การจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Page 1


งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556 จานวนพิมพ์ 200 เล่ม พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556 ผู้จัดพิมพ์ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนพิมพ์ 200 เล่ม ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ผู้จัดพิมพ์ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โทร. 0 2288 5883 โทรสาร 0 22815216 ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจากัด เชน ปริ้นติ้ง โทร 0 2288 5883 โทรสาร 0 22815216 7/414 ม. 5 ต.บางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140 พิมพ์ที่ ห้างหุ้นส่วนจากัด เชน ปริ้นติ้ง โทร. 0-2927-8194, 08-1489-4161

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging Publication สานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั ้นพื้นฐาน, inสานั กพัฒนานวัตData กรรมการจัดการศึกษา งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ, สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา --กรุงเทพฯ : สานักงานฯ, 2556.134 หน้า-- (1) งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ, --กรุ งเทพฯ : สเานั กงานฯ, 1. การศึ กษาพิ ศษ—วิ จัย.2556.134 1. ชื่อเรื่อง หน้า-- (1) 1. การศึกษาพิเศษ—วิจัย. 1. ชื่อเรื่อง 371.9072 ISBN 978-616-202-8212 371.9072 ISBN 978-616-202-8212 © ลิขสิทธิ์ของสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน © ลิขสิทธิ์ของสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


คำนำ หนังสือ “งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความ ต้องการพิเศษ” นี้ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยของครู ผู้บริหาร และศึกษานิเทศก์ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนที่มี ความต้องการพิเศษ ซึ่งเป็นผลของการจัดการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ. ศ. 2545 มาตรา 30 ที่มุ่งให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ ละ ระดับการศึกษา เพื่อให้เด็กและเยาวชนของชาติได้รับ การศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสมกับบริบทของสังคม และความต้องการของผู้เรียน ส านั ก พั ฒ นานวั ต กรรมการจั ด การศึ ก ษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ขอขอบคุณเจ้าของผลงานวิจัยทุกท่านที่ได้นาประสบการณ์อันมีค่ามาสร้างเป็นแบบอย่างที่ดีและขอบคุณ คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่านที่ได้กลั่ นกรองคัดเลือกและตรวจสอบผลงานวิจัยดีมีคุณภาพ ขอบคุณ นักวิจัยทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือในการนาเสนอผลงานวิจัยครั้งนี้ด้วยดี

(นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์) ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา


สารบัญ หน้า บทนา

1

1. การศึกษาความสามารถในการอ่านคาของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยชมพู จังหวัดเชียงราย จากการใช้เทคนิค แม่แบบควบคู่กับการเสริมแรงทางบวก ผู้วิจัย ณัฏฐณิชา ขันใจ

4

2. การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ด้านการอ่านโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัส และแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใต้พื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสร้างความสามารถ ความสนใจและความคงทนในการอ่านของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ผู้วิจัย นางฉวีวรรณ โยคิน

22

3. ผลการจัดการเรียนรู้สาระทัศนศิลป์เรื่องทัศนศิลป์สร้างสรรค์ของนักเรียนที่มีความบกพร่อง 36 ทางการได้ยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การสอน แบบส่งเสริมจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ (พ.ศ. 2555) ผู้วิจัย นายชินกร คาภูธร 4. รายงานผลการพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยคของนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แบบฝึกการเขียนตามโครงสร้างประโยคประกอบภาพ ผู้วิจัย นางสาวพัชราพร ศรีจันทร์อินทร์

46

5. รายงานการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัย นางขนิษฐา โสธรรมมงคล และนายชนาธิป กาละพันธ์

59

6. การแก้ปัญหาการเรียนรู้เรื่องตาแหน่งจุดเบรลล์โดยใช้บล็อกเรลล์ นักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการเห็นโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต้จังหวัดสุราษฏร์ธานี ผู้วิจัย นายสิทธิศักดิ์ ชิตพิทักษ์

85

7. การใช้กิจกรรมห้องธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ที่ภาวะไม่หยุดนิ่ง ผู้วิจัย นายโต้ง พรมกุล

102

8. การศึกษาผลของกิจกรรมการกระตุ้นการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหวที่มีต่อการแสดง พฤติกรรมซ้าๆความสามารถในการสบตาการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ของเด็กออทิสติก ผู้วิจัย นางพัชรีวรรณ พรมกุล

116


1

บทนํา การวิจัยทางการศึกษาพิเศษ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีสาระในการจัดการศึก ษาขั้นพื้นฐาน ใหเด็กวัยเรียนทุกคนมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับการจัดการศึกษา ใหผูมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางกาย พิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแลหรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคล ดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ ในที่นี้หมายถึง การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลที่มีความตองการ พิเ ศษโดยรัฐดวยวิธีการสอน การจัดดําเนินการ และการใหบริก ารสอน เครื่องมือและอุปกรณในการ จัดการเรียนการสอนที่สนองตอบตอความสามารถ และความตองการของเด็กพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐาน สง เสริมการทําวิจัยเพื่อ พัฒนาการจัดการศึกษา สําหรับคนพิการไวใน แผนพัฒ นาการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ ระยะ 5 ป ( พ.ศ. 2555- 2559) ยุทธศาสตรที่ 2 ดังนี้ ยุทธศาสตร 2 วิจัยและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู การวัดประเมินผลใหเหมาะสม สําหรับคนพิการ เปาประสงค : คนพิก ารไดรับการศึก ษาอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาในทุก ระบบ สอดคลองกับความตองการจําเปนพิเศษของแตละบุคคล และมีทักษะการดํารงชีวิตสามารถประกอบอาชีพ พึ่งพาตนเองได มาตรการ 1. สงเสริมการวิจัย การพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการจัดหลักสูตร นวัตกรรมในการจัดการ เรียนรู กระบวนการเรียนรู การทดสอบทางการศึกษา การวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับความตองการ จําเปนของคนพิการแตละประเภทและบุคคล 2. พัฒนาระบบและใหการสนับสนุนสื่อ สิ่งอํานวยความสะดวก บริการ และความชวยเหลืออื่นใด ทางการศึกษาใหสอดคลองกับความตองการจําเปนของคนพิการแตละประเภทในทุกระบบและรูปแบบ การศึกษา 3. สงเสริมใหมีการบูรณาการการใชหลักสูตรในการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการของหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อสงเสริมการมีงานทําของคนพิการ 


2

2

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

4. กําหนดระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการ เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษาการเทียบโอน สําหรับคนพิการแตละประเภทในทุกระบบ และรูปแบบการศึกษา ปจ จุบันสํานัก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั้นพื้นฐาน จัดการศึก ษาสําหรับ นักเรียนที่มีความ ตองการพิเศษ ในรูปแบบระบบโรงเรียน แบงเปน 2 กลุม คือ บุคคลที่มีความพิการ และบุคคลดอยโอกาส โดยจัดโรงเรียนเปน 4 รูปแบบ สําหรับบุคคลที่มีความพิการ จัดบริการในโรงเรียน 3 รูปแบบ คือ 1.โรงเรียนเฉพาะความพิการ เปนโรงเรียนสําหรับบริการแกเด็กพิการคอนขางรุนแรงไมสามารถไป เรียนกับเด็กทั่วไปได รับนักเรียนพิการที่มีความพิการในระดับรุนแรงจากคนพิการในวัยเรียนทั่วประเทศ เขาเรียนแบบประจําในทุกชวงชั้น (ปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย) ไดแกโรงเรียนที่สอนเด็กที่มีความ บกพรองทางการไดยิน โรงเรียนที่สอนเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา โรงเรียนที่สอนเด็ก ที่มีความ บกพรองทางการเห็น โรงเรียนที่สอนเด็กที่มีความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ รวม 43 แหง 2. ศูนยการศึก ษาพิเศษ เปนศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention) ฟนฟู เตรียมความพรอมเด็กพิการทุกประเภท เพื่อการสงตอไปยังโรงเรียนหรือสถานบริการที่เหมาะสมกับเด็ก อีกทั้งบริการวิชาการบริก ารและความชวยเหลืออื่นๆ ซึ่งมีศูนยการศึกษาพิเศษเขตการศึกษาจํานวน 13 แหง ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดจํานวน 63 แหง ครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ 3. โรงเรียนจัดการเรียนรวม 1 เปนโรงเรียนปกติทั่วไปในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่จัด ใหเด็กพิการมีโอกาสเรียนรวมกับเด็กทั่วไป และขณะนี้สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําลัง ทดลองนํารองการจัดการศึกษา แบบเรียนรวม2 ในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทั่วประเทศ เพื่อบริการการศึกษาแกเด็กวัยเรียน ทุกคนใหครอบคลุมทุกพื้นที่ สําหรับบุคคลดอยโอกาส จัดบริการในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห โรงเรียนราชประชานุเคราะห ในรูปแบบโรงเรียนประเภทที่ 4 คือ 4. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห โรงเรียนราชประชานุเคราะห เปนสถานศึกษาที่มีท้ังอยูประจําหรือ ไป-กลับจัดใหกับเด็กดอยโอกาสตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 10 ประเภท ไดแก เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือ เด็ก กําพรา เด็ก ในชุ ม ชนกลุม นอ ย เด็ก ที่ ไดรั บ ผลกระทบจากโรคติดต อรา ยแรงหรื อที่สั ง คมรัง เกีย จ  1

เรียนรวม (Mainstreaming) การจัดการศึกษาใหเด็กพิการเขาไปเรียนในชั้นปกติ เรียนหลักสูตรเดียวกับเด็กปกติ จบหลักสูตรดวย

มาตรฐานเดียวกับเด็กปกติ

2

เรียนรวม ( Inclusion ) การจัดการศึกษาใหผูเรียนที่มีวิธีการเรียนรูที่แตกตางกันบรรลุศักยภาพสูงสุดตามความเหมาะสมของแตละ คนในโรงเรียนเดียวกัน ตามหลักสูตรแตกตางหลากหลายตามศักยภาพในการเรียนรูของผูเรียน 


33เ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ ศษ

3



เด็เด็ กเรกรเรอรนอนเด็เด็ กทีก่ถทีูก่ถทํูกาทํรารยทารุ ณณเด็เด็ กทีก่มที​ีป่มญีปหาเกี ่ยวกั บยาเสพติ ด ดเด็เด็ กในสถานพิ นิจนและคุ มครองเด็ ก กและ ายทารุ ญหาเกี ่ยวกั บยาเสพติ กในสถานพิ ิจและคุ มครองเด็ และ เยาวชน กทีก่อทียู่อธยูุรธกิุรจกิทางเพศ กทีก่ถทีูก่ถบัูกงบัคังบคัใชบใช แรงงาน กยากจน ้ง หมด ยนยน เยาวชนเด็เด็ จทางเพศเด็เด็ แรงงานและเด็ และเด็ กยากจนรวมทั รวมทั ้ง หมด5050โรงเรี โรงเรี จากสถานการณ มในอนาคต านัากนังานคณะกรรมการการศึ กษาขั ้น ้น จากสถานการณแนวโน แนวโน มในอนาคต( 2548 ( 2548– –2568) 2568)(สํ(สํ กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั พื้นพืฐาน เด็เกด็วักยวัเรียยเรีนที ่มีค่มวามต องการพิ เศษเพิ ่มขึ่ม้นขึทุ้นกทุปกปดังดันัง้นนัแผนพั ฒนาการจั ดการศึ กษา ้นฐาน: 2555) : 2555)จะมี จะมี ยนที ีความต องการพิ เศษเพิ ้นแผนพั ฒนาการจั ดการศึ กษา สําสํหรั บคนพิ การหรื อผูอมผูีคมวามต องการพิ เศษที ่สํา่สคัําญคัคืญอคืการส งเสริ มให มีงมานวิ จัยจเพื ่อสร างองค ความรู ดาดนาน าหรั บคนพิ การหรื ีความต องการพิ เศษที อการส งเสริ มให ีงานวิ ัยเพื ่อสร างองค ความรู คนพิ การการเพราะ จัยจเปัยเป นกระบวนการหาความรู อยอายงเป นระบบด วยวิวยวิ ธีกธารทางวิ ทยาศาสตร นฐาน คนพิ เพราะการวิ การวิ นกระบวนการหาความรู างเป นระบบด ีการทางวิ ทยาศาสตรเปเป นฐาน แหแห งการพั ฒนานวั ตกรรมมี ความสํ าคัาญคัญตอตการพั ฒนาประเทศ กทีก่มที​ีค่มวามต องการพิ เศษมี ศักศยภาพและ งการพั ฒนานวั ตกรรมมี ความสํ อการพั ฒนาประเทศเด็เด็ ีความต องการพิ เศษมี ักยภาพและ ความต องการที ่แตกต างหลากหลาย จึงจตึงอตงเรี ยนรู การพั ฒนาลู กศิกษศิยษพยิเพศษแต ละคนด วยการศึ กษาวิ จัยจัย ความต องการที ่แตกต างหลากหลายครูครู องเรี ยนรู การพั ฒนาลู ิเศษแต ละคนด วยการศึ กษาวิ ดวดยตั วครูวครู เองเองเพราะ คือคผูือวผูิเวศษณ ที่จทะสร างอัางอั ศจรรย ใหใเหด็เกด็ทีก่มที​ีค่มวามต องการพิ เศษเศษ วยตั เพราะครูครู ิเศษณ ี่จะสร ศจรรย ีความต องการพิ หนัหนั ง สืงอสืเลอ เล ม นีม้รนีวมผลงานวิ จัยจของครู ผูวผิเูวศษณ อง่องที่ผทีา่ผนการคั ดเลืดเลื อกให นํานเสนอ ้ร วมผลงานวิ ัยของครู ิเศษณรวม รวม 8 8เรื่เรื านการคั อกให ําเสนอ ผลงานวิ จัยจในงาน ชาการนํ าเสนอผลการวิ จัยจทางการศึ กษา( ผลงานวิ ัยในงานสัมสัมนาวิ มมนาวิ ชาการนํ าเสนอผลการวิ ัยทางการศึ กษา(OBEC OBECResearch ResearchSymposium Symposium 2013) างวัางวั นทีน่ ที10่ 10– –1212มิถมิุนถายน ราเคิ ลแกรนด กสีก่ สีกรุ่ กรุ งเทพมหานคร 2013) ระหว ระหว ุนายน2556 2556ณณโรงแรมมิ โรงแรมมิ ราเคิ ลแกรนดหลัหลั งเทพมหานคร เปเป นงานวิ จัยจพั​ัยฒพันาการจั ดการเรี ยนยนสําสํหรั บเด็บเด็ กทีก่มที​ีค่มวามบกพร องทางการเรี ยนรู  2 2เรื่อเรืง่อบกพร องทาง นงานวิ ฒนาการจั ดการเรี าหรั ีความบกพร องทางการเรี ยนรู ง บกพร องทาง การได ยินยิน3 3เรื่อเรืง่อบกพร องทางการเห็ น น1 1เรื่อเรืง่อบกพร องทางสติ ปญปญาที ่ภาวะไม หยุหดยุนิด่งนิ่1ง 1เรื่อเรืง่อและ การได ง บกพร องทางการเห็ ง บกพร องทางสติ ญญาที ่ภาวะไม ง และ เด็เด็ กออติ สติสคติค1 เรื กออติ 1 ่อเรืง่อง






4 ชื่องานวิจัย การศึกษาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหวยชมพู จังหวัดเชียงราย จากการใชเทคนิคแมแบบควบคู กับการเสริมแรงทางบวก พ.ศ. 2555 ชื่อผูวิจัย ณัฏฐณิชา ขันใจ โรงเรียนบานหวยชมพู สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1

หลักการความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาษาเปนสิ่ง ที่มีความสําคัญ ตอชีวิตมนุษยอยางยิ่ง เพราะมนุษยใชภาษาเปนเครื่องมือในการ ติดตอสื่อสารซึ่งกันและกัน การสรางความเขาใจ และความสัมพันธที่ดีตอกัน รวมทั้งเปนเครื่องมือในการ แสวงหาความรูและประสบการณ การพัฒนาความรู การคิดวิเคราะหตลอดจนนําไปใชในการพัฒนาอาชีพ ใหมีความมั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจ การใชภาษาจําเปนตองมี การเรียนรู เพื่อนําไปใชและอนุรัก ษ สืบสานใหคงอยูคูชาติตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในเรื่องการอานซึ่งเปนพื้นฐานในการเรียนรูวิชาการตาง ๆ เปนเครื่องมือสําคัญที่ทําใหบุคคลเติบโตขึ้น เปนบุคคลที่รักการเรียนรู บุคคลที่มีความสามารถในการอา น จะเปนผูที่มีโอกาสประสบความสําเร็จในชีวิตสูงกวาบุคคลที่ไรความสามารถในการอาน การอานจึงเปน เครื่องมือที่นําบุคคลสูความสําเร็จ และมีความสําคัญ อยางยิ่งตอการดํารงชีวิต และความเปนปก แผน ของสังคมไทย คนไทยจึงจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของภาษาไทย ตองทําความเขาใจ และศึกษา หลักเกณฑทางภาษา และฝกฝนใหมีทักษะ ฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพ เพื่อนําไปใช ในการสื่อสาร การเรียนรู การเสริมสรางความเขาใจอันดีตอกัน การสรางความเปนเอกภาพของชาติ (เปลื้อง ณ นคร. 2538 : คํานํา ; กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 ข : 6) การจัด และสงเสริมการเรียนการสอนภาษาไทยในสถานศึกษาเปนหนาที่สําคัญที่ผูบริหารควรสราง ความตระหนักแกครูทุก คนใหเ ห็นความสําคัญของภาษาไทย แมครูที่ส อนสาระการเรียนรูอื่น โดยเปน แบบอยางที่ดีและรวมกันสงเสริมการใชภาษาไทยของนักเรียน มีการคัดเลือกครูดี มีประสิทธิภาพใหสอน ภาษาไทย เชน เขาใจเด็ก อดทน และเสียสละเวลาใหความสําคัญ แกเด็กที่มีปญหาการเรียน รูจักชื่นชม ความดีความสามารถของเด็ก ใหป รากฏบาง สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถใหพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีการวิเคราะหและจัดอัตราเรียนที่เหมาะสมในการสอนภาษาไทยแตละชวงชั้น จัดเวลาสําหรับซอมเสริม และพัฒนาความสามารถของนักเรียนเปนกลุม หรือรายบุคคล มีการสงเสริมใหครูเลือกสรรวิธีสอนและวัด


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ5เศษ

5

ประเมินผลรูปแบบตาง ๆ จัดการเรียนการสอนใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะทางภาษาทุกดานอยางปกติ มิใช เนนการทําขอทดสอบ และเนนนักเรียนเขาประกวดกิจ กรรมภาษาไทยเฉพาะราย มีการบูรณาการการ จั ด การเรี ย นรู ภ าษาไทยร ว มกั บ กิ จ กรรมส ง เสริ ม การอ า นการเขี ย นและการเรี ย นสาระการเรี ย นรู อยางเหมาะสมสรางความรับผิดชอบรวมกันของครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีการสนับสนุนใหครูจัดทํา สื่อเสริม ตาง ๆ สําหรับ นัก เรีย นอยางเหมาะสมและเพียงพอ พัฒ นาสื่อในทองถิ่นใหไดม าตรฐานและ แพรหลาย รวมทั้งสงเสริมนักเรียนใหสามารถผลิตสื่อไดเองดวย เชน การแตงเรื่องประกอบภาพ การจัดทํา หนั ง สื อ ทํ า มื อ เป น ต น และมี ก ารนิ เ ทศภายในสถานศึ ก ษาและพั ฒ นาอย า งเป น ระบบ (สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2550 : 23) ในปจจุบันแนวโนมของการจัดการศึกษาในประเทศไทยมีแนวคิดในการจัดการศึกษาที่คํานึงถึง ความตองการพิเศษของนักเรียนรายบุคคลมากขึ้น โรงเรียนหลายแหงไดพยายามจัดการเรียนการสอน เพื่อ ชวยเหลือเด็กที่มีความตองการพิเศษ เห็นไดจากโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนรวม ซึ่งเปนการจัดการศึกษาที่ สอดคลองกับแนวพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (แกไขเพิ่ม เติม ฉบับ ที่ 2 พ.ศ. 2545) มาตรา 10 วรรค 2 ระบุวา “การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางการพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่ง ไม สามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล หรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิท ธิ และโอกาสไดรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ” ซึ่งการจัดการศึกษาควรมีรูปแบบที่เหมาะสม เนนที่ความสามารถในการ เรียนรู ชวยพัฒนานักเรียนเต็มตามศักยภาพ โดยมีกระบวนการเรียนรูที่ใหนักเรียนมีบทบาทสําคัญ ตาม พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545) มาตรา 22 ระบุ วา “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเอง และถือวาผูเรียน มีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนมีความสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มศักยภาพ” เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเปนเด็กที่มีความตองการพิเศษกลุมหนึ่งที่มีสิทธิไดรับ โอกาสทางการศึกษาเชนเดียวกันกับเด็กทั่วไปตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งเด็กกลุมนี้เปนเด็กกลุมที่พบไดมาก ในระบบโรงเรียนปกติ สถิติที่เชื่อถือไดระบุวา มีเด็กเหลานี้อยูระหวาง 3-5% ในระบบโรงเรียน หากเด็ก กลุมนี้ไมไดรับความชวยเหลือที่ถูกวิธี อาจทําใหเด็กตองออกจากโรงเรียนกลางคัน (ผดุง อารยะวิญู. 2544 : คํานํา) เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรู คือเด็กที่มีระดับสติปญญาอยูในเกณฑปานกลาง หรือสูงกวา ปานกลาง แตมีกระบวนการทํางานของสมองในสวนการจัดการขอมูลที่มีลักษณะแตกตางจากบุคคลทั่วไป


6

6

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ไดแก การรับรู การจําแนกขอมูลที่ไดรับผานประสาทสัมผัส การจัดเก็บขอมูลในหนวยความจํา การแปล ความหมาย ตลอดจน การนําขอมูลมาใช ซึ่งเปนขอจํากัดที่สงผลกระทบตอทักษะการเรียนดานใดดานหนึ่ง หรือหลายดาน ไดแก การอาน การเขียน และการคิ ดคํ า นวณทํ า ให เ ด็ ก มี ผ ลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นไม สอดคลองกับระดับความสามารถที่แทจริง (Crouse. 1996 : 6) ปญ หาการเรียนรูดานการอาน เปนปญหาที่พบมากกวาปญหาการเรียนรูดานอื่น ๆ กลาวคือ อยางนอย ประมาณรอยละ 50 ของกลุมเด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเปนประเภทที่มีปญหาดานการ อาน และ ประมาณรอยละ 20 ของนัก เรียนระดับ ประถมศึก ษามีความเสี่ยงที่จ ะมี ปญ หาการอาน (Spafford & Grosser. 2005 : 48) ปญหาการเรียนรูดานการอานมีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกันในกลุม ของตนเอง (Heterogeneity) เชน ลักษณะความบกพรองดานการประมวลผลในระบบเสียง หรือลักษณะ การตระหนักรับรูโครงสรางทางภาษา ลักษณะความจําระหวางการประมวลผลขอมูลกับการเก็บขอมูลใน ความทรงจําระยะสั้น เปนตน (Siegel. 2003 : 160) มีงานวิจัยจํานวนมากระบุวารอยละ 80 ของเด็กที่มีปญ หาทางการเรียนรูมีปญ หาในการอาน (ผดุง อารยะวิญู. 2544 : 65) ซึ่งหลักการสอนเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานตองใหเด็กเขาใจ จุดมุงหมายสําคัญของการอาน โดยครูเปนผูสงเสริมแนะนําใหเด็กเลือกอานตามความสนใจ จัดใหเด็กได อานในชวงเวลาสั้นๆ เปนประจําทุกวัน มุงเนนความสําเร็จในการอานและครูใหการเสริมแรงประสานงาน กับ ผูปกครอง โดยแจงใหท ราบ ความสําเร็จความกาวหนาในการอาน และเสนอแนะใหผูป กครองจัด กิจกรรมการอานที่บานในลัก ษณะเดียวกัน จัดหาหนังสือในการอานไวมาก ๆ เพื่อใหเด็กไดมีโอกาสฝก ทักษะในการอาน และการเขียน เชน จัดชุมนุม การละคร สโมสรกวี สโมสรนักอาน หนังสือพิมพประจํา หอง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2543 : 20) เทคนิคแมแบบเปนการใหผูรับการฝกไดสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมของตัวแบบทั้ง ทางดานภาษาและทาทาง ซึ่งผูที่จะแสดงพฤติกรรมใหดูอาจเปนผูฝกหรือสมาชิกในกลุมหรืออาจใชตัวแบบ จากเทปบันทึกภาพก็ได การฝกพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมโดยใชวิธีการเสนอตัวแบบจะชวยให ผูรับการฝกเรียนรูไดเร็วกวาการใหคําแนะนํา การอธิบายโดยไมเห็นพฤติกรรมจริง การเสนอตัวแบบจะชวย ใหการฝกพฤติกรรมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นหากใชรวมกับการซักซอมบทบาทของพฤติกรรม แล ะ ก า ร ใหขอมูลยอนกลับ (นภาพร ปรีชามารถ. 2545 : 137)


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ7เศษ

7

ดังนั้นการเรียนรูจากการเลียนแบบจึงเปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหมนุษยสามารถเรียนรูสิ่งตาง ๆ ไดอยาง กวางขวางขึ้น ทั้งแมแบบที่มีชีวิตและแมแบบที่เปนสัญลักษณ สอดคลองกับผลการวิจัยของเฟลมมิงและริค วูด (Fleming and Rickwood. 2001: 2047-2071) ไดศึกษาผลของวีดีโอเกมซึ่งเปนเกมที่ใชความรุนแรง กับเกมที่ไมใชความรุนแรงที่มีตอความกาวราว เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางวีดีโอเกมที่ใชความกาวร าว และอารมณของเด็ก นักเรียนเกรด 3 ถึง เกรด 6 โรงเรียนรัฐบาล จํา นวน 71 คน อายุร ะหวาง 8-12 ป แบงเปนนักเรียนชาย 36 คน และ นักเรียนหญิง 35 คน นักเรียนทุกคนจะไดเลนวีดีโอเกมทั้งที่เปนเกมที่ไม ใชความรุนแรงและเกมที่ใชความรุนแรง ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีอารมณกาวราวเพิ่มขึ้นหลังจากไดเลน เกมที่ใชความรุนแรง และนักเรียนหญิงจะถูกกระตุนอารมณกาวราวจากการเลนวีดีโอเกมไดมากกวา นักเรียนชาย จากสภาพปญหาของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ดังกลาวมานั้น ผูวิจัยจึงเห็นวาการ สอนอานคําจากการใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคํา ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูทั้งกอน และหลังไดรับการเรียนรู จากการใชเทคนิค แมแบบ ควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ซึ่งคาดวาจะเปนแนวทางหนึ่งในการพัฒนาและสงเสริมใหนักเรียนไดอานคํา ได อันเปนพื้นฐานของการอานในระดับสูงตอไป 2.1 วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 2. เพื่อเปรียบเทียบ ความสามารถในการอานคําของนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กอนและหลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย แบบแผนการทดลอง การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง ( Experimental Research) ดําเนินการทดลองตามแบบแผนการ ทดลองที่ผ สมผสานระหวางแบบกลุม เดียวมีก ารวัดกอนและหลัง (One-Group Pre-test Post-test Design) (Amy and Chavat. 2008 : 130-131 ; ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 249) ดังนี้ กลุมทดลอง ทดสอบกอน ทดลอง ทดสอบหลัง 𝜠 𝑇� 𝛸 𝑇� เมื่อ 𝛦 แทน เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรู คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 และคนที่ 5

𝑇� แทน การประเมินความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูกอน


8

8

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

การทดลอง 𝛸 แทน การฝกโดยใชโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก

𝑇� แทน การประเมินความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังการทดลอง ประชากร

ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ที่กําลังศึกษาอยูใน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหวยชมภู จังหวัดเชียงราย ปการศึกษา 2554 จํานวน 6 คน กลุมตัวอยาง /กรณีศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ที่กําลัง ศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบานหวยชมภู จังหวัดเชียงราย ปการศึกษา 2554 จํานวน 6 คน เลือกโดยวิธีเจาะจง ซึ่งคัดแยกโดยใชแบบสํารวจปญหาในการเรียนรู และแบบสํา รวจปญหาในการ เรียนรูเฉพาะดานของผดุง อารยะวิญู และแบบประเมินความสามารถทางเชาวปญญาของกรมสุขภาพจิต มีระดับสติปญญาปกติ ไมมีความพิการซ้ําซอน ไมมีปญหาดานอารมณ พฤติกรรม เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก และแบบทดสอบการอานคํา การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือดําเนินการดังนี้ 1. โปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ออกแบบโปรแกรมการเรียนรู ้ โดยใช้ เทคนิคแม่แบบควบคู่กับการเสริมแรง ดําเนินการสร้ างโปรแกรมการเรียนรู ้ โดยใช้ เทคนิคแม่แบบควบคู่กับการเสริมแรง ให้ ผู ้ เชี�ยวชาญตรวจสอบพิจารณาความถูกต้ องเหมาะสมของเนื � อหา ทําการปรับปรุงแก้ ไข นําโปรแกรมการเรียนรู ้ โดยใช้ เทคนิคแม่แบบควบคู่กับการเสริมแรงทางบวกที�ปรับปรุงแก้ ไขแล้ว ไปทดลองใช้ กับนักเรียนที�มีความบกพร่องทางการเรียนรู ้ ที�ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ9เศษ

9

จากภาพประกอบเปนลําดับขั้นของการสรางโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับ การเสริมแรงทางบวกซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ศึกษาขอมูล และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 2. ออกแบบโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ซึ่งเปน การออกแบบกระบวนการฝกการเรียนรูใหนักเรียนมีความสามารถในการอานคําโดยการสังเกตและทําตาม แมแบบที่กําหนด รวมถึงใหการเสริมแรงทางสังคมควบคูกับการเสริมแรงดวยเบี้ยอรรถกร ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชครู วีดีทัศน และนักเรียนเปนแมแบบ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นนํา เปนการสรางบรรยากาศของความรัก ความอบอุน ความไววางใจ และความ มั่นคงทางอารมณใหกับเด็ก โดยการทักทาย รองเพลง เลานิทาน อานหนังสือใหฟง ยิ้มแยมแจมใสกับเด็ก โอบกอดเด็กดวยความนุมนวลออนโยน ทําการตกลงเงื่อนไขในการฝกการเรียนรู การใหแรงเสริมโดยใหเด็ก เรียงลําดับสิ่งที่ชอบที่ตองการเปนรางวัล ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดําเนินการ ประกอบดวย 3 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 2.1 การอานคําโดยอาศัยตาสังเกตภาพ เปนการอานคําจากบัตรภาพโดยใชครูเปนแมแบบ 2.2 การอานคําโดยใชเสียงพาไป ใชหูวิเคราะหเสียง เปนอานคําจากวีดีทัศนโดยใชวีดีทัศนเปน แมแบบ 2.3 การอานคําโดยอาศัยการจํารูปคํา เปนอานคําจากบัตรคําบัตรภาพโดยใชนักเรียนเปนแมแบบ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุป เปนการสรุปรวมกันถึงผลที่ไดจากการเรียนรู ใหการเสริมแรงทางสังคม โดย นักเรียนจะไดรับคําชมเชยวาเกงและยิ้มใหเกงมากและยิ้มใหและเกงที่สุดและยิ้มให ตามลําดับการอานได ถูกตองของนักเรียน ควบคูกับการเสริมแรงดวยเบี้ยอรรถกร โดยใหดาว และเมื่อมีการสะสมไดครบอาจมี การใหรางวัลตามที่ไดตกลงกันไวตามเงื่อนไขในขั้นนํา 3. ดําเนินการสรางโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก 4. นําโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ใหผูเชี่ยวชาญ ดานการศึกษาพิเศษ จิตวิทยา วัดผล และ การวิจัยทางการศึกษา จํานวน 3 คน ตรวจสอบพิจารณาความ ถูกตองเหมาะสมของเนื้อหา โดยใช IOC ในระหวางวันที่ 1-25 เมษายน 2554 ไดคา IOC เทากับ 1.0 แสดง วาโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวกมีความเที่ยงตรงดานโครงสราง เนื้อหา หลังจากนั้น นําคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการตรวจพิจารณาแลวทําการปรับปรุงแกไข โดยได ทําการปรับปรุงรูปภาพให ชัดเจนยิ่งขึ้น การเรียงลําดับ ขั้นตอนการสอน จากงายไปสูยาก และการเพิ่ม กิจกรรมใหมีความหลากหลาย เพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสฝกฝนเนื้อหาที่ไดเรียนไปแลว


10

10

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

5. นําโปรแกรมการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวกที่ปรับปรุงแกไข แลวไปทดลองใชกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนครบุรีวิทยา ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 5 คน เพื่อตรวจสอบความเปนไปไดในการดําเนินการจริง ดานเวลา ปญหาและอุปสรรคอื่น ๆ ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2554 พบวานักเรียนที่มีความบกพรองทางการ เรียนรู สามารถปฏิบัติกิจกรรมในโปรแกรมการเรียนรู โดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก ไดครบถวนทุกกิจกรรม ในเวลาที่กําหนดไดจริง ไมพบปญหา และอุปสรรคในการทดลองใช 2. แบบทดสอบการอานคํา ออกแบบแบบทดสอบการอ่านคํา ดําเนินการสร้ างแบบทดสอบการอ่านคํา ให้ ผู ้ เชี�ยวชาญตรวจสอบพิจารณาความถูกต้ องเหมาะสมของเนื � อหา

จากภาพประกอบเปนลําดับขั้นของการสรางแบบทดสอบการอานคําซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ศึกษาขอมูล และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแบบทดสอบการอานคํา 2. ออกแบบแบบทดสอบการอานคําเปนลักษณะบัตรคําทั้งหมด 20 คํา และตั้งเกณฑการให คะแนนการอานคํา การใหคะแนนคําที่นักเรียนอานไดถูกตอง อานถูกตองแตอานชา ไมมั่นใจแตอานได ถูกตองหรือแกไขคําที่อานผิดดวยตนเองจะได 1 คะแนน และคําที่อานไมได ออกเสียงผิด อานเพิม่ คํา อาน สลับตัวอักษรหรือไมออกเสียงจะได 0 คะแนน เกณฑการตัดสิน การนําคะแนนการอานมาแปลผล เพื่อประเมินความสามารถในการอานคําจาก คะแนนเต็ม 20 คะแนน 16 - 20 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับดีมาก 14 - 15 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูใ นระดับดี 12 - 13 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับปานกลาง 10 - 11 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับผานเกณฑขั้นต่ํา 0 - 9 คะแนน หมายถึง ความสามารถในการอานคําอยูในระดับที่ตองแกไขปรับปรุง 3. ดําเนินการสรางแบบทดสอบการอานคํา


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ11เศษ

11

4. นําแบบทดสอบการอานคําใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ตรวจสอบพิจารณาความถูกตอง เหมาะสมของเนื้อหา โดยใช IOC ในระหวางวันที่ 16-30 มิถุนายน 2554 ไดคา IOC เทากับ 1.0 แสดงวา แบบทดสอบการอานคํามีความเทีย่ งตรงดานโครงสราง และเนื้อหา สามารถนาไปใชไดจริง การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ทําหนัง สือ เพื่อขออนุญ าตผูอํา นวยการโรงเรียนบานหวยชมภู และทํา หนัง สือขออนุญ าต ผูปกครอง เพื่อดําเนินการทดลองกับกลุม ตัวอยาง ซึ่ง เปนนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 2. นําแบบประเมินความสามารถในการอานคําไปทดสอบนักเรียนกลุมตัวอยางกอนสอน (Pretest) โดยทดสอบเปนรายบุคคล เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยใหนักเรียนอานคําในบัตรคํา 3. ดําเนินการทดลอง ผูวิจัยเปนผูดําเนินการสอนดวยตนเอง โดยปฏิบัติตาม โปรแกรมการจัดการ เรียนรูที่จัดทําขึ้น ใชเวลาในการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 ระหวางวันที่ 23 มกราคม - 2 มีนาคม พ.ศ. 2555 สัปดาหละ 5 วัน รวมทั้งสิ้น 30 ครั้ง ตามกําหนดการจัดการเรียนรู การวิเคราะหขอมูล 1. สถิติที่ใชในการวิเคราะหคุณภาพของเครื่องมือ 1.1 การวิเคราะหความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยดัชนีความสอดคลองระหวางขอทดสอบกับ พฤติกรรมที่ตองการวัด (Item-Objective Congruency Index) คํานวณจากสูตร (Waltz, Strickland and Lenz. 2005 : 180-181 ; พวงรัตน ทวีรัตน. 2540 : 117) ดังนี้ IOC =

∑� �

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอทดสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ∑R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด 𝑁 แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด 2. สถิติบรรยาย/สถิติเชิงพรรณา (Descriptive statistics) 2.1 รอยละ (Percentage) เปนการเปรียบเทียบความถี่ หรือจํานวนที่ตองการกับความถี่หรือ

จํานวนทั้งหมดที่เทียบเปน 100 หาคารอยละจากสูตร (Healey. 1993 : 23-26) ตอไปนี้ �

P = x 100 �

เมื่อ P แทน คารอยละ f แทน ความถี่ที่ตองการแปลงใหเปนคารอยละ


12

12

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

N แทน จํานวนความถี่ทั้งหมด 2.2 มัธยฐาน (Median) เปนคาคะแนนที่อยูตรงกลางที่แบงคะแนนออกเปนสองกลุมเทา ๆ กันทํา โดยนําคะแนนที่ไดมาเรียงตามลําดับจากมากไปนอยหรือจากนอยไปหามาก เขียนแทนดวย Mdn คํานวณ ไดจากสูตร (Devore and Peck. 2001 : 94) Mdn = 𝑙𝑟𝑙 + �

