ใต้ตน้ ไม้ หน้าระเบี ยงห้องเรี ยน สวนหย่อม ศาลารอผูป้ กครอง โดยมี การสํารวจความสนใจของ ผูร้ ับบริ การในแต่ละจุด เพื่อจัดหนังสื อให้เหมาะสม ๗.๓ จัดการบริ การและกิจกรรมส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนเข้าใช้ห้องสมุด ได้แก่ ๑) หนังสื อและสื่ อสารสนเทศ มีหลากหลายเพียงพอ ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ๒) ระบบห้องสมุดได้มาตรฐาน ใช้โปรแกรมบริ หารจัดการห้องสมุด ๓) จัดกิจกรรมส่ งเสริ มการอ่านและการสื บค้นข้อมูล กิจกรรมนันทนาการ รวมถึงการ เผยแพร่ ผลงานการจัดกิจกรรม ๔) มีบริ การใช้เทคโนโลยีและการสื่ อสารเข้ามาช่วยในการบริ การห้องสมุดที่


23

หลากหลาย เช่น การสื บค้นข้อมูลผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต สื่ อ ICT ในรู ปของ e-book CD-Rom ๕) ปฏิสัมพันธ์ของบุคลากรห้องสมุดที่มีต่อผูใ้ ช้บริ การ ต้องเป็ นมิตร อบอุ่น มีชีวติ ชีวา คํานึงถึงความสะดวกสบายของผูใ้ ช้บริ การ ช่วยให้ผใู ้ ช้บริ การได้ขอ้ มูลอย่างรวดเร็ ว ๘. การส่ งเสริ มสนับสนุนกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้โดยกระบวนการวิจยั โรงเรี ยนควรจัด กิจกรรมหรื อแหล่งเรี ยนรู ้อย่างหลากหลาย เช่น ๘.๑ จัดห้องนิทรรศการงานวิจยั ของครู และนักเรี ยน ๘.๒ จัดประกวดผลงานการวิจยั ของบุคลากรในโรงเรี ยนทุกระดับ ๘.๓ จัดกิจกรรมเสนอผลงานวิจยั ในโรงเรี ยน ๘.๔ จัดให้มีพ้ืนที่แสดงผลงานวิจยั ในเว็บไซต์ของโรงเรี ยน ๘.๕ มีการประชาสัมพันธ์ผลงานวิจยั ในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น ปิ ดป้ ายประชาสัมพันธ์ เสี ยงตามสายของโรงเรี ยน ๘.๖ ให้ทุนการวิจยั หรื อทําโครงงานแก่นกั เรี ยน โดยมีครู เป็ นที่ปรึ กษา

แหล่งเรียนรู้ ภายนอก

แหล่ งเรี ยนรู ้ ภายนอกสถานศึ กษา เป็ นทรัพยากรที่ทรงคุ ณค่าในท้องถิ่ น และเป็ นส่ วนสําคัญอีกอย่าง หนึ่ ง ที่จะช่วยให้การเรี ยนรู ้ดว้ ยการวิจยั ของนักเรี ยนประสบความสําเร็ จ สถานศึกษาต้องจัดทําแผนผัง ข้อมูล สถานที่ต่าง ๆ ประวัติบุคคล ภาพถ่าย เป็ นต้น แหล่งเรี ยนรู ้ดงั กล่าวประกอบด้วย ๑. สถานที่ เช่น ชุมชน สถานบัน สํานักงาน แหล่งท่องเที่ยว ๒. บุคคล ซึ่ งเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ และปราชญ์ชาวบ้าน ๓. องค์กร เช่น มูลนิธิ สมาคม หน่วยงานต่าง ๆ กลุ่มแม่บา้ น ๔. สิ่ งแวดล้อม ได้แก่ ธรรมชาติ ประเพณี ความเชื่อ วิถีชีวติ ศิลปวัฒนธรรม ปรากฏการณ์ ประสิ ทธิ ภาพของแหล่งเรี ยนรู ้ ๑. ให้ความรู ้แก่นกั เรี ยนอย่างไม่มีที่สิ้นสุ ด ๒. ให้ประสบการณ์การฝึ กปฏิบตั ิจริ ง เช่น การเก็บสถิติ สรุ ปข้อมูลการใช้แหล่งเรี ยนรู ้แก่นกั เรี ยน จนเกิดทักษะการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ๓. ให้เกิดทัศนะคติที่ดีต่อกระบวนการเรี ยนรู ้โดยกระบวนการวิจยั ๔. ควรค่าแก่การดํารงชีวติ ของนักเรี ยน


24

การดูแลบรรยากาศและแหล่งเรียนรู้ ให้ มคี ุณภาพและยัง่ ยืน ๑. รักษาสภาพบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ให้เหมาะสมกับบริ บทของสถานศึกษาอย่างสมํ่าเสมอ ๒. จัดระเบียบการใช้และการดูแล เช่น มีระเบียบการใช้หอ้ ง/แหล่งเรี ยนรู ้ มีการรักษาความสะอาด เรี ยบร้อย ความปลอดภัย ๓. มีการสํารวจความคิดเห็นของผูใ้ ช้แหล่งเรี ยนรู ้ สรุ ปผลความคิดเห็นของผูใ้ ช้แหล่งเรี ยนรู ้ ๔. พัฒนา บรรยากาศ และแหล่งเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับผลการสํารวจความคิดเห็นของผูใ้ ช้ แหล่งเรี ยนรู ้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรียน การวัดและประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ โดยใช้ก ระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน เป็ นการวัดและประเมิ นผล โดยพิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นกับครู ผสู ้ อนและผลที่เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ผลที่เกิดขึ้นกับครู ผสู ้ อนพิจารณาได้จากการ จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของครู ผสู ้ อนที่ทาํ ให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ได้แก่ เทคนิคการสอน ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมแต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจยั สื่ อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมและนักเรี ยนได้ใช้อย่าง ทัว่ ถึง มีการวัดที่เน้นกระบวนการวิจยั ตามสภาพจริ งและใช้วธิ ี การวัดที่หลากหลาย ส่ วนผลที่เกิดขึ้นกับนักเรี ยน พิจารณาจากพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่ได้นาํ กระบวนการวิจยั ไปใช้ในการเรี ยนรู ้ และผลงานที่เป็ นองค์ ความรู ้ที่ถูกต้องสมบูรณ์ มีรายละเอียดในการประเมินการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจยั ดังนี้ ๑. ตัวชี้วดั การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ของครู ๑.๑ ตั้งคําถาม พฤติกรรมของครู ผ้ ูสอน ควรปรากฏดังนี้ ๑.๑.๑ ผูส้ อนมีการจัดหรื อสร้างสถานการณ์ ที่กระตุน้ ให้นกั เรี ยนเกิดความสงสัย อยาก รู ้อยากเห็น หรื อหาเหตุผลในเรื่ องที่สนใจ ทําแล้วจะเกิดประโยชน์อย่างไร ๑.๑.๒ สร้างแรงจูงใจให้มีการศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรี ยนรู ้อย่างหลากหลาย ๑.๑.๓ ฝึ กตั้งคําถามเพื่อนําไปสู่ การวิจยั ของนักเรี ยน ๑.๑.๔ ผูส้ อนใช้คาํ ถามที่ มีลกั ษณะท้าทายความสามารถของนักเรี ยนและกระตุ น้ ให้ เกิดความสงสัยและอยากค้นหาคําตอบด้วยตนเอง


25

๑.๒ เตรียมการค้ นหาคําตอบ พฤติกรรมของครู ผสู ้ อน ควรปรากฏดังนี้ ๑.๒.๑ ผูส้ อนให้ นัก เรี ย นได้ศึ ก ษาหาข้อ มู ล ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ปั ญ หาและลองคาดเดา คําตอบ ๑.๒.๒ ยกตัวอย่างหรื อแนะนําแหล่งเรี ยนรู ้ วิธีการค้นหาคําตอบ ๑.๒.๓ ผู ้ส อนให้ นัก เรี ย นแสวงหาวิ ธี ก ารหรื อ ทางเลื อ กในการศึ ก ษาหาคํา ตอบ หลากหลายวิธี ๑.๒.๔ ให้นักเรี ยนประเมิ นทางเลือกและตัดสิ นใจเลื อกวิธีที่เหมาะสม ที่ ให้ได้มาซึ่ ง คําตอบ เลือกไว้

๑.๒.๕ เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนกําหนดขั้นตอนในการดําเนินงานตามวิธีการที่ได้ ๑.๒.๖ ผูส้ อนกระตุน้ และฝึ กให้นกั เรี ยนเตรี ยมเครื่ องมือและอุปกรณ์สาํ หรับใช้