เมื่อ Mdn แทน คามัธยฐาน lrl i N fb

.��� ∑ �� ��

�𝑖

แทน ขีดจากัดลางที่แทจริงของชั้นที่มีมัธยฐานอยู แทน ความกวางของอันตรภาคชั้น แทน จํานวนขอมูลทั้งหมด แทน ผลรวมของความถี่สะสมใตชั้นที่มีมัธยฐานอยู

fw

แทน ความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู 2.3 คาพิสัยระหวางควอไทล (Interquartile Range) คํานวณไดจากสูตร (Healey. 1993 : 97-99 ; Jame D. Wynne. 1982 : 63-64) 𝐼𝑄𝑅 = 𝑄� − 𝑄� 𝑄� = 𝑙𝑟𝑙 + �

𝑄�

�� .���� ∑ ��

𝑄� = 𝑙𝑟𝑙 + �

เมื่อ 𝐼𝑄𝑅 แทน คาพิสัยควอไทล

.���� ∑ �� ��

�𝑖

�𝑖

แทน คาที่ตําแหนง 75% หรือจํานวน 1/3 ของจํานวนขอมูลที่มี

𝑄� แทน คาที่ตําแหนง 25% หรือจํานวน 1/4 ของจํานวนขอมูลที่มี lrl แทน ขีดจํากัดลางที่แทจริงของชั้นที่ควอไทลอยู i แทน ความกวางของอันตรภาคชั้น

N fb fw

แทน จํานวนขอมูลทั้งหมด แทน ความถี่สะสมของชั้นที่ต่ํากวาชั้นที่ควอไทลอยู แทน ความถี่ของชั้นที่ควอไทลอยู


13

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ13เศษ

3. สถิติที่ใชทดสอบสมมุติฐาน 3.1 การศึกษาความสามารถ ในการอานคํา ทําการทดสอบระดับความสามารถโดยใชสถิติ The sign test for Median : One Sample ในการทดสอบโดยใชสูตร คาคะแนนมัธยฐานจากการทดสอบ คํานวณไดจากสูตร (ไพฑูรย โพธิสาร. 2554 : 57-60) �

𝑃 − 𝑣𝑎𝑙𝑢𝑒 = 𝑃 �𝑄� ≤ 𝑡 | 𝑃 = � �

หรือ 𝑃 − 𝑣𝑎𝑙𝑢𝑒 = 𝑃 �𝑄� ≤ 𝑡 | 𝑃 = � เมื่อ 𝑃[𝑋 ≤ 𝑀� ] = 𝑃[𝑋 ≥ 𝑀� ] =

� �

… … … (1)

… … … (2)

𝐻� : 𝑀 ≥ 𝑀� 𝐻� ∶ 𝑀 ≤ 𝑀� 𝐻� ∶ 𝑀 = 𝑀� 𝐻� : 𝑀 < 𝑀� ; หรือ 𝐻� ∶ 𝑀 > 𝑀� ; หรือ 𝐻� ∶ 𝑀 ≠ 𝑀� P – value แทน คาความนาจะเปน ซึ่งคํานวณไดที่จะปฏิเสธ 𝐻� ∶ 𝑀 = 𝑀�

หรือมีคา α ที่กําหนดไว M แทน คามัธยฐานที่คํานวณได

𝑀� แทน คามัธยฐานที่เปนเกณฑ/ที่กําหนดไว X แทน คาสังเกตที่วัดไดของชุดขอมูล

เมื่อ

t แทน จานวนของคาสังเกต (X) ที่มีคามากกวาหรือนอยกวา 𝑀�

(1) 𝐻� : 𝑀 < 𝑀� ; จะใชคา t ซึ่งนับจากที่ x มากกวา 𝑀� (𝑄� ) และหาก 𝑋 − 𝑀� = 0 จะใหเปน +

(2) 𝐻� : 𝑀 > 𝑀� ; จะใชคา t ซึ่งนับจากที่ x นอยกวา 𝑀� (𝑄� ) และหาก 𝑋 − 𝑀� = 0 จะใหเปน −

(3) 𝐻� : 𝑀 ≠ 𝑀� ; จะใชคา t ซึ่งนับจากที่ x นอยกวา 𝑀� (𝑄� ) โดยคิด P – value x 2

และหาก 𝑋 − 𝑀� = 0 จะใหเปน − 3.2 การเปรียบเทียบความสามารถ ในการอานคํา ของนักเรียนที่มีความบกพรองทาง การเรียนรู กอน และ หลังไดรับการเรียนรู โดยใชเทคนิคแมแบบ ควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก ทําการเปรียบเทียบ โดยใชวิธีทดสอบ แบบ The Wilcoxon Matched-Pairs Signed-Ranks Test คํานวณไดจากสูตร (Howell. 2008 : 503-507 ; นิภา ศรีไพโรจน. 2524 : 92) 𝐷 =𝑌−𝑋


14

14

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

เมื่อ D แทน คาความแตกตางระหวางคะแนน X และ Y กอน และหลังการทดลอง X แทน ความสามารถในการอานคํา กอนการทดลอง Y แทน ความสามารถในการอานคํา หลังการทดลอง หาความแตกตางของขอมูลแตละคูกํากับดวยเครื่องหมายบวก หรือลบ จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาจัดลําดับ จากนอยไปหามาก โดยใหคาที่นอยที่สุดอยูในอันดับที่ 1 (จัดอันดับโดยไมคิดเครื่องหมาย) หาผลรวมของ อันดับที่มีเครื่องหมายบวก และผลรวมของอันดับที่มีเครื่องลบ คาของผลรวมของอันดับที่มีคานอยกวาเปน คา T ที่จะทําการทดสอบ คํานวณไดจากสูตร (Gibbons, Jean Bickinson.1971: 109) 𝐸 (𝑇 ) = 𝑆� =

�(���)

� ��(���)(����) ��

เมื่อ 𝐸 (𝑇) แทน คาเฉลี่ยของผลรวมอันดับที่นอยกวา 𝑁

แทน จํานวนนักเรียนที่มคี วามบกพรองทางการเรียนรู

𝑆� แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.3 ผลการศึกษา 1. ศึกษาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับ

การเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก มีผลการวิเคราะหขอมูล ดังตาราง 1-2 ตาราง 1 จํานวนคะแนน คามัธยฐาน และคาพิสัยควอไทลความสามารถในการอานคําของนักเรียนทีม่ ีความ บกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก คนที่ 1 2 3 4 5 6 𝑀𝑑𝑛 𝐼𝑄𝑅

คะแนนกอนเรียน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) 3 0 7 9 7 0 5 7

ระดับ แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง แกไขปรับปรุง

คะแนนกอนเรียน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) 18 17 20 19 18 15 18 2

ระดับ ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ15เศษ

15

จากตาราง 1 พบวาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโ ดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับ การเสริมแรงทางบวก โดยกอนสอนนัก เรียนมี คะแนนการอานคํา ระหวาง 0 - 9 คะแนน คามัธยฐานเทากับ 5 และคาพิสัยควอไทลเ ทากับ 7 ซึ่ง มี ความสามารถในการอานคําระดับ แกไขปรับ ปรุง และหลัง จากการสอน นักเรียนมีคะแนนการอานคํา ระหวาง 15 - 20 คะแนน คามัธยฐานเทากับ 18 และคาพิสัยควอไทลเทากับ 2 ความสามารถในการอานคํา อยูในระดับดีมาก ตาราง 2 การเปรีย บเทีย บคามั ธยฐานที่คํา นวณไดกับ ค ามัธยฐานที่ เ ปนเกณฑร ะดับ ดี ของ ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใช เทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก เครื่องหมาย คะแนนหลังเรียน คามัธยฐาน P - value (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ที่เปนเกณฑระดับดี + 18 14-15 + 0.0156 17 + 20 + 19 + 18 + 15 + 18 >=14 6 0 2 จากตาราง 2 พบวา คามัธยฐานของความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการ เรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก แตกตางจาก นักเรียน คนที่ 1 2 3 4 5 6 𝑀𝑑𝑛 𝐼𝑄𝑅

คามัธยฐานทีเ่ ปน เกณฑระดับดี (ระหวาง 14 - 15 คะแนน) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 จัดวา อยูในระดับดี ซึ่งสอดคลอง กับสมมติฐานขอที่ 1 ที่ตั้งไววา ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับดี 1. การเปรียบเทียบความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กอน และหลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก มีผลการวิเคราะห ขอมูล ดังตาราง 3


16

16

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ตาราง 3 การเปรียบเทียบความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กอนและหลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก คะแนนความสามารถ ในการอานคํา นักเรียน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) คนที่ กอน X หลัง Y 1 3 18 2 0 17 3 7 20 4 9 19 5 7 18 6 0 15 รวม * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5

ผลตาง ของ คะแนน D=Y-X 15 17 13 10 11 15

ลําดับที่ของ ความ แตกตาง 4.5 6 3 1 2 4.5

ลําดับที่ตาม เครื่องหมาย + + 4.5 +6 +3 +1 +2 + 4.5 T� = 21

T 0∗

T� = 0

จากตาราง 3 พบวา ความสามารถในการอานคําของนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโดย ใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก สูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 2 ที่วาความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก เพิ่มขึ้น 2.4 สรุปผลและการวิจารณ 1. ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ก อ นการสอนโดย ใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับแกไขปรับปรุง หลังจากไดรับการเรียนรู โดย ใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับดี สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวในขอ 1 ที่วา ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการเรียนรู โดยใช เทคนิคแมแบบควบคูกับการเสริมแรงทางบวก อยูในระดับดี ปจจัยที่สงผลดังกลาว อาจเนื่องจากการสอน โดยผสมผสานเทคนิคหลายเทคนิคนี้ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีลําดับขั้นตอน เพื่อสรางให นักเรียนเกิดความรู ความเขาใจ เปนวิธีการสอนที่กระตุน และสงเสริมใหนักเรียนเรียนรูโดยผานประสาท สัมผัสรับรูหลายชองทางพรอม ๆ กัน โดยการฟง การมองเห็น การเชื่อมโยงเสียงของแมแบบกับตัวอักษร นอกจากนี้ โมงิ (2553 : 74-76) กลาววา การรับรูจากประสาทสัมผัสหลายดานประกอบกัน คือการใช


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ17เศษ

17

ประสาทสัมผัสหลาย ๆ ดานรวมกัน จะเปนการกระตุนสมองสวนที่เรียกวา คอรเทกซ (Cortex) ที่ทําหนาที่ ในการบูร ณาการสิ่งที่เกี่ยวกับการรับรูทั้งหมด ซึ่งเปนการเพิ่มโอกาสใหสามารถจดจําไดดีขึ้น ทําใหเกิด ความจําที่แมนยํา การที่นักเรียนไดเรียนรูโดยเริ่มตนจาก แมแบบ และทักษะพื้นฐานที่จําเปนสํา หรับการ เรียนอานคํา การทบทวนความรูเ ดิม หรือเนื้อหาที่เ รียนไปแลว ซึ่งเปนการชวยใหนักเรียนไดเ พิ่มความ คล อ งแคล ว ในการใช ทั ก ษะ และเน น ย้ํ า ความรู ที่ ไ ด เ รี ย นไปแล ว การที่ นั ก เรี ย นได รั บ รู ว า ตนเองมี ความสามารถในการอานเพิ่ม มากขึ้น จากผลบันทึก การอานที่ส ะทอนถึงความสํา เร็จ ในการอาน ทําให นักเรียนมีประสบการณที่ดีในการอานมากขึ้น การใหการเสริมแรงทางบวกสงผลตอแรงจูงใจ โดยเฉพาะ แรงจูงใจภายใน ตามที่ เบเกอร ; และวิก ฟลด (Wigfield. 2000: 143 ; citing Baker; & Wigfield. 1999) สปาฟฟอรด; และกรอสเซอร (Spafford; & Grosser. 2005: 199) และศรียา นิยมธรรม ( 2549: 67-68) เห็นสอดคลองกันวา การสงเสริมใหเด็กรับรู และมีความเชื่อในความสามารถของตนเองในทางบวก จะทําใหเด็กเกิดแรงจูงใจภายใน ซึ่งจะกระตุนใหเด็กอานหนังสือ และใชการอานเชื่อมโยงกับการเรียนรูใน เรื่องอื่น ๆ จนกระทั่งเด็กสามารถกําหนดทิศทางการอานดวยตนเองไดในอนาคต 2. ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หลังจากไดรับการ เรียนรู โดย ใชเทคนิค แมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก เพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลองกับ สมมติฐานที่ตั้งไวในขอ 2 ที่วา ความสามารถในการอานคําของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการเรียนรู หลังจาก ไดรับการเรียนรูโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวก เพิ่มขึ้น ปจจัยที่สงผลดังกลาว อาจเนื่องจาก กอนเริ่มกิจกรรมการสอน ผูสอนใหนักเรียนทํากิจกรรม เล็ก ๆ นอย ๆ เพื่อสรางแรงจูงใจในการเรียน อีกทั้ง กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชเทคนิคแมแบบควบคูกับการ เสริมแรงทางบวกมีความแปลกใหม นาสนใจ และ กระตุนใหนักเรียนไดใชประสาทสัมผัสรับรูในการเรียน หลายชองทาง ไดแก การฟง การมองเห็น และการออกเสียง ทําใหนักเรียนสนุกสนาน ตื่นเตนในกิจกรรม การเรียนรู ซึ่งเปนการเสริมแรงจูงใจในการเรียนอาน การออกเสียงซ้ํา ๆ ตามแมแบบวีดีทัศน ตามแมแบบที่ เปนครู และตามแมแบบที่เปนเพื่อนนักเรียนดวยกัน ซึ่งนักเรียนไมเคยรวมกิจกรรมเชนนี้มากอน ทําใหน า ตื่นเตน สนใจ และตั้งใจเรียนรูจากแมแบบ ซึ่งสอดคลองกับประสาท อิศรปรีดา (2547: 331 - 334) ที่ กลาววา การเสนอเนื้อหาแปลกใหม และวิธีก ารที่ห ลากหลายเปนวิธีก ารชวยสรางแรงจูง ใจ วิธีห นึ่ง นอกจากนั้นในการเสริมแรงทางบวกดวยเบี้ยอรรถกร นักเรียนยังสามารถเลือกเรียงลําดับสิ่งที่ตนเองชอบ และแลกเปนรางวัลไดตามเงื่อนไข เมื่อสามารถอานไดอยางถูกตอง และสะสมดาวไดครบแลว ซึ่งเปนไปตาม แนวคิดของการเสริมแรงทางบวก ของ แคซดิน (Kazdin. 1982: 106) ไดเสนอหลักการใหการเสริมแรง ทางบวกแกเด็กวา ตัวเสริมแรงจะมีคุณภาพมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความพอใจของเด็กวาสามารถรับรู


18

18

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

เงื่อนไขไดม ากนอ ยเพียงใดถาเด็ก รั บ รูเ งื่อนไขไดม ากจะทํา ใหตั วเสริม แรงมี ป ระสิ ท ธิภาพมากในการ เสริมสรางพฤติกรรมเปาหมาย และ มีผลทําใหพฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นสม่ําเสมอ สวนคาลิช (Kalish. 1981 : 61-72) เชื่อวาพื้นฐานทางการเรียนรูนั้น ขึ้นอยูกับรางวัลที่ใหทันทีและมีแนวโนมใหเด็กเรียนรูและทํา พฤติกรรมนั้นซ้ําอีก 2.5 ขอเสนอแนะ 1. ผูสอนตองเนนการออกเสียง จากแมแบบที่ชัดเจน เพื่อใหนักเรียนรับรูลักษณะของเสียง และ การใชอวัยวะในการออกเสียง 2. ผูสอนตองทบทวนความรู และทักษะเดิมที่นักเรียนเรียนไปแลว กอนสอนเนื้อหาใหมทุกครั้ง 3. ผูสอนตองใหนักเรียนทุกคนมีโอกาสใชประสาทสัมผัสรับรูต างๆ ในการเรียนเนื้อหา และการ ฝกฝนตามแมแบบ ซึ่งการใชประสาทสัมผัสของนักเรียนตองเปนการใชประสาทสัมผัสรับรูอยางนอย 3 ดาน พรอม ๆ กัน และใชสื่อแมแบบอยางนอย 3 ชนิดขึ้นไป 4. กิจกรรมการเรียนการสอนควรใหนักเรียนมีสวนรวมในการทากิจกรรม เชน การแสดงความ คิดเห็น การทดลองปฏิบัติ และการสาธิตเปนแมแบบดวยตนเอง เพื่อสรางความมั่นใจ และกระตุนแรงจูงใจ ในการอานคํามากยิ่งขึ้น 3. บรรณานุกรม/เอกสารอางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). แนวทางการจัดการเรียนรวมในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว. _______. (2545ข). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คูมือ การจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคา และพัสดุภัณฑ. ศรียา นิยมธรรม. (2549). ปญหายุงยากทางการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : แวนแกว. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากับการแกปญหาอานไมออกเขียนไมได. กรุงเทพฯ : สํานัก วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. สมพร สุทัศนีย ม.ร.ว. (2522 ). การศึกษาเรื่องผลของการใชแรงเสริมทางสังคมตอพฤติกรรมเงียบ ขรึมผิดปรกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 . วิทยานิพนธ ศศ.ม.(จิตวิทยา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. อัดสําเนา.


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ19เศษ

19

สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. (2524). การปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ______. (2536). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ______. (2543). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุประวีณ ทัดภูธร. (2548). ผลของการใชเทคนิคการสอนโดยการสรางผังโยงความสัมพันธความหมาย รูปแมงมุมควบคูกับการใหขอมูลยอนกลับที่มีตอทักษะการอานเพื่อความเขาใจของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนออเงิน ( ออน-เหม อนุสรณ )เขตสายไหมกรุงเทพฯ. ปริญญานิพนธ กศม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สุจริต เพียรชอบ. (2523). วิธีการสอนอานภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช. ผองพรรณ เกิดพิทักษ. (2536). การปรับพฤติกรรมเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการแนะแนวและ จิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไพฑูรย โพธิสาร. (2552). การใชสถิตินอนพาราเมตริกทดสอบคามัธยฐานกับเกณฑ The sign test for median : one sample. ครุสาร. ปที่ 3 (ฉบับที่ 1). 57-60. พวงรัตน ทวีรัตน. 2540. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒประสานมิตร. โมงิ, เคนอิจิโร. (2553). ความลับของสมอง เรียนอยางไรใหสมองมีความสุข. แปลโดยบัณฑิต โรจนอารยานนท. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสรมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุน). แมนมาส ชวลิต.( 2534 ). การพัฒนาการอานภาษาไทย หนวยที่ 1 -7. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นิภา ศรีไพโรจน. (2524). สถิติประยุกตทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพรุงเรืองธรรม. นภาพร ปรีชามารถ. (2545). จิตวิทยาการปรับพฤติกรรมในชั้นเรียน. ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา และ การแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. บันลือ พฤกษะวัน. (2524). หลักสูตรการบูรณาการทางการสอน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.


20

20

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ประทีป จินงี่. (2540). เอกสารประกอบการสอนวิชา : การวิเคราะหพฤติกรรมและการปรับ พฤติกรรม. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ประเทือง ภูมิภัทราคม. (2540). การปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีการประยุกต. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ประสาท อิศรปรีดา. (2547). จิตวิทยาการศึกษา. ขอนแกน: คลังนานาวิทยา. เปลื้อง ณ นคร. (2538). ศิลปะแหงการอาน. กรุงเทพฯ : ขาวฟาง. ผดุง อารยะวิญู. (2544). เด็กที่มีปญหาในการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แวนแกว. Baker, L.; & Wigfield, A. (1999, October - December). Dimensions of Children’s Motivation for Reading and Their Relations to Reading Activity and Reading Achievement. Reading Research Quarterly. 34(4): 452 - 477. Bandura, Albert. (1986). Social Learning Theory. Englewood Cliffs. NJ : Prentice Hall. ______. (1989). Social Cognitive Theory. Annals of Child Development, 6, p. 1-6 Crouse, Scott L. (1996). LD Self-Advocacy Manual. Retrieved November 21, 2005, from http://www.ldpride.net/selfadvocacy.htm#Table%20of%20Contents Devore Jay and Peck Roxy. (2001). Statistic The Exploration and Analysis of Data. 4�� ed. Australia : Duxbury. Fleming, Michele. , Rickwood, Debra J. (2001, October). Effect of Violent Versus Nonviolent Video Games on Children’s Arousal, Aggressive Mood, and Positive Mood. Journal of Applied Social Psychology, 31 (10 ) : 2047-2071. Healey, Joseph F. (1993). Statistics a tool for social research. 3�� ed. California :

Wadsworth. Howell, David C. (2008). Fundamental Statistics for the Behavioral Sciences. United States of America : Thomson.

6��

ed.

Jame D. Wynne. (1982). Learning Statistics a commom sense approach. New York : Macmillan Publishing. Kalish, Harry I. (1981). From Behavior Science to Behavior Modification. New York : McGraw-Hill Brooks Cole. Kazdin, Alan E. Behavior Modification in Applied Setting. _Illinois : Dorsy Press, 1977. ______. The Token Economy : A Review and Evaluation. New York : Plenum Press, 1980.


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ21เศษ

21

Lefrancois, Guy R. (2000). Psychology for Teaching: a dear is not a choirboy. 10�� ed.

Belmont, Calif.: Wadsworth/Thomson Learning. Patterson. (1980). Theories of Counseling and Psychotherapy. New York : Harper &

Row. Siegel, Linda S. (2003). Basic Cognitive Processes and Reading Disabilities. In Handbook of Learning Disabilities. Edited by Swanson, H. Lee; Harris, Karen R.;& Graham, Steve. pp. 158 - 181. New York : Guilford. Spafford, Carol A.; & Grosser, George S. (2005). Dyslexia and Reading Difficulties : Research and Resource Guide for Working with All Struggling Readers. 2nd ed. Boston: Pearson Education.


22 ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนายุทธศาสตรการจัดการเรียนรูดานการอานโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัส และแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสรางความสามารถ ความสนใจและความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูระดับ ประถมศึกษา ชื่อผูวิจัย นางฉวีวรรณ โยคิน ความสําคัญและที่มาของปญหา จากผลการสํารวจนักเรียนที่ความบกพรองทางการเรียนรูโดยคณะกรรมการการคัดเลือกและ จําแนกความพิการเพื่อการศึกษาของไทย คัดกรองนักเรียนกลุมเสี่ยงจํานวน ๙,๘๒๘ โรง ซึ่งเปน ๑ ใน ๓ ของโรงเรียนระดับประถมศึกษาทั่วประเทศ พบนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูที่เรียนรวมในชั้น เรียนปกติ จํานวน ๑๕๓,๓๕๔ คน พบปญหาการอานมากที่สุดและจากการศึกษาและสํารวจนักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเรียนรูของผูวิจัยและคณะทํางาน ไดแก ครูโรงเรียนแกนนําจัดการเรียนรวม และ บุคลากรศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดหนองคาย โดยใชแบบคัดแยกเด็กที่มีความบกพรองทางการ เรียนรู ของสพฐ. และแบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพรองทางการเรียนรูและออทิสซึม [KUSSI Rating Scales: ADHD/LD/Autism (PDDs)] คัดแยกนักเรียน โรงเรียนแกนนําจัดการเรียนรวมสังกัด สํานักงานเขตพื้นการศึกษาหนองคาย เขต ๑ เขต ๒ และเขต ๓ พบ นักเรียนมีความบกพรองทางการ เรียนรู มีจํานวนมากที่สุด และพบวามีปญหาดานการอานมากที่สุด อีก ดวย(ศูนยการศึกษาพิเ ศษประจํา จังหวัดหนองคาย, ๒๕๕๒) ซึ่งทักษะการอานเปนทักษะพื้นฐานที่มีความสําคัญและมีคุณคายิง่ ตอการเรียนรู ในสาระอื่นๆ ฉะนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูจะตองแกไข ปญ หาอยางเรง ดวนถาปลอยไวนานอาจจะกอใหเ กิด อุป สรรคตอการเรียนรูในสาระอื่นและสง ผลต อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติได ดังนั้นผูวิจัย จึงไดทําการศึกษายุทธศาสตรในการจัดการเรียนรูดาน การอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระดับประถมศึกษา เพื่อนํามาใชในการแกปญหา และชวยเหลือ นัก เรียนให มีความสามารถในการอานดีขึ้นและเพื่อ ยกระดับ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนใน ระดับชาติตอไป

วัตถุประสงค ๑. เพื่อพัฒ นายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูโดยการบูร ณาการแนวคิดพหุสัม ผัสและแนวคิด ภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสรางความสามารถ ความสนใจและความคงทนใน การอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระดับประถมศึกษา


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ23 เศษ

23

๒. เพื่อศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัสและ แนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดาน การอาน ระดับประถมศึกษา ดังนี้ ๒.๑ ศึกษาความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ๒.๒ ศึกษาความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ๒.๓ ศึกษาความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยและพัฒนา มีวิธดี ําเนินการวิจัย ๓ ระยะ ดังนี้ ระยะที่ ๑ การศึกษาวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน และสภาพปญหาการจัดการการเรียนรูดานการ อานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู กลุมเปาหมาย ไดแก กลุมที่ ๑ ครูผูสอนนักเรียนที่ มีความบกพรองทางการเรียนรู ที่มีประสบการณในการสอน นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูไมนอยกวา ๓ ป และไดรับแตงตั้งเปนครูการศึกษาพิเศษ หรือ ผานการอบรมไดรับวุฒิบัตร ครูการศึกษาพิเศษโดยมีจํานวนชั่วโมงอบรมไมนอยกวา ๒๐๐ ชั่วโมง สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย ปการศึกษา ๒๕๕๔ จํานวน ๔๗ คน กลุมที่ ๒ ครูชํานาญการพิเศษสาขาการศึก ษาพิเศษ ที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเ ศษระดับ ปริญญาโทขึ้นไป สัง กัดสํานักงานเขตพื้นที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาอุดรธานี และขอนแกน ปก ารศึก ษา ๒๕๕๔ จํานวน ๙ คน กลุมที่ ๓ ผูปกครองนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ในเขตพื้นที่ใหบริการของ โรงเรียนบานทาสําราญ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๕๔ จํานวน ๓๘ คน เครื่องมือที่ใช ไดแก แบบสั ม ภาษณ สรางและตรวจสอบคุณภาพ ใหเปนไปตามหลักทาง วิชาการโดยแบบสัมภาษณที่ดีมีคุณภาพ มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) การเก็บรวบรวมขอมูล กลุมที่ ๑ ใชการสัมภาษณเชิงลึก กลุมที่ ๒ ใชการสนทนากลุม และ กลุมที่ ๓ ใชการสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหขอมูล เชิงคุณภาพโดยการวิเคราะหขอมูล แบบอุปนัย (Analytic Induction) ใชการแยกขอมูลอยางเปนระบบ ตีความหมาย และสรางขอสรุปจากขอมูลที่ไดจาก การสัมภาษณ


24

24

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ระยะที่ ๒ การพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน กําหนดกระบวนการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน แบงออกเปน ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที๑่ การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานและสภาพปญหาการจัดการการเรียนรูจากระยะ ๑ ขั้นตอนที๒่ การกําหนดยุทธศาสตรในการจัดการเรียนรูดานการอาน ซึ่ง ไดองคประกอบของ ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ๔ องคประกอบ คือ องค ป ระกอบที่ ๑ ด า นกระบวนการจั ด การการเรี ย นรู ด า นการอ า นโดยการ บูรณาการแนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติ องคประกอบที่ ๒ ดานการมีสวนรวมของผูปกครอง ไดแก การมีสวนรวมที่บานและ การมีสวนรวมที่โรงเรียน องค ป ระกอบที่ ๓ ด า นการจั ด ทํ า แผนการจั ด การศึ ก ษาเฉพาะบุ ค คล (Individualized Education Program : IEP) องคป ระกอบที่ ๔ ด านการจั ดสภาพแวดลอ ม ได แก การจัดสภาพแวดล อมทั้ ง ภายในและภายนอกหองเรียน ขั้นตอนที่๓ การตรวจสอบยุทธศาสตร โดยผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาพิเ ศษจํานวน ๕ ทาน ไดแก ๑) รองศาสตราจารย ดร.อัญชลี สารรัตนะ ประธานสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ มหาวิท ยาลัยขอนแกน ๒) ดร. สุจินดา ผองอัก ษร ที่ป รึก ษาดานการศึก ษาพิเ ศษและผูดอยโอกาส ๓) รองศาสตราจารย ดร.นิตย บุหงามงคล อาจารยพิเศษภาควิชาหลักสูตรและการสอนการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยขอนแกน ๔) รองศาสตราจารย ดร.ดารณี ศักดิ์ศิริผล ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา การศึก ษาพิเ ศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโ รฒประสานมิตร ๕) ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุฬามาศ จันทรศรีสุคต อาจารยคณะครุศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี ระยะที่ ๓ ศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรู ประชากร และกลุมตัวอยาง ประชากร คือ นักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๔ มีอายุเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ป มี ความพรอมในการเรียนและไมมีปญหาเรื่องความสัมพันธระหวางการใชกลามเนื้อมือและสายตา ที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอานในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต ๑ และไมมีความบกพรองอื่นซอนไดแก ความบกพรองทางสติปญ ญา ความบกพรองทางการเห็น ความบกพรองทางการไดยิน และความบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ มีอายุเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ป มี ความพรอมในการเรียนและไมมีปญหาเรื่องความสัมพันธระหวางการใชกลามเนื้อมือและสายตาซึ่งอาจเปน


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ25เศษ

25

ตัวแปรแทรกซอนของการทดลอง เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง จากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ที่มี ความบกพรองทางการเรียนรูดานการอานและไมมีความบกพรองอื่นซอนจํานวน ๗ คน โรงเรียนบานทา สําราญ อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย ซึ่งเปนโรงเรียนที่ไดรับเกียรติบัตรเหรียญทองยอดเยี่ยมการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษเรียนรวม และโลการบริหารจัดการเรียนรวม ดีเดนระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต น คื อ ยุ ท ธศาสตรก ารจั ดการการเรียนรูโ ดยการบู ร ณาการ แนวคิ ด พหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวมเพื่อเสริมสรางความสามารถความ สนใจ และความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ตัวแปรตาม ไดแก ความสามารถในการอาน ความสนใจในการเรียน และ ความคงทนในการอาน วิ ธี ดํ า เนิ น การศึ ก ษา เป น การวิ จั ย แบบการทดลองเบื้ อ งต น (Pre-Experimental Research) ใชแบบแผนการทดลองกลุมเดียวทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน (One–Group Pretest – Posttest Design) เครื่องมือที่ใช ไดแก ๑) แผนการจัดการเรียนรูดานการอาน ๔๐ แผน ๒) หนังสือนิทานเสริมสรางการอานสระ จํานวน ๑๐ เรื่อง ๓) แบบทดสอบความสามารถในการอ าน ไดแ ก แบบทดสอบอานสะกดคํา , แบบทดสอบอานออกเสียงและแบบทดสอบอานจับใจความ ๔) แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน ไดแก แบบสังเกตพฤติกรรมแสดง ความสนใจในการเรียนการสอน, แบบบันทึกผลการสังเกตชวงความสนใจในการทํากิจกรรมของนักเรียน และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน การสรางและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ - การสรางแผนการจัดการเรียนรูและหนังสือนิทานเสริมสรางการอานสระ ใชการ ประเมินคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item–Objective Congruence: IOC ) ของวัตถุประสงค หนวยการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดและประเมินผล - การสรางแบบทดสอบความสามารถในการอาน และแบบสังเกตพฤติกรรมความ สนใจในการเรียน การประเมินความสอดคลอง ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity และวิเคราะห หาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) การเก็บรวบรวมขอมูล เก็บคะแนนการทดสอบความสามารถในการอานกอนเรียนและ หลังเรียน การสังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน และเก็บคะแนนการทดสอบความคงทนในการอาน หลังเรียนไปแลว ๒ สัปดาห


26

26

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

การวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหขอมูลดังนี้ - วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณโดยวิเคราะหคะแนนความสามารถในการอานออกเสียง อานสะกดคําและอานจับใจความ - วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพโดยบันทึกการสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนของนักเรียน และสรางขอสรุปจากขอมูลที่ไดจากการสังเกต สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก - สถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนําเสนอ ขอมูลโดยใชกราฟแสดงความสามารถในการอานสะกดคํา อานออกเสียง และอานจับใจ ความเปนรายบุคคล - สถิติอางอิง วิเ คราะหเ ปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนความสามารถในการ อานกอนเรียนและหลังเรียน ใชสถิติ The Wilcoxon Matched Paired Signed–Ranks test

ผลการศึกษา นําเสนอผลการศึกษา ๒ ตอนดังนี้ ตอนที่ ๑ ผลการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ผลการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานของนักเรียนที่มคี วาม บกพรองทางการเรียนรูร ะดับ ประถมศึก ษา ไดยุท ธศาสตรก ารจัดการการเรียนรูดานการอานสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูระดับประถมศึกษา ซึ่งมีองคประกอบของยุทธศาสตร ๔ ดาน ดังนี้ ๑. ดานกระบวนการจัดการเรียนรูโดยการบูรณาการแนวคิดพหุสัมผัส และแนวคิด ภาษา แบบธรรมชาติ ซึ่งผลการพัฒนายุทธศาสตรได ขั้นตอนการจัดการการเรียนรู 3 ขั้น ไดแก ขั้นที่ ๑ นักเรียนมีสวนรวมในการกําหนดจุดมุงหมายในการเรียนและเรียนรูทักษะ พื้นฐานตามเนื้อหาสาระ ขั้นที่ ๒ นําความรูไปใช ขั้นที่ ๓ นําเสนอ และประเมินผลงาน ๒. ดานการมีสวนรวมของผูปกครองซึ่ง เปนยุทธศาสตรที่สนับสนุนและสง เสริม ดาน กระบวนการจัดการเรีย นรู ดานการอานใหมีป ระสิท ธิภาพยิ่ง ขึ้นผลการพัฒ นายุท ธศาสตรไดแนวทาง ปฏิบัติการมีสวนรวมของผูป กครอง ๒ แนวทาง คือ ๑) การมีสวนรวมที่บาน และ ๒) การมีสวนรวมที่ โรงเรียน ๓. ดานการจัดทําแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ซึ่ง เปนยุทธศาสตรที่ส นับสนุนและ สงเสริมดานกระบวนการจัดการเรียนรูดานการอานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลการพัฒนายุทธศาสตรได แนวทางปฏิบัติในการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลและไดแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ของนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน ๗ คน ที่เปนเด็กที่มีความบกพร องทางการเรียนรู และมีลักษณะ ความบกพรองดานการอาน


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ27เศษ

27

๔. ดานการจัดสภาพแวดลอม ซึ่งเปนยุทธศาสตรที่สนับสนุนและสงเสริมดานกระบวนการ จัดการเรียนรูดานการอานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นซึ่งผลการพัฒนายุทธศาสตร ไดแนวทางปฏิบัติในการจัด สภาพแวดลอม ๒ แนวทาง คือ ๑) การจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน ๒) การจัดสภาพแวดลอม ภายนอกหองเรียน ตอนที่ ๒ ผลการใชยุทธศาสตร ผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานเสนอผลการใชยุทธศาสตร ตามลําดับ ดังนี้ ๒.๑ ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรอ งทางการเรียนรูโดยรวม เฉลี่ยไดคะแนนรวมเฉลี่ยกอนเรียน ๒๒.๘๕ คิดเปนรอยละ ๓๘.๐๙ คะแนนรวมเฉลี่ย ระหวางเรียน ๕๔.๕๗ คิดเปนรอยละ ๙๐.๙๕ และคะแนนรวมเฉลี่ยหลังเรียนได ๕๔.๗๑ คิดเปนรอยละ ๙๑.๑๙ จัดระดับ ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา นักเรียนมีความสามารถใน การอานอยูในระดับดี ๓ คน ระดับดีมาก ๔ คน และโดยรวมเฉลี่ยมีความสามารถในการอานอยูในระดับดี มาก และผลการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ระหวางกอนเรียน และหลังเรียน พบวา คะแนนกอนเรียนและหลังเรียนมีความแตกตางกัน โดยคะแนนหลัง เรียน สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๒.๒ ความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ดานการอาน ความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน เมื่อพิจารณาความถี่ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการเรียนของนักเรียนทั้ง ๗ คน พบวา มีความถี่ ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการเรียนระหวางเรียน มากกวากอนเรียนโดยกอนเรียนมีความถี่ของ การแสดงพฤติกรรมจํานวน ๑๐ ครั้ง และระหวางเรียน จํานวน ๒๓ ครั้ง ผลการเปรียบเทียบระยะเวลา ชวงความสนใจในการทํากิจกรรม กอนเรียนและระหวางเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา ระยะเวลาชวงความสนใจ ในการทํากิจกรรม มีความแตกตางกัน โดยระหวางเรียนมีระยะเวลาชวง ความสนใจในการทํากิจกรรม สูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๒.๓ ความคงทนในการอ า นของนัก เรี ย นที่ มีความบกพร องทางการเรี ย นรู ดานการอาน ความคงทนในการอาน ของนั ก เรียนที่มีความบกพรอ งทางการเรีย นรูพ บว า คะแนนความสามารถในการอานหลังเรียน ๒ สัปดาห ไดคะแนนโดยรวมเฉลี่ยทั้ง ๗ คน ๕๖.๘๕ คะแนน คิดเปนรอยละ๙๔.๗๕ เมื่อพิจ ารณาความสามารถในการอานหลัง เรียนและความคงทนในการอานของ นัก เรีย น พบวา คะแนนความสามารถในการอานหลัง เรียน ๒ สัป ดาห ไดคะแนนไมต่ํากวาคะแนน ความสามารถในการอานหลังเรียน นักเรียนมีความคงทนในการอาน


28

28 งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

สรุปผลและการวิจารณ ผูวิจัยสรุปผลและวิจารณ ในสวนที่เกี่ยวของกับผลการใชยุทธศาสตร ซึ่งสามารถสรุปผลและวิจารณ ไดดังนี้ ๑. ความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู การจัดการเรียนรูดานการอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา เมื่อ นักเรียนไดรับ การจัดกระบวนการเรียนรูดานการอานโดยใชยุท ธศาสตรการจัดการเรียนรูดานการอาน คะแนนความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ไดคะแนนรวมเฉลี่ยหลังเรียน สูงกวา กอนเรียน และมีความสามารถในการอานเฉลี่ย อยูในระดับดีมาก และผลการเปรียบเทียบคะแนน ความสามารถในการอาน พบวา คะแนนกอนเรียนและหลังเรียน มีความแตกตางกัน โดยคะแนนหลังเรียน สูงกวา กอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.๐๕ ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว อธิบายไดดังนี้ ๑.๑ ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานโดยบูร ณาการแนวคิดพหุสัม ผัสและ แนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวม มีประสิทธิภาพ จึงทําใหนักเรียนที่มี ความบกพรอง ทางการเรียนรู มีความสามารถในการอานสูงขึ้นซึ่ง ความสามารถในการอานของนักเรียนที่พัฒนาขึ้น เกิด จากการที่นักเรียนไดเรียนรูดานการอานจากการจัดกระบวนการเรียนรูที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น โดยการบูรณาการ แนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติซึ่งนักเรียนไดผานกระบวนการเรียนรูตามเนื้อหาสาระและ การไดฝก ทักษะภาษา แบบองครวมของภาษา ไดแก การฝกทักษะการฟง พูด อานและเขียน โดยเนื้อหา สาระออกแบบเป นหนวยการเรียนนิทานเสริม สรางความสามารถในการอานซึ่งเปนหนวยการเรียนที่ นักเรียนชอบและมีเนื้อหาที่นาสนใจมีความเหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรูของนักเรียน เนื้อหา สาระมีความยากงายเหมาะสม และเนื้อหาสาระในหนวยการเรียนรูไดผานการตรวจสอบอยางมีคุณภาพ จากผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาพิเศษซึ่งสอดคลองกับ แบล และคณะ (Blair et al., ๑๙๙๒: ๕) ไดเสนอวา ปจจัยที่เกี่ยวของกับการอาน ไดแก เนื้อหาสาระของเรื่องที่อาน ลักษณะหรือลีลาการเขียนของเรื่องที่อาน โครงสรางของหนังสือ และความนาอานของหนังสือ และสอดคลองกับ คลีมอน (Clemons, ๑๙๘๙) ได ศึกษาผลการทดลองใชการสอนแบบพหุสัมผัสกับนักเรียน การทดลองใชกจิ กรรมการเรียนการสอน คือ ให นักเรียนไดทํากิจกรรมการเคลื่อนไหวอยางสนุกสนานในระหวางเรียนโดยใชการสอนแบบองครวมทางภาษา และการทํากิจกรรมการอานแบบพหุสัมผัส ผลการศึกษา พบวา นักเรียนมีความสามารถในการอานมากขึ้น สอดคลองกับ อัม พา นกอิ่ม (๒๕๕๐) ไดศึก ษาความสามารถในการอานคําพื้นฐานของเด็ก ที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ โดยใชเกมทางภาษา พบวา เด็กที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูดานการอานที่ไดรับการรับสอนโดยใชเกมทางภาษามี ความสามารถในการอานคํา พื้นฐานอยูในระดับดีมาก และเด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอานที่ไดรับการสอนโดยใชเกม


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ29เศษ

29

ทางภาษามีความสามารถอานคําพื้นฐาน หลังการสอน สูงกวากอนการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๑.๒ การจัดกระบวนการเรียนรูในขั้นที่ ๒ ไดสงเสริมใหนักเรียนไดใชชองทางการเรียนรู หลัก ๔ ทางคือ ทางการเห็น ทางการไดยิน การสัมผัส และการเคลื่อนไหว ในการรับรูขอมูล โดยใชเทคนิค วิธีที่สอดคลองกับธรรมชาติของนักเรียน แตละบุคคล เพื่อสรางขอสรุป และมีการจัดเรียงลําดับจุดประสงค /เนื้อหาใหนักเรียนไดเรียนรูอยางตอเนื่อง เชื่อมโยงจากงายไปหายาก นักเรียนไดมีโอกาสในการรับรูขอมูล ผานประสาทสัมผัสตางๆในการฝกทักษะการอาน จึงสงเสริมความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรูไดดี และในกระบวนการจัดการเรียนรูทุกขั้นตอน ครูไดดูแลเอาใจใสใหนักเรียนได ปฏิบัติกิจ กรรมการเรียนรูตามขั้นตอนยุท ธศาสตรก ารจัดการการเรียนรูดานการอานอยางเต็ม ที่ตาม ความสามารถของนัก เรียนแตล ะคน และการใหนัก เรียนรับทราบผลการทํางานของตนเอง ยังสง ผลตอ ความสามารถในการอานของนักเรียนอีกดวย (Tubb, Boehne, & Paese, ๑๙๙๑; Sideridis, ๒๐๐๒) ซึ่ง สอดสอดคลองกับสมัย กุตระแสง (๒๕๕๑) ไดศึกษาความสามารถในการอานและสะกดคําภาษาไทยของ นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรู จากการสอนอานและสะกดคําโดยใชแบบฝกทักษะ ผลการศึกษาพบวา แบบฝกทักษะการอานและสะกดคําภาษาไทยที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว ความสามารถใน การอานและสะกดคําภาษาไทยของนัก เรียนที่มีปญ หาทางการเรียนรู หลัง การสอนอานและสะกดคํา ภาษาไทย อยูในระดับดีมาก และความสามารถในการอานและสะกดคําภาษาไทยของนักเรียนที่มีปญหา ทางการเรียนรูกอนและหลังการสอนอานและสะกดคําโดยใชแบบฝกทักษะการอานและสะกดคําภาษาไทย สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.๐๕ อีกประการหนึ่งในองคประกอบของยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ไดจัดให มีการมีสวนรวมของผูปกครอง โดยจัดใหมีสวนรวมที่โรงเรียนและที่บานในการดูแลชวยเหลือบุตรหลานดาน การอานซึ่งผูปกครอง ไดสนทนา พูดคุย พาเด็กอาน ทบทวน เนื้อหาในหนวยการเรียน เปนการเพิ่มเติม ซ้ํา ย้ํา ทวนจากที่เคยเรียนมาแลวจากโรงเรียน และการดูแล ชวยเหลือ ตรวจสอบ การบาน หรือแบบฝกหัดที่ นักเรียนไดรับมอบหมายดานการอาน สงเสริมนักเรียนใหมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอนที่บาน ซึ่ง ตองใหความสนใจและมีการตอบโต มีการกํากับดูแลความกาวหนาในวิชาทักษะของนักเรียนเปนรายวัน ตลอดจนมีการรายงานพฤติกรรมการอานเปนหลักฐานของการรายงานพฤติกรรมการเรียนประจําวันซึ่งการ จัดใหผูปกครองมีสวนรวม ดังกลาว ทําให นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูมีความสามารถในการ อานสูงขึ้น (เมอรเซอร และเมอรเซอร (Mercer & Mercer, ๑๙๗๔ อางถึงใน หนวยศึกษานิเทศก, ๒๕๓๘) ๒. ความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ในการจัดการเรียนรูดานการอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพร องทางการเรียนรู พบวา นักเรียนไดรับการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานโดยบูรณาการ แนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวม พบวา โดยรวมทั้ง ๗ คน มี


30

30

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ความถี่ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการเรียนระหวางเรียน มากกวา กอนเรียน และระยะเวลาชวง ความสนใจในการทํากิจกรรมของนักเรียนระหวางเรียนสูงกวากอนเรียน ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว และนักเรียนทีมีความบกพรองทางการเรียนรู มีความสนใจในการทํากิจกรรมระหวางเรียน สูงกวา กอนเรียน อธิบายไดดังนี้ ๒.๑ ในการจั ด กระบวนการเรี ยนรู ตามแนวคิ ด การเรี ย นรู ผ านการใช ป ระสาทสั ม ผั ส ที่ หลากหลาย และในขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู ขั้นที่๑ และขั้นที่ ๒ นักเรียนไดเลนเกมและรวมกัน วางแผนเพื่อเอาชนะฝายตรงกันขาม การเคลื่อนไหวรางกายตามจังหวะเพลงสระในหนวยการเรียนรูทุก หนวย หรือ การแขงขัน เกมอานคําจับคู ทําใหนักเรียนเกิดความสนุกสนาน อยากรวมกิจกรรมและมีความ กระตือรือรนในการเขารวมกิจกรรมการ ซึ่งสอดคลองกับธรรมชาติของเด็ก ในวัยประถมศึกษาที่ไมอยูน่ิง ตองการเคลื่อนไหวหรือทํากิจกรรมอยูตลอดเวลา จึงสงผลใหนักเรียนทีมีความบกพรองทางการเรียนรูมี ความสนใจในการทํากิจกรรม ระหวางเรียน สูงกวา กอนเรียน และอีกประการหนึ่ง ในขณะที่นักเรียนกําลัง มีความสนใจในการเรียนอยูนั้น ครูทําหนาที่ใหคําแนะนํา ใหนักเรียนสามารถเรียนรูแตละขั้นเปนอยางดี มี การใชคําถามเพื่อกระตุนใหนักเรียนคิดหาคําตอบอยูเสมอ ทําใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียนอยูเสมอ เมื่อพิจ ารณาความถี่ของพฤติกรรมที่แสดงความสนใจในการเรียน พบวา นักเรียนมีก ารรวมกันซัก ถาม พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนบอยขึ้น มีการตอบคําถามโดยครูไมตองเรียกชื่อใหตอบและมีความตั้งใจในการ ทํางานที่ไดรับมอบหมายงานเสร็จทันเวลา และอีกประการหนึ่ง การจัดกิจกรรมการเรียนรูในขั้นที่ ๒ การนํา ความรูไปใช ซึ่ง เปนความรูที่ไดจากการฝก ทัก ษะยอยและการเขียนแผนภาพคําสําคัญ การเรียงลําดับ เหตุการณจากเรื่องที่อาน เพื่อสรุปใจความสําคัญของเรื่อง เปนกิจกรรมที่ชวยใหนักเรียนไดฝกทักษะในการ เชื่อมโยงขอมูลทําใหนักเรียนมีความสนใจในการอานจับใจความดีขึ้น (Boyle, ๑๙๙๓; Gardill, ๑๙๙๗; Dicecco & Gleason, ๒๐๐๒) และสําหรับ กิจ กรรมการเรียนรูในขั้นที่ ๓ การนําเสนอผลงานและ ประเมินผลใหนักเรียนไดรับการประเมินผลการทํางานจากครูและเพื่อนภายหลังการเสนอแผนภาพโครง เรื่องหรือแผนผังความคิดของเรื่องที่อานซึ่งผลงานของนักเรียนแตละคนจะไมเหมือนกันแลวแตความสนใจ และความสามารถของนักเรียนจะเขียนแผนผังออกมา กิจกรรมดังกลาวจึงสงผลตอความสนใจในการเรียน ไดดี ซึ่งสอดคลองกับ Breznitz (๑๙๙๗) ที่พบวา การจัดกระบวนการเรียนรูและการแสดง พฤติกรรมของ นักเรียนในการฝกทักษะดานการอานเหลานี้ลวนเปนพฤติกรรมที่แสดงใหเห็นวานักเรียนมีความสนใจในการ เรียนอยูเสมอ จึงกลาวไดวาการจัดกระบวนการเรียนรูดานการอานตามยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรู ดานการอานที่พัฒนาขึ้นนี้ชวยใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของ อุทัย ดวงใหญ (๒๕๔๙) ไดทําการศึกษา ผลของการจัดกิจกรรมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติที่มีตอ พัฒนาการดานการอาน เขียนและความสนใจในการเรียนของเด็กปฐมวัยผลการศึกษา พบวา เด็กปฐมวัยที่ ไดรับการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติมีพัฒนาการดานการอาน เขียน และ ความสนใจในการเรียนสูงกวากอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติอยางมี


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ31เศษ

31

นัยสําคัญทางสถิติที่ร ะดับ .๐๑ โดยมีพัฒ นาการดานการอาน เขียนและความสนใจในการเรียนสูง ขึ้น ตามลําดับ ๒.๒ ในการจัดเนื้อหา สาระการเรียนรู ไดสรางหนวยการเรียนรู เปนหนังสือนิทานเสริมสราง ความสามารถในการอานสระที่เปนสระเดี่ยวจํานวน ๑๐ หนวยการเรียน ซึ่งเนื้อหาสาระจะเปนนิทาน อาน แลวชวนใหติดตาม มีสี ภาพ และขนาดตัวอักษร ที่ดึงดูดความสนใจของนักเรียนและมีกระบวนการสรางที่ ผานการตรวจสอบอยางมีคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญ จึงทําใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียน อยากเรียน อยากอานมากกวาแบบเรียนปกติในระดับชั้นเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดการจัดการเรียนรูภาษาแบบ ธรรมชาติ ใหนัก เรียนทํางานเกี่ยวกับการอานและเขียนจากสภาพแวดลอมที่เ ปนชีวิตจริงเกี่ยวกับ การ ดํารงชีวิตและมีเนื้อหาสาระที่มีความหมายตอเด็ก ซึ่งสอดคลองกับ กูดแมน (Goodman, ๑๙๗๐) มีความ เชื่อวาการสอนภาษาเปนเรื่องสําคัญสําหรับชีวิตเด็ก และเด็กตองเรียนรูภาษา ตองใชภาษาเพื่อการเรียนรู ครูจะตองตระหนักในความสําคัญของการจัดเนือ้ หาสาระการเรียนรู ควรเนื้อหา หรือภาษาในสิ่งที่เด็กชอบ เด็กจึงจะอยากเรียน ซึ่งเนื้อหาจึงมีความสําคัญตอ ความสนใจในการเรียนของเด็ก อีกประการหนึ่ง ในองคประกอบของยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ไดมี การจัดสภาพแวดลอมทั้งภายในและนอกหองเรียนที่สงเสริมตอการเรียนรูดานอาน โดยจัดใหมี มุมสื่อ อุปกรณ ไดแกบัตรคํา บัตรคํา ดินน้ํามันสําหรับใหนักเรียนไดฝกขดเปนรูปสระ พยัญชนะ แลวฝกอาน หรือ มีก ระบะทรายสํา หรับ ฝก ขีด เขีย นเปน คํา มีมุ ม ส ง เสริม การอา นโดยจัดใหมี ห นั ง สือ นิท านเสริ ม สรา ง ความสามารถในการอานที่ไดพัฒนาขึ้น และการจัดสภาพแวดลอมภายนอก โดยจัดใหมีกิจกรรมสงเสริมการ อาน สวนหยอมการอาน ศาลารักการอาน หรือหองสมุดเคลื่อนที่ ที่มีความหลากหลายของการเลือกใชประ สัมผัสในการเรียนรูดานการอาน ใหนักเรียนไดฝกทักษะการอานตามความถนัด ความสนใจ ความตองการ ซึ่งการจัดสภาพแวดลอมจึงสงผลตอความสนใจในการเรียนของนักเรียนไดดีขึ้น ๓. ความคงทนในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ในการจัดการเรียนรูดานการอานสําหรับนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู เมื่อ นักเรียนไดรับการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานโดยบูรณาการ แนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดภาษาแบบธรรมชาติภายใตพื้นฐานการเรียนรวม พบวา นักเรียนไดคะแนน ความสามารถในการอานหลังเรียน ๒ สัปดาห ไมต่ํากวา คะแนนความสามารถในการอานหลังเรียน นักเรียน มีความคงทนในการอาน อธิบายไดดังนี้ ๓.๑ ในการจัดกระบวนการเรียนรู นักเรียนไดใชประสาทสัมผัสตางๆ อยางมีความหมายทํา ใหนักเรียนสามารถจดจําประสบการณที่ไดเรียนรูไดดีกวาการเรียนที่นักเรียนมีโอกาสรับรูโดยเนนการับรู ผานประสาทสัมผัสบางดาน กิจกรรมที่นักเรียนไดฝกทักษะการอานไดแก การอานออกเสียง การอานสะกด คํา และการอานจับใจความ ในหนึ่งหนวยการเรียนที่มีจํานวนคํา ๑๐ คํา ซึ่งเปนคําเดิม ซ้ําๆ แตมีการฝก ทักษะหลากหลายรูปแบบ หลากหลายกิจกรรมและเปนการฝก ซ้ํา ย้ํา ทวน จึงทําใหนักเรียนจําและอานคํา


32

32

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

นั้นไดดีขึ้น สอดคลองกับ ธอนไดรที่กลาววา การกระทําซ้ําๆ หรือการซักซอมนั้นจะเกิดประโยชนอยางดีตอ ความคงทนของขอมูลในระยะสั้นๆ และในการจัดกระบวนการเรียนรู ไดใหนักเรียนเขียนแผนภาพคํา สําคัญจากเนื้อหาที่เรียนในแตละหนวยแลวนําไปแสดงไวที่ปายนิเทศในชั้นเรียนเพื่อใหนักเรียนไดเห็นและ อานคําจากผลงานการเขียนของนักเรียนเอง ทําใหนักเรียนมีความประทับใจในคําที่เขียนและมีความสุขทํา ใหนักเรียนสามารถจดจําสิ่งที่เรียนรูไดดี ซึ่งการจัดกิจกรรมดังกลาวจึง เปนวิธีการรับรูผานประสาทสัมผัส หลายทางซึ่งเปนวิธีการที่เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน (Greene, ๑๙๙๓; cited by Wadlington, ๒๐๐๐) และสงผลใหนักเรียนมีความคงทนในการอานไดดี อีกประการหนึ่งในองคประกอบของยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน ไดมีการ จัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียนที่สง เสริม ตอการเรียนรูดานอานโดยมีก ารจัดทําปายนิเ ทศ บัตร คําประกอบภาพ ไดแก บัตรคําอานออกเสียง อานสะกดคํา และอานจับใจความ ไวใหนักเรียนไดเห็นไดอาน ทุ ก วั น นอกจากนี้ ยั ง จั ด ให มี มุ ม ส ง เสริ ม การอ า นในห อ งเรี ย นโดยจั ด ให มี ห นั ง สื อ นิ ท านเสริ ม สร า ง ความสามารถในการอานทั้ง ๑๐ หนวยการเรียนใหนักเรียนไดอานเพิ่มเติมในเวลาวาง หรือในชวงพัก กลางวันและเปดโอกาสใหนักเรียนไดยืมกลับไปอานที่บานกับผูปกครองดวย จึงทําใหนักเรียนจําและอานคํา เดิมได นักเรียนจึงไดคะแนนความสามารถในการอานหลังเรียน ๒ สัปดาห ไมต่ํากวา คะแนนความสามารถ ในการอานหลังเรียน ซึ่งสอดคลองกับ ผดุง อารยะวิญู (๒๕๔๕) ไดกลาวถึงการจัดสภาพแวดลอมในชั้น เรียนรวม วาการจัดชั้นเรียนแบบเรียนรวมเพื่อใหเด็กปกติและเด็กพิเศษไดเรียนรวมกันและมีปฏิสัมพันธกัน เพื่อชวยเหลือกันในดานการอาน ควรจัดใหมีมุมใดมุมหนึ่งในหองเรียน ใหเปนมุมสําคัญเพื่อจุดประสงค เฉพาะอยาง และสอดคลองกับงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่ทดลองเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนดวยวิธี ที่เ นนเรื่องการรับ รูและการจําของนัก เรียน พบวาชวยใหนัก เรียนสามารถเรียนรูดานการอานไดดีขึ้น (Torgesen, ๑๙๙๔; Pinkard, ๑๙๙๙ cited by Hiebert & Pearson, ๒๐๐๐: ๑๓๖; Dooly, ๑๙๙๔;) นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของจรีลักษณ จิรวิบูลย (๒๕๔๕) ทําการศึกษาการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนระดับประถมศึก ษาที่มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอานตาม แนวคิ ด พหุ สั ม ผั ส และแนวคิ ด สื่ อ กลางการสอน ผลการศึ ก ษาพบว า นั ก เรี ย นที่ อ ยู ใ นกลุ ม ทดลองมี ความสามารถในการอาน ความคงทนในการเรียนรู การเห็นคุณคาในตนเองและความสนใจในการเรียนสูง กวานักเรียนในกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๓.๒ ในองคป ระกอบของยุท ธศาสตรการจัดการเรียนรูดานการอาน ไดมีการจัดทําแผน การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ซึ่งผูวิจัยไดจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู ที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน ๗ คน ที่มีลักษณะความบกพรองดานการอานตรงกัน โดยผูปกครองและผูเกี่ยวของมีสวนรวมในการวางแผน ชวยเหลือ ดูแล การบาน ภาระงาน และพานักเรียน ฝกอานคําจากหนวยการเรียน สวนโรงเรียนไดจัดบริการสอนเสริมดานการอานใหกับนักเรียนเพิ่มเติมใน เวลาหลังเลิกเรียน คือ ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น. ของทุกวันที่เปดเรียน เพื่อชวยเหลือนักเรียนดานการอาน จึงทํา ใหนักเรียนทีความคงทนในการอาน


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ33 เศษ

33

ขอเสนอแนะ ๑. ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช ผลการวิจัยพบวาความสามารถในการอานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเมื่อ ใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานมีดังนี้ ๑.๑ ความสามารถในการอานของนักเรียน โดยรวมเฉลี่ย ไดคะแนน หลังเรียน สูงกวากอน เรียน และระดับความสามารถในการอานของนักเรียนเฉลี่ยอยูในระดับดีมาก แสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตร การจัดการการเรียนรูดานการอานมีประสิทธิภาพ ครูที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนที่ มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอาน ระดับประถมศึกษา ควรนํายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดาน การอานนี้ไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยศึกษารายละเอียดของการใชยุทธศาสตรการจัดการ การเรียนรูดานการอานจากคูมือการใชอยางละเอียดกอนที่จะนําไปใช ๑.๒ ความสนใจในการเรียน นักเรียนมีความถี่ของการแสดงพฤติกรรมความสนใจในการ เรียนระหวางเรียนมากกวากอนเรียน และมีระยะเวลาชวงความสนใจในการทํากิจกรรม ระหวางเรียน สูง กวากอนเรียนแสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานมีประสิทธิภาพ ครูที่ทําหนาที่ จัดการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอาน ระดับประถมศึกษา ควรนํายุทธศาสตรก ารจัดการการเรียนรูดานการอานนี้ไปใชในการจัดกิจ กรรมการเรียนการสอนและ สามารถปรับกระบวนการจัดการเรียนรูและเวลาที่ใชในแตละกิจกรรมใหเหมาะสมกับลักษณะความตองการ จําเปนพิเศษของนักเรียน ๑.๓ ความคงทนในการอาน ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรู พบวา คะแนน ความสามารถในการอานผานไป ๒ สัปดาห นักเรียนไดคะแนนไมนอยกวาคะแนนความสามารถในการอาน หลังเรียน นักเรียนมีความคงทนในการอาน แสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน มีประสิทธิภาพ ครูที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองในการเรียนรูดาน การอาน ระดับ ประถมศึก ษา ควรนํายุท ธศาสตรก ารจัดการการเรียน รูดานการอานนี้ไปใชในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนและควรมีการ ฝก ซ้ํา ย้ํา ทวน ทบทวนบอยๆ จากเรื่องที่เรียนไปแลว หรือ มีการ จัดสภาพแวดลอมทั้งในและนอกหองเรียนใหเอื้อและสงเสริมตอการเรียนรูดานการอานของนักเรียน ๒. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป ผูที่สนใจทําการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนายุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอานสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอาน ระดับประถมศึกษา ควรมีการศึกษาวิจัยในดานตางๆ ดังนี้ ๒.๑ ศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน สําหรับนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ดานการอาน ระหวางนักเรียนที่มีระดับอายุที่แตกตางกัน


34

34

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

๒.๒ ศึกษาผลการใชยุทธศาสตรการจัดการการเรียนรูดานการอาน สําหรับนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู ดานการอาน ที่มีตอการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ ของนักเรียนที่เปนกลุม ตัวอยาง

เอกสารอางอิง การศึกษานอกโรงเรียน. (๒๕๔๕). นวัตกรรมการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลและ การจัดทําแผนการสอนเฉพาะบุคคล. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. คณะกรรมการการคัดเลือกและจําแนกความพิการเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๑). คูมือการคัดแยกและสงตอคนพิการเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. จรีลักษณ จิรวิบูลย. (๒๕๔๕). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอานสําหรับนักเรียนระดับ ประถมศึกษาที่มีความบกพรองในการเรียนรูดานการอานตามแนวคิดพหุสัมผัสและ แนวคิดสื่อกลางการสอน. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา มัธยมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ผดุง อารยะวิญู. (๒๕๔๕). เด็กที่มีปญหาในการเรียน. กรุงเทพฯ: แวนแกว. หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (๒๕๓๘). เอกสารประกอบ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ยุทธศาสตรการสอนเด็กที่มีปญหาในการเรียนรู. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ สมัย กุตระแสง .(๒๕๕๑). การศึกษาความสามารถในการอานและสะกดคําภาษาไทยของ นักเรียนที่มีปญหาทางการเรียนรูชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ จากการสอนอานและสะกดคํา โดยใชแบบฝกทักษะ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (๒๕๔๔). การจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มี ปญหาทางการเรียนรู. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. อัมพา นกอิ่ม. (๒๕๕๐). การศึกษาความสามารถในการอานคําพื้นฐานของเด็กที่มีความบกพรอง ทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ โดยใชเกมทางภาษา. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุทัย ดวงใหญ. (๒๕๔๙). ผลของการจัดกิจกรรมประสบการณตามแนวภาษาแบบธรรมชาติที่มี ตอพัฒนาการดานการอาน เขียนและความสนใจในการเรียนของเด็กปฐมวัย. ปริญญา นิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Blair, J. S., Tuner, P., & Schaudt, O. R. (1992). Reading development and dyslexia. London: Whurr Publishers.


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ35เศษ

Boyle, J. R. (1993). Teaching student with mild disabilities. To use a cognitive Mapping strategy to facilitate reading comprehension. Dissertation AbstractsInternational, 3398 A. Breznitz, Z. (1997). Effects of accelerated reading rate on memory for text among dyslexic readers. Journal of Education Psychology, 89 (June), 289 -297. Clemons, L. K. ( 1989). Degrees of implementation of multisensory research. Dissertation Abstracts International, 51, 0122 A. Dicecco, V. M., & Gleason, M. M. (2002). Using graphic organizers to attain relational knowledge from expository text. Journal of Learning Disabilities, 306. Dooley, B. (1994). Multisensorially integrating reading and composition: Effects on achievement of remedial reader in Middle School. Dissertation Abstracts International, 55, 1513 A. Dicecco, V. M., & Gleason, M. M. (2002). Using graphic organizers to attain relational knowledge from expository text. Journal of Learning Disabilities, 306. Gardill, M. C. (1997). Reading Comprehension of Students with Learning Disabilities. Dissertation Abstracts International, 58, 1658 A. Goodman, K. S., & Goodman, Y. M. (1995). Learning to Read is Natural. Cited in D. J. Leu. & C. K. Kinzer. Effective Reading Instruction, K-8. 3rd ed. New Jersey. Hiebert, H. F., & Pearson, P. D. (2000). Building on the pas, bridging to the future: A research agenda for the center for the improvement of early reading achievement. The Journal of Educational Research, 93 (January), 230-241. Torgesen, J. K. (1994). Longitudinal studies of phonological processing and reading. Journal of Learning Disabilities, 27(September), 276-86.

35


36 ชื่อเรื่องวิจัย : ผลการจัดการเรียนรูสาระทัศนศิลปเรื่องทัศนศิลปสรางสรรคของนักเรียนที่มี ความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค พ.ศ. 2555 ชื่อผูวิจัย : ชินกร คําภูธร โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมายของจินตนาการไววา จินตนาการ หมายถึง การ สรางภาพขึ้นในใจ ซึ่งภาพที่สรางขึ้นในใจนั้น มีบทบาทอยางมากตอการดํา เนินชีวิตของมนุษย (ชูเกียรติ มุงมิตร, 2554) จินตนาการ เปนเรื่องเกี่ยวของกับจินตภาพ คือการสรางภาพในสมองหรือนึกคิดเปนภาพ จึง เกี่ยวกับความคิดสรางสรรคอยากหลีกเลี่ยงไมได ถือเปนทักษะเบื้องตนของความคิดสรางสรรค จะทําใหสมอง พัฒนาไดดี เมื่อสมองดีแลวก็จะนําไปสูจินตนาการ ความคิดสรางสรรค และสติปญญาที่ดีเปนอันดับตอมา จินตนาการทําใหเด็กมีวิธีคิดที่ยืดหยุน ไมยึดติดอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และจินตนาการยังชวยพาใหคนพนไปจาก ความจริงบางอยางในชีวิตที่ตึงเครียดและกดดัน นอกจากนั้นจินตนาการก็ยังนําไปสูการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ ประดิษฐกรรมหลายๆอยางบนโลก (ชาตรี วิทูรชาติ , ม.ป.ป.) ความคิดสรางสรรคในงานศิลปะนั้น เกิดจาก การใชจินตนาการอยางอิสระ กลาวคือ จินตนาการเปนองคประกอบที่สําคัญของการแสดงออกที่บงบอกวางาน นั้นเปนความคิดสรางสรรค (นิพนธ ทวีกาญจน, 2533) ความคิดสรางสรรคเปนคุณลักษณะที่มีอยูในตัวเด็กทุก คน ตั้งแตแรกเกิดและสามารถสงเสริมใหพัฒนาขึ้นได เด็ก ที่มีค วามบกพรองทางการไดยิ น จะมีขอ จํากัดในดานการสื่อสารไมส ามารถเขาใจสิ่ ง ที่เ ป น นามธรรมไดอยางลึกซึ้ง ปญหาสําคัญของผูที่มีความบกพรองทางการไดยิน คือภาษาหรือการสื่อสารกับผูอื่น ยิ่ง มี ก ารสู ญ เสีย การได ยิน มากเทาใด พัฒ นาการทางภาษาก็ ยิ่ง จะชาและบกพร องมากเท านั้ น แม จ ะมี องคประกอบอื่น ๆ มาเกี่ยวของ เชน สายตา สติปญญา ก็ไมไดทําใหปญหานี้หายไป ปญหาอีกดานที่พบของ เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยินคือ ปญหาทางดานอารมณ เพราะสาเหตุของภาษาทําใหการสื่อความหมาย และความเขาใจเปนไปไดยากลําบาก ถาหากไปอยูในสังคมที่ไมเปนที่ยอมรับแลวก็ยอมเพิ่มปญหามากขึ้น ทํา ใหเด็กสุขภาพจิตเสื่อมมีปมดอยทําใหเด็กเกิดความคับของใจกอใหเกิดปญหาทางอารมณได (รักชนก สุทธิ ประภา, 2550) ปจจัยสําคัญที่ทําใหเด็กเกิดการเรียนรูใดๆก็ตามยอมมีพื้นฐานมาจากการรับรู โดยผานประสาท สัมผัสทั้ง 5 คือ 1) ตา 2) หู 3) ผิวหนัง 4) จมูก 5) ลิ้น ซึ่งจากการวิจัยทางการศึกษาพบวา ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 นี้มนุษยเราสามารถรับรูจากอวัยวะตางๆ เหลานี้นอยมากแตกตางกัน ดังนี้ คือตาสามารถรับรูไ ด 83% หู สามารถรับรูได 11% ผิวหนัง จมูกและลิ้นสามารถรับรูไดรวม 6% (เลิศ อานันทนะ, 2535) ซึ่งจินตนาการ เปนความรูสึกที่เ กิดขึ้นจากการรับรูดวยประสาทสัมผัส ฉนั้นนักเรียนที่บ กพรองดานประสาทรับรูทางหูจึง


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

37

37

สูญเสียโอกาสในการสัมผัสรับรูดานนี้ไป จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ผูเกี่ยวของตองทําการกระตุนและพัฒนา ประสาทสัมผัสในการรับรูสวนอื่นๆ ที่ยังหลงเหลืออยูใหทํางานอยางเต็มประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษาใหกับเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน เรื่องของความคิดสรางสรรคเปนที่ ยอมรับกันวามีความสําคัญมากตอผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ นอกจากนี้ความคิดสรางสรรคยังมีผลตอการปรับตัว และตอการคิดคนนวัตกรรมตาง ๆ เนื่องจากความคิดสรางสรรคเปนความสามารถที่สําคัญ อยางหนึ่งของ มนุ ษย ซึ่ง มี คุณ ภาพมากกวา ความสามารถด านอื่น ๆ และเปน ป จ จั ยที่ จํา เป น ยิ่ง ในการส ง เสริม ความ เจริญกาวหนาของประเทศ ดังนั้นในการพัฒนาความคิดสรางสรรค จึงควรเริ่มมาตั้งแตวัยเด็กเพราะวัยเด็กเปน วัยที่อยากรูอยากเห็น มีจินตนาการสูง มีความกระตือรือรนที่จะเรียนรูและสนใจตอสิ่งแปลกใหมรอบตัว ไมวา จะเปนเด็กปกติหรือเด็กที่มีความตองการพิเศษ โดยเฉพาะเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยินนั้น ประสาท สัมผัสดานการฟงเสียง ไมอาจใชเปนประสาทนําไดเทากับประสาทตา ผูบกพรองทางการไดยินจึงตองอาศัยการ รับรูทางสายตามาชวยในการรับรูอยางมากและการรับรูจากการสัมผัสก็มีสวนชวยเชนกัน (ศรียา นิยมธรรม, 2551) สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่ในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ไดเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงดําเนิน โครงการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรูที่สงเสริมความคิดสรางสรรค ในปการศึกษา 2549-2550 โดย นําเอาองคความรูและรูปแบบการจัดการเรียนรูที่มีความชัดเจนเหมาะสมและใชชื่อรูปแบบการจัดการเรียนรูที่ พัฒนาขึ้นวา การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิดสรางสรรค มีการทดลองใชในโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน 10โรงเรียนใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ ผลการใชรูปแบบการเรียนรู พบวา นักเรียนมีผลการเรียนรูใน ภาพรวมสูงขึ้น ทั้งดานความคิดสรางสรรค พฤติกรรมการเรียนรู ความรู ความจํา ความเขาใจในการนําไปใช ซึ่งการจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิดสรางสรรค มีขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรูที่สําคัญ คือการสราง ความตระหนักเพื่อกระตุนและเราความสนใจของผูเรียนเขาสูเรื่องที่จะเรียนรู การระดมพลังความคิด เพื่อเปน การดึงศักยภาพของผูเรียนใหคนหาคําตอบหรือคิดออกแบบและสรางสรรคชิ้นงานดวยตนเอง การนําเสนอเพื่อ วิพากษวิจารณ แสดงความคิดเห็น การวัดประเมินผลและการเผยแพรผลงานจากการสรางสรรค (สํานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2550) กระบวนการจัดการเรีย นรูของศิล ปะในปจ จุบันพบวา ครูนั้นยังขาดกระบวนการจัดการเรียนรูท่ี สงเสริมกระตุนจินตนาการและความคิดสรางสรรคของผูเรียน ครูยังยึดตนเองเปนศูนยกลางในการจัดการ เรียนรู ทําใหผูเรียนขาดความสุขในการเรียนรูศิลปะ ทั้งยังสงผลใหผลการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ อยูในระดับคอนขางต่ํา วิรุณ ตั้งเจริญ และคณะ (2542) ไดศึกษาการใชกิจกรรมสรางสรรคตามแนวซีไอเอส เอสที (CISST) ซึ่ง เปนกิจ กรรมในโครงการวิจัยเพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับ เด็ก ที่มีความสามารถพิเศษดาน ทัศนศิลปศึกษาและกําหนดสมมติฐานตามแนวคิดซีไอเอสเอสที (CISST) ซึ่งเชื่อวา การสรางสรรคศิลปะเด็ก เพื่อพัฒ นาเด็ก ที่มีความสามารถพิเ ศษดานทัศนศิล ป ใหส ามารถพัฒนาไดเต็ม ตามศัก ยภาพเพื่อสรางสรรค ศิลปะรวมสมัยปจจุบัน ทั้งศิลปะสมัยใหม (modern art) และศิลปะหลังสมัยใหม (post-modern art) จําเปน


38

38

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

จะตองพัฒนากิจกรรมใหแสดงความคิดสรางสรรค (Creativity) จินตนาการ (Imagination) ความรูสึกสัมผัส (Sensibility) การจัดระบบภาพ (Systematization) และการพัฒนารูปทรง (Transformation) ดวยสภาพบริบทดังกลาวขางตนและการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ผูวิจัยมีความเชื่อวาจินตนาการ และความคิดสรางสรรคมีความสัมพันธและเกี่ยวเนื่องกันซึ่งจําเปนตองสงเสริมใหเกิดขึ้นไปพรอมกันในตัวของ ผูเรียนจึงไดพัฒนารูปแบบการสอนขึ้นโดยประยุกตมาจากรูปแบบการสอนแบบสงเสริมความคิดสรางสรรคของ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและแนวคิด CISST ของวิรุณ ตั้งเจริญ และคณะ(2542) ซึ่งผูวิจัยไดปรับ เพิ่มในสวนขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยเพิ่มจุดเนนในเรื่องการสัมผัสรับรูเขาไปในขั้นตอนการสอน ดัง นี้ 1) ขั้นสัม ผัสรับ รูและตระหนัก 2) ขั้นระดมพลัง จินตนาการผานภาษามือ 3) ขั้นจินตนาการและ สรางสรรคชิ้นงาน 4) ขั้นนําเสนอผลงาน 5) ขั้นวัดผลประเมินผล 6) ขั้นเผยแพรผลงาน โดยเรียกรูปแบบที่ ประยุกตพัฒนาขึ้นวา การสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ซึ่งขณะเดียวกัน ผูวิจัยมีงาน รับผิดชอบในการสอนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ผูวิจัยจึงเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคของนักเรียน อันนําไปสูการพัฒนาผลการเรียนรูในกลุมการ เรียนรูศิลปะ ดังนั้นจึงสนใจศึกษาผลการจัดการเรียนรู สาระทัศนศิลป เรื่องทัศนศิลปสรางสรรค ของนักเรียน ที่มีความบกพรองทางการไดยินระดับชั้นประถมศึก ษาปที่ 5 โดยใชก ารสอนแบบสง เสริมจินตนาการและ ความคิดสรางสรรค เพื่อใหนักเรียนมีผลการเรียนรูผานเกณฑที่กําหนดไว 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียน เรื่องทัศนศิล ปส รางสรรค ของนัก เรียนที่มีความบกพร อง ทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ตามเกณฑรอ ยละ 70 โดยมีจํานวนนักเรียนผานเกณฑรอยละ 80 ขึ้นไป 2. เพื่อศึก ษาทัก ษะการสรางสรรคผ ลงานทัศนศิล ป ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ตามเกณฑรอยละ 80 โดยมีจํานวนนักเรียนผานเกณฑรอยละ 80 ขึ้นไป 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3.