ในการวิจยั ๑.๒.๗ ผูส้ อนจัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้วางแผนการดําเนิ นงานเพื่อค้นหาคําตอบ ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจยั ๑.๒.๘ ผูส้ อนมีการนํานักเรี ยนได้สัมผัส สถานที่จริ งหรื อภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ จุดประกายความคิด ๑.๓ ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ พฤติกรรมของครู ผสู ้ อน ควรปรากฏดังนี้ ๑.๓.๑ ผูส้ อนจัดกิจกรรมเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนรายงานความก้าวหน้าการดําเนิ นงาน เป็ นระยะ ๆ ๑.๓.๒ ผูส้ อนจัด กิ จกรรม Focus Groups หรื อ กิ จ กรรมแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ระหว่า ง นักเรี ยนในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เพื่อตรวจสอบและปรับปรุ ง ขจัดข้อขัดแย้งภายในตนเอง และระหว่างความคิดกับ หลักฐานเชิงประจักษ์ ๑.๓.๓ ฝึ กนักเรี ยนสังเกต บันทึ กผลการปฏิ บตั ิงานอย่างละเอียดที่แสดงถึ งสิ่ งที่ เป็ น จุดเด่น จุดที่เป็ นปั ญหา ๑.๓.๔ ผูส้ อนมีการเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ สื่ อต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มสนับสนุ นให้นกั เรี ยนได้ ปฏิบตั ิได้เต็มประสิ ทธิ ภาพ ๑.๓.๕ ผูส้ อนติดตามเอาใจใส่ ช่วยเหลือนักเรี ยน ให้กาํ ลังใจแก่นกั เรี ยนอย่างสมํ่าเสมอ


26

๑.๔ สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ พฤติกรรมของครู ผสู ้ อน ควรปรากฏดังนี้ ๑.๔.๑ ผูส้ อนมีการจัดกิจกรรมฝึ กให้นกั เรี ยน นําข้อมูลที่ได้จากการบันทึกมาวิเคราะห์ และสรุ ปผลการศึกษา ๑.๔.๒ ตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถูกต้องของข้อมูล ที่ตอบคําถามตามที่กาํ หนดไว้ ๑.๔.๓ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลผลการศึกษา ๑.๔.๔ ร่ วมกันสร้างเกณฑ์ในการเสนอผลการศึกษา ๑.๔.๕ ออกแบบการนําเสนอข้อมูลที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กาํ หนด ๑.๔.๖ จัดทําโครงร่ างแสดงรายละเอียด การนําเสนอข้อมูลที่ครอบคลุม ๑.๔.๗ จัดทําชิ้นงานที่จะนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด ๑.๔.๘ นําเสนอผลการศึกษาให้เพื่อนในกลุ่ม เพื่อนต่างกลุ่มและครู วิพากษ์วจิ ารณ์และ ปรับปรุ ง ๒. ตัวชี้วดั การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรียน ๒.๑ ตั้งคําถาม ตั้งคําถามของนักเรียนควรมีลกั ษณะ ดังนี้ ๒.๑.๑ ตั้งคําถามได้ตรงประเด็น ชัดเจน ครอบคลุมกับสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษา ๒.๑.๒ คําถามที่ตอ้ งการคําตอบโดยใช้กระบวนการวิจยั ๒.๒ เตรียมการค้ นหาคําตอบ พฤติกรรมของนักเรี ยน ควรปรากฏดังนี้ ๒.๒.๑ มีการศึกษา วิธีการหาคําตอบ หลาย ๆ แหล่ง ทั้งแหล่งปฐมภูมิและทุติยภูมิ ๒.๒.๒ มีการวิเคราะห์ขอ้ ดี – ข้อจํากัดแต่ละทางเลือก ๒.๒.๓ กําหนดขั้นตอนในการดําเนินงานตามวิธีการที่เลือก ๒.๒.๔ เตรี ยมเครื่ องมือสําหรับบันทึกข้อมูล ๒.๒.๕ กําหนดปฏิทินการปฏิบตั ิงานและรายงานผลการดําเนิ นงานต่อครู ผสู ้ อนเป็ น ระยะ ๆ ควรปรากฏดังนี้

เรี ยนรู ้

๒.๓ ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ พฤติกรรมของนักเรี ยน ในการตรวจสอบคําตอบ ๒.๓.๑ ลงมือปฏิบตั ิตามวิธีการที่กาํ หนดไว้ ๒.๓.๒ บันทึ ก ข้อมู ล ขณะปฏิ บ ัติง านอย่างละเอี ย ดและสร้ างร่ องรอยหลัก ฐานการ ๒.๓.๓ รายงานความก้าวหน้าของการดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ ตามแผนที่กาํ หนด


27

๒.๓.๔ แสดงความคิดเห็ นและร่ วมมือในการทํากิจกรรม Focus Group หรื อกิ จกรรม และเปลี่ยนเรี ยนรู ้ท้ งั ระดับกลุ่มระหว่างกลุ่มจนทําให้ขอ้ ขัดแย้ง ทั้งความคิดในตนเองและความคิดกับหลักฐานเชิง ประจักษ์หมดไป ๒.๓.๕ นํา ข้อ แนะนํา ที่ ไ ด้จ ากข้อ คิ ด เห็ น ทั้ง กลุ่ ม เพื่ อ น ครู มาต่ อ ยอดหรื อ พัฒ นา เพิม่ เติม ๒.๓.๖ มีการสร้างกําลังใจ ช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่มให้สามารถทํางานได้บรรลุเป้ าหมาย ๒.๔ สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ พฤติกรรมของนักเรี ยน ควรปรากฏดังนี้ ๒.๔.๑ ตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้อง ชัดเจน ครอบคลุม ของข้อมูล กับคําถามที่ได้ จากการบันทึก ๒.๔.๒ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูล ผลการศึกษา ๒.๔.๓ ออกแบบวิธีการนําเสนอให้สอดคล้องกับเกณฑ์การนําเสนอผลงาน ๒.๔.๔ จัดทําโครงร่ างที่แสดงรายละเอียดของผลการศึกษาตามที่ออกแบบไว้ ๒.๔.๕ สร้างรู ปแบบการนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด ๒.๔.๖ ทดลองนําเสนอรู ปแบบผลการศึ กษาให้เพื่อนในกลุ่มวิพ ากษ์วิจารณ์ และนํา ข้อมูลมาปรับปรุ ง นิทรรศการ

๒.๔.๗ นํ า เสนอผลการศึ ก ษาต่ อ เพื่ อ นในชั้ นเรี ยนและครู ตลอดจนจัด แสดง ๒.๔.๘ กระตุน้ ให้นกั เรี ยนให้เกิดความคิดในการต่อยอดหรื อทําวิจยั ครั้งต่อไป

๓. วิธีวดั ผลการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรี ยน วิธีวดั ผลการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน เป็ นการวัดผลที่ได้จากการจัดการเรี ยนรู ้ ของ ครู ผูส้ อนที่ ท าํ นักเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการวิจยั และวัดผลที่ได้จากการเรี ยนรู ้ ของนัก เรี ยนที่ ใช้ กระบวนการวิจยั ดังนั้นการวัดผลการเรี ยนรู ้จึงควรมีวิธีวดั ที่ หลากหลาย ตามแหล่งผูใ้ ห้ขอ้ มูล ในที่ น้ ี แหล่ง ผูใ้ ห้ขอ้ มูล ทั้งครู ผสู ้ อน ผูป้ กครอง/ชุมชน นักเรี ยน ๓.๑ แหล่ งข้ อ มู ลที่ ได้ จ ากครู ผ้ ู ส อน จะใช้ วิธี ก ารวัด ผล โดยการสั งเกตการสอน ตรวจสอบแผนการ จัดการเรี ยนรู ้ ผลงานของนักเรี ยน และการประเมินตนเองของครู