นิยามศัพทเฉพาะ การสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค หมายถึงรูปแบบที่ผูวิจัย ใชจัดการเรียนรู เรื่องทัศนศิลปสรางสรรค ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโดย ผูวิจัยสรางขึ้นจากการประยุกตและพัฒนามาจากรูปแบบการสอนแบบสงเสริมความคิดสรางสรรค (สํานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา, 2550) และแนวคิด CISST (วิรุณ ตั้งเจริญและคณะ, 2542) อันประกอบดวย 6 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นสัมผัสรับรูและตระหนัก 2) ขั้นระดมพลังจินตนาการผานภาษามือ 3) ขั้นจินตนาการและ สรางสรรคชิ้นงาน 4) ขั้นนําเสนอผลงาน 5) ขั้นวัดผล/ประเมินผล 6) ขั้นเผยแพรผลงาน


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

39

39

ทัศนศิลปสรางสรรค หมายถึง การสรางสรรคง านศิลปะที่สามารถมองเห็นและรับรูไดดวยตา อัน ประกอบดวยการวาดเสน การวาดภาพระบายสีและการปน นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน หมายถึง นักเรียนที่สูญเสียการไดยินทั้งหูตึงและหูหนวก ซึ่ง กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด ขอนแกน ผลการจัดการเรีย นรู หมายถึง คะแนนที่ไดจ ากแบบวัดผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนจากแบบ ประเมินผลงานทัศนศิลปของนักเรียนในระหวางเรียน คะแนนจากแบบทดสอบความคิดสรางสรรคและขอ คนพบจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน ที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบสงเสริม จินตนาการและความคิดสรางสรรค 4. กระบวนการดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง รูปแบบ Pre-Experimental โดยใชรูปแบบการทดลอง One – shot case Study โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาผลการจัดการเรียนรูส าระทัศนศิลป เรื่อง ทัศนศิล ป สรางสรรค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการสอนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคโดยใชกลุมเปาหมาย ซึ่งเปนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน จํานวน 16 คน เครื่ องมือที่ ใช ในการวิจัย ประกอบด วย แผนการจั ดการเรีย นรู โดยใช ก ารสอนแบบส ง เสริ ม จินตนาการและความคิดสรางสรรค จํานวน 7 แผน เวลาเรียน 14 ชั่วโมง รายวิชาศิลปะ สาระทัศนศิลป หนวยการเรียนรู เรื่องทัศนศิลปสรางสรรค ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยมีรายละเอียดของแผนการจัดการ เรียนรูในหนวยทัศนศิลปสรางสรรค ประกอบดวย ปฐมนิเทศการเรียนรู และกิจกรรมสัมผัสรับรู เสนสัมผัส จินตนาการจากแสงเงา สีสันของจินตนาการ จินตนาการงานปน รวมพลัง จินตนาการ นิท รรศการงาน ทัศนศิลปจากจินตนาการ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจํานวน 1 ชุด เปนขอสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 35 ขอ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบสงเสริม จินตนาการและความคิดสรางสรรค จํานวน 1 ชุด มี 3 ดาน ประกอบดวย ดานกิจกรรมการเรียนรู ดาน ครูผูสอน และดานพัฒนาการอารมณและการเรียนรู รวม 12 ขอ แบบประเมินผลงานการสรางสรรคงาน ทัศนศิลป แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู จํานวน 1 ชุด แบบทดสอบความคิดสรางสรรคฉบับรูปภาพ จํานวน 1 ชุด ประกอบดวย 3 กิจกรรม คือกิจกรรมชุดที่ 1 การตอเติมภาพจากวงรี กิจกรรมชุดที่ 2 การตอ เติมภาพจากเสนตาง ๆ ใหสมบูรณ กิจกรรมชุดที่ 3 การตอเติมภาพจากเสนคูขนาน โดยผูวิจัยประยุกตใชมา จากแบบทดสอบความคิดสรางสรรคของทอรแรนซ ฉบับรูปภาพ การเก็บรวบรวมขอมูลไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี้ ปฐมนิเทศนักเรียนใหมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการจัดกิจ กรรมการเรียนรู โดยใชก ารสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค ชี้แจง บทบาทของครูและนักเรียน วิธีการวัดและประเมินผล ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการ เรียนรูกับกลุมเปาหมาย จํานวน 7 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมระยะเวลาในการทดลองใชแผนการสอน


40

40

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

14 ชั่วโมง วัดประเมินทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียน ในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยแบบ ประเมินผลงานการสรางสรรคงานทัศนศิลป ทดสอบหลังเรียน ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดความคิดสรางสรรคของนักเรียน โดยใชแบบทดสอบความคิดสรางสรรค จํานวน 1 ชุด ดําเนินการศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนตอการจัดการเรียนรู ดวยแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค จํานวน 1 ชุด การวิเคราะหขอมูล ใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล คือ คาเฉลี่ย (μ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคารอยละ 5. สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสรุปไดวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการ และความคิดสรางสรรค ผานเกณฑรอยละ 70 โดยมีนักเรียนที่ผานเกณฑคิดเปนรอยละ 81.75 มีคะแนน เฉลี่ยรวม รอยละ 75.89 ซึ่งผานเกณฑตามวัตถุประสงคของการวิจัย 2) ทักษะการสรางสรรคผลงาน ทัศนศิลปของนักเรียน ผานเกณฑรอยละ 80 โดยมีนักเรียนที่ผานเกณฑคิดเปนรอยละ100 มีคะแนนเฉลี่ย รวม รอยละ 86.34 ซึ่งผานเกณฑตามวัตถุประสงคของการวิจัย 3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการ จัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค โดยรวมทั้ง 3 ดาน คือ ดาน กิจกรรมการเรียนรู ดานครูผูสอน ดานพัฒนาการทางอารมณและการเรียนรู นักเรียนมีระดับความคิดเห็นใน ระดับพึงพอใจมากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.9 6. อภิปรายผล ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการวิจัยพบวา มีนักเรียนผานเกณฑ จํานวน 13 คนคิดเปน รอยละ 81.75 ซึ่ง สรุปไดวา ผานเกณฑที่กําหนดเอาไว ตามวัตถุประสงคของการวิจัย ทั้งนี้เนื่องจากการ จัดการเรียนรู โดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค นั้นไดเนนกระบวนการวัดและ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหมีความเหมาะสมกับลักษณะความพิการของนักเรียนโดยผูวิจัยปรับแบบ ประเมินใหมีการสื่อสารดวยภาพมากกวาใชคําอธิบายหรือภาษาเขียนซึ่งนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยินมีขอจํากัดในเรื่องของภาษา ซึ่งผดุง อารยะวิญู (2542) ไดกลาววาเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน มี ปญหาเกี่ยวกับภาษา เชน มีความรูเกี่ยวกับคําศัพทในวงจํากัด เรียงคําที่เปนประโยคผิดหลักภาษา ซึ่งเด็กที่ยิ่ง มีการสูญเสียการไดยินมากเทาใด ยิง่ มีปญหาในทางภาษามากขึ้นเทานั้น เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน จํานวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา ทั้งนี้เพราะวาวิธีการเรียนการสอนตลอดจนการวัดผลที่ปฏิบัติกันอยูใน ปจจุบันเหมาะที่จะนํามาใชกับเด็กปกติมากกวา วิธีก ารบางอยางจึงไมเหมาะสําหรับเด็กที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน ยิ่งไปกวานั้น เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยินมีปญหาทางภาษาและมีทักษะทางภาษาจํากัด จึงเปนอุปสรรคในการทําขอสอบ เพราะผูที่ทําขอสอบไดดีนั้นตองมีความรูทางภาษาเปนอยางดี ดวยเหตุนี้เด็ก ที่มคี วามบกพรองทางการไดยิน จึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคอนขางต่ํากวา เด็กปกติซึ่งสอดคลองกับศรียา


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

41

41

นิยมธรรม (2551) กลาวไววาปญหานําของผูที่มีความบกพรองทางการไดยินคือภาษาหรือการสื่อสารกับผูอื่น การสูญเสียการไดยินมากเทาใด พัฒนาการทางภาษาก็ยิ่งลาชามากเทานั้น จากหลักการและเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงไดดําเนินการจัดทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีความเหมาะสมกับนักเรียน โดยลดทอนขอสอบ ที่เปนภาษาเขียนใหนอยลง แลวเนนขอสอบเชิงสัญลักษณและรูปภาพ ใหมีสัดสวนมากขึ้น อีกทั้งการจัดทําสื่อ การเรียนรู ใบความรู ประกอบแผนการจัดการเรียนรูในแตละแผน ผูวิจัยไดเนนการใชภาพประกอบและสื่อที่ สามารถรับรู และสัมผัส ไดดวยตา เปนหลักสําคัญ จึงทําใหนักเรียนมีผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนผานเกณฑที่ กําหนดไว ซึ่งจากหลักการดังกลาวขางตน สอดคลองกับแนวคิดของ ศรียา นิยมธรรม (2550) ที่กลาววาเด็กที่มี ความบกพรองทางการไดยิน เรียนรูจากการเห็นเปนประสาทสัมผัสนํา ดานทักษะการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปของนักเรียน จากผลการวิจัย พบวา มีนักเรียนผานเกณฑ จํานวน 16 คนคิดเปนรอยละ 100 ซึ่งสรุปไดวาผานเกณฑที่กําหนดเอาไวตามวัตถุประสงคของการวิจัย ทั้งนี้ เนื่องจากในกระบวนการจัดการเรียนรูที่ใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค มีจุดเนน ในการสรางประสบการณใหนักเรียนในเรื่อง การรับรูสัมผัสและรูสึกผานกิจกรรมที่หลากหลาย เชน การวาด ภาพวัตถุสมั ผัส การวาดเสนสัมผัส การจินตนาการรูปรางจากแสงเงา การเขียนภาพจากเพลง การปนจาก จินตนาการ การวาดภาพจากนิทาน เปนตน ซึ่งกิจกรรมดังกลาวนั้น จัดโดยใชขั้นตอนการสอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสัมผัสรับ รูและตระหนัก 2) ขั้นระดมพลัง จินตนาการผานภาษามือ 3) ขั้นจินตนาการและ สรางสรรคชิ้นงาน 4) ขั้นนําเสนอผลงาน 5) ขั้นวัดผลประเมินผล 6) ขั้นเผยแพรผลงาน ในการจัดการเรียนรู เนนเปดโอกาสใหนัก เรียนไดแสดงออกอยางอิส ระ เนนการกระตุนประสาทสัม ผัสหรือการรับ รู จึงทําให นักเรียนสามารถสรางสรรคงานไดดวยความเปนอิสระและมีความสุข สนุกสนานในการปฏิบัติกิจกรรมสงผลให นักเรียนสามารถแสดงออกดานจินตนาการและความคิดสรางสรรคไดอยางมีคุณภาพ สอดคลองกับพีรณา ริ กุลสุรกาน (2549) กลาวไววา นักเรียนมีประสบการณมากกวา (ทั้งที่เกิดขึ้นจริงและในจินตนาการ) จะมีสมอง ที่ซบั ซอนกวาและเรียนรูไดงายกวา ครูจึงสามารถชวยใหนักเรียนเรียนรูไดดีขึ้น โดยการกระตุนจินตนาการ นั่นเอง นักเรียนสามารถจินตนาการไดดีเมื่ออยูในสภาวะผอนคลายและพรอมที่จะเรียนรู ดวยเหตุดังกลาว จึง ทําใหนักเรียนมีผลการประเมินทักษะการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปผานเกณฑที่กําหนดไว ซึ่งผลการวิจัย ดังกลาว สอดคลองกับแนวคิดของทฤษฎีพัฒนาการและทฤษฎีความรูสึกและการเห็นทางศิลปะวาเมื่อเด็ก ไดรับการกระตุนและสงเสริมประสบการณทางดานความรูสึกสัมผัส โดยใชกิจกรรมสรางสรรค ทางศิลปะที่ ออกแบบไดส อดคลองกับระดับวุฒิภาวะ เปดโอกาสใหเ ด็ก ไดแสดงออกทางดานอารมณ ความรูสึก อยาง เสรีภาพแลว คุณภาพของการรับรูยอมพัฒนาดีขึ้นดวย วิรุณ ตั้งเจริญ (2539) กลาวไวและสอดคลองกับ ศรี ยา นิยมธรรม (2550) วากลุม เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน ควรไดรับ การสงเสริมทํานองเดียวกับ โครงการซีไอเอสเอสที (CISST) ที่ก ระตุนความสามารถดา นตางๆ ทั้ง ความคิดสร างสรรค จิน ตนาการ ความรูสึกสัมผัส ความสามารถเชิงระบบและความสามารถในการพัฒนารูปทรง ปรากฏการณที่แสดงความรูสึก สัมผัส ประกอบดวยภาพสัมผัส วัตถุสมั ผัส โสตสัมผัส กลิ่นสัมผัส ซึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดนํา แนวคิด กิจกรรมสรางสรรคซีไอเอสเอสที (CISST) มาประยุกตใชกับนักเรียน เชน การเขียนภาพจากวัตถุสัมผัส การวาดภาพสัม ผัส การเขียนภาพจากเพลง (การสั่นสะเทือนของเสียง) การเขียนภาพจากนิท าน การ


42

42

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

จินตนาการรูปรางจากแสงเงา การปน จากจินตนาการ เปนตน อีกทั้งยังมีกิจกรรมที่เนนการสัมผัส รับรู อี ก หลายกิจกรรม ภายใตการจัดกิจกรรมการเรียนรูดังกลาว ขางตน สงผลใหนักเรียนมีความสุข สนุกสนานและ รูสึกเปนอิสระ ผอนคลายในการสรางสรรคงาน ซึ่งสงผลโดยตรงใหผลงานที่สรางสรรคขึ้น เปนผลงานที่สื่อ จินตนาการของนักเรียนไดอยางสูงสุด เปนผลงานที่มีความนาสนใจ แปลกใหม สอดคลองกับ นิพนธ ขันแกว (2551) ที่ ก ลา วไว วา การแสดงออกทางศิ ล ปะของนั ก เรี ยนจะเริ่ม จากการรับ รู รู สึก เกิ ด ประสบการณ ประสบการณจะนําไปสูการสรางสรรครูปแบบใหมๆ ตามความคิดจินตนาการของแตละคน จากผลการวิจัย และเอกสารหลัก การตางๆ ที่ก ลา วมาขางตน ผูวิจั ยจึง อภิป รายผลโดยสรุป ไดวา การสอนแบบสง เสริ ม จิน ตนาการและความคิ ด สร า งสรรค เป น การสอนที่ เ น น การกระตุ น การรั บ รู สั ม ผั ส แล ว รู สึ ก เพื่ อ เกิ ด ประสบการณ นําไปสูการสรางภาพขึ้นในใจ แลวแสดงออกมาเปนผลงานศิลปะที่สะทอนความคิดจินตนาการ ไดอยางสูงสุด ดังผลการวิจัยที่ปรากฏใหเห็นไดวา นักเรียนผานเกณฑการประเมิน ดานทักษะการสรางสรรค ผลงานทัศนศิลป คิดเปนรอยละ 100 ดานความคิดสรางสรรคของนักเรียน ผลการวิจัยพบวาคะแนนเฉลี่ยการประเมินความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 ดาน คือ ความคิดริเริ่ม ความคิดคลอง ความคิดยืดหยุน และความคิดละเอียดลออ คิดเปนรอยละ 83.35 โดยมีนักเรียนที่ผานเกณฑ จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 81.73 ผลการวิจัยดังกลาวสอดคลองกับชูเกียรติ มุงมิตร (2554) ที่กลาววา จินตนาการเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับจินตภาพ คือ การสรางภาพในสมองหรือนึกคิด เปนภาพ จึงเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคอยางหลีกเลี่ยงไมได ถือเปนทักษะเบื้องตนของความคิด รังสรรค ตนทัพไทย (2553) ไดศกึ ษาการจัดกิจกรรมทัศนศิลปที่สงเสริมความคิดสรางสรรค ตามการจัดกิจกรรมการ เรียนรู ของ สกศ. ผลการศึก ษาพบวา นัก เรียนมีความคิดสรางสรรคห ลัง เรียนสูง กวากอนเรียน อยางมี นัยสําคัญ ทางสถิติที่ร ะดับ .05 ดัง นั้นจึง อภิป รายผลไดว า การจัดการเรียนรูที่ ใชก ารสอนแบบสง เสริ ม จินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนการจัดการเรียนรูที่สงผลใหนักเรียนมีความคิดสรางสรรคผานเกณฑที่ กําหนดไวได เนื่องดวยรูปแบบดังกลาวมุงกระตุนจินตนาการ ซึ่งจินตนาการเปนบอเกิดของความคิดสรางสรรค เมื่อนักเรียนไดรับรู สัมผัส รูสึกแลวเกิดเปนประสบการณจะทําใหนักเรียนสามารถแสดงออกทางจินตนาการได อยางสูงสุด เมื่อจินตนาการสูง ความคิดสรางสรรคก็จะสูงตามดวย ดังที่นิพนธ ขันแกว (2553) ไดกลาววา จินตนาการจุดกอเกิดความคิดสรางสรรค สอดคลองกับนิพนธ ทวีกาญจน (2533) กลาววาจินตนาการบอเกิด ความคิดสรางสรรคในงานศิลปะ ความคิดสรางสรรคในงานศิลปะนั้น เกิดจากการใชจินตนาการอยางอิสระ จินตนาการเปนสิ่งสําคัญในการสงเสริมความคิดสรางสรรค อันสอดคลองกันกับผลการวิจัยที่พบวานักเรียนที่ เรียนโดยการใชก ารสอนแบบสง เสริม จินตนาการและความคิดสรางสรรค มี คะแนนการประเมินความคิด สรางสรรคผานเกณฑที่กําหนดไว ดานความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูผลการวิจัยพบวา นัก เรียนมี ความ คิดเห็นตอการจัดการเรียนรูโ ดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคในระดับพอใจมาก ที่สุดโดยมีคาเฉลี่ยรวม 4.90 โดยดานกิจกรรมการเรียนรู มีความคิดเห็นในระดับพอใจมากที่สุด (𝜇=4.86) ดานครูผูสอน มีความคิดเห็นในระดับ พอใจมากที่สุด (𝜇=5) และดานพัฒนาการทางอารมณและการเรียนรู มี


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ 43เศษ

43

ความคิดเห็นในระดับ พอใจมากที่สุด (𝜇 = 4.90) แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรู โดยใชการสอนแบบ สงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนรูปแบบการจัดการเรียนรูที่มีความสอดคลองกับมาตรฐานการ เรียนรู สาระทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 ที่ไดระบุไววา สรางสรรคงานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิด ตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน (โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน, 2551) ซึ่งการจัดการเรียนรูในรูปแบบนี้ มีลักษณะเดน คือ เนนใหผูเรียนไดรับรู สัมผัส และรูสึกแลวเกิดประสบการณ เปนการจัดการเรียนรูโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ โดยผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูจากการปฏิบัติจริง มีการจัด ประสบการณใหผูเรียนไดพบไดเห็น ไดยิน (การสั่นสะเทือนของเสียง)ไดสัมผัส ซึ่งเปนการกระตุนจินตนาการ ของนักเรียน อีกทั้งเนนบรรยากาศในการเรียนรูใหนักเรียนมีอิสระในการคิด การปฏิบัติงาน และการเรียนรู อีก ทั้งในระหวางการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน พบวานักเรียนสวนใหญ ให ความสนใจในทุกๆกิจกรรมของการจัดการเรียนรู มีสวนรวมในการทํากิจกรรม มีการรวมแสดงความคิดเห็น อยางมั่นใจ มีการทํางานที่ไดรับมอบหมายดวยความรับผิดชอบเสร็จทันเวลา อีกทั้งพฤติกรรมของนักเรียน ในขณะทํางานสรางสรรค มีบรรยากาศของความสุข สนุกสนาน ซึ่งชี้ใหเห็นวานักเรียนเกิดความเขาใจและ มั่นใจในการแสดงออกทางศิลปะมากขึ้น ขอสังเกตพฤติกรรมดังกลาวนั้น สอดคลองกับผลวิจัยที่พบวานักเรียน มีความคิดเห็นระดับพึงพอใจมากที่สุด ตอการจัดการเรียนรู โดยใชการสอนแบบสง เสริมจินตนาการและ ความคิดสรางสรรค การวิจัยครั้งนี้ แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรูที่ใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิด สรางสรรค ทําใหนักเรียนไดรับการกระตุนจินตนาการและความคิดสรางสรรคผานกิจกรรมที่เนนการสัมผัสรับรู รูสึก เกิดประสบการณ อันนําไปสูการสรางภาพขึ้นในใจแลวแสดงออกมาเปนผลงานที่สะทอนจินตนาการ และความคิดสรางสรรค ที่สื่อคุณคาทางดานความงามของศิลปะได อันสอดคลองกับ หลัก สูตรที่กําหนด มาตรฐานการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 ที่ระบุวาสรางสรรคงาน ทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะหคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิด ตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้สถาบันพัฒนาครู อาจารย และ บุคลากรทางการศึกษา (2553) ไดกลาววา ความคิดสรางสรรคของเด็ก ๆ จะคอย ๆ สูงขึ้นตามอายุ จนกระทั่ง เด็กเรียนอยูประมาณระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 พัฒนาการดานความคิดสรางสรรคของเด็กจะลดลงอยาง เห็นไดชัด หรือหยุดชะงักหายไปเลย ซึ่งมีสาเหตุมาจากสภาพแวดลอมทางโรงเรียน กฎระเบียบที่เขมงวด และ การปรับตัวใหเขากับผูอื่น ทําใหเ ด็กขาดความเปนอิสระ ทั้ง ดานความคิดและการกระทํา อันเปนผลทําให ความคิดสรางสรรคลดลง นอกจากนี้ นิพนธ ขันแกว (2553) กลาวไววา สภาพการจัดการเรียนรูในสาระ ศิลปะ พบวาการจัดการเรียนรู มุงเนนใหความสําคัญ เฉพาะดานความคิดสรางสรรค ทําใหจินตนาการยังเปน สิ่งที่ถูกละเลย และขาดความสําคัญ ในกระบวนการจัดการเรียนรูของศิลปะในปจจุบัน อันสงผลใหผูเรียนขาด ความสุขในการเรียน อีกทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับที่คอนขางต่ํา กลาวโดยสรุปการจัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปน การจัดการเรียนรูที่มีความเหมาะสมและสอดคลองกับธรรมชาติของรายวิชาศิลปะในสาระทัศนศิลป อีกทั้งมี


44

44

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ความเหมาะสมกับสภาพของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน รวมทั้งการจัดการเรียนรูรูปแบบนี้ยังเปน การแกไขปญหาในเรื่องการแสดงออกทางจินตนาการและความคิดสรางสรรคของนักเรียนในวัยประถมปลาย และเปนรูปแบบอันมุงเนนการพัฒนา สงเสริม ทั้งจินตนาการและความคิดสรางสรรคของนักเรียน ควบคูกันไป อันสงผลใหนักเรียนเกิดความมั่นใจในการแสดงออกทางศิลปะ และมีความสุข สนุกสนานในการเรียนรูศิลปะ ตามวัยของนักเรียน 7. ขอเสนอแนะจากการวิจัย มีดังนี้ 7.1 ขอเสนอแนะทั่วไป ประกอบดวย 1) การจัดการเรียนรู นักเรียนควรไดรับการกระตุนทางดานการรับรูสัมผัส ผานประสาทสัมผัส ทั้ง 5 อันประกอบดวย ตา หู ผิวหนัง จมูก ลิ้น เพราะเปนการสั่งสมประสบการณ อันนําไปสูการแสดงออก ทางจินตนาการไดอยางสูงสุด 2) การจัดการเรียนรู ครูศิลปะควรสงเสริมกิจกรรมทางดานทักษะการปฏิบัติ ควบคูกับการจัด กิจกรรมทางดานการรับรู ชื่นชม ใหกับนักเรียนไปพรอมๆ กัน โดยสรางประสบการณทางดานสุนทรียะใน ลักษณะสั่งสมจากการรูสึก คิดและจินตนาการ 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรูทางศิลปะ ครูผูสอนควรใหความสําคัญถึงความสุข สนุกสนาน และ ความเปนอิสระ ผอนคลาย ของนักเรียน เพราะสิ่งเหลานี้มีผลใหนักเรียนมีความเชื่อมั่นและเห็นคุณคาในการ แสดงออกของตนเองอันจะนําไปสูการเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนรูศิลปะอยางยั่งยืน 4) นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ประสาทสัมผัสรับรูทางหู สูญเสียโอกาสในการรับรู อยางเต็มที่ไป ครูผูสอนจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองจัดกิจกรรมที่เนนการกระตุนและพัฒนาประสาทสัมผัส ในการรับรู สวนอื่น ๆ ที่ยังหลงเหลืออยูใหทํางานอยางเต็มประสิทธิภาพ เพื่อใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรูเต็ม ตามศักยภาพ 7.2 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไปประกอบดวย 1) ควรมีการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรูที่สามารถสงเสริมจินตนาการของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยินในรูปแบบอื่นๆตอไป 2) ควรมีการศึกษา เปรียบเทียบในเรื่องจินตนาการทางศิลปะของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยินกับนักเรียนที่พิการดานอื่น ๆ หรือเปรียบเทียบกับนักเรียนปกติ 3) ควรมีการศึกษาการใชกิจกรรมสรางสรรคตามแนวคิดซีไอเอสเอสที (CISST) ซึ่งเปนกิจกรรม ที่เนนการตรวจสอบความคิดสรางสรรค จินตนาการ ความรูสึก สัมผัส กับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการ ไดยินอยางตอเนื่อง 4) ควรมีการศึกษาเพื่อใหไดขอความรูในประเด็นที่กลาววา การที่นักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน มีขอจํากัดในเรื่องของภาษาและการสื่อสาร จึงทําใหนักเรียนในกลุม นี้ มีการใชจินตนาการ มากกวาหรือสูงกวาคนปกติทั่วไป


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ45 เศษ

45

บรรณานุกรม ชาตรี วิฑูรชาติ. (มปป). สมองดีเพราะมีจินตนาการ. กรุงเทพฯ : Life & Family ชูเกียรติ มุงมิตร. (2554). จินตนาการ. http//www.rta.Mi.th/chukiat/story/dreaming.html นิพนธ ขันแกว. (2551). การพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู ทีใชเทคนิคการสรางสรรคศิลปะเพือ่ สงเสริมจินตนาการ รายวิชา ศ 31101 ศิลปะ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ตามแนวคิดความรูสึก และการเห็นทางศิลปะ. โรงเรียนแกนนครวิทยาลัย. ___________. (2553). สูจบิ ัตรการประกวดศิลปกรรมปตท. เยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 5. คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. นิพนธ ทวีกาญจน. (2533). 3 มิติ ทัศนะทางศิลปะและศิลปศึกษา. กรมฝกหัดครู. ผดุง อารยะวิญู. (2542). การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: P.A.ATR & PRINTING CO,LTD. พีรณา ริกุลสุรกาน. (2549). คูมือครูสําหรับเสริมสรางสมองของเด็กวัยเรียน ระดับปฐมวัย-อุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : แฮปป แฟมิลี่. รักชนก สุทธิประภา. (2550). ผลการจัดกิจกรรมเลานิทานภาษามือ ตอความมีวินัยในตนเองของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด อุดรธานี. รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. รังสรรค ตนทัพไทย. (2553). ผลการจัดกิจกรรมทัศนศิลปที่สงเสริมความคิดสรางสรรคตามการจัด กิจกรรมการเรียนรูของ สกศ. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน. (2551). หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน. ขอนแกน : เอกสารอัดสําเนา. เลิศ อานันทนะ. (2535). เทคนิควิธีการสอนศิลปะเด็ก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิชัย วงศใหญ. (2535). ศิลปศึกษา-ศึกษาศิลปะ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิรุณ ตั้งเจริญและคณะ. (2542). รูปแบบการจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษดานทัศนศิลป. กรุงเทพ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ศรียา นิยมธรรม. (2550). ทัศนศิลปเพื่อการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : แวนแกว. _____________. (2551). ความบกพรองทางการไดยิน ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม พิมพครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแวนแกว. สถาบันพัฒนาครู อาจารยและบุคลากรทางการศึกษา. (2553). การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิด สรางสรรค. http://www.guruonline.in.th. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคิด สรางสรรค. กรุงเทพฯ : กลุมสงเสริมนวัตกรรมการเรียนรูของครูและบุคลากร ทางการศึกษา สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู.


46 งานวิจัยเรื่อง: การพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยินชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสราง ประโยคประกอบภาพ ป พ.ศ. 2555 ชื่อผูวิจัย : นางสาวพัชราพร ศรีจันทรอินทร โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาษาเปนวัฒนธรรมอยางหนึ่งที่ แสดงใหเ ห็นถึงความเปน เอกลัก ษณของชาติ เปนสมบัติท าง วัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพ และเสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เนื่องจากภาษาเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร ชวยสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีตอกัน ประเทศไทยเรามีภ าษาไทยเปนภาษาประจํา ชาติ เป นเครื่องมือ ที่สําคัญ ในการติดตอสื่อ สารในชีวิ ต ประจําวัน อีกทั้งยังเปนเครื่องชวยในการถายทอดวัฒนธรรม ความรู ประสบการณจากคนรุนหนึ่งไปยัง คนอีกรุนหนึ่งใหมีความเขาใจตรงกัน เปนหนึ่งใจเดียวกัน ทําใหสามารถประกอบธุรกิจ การงาน และการ ดํา รงชีวิ ต ร ว มกั น ในสัง คมประชาธิ ป ไตยไดอ ย า งสัน ติ สุ ข เป น เครื่ อ งมือ ที่ ใ ช ในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูล สารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิด วิเ คราะหวิจ ารณ และ สรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทางวิ ทยาศาสตรเทคโนโลยี ตลอดจน นําไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจ (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2545:1) ดังนั้นภาษาไทยจึงเปนสมบัติของชาติที่ควรแกการเรียนรู เพื่ออนุรักษและสืบสานใหคงอยูคูชาติ ไทยตลอดไป ในปจจุบันนี้โลกกาวหนาเจริญเร็ว การเรียนการสอนไดรับการพัฒนาอยูตลอดเวลา การสอน ภาษาไทยก็เชนกันไดมีการปรับปรุงพัฒนาเสมอมา นอกจากจะยึดหลักระเบียบประเพณีเดิมแลวยังได หลัก สากลมาประยุกตใชเพื่อความทันสมัยกับความสําคัญของการสอนภาษาไทยยุคพัฒนา (คณาจารย สมาน มิตร. 2547: 17) และการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานกลุมประสบการณตาง ๆ จําเปนตองใช ภาษาไทยในการจัดการเรียนการสอน และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาผูเรียนในทุก ๆ ดาน ทั้งตัวผูเรียน สังคมและประเทศชาติ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยจึงจําเปนอยางยิ่งในการที่จะใหมี ความสัมพันธสอดคลองกันเปนลักษณะของการบูรณาการ หรือเรียกวาทักษะสัมพันธ การจัดกิจกรรม การ เรียนการสอนดังกลาวจะประสบผลสําเร็จไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับองคประกอบที่สําคัญ ไดแก ครู นักเรียน สื่อการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน และบรรยากาศในหองเรียน เปนตน (กิดานันท มลิทอง. 2548: 8) ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร เพื่อใหเกิดความ เขาใจตรงกัน และตรงตามจุดมุงหมายไมวาจะเปนการแสดงความคิด ความตองการ และความรูสึ ก


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ47เศษ

47

คําในภาษาไทยยอมประกอบดวยเสียง รูปพยัญ ชนะ วรรณยุกต และความหมาย สวนประโยคเปน การเรียงคําตามหลักเกณฑของภาษา และประโยคหลายประโยคเรียงกันเปนขอความ นอกจากนั้นคําใน ภาษาไทยยังมีเสียงหนัก-เบา มีระดับของภาษา ซึ่งตองใชใหเหมาะแกกาลเทศะและบุคคล ภาษายอมมี การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุมคน ตามสภาพของสังคม และเศรษฐกิจ การใชภาษาเปนทัก ษะที่ผูใชตองฝก ฝนใหเ กิดความชํานาญ ไมวาจะเปนการอาน การเขียน การพูด การฟง และการดูสื่อตางๆ รวมทั้งตองใชใหถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา เพื่อสื่อสารใหเกิดประสิทธิภาพ และใชอยางคลองแคลว มีวิจารณญาณ และมีคุณธรรม (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546) การเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา นักเรียนจะประสบความสําเร็จในการเรียนวิชาตาง ๆ มากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับความสามารถในการเขาใจความหมายของคํา การจับใจความในเรื่องที่อาน และสามารถเขียนถายทอดความรูสึกนึกคิดจากเรื่องที่อาน เขียนขยายความจากที่อาน เขียนบรรยายสิ่งที่ อาน เขียนประยุกต โดยใชความสําคัญจากสิ่งที่เคยอานรวมกับความรูสึกนึกคิดของตน (เต็มสิริ ดีกลาง. 2548: 2) ลักษณะของการเรียนภาษาเปนการฝกทักษะ ซึ่งทักษะที่ยากสําหรับผูเรียน ไดแก ทักษะ ทางดาน การเขียน อันเปนทักษะการสื่อสารที่ใชตัวอักษรแทนคําพูด โดยบันทึกเปนถอยคําและความคิด ของผูเขียน เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันระหวางผูเขียนกับผูอาน (กรมวิชาการ. 2546: 2) นักเรียนจะมี ทักษะการเขียนเกิดขึ้นไดจําเปนตองมีความรูและความเขาใจความหมายของคํา ที่เขียนและสงเสริมให ฝกฝนการเขียนอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องตลอดเวลา ความมุงหมายของการสอนภาษาก็เพื่อสงเสริม พัฒนาการของนักเรียนในทางภาษาซึ่งประกอบดวย ทักษะการฟง ทักษะการพูด ทักษะการอาน และ ทักษะการเขียน ซึ่งทักษะทั้ง 4 ประเภทนี้ ถือวา การเขียนเปนการถายทอดความคิด ความรูสึก และ ความเขาใจของตนเองออกมาเปนตัวอักษร สัญลักษณ หรือรูปภาพ เพื่อสื่อความหมายใหผูอื่นไดเขาใจ การเขียนจึงเปนทักษะการแสดงออกทางภาษาที่สําคัญในการเรียนและการสอนเกือบทุกวิชาตองอาศัยการ เขียนเพื่อบันทึกและแสดงความรูสึกของตนออกมา อีกทั้งการเขียนยังเปนทักษะที่สลับซับซอนกวาทักษะ อื่น จึงตองมีการฝกฝนทักษะการเขียนกันอยางตอเนื่อง (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. 2548:2) ผูที่มีทักษะการ เขียนที่ดี จะตองมีความสามารถในการเรียงรอยถอยคําอยางเปนระบบและถูกตองตามหลักภาษาเขียน อีก ทั้งการเขียนจะตองอาศัยทักษะสายตา การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อเล็ก การทํางานประสาน กันระหวาง สายตากับการบังคับมือ และทักษะการเรียบเรียงแนวความคิดอีกดวย (ผดุง อารยะวิญู. 2544: 75 - 76) การเขียนเปนเครื่องมือในการสื่อสารระหวางผูเขียนกับผูอาน เปนวิธีการถายทอดความคิดโดยใช สัญลักษณที่กําหนดขึ้นเปนสื่อกลาง อาจเปนภาพ เปนสัญลักษณ หรือตัวอักษรคือภาษา ในที่นี้จะ กลาวถึงการเขียนที่ใชภาษาเปนเครื่องมือในการสื่อสาร ผูสื่อสารจะถายทอดความรู ขอเท็จจริงความคิด ทัศนะ หรืออารมณ จินตนาการ ลงไปเปนถอยคําภาษา เมื่อผูรับสารคือผูอาน อานแลวก็จะเขาใจหรือ เห็นสิ่งที่ผูเขียนตองการสื่อนั้น แตทั้งนี้มีขอแมวา ผูเขียนตองมีความสามารถในการถายโยงสิ่งที่จะสื่อนั้น ใหเปนภาษาที่ถูกตองชัดเจนตามที่ผูเขียนตองการเปนเรื่องไมงายนักที่จะสื่อสารใหผูอานเขาใจตรงกันกับผู


48

48

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

สื่อสาร บางครั้งผูอานก็มีจํานวนมาก ก็ยิ่งเพิ่มความยากใหแกผูสื่อสารที่จะตองพยายามใชภาษาใหไดผล ตามตองการ ( บุปผา บุญทิพย. 2547: 3 ) ในการเขียนประโยคเมื่อผูเขียนรูจักใชคําที่ถูกตองแลว ผูเขียน จะตองรูจักคํามาผูกเปนประโยคใหสัมพันธกันไดดวย จึงจะสื่อความหมายของเรื่องที่เขียนชัดเจน (ศักดิ์ศรี ปาณะกุล; และนิรมล ศตวุฒ.ิ 2546 : 38 ) จากนโยบายการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ไดยึดหลัก ผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนทุก คนมีความสามารถและพัฒนาตนเองได การจัดกระบวนการเรียนรูตองจัด เนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตาง ระหวางบุคคล และใหสถานศึกษาพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา (วิชัย ตันศิริ. 2543: 67 - 84 )โดยเฉพาะนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน หากมีการสูญเสียการไดยินมากก็ยิ่งมี ปญหาในทางภาษามากขึ้น การจัดการศึกษาสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินจึงตองใชระบบ ประสาทตาหรือการมองเห็นเพื่อการเรียนรูเปนสําคัญ ดังนั้นประสาทตาจึงมิใชเพียงสิ่งที่จะสงเสริมการ เรียนรูใหดีขึ้นเทานั้น แตเปนสิ่งจําเปนอยางมากในการจัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยิน การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้น จะตองมีรูปแบบ การเรียนการสอน และสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพราะรูปแบบวิธีการเรียนการสอนและสื่อการ เรียนการสอน จะชวยใหการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ชวยสราง แรงจูงใจ และชวยกระตุนความสนใจของนักเรียนเรียนใหมีสวนรวมในการเรียน ทําใหนักเรียนเรียนเขาใจ ชัดเจน สามารถเรียนรูไดมากขึ้นในเวลาที่จํากัด เชื่อมโยงนามธรรมใหเปนรูปธรรม ทําสิ่งที่ซับซอนใหงาย ขึ้น (กิดานันท มลิทอง. 2543: 89-93) ซึ่งปจจุบันนี้รูปแบบการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนมี หลากหลายชนิดและมีการพัฒนาไปจากเดิมอยางมาก โดยแตเดิมสวนมากจะเนนการสอนแบบบรรยาย ตามหนังสือเรียน แตในปจจุบันมีวิธีการสอนหลากหลายรูปแบบวิธีการที่จะนํามาใชสอนเพื่อใหเหมาะสม กับศักยภาพของนักเรียนแตละคนโดยจะเนนผูเรียนเปนสําคัญ การเขียนเปนวิธีก ารสื่อสารที่สําคัญ สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ซึ่ง ตองใช ติดตอกับคนปกติ แตภาษาเขียนของเด็กเหลานี้มักมีขอบกพรองมากมาย ทั้งในดานการเขียนคํา ปริมาณ คํา การใชชนิดของคํา นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินจะมีความสามารถ ในการเขียนปริมาณคําได อยางจํากัด ประโยคที่นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินเขียนก็จะเปนประโยคสั้น ๆ ใชคําในแตละ ประโยคนอย และมักเขียนคําตกหลน ตลอดจนเรียงลําดับคําในประโยคผิด จึงควรเปนหนาที่ของ ครูผูสอนและผูที่เกี่ยวของกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโดยตรงที่จ ะตองหาวิธีแกไขความ บกพรองในดานการเขียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินเหลานี้ นักเรียนทุกคนสามารถเขียน หนังสือได หากไดรับการสอนที่ถูกวิธี ปญหาในการเขียนอยางหนึ่งของนักเรียนก็คือไมสามารถนึกหาคําที่ จะนํามาเขียนได เขียนประโยคผิดหลักภาษา เรียงประธาน กริยา กรรม ไมถูกตอง จึงตองเลือกคํามา ให ต ามที่ ค รู กํ า หนดเมื่ อ เด็ ก มี ทั ก ษะในการเขี ย นประโยคจากตั ว อย า งได แ ล ว เด็ ก จะเขี ย นได เ อง (ผดุง อารยะวิญู. 2545 :ค )


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ49เศษ

49

จากระบบการสื่อสารดังกลาวสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินจะมีพัฒนาการทาง ภาษาและการพูดลาชากวาปกติ ทั้ง นี้เพราะประสาทหูซึ่ง เปนประสาทที่สําคัญในการเรียนรูภาษานั้น บกพรองไป จึงทําใหไมสามารถไดยินเสียงหรือไดยินนอยมาก ทําใหไมสามารถสื่อสารกับบุคคลอื่นไดอยาง ปกติ ฉะนั้นบุคคลเหลานี้จึงขาดความเขาใจภาษา ทั้งในภาษาพูด และภาษาเขียน บุคคลเหลานี้รูคําศัพท ในวงจํากัด เรียงคําในประโยคผิดหลักภาษา เขียนคําตกหลน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยที่ไดศึกษาเกี่ยวกับ ความสามารถทางการเขียนของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินระดับชั้นประถมศึกษา ผลจากการ วิจัยพบวา นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินนั้นมีปญหาทางดานการเขียน คือ เขียนคําตกหลน เขียนเรียงคําในประโยคสลับที่กันไมถูกตองตามหลักโครงสรางของ ประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม เชน ประโยค แมกินขาว นักเรียนจะเขียนประโยคไมถูกตองในลักษณะสลับที่ของ ประธาน กริยา กรรม เปน แมขาวกิน เปนตน (พนัส นาคบุญ. 2550 ; พัชนีย เจริญโลทองดี. 2546) จากสภาพปญหาที่ไดพบในการจัดการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโรงเรียน โสตศึกษาจังหวัดขอนแกน พบวา มีสาเหตุของปญหาที่มีความสอดคลองกับแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บุคคล (IEP) ของนักเรียนแตละคน พอสรุปได ดังนี้ 1. สาเหตุจ ากตัวผูเรียน ซึ่งเปนเด็ก ที่มีความตองการพิเศษประเภทบกพรองทางการไดยิน มีขอจํากัดในเรื่ องของการรับ รู ความสนใจ ความจํา การใชภาษาคอ นขางนอย หรือใชไมถูก ตอ ง ตามหลักไวยากรณ มักเขาใจเรื่องราวคลาดเคลื่อนจากความเปนจริง เพราะฟงไมชัด บางครั้งการสื่อสารกับ ผูอื่นไมเขาใจทําใหเด็กมีปญหาทางอารมณและการปรับตัว สวนความสามารถทางสติปญญามีทั้งฉลาด ปานกลาง โง เหมือนเด็กปกติ แตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคอนขางต่ํากวาเด็กปกติ เนื่องจากมีปญหา เกี่ยวกับภาษาทําใหเปนอุปสรรคในการเรียน 2. สาเหตุจากครูผูสอน ครูผูสอนยังมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียน การสอน การใชภ าษามือ และเทคนิคที่ เ กี่ยวของในการจัด กิจ กรรมการเรียนการสอนนั ก เรี ยนที่ มี ความบกพรองทางการไดยนิ นอย ในการที่จะพัฒนานักเรียนใหมีความกาวหนาขึ้นไดอยางเปนที่นาพอใจ เนื่องจากยังขาดการคนควาอยางตอเนื่อง และการสื่อสารที่เขาถึงนักเรียนทําใหเกิดชองวางในเรื่องของการ ใชภาษาในการสื่อสาร 3. ขาดแคลนสื่อการเรียนการสอน ครูมีความรูความเขาใจการผลิตสื่อเฉพาะดานนอยถึงแม บางครั้งครูผูสอนจะตระหนักถึงความสําคัญที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ เหมาะสมใหกับนักเรียน ที่มีความตองการพิเศษประเภทบกพรองทางการไดยิน จึง ทําใหครูผูส อนละเลยหรือขามเนื้อหาหรือ กิจกรรมที่จําเปนตองฝกฝนไป ทําใหเด็กขาดโอกาสที่จะไดรับการฝกฝนในกิจกรรมนั้นๆ ดวย ปญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความตองการพิเศษประเภทบกพรองทางการไดยิน เปนปญหาที่ตองปรับปรุงแกไข คือ การเขียนของนักเรียน ไมสามารถเขียนประโยคใหถูกตองตามหลัก ไวยากรณได ซึ่ง จากการประมวลสาเหตุของปญหาดังกลาวขางตน ผูศึกษาไดหาแนวทางแกปญหาโดย การนําวิธีการผลิตสื่อมาใชใหถูกตองและเหมาะสม เปนประเภทแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค


50

50

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ประกอบภาพ เพื่อสรางความสนใจ และฝกฝนใหเด็กเกิดการเรียนรูการเขียนประโยคใหสามารถจดจําและ นําไปใชในชีวิตประจําวันได การใช แบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค ประกอบภาพ เปนนวัตกรรมหนึ่งที่ผูศึกษา เลือกนํามาพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากมีการใชสื่อแบบบูรณาการที่จะชวยใหนักเรียนเกิดความ สนุกสนาน เราใจใหนักเรียนสนใจที่จะเรียนวิชาภาษาไทยมากขึ้น ชวยใหนักเรียนมีความสามารถทางดาน การเขียนประโยคสูงขึ้น และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได ดวยเหตุผลดังกลาวผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสราง ประโยคประกอบภาพ เพื่อเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนในการพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทยใหมี ประสิท ธิภาพยิ่ ง ขึ้ นและมี ความเหมาะสมตามศั ก ยภาพของ แตละบุคคล 2.1 วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ของ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการ ไดยินระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการสอนโดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค ประกอบภาพ 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย รูปแบบการวิจัยและแบบแผนการทดลองในงานวิจัย การศึกษาครั้ งนี้เ ปนการศึ กษากึ่ง ทดลอง (Quasi Experimental Research) โดยใชรู ป แบบทดสอบกอนและหลังการทดลอง เปนการศึกษากลุมตัวอยางเดียว (One Group Pretest - Posttest Design) ซึ่งเขียน เปนรูปแบบการศึกษาดังนี้ (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ อางถึงในวันเพ็ญ ดี แปน,2550)


51

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ51เศษ

ตารางที่ 1 แสดงรูปแบบการศึกษา กลุมทดลอง สอบกอนเรียน E T1 เมื่อ

วิธีสอน X

สอบหลังเรียน T2

E แทน กลุมตัวอยางที่มีปญหาดานการเขียนสะกดคํา X แทน การสอนโดยใชแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคําจากภาพ T1 แทน การทดสอบวัดความสามารถดานการเขียนสะกดคํา กอนเรียน T2 แทน การทดสอบวัดความสามารถดานการเขียนสะกดคํา หลังเรียน ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถม ศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน จํานวน 11 คน กลุมตัวอยาง เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ที่กําลังศึกษาในชั้นประถม ศึกษาปที่ 4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัด ขอนแกน จํานวน 6 คน คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งผูศึกษาเปนครู ประจําชั้น ไดวิเคราะหผูเรียนจากแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 1. แบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ 2. แผนการจัดการเรียนรู 3. แบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนประโยค การเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้ 1. กอนทําการทดลอง ผูศึกษาทําการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับนักเรียน กลุมตัวอยาง ดวยแบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนประโยค ที่ผูศึกษาสรางขึ้น จํานวน 30 ขอ ใช เวลาในการทดสอบ 1 ชั่วโมง 2. ดําเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู แผนที่ 1 ถึงแผนที่10 โดยใชแบบฝก การเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ จํานวน 10 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมง ระยะเวลา 6 สัปดาห ประกอบดวยแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ จํานวน 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 โครงสรางประโยคพื้นฐาน ประกอบดวย แบบฝกที่ 1 ประโยค 2 สวน แบบฝกที่ 2 ประโยค 3 สวน แบบฝก ที่ 3 ประโยคขยายประธาน แบบฝกที่ 4 ประโยคขยายกริยา แบบฝกที่ 5 ประโยค ขยายกรรม และชุดที่ 2 การเขียนประโยค ประกอบดวย แบบฝกที่ 6 เติมคําในประโยคจากรูปภาพ ที่กําหนดให แบบฝกที่ 7 เขียนใหมใหถูกตอง แบบฝกที่ 8 เรียงคําในประโยคจากรูปภาพที่กําหนดให แบบฝกที่ 9 เขียนประโยคจากรูปภาพและความหมายที่กําหนดให แบบฝกที่ 10 เขียนประโยประกอบภาพ ระหวางการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ครูจะสาธิตและอธิบายขั้นตอนของการทําแบบฝกทีละขั้น


52

52

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

อยางละเอียด ใหนักเรียนดูและฟงกอนที่จะไดปฏิบัติจริงตามขั้นตอนของแบบฝกการเขียนตามโครงสราง ประโยคประกอบภาพ 3. หลังจากสิ้นสุดการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู ครบทั้ง 10 แผน ผูศึกษาทําการ ทดสอบ วัดความสามารถดานการเขียนประโยคหลังเรียน (post-test) กับนักเรียนกลุมตัวอยางอีกครั้ง โดยใช แบบทดสอบวัดความสามารถดานการเขียนประโยคชุดเดียวกันกับที่ใชทดสอบกอนเรียน การวิเคราะหขอมูล 1. การศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค โดยการหาคาเฉลี่ย คะแนนแตละหนวย และจากการทดสอบสิ้นสุดการทดลองแลวนํามาประเมินโดยใช 80/80 จากการ คํานวณคา E1 และ E2 2. การศึกษาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยินในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ทําการ วิเคราะหขอมูลโดยหาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาคะแนนเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเกณฑการ ประเมินระดับความสามารถในการเขียนประโยค 3. การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการ ไดยิน โดยการวิเคราะหคะแนนกอนและหลังสอนโดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบ ภาพ วิเคราะหขอมูลโดยวิธีการทดสอบ The Wilcoxon Matched-Pairs Signed-Rank Test ของ (บุญชม ศรีสะอาด, 2546 ) สถิติที่ใช การศึกษาครั้งนี้ใชคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย ( X ) และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 104-106 ) 2.3 ผลการศึกษา การพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ปรากฏผลดังนี้ 1. ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน พบวา แบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ที่ สรางขึ้นมีคาเทากับ 85.66/ 83.66 ซึ่งมีคาเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ 80/80 2. ความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับ ชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 หลังจากการไดรับการสอน โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ มีค า คะแนนเฉลี่ ย เท า กั บ 36.66 หมายถึง มีค วามสามารถในการเขี ย นประโยคอยู ใ นระดั บ ดีมาก 3. นั ก เรี ยนที่มี ความบกพร องทางการไดยิ น ที่ได รับ การสอนโดยใชแบบฝก การเขี ยน ตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ มีความสามารถในการเขียนประโยคกอนและหลังการทดลอง แตกตาง


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ53เศษ

53

กั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 โดยหลั ง การทดลองนั ก เรี ย นมี ค วามสามารถใน การเขียนประโยคสูงกวากอนทดลอง 2.4 อภิปรายผล การพัฒนาความสามารถในการเขียนประโยค ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ พบประเด็นที่นํามา อภิปราย ดังนี้ ความสามารถในการเขียนประโยค โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบ ภาพ หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ทั้งนี้เนื่องมาจากแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ เริ่มจากงายไปหายาก มีรูปภาพ มีความหมายของคํา จึงทําใหผูเรียนมีทักษะในการเขียนตามโครงสราง ประโยคสูงขึ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของแคลนตัน (Clanton. 1977 : 7220) ที่พบวา คะแนนของ กลุมทดลองหลังจากทําแบบฝกหัดสูงกวาคะแนนกอนทําแบบฝกหัด สอดคลองกับผลการวิจัยของ ชวอรต และ โดห ริ่ ง (Schwartz and Doehring. 1977 : 55) ได ศึ ก ษาความสามารถใน การเขียนสะกดคําของนักเรียนระดับ 2 ถึงระดับ 6 จํานวน 160 คน โดยใชรูปภาพที่มีความหมายและ แบบทดสอบการเขียนสะกดคําแบบเลือกตอบ และแบบทดสอบการเขียนสะกดคํายาก พบวา นักเรียนกลุม ที่ เ รี ย นโดยใช รู ป ภาพที่ มี ค วามหมาย มี แ นวโน ม ของการเขี ย นสะกดคํ า สู ง กว า นั ก เรี ย นที่ เ รี ย น การเขียนสะกดคําแบบธรรมดา จะเห็นไดวาการใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ ทําใหนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน มีผ ลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนเพิ่ม ขึ้น แสดงวานัก เรียน มีความสามารถทางการเขียนตามโครงสรางประโยค หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ดังนั้น แบบฝกการเขียน ตามโครงสรางประโยคประกอบภาพ จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ และเหมาะสําหรับนําไปใชในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 2.5 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอน 1. ควรใชรูปภาพและคําสั่งที่สั้นๆ เขาใจงายในการจัดทําแบบฝก และควรแจงผลการทําแบบ ฝกใหนักเรียนทราบทันทีและทุกครั้ง เพื่อใหนักเรียนไดแกไขและจําคําที่ถูกตองจะทําใหนักเรียนไดพัฒนา ความสามารถในการเขียนประโยคของตนใหดียิ่งขึน้ 2. ควรคัดเลือกคําที่นักเรียนมีประสบการณหรือใชในชีวิตประจําวัน เพื่อสรางกําลังใจ และ ความสนุกสนานในการทําแบบฝก ดังนั้น ครูผูสอนจึงควรเลือกคําที่จะนํามาใชใหเหมาะกับระดับชั้นและ ความตองการของนักเรียน 3. ควรนําหลักจิตวิทยาหรือหลักการทางทฤษฎีมาใชประกอบในการสรางแบบฝก จะทําให แบบฝกมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียน


54

54 งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป 1. ควรมีการพัฒนาและศึกษาระดับความยากงายของการเขียนประโยค โดยใชภาพประกอบ ในบทเรียนชวงชั้นอื่นๆ เพื่อเปนแนวทางในการเขียนประโยคใหถูกตองตามโครงสรางประโยค 2. ควรศึกษาและจัดทําแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อสรางความเราใจและเกิดทักษะการใชสื่อเทคโนโลยี 3. ควรศึกษาความสามารถในการจําประโยคของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน เพื่อ พัฒนาความกาวหนาในการเขียนประโยคตามโครงสราง

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมวิชาการ. (2545). การจัดสาระการเรียนรู กลุมทักษะการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2554 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. __________. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). การจัดทําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. กิดานันท มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีสื่อสารและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. อรุณการพิมพ. เกศสุคนธ แมนมณี . (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนพยัญชนะไทยของเด็กกลุมอาการดาวน ระดับฝกได โดยใชแบบฝกทักษะ . ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สํานักงาน. (2548). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 1 ชุดพื้นฐานการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. __________. (2548). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 2 ชุดพื้นฐานการเรียนรู ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.


55 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

55

__________. (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 1 ชุดพื้นฐานการเรียนรู ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. __________. (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 2 ชุดพื้นฐานการเรียนรู ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. คณาจารยสมานมิตร. (2547). หลักการสอนภาษาไทยสําหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สุริยสาสน. จํารัส จินดาวงศ. (2545). การศึกษาความสามารถเขียนสะกดคําของเด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จากการสอนโดยใชเกมฝกทักษะการเขียนสะกดคํา. ปริญญา นิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. จุไรรัตน มาประสพ. (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนประโยคของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน. ปริญญา นิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒประสานมิตร. อัดสําเนา. ชวาล แพรัตกุล. (ม.ป.ป.). เทคนิคการเขียนขอสอบ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิทักษอักษร. เต็มศิริ ดีกลาง. (2548). ผลของการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญที่มีตอความสามารถในการเขียน ภาษาไทย-องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสามเสนนอก (ประชาราษฎรอนุกูล) เขตดิน แดง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ถวัลย มาศจรัส. (2546). นวัตกรรมการศึกษาชุด แบบฝกหัด – แบบฝกทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียน และการจัดทําผลงานทางวิชาการอาจารย 3 และบุคลากรทางการศึกษา (ครูชํานาญการ ครูเชี่ยวชาญ และครูเชี่ยวชาญพิเศษ). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพธารอักษร. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สํานักจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เทียมจันทร ดําเนินนิรันดรและคนอื่นๆ. (2547). การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานและเขียน ภาษาไทยโดยใชภาพประกอบภาษามือ สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3. สารนิพนธ กศ.ม.(หลักสูตรและการสอน). พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. ธฤฏ ศานติ์สุทธิกุล และคนอื่นๆ. (2545). Designer’s ProClipArts Vol.2. กรุงเทพฯ : เจเนซิส มีเดียคอม. __________. (2546). คลิปอารตการศึกษา. กรุงเทพฯ : เจเนซิส มีเดียคอม.


56

56

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

นลินนุช อํานวยสิน. (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนสะกดคําของเด็กที่มีปญหาทาง การเรียนรู โดยใชชุดการสอนเขียน . ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยทางการวัดผล. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก. ผดุง อารยะวิญู. (2544). เด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู. กรุงเทพฯ: พี. เอ. อารท. แอนด พริ้นติ้ง จํากัด. __________. (2546). การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. __________. (2546). การวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการอานไมออกเขียนไมได. กรุงเทพฯ: คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พัชนีย เจริญโลหทองดี. (2546). การศึกษาความสามารถในการเขียนสะกดคําของเด็กที่มีความ บกพรองทางการไดยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ในโรงเรียนโสตศึกษา จากการสอน โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. พิณฑิพย วิจิตรจามรี. (2544). การศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมสําหรับนักศึกษาหูหนวก กรณีศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ. ศศ.ม. (งานบริการฟนฟู สมรรถภาพคนพิการ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. อัดสําเนา. พนัส นาคบุญ. (2550). การศึกษาความสามารถในการเขียนประโยคของนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยินระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชแบบฝกการเขียนตามโครงสรางประโยค. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. วารี ถิระจิตร. (2545). การศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. วิชาการ, กรม . (2546). คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในชั้นเรียนรวม ระดับชวงชั้นที่ 1 – 2 เลม 2 เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. _________ . (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขนพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คูมือการจัดการ เรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. วิลาวัลย สุภิรักษ. (2545). การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคําไมตรงตาม มาตราตัวสะกด สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6. วิทยานิพนธ กศ.ม.พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. อัดสําเนา. วิชัย ตันศิร.ิ (2544). โฉมหนาการศึกษาไทยในอนาคต แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปในพระราชบัญญัติ การศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศรียา นิยมธรรม. (2544). ความบกพรองทางการไดยิน ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. __________. (2550). ทัศนศิลปเพื่อการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. ศรียา นิยมธรรม;และประภัสสร นิยมธรรม. (2547). พัฒนาการทางภาษา. กรุงเทพ : ภาควิชาการศึกษา


วิชัย ตันศิร.ิ (2544). โฉมหนาการศึกษาไทยในอนาคต แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปในพระราชบัญญัติ การศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศรียา นิยมธรรม. (2544). ความบกพรองทางการไดยิน ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม. : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ 57 กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. 57 __________. (2550). ทัศนศิลปเพื่อการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สํานักแวนแกว. ศรียา นิยมธรรม;และประภัสสร นิยมธรรม. (2547). พัฒนาการทางภาษา. กรุงเทพ : ภาควิชาการศึกษา พิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมศักดิ์ สินธุระเวชญและคณะ. (2546). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูภาษาไทย ชุดปฏิรูป : รูวิธีการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานิช. __________.(2547). สื่อการเรียนรู ภาษาไทย 4 สมบูรณแบบ ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ชวงชั้นที่ 2 กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานิช. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2548). แบบฝกหัดสาระการเรียนรูพื้นฐาน ภาษาไทย เลม 1 ชุดพื้นฐานการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตร การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. __________. (2550). สํานักบริหารการศึกษาพิเศษ. แบบฝกทักษะการอานและการเขียน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. สุรางค โควตระกูล. (2544).จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. หรรษา บุญนายืน. (2546). การศึกษาความสามารถทางการเขียนสะกดคํายากของนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ในโรงเรียนเรียนรวม โดยใชแบบฝก สะกดคํา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อัดสําเนา. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2548). ภาษาในสังคมไทย: ความหลายหลาย การเปลี่ยนแปลงและ การพัฒนา. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อารี พันธมณี. (2546). จิตวิทยาสรางสรรคการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ใยไหม เอดดูเคท. ภาษาอังกฤษ Clanton , Patricin Brantley. (1977,February). “The Effectiveness of the Letter Cloze Procedure as a Method of Teaching Spelling,” Dissertation Abstracts International. 38(5) : 7226-A. Haydon, Deborah M. (1987). An Interpretation of the Writing Process and Written Language Strategies Used by a Selected Group of Hearing Impaired Children. Missouri : University of Missouri – Columbia. McPeake, J. G. (1979,June). “ The Effects of Original Systematic Study Worksheets Reading Level and Sex on the Spelling Achievement of Sixth Grade Students,” Dissertation Abstracts International. 39(12) : 7199-A .


58

58

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

Schwartz, Syhbil and Doehring, Donald. (1977,September). “ A Developmental Study of Children’s Ability to Abstract Spelling Patterns, ” Research in Education. 12(9) : 55 . Yoshinsja, Itano. (1996). “ Examining Written – Language Skills of Students Who are Deaf, Hard of Hearing, and Normally Hearing,” The Volta Review. 98(1) ; 1.


59 ชื่องานวิจัย : รายงานการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ชื่อผูวิจัย : นางขนิษฐา โสธรรมมงคล และนายชนาธิป กาละพันธ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด ขอนแกน สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความสําคัญ การจัดการศึกษาในประเทศไทยมุงเนนการศึกษาเพื่อปวงชน สงผลใหประชาชนทุกคนไดรับสิทธิ และโอกาสในการเรียนรูทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ทั้งนี้โดยมีกฎหมายรองรับ คือรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศไทย บัญญัติไวในมาตรา 49 “บุคคล ยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม เก็บคาใชจาย”มาตรา 22 ระบุวา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียน มีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ เกี่ยวกับปญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร ในการนําเสนอสาระสําคัญ การวิจัย เพื่อพัฒนานโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษาของไทย และกรอบนโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษา ของไทย โดย ชินภัทร ภูมิรัตน (2544 : 11-14) ไดสรุปเสนอปญหาดานตางๆ ไวดังนี้ 1) ดานการจัด การเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐานสวนใหญยัง เนนวิธีก ารอธิบ ายและการสาธิต ทําใหนักเรียนขาด กระบวนการคิดและการทดลองปฏิบัติ 2) ดานสื่อการเรียนรู พบวายัง มีขอจํากัดอยูม ากขาดความ หลากหลาย ขาดคุณภาพมาตรฐานและราคาที่เหมาะสม 3) ดานการวัดและประเมินผล สวนใหญเนนที่ ความรูความจํา เนนการเลือกคําตอบมากกวาการวัดกระบวนการคิด ทําใหนักเรียนขาดทักษะอื่น ๆ เชน ทักษะการสังเกตการทดลองปฏิบัติ เปนตน การใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร เปน อีกวิธีการหนึ่งที่จะทําใหนักเรียนมีทักษะในกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพิ่มมากขึ้น ตามที่ ปยวรรณ ตา คํา (2545 : 69-70) กลาววา การจัดกิจ กรรมการเรียนการสอนวิท ยาศาสตรที่มีป ระสิทธิภาพนั้น จําเปนตองดําเนินการในรูปแบบที่หลากหลายไมวาจะเปนเทคนิควิธีการและสื่อที่ใช ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในระดับที่ดีขึ้น หลังจากเรียนโดยใชชุดกิจกรรมเพื่อ สงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรจํานวน 13 ชุด ซึ่งชุดกิจกรรมดังกลาวสามารถสงเสริมทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและกอใหเกิดการพัฒนาการทางดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนได ดังนั้น การใชชุดกิจกรรมจึงเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเกิดในตัวนักเรียน เพราะรูปแบบหรือชุดกิจกรรมมีการประมวลเนื้อหา แนวคิด วิธีการ กิจกรรม และสื่อที่ สอดคลองกันจะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายที่วางไว สําหรับการจัดการศึกษาสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ครูสามารถนํากิจกรรม การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรที่เนนการใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาชวยพัฒนาใหนักเรียน


60

60

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

เกิดองคความรูทางวิทยาศาสตร จนสามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันได เนื่องจาก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรจะกระตุนใหนักเรียนไดทํากิจกรรมและเรียนรูดวยตนเอง เมื่อนักเรียนได เรียนหรือทํากิจ กรรมดวยตนเองจะเกิดการเรียนรูจากประสบการณตรงที่ไดรับ ซึ่ง สอดคลองกับ ความ ตองการของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินเปนอยางยิ่ง แตในสภาพปจจุบันการจัดการเรียนการ สอนวิชาวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ประสบปญหาเกี่ยวกับผูเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้น พื้นฐาน เนื่องมาจากไมไดรับการพัฒนามาตั้งแตเด็กๆ และขาดการสงเสริมทักษะกระบวนการอยางตอเนื่อง เทาที่ควร อีกทั้งยังขาดบุคลากรครูที่มีความชํานาญและเชี่ยวชาญในดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพราะครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตรบางคนไมไดจบสาขาวิชาวิทยาศาสตร หรือเทคนิควิธีการสอนไมสามารถ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรไดอยางเต็มที่ และปจจัยสําคัญประการหนึ่งคือ วัสดุอุปกรณท่ี จําเปนพื้นฐานในการสงเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร รวมทั้งสื่อการเรียนการสอนมีไม เพียงพอ จากสภาพปญ หาตางๆ ที่ไดพ บจะเห็นไดวาการเรียนรูและฝกฝนทางดานทัก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรมีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร เพราะทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรเปนพื้นฐานในการแสวงหาความรู การคิดคนประดิษฐสิ่งใหมๆ และสามารถนําไปประยุกตใช ในการแกปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ผูวิจัยไดศึกษาคนควาหาวิธีการ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และจากการศึกษาคนควาเอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ผูวิจัยพบวา การใชชุดกิจกรรมเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเกิดขึ้นในตัวนักเรียน ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสรางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร โดยมุงหวังวาชุดกิจกรรมที่ผูวิจัยสรางขึ้นจะชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้น พื้นฐานของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ที่กําลังศึกษาวิชาวิทยาศาสตรและเปนพื้นฐานในการ แสวงหาความรูในแขนงวิชาอื่นตอไป


6161เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

61

กรอบแนวคิ กรอบแนวคิดในการวิ ดในการวิจัยจัย ตัวตัแปรต วแปรตน น ชุดชุกิดจกิกรรมทั จกรรมทักษะกระบวนการ กษะกระบวนการ ทางวิ ทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตรขั้นขพืั้น้นพืฐาน ้นฐาน จําจํนวน านวน8 8กิจกิกรรม จกรรมไดไดแกแก 1.1.ทักทัษะการสั กษะการสังเกต งเกต 2.2.ทักทัษะการลงความคิ กษะการลงความคิดเห็ ดเห็นจาก นจาก ขอขมูอลมูล 3.3.ทักทัษะการจํ กษะการจําแนกประเภท าแนกประเภท 4.4.ทักทัษะการวั กษะการวัด ด 5.5.ทักทัษะการคํ กษะการคํานวณ านวณ 6.6.ทักทัษะการหาความสั กษะการหาความสัมพัมนพัธนธ ระหว ระหวางสเปสกั างสเปสกับสเปส บสเปส และสเปสกั และสเปสกับเวลา บเวลา 7.7.ทักทัษะการจั กษะการจัดกระทํ ดกระทําและสื าและสื่อ ่อ ความหมายข ความหมายขอมูอลมูล

ตัวตัแปรตาม วแปรตาม

นักนัเรีกเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางการ องทางการ ไดไดยินยนิ ชั้นชัมั้นธมัยมศึ ธยมศึกษาป กษาปที่ ท4ี่ 4 ปกปารศึ การศึกษา กษา2554 2554โรงเรี โรงเรียนโสตศึ ยนโสตศึกษา กษา จังจัหวั งหวัดขอนแก ดขอนแกน นมีผมีลสั ผลสัมฤทธิ มฤทธิ์ดา์ดนทั านทักษะ กษะ กระบวนการทางวิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตรขั้นขพืั้น้นพืฐาน ้นฐาน สูงสูขึง้นขึ้นหลัหลังใชงใชชุดชกิุดจกิกรรมทั จกรรมทักษะ กษะ กระบวนการทางวิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตร

วัตวัถุตปถุระสงค ประสงคของงานวิ ของงานวิจัยจัย 1.1. เพืเพื่อสร ขั้นขพืั้น้นพืฐาน ่อสรางชุางชุดกิดจกิกรรมเพื จกรรมเพื่อพั่อฒ พัฒนาทั นาทักษะกระบวนการทางวิ กษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตร ้นฐานสําสํหรั าหรับ บ นักนัเรีกเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางการได องทางการไดยินยินโรงเรี โรงเรียนโสตศึ ยนโสตศึกษาจั กษาจังหวั งหวัดขอนแก ดขอนแกน น 2.2. เปรี เปรียบเที ยบเทียบผลสั ยบผลสัมมฤทธิ ฤทธิ์ด์ดานทั านทักกษะกระบวนการทางวิ ษะกระบวนการทางวิททยาศาสตร ยาศาสตรขของนั องนักกเรีเรียยนน โดยใช โดยใช ชุดชุกิดจกิกรรมเพื จกรรมเพื่อ่อพัพัฒฒนาทั นาทักกษะกระบวนการทางวิ ษะกระบวนการทางวิททยาศาสตร ยาศาสตรขขั้นั้นพืพื้น้นฐาน ฐาน สํสําาหรั หรับบนันักกเรีเรียยนที นที่ม่มีคีความบกพร วามบกพรอองง ทางการได ทางการไดยินยินโรงเรี โรงเรียนโสตศึ ยนโสตศึกษาจั กษาจังหวั งหวัดขอนแก ดขอนแกน น สมมติ สมมติฐานของงานวิ ฐานของงานวิจัยจัยในการศึ ในการศึกษาครั กษาครั้งนี้ง้มนี​ีส้มมมติ ีสมมติฐานของการศึ ฐานของการศึกษา กษาดังดันีง้ นี้ 1.1. ไดไดชุดชกิุดจกิกรรมเพื จกรรมเพื่อพั่อฒพัฒนาทั นาทักษะกระบวนการทางวิ กษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทยาศาสตรขั้ขนั้นพืพื้น้นฐาน ฐาน ทีที่ม่มีปีประสิ ระสิททธิธิภภาพ าพ ตามเกณฑ ตามเกณฑ70/70 70/70 2.2. นักนัเรีกเรี ยนที ่มีค่มวามบกพร องทางการได ยินชัย้นินมัชัธ้นยมศึ กษาป ที่ 4 ทมี​ี่ ค4ะแนนผลสั มฤทธิม์ดฤทธิ านทั์ดกาษะน ยนที ีความบกพร องทางการได มัธยมศึ กษาป มีคะแนนผลสั กระบวนการทางวิ ทยาศาสตรท ยาศาสตร หลังเรียนสูหงลักวงเรี ากยอนสู นเรีงยกวนาโดยใช กษะกระบวนการทาง ทักษะกระบวนการทางวิ กอนเรีชยุดนกิจกรรมเพื โดยใช่อชพัุดฒกินาทั จกรรมเพื ่อพัฒนาทักษะ วิทกระบวนการทางวิ ยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน


62

62 งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ระเบียบวิธีการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสราง ชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึก ษาจัง หวัดขอนแกน และเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐานสําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด ขอนแกน ประกอบดวย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. ตัวแปรที่ศึกษา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 5. การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุม ตัวอยางที่ใชใ นการวิจั ย คือ นัก เรีย นที่มีค วามบกพรองทางการไดยิ น ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน จํานวน 28 คน ที่ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน ไดแก ชุดกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดทําการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน โดยการใช ชุดกิจกรรมควบคูกับการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 1. กลุม ตัวอยางที่ใช ในการศึกษาครั้ งนี้คื อ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยิน ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน จํานวน 28 คน 2. นําชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานมาใชประกอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน มีขั้นตอน ดังนี้


63เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

63

2.1 ใหนัก เรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินที่เ ปนกลุม ตัวอยาง ทําแบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กอนการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จํานวน 30 ขอ 2.2 ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตร โดยนําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานบูรณาการการเรียนรูกับแผนการจัดการเรียนรู ซึ่งระยะเวลาที่ ใช ใ นการเก็ บ รวบรวมข อ มู ล จากการศึ ก ษา โดยการใช ชุ ด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรบูรณาการในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรใหสอดคลองกับเนื้อหาหนวยการเรียนรู 3. ทําการทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หลังการใชชุดกิจกรรม เพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน โดยใชแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ฉบับเดียวกับที่ใชทดสอบกอนการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 4. นําคะแนนที่ไดจากการทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทั้ง กอนและหลัง การใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร มาวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป และสรุปผลการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล การดําเนินการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย 1. ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน 2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นตอนการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การสรางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ในการจัดทําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐานสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ผูวิจัยเปนผูรับผิดชอบในการจัดการเรียน การสอนนั้นไดดําเนินการตามลําดับขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1.1 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิดและทําความเขาใจเกี่ยวกับการสรางชุดกิจ กรรม เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จากตําราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1.2 กําหนดจุดมุงหมายของชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ขั้นพื้นฐานแตละทักษะ ซึ่งมีทั้งหมดจํานวน 8 ชุด ไดแก 1) ชุดกิจกรรมทักษะการสังเกต 2) ชุดกิจกรรมทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล 3) ชุดกิจกรรมทักษะการจําแนกประเภท 4) ชุดกิจกรรมทักษะการวัด


64

64

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

5) ชุดกิจกรรมทักษะการคํานวณ 6) ชุดกิจกรรมทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 7) ชุดกิจกรรมทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล 8) ชุดกิจกรรมทักษะการพยากรณ 1.3 กําหนดรูปแบบของกิจกรรม และวิธีการประเมินผลใหสอดคลองกับจุดมุงหมายของ ชุดกิจกรรมแตละกิจกรรม 1.4 สรางชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร ขั้นพื้นฐานที่ใช ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหเปนไปตามจุดมุงหมาย ที่กําหนดไวทั้งหมด 8 ชุด แตละชุดมีโครงสรางองคประกอบ ดังนี้ 1) ชื่อกิจกรรม 2) คําชี้แจง 3) จุดมุงหมาย 4) แนวคิด 5) ขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรม 6) การประเมินผล 1.5 นําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานที่สรางขึ้นไป ใหผูเ ชี่ยวชาญตรวจสอบเกี่ยวกับโครงสรางองคประกอบ และความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยการหาคาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence) เพื่อนําขอบกพรองมาปรับปรุงแกไข ใหสมบูรณยิ่งขึ้นโดยตัดสินจากความคิดเห็นที่สอดคลองกันของผูเชี่ยวชาญรอยละ 80 ขึ้นไปเปนเกณฑ 1.6 ประมวลผลการตรวจสอบของผูเ ชี่ยวชาญทั้ง 5 ทาน ที่ไดใหขอคิดเห็นในการ ปรับปรุงแกไข คือ ปรับปรุงเนื้อหาของกิจกรรมใหเหมาะสมกับเวลา และปรับแกขอความบางขอความในชุด กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใหเหมาะสม ถูกตองยิ่งขึ้น 1.7 นําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่ปรับปรุงแกไขแลว ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2554 จํานวน 23 คน พบวา นักเรียนใชเวลา ในการทําชุดกิจกรรมโดยเฉลี่ยประมาณ 45 นาที และควรเพิ่มสีสันใหสวยงาม นาสนใจยิ่งขึ้น 1.8 นําชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ปรับปรุงแลวไปใชจริง กับกลุมตัวอยาง เปนนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินชั้นมั ธยมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2554 จํานวน 28 คน 2. การสรางแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน แบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น เปนแบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ที่ใชทดสอบกอนเรียน และหลัง เรียน เพื่อศึก ษาการพัฒ นาทักษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร ขั้นพื้นฐาน โดยผูวิจัยไดสราง แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ตามลําดับขั้นดังตอไปนี้


65เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

65

2.1 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิดและทําความเขาใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน จากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.2 สรางแบบทดสอบวัดทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร ใหครอบคลุม ทัก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ทั้ง หมด 8 ทักษะ โดยแบบทดสอบแตล ะขอเปนแบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ 2.3 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้น ไปใหผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบคุณลักษณะและความตรง เชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยการหาคาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence) เพื่อหา ขอบกพรองมาปรับปรุงแกไขใหสมบูรณยิ่งขึ้นโดยตัดสินจากความคิดเห็นที่ส อดคลองกันของผูเ ชี่ยวชาญ รอยละ 80 ขึ้นไป เปนเกณฑ 2.4 นําแบบทดสอบที่ป รับ ปรุง แกไขแลว ไปทดลองใชกับนัก เรียนที่มีความบกพรอง ทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2554 จํานวน 23 คน จากนั้นนํามาวิเคราะหหาความยาก งาย และคาอํานาจการจําแนกของแบบทดสอบเปนรายขอ โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร B-Index 2.5 คัดเลือกขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) ระหวาง .20 - .80 และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต .20 ขึ้นไป จํานวน 30 ขอ แยกเปนการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตา ง ๆ ดังนี้ 1) ทักษะการสังเกต จํานวน 4 ขอ 2) ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล จํานวน 4 ขอ 3) ทักษะการจําแนกประเภท จํานวน 4 ขอ 4) ทักษะการวัด จํานวน 4 ขอ 5) ทักษะการคํานวณ จํานวน 4 ขอ 6) ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส สเปสกับเวลา จํานวน 3 ขอ 7) ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล จํานวน 4 ขอ 8) ทักษะการพยากรณ จํานวน 3 ขอ 2.6 นําแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่ไดจากการคัดเลือก จํานวน 30 ขอ ไปใชจริงกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยินชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียน โสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ปการศึกษา 2554 จํานวน 28 คน

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ผูวิจัยไดนําขอมูลที่เก็บรวบรวม มาวิเคราะห โดยดําเนินการวิเคราะหขอมูลเพื่อเปรียบเทียบ ทัก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ก อนและหลั ง การใช ชุด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานมาวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลมี ดังนี้


66

66

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

1. คารอยละ (%) คาเฉลี่ย ( X ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. ใชสถิติคาเฉลี่ยเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยใช t-test (Dependent Samples) ผลการศึกษา จากการศึก ษาผลการใชชุดกิจ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรสําหรับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เมื่อไดสรุปผลการศึกษาแลว สามารถอภิปราย ผลการวิจัยไดดังนี้ 1. การศึก ษาครั้ง นี้ ไดชุดกิ จ กรรมเพื่อพัฒ นาทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรสําหรั บ นักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมทักษะการ สังเกต ชุดกิจกรรมทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล ชุดกิจกรรมทักษะการจําแนกประเภท ชุดกิจกรรม ทักษะการวัด ชุดกิจกรรมทักษะการคํานวณ ชุดกิจกรรมทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ชุดกิจกรรมทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล และชุดกิจกรรมทักษะการ พยากรณ ซึ่งพบวา ชุดกิจกรรมที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนได 2. การเปรี ยบเทียบผลสั ม ฤทธิ์ด านทั ก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตรของนัก เรีย นที่ มี ความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 กอนและหลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร พบวา นักเรียนมีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร สู ง กว า คะแนนก อ นการใช ชุ ด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการทางวิท ยาศาสตร อยางเปนที่นาพอใจ โดยพิจ ารณาจากการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนน การทดสอบวั ด ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ห ลัง กั บ กอ นการใชชุ ด กิ จ กรรมเพื่ อพั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียน (x2 - x1= 8.90) นักเรียนมีคะแนนจากการทําแบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร สูงขึ้น และมีคะแนนผานเกณฑที่กําหนดไว คือ ไดคะแนนเฉลี่ยเกิน 21 คะแนน ซึ่งคิดเปนรอยละ 70 ขึ้นไป นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ดานทัก ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หลังการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร สูง กวาก อนการใช ชุดกิ จ กรรมเพื่อพั ฒ นาทัก ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรอยางมีนัยสําคัญทีร่ ะดับ .01 อภิปรายผลการศึกษา จากการที่ผูวิจัยซึ่งเปนครูผูสอนไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชานี้ ดังที่ได อภิปราย ผล ผลการศึกษาที่ไดพบวาสอดคลองกับที่สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2546 :


67เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

67

216) ไดสรุปไวเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรวาตองเนนกระบวนการที่นักเรียนเปนผูคิด ลงมือปฏิบัติ ศึกษาคนควาอยางมีระบบดวยกิจกรรมหลากหลายทั้งการทํากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสํารวจตรวจสอบ การทดลองในหองปฏิบัติการ การสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูล ปฐมภูมิและทุติยภูมิ การทําโครงงานวิทยาศาสตร โดยคํานึงถึงวุฒิภาวะ ประสบการณเดิม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมตางกันที่นักเรียนไดรับรูมาแลว การเรียนรูของนักเรียนจะเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ และ ผลการศึกษาวิจัยของ อนงค บุตรวงค (2544 : 73) ที่ไดทําการวิจัยเรื่องผลการใชชุดฝกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรที่เนนแหลงวิทยาการในชุมชนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่เนน แหลงวิทยาการในชุมชน มีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังการสอนสูงกวาคะแนนกอนการ สอน และยังสอดคลองกับการศึกษาวิจัยของ กําพู เลิศปรีชากมล (2544 : 61) ไดทําการวิจัยเรื่องการใช ชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานการ ประถมศึกษา อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา คะแนนกอนเรียนและหลังเรียน มีความ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาวิจัยของ ปยวรรณ ตาคํา (2545 : 69) ที่ทําการวิจัยเรื่อง ผลการใชชุดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ใชชุดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร มีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังการใชชุดกิจกรรม สูงกวาคะแนนทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรกอนการใชชุดกิจกรรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคลองกับ การศึกษาของ กานตธิดา สังขเรียง (2548 : 89) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ผลการวิจัยพบวา คะแนนเฉลี่ยของความสามารถดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียน ชวงชั้นที่ 3 หลังไดรับการประเมินตามสภาพจริงควบคูกับการใชชุดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรสูงกวากอนการประเมินและอยูในระดับดี ขอเสนอแนะ จากการที่ไดศึกษา เรื่องการใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดขอนแกน ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้ การนําผลการศึกษาไปใช ในสวนที่เกี่ยวของสําคัญระดับตาง ๆ ไดแก 1. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานัก บริห ารงานการศึกษาพิเ ศษ และ สถาบันสง เสริมการสอนวิท ยาศาสตรและเทคโนโลยี ตองกําหนดนโยบายดานการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตรแนวใหมที่เนนทักษะกระบวนการและใหผูเรียนสามารถสืบเสาะหาความรูดวยตนเองไดใหเปน ระบบและชัดเจน โดยรวบรวมขอมูลผลการศึกษาวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของซึ่งรวมทั้ งผลการศึกษาเรื่องนี้ดวย และสภาพความเปนจริงตาง ๆ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในปจจุบัน เพื่อกําหนดทิศทาง และ


68

68

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

จัดทํากลยุทธในระดับตางๆ ใหมีความเปนไปไดและสามารถปฏิบัติเปนผลสําเร็จได และควรจัดใหมีลามภาษา มือหรือกําหนดคําศัพทภาษามือโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร เพื่อเอื้อใหกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได ยินไดศึกษา คนควาไดตอไป 2. โรงเรียนควรดําเนินการในเรื่องนี้ กลาวคือ นํารายงานผลการศึกษานี้ และผลการศึกษา เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู ของกลุมสาระการเรียนรูวิชาตางๆ ประมวลผลเปนขอมูลประกอบการวางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาดานตางๆ ที่เกี่ยวของของโรงเรียน รวมทั้งการสงเสริมพัฒนาใหครูผูสอนไดพัฒนา ตนเองใหมีความรู ทักษะความสามารถดานการจัดการเรียนรู การผลิตและใชสื่อการเรียนรูประกอบการ จัดการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางเปนระบบ 3. ตัวครูผูสอนตองพัฒ นาตนเองทั้งดานภาษามือ และการจัดการเรียนรูวิชาวิท ยาศาสตร ใหเปนไปตามแนวทางที่สอดคลองกับทิศทางการปฏิรูปการเรียนรู ทิศทางและเปาหมายการจัดการเรียนรู วิทยาศาสตรนําขอมูลและผลการศึกษานี้เปนแนวทางปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูในรอบปตอไป และ การจัดการเรียนรูรายวิชาอื่นๆ ที่รับผิดชอบ รวมทั้งการมีหรือการสรางเครือขายรวมพัฒนาระหวางครู โรงเรียนเดียวกัน กลุมสาระการเรียนรูเดียวกันหรืออื่นๆ เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันในการ พัฒนาการจัดการศึกษาตอไป บรรณานุกรม กานตธิดา สังขเรียง. (2548). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โดยใชการประเมินตามสภาพจริง. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. กําพู เลิศปรีชากมล. (2544). การใชชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ชินภัทร ภูมิรัตน. (2544). รายงานการสัมมนาเรื่องนโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษาของไทย. [ออน-ไลน].แหลงที่มา : http://www.onec.go.th ปยวรรณ ตาคํา. (2545). ผลการใชชุดกิจกรรมเพื่อสงเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรูกลุม วิทยาศาสตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว อนงค บุตรวงศ. (2544). ผลการใชชุดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่เนนแหลงวิทยาการ ใน ชุมชน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.


69 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

ภาคผนวก    

ตัวอยางแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ตัวอยางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน ตัวอยางภาษามือ ภาพประกอบการเก็บขอมูล

69


70

70

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ตัวอยางแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน

แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ประจําปการศึกษา 2554 คําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ เปนแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ ทักษะการสังเกต 1. ขอใดใชประสาทสัมผัสมากที่สุด ก. ลําไยรสหวาน ผลใหญ เนื้อหนา ข. มะนาวมีสีเหลือง ผิวมีรอย รสเปรี้ยว กลิ่นหอม ค. แตงโมลูกใหญ เนื้อสีแดง รสหวาน ง. นอยหนาผิวขรุขระ รสหวาน เมล็ดสีดํา 2. ขอใด ไมใช ขอมูลจากการสังเกตตนกุหลาบ ก. มีผึ้งจับที่ดอกกุหลาบ ข. ใบกุหลาบมีหนอนกินใบ ค. ตนกุหลาบเจริญเติบโตไดดีเพราะใสปุย ง. ใบกุหลาบกวางประมาณ 2 เซนติเมตร 3. ขอมูลใดเปนการสังเกตเชิงปริมาณ ก. มีมดดํา ทํารังที่สนามหญา ข. มะขามมีรสหวาน ราคาดี ค. แตงโมลูกละ 10 บาท ง. มะมวงมีประมาณ 100 ผล 4. ในการสังเกต ขอใดใชประสาทสัมผัสเพียงอยางเดียว ก. น้ําแกวนี้ใส ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส ข. ผาเช็ดหนาผืนนี้ นุมมาก ค. ขนมเคกกอนนี้ อรอย มีกลิ่นหอม ง. รถยนตคันนี้สีขาว วิ่งเร็วแตเสียงดังมาก


71

ตัวอยางชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน

ทักษะการสังเกต

ขนิษฐา โสธรรมมงคล นายชนาธิป กาละพันธ


72

72

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ทักษะการสังเกต

แนวคิด การสังเกตเปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานขั้นแรกที่มีความสําคัญมากที่สุด เพื่อใหผูเรียนเขาใจความหมายของการสังเกต ประเภทของขอมูลที่ไดจากการสัง เกต วิธีการสังเกต อยางถูกตองและชัดเจน การสังเกตเปนพฤติกรรมที่มีไดและสามารถฝกไดกับทุกคนและสามารถสังเกตได จนเปนความชํานาญหรือเปนทักษะ เพื่อใชในการศึกษาและคนควาหาความรูทางวิทยาศาสตร

การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใชประสาท สัมผัส อยางใดอยางหนึ่ง หรือ ทั้ง 5 คือ หู ตา จมูก ลิ้นและกาย สัมผัส เพื่อรวบรวมขอมูล รายละเอียดของ สิ่งตางๆ โดยไมใส ความคิดเห็นสวนตัว


73เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

73

จุดมุงหมาย 1. จุดมุงหมายทั่วไป เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจความหมายและมีทักษะในการสังเกต 2. จุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม 2.1 อธิบายความสําคัญของการสังเกตไดถูกตอง 2.2 ระบุประเภทของประสาทสัมผัส ที่ใชในการสังเกตสิ่งของหรือสถานการณนั้นไดถูกตอง 2.3 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางตาไดถูกตอง 2.4 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางจมูกไดถูกตอง 2.5 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางลิ้นไดถูกตอง 2.6 บอกผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางผิวกายไดถูกตอง หมายเหตุ ชุดกิจกรรมนี้ไมวัดทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางหู เพื่อความเหมาะสม กับธรรมชาติของผูเรียน

เวลาที่ใช 45 นาที

การประเมินผล 1. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับ 1.1 ความหมายของการสังเกต 1.2 ประเภทของประสาทสัมผัสที่ใชในการสังเกต 1.3 ผลการสืบคนขอมูลทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัส ตา จมูก ลิ้น และผิวกาย 2. นักเรียนและครูรวมกันประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม


74

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

74

ใบความรู

ทักษะการสังเกต

การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือประสาทสัมผัส เขาไปสํารวจวัตถุ หรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติ หรือ จากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็น ของผูสังเกตลงไปดวย ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย ขอมูลที่ไดจากการสังเกต มี 2 ประเภท คือ ขอมูลเชิงคุณภาพ และขอมูลเชิงปริมาณ ในการสังเกตสิ่งตาง ๆ ทุกครั้งตองพยายาม ใชประสาทสัมผัสใหมากที่สุด โดยสังเกตใหไดขอมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประการสําคัญคือ ขอมูล ที่ได ตองเปนผลจากการสังเกตโดยตรง โดยไมมีการลงความเห็นสวนตัว

ขอมูลที่ไดจากการสังเกตแบงไดเปน 3 ประเภท คือ 1 2

3

การสังเกตเชิงคุณภาพ การสังเกตเชิงปริมาณ

การสังเกตการเปลี่ยนแปลง

การสังเกตเชิงคุณภาพ การสังเกตเชิงคุณภาพ ใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 มีลักษณะ ดังนี้ 1. การดู เชน วัตถุมีรูปราง สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี สีดํา สีเหลือง 2. การดม เชน วัตถุที่ดมกลิ่นหอม ฉุน เหม็น 3. การชิม เชน วัตถุมีรสหวาน รสขม รสเปรี้ยว รสเค็ม 4 กายสัมผัส เชน วัตถุผิวขรุขระ ผิวลื่น เรียบ แข็ง นิ่ม หยาบ 5 การฟง เชน เสียงกระซิบ เสียงกระดิ่ง เสียงกอง (ยกเวน )


75เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

75

การสังเกตเชิงปริมาณ การสัง เกตเชิง ปริมาณ เปนการสังเกตที่อาศัยสิ่งอางอิง มาเกี่ยวของดวย สิ่ง อางอิงอาจเปน หนวยมาตรฐานเอสไอ (SI) เชน เมตร กิโลกรัม หรือหนวยมาตรฐานใด ๆ เชน เซนติเมตร องศาเซลเซียส มิลลิเมตร การสังเกตเชิงปริมาณ ไดแก 1. หองนี้มีขนาดกวางประมาณ 4 เมตร 2. ลูกฟุตบอลลูกนี้หนักประมาณ 1 กิโลกรัม 3. วัตถุนี้มีขนาดยาวประมาณ 4 เซนติเมตร กวางประมาณ 3 เซนติเมตร หนาประมาณ 2 เซนติเมตร หรืออาจใชสิ่งอื่น ๆ เปนตัวอางอิงก็ได เชน วัตถุ A มีอุณหภูมิเทากับอุณหภูมิหอง วัตถุ B มีขนาดเทากับลูกปงปอง ซึ่งใชอุณหภูมิของหองและขนาดของลูกปงปองเปนตัวอางอิง การสังเกตเชิงปริมาณ สามารถสื่อความหมายสิ่งที่สังเกตไดแมนยํานาเชื่อถือและใกลเคียงกวาการสังเกตเชิงคุณภาพ ดังตัวอยางตอไปนี้ เสาไฟฟาตนนี้สูงมาก (การสังเกตเชิงคุณภาพ) เสาไฟฟาตนนี้สูงประมาณ 10 เมตร (การสังเกตเชิงปริมาณ) การสังเกตการเปลี่ยนแปลง การสังเกตการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การทําใหวัตถุหรือสถานการณที่สังเกตเกิด การเปลี่ยนแปลง แลวสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เชน นําวัตถุแชในน้ํา ใหความรอน หรือทุบดวยของหนักหรือออกแรงกด บีบ เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและตองบอกเงื่อนไข ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดวย เชน เมื่อแชใน น้ําที่อุณหภูมิเทาใด หรือเมื่อใสลงในภาชนะที่มีรูปรางอยางไร ขอบเขตที่ตองคํานึงถึงในเรื่องการสังเกต การสัง เกตแตล ะครั้ง ไมวาจะสัง เกตวัตถุ เหตุก ารณห รือปรากฏการณใดๆ ก็ตามผูสัง เกต ตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. การสังเกตแตละครั้งตองใชประสาทสัมผัสใหมากที่สุด ไมใชเฉพาะตาเพียงอยางเดียว 2. การสังเกตตองสังเกตทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณและดูการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งที่เปนไปได


76

76

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ทักษะการสังเกต ชุดกิจกรรม ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนรับบัตรกิจกรรมทักษะการสังเกต 2. นักเรียนในกลุมรวมกันศึกษาบัตรกิจกรรม 3. ตัวแทนกลุมรับอุปกรณที่ใชในการทํากิจกรรม 4. นักเรียนทํากิจกรรม ทักษะการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสทางตา จมูก ปาก และการ สัมผัส 5. นักเรียนรวมกันอภิปราย คิดวิเคราะห ถึงผลที่ไดจากการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัส 6. นักเรียนบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในบัตรกิจกรรม 7. หัวหนาหองรับแนวคําตอบเพื่อตรวจความถูกตอง โดยสลับกันตรวจ 8. หัวหนาหองรวบรวมบัตรกิจกรรม และแนวคําตอบบัตรกิจกรรมคืนครู คําชี้แจงวิธีทํากิจกรรม กิจกรรมที่ 1 ใหนักเรียนสังเกตกลองหมายเลข 1 - 10 โดยใชประสาทสัมผัส ( ตา จมูก กาย ) กิจกรรมที่ 2 ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้ วาขอใดเปนการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัส ดานใดบาง กิจกรรมที่ 3 ขอใดเปนการสังเกต ใหใสเครื่องหมาย / ขอใดไมใชการสังเกตใหใสเครื่องหมาย X หนาขอ


77

กรรมที่ 1่ 1 บับัตตรกิรกิจจกรรมที “ อะไรอยูในกลอง ” ชื่อ.................................................................................... .................................................................................... สกุล...................................................................................................... ......................................................................................................เลขที่............................ .......................... คําชี้แจง ใหนักเรียนสังเกตกลองหมายเลข 1-10 โดยใชประสาทสัมผัส แลวบันทึกผลการปฏิบัติกจิ กรรม 1. สรุปกลองหมายเลข 1 ไดแก ................................................................................................... 2. สรุปกลองหมายเลข 2 ไดแก ................................................................................................... 3. สรุปกลองหมายเลข 3 ไดแก ................................................................................................... 4. สรุปกลองหมายเลข 4 ไดแก ................................................................................................... 5. สรุปกลองหมายเลข 5 ไดแก ................................................................................................... 6. สรุปกลองหมายเลข 6 ไดแก ................................................................................................... 7. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 77 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 7. 8. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 88 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 8. 9. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 99 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 9. 10. สรุ สรุปปกล กลอองหมายเลข งหมายเลข 10 10 ได ไดแแกก ................................................................................................... ................................................................................................... 10.

เกณฑ ารใหคคะแนน ะแนน เกณฑกการให  

ขขออละ ละ 11 คะแนน คะแนน คะแนนทั คะแนนทั้ง้งหมด หมด 10 10 คะแนน คะแนน ได ได

คะแนน คะแนน


78

78

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

แนวคําตอบบัตรกิจกรรมที่ 1 คําชี้แจง ใหนักเรียนสังเกตกลองหมายเลข 1-10 โดยใชประสาทสัมผัส (ตา จมูก กาย) แลวบันทึกผล การปฏิบัติกิจกรรม 1. สรุปกลองหมายเลข 1

ไดแก ใบเตย

2. สรุปกลองหมายเลข 2

ไดแก ใบชะพลู

3. สรุปกลองหมายเลข 3

ไดแก ผักชีหอม

4. สรุปกลองหมายเลข 4

ไดแก หอมแดง

5. สรุปกลองหมายเลข 5

ไดแก ใบมะเขือเทศ

6. สรุปกลองหมายเลข 6

ไดแก ใบมะกรูด

7. สรุปกลองหมายเลข 7

ไดแก ใบมะขาม

8. สรุปกลองหมายเลข 8

ไดแก ผักชีลาว

9. สรุปกลองหมายเลข 9

ไดแก ตนหอม

10. สรุปกลองหมายเลข 10

ไดแก กระเทียม

หมายเหตุ สิ่งของที่จะนํามาทดลองอาจเปลี่ยนแปลงได


79

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

79

กรรมที่ ่ 22 บับัตตรกิรกิจจกรรมที “ ใชสัมผัสสวนไหนดี ” ชื่อ.................................................................................... .................................................................................... สกุล...................................................................................................... ......................................................................................................เลขที.่........................... .......................... คํคําาชีชี้แ้แจง ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้ วาขอใดเปนการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสดานใดบาง

หู ตา จมูก ลิ �้น กายสัมผัสส ผลการสังเกต 1. มะนาวลูกสีเขียวเปรี้ยวมากกวาลูกสีเหลือง

ระสาทสัมผัส ใชประสาทสั

2. ตูเก็บของใบนี้ มีกระจก 2 บาน สูง 1 เมตร 3. หลอดไฟที่เปดไวนาน จะมีความรอนที่ตัวหลอด 4. ดอกมะลิ เปนดอกไมสีขาว และมีกลิ่นหอม 5. สบูกอนนี้ มีฟองที่นุมมาก 6. ถนนที่สรางใหม มีรองน้ําอยูทั้งสองขาง 7. มะมวงหนาเรือนพยาบาลมีอยู 10 ลูก 8. แชมพูสระผมซัลซิล ทําใหผมฉันนุมและหอม 9. เวลาตีกลอง จะมีเสียงดังและแรงสั่นสะเทือนที่พื้น 10.วันนี้มีฝนตกหนัก จนน้ําทวมถนน

เกณฑการใหคะแนน

 ขอละ 1 คะแนน  คะแนนทั้งหมด 10 คะแนน ได

คะแนน


80

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

80

แนวคําตอบบัตรกิจกรรมที่ � 2 จง ให ใหนนกั ักเรีเรียยนพิ นพิจารณาขอความตอไปนี้ วาขอใดเปนการสังเกต โดยใชประสาทสัมผัสดานใดบาง คํคําาชีชี้แ้แจง

หู ตา จมูก ลิ �้น กายสัมผัสส ผลการสังงเกต เกต ผลการสั มะนาวลูกกสีสีเเขีขียยวเปรี วเปรี้ย้ยวมากกว วมากกวาาลูลูกกสีสีเเหลื หลือองง 1.1. มะนาวลู

แนวการตอบ แนวการตอบ ตา ลิลิ้น้น ตา

ของใบนี้ ้ มีมีกกระจก ระจก 22 บาน บาน สูสูงง 11 เมตร เมตร 2.2. ตูตูเเก็ก็บบของใบนี

ตา ตา

หลอดไฟที่เ่เปปดดไวไวนนาน าน จะมี จะมีคความร วามรออนที นที่ต่ตัวัวหลอด หลอด 3.3. หลอดไฟที

กายสัมมผัผัสส กายสั

ดอกมะลิ เป เปนนดอกไม ดอกไมสีขาว และมีกลิ่นหอม 4.4. ดอกมะลิ

ตา จมู จมูกก ตา

สบูกกอ นนี้ มีฟองที่นุมมาก 5.5. สบู

กายสัมมผัผัสส ตา ตา กายสั

ถนนที่ส่สรราางใหม งใหม มีมีรรอ งน้ําอยูทั้งสองขาง 6.6. ถนนที

ตา ตา

มะมววงหน งหนาาเรืเรือนพยาบาลมีอยู 10 10 ลูลูกก 7.7. มะม

ตา ตา

แชมพูสสระผมซั ระผมซัลลซิซิลล ทํทําาให ใหผมฉันนนุนุมมและหอม และหอม 8.8. แชมพู เวลาตีกกลอง ลอง จะมี จะมีเเสีสียยงดั งดังและแรงสั่นสะเทือนที่พื้น 9.9. เวลาตี 10.วันนนีนี้ม้มีฝีฝนตกหนั นตกหนัก จนน้ําทวมถนน 10.วั

กายสัมมผัผัสส จมู จมูกก กายสั กายสัมมผัผัส หูหู กายสั ตา ตา


81

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

บัตรกิจกรรมที่

3

“ ใช....ไมใช ” ชื่อ.................................................................................... สกุล......................................................................................................เลขที่........................... คําชี้แจง ขอใดเปนการสังเกต ใหใสเครื่องหมาย / ขอใดไมใชการสังเกตใหใสเครื่องหมาย X หนาขอ 1. ..................... สมมีรสหวาน 2. ..................... เทียนแทงนีส้ ีสวยคงมีราคาแพงมาก 3. ..................... นาฬิกาแขวนผนังเดินเสียงดังมาก 4. ..................... อากาศรอนอบอาวคงจะมีฝนตก 5. ..................... เสื้อสีแดงตัวนี้มลี ายดอกไม 6. ..................... การบูรมีกลิ่นหอม 7. ..................... รถยนตคันนีส้ ีแดง วิ่งเร็ว เสียงดัง คงจะมีราคาแพงมาก 8. ..................... กระดาษแผนนี้มผี ิวขรุขระ 9. ..................... ถาฝนตกลงมามากน้ําอาจจะทวม 10. ..................... หองนอนหองนี้มีความยาว 4 เมตร

เกณฑการใหคะแนน

 ขอละ 1 คะแนน  คะแนนทั้งหมด 10 คะแนน ได

คะแนน


82

82

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

แนวคํ าตอบบั ตรกิจกรรมที� 3 คําชี้แจง ขอใดเปนการสังเกต ใหใสเครื่องหมาย / ขอใดไมใชการสังเกตใหใสเครื่องหมาย X หนาขอ 1. ........... /.......... สมมีรสหวาน 2. ......... X........... เทียนแทงนี้สีสวยคงมีราคาแพงมาก 3. ........... /.......... นาฬิกาแขวนผนังเดินเสียงดังมาก 4. ......... X........... อากาศรอนอบอาวคงจะมีฝนตก 5. ........... /.......... เสื้อสีแดงตัวนี้มีลายดอกไม 6. ........... /.......... การบูรมีกลิ่นหอม 7. ......... X........... รถยนตคันนี้สีแดง วิ่งเร็ว เสียงดัง คงจะมีราคาแพงมาก 8. ........... /.......... กระดาษแผนนี้มีผิวขรุขระ 9. ......... X........... ถาฝนตกลงมามากนาอาจจะทวม 10. ........... /.......... หองนอนหองนี้มีความยาว 4 เมตร


83

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ83เศษ

สรุปองค์ ความรู้ เชิงปริ มาณ เชิงคุณภาพ

เชิงการเปลี�ยนแปลง

ประเภทข้ อมูล ไม่ คาดคะเน

การสังเกต

ตา

ไม่ ใส่ ความคิดเห็น

ประสาทสั มผัส

จมูก ลิ้น

ผิวกาย


84

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

84 ตัวอยาง ภาษามือ

ทักษะการสั งเกต คําศัพท

ทักษะ

สังเกต

ชัดเจน

ฝก

ความหมาย

ภาษามือ


85 ชื่อผลงานวิจัย

การแกปญหาการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเห็น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใตจังหวัดสุราษฎรธานี

ชื่อ-ชื่อสกุลผูวิจัย

นายสิทธิศักดิ์ ชิตพิทักษ ครูวิทยฐานะชํานาญการ โรงเรียนสอนคนตาบอด ภาคใต จังหวัดสุราษฏรธานี 2555

ความสําคัญความเปนมา มนุษยเราในสังคมยอมมีความแตกตางกัน บางคนเกิดมาดวยรางกายที่แข็งแรงสมบูรณ แตบางคน เกิดมาพิการ คานิยมในสังคมมักประทับตราวาคนพิการเปนคนที่แตกตางไปจากคนปกติ เปนบุคคลที่ไร ความสามารถและเปนภาระของสังคม คนพิการจึงมีการรับรูเกี่ยวกับตนเองวา “เปนคนกลุมนอย” พวกเขา จึงเกิดความรูสึกวาตนเองไมมีคุณคา ไมมีความสามารถ ไมเปนที่ยอมรับของสังคม และพยายามปฏิเสธ ความพิการของตนเอง โดยแยกตัวออกจากสังคมเพื่อปกปดขอบกพรองของตนเอง (สุปราณี สนธิรัตน . 2539) มนุษยสามารถเรียนรูโดยผานทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ทางตา ทางหู ทางการสัมผัส ทางจมูก และทางลิ้น โดยสามารถรับรูไดดีที่สุดจากการมองเห็นดวยตาถึง 83% รองลงมา คือ จากการฟง 10% จากการดมกลิ่นดวยจมูก 4% ทางการสัมผัสแตะตองดวยมือ 2% และการเรียนรูจากการลิ้มรส ดวยลิ้นเพียง 1% เทานั้น ดังนั้นผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น จึงประสบปญหาในการเรียนมากกวา นักเรียนปกติการจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นในอดีตตองเขารับการศึกษาใน โรงเรียน เฉพาะของผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นซึ่งมีอยูนอยมาก ทํา ใหผูเรียนที่มีความบกพรอง ทางการเห็นขาดโอกาสทางการศึกษาและเปนภาระตอสังคมในที่สุด แตในปจจุบันผูเรียนที่มีความบกพรอง ทางการเห็นสามารถเขาเรียนในชั้นเรียนปกติกับนักเรียนปกติได (ศรียา นิยมธรรม. 2541) ซึ่งความเปนจริง แลวสังคมเราไมสามารถแยกคนที่มีความบกพรองทางการเห็นออกทั้งในดานสังคมและดานการศึกษาได ดังนั้นจึงควรที่จะใหผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นไดมีโอกาสเรียนรวมชั้นกับนักเรียนปกติใหมากที่สุด เพราะการจัดการเรียนแบบการเรียนรวมของผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นกับนักเรียนปกติ จะเกิด ประโยชนหลายดานทั้งกับตัวนักเรียนและสังคมสวนรวมอี กดวย (บังอร ตนปาน. 2535) นอกจากนี้แลว ผูเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นมักจะมีความสามารถพิเศษหลายประการ หากไดรับการสงเสริมอยาง ถูกตองแลว ก็ยอมจะมีโอกาสที่จะไดพัฒนาศักยภาพของตนเองใหสามารถทํา งานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมเปนภาระแกครอบครัวและสังคมอีกทั้งยังสามารถทําประโยชนและชวยพัฒนาสังคมไดอีกดวย


86

86

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นนั้น มีขอจํากัดในการเรียนรู เพราะไมสามารถใชสายตารับรูสิ่งตาง ๆ ที่มองเห็นได สงผลใหโลกทัศนของนักเรียนมีนอย นักเรียนที่มี ความบกพรองทางการเห็นตองเรียนรูจากประสาทการรับรูดานการฟง การดมกลิ่น การชิมรส และการ สัมผัส การจัดกิจกรรมการเรียนรูในระดับปฐมวัย จึงตองเนนใหนักเรียนไดเรียนรูผานประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยางเหมาะสม เพื่อพัฒนาศักยภาพการใชประสาทสัมผัสที่เหลืออยูของนักเรียนใหมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยผานกระบวนการเรียนรูทักษะตางๆ 7 ทักษะ คือ ทักษะกลามเนื้อเล็ก ทักษะกลามเนื้อใหญ ทักษะการ ชวยเหลือตนเอง ทักษะการสื่อสาร ทักษะทางสังคม ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ และทักษะ การสรางความคุนเคยกับสภาพแวดลอมและการเคลื่อนไหว จากการศึกษาของผูวิจัยในการจัดกิจกรรมการเรียนการรูในระดับปฐมวัย พบวา นักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเห็นประสบปญหาดานการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพร อมทางวิชาการมากที่สุด โดยเฉพาะเรื่องการอาน เขียน อักษรเบรลลเบื้องตน ซึ่งเปนทักษะที่นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น ตองไดรับการฝกฝนใหมีความรู เขาใจ มีทักษะในการอาน เขียน และใชอุปกรณประกอบการเรียนอยาง ถูกตอง ซึ่งปญหาที่พบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ไดแก การใช สเลท สไตลัสไมถูกวิธี ไมรูตําแหนงของ จุดอักษรเบรลล เขียนอักษรเบรลลไมถูกตอง และตองใชเวลาในการฝกอาน เขียน อักษรเบรลลมากกวา ทักษะดานอื่นๆ ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน เปน ทักษะที่นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นตองไดรับการฝกตั้งแตระดับปฐมวัย เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรู จดจําตําแหนงของจุดอักษรเบรลลพยัญชนะ สระ อักษรไทย อังกฤษ ตัวเลข ฝกการสัมผัสจุดนูน และฝก อาน เขียนอักษรเบรลลใหมีพื้นฐานที่ถูกตอง สามารถนําความรูไปใชกับการเรียนในระดับที่สูงขึ้นไดอยางมี ประสิทธิภาพ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรองทางวิชาการ สาระการเตรียมความ พรอมอักษรเบรลลเบื้องตน การฝกอาน เขียน อักษรเบรลลพบวา นักเรียนประสบปญหาในการเรียนรูเรื่อง ตําแหนงจุดของอักษรเบรลล เรียนรูไดชา ตองใชเวลาสรางความเขาใจใหกับ นักเรียนมากกวาการเรียนรู เนื้อหาเรื่องอื่น ๆ ทั้งนี้เนื่องมาจากนักเรียนมีพื้นฐานการเรียนรูเรื่องการอาน เขียน อักษรเบรลลไมถูกตอง และสื่อที่ใชประกอบการเรียนรูมีไมสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู ไมเหมาะสมกับสภาพความพิการของ นักเรียน จากปญหาดังกลาวผูวิจัยจึงไดสรางบล็อกเบรลลขึ้น เพื่อใชเปนสื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล ใหนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น ไดมีสื่อประกอบการเรียนรูที่สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู สรางความรูความเขาใจเรื่องตําแหนงจุดเบรลลทั้ง 6 จุดใน 1 กลุม ซึ่งเปนพื้นฐานความรูเบื้องตนในการฝก อาน เขียน อักษรเบรลลที่ถูกตอง ทั้งนี้ยังเปนประโยชนกับครูผูสอนไดมีสื่อการสอนที่มีคุณภาพ เหมาะสม