28

๓.๒ แหล่ งข้ อมูลที่ได้ จากนักเรี ยน จะใช้ วิธีการวัดผล โดยการสังเกตการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ยน นักเรี ยน ประเมินตนเอง ๓.๓ แหล่ งข้ อ มู ล ที่ไ ด้ จ ากผู้ ป กครองหรื อ ชุ ม ชน จะใช้ วิธี ก ารวัด ผล โดยการสั งเกตการทํางานของ นักเรี ยนในบ้านหรื อชุมชน สอบถามหรื อสัมภาษณ์ ๔. เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรียน ๔.๑ แบบสั งเกต ได้ แก่ แบบสั งเกตการสอนของครู แบบสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ๔.๒ แบบตรวจสอบผลงาน ได้แก่ แบบตรวจสอบแผนการจัดการเรี ยนรู้ แบบตรวจสอบผลงานของ นักเรี ยน ๔.๓ แบบประเมินตนเอง ได้ แก่ แบบประเมินตนเองของครู และนักเรี ยน ๔.๔ แบบสอบถามความคิดเห็น ได้ แก่ แบบสอบถามความคิดเห็ นของนักเรี ยนที่ มีต่อการจัดกิ จกรรม การเรี ยนรู ้ ของครู ผสู ้ อน แบบสอบถามความคิ ดเห็ นของครู ที่มีต่อการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยน แบบสอบถามความ คิดเห็นของผูป้ กครอง/ชุมชน ที่มีต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ๔.๕ แบบสั มภาษณ์ ได้ แก่ แบบสั มภาษณ์ ครู ผูป้ กครองในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ๕. เกณฑ์ การให้ คะแนนและสรุปผลการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรียน ๕.๑ เกณฑ์ การให้ คะแนนและสรุ ปผลการจัดการเรียนรู้ ของครู ระดับคะแนน ข้ อรายการ ๐ ๑ ๒ ๓ ไม่ ๑. ตั้งคําถาม ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ปฏิบตั ิ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๒. เตรียมการค้ นหา ไม่ ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ปฏิบตั ิ คําตอบ ๑ – ๒ ข้อ ๓ - ๔ ข้อ ๕ - ๖ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ๓. ดําเนินการค้ นหา ไม่ ๓ ข้อ ๔ ข้อ และตรวจสอบคําตอบ ปฏิบตั ิ ๑ – ๒ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ๔. สรุ ปและนําเสนอ ไม่ ๑ – ๒ ข้อ ๕ – ๖ ข้อ ผลการค้ นหาคําตอบ ปฏิบตั ิ ๑ – ๒ ข้อ

๔ ทําได้ตามตัวชี้วดั ๔ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ๗ - ๘ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ๕ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ๗ – ๘ ข้อ


29

เกณฑ์ การสรุ ปผลการจัดการเรียนรู้ ของครู ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุ ง

ช่ วงคะแนน มากกว่า ๑๒ ๑๐-๑๒ ๗-๙ ตํ่ากว่า ๗

๕.๒ เกณฑ์ การให้ คะแนนและสรุ ปผลการเรี ยนโดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรียน ระดับคะแนน ข้ อรายการ ๐ ๑ ๒ ๓ ไม่ปฏิบตั ิ เป็ นคํา ถามที่ มี ตั้งคําถามได้ตรง ทําได้ตามตัวชี้ วดั ๑. ตั้งคําถาม คํา ตอบที่ ย งั ไม่ ประเด็ น แต่ ย ั ง ข้ อ ใ ด ข้ อ ห นึ่ ง นําไปสู่ การวิจยั ไม่ ครอบ คลุ ม อย่างชัดเจน กับ สิ่ ง ที่ ต้องการ ศึกษา ๒. เตรียมการค้ นหา ไม่ปฏิบตั ิ ทําได้ตาม ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั คําตอบ ตัวชี้วดั ๑ ข้อ ๒ – ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๓. ดําเนินการค้ นหา ไม่ปฏิบตั ิ ทําได้ตาม ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั และตรวจสอบคําตอบ ตัวชี้วดั ๑ ข้อ ๒ – ๓ ข้อ ๔ – ๕ ข้อ ๔. สรุปและนําเสนอ ไม่ปฏิบตั ิ ทําได้ตาม ทําได้ตามตัวชี้วดั ทําได้ตามตัวชี้วดั ผลการค้ นหาคําตอบ ตัวชี้วดั ๑-๒ ๓ – ๔ ข้อ ๕-๖ ข้อ ข้อ เกณฑ์ การสรุ ปผลการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยของนักเรียน

๔ ทําได้ตามตัวชี้ วดั ๒ ข้ อ อ ย่ า ง ชัดเจน

ทําได้ตามตัวชี้วดั ๕ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ๖ ข้อ ทําได้ตามตัวชี้วดั ๗ – ๘ ข้อ


30

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุ ง

ช่ วงคะแนน มากกว่า ๑๒ ๑๐-๑๒ ๗-๙ ตํ่ากว่า ๗


31

๖. ตัวอย่ างเครื่องมือวัด แบบสั งเกตการสอนของครู ชื่อผูร้ ับการสังเกต.................................................................สอนรายวิชา.............................................................. ชั้น......................................................วันเดือนปี สังเกต......................................................................................... คําชี้แจง ๑. ให้ผสู ้ ังเกตใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ประกอบการสังเกตว่าครู ได้จดั กิจกรรมที่สอดคล้องกับรายการ สังเกต ถ้าสอดคล้องให้เขียนเครื่ องหมาย ในช่องผลการสังเกต พร้อมบันทึกพฤติกรรมของครู ที่พบในช่องข้อสังเกตหรื อข้อค้นพบ ๒. นําผลการสังเกตเทียบกับเกณฑ์การสรุ ปผลการจัดการเรี ยนรู ้ของครู พร้อมบันทึกผลจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาลงท้ายแบบสังเกต ที่ ๑ ๒ ๓ ๔

รายการสังเกต ผล ตั้งคําถาม จัด หรื อ สร้ า งสถานการณ์ ที่ ก ระตุ ้น ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความ สงสัย อยากรู ้อยากเห็น หรื อหาเหตุผลในเรื่ องที่สนใจ สร้ า งแรงจู ง ใจให้ มี ก ารศึ ก ษาค้ น คว้า จากแหล่ ง เรี ยนรู ้ อย่างหลากหลาย ฝึ กให้นกั เรี ยนตั้งคําถามเพื่อนําไปสู่ การวิจยั ของนักเรี ยน ใช้คาํ ถามที่มีลกั ษณะท้าทายความสามารถของนักเรี ยนและ กระตุน้ ให้เกิดความสงสัยและอยากค้นหาคําตอบด้วยตนเอง

เทคนิควิธีการสอนที่ใช้

รายการสังเกต

เทคนิควิธีการสอนที่ใช้

ผล


32

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑ ๒

๓ ๔ ๕

ที่

การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ให้ นัก เรี ย นได้ศึ ก ษาหาข้อมู ล ที่ เกี่ ย วข้องกับ ปั ญ หาและ ลองคาดเดาคําตอบ ยกตัวอย่างหรื อแนะนําแหล่งเรี ยนรู ้ วิธีการค้นหาคําตอบ ให้นกั เรี ยนแสวงหาวิธีการหรื อทางเลื อกในการศึกษาหา คําตอบหลากหลายวิธี ให้ นั ก เรี ย นประเมิ น ทางเลื อ กและตัด สิ น ใจเลื อ กวิ ธี ที่ เหมาะสม ที่ให้ได้มาซึ่ งคําตอบ เปิ ดโอกาสให้นักเรี ยนกําหนดขั้นตอนในการดําเนิ นงาน ตามวิธีการที่ได้เลือกไว้ กระตุ ้นและฝึ กให้นัก เรี ย นเตรี ยมเครื่ องมื อและอุป กรณ์ สําหรับใช้ในการวิจยั จัด กิ จ กรรมให้ นั ก เรี ย นได้ว างแผนการดํา เนิ น งานเพื่ อ ค้นหาคําตอบ ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจยั มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนสัมผัสภูมิปัญญาท้องถิ่น ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ จัดกิจกรรมเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนรายงานความก้าวหน้า การดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ จัด กิ จกรรมแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ระหว่างนักเรี ยนในกลุ่ มและ ระหว่ างกลุ่ ม เพื่ อ ตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง ขจัด ข้อ ขัด แย้ง ภายในตนเองระหว่างความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์ ฝึ กนักเรี ยนสังเกต บันทึ กผลการปฏิ บัติงานอย่างละเอี ยดที่ แสดงถึงสิ่ งที่เป็ นจุดเด่น จุดที่เป็ นปัญหา มีการเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ สื่ อต่าง ๆ ให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิ ได้ เต็มประสิ ทธิ ภาพ ติดตามเอาใจใส่ ช่วยเหลือนักเรี ยน ให้กาํ ลังใจแก่นกั เรี ยนอย่าง สมํ่าเสมอ

รายการสังเกต

ผล

เทคนิควิธีการสอนที่ใช้


33

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

สรุปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ จัดกิจกรรมฝึ กให้นกั เรี ยน นําข้อมูลที่ได้จากการบันทึกมา วิเคราะห์และสรุ ปผลการศึกษา ตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถู กต้องของข้อมูล ที่ ตอบ คําถามตามที่กาํ หนดไว้ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลผลการศึกษา สร้างเกณฑ์ในการเสนอผลการศึกษา ออกแบบการนํ า เสนอข้อ มู ล ที่ ส อดคล้อ งกับ เกณฑ์ ที่ กําหนด จัด ทํา โครงร่ า งแสดงรายละเอี ย ด การนํา เสนอข้อ มู ล ที่ ครอบคลุม จัดทําสิ่ งที่จะนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด นําเสนอผลการศึกษาให้เพื่อนในกลุ่ม เพื่อนต่างกลุ่มและ ครู วิพากษ์วจิ ารณ์และปรับปรุ ง

จุดเด่ น .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... จุดทีค่ วรพัฒนา .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... สรุ ปผลการสั งเกตการณ์สอนของครู ๑. ตั้งคําถาม  ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุ ง ๒. การเตรี ยมการค้นหาคําตอบ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุ ง ๓. ดําเนินการค้นหาและตรวจสอบคําตอบ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุ ง ๔. สรุ ปและนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุ ง ลงชื่อ...................................................ผูส้ ังเกต ( ................................................)