87

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

87

สอดคลองกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู ซึ่งสงผลใหการจัดการเรียนรูประสบความสําเร็จนักเรียนมี ความรู มีความเขาใจในเนื้อหาที่เรียน มีผลการประเมินสูงขึ้นบรรลุตามวัตถุประสงคที่วางไว 2.1 วัตถุประสงคการวิจัย 1) เพื่อสรางบล็อกเบรลล สื่อการสอนทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลลที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) เพื่อศึกษาระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อก เบรลล 3) เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินกอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย 1) รูปแบบการวิจัยและแบบแผนการทดลองในงานวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชแบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538) ดังนี้ ตารางแสดงแบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design กลุม กลุมทดลอง

Pre-test T�

Treatment X

Post-test T�

สัญลักษณที่ใชในแบบแผนการทดลอง T� หมายถึง การประเมินผลกอนเรียน X หมายถึง การจัดการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอม อักษรเบรลลเบื้องตน T� หมายถึง การประเมินผลหลังเรียน

2) ประชากร/กลุมตัวอยาง การวิจั ยครั้ง นี้ป ระชากรคือ นัก เรี ยนชั้น อนุ บ าล 2 โรงเรี ยนสอนคนตาบอดภาคใต จัง หวั ด สุร าษฎรธ านี ในภาคเรี ยนที่ 1 ป ก ารศึก ษา 2555 จํา นวน 4 คน ไดม าดว ยการเลื อ กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) (พิสณุ ฟองศรี. 2552)


88

88

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

3) เครื่องมือวิจัย 3.1 บล็อกเบรลล สื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล 3.2 แผนการจัดประสบการณการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการสาระการเตรียม ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล 3.3 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 4) การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 4.1 กอนการดําเนินการวิจัยผูวิจัยไดแจงวัตถุประสงคและแนะนําการใชบล็อกเบรลลสื่อการสอน เรื่องตําแหนงจุดเบรลลใหนักเรียนไดสัมผัส รูจักและใชเปน แลวจึงประเมินความรูพ้ืนฐานกอนเรียนของ นักเรียน โดยใชแบบประเมินผลกอนเรียนและบันทึกผลการประเมินกอนเรียนเปนรายบุคคล 4.2 จัดกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความ พรอมอักษรเบรลลเบื้องตน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล เปนสื่อการเรียนรูของนักเรียน ควบคูกับแผนการจัดประสบการณการเรียนรูที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น 5 กิจกรรม และหลังเสร็จสิ้นกระบวนการ เรียนรูของแตละกิจกรรม มีการประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนเปนรายบุคคลในแตละกิจกรรม 4.3 หลังเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนเรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลล ผูวิจัยดําเนินการประเมินผล การเรียนรูหลังเรียน โดยใชแบบประเมินชุดเดิมซึ่งเปนชุดเดียวกับแบบประเมินกอนเรียนและบันทึกผลการ ประเมินเปนรายบุคคล 4.4 นําขอมูล จากผลการประเมินกอนและหลัง เรียนมาตรวจสอบความถูก ตอง วิเ คราะหแ ละ แปรผลขอมูลตอไป 5) การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยนําแบบประเมินผลกอนและหลังเรียน ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการ เตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นํามาตรวจใหคะแนน และวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 5.1 การใหคะแนนและเกณฑการแปลผลคะแนนนักเรียนทําไดถูกตอง ให 1 คะแนน และนักเรียน ทําไมถูกตอง ให 0 คะแนน 5.2 เกณฑการแปลผลคะแนนและระดับความสามารถของนักเรียนคะแนน 0-5 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 6-10 หมายถึง ปานกลาง และคะแนน 11-15 หมายถึง ดี 5.3 การวิเคราะหขอมูล 5.3.1 วิเคราะหประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

89

89

สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อก เบรลลที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 5.3.2 วิเคราะหระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใช บล็อกเบรลล โดยใชคาเฉลี่ย รอยละ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.3.3 เปรียบเทียบผลการประเมินกอนและหลังเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของ วิลค็อกซัน (Wilcoxon matched pairs signed ranks test) 6) สถิติที่ใช สถิติพื้นฐาน คาเฉลี่ย รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใชในการทดสอบ 6.1.1 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนกอนเรียน และหลังเรียน ทดสอบโดยการทดสอบ ความแตกตางของกลุม ตัวอยางที่ไมเ ปนอิส ระจากกัน โดยใช ก ารทดสอบของวิล ค็อกซัน ( Wilcoxon matched pairs signed ranks test) ใชสูตรดังนี้ (นิภา ศรีไพโรจน. 2555 : ออนไลน) มีสูตรดังนี้ D= Y–X เมื่อ D แทน คาความแตกตางของคะแนน X และ Y กอนและหลังการทดลอง X แทน คะแนนของการทดสอบกอนการทดลอง Y แทน คะแนนของการทดสอบหลังการทดลอง จัดอันดับคาความแตกตางจากคานอยไปหาคามาก กํากับอันดับที่ดวยเครื่องหมายบวก หรือเครื่องหมายที่มีอยูเดิม หาผลรวมของอันดับที่มีเครื่องหมายบวก และมีเครื่องหมายลบตามลําดับคาของ ผลรวมที่นอยกวา (โดยไมคํานึงถึงเครื่องหมาย) เราเรียกคานี้วา T 6.2.2 สูตรการหาคาประสิทธิภาพ (E� /E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล

โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นโดยใชสูตรการหาคา E� /E� (เผชิญ กิจระการ.

2544)

2.3 ผลการวิจัย ตอนที่ 1 การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรอมทาง วิชาการสาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดย ใชบล็อกเบรลลตามเกณฑ 80/80 1.1 การวิเคราะหห าประสิทธิภาพดานกระบวนการ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง


90

90

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลลจากคะแนนการประเมินกิจกรรมการเรียนรูระหวางเรียน 5 กิจกรรม ซึ่งปรากฏผลดังนี้ ตารางการวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานกระบวนการ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนหนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียน ลําดับที่ 1 2 3 4 รวม

ผลการประเมินกิจกรรมการเรียนรูระหวางเรียน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 7 7 8 8 6 5 5 6 7 7 6 7 7 6 7 7 � X

รวม กิจกรรมที่ 5 40 คะแนน 8 38 7 29 7 34 7 34 135 33.75 3.68 84.37

S.D. เฉลี่ยรอยละ E� = 84.37 จากตารางพบวาคะแนนเฉลี่ยของการประเมินผลกิจกรรมการเรียนรูระหวางเรียน 5 กิจกรรม โดย

ภาพรวมนัก เรียนมีคะแนนเฉลี่ยที่ 33. 75 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 84.37 คะแนน ดัง นั้น กิจกรรม การเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลล เบื้ อ งต น หน ว ยการเรี ย นรู ที่ 4 เรื่ อ งตํ า แหน ง จุ ด เบรลล โ ดยใช บ ล็ อ กเบรลล เ ป น สื่ อ การสอนนั้ น มี ประสิทธิภาพดานกระบวนการ E� เทากับ 84.37

1.2 การวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานผลลัพธ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรูทัก ษะการเตรียม ความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเ บื้องตนหนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล จากคะแนนการประเมินผลหลังเรียน ซึ่งปรากฏผลดังนี้

ตารางการวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานผลลัพธ (E� ) ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียม ความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอัก ษรเบรลลเ บื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลล


91

: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

91

นักเรียน ลําดับที่ 1 2 3 4 รวม

คะแนนกอนเรียน (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) 5 3 3 4 15 3.75 .95 25.00

คะแนนหลังเรียน (คะแนนเต็ม 15 คะแนน) 15 10 14 14 53 � 13.25 X S.D. 2.21 เฉลี่ยรอยละ 88.33 E� = 88.33 จากตาราง พบวาคะแนนเฉลี่ยของการประเมินผลหลังเรียนโดยรวม นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกลุม ที่ 13.25 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยรอยละทั้งกลุมที่ 88.33 คะแนน ดังนั้นกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตําแหนงจุดเบรลลโดยบล็อกเบรลลเปนสื่อการสอนนั้น มีประสิทธิภาพดานผลลัพธ E� เทากับ 88.33 1.3 ผลการวิเคราะหการหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอม

ทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยบล็อกเบรลลตามเกณฑ 80/80 ซึ่งปรากฏผลดังนี้ ตารางผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพดานกระบวนการและดานผลลัพธ ของกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการสาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนหนวยการเรียนรู ที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล ตามเกณฑ 80/80 ประสิทธิภาพ

N

คะแนน คะแนนเต็ม 40 15

� X 33.75 13.25

S.D. 3.68 2.21

รอยละ 84.37 88.33

ประสิทธิภาพดานกระบวนการ (E� ) 4 4 ประสิทธิภาพดานผลลัพธ (E� ) มีคาประสิทธิภาพ (E� /E� ) เทากับ 84.37/88.33 จากตารางพบวาประสิทธิภาพดานกระบวนการ E� เทากับ 84.37 และประสิทธิภาพของผลลัพธ E� เทากับ 88.33 ดังนั้นกิจกรรมการเรียนรูทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม


92

92

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลลเปนสื่อ

การสอนนั้น มีประสิทธิภาพ (E� /E� ) เทากับ 84.37/88.33 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว 92 92 ตอนที่ 2 การวิเคราะหระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดย มพรอมอักษรเบรลล น หนวยการเรีความพร ยนรูที่ อ4มอั เรื่อกงตํ ษรเบรลล าแหนงเจุบืด้อเบรลล งตน หนโดยใช วยการเรี บล็อยกเบรลล นรูที่ 4 เรืเป่อนงตํสื่อาแหนงจุดเบรลลโดยใชบล็อกเบรลลเปนสื่อ ใชบเบืล็้อองต กเบรลล ผูว�ิจ)ัยเท จัดากิกัการสอนนั จบกรรมการเรี ชาการ สูสาระการเตรี มความที่ตั้งไว สอนนั้น มีประสิทธิภาพ (Eเมื�่อ/E ้น มียปนรู ระสิ ภาเกณฑ าพ (E�80/80 84.37/88.33 สูทงทักกวธิษะการเตรี /ยEมความพร ่ตาั้งกัไวบอมทางวิ 84.37/88.33 งกวาเกณฑ ย80/80 � ) ทีเท

อมอักรษรเบรลล เ บื้องตน หน วยการเรี ที่ ก4เรีเรืยร่อนะดังตํเรืบา่อความสามารถทางการเรี แหน ง จุดงเบรลล โ ดยใช ล็อขกเบรลล ้น าแหนงจุดเบรลล โดย ตอนที่ 2 การวิพรเคราะห ะดับความสามารถทางการเรี ตอนที ่ 2ยการวิ นรูยขนรูองนั เคราะห งตําแหน จุดเบรลล โดยยบนรู องนักเรียเสร็ น เรืจ่อสิงตํ กระบวนการ เรียนรูแลใชวบผูล็วอิจกเบรลล ัยไดวิเคราะห ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน จากคะแนนการ ล็อกเบรลล นผลกอยนนรูและหลั งเรียนเมืซึ่องยปรากฏผลดั นี้ ชาการ เมื่อผูวิจัยจัดกิประเมิ จกรรมการเรี ทักษะการเตรี ผูมความพร วิจัยจัดกิจองกรรมการเรี มทางวิ ยนรูสาระการเตรี ทักษะการเตรียยมความ มความพรอมทางวิ ชาการ สาระการเตรียมความ ตารางผลการวิ ะแนนก ยน และระดั ของบล็อกเบรลล เสร็ จสิ้น มอัก ษรเบรลลเ บื้องตน หน วยการเรียพร นรูเอคราะห ทมอั ี่ 4 กเรืษรเบรลล ่อคงตํ าแหนเอบืงนและหลั จุ้อดงตเบรลล น หนงเรีโวดยใช ยการเรี บล็ยอนรู กเบรลล ทบี่ ความสามารถ 4 เรืเสร็ ่องตํจาสิแหน ้น ทางการเรี ง จุดเบรลลยโนรู ดยใช

เรื่อวิเงตํ าแหนระดั งกระบวนการ จุดบเบรลล โดยใช บล็แอลกเบรลล บวนการ เรียนรูแลนัวกเรี ผูวยิจนัยได คราะห ความสามารถทางการเรี เรียนรู ว ผูวิจยั นรู ไดวขิเองนั คราะห กเรียระดั น จากคะแนนการ บความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียน จากคะแนนกา

เมินผลกอน และหลังเรียน ซึ่งปรากฏผลดั ประเมิ งนี้ นผลกอน และหลังเรียน ซึ่งปรากฏผลดังนี้ นักเ คราะห เรียน คะแนนกอนและหลั คะแนน ตารางผลการวิ ร เ คราะห บ อทางการเรี คะแนน ร บะความสามารถ ดั บ ทางการเรียนรูขอ ตารางผลการวิ งเรียน และระดั บะความสามารถ คดัะแนนก นและหลังยเรีนรูยนของและระดั บที่ โดยใชบล็อกนักเบรลล อกนเรี งเรียน ความสามารถ รียน เรื่องตําแหนงลํจุาดดัเบรลล เรียยนนเรื่องตําแหนงความสามารถ จุดเบรลล โดยใชบล็อหลั กเบรลล 1 5 ปรับปรุง 15 ดี 2 3 ปรับปรุง 10 ปานกลาง รียน คะแนน รนักเรียะน ดั บ คะแนน ร ะ ดั บ คะแนน ร ะ ดั บ 3 3 ปรับปรุง 14 ดี บที่ กอนเรียน ความสามารถ ลําดับที่ หลั กอนเรี งเรียยนน ความสามารถ หลังเรียน ความสามารถ 4 4 ปรับปรุง 14 ดี 5 ปรั 1 บปรุง 15 5 ดีปรับปรุง 15 ดี รวม 15 53 3 ปรั 2 บปรุง 10 3 ปานกลาง ปรับปรุง 10 ปานกลาง � 3.75 ปรั บ ปรุ ง 13.25 ดี X 3 ปรั 3 บปรุง 14 3 ดีปรับปรุง 14 ดี S.D. .95 2.21 4 ปรั 4 บปรุง 14 4 ดีปรับปรุง 14 ดี รอยละ 25.00 88.33 15 รวม 53 15 53 � 3.75 ปรับปรุง � 13.25 3.75 ดีปรับปรุง 13.25 ดี X X ผลการประเมินกอนและหลั บล็อกเบรลล การ .95 จากตาราง พบวาS.D. 2.21 .95 งเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลลโดยใช2.21 ประเมินผลกอนเรียน รนัอกยละ เรียนมีคะแนนเฉลี88.33 ่ยทั้งกลุมที่ 3.75 คะแนน มีระดับความสามารถทางการเรี ยน ละ 25.00 25.00 88.33 รูอยูใ นระดับ ปรับ ปรุง ทุ ก คน สว นการประเมิ นผลหลัง เรียน นัก เรีย นมีค ะแนนเฉลี่ยทั้ ง กลุ ม ที่ 13.25 คะแนนมี บความสามารถทางการเรี ยงนรู ยูในระดั ระดับล็บอดีกเบรลล จํงเรีานวน 3่อคน ปานกลาง จากตาราง พบวาผลการประเมิ นกรอะดั นและหลั จากตาราง งเรียน เรื่อพบว งตําแหน าผลการประเมิ จุดอเบรลล นโดยใช กอบนและหลั ยน เรืการ งตําและระดั แหนงจุดบเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล การ

1 คน ซึ่งแสดงให นนวมผลก าทีกิ่ จ3.75  เรืคบ่อะแนนเฉลี งตําแหนง่ยจุทัด้งเบรลล โดยใช บล็อกเบรลล นสื่อ เมินผลกอนเรียน จํนัากนวน เรียนมี คะแนนเฉลี ประเมิ ่ยทัเ้งห็กลุ อกรรมการเรี นเรีคะแนน ยน นักเรียมีนรู ยรนมี ะดั ความสามารถทางการเรี กลุมที่ 3.75 ยนคะแนน มีระดับเปความสามารถทางการเรี ยน คุณภาพ รูชอวยูยพั ฒนาระดั ยนรู ก มเรีทีย่ ง13.25 นให ในระดับ ปรับ ปรุการสอนนั ง ทุ ก คน ส้นวมีนการประเมิ นใ นระดั ผลหลั บง เรี ปรับยบความสามารถทางการเรี นปรุนังกทุเรีกยคน นมีสควะแนนเฉลี นการประเมิ ่ยทัข้ งองนั นกลุ ผลหลั เรียสนูงขึนั้นกทุเรีกคน ย นมีค ะแนนเฉลี่ยทั้ ง กลุ ม ที่ 13.25 ตอนที่ 3 วิเคราะหยนรู เปรีอคะแนนมี ยบผลการประเมิ นกอ3นและหลั งเรียนรู ยบนอปานกลาง เรื งตําแหน โดยใช คะแนนมีระดับความสามารถทางการเรี ยูยใบเที นระดั รบะดั ระดับความสามารถทางการเรี บ ดี จํานวน คน และระดั ยูใ่อนระดั บระดังจุบดเบรลล ดี จํานวน 3 คน และระดับปานกลา

บล็อเห็กเบรลล โดยใชการทดสอบของวิ ค็อกซังนจุดเ(Wilcoxon matched pairs test) โดยใชบล็อกเบรลล เปนสื่อ วน 1 คน ซึ่งแสดงให นวา กิจกรรมการเรี จํานวน ยนรู1 เรืคน ่องตํซึลา่งแสดงให แหน ห็เบรลล นวา กิจโดยใช กรรมการเรี บล็อกเบรลล ยนรู  เรื่เป อsigned งตํนสืาแหน ่อ ranks งจุดเบรลล สอนนั้นมีคุณภาพ ชวยพัฒนาระดับความสามารถทางการเรี การสอนนั้นมีคุณภาพ ยนรูชขวยพั องนัฒกนาระดั เรียนใหบสความสามารถทางการเรี ูงขึ้นทุกคน ยนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นทุกคน ตอนที่ 3 วิเคราะห เปรียบเทียบผลการประเมิ ตอนที นกอ่ นและหลั 3 วิเคราะห งเรียเปรี น เรืยบเที ่องตํยาบผลการประเมิ แหนงจุดเบรลลนโดยใช กอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใช


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

93

93

ผูวิจัยนําคะแนนจากผลการประเมินกอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของวิลค็อกซัน ( Wilcoxon matched pairs signed ranks test) ซึ่งปรากฏผลดังนี้ ตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินกอนและหลังเรียน เรื่องตํา แหนง จุดเบรลลโ ดยใช บล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของวิลค็อกซัน (Wilcoxon matched pairs signed ranks test) คะแนน ลําดับตามเครื่องหมาย นักเรียน ผลตางของ ลําดับที่ ลําดับที่ คะแนน ของความตาง บวก กอนเรียน หลังเรียน ลบ 1 5 15 10 5.5 +5.5 2 3 10 7 2.5 +2.5 3 3 14 11 6.5 +6.5 4 4 14 10 5.5 +5.5 T+=20 T-=0 T=0∗ * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง แสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนการประเมินผลกอนและหลังเรียน เรื่องตําแหนงจุด เบรลลโดยใชบล็อกเบรลล โดยใชการทดสอบของวิลค็อกซัน ( Wilcoxon matched pairs signed ranks test) พบวา มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 5.0 แสดงวาการเรียนรูเรื่องตําแหนงจุด เบรลลโดยใชบล็อกเบรลลสงผลใหนักเรียนมีผลการประเมินสูงขึ้น 2.4 สรุปผลและการอภิปรายผล สรุปผล การแกปญหาการเรียนรูเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล นักเรียนที่มีความ บกพรองทางการเห็น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใตจังหวัดสุราษฎรธานี สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1) กิจกรรมการเรียนรู ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษร เบรลลเบื้องตน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่องตําแหนง จุดเบรลลโ ดยใชบล็อกเบรลลเ ปนสื่อการสอนนั้นมี ประสิทธิภาพที่ 84.37/88.33 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว 2) ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล พบวา กอนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกลุมที่ 3.75 คะแนน มีระดับความสามารถทางการเรียนรูอยูใน ระดับปรับปรุงทุกคน สวนหลังเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของกลุมที่ 13.25 คะแนน มีระดับความสามารถ ทางการเรียนรูอยูในระดับ ดี จํานวน 3 คน และอยูในระดับ ปานกลาง จํานวน 1 คน ซึ่งแสดงใหเห็นวา กิจกรรมการเรียนรูเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลลเปนสื่อการสอนนั้นมีประสิทธิภาพชวยพัฒนา ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นทุกคน


94

9494

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

กเรียนชั ยนชั้น้นอนุอนุบบาลาล2 2ทีที่เรี่เยรีนรู ยนรูเรืเ่อรืงตํ ่องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็อล็กเบรลล อกเบรลลมีผมีลการประเมิ ผลการประเมินน 3)3)นันักเรี ผลการประเมิน หลัหลังเรีงเรียนสู ยนสูงขึง้นขึ้นโดยการเปรี โดยการเปรียบเที ยบเทียบผลการประเมิ ยบผลการประเมินนกอกนและหลั อนและหลังเรีงเรียนยนพบว พบวา านันักเรี กเรียนมี ยนมีผลการประเมิ ผลการประเมินน นมีผลการประเมินสูงสูขึง้นขึ้นอยอยางมี างมีนนัยสํัยาสํคัาญคัญทางสถิ ทางสถิติทติที่ระดั ี่ระดับบ.05.05 การอภิปปรายผล รายผล การอภิ

การแกปปญญหาการเรี หาการเรียนรู ยนรู เรื เรื่องตํ ่องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็อล็กเบรลล อกเบรลลนันักเรี กเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรององ การแก ที่มีความบกพรอง ทางการเห็ ทางการเห็นนโรงเรี โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต ยนสอนคนตาบอดภาคใตจังจัหวั งหวัดสุดรสุาษฎร ราษฎรธานี ธานีดังดันีงนี้ ้ จกรรมการเรียนรู ยนรู ทั ทักษะการเตรี กษะการเตรียมความพร ยมความพรอมทางวิ อมทางวิชาการ ชาการสาระการเตรี สาระการเตรียมความพร ยมความพรอมอั อมอักษร กษร 1)1)กิจกิกรรมการเรี มความพรอมอักษรเบรลล เบรลลเบืเบื้อ้องตงตนนหนหนวยการเรี วยการเรียนรู ยนรูทที่ 4ี่ 4เรืเรื่อ่งตํ องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็ล็อกเบรลล อกเบรลลเปเปนนสื่สือ่การสอนนั อการสอนนั้น้นมีมี นสื่อการสอนนั้น มีประสิ 84.37/88.33หมายความว หมายความวา านันักเรี กเรียนได ยนไดคะแนนเฉลี คะแนนเฉลี่ย่รยอรยละของการ อยละของการ ประสิททธิภธิภาพาพ (E(E��/E/E��) ) เทเทากัาบกับ84.37/88.33

ลี่ยรอยละของการประเมิ ประเมินนกิจกิกรรมการเรี จกรรมการเรียนรู ยนรูระหว ระหวางเรี างเรียนยน5 5กิจกิกรรม จกรรมเทเทากัาบกับ84.37 84.37และได และไดคะแนนเฉลี คะแนนเฉลี่ยร่ยอรยละจากการ อยละจากการ

ลี่ยรอยละจากการประเมิ ประเมินนผลหลั ผลหลังเรีงเรียนยนเทเทากัาบกับ88.33 88.33แสดงว แสดงวา ากิจกิกรรมการเรี จกรรมการเรียนรู ยนรูททักษะการเตรี ักษะการเตรียมความพร ยมความพรอมทางวิ อมทางวิชาการ ชาการ พรอมทางวิชาการสาระการเตรี สาระการเตรียมความพร ยมความพรอมอั อมอักษรเบรลล กษรเบรลลเบืเบื้องต ้องตนนหนหนวยการเรี วยการเรียนรู ยนรูทที่ 4ี่ 4เรืเรื่องตํ ่องตําแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลโดยใช โดยใชบบล็อล็กอก บรลล โดยใชบล็อเบรลล กเบรลลเปเปนนสื่อสืการสอนนั ่อการสอนนั้น้นมีปมีประสิ ระสิททธิภธิภาพสู าพสูงกว งกวาเกณฑ าเกณฑ80/80 80/80ทีที่ตั้ง่ตไวั้งไวซึ่งซึสอดคล ่งสอดคลองกั องกับบงานวิ งานวิจัยจของนนท ัยของนนท

บงานวิจัยของนนทนานา วัชวัรธนาคม ชรธนาคม(2546) (2546)ไดไดศึกศษาผลการใช ึกษาผลการใชสื่อสประสม ื่อประสมในการพั ในการพัฒฒนาความสามารถทางการฟ นาความสามารถทางการฟงของเด็ งของเด็กทีกที่ม่ีมี การฟงของเด็กที่มความบกพร ีความบกพรองทางสติ องทางสติปปญญญาญาระดั ระดับบกอกนประถมศึ อนประถมศึกษา กษาเพืเพื่อพั่อพัฒฒนาสื นาสื่อประสมที ่อประสมที่ใช่ใใชนการฝ ในการฝกทักทักษะการฟ กษะการฟง งและ และ

กทักษะการฟง และเพืเพื่อเปรี ่อเปรียบเที ยบเทียบความสามารถทางการฟ ยบความสามารถทางการฟงของเด็ งของเด็กทีกที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางสติ องทางสติปปญญญาญาระดั ระดับบกอกนประถมศึ อนประถมศึกษา กษา บกอนประถมศึกษากอกนและหลั อนและหลังการฝ งการฝกทักทักษะการฟ กษะการฟงโดยใช งโดยใชสื่อสประสม ื่อประสมผลการศึ ผลการศึกษาพบว กษาพบวาสืา่อสืประสมที ่อประสมที่พ่พัฒัฒนาขึ นาขึ้น้นมีปมีประสิ ระสิททธิภธิาพ ภาพ

าขึ้นมีประสิทธิภาพทีที่ 83.55/84.16 ่ 83.55/84.16เปเปนนไปตามเกณฑ ไปตามเกณฑทที่กํี่ากหนดไว ําหนดไวทที่ 80/80 ี่ 80/80และสอดคล และสอดคลองกั องกับบงานวิ งานวิจัยจของรั ัยของรับบขวัขวัญญวรรณภู วรรณภูมิมิ งรับขวัญ วรรณภูม(2555) ิ(2555)ไดไดศึกศึษาการพั กษาการพัฒฒนาและผลการใช นาและผลการใชหหนันังสืงอสืภาพประกอบคํ อภาพประกอบคํา คล า คลองจอง องจองเพืเพื่อ่พัอพัฒฒนาทั นาทักษะทางภาษา กษะทางภาษา นาทักษะทางภาษาสําสํหรั าหรับบเด็เด็กชัก้นชั้นอนุอนุบบาล1 าล1ภาคเรี ภาคเรียนที ยนที่ 1่ 1ปปการศึ การศึกษา กษา2555 2555 โรงเรี โรงเรียนบ ยนบานหนองหอย านหนองหอยสําสํนัานักกงานเขตพื งานเขตพื้น้นทีที่ ่

สํานัก งานเขตพื้นทีการศึ ่การศึกษาประถมศึ กษาประถมศึกษาชั กษาชัยภูยภูมิมเขต1 ิ เขต1เพืเพื่อ่สร อสรางหนั างหนังสืงอสืภาพประกอบคํ อภาพประกอบคําคล าคลองจองพั องจองพัฒฒนาทั นาทักกษะทางภาษา ษะทางภาษา นาทัก ษะทางภาษาสําสํหรั าหรับบเด็เด็กให กใหมีปมีประสิ ระสิททธิภธิภาพตามเกณฑ าพตามเกณฑ80/80 80/80ผลการวิ ผลการวิจัยจพบว ัยพบวา าหนัหนังสืงอสืภาพประกอบคํ อภาพประกอบคําคล าคลองจอง องจองเพืเพื่อ่อ

บคําคลองจอง เพื่พัอพัฒฒนาทั นาทักษะทางภาษาสํ กษะทางภาษาสําหรั าหรับบเด็เด็กชัก้นชั้นอนุอนุบบาลป าลปทที่ 1ี่ 1โดยรวมมี โดยรวมมีปประสิ ระสิททธิภธิภาพเท าพเทากัาบกับ92.78/88.13 92.78/88.13ซึ่งซึสู่งงสูกว งกวา า 8/88.13 ซึ่งสูงกวเกณฑ าเกณฑทที่ตั้งี่ตไวั้งไวคือคือ80/80 80/80จากเหตุ จากเหตุผลดั ผลดังกล งกลาวในข าวในขางต างตนนแสดงให แสดงใหเห็เห็นนวาวบล็ าบล็อกเบรลล อกเบรลลสื่อสการสอนที ื่อการสอนที่ผูว่ผิจูวัยิจสร ัยสรางาง

ารสอนที่ผูวิจัยสราขึง้นขึ้นนันั้น้นมีคมีาคประสิ าประสิททธิภธิภาพที าพที่ 83.75/88.33 ่ 83.75/88.33สูงสูกว งกวาเกณฑ าเกณฑ80/80 80/80ทีที่ตั้ง่ตไวั้งไวใชใชเปเปนนสื่อสืการสอนทั ่อการสอนทักษะการเตรี กษะการเตรียมยม นทักษะการเตรียมความพร ความพรอมทางวิ อมทางวิชาการสาระการเตรี ชาการสาระการเตรียมความพร ยมความพรออมอัมอักกษรเบรลล ษรเบรลลเ บืเ บื้อ้องตงตนนหนหนวยการเรี วยการเรียนรู ยนรูทที่ 4ี่ 4เรืเรื่อ่อง ง

ารเรียนรูที่ 4 เรื่อตํงาตํแหน าแหนงจุงดจุเบรลล ดเบรลลนักนัเรี กเรียนที ยนที่มีค่มวามบกพร ีความบกพรองทางการเห็ องทางการเห็นนโรงเรี โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต ยนสอนคนตาบอดภาคใตจังจหวั ังหวัดด คใตจังหวัด สุราษฎรธานี ธานีไดไดอยอายงมี างมีปประสิ ระสิททธิภธิภาพาพ ราษฎร

สุ สุ


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

95

95

2) ระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล พบวา กอนเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกลุมที่ 3.75 คะแนน มีระดับความสามารถทางการเรียนรูอยูใน ระดับปรับปรุงทุกคน สวนหลังเรียนนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของกลุมที่ 13.25 คะแนน มีระดับความสามารถ ทางการเรียนรูอยูในระดับ ดี จํานวน 3 คน และอยูในระดับ ปานกลาง จํานวน 1 คน แสดงใหเ ห็นวา กิจกรรมการเรียนรูเรื่องตําแหนง จุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล เปนสื่อการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ ชวย พัฒนาระดับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นทุกคน ทั้งนี้ เนื่องมาจากผูวิจัยไดสรางบล็อก เบรลลตามขั้นตอนและวิธีการที่ถูกตองตามหลักวิชาการ คํานึงถึงความถูกตองเหมาะสมของสื่อกับสภาพ ความบกพรองของนัก เรียน และความสอดคลองกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู ซึ่งตรงกับวิวรรธน จันทรเทพย(2555) กลาวไวในหลักการใชสื่อวากอนใชสื่อควรเตรียมตัวผูสอนเตรียมตัวเด็ก เตรียมสื่อให พรอมกอนนําไปใช นําเสนอสื่อเพื่อใหบรรลุผล สรางความพรอมและเราความสนใจ ใชสื่อตามลําดับขั้นของ แผนการจัดกิจกรรม ไมควรใหเด็กเห็นสื่อหลายๆ ชนิดพรอมๆ กัน เปดโอกาสใหเด็กไดรวมใชสื่อ และขอ ควรระวังในการใชสื่อการสอนในระดับปฐมวัย ควรระวังในเรื่องวัสดุที่ใชตองไมมีพิษไมหักและแตกงาย มี พื้นผิวเรียบไมเ ปนเสี้ยน ขนาดไม ควรมีขนาดใหญเ กินไป เพราะยากตอการหยิบยก อาจจะตกแตกมา เสียหาย เปนอันตรายตอเด็กหรือใชไมสะดวก ทั้งนี้ยังสอดคลองงานวิจัยของกุหลาบ ยนตพงษ (2546) ได วิจัยเรื่องการจัดประสบการณโดยใชสื่อเตรียมเด็กใหสงบ นักเรียนชั้ นอนุบาลปที่ 1/4 โรงเรียนอัสสัมชัญ ระยอง ผลการวิจัยพบวาการจัดประสบการณโดยใชสื่อเตรียมเด็กใหสงบนั้น เปนกิจกรรมที่เหมาะกับเด็ก เปนอยางมากกับการจัดกิจกรรม เมื่อมีสื่อเด็กจะใหความสนใจกับการจัดกิจกรรมที่มีสื่อประกอบการปฏิบัติ จริง เพราะชวยกระตุนความสนใจเด็กใหมีสมาธิ และมีจินตนาการ คลอยตามจากรูปธรรมไปหานามธรรมได ดี ทั้งนี้ยังเปลี่ยนอิริยาบถใหเด็กเกิดความสนใจในการเรียนรูสิ่งตางๆ จากสื่อไดอยางตอเนื่องอีกดวย ซึ่งเด็ก จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปอยางมาก เกิดความสนุกสนาน ตั้งใจ และอยูนิ่งไดพรอมที่จะเริ่มกิจกรรมใหม ตอไป รูจักรอคอย ปฏิบัติตามลําดับกอนหลังไดดี อยูในกติกาที่ตกลงรวมกัน ดังนั้นจากการจัดกิจกรรมโดย การใชสื่อในการเตรียมใหเด็กสงบกอนการจัดกิจกรรมตางๆ จึงมีประโยชนในการจัดกิจกรรมใหกับเด็กเปน อยางมากและควรปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการเตรียมพื้นฐานดานการเรียนในระดับที่สูงขึ้นตอไป และ ยังสอดคลองกับรับขวัญ วรรณภูมิ (2555) ไดศึกษาการพัฒนาและผลการใชหนังสือภาพประกอบคําคลอง จอง เพื่อพัฒ นาทัก ษะทางภาษาสํา หรับ เด็ก ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบานหนองหอย สํา นัก งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึก ษาชัยภูมิ เขต 1 ผลการวิจัยสรุปไดวาหนังสือภาพประกอบคําคลองจองเพื่อพัฒนา ทักษะทางภาษาสําหรับเด็กชั้นอนุบาลปที่1 มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาของนักเรียนให สูงขึ้น เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความสุข สงเสริมความเขาใจ และจินตนาการของเด็กไดดี สงผลใหผูเรียนมีพัฒนาการทักษะทางภาษาเพิ่มขึ้น มีความรู ความคิดกวางไกล