34

แบบสั งเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู้ ของนักเรียน ชื่อผูส้ ังเกต..............................................................................วิชา......................................................................... ชั้น ..........................................วันเดือนปี สังเกต.................................................................................................... คําชี้แจง ๑. ให้ผสู ้ ังเกต สังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ว่านักเรี ยนแสดงพฤติกรรมการเรี ยนรู้ที่ สอดคล้องกับรายการสังเกตถ้าสอดคล้องให้เขียนเครื่ องหมาย ในช่องผลการสังเกตพร้อมบันทึกพฤติกรรม ของนักเรี ยนที่พบ ๒. นําผลการสังเกตเทียบกับเกณฑ์การสรุ ปพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน พร้อมบันทึกผลจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาลงท้ายแบบสังเกต ที่ รายการสังเกต ผล พฤติกรรมการแสดงออก ๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔

๕ ๖

ตั้งคําถาม ตั้งคําถามได้ตรงประเด็น ชัดเจน ครอบคลุมกับสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษา คําถามที่ตอ้ งการคําตอบโดยใช้กระบวนการวิจยั การเตรียมการค้ นหาคําตอบ มีการศึกษา วิธีการหาคําตอบ หลาย ๆ แหล่ง ทั้งแหล่งปฐมภูมิและทุติยภูมิ การวิเคราะห์ขอ้ ดี – ข้อจํากัดแต่ละทางเลือก กําหนดขั้นตอนในการดําเนินงานตามวิธีการที่เลือก เตรี ยมเครื่ องมือสําหรับบันทึกข้อมูล กําหนดปฏิ ทินการปฏิ บตั ิงานและรายงานผลการดําเนิ นงานต่อครู ผูส้ อน เป็ นระยะ ๆ ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ ลงมือปฏิบตั ิตามวิธีการที่กาํ หนดไว้ บันทึกข้อมูลขณะปฏิ บตั ิงานอย่างละเอียดและสร้างร่ องรอยหลักฐานการ เรี ยนรู ้ รายงานความก้าวหน้าของการดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ ตามแผนที่กาํ หนด แสดงความคิ ด เห็ น และร่ ว มมื อ ในการทํากิ จ กรรม Focus Group หรื อ แลกเปลี่ ยนเรี ย นรู ้ ท้ ังระดับ กลุ่ ม ระหว่างกลุ่ ม จนทําให้ ข ้อ ขัด แย้ง ทั้ง ความคิดในตนเองและความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์หมดไป นําข้อแนะนําที่ ได้จากข้อคิดเห็ นทั้งกลุ่มเพื่อน ครู มาต่อยอดหรื อพัฒนา เพิ่มเติม มี ก ารสร้ างกําลังใจ ช่ ว ยเหลื อเพื่ อ นในกลุ่ ม ให้ ส ามารถทํางานได้บ รรลุ เป้ าหมาย


35

ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

รายการสังเกต

ผล

พฤติกรรมการแสดงออก

สรุปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ มีการตรวจสอบความสมบูรณ์ถูกต้อง ชัดเจน ครอบคลุม ของข้อมูลที่ได้ จากการบันทึก กับคําถามที่ต้ งั ไว้ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูล ผลการศึกษา ออกแบบวิธีการนําเสนอให้สอดคล้องกับเกณฑ์การนําเสนอผลงานจัดทํา โครงร่ างที่แสดงรายละเอียดของผลการศึกษาตามที่ออกแบบไว้ สร้างรู ปแบบการนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด ทดลองนําเสนอรู ปแบบผลการศึกษาให้เพื่อนในกลุ่มวิพากษ์วจิ ารณ์และนํา ข้อมูลมาปรับปรุ ง นําเสนอผลการศึ ก ษาต่ อ เพื่ อ นในชั้น เรี ย นและครู ตลอดจนจัด แสดง นิทรรศการ ช่วยกันตั้งคําถามที่ทาํ ให้เกิดความคิดในการต่อยอดหรื อทําวิจยั ครั้งต่อไป

จุดเด่ น .................................................................................................................................................................... จุดทีค่ วรพัฒนา....................................................................................................................................................... สรุปผลการสั งเกตพฤติกรรมนักเรียน ๑. ตั้งคําถาม ๒. การเตรี ยมการค้นหาคําตอบ ๓. ดําเนินการค้นหาและตรวจสอบคําตอบ ๔. สรุ ปและนําเสนอผลการค้นหาคําตอบ

 ดีมาก  ดีมาก  ดีมาก  ดีมาก

 ดี  ดี  ดี  ดี

   

พอใช้ พอใช้ พอใช้ พอใช้

   

ปรับปรุ ง ปรับปรุ ง ปรับปรุ ง ปรับปรุ ง

ลงชื่อ...................................................ผู้สังเกต ( ................................................)


36

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีม่ ีต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ของครูผ้ ูสอน รายวิชา...................................................... โรงเรี ยน......................................................จังหวัด.............................................ชั้น................. คําชี้แจง ๑. แบบสอบถามฉบับนี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของครู ที่สอนรายวิชา ที่ระบุไว้ขา้ งต้น ๒. ให้นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็น โดยการกาเครื่ องหมาย  ลงในช่องระดับการปฏิบตั ิที่ สอดคล้องกับความจริ งมากที่สุด ๓. โปรดตอบข้อมูลตามความเป็ นจริ งหรื อตามความรู ้สึกที่แท้จริ งของนักเรี ยนที่สุด คําตอบไม่ มี ผลกระทบต่ อผลการเรียนของนักเรียน แต่จะเป็ นข้อมูลที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ ของครู ผสู ้ อนโดยส่ วนรวม ระดับการปฏิบตั ิ ที่ รายการประเมิน มากที่สุด

๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๒ ๓ ๔

ตั้งคําถาม จัด หรื อ สร้ า งสถานการณ์ ที่ ก ระตุ ้น ให้ นัก เรี ย นเกิ ดความสงสั ย อยากรู ้อยากเห็น หรื อหาเหตุผลในเรื่ องที่สนใจ สร้ า งแรงจู ง ใจให้ มี ก ารศึ ก ษาค้ น คว้า จากแหล่ ง เรี ย นรู ้ อ ย่า ง หลากหลาย ฝึ กให้นกั เรี ยนตั้งคําถามเพื่อนําไปสู่ การวิจยั ของนักเรี ยน ใช้ ค ํา ถามที่ มี ล ัก ษณะท้ า ทายความสามารถของนั ก เรี ย นและ กระตุน้ ให้เกิดความสงสัยและอยากค้นหาคําตอบด้วยตนเอง การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ให้นกั เรี ยนได้ศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปั ญหาและลองคาดเดา คําตอบ ยกตัวอย่างหรื อแนะนําแหล่งเรี ยนรู ้ วิธีการค้นหาคําตอบ ให้นกั เรี ยนแสวงหาวิธีการหรื อทางเลือกในการศึกษาหาคําตอบ หลากหลายวิธี ให้นกั เรี ยนประเมินทางเลือกและตัดสิ นใจเลือกวิธีที่เหมาะสม ที่

มาก น้อย น้อยที่สุด


37

ให้ได้มาซึ่ งคําตอบ ที่ ๑ ๒

๓ ๔ ๕

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

รายการประเมิน ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ จัดกิจกรรมเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนรายงานความก้าวหน้า การดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ จัดกิ จกรรมแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ระหว่างนักเรี ยนในกลุ่มและระหว่าง กลุ่ม เพื่อตรวจสอบและปรับปรุ ง ขจัดข้อขัดแย้งภายในตนเองระหว่าง ความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์ ฝึ กนักเรี ยนสังเกต บันทึกผลการปฏิบตั ิงานอย่างละเอียดที่แสดงถึงสิ่ ง ที่เป็ นจุดเด่น จุดที่เป็ นปัญหา มี ก ารเตรี ย มวัส ดุ อุ ป กรณ์ สื่ อ ต่ าง ๆ ให้ นัก เรี ย นได้ป ฏิ บัติ ไ ด้เต็ ม ประสิ ทธิ ภาพ ติ ด ตามเอาใจใส่ ช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ยน ให้ ก ํา ลัง ใจแก่ นั ก เรี ยนอย่ า ง สมํ่าเสมอ

สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ จัด กิ จ กรรมฝึ กให้ นั ก เรี ยน นํ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการบัน ทึ ก มา วิเคราะห์และสรุ ปผลการศึกษา ตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถูกต้องของข้อมูล ที่ตอบคําถาม ตามที่กาํ หนดไว้ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลผลการศึกษา สร้างเกณฑ์ในการเสนอผลการศึกษา ออกแบบการนําเสนอข้อมูลที่สอดคล้องกับเกณฑ์ท่ีกาํ หนด จัดทําโครงร่ างแสดงรายละเอียด การนําเสนอข้อมูลที่ครอบคลุม คําถามวิจยั จัดทําสิ่ งที่จะนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด นํา เสนอผลการศึ ก ษาให้ เพื่ อ นในกลุ่ ม เพื่ อ นต่ า งกลุ่ ม และครู วิพากษ์วจิ ารณ์และปรับปรุ ง

ระดับการปฏิบตั ิ มากที่สุด

มาก น้อย น้อยที่สุด


38

ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ๑. กิจกรรมการเรี ยนรู ้อะไรที่นกั เรี ยนประทับใจ............................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๒. มีกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใดที่นกั เรี ยนต้องการให้คุณครู ปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลง........................................... .......................................................................................................................................................................... ๓. สิ่ งที่นกั เรี ยนสามารถนําไปปรับหรื อประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวัน.............................................................. ..........................................................................................................................................................................


39

แบบประเมินตนเองของนักเรียน คําชี้แจง ๑. ให้นกั เรี ยนประเมินตนเองในรายการต่าง ๆ ต่อไปนี้วา่ ในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน นักเรี ยนได้ ปฏิบตั ิตนในแต่ละรายการมากน้อยเพียงใด โดยการเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องระดับการ ปฏิบตั ิที่สอดคล้องตรงกับความเป็ นจริ งที่นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิมากที่สุด ๒. ความคิดเห็ นของนักเรี ยนไม่ มีผลกระทบต่ อผลการเรี ยนของนักเรี ยน แต่จะเป็ นข้อมูลที่มีคุณค่า ต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรี ยนให้ดียง่ิ ขึ้น ที่ ๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

๑ ๒ ๓ ๔

รายการประเมิน ตั้งคําถาม มีต้ งั คําถามได้ตรงประเด็น ชัดเจน ครอบคลุมกับสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษา คําถามที่ต้ งั สามารถนําไปใช้การหาคําตอบโดยใช้กระบวนการวิจยั การเตรียมการค้ นหาคําตอบ มีการศึ กษา วิธีการหาคําตอบ หลาย ๆ แหล่ง ทั้งแหล่งที่ มีผูค้ น้ คว้าไว้ แล้วและแหล่งที่เป็ นสถานที่จริ งหรื อภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการวิเคราะห์ขอ้ ดี – ข้อจํากัดแต่ละทางเลือก มีกาํ หนดขั้นตอนในการดําเนินงานตามวิธีการที่เลือก มีการเตรี ยมเครื่ องมือสําหรับบันทึกข้อมูล มี ก ารกําหนดปฏิ ทิ น การปฏิ บัติ งานและรายงานผลการดําเนิ น งานต่ อ ครู ผสู ้ อนเป็ นระยะ ๆ ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ มีการลงมือปฏิบตั ิตามวิธีการที่กาํ หนดไว้ มี ก ารบัน ทึ ก ข้อ มู ล ขณะปฏิ บัติ ง านอย่า งละเอี ย ดและสร้ า งร่ อ งรอย หลักฐานการเรี ยนรู ้ มี ร ายงานความก้า วหน้ าของการดํา เนิ น งานเป็ นระยะ ๆ ตามแผนที่ กําหนด มีการแสดงความคิดเห็ นและร่ วมมื อในการทํากิ จกรรม Focus Group หรื อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ท้ งั ระดับกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม จนทําให้ขอ้ ขัดแย้ง ทั้งความคิดในตนเองและความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์หมดไป

ระดับการปฏิบัติ มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


40

ที่ ๕ ๖

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

รายการประเมิน ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ (ต่อ) มีการนําข้อแนะนําที่ได้จากข้อคิดเห็นทั้งกลุ่มเพื่อน ครู มาต่อยอดหรื อ พัฒนาเพิ่มเติม มีการสร้างกําลังใจ ช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่มให้สามารถทํางานได้บรรลุ เป้ าหมาย สรุปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ มีการตรวจสอบความสมบูรณ์ถูกต้อง ชัดเจน ครอบคลุม ของข้อมูลที่ ได้จากการบันทึก กับคําถามที่ต้ งั ไว้ มีการ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูล ผลการศึกษา มี ก ารออกแบบวิธี ก ารนําเสนอให้ ส อดคล้อ งกับ เกณฑ์ ก ารนําเสนอ ผลงานมีการจัดทําโครงร่ างที่แสดงรายละเอียดของผลการศึกษาตามที่ ออกแบบไว้ มีการสร้างรู ปแบบการนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด ทดลองนําเสนอรู ปแบบผลการศึ กษาให้เพื่อนในกลุ่มวิพากษ์วิจารณ์ และนําข้อมูลมาปรับปรุ ง นําเสนอผลการศึ กษาต่อเพื่อนในชั้นเรี ยนและครู ตลอดจนจัดแสดง นิทรรศการ ช่ วยกัน ตั้งคําถามที่ ทาํ ให้เกิ ดความคิ ดในการต่ อยอดหรื อทําวิจัยครั้ ง ต่อไป

ระดับการปฏิบัติ มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด

ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ๑. มีผลงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใดที่ประทับใจในการทํางาน..................................................................... ..................................................................................................................................................................... ๒. มีผลงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใดที่นกั เรี ยนต้องการที่จะพัฒนาหรื อปรับปรุ ง......................................... ..................................................................................................................................................................... ๓. มีผลงานหรื อกิจกรรมใดในการทํางานที่นกั เรี ยนสามารถนําไปใช้หรื อประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวันได้... .....................................................................................................................................................................


41

แบบประเมินตนเองของครู ผู้สอน คําชี้แจง ๑. ให้คุณครู ประเมินตนเองในรายการต่าง ๆ ต่อไปนี้วา่ ในการจัดการเรี ยนรู ้ของท่าน ท่านได้ ปฏิบตั ิตนในแต่ละรายการมากน้อยเพียงใด โดยการเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่องระดับการ ปฏิบตั ิที่สอดคล้องตรงกับความเป็ นจริ งที่ท่านได้ปฏิบตั ิมากที่สุด ๒. ความคิดเห็นของท่านไม่ มีผลกระทบต่ อการปฏิบัติงานของท่ าน แต่จะเป็ นข้อมูลที่มีคุณค่าต่อ การพัฒนาคุณภาพของการจัดการเรี ยนรู ้ของครู และนักเรี ยนให้ดียงิ่ ขึ้น ที่ ๑ ๒ ๓ ๔

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

รายการประเมิน ตั้งคําถาม มี การจัดหรื อสร้ างสถานการณ์ ที่ กระตุ ้นให้นักเรี ยนเกิ ดความ สงสัย อยากรู ้อยากเห็น หรื อหาเหตุผลในเรื่ องที่สนใจ สร้ างแรงจูง ใจให้ นัก เรี ย น ได้ศึ ก ษาค้น คว้า จากแหล่ งเรี ย นรู ้ อย่างหลากหลาย ฝึ กให้นกั เรี ยนตั้งคําถามเพื่อนําไปสู่ การวิจยั ของนักเรี ยน ใช้ค าํ ถามที่ มี ล ัก ษณะท้าทายความสามารถของนัก เรี ย นและ กระตุน้ ให้เกิดความสงสัยและอยากค้นหาคําตอบด้วยตนเอง การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ให้นกั เรี ยนประเมินทางเลื อกและตัดสิ นใจเลือกวิธีที่เหมาะสม ที่ให้ได้มาซึ่ งคําตอบ เปิ ดโอกาสให้นักเรี ยนกําหนดขั้นตอนในการดําเนิ นงานตาม วิธีการที่ได้เลือกไว้ กระตุน้ และฝึ กให้นกั เรี ยนเตรี ยมเครื่ องมือและอุปกรณ์ สําหรับ ใช้ในการวิจยั จัดกิ จกรรมให้ นัก เรี ย นได้วางแผนการดําเนิ น งานเพื่ อค้น หา คําตอบ ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจยั มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนสัมผัส ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ระดับการปฏิบัติ มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


42

ที่ ๑ ๒

๓ ๔ ๕

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

รายการประเมิน ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ จัดกิจกรรมเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนรายงานความก้าวหน้า การดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ จัด กิ จกรรมแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ระหว่างนักเรี ยนในกลุ่มและระหว่าง กลุ่ ม เพื่ อ ตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง ขจัด ข้อ ขัด แย้ง ภายในตนเอง ระหว่างความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์ ฝึ กนักเรี ยนสังเกต บันทึ กผลการปฏิ บตั ิ งานอย่างละเอียดที่ แสดงถึ ง สิ่ งที่เป็ นจุดเด่น จุดที่เป็ นปัญหา มีการเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ สื่ อต่าง ๆ ให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิได้เต็ม ประสิ ทธิ ภาพ ติดตามเอาใจใส่ ช่วยเหลือนักเรี ยน ให้กาํ ลังใจแก่นกั เรี ยนอย่าง สมํ่าเสมอ

สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ จัด กิ จ กรรมฝึ กให้ นั ก เรี ยน นํ า ข้อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการบัน ทึ ก มา วิเคราะห์และสรุ ปผลการศึกษา ให้นักเรี ยนตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถู กต้องของข้อมูล ที่ ตอบคําถามตามที่กาํ หนดไว้ ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลผลการศึกษา มีการสร้างเกณฑ์สาํ หรับนําเสนอผลงานการศึกษา ให้นักเรี ยนออกแบบการนําเสนอข้อมูลที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ กําหนด ให้นกั เรี ยนจัดทําโครงร่ างแสดงรายละเอียด การนําเสนอข้อมูลที่ ครอบคลุมคําถามวิจยั ให้นกั เรี ยนจัดทําข้อมูลที่จะนําเสนอตามโครงร่ างที่กาํ หนด

ระดับการปฏิบัติ มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


43

ที่

รายการประเมิน

ให้นกั เรี ยนนําเสนอผลการศึกษาให้เพื่อนในกลุ่ม เพื่อนต่างกลุ่ม และครู วิพากษ์วจิ ารณ์และปรับปรุ ง

ระดับการปฏิบัติ มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด

ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ๑. มีผลงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใดที่ท่านประทับใจในการทํางาน.............................................................. .......................................................................................................................................................................... ๒. มีผลงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใดที่ท่านต้องการที่จะพัฒนาหรื อปรับปรุ ง................................................ .......................................................................................................................................................................... ๓. มี ผ ลงานหรื อ กิ จ กรรมใดในการทํา งานที่ ท่ า นสามารถนํา ไปใช้ห รื อ ประยุก ต์ใ ช้ ใ นการทํา งานที่ ท่ า น รับผิดชอบนอกเหนือจากงานสอนได้............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................


44

แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ปกครอง/ชุ มชนทีม่ ีต่อการเรียนรู้ ของนักเรี ยน คําชี้แจง ให้ท่านแสดงความคิดเห็นต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน โดยความคิดเห็นของท่านไม่ มีผลกระทบ ต่ อการเรียนของบุตรหลานของท่ าน แต่ประการใด แต่จะเป็ นข้อมูลที่มีคุณค่าต่อการพัฒนา การเรี ยนรู ้ของบุตรหลานของท่านให้ดียง่ิ ขึ้น ตอนที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑. สถานะผูต้ อบ  บิดา-มารดา  ผูป้ กครอง  ชุมชน  คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  อื่น ๆ โปรดระบุ........................ ๒. บุตรหลานของท่านกําลังศึกษาในระดับชั้น............................................................... ๓. อาชีพของผูต้ อบ  รับราชการ  รัฐวิสาหกิจ  ประกอบอาชีพอิสระ  อื่นๆ ระบุ........................................................................................................ ตอนที่ ๒ ให้ท่านประเมินพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของบุตรหลานของท่านในรายการต่าง ๆ ต่อไปนี้วา่ ได้มีการปฏิบตั ิในแต่ละรายการมากน้อยเพียงใด โดยการเขียนเครื่ องหมาย ลงในช่องระดับ การปฏิบตั ิที่สอดคล้องตรงกับความเป็ นจริ งที่ท่านได้ปฏิบตั ิมากที่สุด รายการประเมิน ตั้งคําถาม ๑. ชอบถามคําถามอย่างมีเหตุมีผล ๒. ถามคําถามในเรื่ องที่ตอ้ งการอยากรู ้อยากเห็น ๓.ชอบถามคําถามที่ตอ้ งใช้เวลาในการคิดค้นหาคําตอบ การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ๔. มีการค้นคว้าหาความรู ้จากบุคคลในท้องถิ่น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น ๕. มีการเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์สาํ หรับการทํางาน ๖. มีการกําหนดปฏิทินการปฏิบตั ิงานและรายงานผลการดําเนินงาน ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ ๗. มีการลงมือปฏิบตั ิตามวิธีการที่กาํ หนดไว้ ๘. มีการจดบันทึกผลการปฏิบตั ิงาน ๙. มีการรายงานความก้าวหน้าของการดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ ๑๐.มีการชวนเพื่อน ๆ มาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทํางาน ๑๑. มีการให้กาํ ลังใจ ช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่มให้สามารถทํางานได้บรรลุเป้ าหมาย

ระดับความคิดเห็น มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


45

รายการประเมิน สรุปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ ๑๒. มีการตรวจทานความสมบูรณ์ถูกต้อง ของงานก่อนส่งงาน ๑๓. มีการกําหนดโครงร่ างของงานที่จะส่งครู ๑๔. จัดทําผลงานตามโครงร่ างและที่แสดงรายละเอียดของผลการศึกษา ตามที่ออกแบบไว้ ๑๕. ให้เพื่อนในกลุ่มวิพากษ์วจิ ารณ์ผลงานและนําข้อมูลมาปรับปรุ ง ๑๖. ช่วยกันตั้งคําถามที่ทาํ ให้เกิดความคิดในการทํางานชิ้นต่อไป

ระดับความคิดเห็น มากทีส่ ุ ด มาก น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด

ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ๑. มีพฤติกรรมของนักเรี ยนที่ท่านเห็นว่าเป็ นสิ่ งที่ดี และควรรักษาไว้................................................ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ๒. มีพฤติกรรมของนักเรี ยนที่ท่านเห็นว่าควรปรับปรุ งหรื อควรพัฒนาให้ดียง่ิ ขึ้น............................. ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ๓. มีพฤติกรรมใดบ้างที่นกั เรี ยนนําไปใช้ในการปฏิบตั ิตนในชีวติ ประจําวัน..................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................


46

แบบตรวจผลงานนักเรียน ชื่อนักเรียน............................................. ชั้น.................. ชื่อผลงาน................................................................................................. คํ า ชี้ แ จง ให้ นํ า ผลงานของนั ก เรี ยนมาตรวจสอบตามรายการต่ า ง ๆ ว่ า มี ค วามสอดคล้อ งมากน้ อ ยเพี ย งใด โดยกา เครื่ องหมาย  ลงในช่องระดับคุณภาพของผลงาน

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

รายการประเมิน

ตั้งคําถาม ๑. มีการนําเสนอคําถามได้ตรงประเด็น ชัดเจน ครอบคลุมกับสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษา ๒. เป็ นคําถามที่สามารถนําไปใช้การหาคําตอบอย่างเป็ นระบบ ครบตามกระบวนการวิจยั การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ๓. มีวธิ ีการหาคําตอบ จากการค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลหลาย ๆ แหล่ง ๔. มีการวิเคราะห์ขอ้ ดี – ข้อจํากัดแต่ละทางเลือก ๕. มีกาํ หนดขั้นตอนในการดําเนินงานอย่างชัดเจน ๖. มีการเตรี ยมเครื่ องมือสําหรับบันทึกข้อมูล ๗. มีการกําหนดปฏิทินการปฏิบตั ิงานและรายงานผลการดําเนินงาน เป็ นระยะ ๆ ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ ๘. มีการบันทึกข้อมูลขณะปฏิบตั ิงานอย่างละเอียดและสร้างร่ องรอยหลักฐานการเรี ยนรู ้ ๙. มีรายงานความก้าวหน้าของการดําเนินงานเป็ นระยะ ๆ ตามแผนที่กาํ หนด ๑๐. มีการบันทึกผลการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ท้ งั ระดับกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ๑๑. มีการนําข้อแนะนําที่ได้จากข้อคิดเห็นทั้งกลุ่มเพื่อน ครู มาต่อยอดหรื อพัฒนาเพิ่มเติม ๑๒. มีขอ้ มูลสะท้อนกลับเกี่ ยวกับการสร้างกําลังใจ ช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่มให้สามารถ ทํางานได้บรรลุเป้ าหมาย สรุปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ ๑๓. มีการตรวจสอบความสมบูรณ์ถูกต้อง ชัดเจน ครอบคลุม ของข้อมูลที่ได้จากการ บันทึก กับคําถามที่ต้ งั ไว้ ๑๔. มีการนําเสนอผลการ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูล ผลการศึกษา ๑๕. มีวธิ ีการนําเสนอสอดคล้องกับเกณฑ์การนําเสนอผลงาน ๑๖. มีการจัดทําโครงร่ างที่แสดงรายละเอียดของผลการศึกษาตามที่ออกแบบไว้ ๑๗. มีการนําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดที่จะทําวิจยั ครั้งต่อไป จุดเด่ น …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. จุดทีค่ วรพัฒนา ............................................................................................................................................................ สรุปผลการประเมิน  ดีมาก

 ดี

 พอใช้  ปรับปรุง


47

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อครู ผสู ้ อน............................................ วิชา..............................................................ชั้น.............................. โรงเรี ยน................................................... อําเภอ......................................สพป./สพม ................................... คําชี้แจง ให้นาํ แผนการสอนของครู อย่างน้อย ๑ หน่วยการเรี ยนรู ้ มาประเมินภาพรวม ตามรายการ ตรวจสอบข้างล่างนี้ ว่า สอดคล้องกับรายการตรวจสอบมากน้อยเพียงใด โดยการกาเครื่ องหมาย  ลงในช่องระดับคุณภาพของผลงาน ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ตั้งคําถาม ๑. มีการจัดกิจกรรมที่กระตุน้ ให้นกั เรี ยนเกิดความสงสัย อยากรู ้ อยากเห็น หรื อหาเหตุผลในเรื่ องที่สนใจ ๒. มีการสร้างแรงจูงใจให้นกั เรี ยน ได้ศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรี ยนรู ้ อย่างหลากหลาย ๓. มีการฝึ กให้นกั เรี ยนตั้งคําถามเพื่อนําไปสู่ การวิจยั ของนักเรี ยน ๔. ใช้คาํ ถามที่มีลกั ษณะท้าทายความสามารถของนักเรี ยนและ กระตุน้ ให้เกิดความสงสัยและอยากค้นหาคําตอบด้วยตนเอง การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ๕. มีการให้นกั เรี ยนประเมินทางเลือกและตัดสิ นใจเลือกวิธีที่ เหมาะสมที่ให้ได้มาซึ่ งคําตอบ ๖. มีการเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนกําหนดขั้นตอนในการดําเนินงาน ตามวิธีการที่ได้เลือกไว้ ๗. มีการกระตุน้ และฝึ กให้นกั เรี ยนเตรี ยมเครื่ องมือและอุปกรณ์ สําหรับใช้ในการวิจยั ๘. มีการจัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้วางแผนการดําเนินงานเพื่อค้นหา คําตอบ ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการวิจยั ๙. มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนสัมผัส ภูมิปัญญาท้องถิ่น


48

รายการประเมิน ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ ๑๐. มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนรายงานความก้าวหน้าการดําเนินงาน เป็ นระยะ ๑๑. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ระหว่างนักเรี ยนในกลุ่มและระหว่าง กลุ่ม เพื่อตรวจสอบและปรับปรุ ง ขจัดข้อขัดแย้งภายในตนเอง ระหว่างความคิดกับหลักฐานเชิงประจักษ์ ๑๒. มีกิจกรรมฝึ กนักเรี ยนสังเกต บันทึกผลการปฏิบตั ิงานอย่าง ละเอียด ที่แสดงถึงสิ่ งที่เป็ นจุดเด่น จุดที่เป็ นปั ญหา ๑๓. มีการเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ สื่ อต่าง ๆ ให้นกั เรี ยน ให้นกั เรี ยน ได้ปฏิบตั ิได้เต็มประสิ ทธิ ภาพ ๑๔. มีกิจกรรมติดตามเอาใจใส่ ช่วยเหลือนักเรี ยน ให้กาํ ลังใจแก่ นักเรี ยน สรุ ปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ ๑๕. มีการจัดกิจกรรมฝึ กให้นกั เรี ยน นําข้อมูลที่ได้จากการบันทึกมา วิเคราะห์และสรุ ปผลการศึกษา ๑๖. มีการจัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถูกต้องและข้อมูล ที่เป็ นคําตอบของคําถามที่กาํ หนดไว้ ๑๗. มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนวิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลผลการศึกษา ๑๘. มีการนําเสนอเกณฑ์สาํ หรับประเมินการนําเสนอผลงานการศึกษา ๑๙. มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนออกแบบการนําเสนอข้อมูลที่สอดคล้องกับ เกณฑ์ที่กาํ หนด ๒๐. มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนจัดทําโครงร่ างแสดงรายละเอียด การนําเสนอข้อมูลที่ครอบคลุมคําถามวิจยั ๒๑. มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ขอ้ มูลที่จะนําเสนอตามโครงร่ าง ที่กาํ หนด ๒๒. จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนนําเสนอผลการศึกษาให้เพื่อนในกลุ่ม เพื่อนต่างกลุ่มและครู วิพากษ์วจิ ารณ์และปรับปรุ ง

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี

พอใช้ ปรับปรุง


49

ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ๑. จุดเด่นของแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ๒. จุดที่ควรพัฒนาหรื อปรับปรุ ง...................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ สรุ ปผลการประเมิน  ดีมาก

 ดี

 พอใช้  ปรับปรุ ง ลงชื่อ .......................................................ผูป้ ระเมิน ( ........................................................)


50

แบบสั มภาษณ์นักเรี ยนเกี่ยวพฤติกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียน ชื่ อผู้ถูกสั มภาษณ์ ..........................................................ชั้ น...................โรงเรียน.................................................... คําชี้แจง ให้ผสู ้ ัมภาษณ์ได้ศึกษาประเด็นการสัมภาษณ์ให้เข้าใจชัดเจน ก่อนการสัมภาษณ์ บันทึกข้อมูล ตามที่ผใู ้ ห้ขอ้ มูล โดยไม่สอดแทรกความคิดเห็นของตนเอง แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหา ว่าสอดคล้องกับตัวบ่งชี้อย่างไร ประเด็นสั มภาษณ์ ข้ อมูลผลการสั มภาษณ์

ตั้งคําถาม ๑.นักเรี ยนมีต้ งั คําถามสําหรับการการทําวิจยั มีลกั ษณะอย่างไร ๒.คําถามนั้นสามารถให้คาํ ตอบที่ตอ้ งการเรี ยนหรื อหรื อไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด การเตรียมการค้ นหาคําตอบ ๓. มีการกําหนดวิธีการหาคําตอบหลาย ๆ ทางอย่างไร มีใครแนะนําอย่างไร ๔. นักเรี ยนใช้เกณฑ์อะไรมาตัดสิ นใจว่าวิธีการหาคําตอบที่ เหมาะสม ๕. ยกตัวอย่างขั้นตอนการทํางานที่นกั เรี ยนเห็นว่าประสบ ผลสําเร็ จและงานนั้นมีเครื่ องมือ อุปกรณ์ในการทํางาน อะไรบ้าง ๖. นักเรี ยนเคยไปศึกษาตัวอย่างของงานที่เกิดขึ้นจริ งใน ท้องถิ่นอะไรบ้างและการไปศึกษานั้นได้แนวคิดที่จะ ทํางานอย่างไร ดําเนินการค้ นหาและตรวจสอบคําตอบ ๗. นักเรี ยนมีการรายงานความก้าวหน้าของการทํางาน อย่างไรบ้าง ๘. นักเรี ยนมีวิธีการตรวจสอบผลงาน ทั้งความคิดของตนเอง ความคิดของเพื่อนในกลุ่ม ต่างกลุ่มอย่างไร และผลการ ตรวจสอบ เป็ นอย่างไร


51

ประเด็นสั มภาษณ์ ข้ อมูลผลการสั มภาษณ์ ๙. มีการบันทึกผลการศึกษาลักษณะอย่างไร และมีการนํา ผลการศึกษาแต่ละครั้งมีตรวจสอบความสมบูรณ์ของ ข้อมูลอย่างไร ๑๐. เมื่อเกิดปั ญหาเกิดในขณะปฏิบตั ิงานมีใครบ้างที่ให้ ความช่วยเหลือแนะนํานักเรี ยนอย่างไร ยกตัวอย่าง และผลการแก้ปัญหาเป็ นอย่างไร สรุปและนําเสนอผลการค้ นหาคําตอบ ๑๑. ก่อนสรุ ปผลการศึกษา นักเรี ยนมีการตรวจสอบความ สมบูรณ์ของข้อมูลที่ได้บนั ทึกมาอย่างไร เมื่อพบข้อมูล ไม่สมบูรณ์นกั เรี ยนดําเนินการอย่างไร ยกตัวอย่างด้วย ๑๒. มีการวางแผนการนําเสนอข้อมูลผลการศึกษาอย่างไร มีเกณฑ์ที่กาํ หนดสําหรับการนําเสนอข้อมูลอย่างไร ใครเป็ นผูก้ าํ หนดเกณฑ์ ๑๓. มีการกําหนดโครงร่ างการนําเสนอผลงานอย่าง ละเอียดอย่างไร ยกตัวอย่างโครงร่ างการนําเสนอ ผลงาน ๑๔. มีการทดลองนําเสนอผลงานให้เพื่อนๆ วิพากษ์วจิ ารณ์ผลอย่างไร และนําข้อเสนอแนะ มาดําเนินการอย่างไร ๑๕. มีขอ้ ดี ข้อเสี ย ของการนําเสนอผลงานให้เพื่อน ๆ วิพากษ์วจิ ารณ์อย่างไร

ลงชื่อ.............................................................................ผูส้ ัมภาษณ์ (......................................................................) ............/....................../.................


52

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อกั ษรไทย. ๒๕๔๖. กระทรวงศึกษาธิ การ. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกสรแห่งประเทศไทย จํากัด. ๒๕๕๑. สํานักวิจยั และพัฒนาการศึกษา. สํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. การเรียนการสอนโดยนักเรียนใช้ การวิจัยเป็ นส่ วนหนึ่งในกระบวนการเรียนรู้ กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. ๒๕๔๘. สุ วมิ ล ว่องวาณิ ช. เคล็ดลับการทําวิจัยในชั้ นเรียน. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์อกั ษรไทย. ๒๕๔๕. พิมพ์พนั ธ์ เตชะคุปต์. พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ , กรุ งเทพฯ: บริ ษทั คุณภาพวิชาการ (พว) จํากัด. ๒๕๔๕. http//www.my firstbrain.com สื บค้นเมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๒ http//www.nsdu.go.th/innovation ๒ questioning, htm. เทคนิคตั้งคําถาม รวบรวมโดย กัญญา วีรยวรรณ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตรัง เขต ๒


53

แนวการจัดการเรียนรู้ โดยนักเรียน ใช้ กระบวนการวิจยั ในการเรียนรู้

๒๘ มี.ค. - ๑ เม.ย. ๕๔ โรงแรมนิวเวิลด์ ซิ ต้ ี กรุ งเทพ


54

คํานํา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ได้จดั ทําเอกสาร “แนวการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยน ใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้” เพื่อใช้ในการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู ้ความสามารถ ในการวิจยั และจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ตามโครงการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ของ สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน รายละเอี ยดในเอกสารประกอบด้วยส่ วนสําคัญคื อ แนว ทางการจัดการเรี ย นรู ้ โดยนัก เรี ยนใช้ก ระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ๔ ขั้น ตอน การจัดทําหน่ วยการเรี ย นรู ้ แผนการเรี ย นรู ้ การสร้ า งบรรยากาศ และแหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ เอื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้ ด้ว ยกระบวนการวิ จ ัย และการ ประเมินผลการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ การศึกษาและใช้เอกสารแนวการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ สํานักงาน คณะกรรมการศึ กษาขั้นพื้นฐาน จะจัดประชุ มปฏิ บ ตั ิ การพัฒนาบุ คลากรที่ รับ ผิดชอบโครงการเพื่อให้ทุ กคน สามารถใช้เอกสารเป็ นแนวในการจัด การเรี ย นรู ้ โ ดยนัก เรี ย นใช้ ก ระบวนการวิ จยั ในการเรี ย นรู ้ ไ ด้อ ย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผลตามวัตถุประสงค์ที่กาํ หนด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะกรรมการดําเนิ นโครงการทุกท่านที่ร่วม ดําเนินการจัดทําและพัฒนาเอกสารให้มีคุณภาพสามารถนําไปใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งจะเป็ นประโยชน์แก่ ครู นักเรี ยน บุ คลากรที่เกี่ ยวข้อง ใช้และพัฒนาการวิจยั อย่างต่อเนื่ องให้เกิดวัฒนธรรมการวิจยั อย่างแพร่ หลาย ต่อไป

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


55

สารบัญ หน้า คํานํา สารบัญ บทนํา วัตถุประสงค์ แนวทางการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ กระบวนการวิจยั ๔ ขั้นตอน บทบาทของครู และนักเรี ยนในการจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ ตัวอย่างนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ การวิเคราะห์หลักสู ตรสู่ การจัดการเรี ยนรู ้โดยนักเรี ยนใช้กระบวนการวิจยั (ตัวอย่าง) แผนการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การสร้างบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยกระบวนการวิจยั บรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ภายในสถานศึกษา แหล่งเรี ยนรู ้ภายนอก การดูแลบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู้ให้มีคุณภาพและยัง่ ยืน การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน ๑. ตัวชี้วดั การวัดและประเมินผลการจัดการเรี ยนรู ้ของครู ๒. ตัวชี้วดั การวัดและการประเมินผลการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน ๓. วิธีวดั ผลการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน ๔. เครื่ องมือวัดผลการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน ๕. เกณฑ์การให้คะแนนและสรุ ปผลการเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั ของนักเรี ยน ๖. ตัวอย่างเครื่ องมือวัด บรรณานุกรม คณะผูจ้ ดั ทํา

๑ ๒ ๒ ๓ ๖ ๗ ๘ ๑๕ ๑๙ ๑๙ ๒๒ ๒๒ ๒๓ ๒๓ ๒๔ ๒๖ ๒๖ ๒๗ ๒๙


56

คณะผู้จัดทํา

๑. รศ.ดร.สมพงษ์ แตงตาด ๒. รศ.ดร.ปรี ชา วิหคโต ๓. ผศ.พันธ์นีย ์ วิหคโต ๔. ดร.เฉลิม ฟักอ่อน ๕. อาจารย์สมหวัง คันธรส ๖. นางวิไล แสงเหมือนขวัญ ๗. นางประภัสสร ไชยชนะใหญ่ ๘. น.ส.ประภาพรรณ เส็ งวงศ์ ๙. นายวีระพันธุ์ สวัสดี ๑๐. นายอดุลย์ วงษ์ใหญ่ ๑๑. นางศิริชาติ วงษ์ใหญ่ ๑๒. นางอัมพรพรรณ เทพหล้า ๑๓. ดร.ไพจิตร สะดวกการ ๑๔. นางสาวอุษณี ย ์ ลีลาพรพิสิทฐิ์ ๑๕. ดร.ชาตรี นาคะกุล ๑๖. นายไตรรงค์ เจนการ ๑๗. น.ส.รัตนทิพย์ เอื้อชัยสิ ทธิ์ ๑๘. นางธนชพร ตั้งธรรมกุล ๑๙. นายวีระศักดิ์ บุญญาพิทกั ษ์ ๒๐. นายอินสวน สาธุ เม ๒๑. นายชวลิต จันทร์ ศรี ๒๒. น.ส.วิริยะ บุญยะนิวาสน์

นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ ศึกษานิเทศก์ ช่วยราชการ สวก. ศึกษานิเทศก์ สพม.เขต ๑๖ สงขลา ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต ๑๖ สงขลา ศึกษานิเทศก์ สพป. กาฬสิ นธุ์ เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สพป. มหาสารคาม ศึกษานิเทศก์ สพป. ฉะเชิงเทรา เขต ๑

คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน


57

๒๓. นายไสว ภู่ทบั ทิม ๒๔. นางรัตนา พงษ์พานิช ๒๕. นางศศิภา เอี่ยวเจริ ญ ๒๖. นายวีระศักดิ์ ศรี สังข์ ๒๗. นางสาวจิตรา ภิญโอภาส ๒๘. นางบัวบาง บุญอยู่ ๒๙. นางสุ รัตน์นารี จี๋คีรี ๓๐. นางสกาวรัตน์ ไกรมาก ๓๑. นางลลนา กนแกม ๓๒. นางจุฑารัตน์ เดชวงศ์ญา ๓๓. นายวิจิตร ว่องวิการณ์ ๓๔. นางสาววิภาพร นิธิปรี ชานนท์ ๓๕. ดร.อรนุช มัง่ มีสุขศิริ ๓๖. นางมัณฑนา ปรี ยวนิตย์ ๓๗. นางสุ ดจิตร์ ไทรนิ่มนวล ๓๘. นายพลรพี ทุมมาพันธ์ ๓๙. นายพรชัย ถาวรนาน ๔๐. น.ส.จุฑารัตน์ ก๋ องคํา

ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพป.สมุทรปราการ ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพม. เขต ๒ กทม. ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพม. เขต ๒ กทม. ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพม. เขต ๒ กทม. ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพม. เขต ๒ กทม. ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพป.ปราจีนบุรี เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพม. เขต ๓๔ เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน ศึกษานิเทศก์ คณะทํางาน สพป.พะเยา เขต ๒ ครู รร.ยะหาศิรยานุกลู คณะทํางาน สพม.๑๕ นราธิ วาส ยะลา ปั ตตานี ครู รร.อนุบาลเชียงใหม่ คณะทํางาน จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่ เขต ๑ ครู รร.อนุบาลสว่างอารมณ์ คณะทํางาน จ.อุทยั ธานี สพป.อุทยั ธานี เขต ๑ นักวิชาการศึกษา สนก. คณะทํางาน นักวิชาการศึกษา สนก. คณะทํางาน นักวิชาการศึกษา สนก. คณะทํางาน นักวิชาการศึกษา สนก. คณะทํางาน ครู ช่วยราชการ สนก. คณะทํางาน นักวิชาการศึกษา สนก. คณะทํางาน พนักงานพิมพ์ดีด สนก. คณะทํางาน



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.