96

96

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

และมีนิสัยรักการอาน เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเอง ตามลําดับขั้นของการพัฒนาทุกดานอยางสมบูรณและเต็ม ศักยภาพ จากเหตุตามที่กลาวมานั้นสนับสนุนใหบล็อกเบรลล สื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลลที่ผูวิจัย สรางขึ้นนั้น เปนสื่อที่มีคุณภาพ ชวยแกปญหาการเรียนรู และ เพิ่มระดับความสามารถทางการเรียนรูของ นักเรียนใหสูงขึ้น เปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัยที่กําหนดไวอยางแทจริง 3) ผลการประเมินกอนและหลังเรียน ทักษะการเตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียม ความพรอ มอัก ษรเบรลล เ บื้ องต น เรื่อ งตํา แหน ง จุด เบรลล โดยใช บ ล็อ กเบรลล เ ป น สื่อ การสอนนั้ น ผลการวิ จั ย พบว า นั ก เรี ย นมีผ ลการประเมิ น หลั ง เรี ย นสูง ขึ้ น อย า งมี นัย สํ า คั ญ ทางสถิติ ที่ ร ะดั บ .05 ผลการวิจัยปรากฏเชนนี้ เนื่องมาจากการสรางและการผลิตบล็อกเบรลล สื่อการสอนทักษะการ เตรียมความพรอมทางวิชาการ สาระการเตรียมความพรอมอักษรเบรลลเบื้องตนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล นักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็นโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใตจังหวัดสุราษฎรธานี มีการดําเนินการ อยางมีระบบ กลาวคือ มีวางแผนการดําเนินงาน ศึกษาขอมูล สอบถามผูที่มีประสบการณดานการสอน นัก เรีย นที่ มีค วามบกพร อ งทางเห็น พรอ มทั้ง มี ก ารวิ เ คราะห ข อ มูล นั ก เรี ย นเป น รายบุ คคล กํา หนด วัตถุประสงค วางแผนและออกแบบสื่อการสอนอยางเปนระบบ ผานการตรวจสอบ จากผูเชี่ยวชาญที่มี ความรูและเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการสอนดานภาษาและวิจัยทางการศึกษา และดานการศึกษาพิเศษ ผูวิจัยนําขอแนะจากผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขอยางจริงจังในทุกขั้นตอน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของทวี พร จันทรเนย (2555) กลาวไวในขั้นตอนการผลิตสือ่ สําหรับเด็ก ตองมีการสํารวจความตองการของการใช สื่อใหตรงกับจุดประสงคสาระการเรียนรูและกิจกรรม วางแผนการผลิต กําหนดจุดมุงหมายและรูปแบบของ สื่อใหเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก ผลิตสื่อตามรูปแบบที่เตรียมไว นําสื่อไปทดลองใชหลาย ๆ ครั้ง เพื่อหาขอดี ขอเสี ย จะไดป รับ ปรุง แกไขใหดียิ่ง ขึ้น และนําสื่อที่ป รับ ปรุง แกไขแลวไปใชจ ริง และ สอดคลองกับงานวิจัยของ ภาวนา เบาสูงเนิน (2552) ไดวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อผสม เพื่อเตรียมความพรอม ทางคณิตศาสตร ชั้นอนุบาลปที่ 2 โรงเรียนดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวา ความพรอม ทางคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นอนุบ าลปที่ 2 โรงเรียนดานขุนทด หลัง จากใชสื่อผสม สูงกวากอนจัด ประสบการณอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ซึ่งสื่อผสมที่ผูวิจัยสรางขึ้นประกอบการวิจัย ประกอบดวย นิทาน รูปภาพ และแบบฝก สงผลใหนักเรียนมีพัฒนาการดานการคิดและคิดสรางสรรคเพิ่มขึ้น สามารถเห็น ปญหาและหาแนวทางแกปญ หาไดอยางชัดเจน เพิ่มความเขาใจในเรื่องที่ครูสอน ทั้งนี้ยังสอดคลองกับ คําแนะนําของทิศนา แขมมณี (2545) กลาวแนะนําถึงการจัดการเรียนรูของครูผูสอนวาตองเปลี่ยนบทบาท จากผูชี้นําและถายทอดความรูเปนผูช วยเหลือ สงเสริม สนับสนุนในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลง เรียนรูต าง ๆ และใหขอ มูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพื่อนําขอมูลเหลานั้นไปใชสรางสรรค ความรูของตนเอง และสง เสริม ใหจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเ รียนเปนสํา คัญ ดวยวิธีก ารที่ห ลากหลายใหนัก เรียนมี


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

97

97

ประสบการณจากการเรียนรูที่เนนการปฏิบัติจริง ไดศึกษาหาความรูดวยตนเองและสงเสริมพฤติกรรมการใฝ รูใฝเรียน นอกการผลิ ตสื่อแลวผูวิจัย เห็นวาการใชเทคนิคและวิธีก ารสอนที่ห ลากหลาย เริ่ม ตนโดยการ แนะนําสื่อประกอบการสอนใหนักเรียนไดเรียนรูจากการสัมผัสลักษณะ รูปทรง สวนประกอบของสื่อ ใชการ สอนนักเรียนแบบตัวตอ ตัว กอนการจัดกิจกรรมมีการสรางบรรยากาศในหองเรียนใหนาสนใจ รวมทั้ง รูปแบบการจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดชวยเหลือซึ่งกันและกันและเมื่อนักเรียนเกิดการเรียนรูระดับหนึง่ แลว ครูปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนเปนแบบครูแนะนํานักเรียนปฏิบัติตาม พรอมกับใชเทคนิคการเสริมแรง ทางบวกใหรางวัล แกนักเรียน ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูไดถูกตองอยางเหมาะสม ให ความสําคัญกับความสามารถทางการเรียนรูของนักเรียนเปนรายบุคคล ซึ่งเปนหัวใจหลักในการจัดกิจกรรม การเรียนรูของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น ทั้งนี้ยังสอดคลองกับ Sture (2003) ไดสรุปวาการ พัฒนานักเรียนมีทั้งการพัฒนารูปแบบการสอนพัฒนาสื่อการสอน หรือพัฒนาวิธีการสอนที่เหมาะสม สงผล ตอการพัฒนานักเรียน เพราะรูปแบบการสอน วิธีการสอนและสื่อที่หลากหลาย ทําใหเด็กรูสึกสนุกสนาน ไม เบื่อหนาย ชวยสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรู มี พัฒนาการที่ดีขึ้น และยังสอดคลอง กับนนทนา วัชร ธนาคม (2546) ที่ไดศึกษาผลการใชสื่อประสม ในการพัฒนาความสามารถทางการฟงของเด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญา ระดับกอนประถมศึกษา ผลการศึกษาพบวาสื่อประสมที่พัฒนาขึ้นชวยใหเด็กที่มี ความบกพรองทางสติปญญา ระดับกอนประถมศึกษา มีความสามารถทางการฟงหลังการใชสื่อประสมสูง กวากอนการใชสื่อประสม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากเหตุผลตามที่กลาวมา ชวยสนับสนุนให เห็นวา บล็อกเบรลล เปนที่มีคุณภาพชวยพัฒ นาสง เสริม การเรียนรูของนัก เรีย นได เต็ม ตาม ศัก ยภาพ สามารถการแกปญหาการเรียนรู เรื่องตําแหนงจุดเบรลล โดยใชบล็อกเบรลล ครั้งนี้ประสบผลสําเร็จ ซึ่งจาก ผลการประเมินที่สูงขึ้นแสดงใหเห็นวานักเรียนมีความรู มีความเขาใจ จดจําตําแหนงอักษรเบรลลไดถูกตอง บรรลุตามวัตถุประสงคของการวิจัยตั้งไว 2.5 ขอเสนอแนะ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรูในครั้งนี้พบวา นักเรียนมีความกระตือรือรน สนใจตอการปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรูทุกกิจกรรม เนื่องมาจากนักเรียนไดเรียนรูผานสื่อการเรียนรู “บล็อกเบรลล” ซึ่งเปน นวัตกรรมใหม ซึ่งชวยสรางความสนใจ กระตุนการเรียนรู และสรางความสนุกสนานผานกิจกรรมการเรียนรู ทุกกิจกรรม 2) นักเรียนไดเรียนรูผานกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดประสบการณเรียนรู ที่มีขั้นตอนการ เรียนรูอยางเหมาะสม คือ การเรียนรูเปนรายบุคคลโดยครูแนะนํา เพื่อนชวยแนะนํา และมีกิจกรรมการ แขงขันประกอบการเรียนรู ซึ่งชวยสรางบรรยากาศการเรียนรูใหนาสนใจ กระตุนความอยากรูอยากเรียน และเสริมสรางพัฒนาการการเรียนรูของนักเรียนไดเต็มตามศักยภาพ


98

98

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

3) บล็อกเบรลล สื่อการสอนเรื่องตําแหนงจุดเบรลล ชวยใหครูผูสอนเห็นพัฒนาการในการเรียนรู ของนักเรียนไดอยางชัดเจน ทราบถึงจุดเดนจุดดอยของนักเรียนเปนรายบุคคลไดเปนอยางดี ซึ่งชวยใหครู สามารถแกปญหาการเรียนรูของนักเรียนไดอยางทันทวงที 3. บรรณานุกรม กมลรัตน หลาสุวงษ. (2528). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. กองทุนสงเสริมและพัฒนาการใชอักษรเบรลลแหงชาติ. (2554). คูมือมาตรฐานการใชอักษรเบรลล ในประเทศไทย . เอกสารทางวิชาการ. กองทุนฯ. กรุงเทพมหานคร. กิดานันท มลิทอง. (2543). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพ : อรุณการพิมพ. กุหลาบ ยนตพงษ. (2546). การจัดประสบการณโดยใชสื่อเตรียมเด็กใหสงบ นักเรียนชั้นอนุบาล ปที่ 1/4. โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง : จังหวัดระยอง. กันยา สุวรรณแสง. (2544). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : อักษรพิทยา. เกยูร วงศกอม. (2548). ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสติ . เกษม สาหรายทิพย. (2545). การประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช. 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. งานพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือฯ. (2547). ทักษะการอาน เขียนและพิมพอักษรเบรลลขั้นพื้นฐาน . เชียงใหม : โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ เชียงใหม. จิราภา เต็งไตรรัตนและคณะ. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ชัยยงค พรหมวงศ. (2545). เอกสารประกอบคาสอนชุดวิชาสื่อการสอนระดับประถมศึกษา. พิมพครั้งที่ 20 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2526). เทคโนโลยีการศึกษา:หลักการและแนวปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : โรงพิมพวัฒนาพานิช เชียรศรี วิวิธสิร. (2527). วิทยาการเรียนรูของผูใหญ. ภาควิชาการศึกษาผูใหญ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. กรุงเทพฯ


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

99

ดวงเดือน ศาสตรภัทร. (2546). จิตวิทยาและจิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. ทวีพร จันเนย. (2555). การเลือกใชสื่อ. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 สืบคนไดจาก http://www.analusis.ispace.in.th/WBI_AM1/webpage/e-media16.html ทิศนา แขมมณีและคณะ. (2536). หลักการและรูปแบบการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตรการสอน. พิมพครั้งที่ 4. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ. นนทนา วัชรธนาคม. (2546). การศึกษาผลของการใชสื่อประสมในการพัฒนาความสามารถทางการ ฟงของเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ระดับกอนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชนครราชสีมา. นิภา ศรีไพโรจน. (2555). หลักการวิจัยเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 สืบคนไดจาก http://202.29.15.51/technology/uploads/file/vijai/Research10.pdf บุญชม ศรีสะอาด. ( 2546). การวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. บังอร ตนปาน. (2535). การเรียนรวมของเด็กพิเศษ. เอกสารการสอน ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะวิชาครุศาสตร วิทยาลัยครูสวนดุสิต. กรุงเทพฯ. เบญจา ชลธารนนท. (2545). การสอนเด็กที่มีความตองการพิเศษ. เอกสารทางวิชาการ ภาควิชาการศึกษาพิเศษ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต : หจก. เพทายการพิมพ, กรุงเทพฯ. ปราณี รามสูต. (2528). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : เจริญกิจ. ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2543). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยสื่อกรุงเทพฯ ผดุง อารยะวิญู. (2542). การศึกษาสาหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแวนแกว. พรรณี ชเจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ตนออแกรมมี.่ พิสณุ ฟองศรี. (2552). วิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทดานสุทธาการพิมพ จํากัด. ภาวนา เบาสูงเนิน. (2552). การพัฒนาสื่อผสมเพื่อเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตร ชั้นอนุบาลป ที่ 2 โรงเรียนดานขุนทด จังหวัดนครราชสิมา. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.

99


100

100

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

มณิสรา ปาลรัตน. (2549). การใชชุดเตรียมกอนเรียนอักษรเบรลลเพื่อฝกทักษะการอานอักษร เบรลลของนักเรียนที่มีความบกพรองทางการเห็น. การคนควาอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รัชนีพร สุพร. (2553). หลักการผลิตสื่อและหลักการการใชสื่อ. ภาควิชาหลักการทฤษฎีและวิสัยทัศน ทางการศึกษา : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รับขวัญ วรรณภูมิ. (2555). รายงานผลการพัฒนาและผลการใชหนังสือภาพประกอบคาคลองจอง เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาสาหรับเด็กชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 โรงเรียน บานหนองหอย. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิควิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. วิวรรธน จันทรเทพย. (2555). สื่อและแหลงการเรียนรู. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2555 สืบคนไดจาก http://nuijang17.blogspot.com/2008/01/5.html วีระศักดิ์ สารกรณ. (2555). สื่อกับเด็กพิเศษ. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที2่ 8 ตุลาคม 2555 สืบคนไดจาก http://www.specialnk.com/index.php ศรียา นิยมธรรม. (2541). การเรียนรวมสาหรับเด็กปฐมวัย. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เลิฟแอนดลิพเพลส. ______. (2542). การวัดและประเมินผลทางการศึกษาพิเศษ. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรจ ประสานมิตร พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : พี เอ อารตแอนดพริ้นติ้ง. ศึกษาธิการ. กระทรวง. (2539). แนวการจัดประสบการณ ระดับกอนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ______. กระทรวง. (2546). พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. ศึกษาธิการ. กระทรวง. (2546). คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. ศันสนีย จะสุวรรณ. (2555). สื่อการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2555. สืบคนไดจาก http://www.google.co.th/url สมทรง พันธสุวรรณ. (2529 ). การศึกษาสาหรับคนที่มีความบกพรองทางการเห็น. การศึกษาพิเศษ คณะวิชาครุศาสตร. วิทยาลัยครูสวนดุสิต. กรุงเทพฯ .


: 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

101

101

______. (2545). การอาน เขียน พิมพอักษรเบรลล. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. หจก.จงเจริญการพิมพ. สมนึก ภัททิยธนี. (2549 ). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ : ประสานการพิมพ. สอนคนตาบอดกรุงเทพ. โรงเรียน. (2555). ประวัติความเปนของอักษรเบรลล. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555. สืบคนไดจาก http://www.blind.or.th/index.php สอนคนตาบอดภาคใต จังหวัดสุราษฏรธานี. โรงเรียน. (2546). หลักสูตรสถานศึกษา การศึกษาปฐมวัย โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต จังหวัดสุราษฏรธานี. สุราษฏรธานี : สอนคนตาบอดภาคใต. สงัด อุทรานันท. (2537). พืน้ ฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : วงเดือนการพิมพ. สุคนึง สุนทรวรคุณ. (2542). เด็กที่มีความบกพรองทางการเห็น. โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. สํานักพิมพเสมาธรรม. สุปราณี สนธิรัตน. (2539). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : วรวุฒิการพิมพ. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, คณะสังคมศาสตร, ภาควิชาจิตวิทยา. สุภาณี เส็งศรี. (2555). การวิเคราะหสื่อ. [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2555. สืบคนไดจาก http://www.analusis.ispace.in.th/WBI_AM1/webpage/e-media5.html สิรินันท สุรไพฑูรย แซผุง. (2554). การสอนพูด โดยใชยุทธวิธีการเรียนรูผานการมองสําหรับเด็ก บกพรองทางการไดยิน ศูนยการศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จังหวัดขอนแกน. รายงาน การ วิจัยใน ชั้นเรียน สาขาการพัฒนาศักยภาพและเตรียมความพรอมเด็กบกพรองทางการไดยิน ศูนยการศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จังหวัดขอนแกน. Denise, W. Winre. (2000). Meaningful intergration mathematice Methods instrucyion and fieldexperiment. Action in Teacher Education. Isikoglu, Nesrin . (2002). Intergration of Computer Teacher into Early Childhood Curriculum. Dissertation Abstracts International. Sturke,Beverly Rose. (2003) . Learning Two Language : Assessing a Dual Language Bilingual Kindergarten Program (English as a Second Language,Spanish). Dissertation Abstracts International.


102 ชื่องานวิจัย : การใชกิจกรรมหองธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ที่มีภาวะไมอยูนิ่ง ชื่อผูวิจัย : โตง พรมกุล ครู คศ.2 โรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา 2553 ที่มาและความสําคัญ ทั่วโลกยอมรับวา ทรัพยากรมนุษยสําคัญยิ่งกวาทรัพยากรอื่นใด เพราะมนุษยเปนผูนําทรัพยากรอื่นมา ใชประโยชน และถามนุษยมีคุณภาพ มีกําลัง มีสติปญญาดีก็จะสามารถใชทรัพยากรตางๆ ไดอยางเหมาะสม และเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคมโลก กลุมชวงวัยที่มีความสําคัญและเตรียมตัวเพื่อการเติบโตเปนผูใหญคือวัย เด็ก ในสภาพบริ บ ทป จจุบั น สัง คมได รับ อิท ธิพลของโลกาภิ วัฒ น และความทันสมั ย สมาชิก ในสั งคมมี แนวโนมที่จะใหความสําคัญตอวัตถุอํานาจ มากกวาคุณคา ของความเปนมนุษย ผูคนพึงพอใจและแสวงหาเรื่อง ทางวัตถุ เปนดานหลัก นํามาซึ่งปญหาตางๆ มากมาย ทั้งในระดับชุมชน ครอบครัว บุคคล และเด็กที่นับวาเปน ตนกลาที่จะเติบโตเปนทรัพยากรที่ล้ําคา ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งจากภาวะของโลกปจจุบันตนกลาเหลานี้มี ความเสีย่ ง ในการถูกทําลาย ดวยรูปแบบที่หลากหลาย และยิ่งถาเด็กเหลานี้ เปนเด็กพิการที่มีความบกพรอง ทางสติปญญายิ่งมีโอกาส ที่จะเปนตนกลา ทีม่ ีคณ ุ ภาพนอยมาก คนพิการไดชื่อวาเปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคมไทย ถึงแมวาจํานวนของคนพิการจะมีอัตราสวนที่ไม มากนัก ถาเทียบกับจํานวนประชากรทั้งหมดของประเทศไทย ถาเทียบกับจํานวนประชากรทั้งหมดของประเทศ ไทย แตคนพิการก็เปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคมไทย ที่มีความสําคัญไมนอยไปกวาคนปกติหรือสมาชิกกลุม อื่นๆ คนพิการเหลานี้จึงไดรับ ผลกระทบดังกลาวนี้โดยตรง ดวยความพิการเอง และดวยการไมสามารถ เขาถึงแหลงทรัพยากรไดเทาเทียมกับบุคคลคนปกติ ทําใหคนพิการไดรับความทุกข มีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ยากลําบาก ไม ไดรับ การดู แล สนั บ สนุ นเท าที่ ควรจะเป น นับ เป นป ญ หาที่ เ กิ ดขึ้นและส ง ผลกระทบต ออารมณ สงคม ตลอดจนสิง่ แวดลอมของเด็ก จึงจําเปนที่สังคม ชุมชน ผูป กครองและครู ผูบริหารจะตองมีความรูความเขาใจ ตอภาวะดังกลาวนีเ้ ปนอยางดีดว ย เพราะในปจจุบันบุคคลทีม่ ีความรูค วามเขาใจในเรื่องดังกลาวนัน้ ยังอยูใน วง แคบ ทําใหมีเด็กพิการจํานวนมากไดรับการปฏิเสธดวยเหตุผลที่หลากหลายไมใหเขาชั้นเรียนปกติ รวมกับเด็ก ปกติอื่นๆ เพราะความไม เขาใจของครู และผูบ ริห ารโรงเรียน สังคมละเลยผลั กใหเ ปนภาระของผูป กครอง ผูปกครอง สงตอปญหาเหลานีส่ ูโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โดยหวังวาโรงเรียนการศึกษาพิเศษ จะบําบัดรักษาให เด็กเหลานีห้ ายขาดแลวกลับคืนสูสงคม สงผลใหเด็กเหลานีไ้ มไดรับการแกไข และสงเสริมอยางถูกวิธี


103เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

103

โรงเรียนฉะเชิงเทราปญ ญานุกูล จัง หวัดฉะเชิงเทรา สั งกัดสํานัก บริ หารงานการศึ กษาพิ เ ศษ เป น โรงเรียนประเภทประจํา เปดทําการเรียนการสอนแก เด็กที่ มีความบกพรองทางสติ ปญญา ตั้งแต ระดับชั้น อนุบาลถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ตัง้ แตปการศึกษา 2539 เปนตนมา พบวาจํานวนเด็ก ที่มีความบกพรอง ทางสติปญญามีจํานวนมากขึน้ และปญหาสําคัญที่เปนอุปสรรคตอการเรียนรู ทําใหพัฒนาการของเด็กไมเปนไป ตามวัย จนทําใหเด็กเหลานีถ้ กู ผลักออกจากสังคม คือ ภาวะไมอยูน ิ่ง ซึ่งภาวะไมอยูน ิ่งเปนปญหาที่พบไดบอยใน เด็กที่มีพัฒนาการลาชา (Pervasive Developmental Disorder : PDD) เชนในกลุมเด็กออทิสติก (autistic), นอกจากนี้ ยังเปนปญหาพบไดบอยในเด็กที่มีสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactive Disorder : ADHD), เด็ก ที่มีภาวะดาวนซิ นโดรม ( Down’s Syndrome), และเด็ก ที่มีความบกพรองทางสติปญ ญา ( Mental Retardation : MR) ซึ่งภาวะไมอยูน ิ่งนี้ มีผลกระทบ โดยตรงตอสมาธิ ความตั้งใจในการทํากิจกรรม หรือ งานของเด็ก เด็กที่ไมอยูน ิ่ง มักมีปญหาในการทํากิจกรรมหรือ งานที่ตองนั่งอยูกับที่เด็กหันเหความ สนใจไปจากกิจกรรมที่ทําอยูไ ดงาย ทําใหไมสามารถ ทํางานไดแลวเสร็จ ปญหาในเรื่องสมาธิและความตั้งใจ สงผลกระทบตองานในวัยเดก ซึ่งไดแก การเรียน และการเลน มักจะพบอยูเสมอวา เด็กที่มีภาวะไมอยูนิ่งมี ปญหาพัฒนาการ ดานการดูแลตนเอง การรับรู และการเรียนรูของเด็กในกลุมนี้มักชากวาเด็กในวัยเดียวกัน ( APA, 1994; Case-Smith & Miller, 1999; Ermer & Dunn, 1998; Greenspan & Wieder, 1997) นอกจากนี้ความคับของใจในความสามารถที่ดอยกวาเพื่อน ตลอดจนความหุนหันวูวามที่เ ด็กมักจะควบคุ ม ตนเองไมได ซึ่งมักพบไดบอยในเด็กกลุ มนี้ กอใหเกิดปญหา ทางดานอารมณและดานสังคมตามมา ( APA, 1994) จึงมีความจําเปนอยางยิง่ ที่จะตองหาวิธกี ารบําบัดรักษา โรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดแสวงหาแนวทางการบําบัดรักษาเด็กเหลานี้ อยางหลากหลาย แนวทางหนึ่ง ที่เ ปนตัวเลือกสําหรับ การบําบัดรัก ษาเด็ก เหล านี้คือ หลัก พุท ธธรรม ทาง พระพุทธศาสนา การที่จะนําศาสนามาเกี่ยวของกับวิชาใด ๆ ที่ตั้งอยูบนหลักทางวิทยาศาสตรนั้น นับวา เปน เรื่องที่ทําไดยาก และเสี่ยงตอความผิดพลาดเปนอยางยิ่ง เพราะศาสนาเปนเรื่องที่ละเอียดออน ลึกซึ้ง และ เกี่ยวของกับศรัทธาความเชื่อของแตละบุคคล อยางไรก็ตาม การศึกษาอดีตความเปนมา และสภาวะที่เปนอยู ในปจจุบันของสังคมไทย ก็พอจะชวยใหเกิดความมั่นใจไดบางบางประการวา ศาสนานาจะเกี่ยวของกับวิชา ตางๆ ได โดยเฉพาะวิชาที่เ กี่ยวกับการดําเนินชีวิตของมนุษย พระพุท ธศาสนา เปนเสมือนสายโลหิตแหง วัฒ นธรรมที่ ฝง แนนอยูในความรูสึก และหลอเลี้ ยงจิ ตใจ สัง คมไทยมาหลายชั่ วอายุ คน หลั ก คําสอนทาง พระพุทธศาสนาสอนใหคนเรารูจ ักความจริงของธรรมชาติ และชีวิต สอนใหรูจักตนเอง พิจารณาแกไขปญหา ของตนเองดวยหลักเหตุผล โดยอาศัยหลักคําสอนของพระพุทธเจาที่เรียกวาพุทธธรรม


104

104

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ดวยเหตุ นี้ผูวิจัยจึงไดศึกษาหลั กพุทธธรรมทางพระพุท ธศาสนาและหลักการเรียนรู สําหรั บเด็กที่ มี ความบกพรองทางสติปญญา ออกแบบเปนกระบวนการจัดการเรียนหองธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิ ในเด็กที่มี ความบกพรองทางสติปญญาที่มภี าวะไมอยูน ิ่งใหมีพัฒนาการที่ดขี นึ้ 2.1 วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาผลการใชกิจกรรมหองธรรมานุบาล ตอการเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ที่มีภาวะไมอยูนิ่ง 2.2 ระเบียบวิธีการวิจัย รูปแบบการวิจัย และแบบแผนการทดลองในงานวิจัย เปนการวิจัยแบบ Single Subject Design รูปแบบ ABA Design (Leary, 1995 : 378, 396) ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากร คือ เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่ง อายุระหวาง 7-10 ป และกําลัง ศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ของโรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปการศึกษา 2553 จํานวน 48 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย การศึก ษาครั้ง นี้ ใช ก ลุ ม ตัว อย าง จํ านวน 6 คน โดยการเลือ กแบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive Sampling) จากจํ านวนประชากร 48 คน โดยมีเ กณฑ ในการคัดเลือก คือ เปนเด็ก ที่มีอาการไมอยู นิ่ ง ลุกลี้ลกุ ลน ควบคุมระดับการทํากิจกรรมของตนเองไมไดและขาดความอดทนตอการรอคอย ซึง่ ทาง โรงเรียนได ทําการบันทึกอายุ เพศ อาการของเด็กที่บงชี้วา เปนเด็กมีภาวะอยูไมนิ่งตลอดจนการวินิจฉัยโรคของเด็กแตละ คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1. ชุดฝกกิจกรรมหองธรรมานุบาล 2. อุปกรณการสังเกต และแบบบันทึกพฤติกรรมเกี่ยวกับการมีสมาธิ ชุดฝกกิจกรรมหองธรรมานุบาล ลักษณะของชุดฝกกิจกรรมหองธรรมานุบาล เปนกิจกรรมเพื่อเพิ่มสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทาง สติปญญา ประกอบดวยกิจกรรมที่สําคัญ 7 กิจกรรม คือ


105เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

105

1) กิจกรรมเตรียมความพรอม เปนกิจ กรรมที่มุงเตรียมความพรอมทั้ งทางร างกาย จิตใจ อารมณของนัก เรียนเบื้องตน ให มีความ พรอมที่จะเรียนรู และทํากิจกรรมตางๆ ตอไป ซึ่งประกอบดวย การตรวจสุขภาพ การสํารวจรางกาย การทํา ภารกิจสวนตัว การดูตารางการปฏิบัตกิ ิจกรรม การฟงกฎกติกาการใชหอง และการไหวพระสวดมนต 2) กิจกรรมอิริยาบถเดิน เปนกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรูและการรับรูสั่งงานของสมอง ชวยประสานสัมพันธระหวางระบบ ประสาทและกล ามเนื้ อเพื่อกระตุนและพั ฒนาปฏิกิริยาความเร็ วในการปฏิ บัติทักษะการเคลื่อนไหว ความ รวดเร็ ว ในการคิ ด และการตั ด สิ น ใจให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ ง เป น การนํ า เอาหลั ก การทาง พระพุทธศาสนาในเรื่องการทําสมาธิ ดวยการเดินจงกรม ซึ่งเป นนามธรรมเขาใจยาก นํา สูสิ่งที่เป นรูปธรรม นักเรียนที่มีความบกพรองทางสติปญญา สามารถปฏิบัติ เขาใจไดงาย เกิดการเรียนรูจดจํา จนเกิดภาพของการ เดินจงกรมที่ถูกตองในสมองแลวสามารถนําภาพที่เกิดขึน้ นั้น เปนพื้นฐานในการเดินจงกรม ตามแบบแผนของ คนทัว่ ไปได โดยกิจกรรมนี้นักเรียนจะมีสมาธิจดจออยู กับการทํากิจกรรม และรูสึกสนุกตลอดเวลาขณะทํา กิจกรรม ซึ่งทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไ ดดว ยตนเองเปนอยางดี 3) กิจกรรมอิริยาบถยืน กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมเตรียมความพรอมในการเรียนรูของนักเรียนในการทําสมาธิ โดยเริ่มเรียนรูใ นสิง่ ที่เปนรูปธรรม ใหนักเรียนยืนดูความเคลือ่ นไหว และพยายามรักษาการทรงตัว ของรางกายตนเองแลวพิจารณา ตนเอง (กายคตาสติ) วานักเรียนยืนในทาทางใด (ยืนตรง เอียงซาย เอียงขวา เปนตน) รูสึกอยางไร เปนการดึง นักเรียนออกจากสิง่ แวดลอมรอบกายใหกลับมาอยูกับตัวเอง เกิดสมาธิจดจอกับการทํากิจกรรมที่กําหนดไวให 4) กิจกรรมอิริยาบถนัง่ เปนกิจกรรมที่มุงเนนใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรูผานระบบประสาทรับความรูส ึกของนักเรียน ไมวา จะ เปนการรับสัมผัส การมองเห็น เปนอุบายวิธีที่หยุดความฟุงซานของจิต ซึ่งมักจะฟุงซานไปตามอารมณตางๆ โดยใชสมาธิยดึ ดึงอารมณอยางใดอยางหนึ่งในกรรมฐาน 40 กองมาบริกรรม จนกระทั่งจิตแนบแนนในกิจกรรม ที่ทํา อีกทั้งยังเปนการมุง ใหนักเรียนไดทํากิจกรรมที่สามารถคงชวงความสนใจ (Attention span) ในการทํา กิจกรรมไดจนเสร็จสิ้นกระบวนการทํากิจกรรม 5) กิจกรรมอิริยาบถนอน เปนกิจกรรมที่มุงเนนใหนักเรียนไดเกิดการเรียนรู การพักผอนที่ดที ี่สุดคือการนอนหลับ และเรียนรูทา ที่ใชนอนซึ่งเปนสิ่งสําคัญมาก เนื่องจากจะสงผลใหผูนอนหลับสนิทตลอดคืน และตื่นขึ้นมาดวยความ สดชื่น แจมใส พรอมที่จะทํากิจกรรมระหวางวันไดอยางมีประสิทธิภาพ


106

106

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

6) กิจกรรมผอนคลาย เปนกิจกรรมที่ใชทาทางตางๆ ผนวกกับการเจริญสติ เปนการบริหารกายและจิต เพื่อใหเกิดสติ สมาธิ และพัฒนาจิตของผูฝ กไปตามการเคลือ่ นไหว ซึ่งจะสงผลใหผูฝกมีสมาธิ มีสติ ตัง้ มั่น สุขภาพแข็งแรง และมีการ จัดระเบียบรางกายในทาทางที่ถกู ตอง 7) กิจกรรมสงเสริมปญญา เปนกิจ กรรมเรียนรู เพื่อให เกิดปญ ญา มุ งสงเสริมใหนักเรียนเกิดการสรางจินตนาการ ผานการเล า นิทานประกอบการแสดงของหุนผาและวัสดุธรรมชาติ เชื่อมโยงเรื่องราว เหตุการณตางๆ ที่สอดคลองสัมพันธ กับชวงวัยและชีวติ ประจําวันของนักเรียน ซึ่งเนื้อหาของนิทานจะประกอบไปดวยตัวอยางแหงการทําความดี และบุคคลทีเ่ ปนแรงบันดาลใจในการทําความดี เพื่อใหนักเรียนนําหลัก คุณธรรมเหลานีไ้ ปใช ในชีวติ ประจําวัน อุปกรณการสังเกต และ แบบบันทึกพฤติกรรมเกี่ยวกับการเพิ่มสมาธิ ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ 1) ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เอกสารที่เกี่ยวของกับเด็ก ที่มีความบกพรอง ทางสติปญญา เอกสารที่เกี่ยวของกับภาวะไมอยูนิ่ง ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการสังเกต แล ะบั นทึ ก พฤติกรรม เลือกวิธกี ารเหมาะสมกับตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ เลือกการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายโดยการ บันทึกดวยวีดีทัศน ใชการสังเกต และการบันทึกพฤติกรรม แบบชวงเวลา สังเกตพฤติกรรมครั้งละ 10 นาที แบงชวงเวลาเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที สังเกตพฤติกรรมสัปดาหละ 1ครั้ง (Case- Smith and Bryan, 1999 : 491-492) 2) จัดเตรียมกลองถายวีดีทัศน 3) จัดทําแบบบันทึก พฤติก รรมแบบชวงเวลา (สมโภชน เอี่ยมสุ ภาษิต , 2539 : 73) นําไปให ผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาตรวจสอบคุณภาพของการสงเกต และ บันทึกพฤติกรรม นํามาแกไขปรับปรุงตาม คําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ตัวอยาง แบบสังเกตพฤติกรรมสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่ง แบบบันทึกชวงเวลาของการเกิดพฤติกรรม (ในเวลา 10 นาที แบงเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที) วันที่ .............. ครั้งที่สังเกต................................... ชื่อผูสังเกตพฤติกรรม.............................................. เริ่มสังเกตพฤติกรรมเวลา...........................................สิ้นสุดเวลา......................................................... พฤติกรรมที่สังเกต ไดแก


107เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ การมีสมาธิ ชวงเวลาที่ 1 2 3 4

5

6

เมื่อมีพฤติกรรม ใสเครื่องหมาย

7

8

9

107

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ตามที่กําหนดไว

ไมมีพฤติกรรม ใส 0 สรุปผลการสังเกตพฤติกรรม การมีสมาธิ = ………………….. ชวงเวลา ขอสังเกต............................................................................................. หมายเหตุ............................................................................................ ปญหา และ อุปสรรค............................................................................ วิธีการดําเนินการทดลอง กอนเริ่มทําการทดลอง 1. ผูวิจัยขอใหทางโรงเรียนออกหนังสือเพื่อเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญดานการฝกสมาธิ ตามรูปแบบทาง พระพุทธศาสนาเปนผูตรวจสอบคุณภาพของกิจกรรมหองธรรมานุบาล และเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยา เปนผูตรวจสอบคุณภาพของการสังเกต และบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา 2. ผูวิจยั นํากิจกรรมหองธรรมานุบาล ไปทดลองใชกับเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา 2 คน 3. ผูสังเกตพฤติกรรม คือผูวจิ ยั และครูกิจรรมบําบัด ฝกการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมเปาหมายกอน ลงมือเก็บขอมูลจริงเพื่อดูความชัดเจนของพฤติกรรมเปาหมายและแกไขขอบกพรองตางๆ ที่เกิดขึ้น หาความ เที่ยงระหวางผูส ังเกต 2 คน โดยใชคา แคปปา (K) โดยไดคา เทากับ 1 ดําเนินการทดลอง ใชเวลาในการทดลองรวม 18 สัปดาห โดยระยะที่ 1 เปนระยะเสนฐานใชเวลา 4 สัปดาห ระยะที่ 2 เปนระยะที่ฝกเด็กดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล ใชเวลา 10 สัปดาห และระยะที่ 3 เปนระยะถอดถอนใชเวลา 4 สัปดาห การเก็บรวบรวมขอมูล รวบรวมจากการสังเกตพฤติกรรมดวยวิธีการดังนี้


108

108

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

1. ใชวีดีทั ศนบั นทึ ก พฤติ กรรมของเด็ก เป นเวลา 10 นาที ที่ห องฝ ก เป นชวงที่ เด็ก ได เ ลน หรื อทํา กิจกรรมที่ชอบ หรือ กําหนดใหไดอยางเสรี และมีครูผูฝกอยูด วย โดยจัดสภาพแวดลอม สถานการณ เวลา และ สถานที่คงเดิมทุกครั้งในการบันทึกพฤติกรรม 2. นําวีดที ัศนมาสังเกตพฤติกรรมโดยผูส ังเกต 2 คน คือ ผูวิจัย และนักกิจกรรมบําบัด เปนผูบันทึกลง ในแบบบันทึกพฤติกรรมที่เตรียมไว 3. การสั งเกต และ บันทึกพฤติก รรมจะแบง เวลา 10 นาที ออกเป น 20 ชวง ช วงละ 30 วินาที ผู สังเกตหยุดภาพในวีดีทัศนทุก 30 วินาที และทําการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายและทําการบันทึกลงในแบบ บันทึกพฤติกรรม การวิเคราะหขอมูล 1. ขอมูลที่ไดจากการบันทึกพฤติกรรมของผูสังเกต นํามาหาคาความเทีย่ งระหวางผูสังเกต 2 คน โดย ใชคา แคปปา (K) 2. ขอมูลจากการบันทึกพฤติกรรมเปนจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมเปาหมายเกิดขึ้น ทําเปนคารอย ละของจํานวนชวงเวลา หาคาเฉลีย่ ของจํานวนชวงเวลาและคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรม ในแตละระยะการทดลองทั้ง 3 ระยะ แสดงขอมูลดวยกราฟเสน และสรุปผลการวิจัยโดยการวิเคราะหดวย สายตา และการเปรียบเทียบคาเฉลีย่ รอยละของจํานวนชวงเวลา ในแตละระยะของการทดลอง กราฟเสน แสดงผลการวิเคราะหขอมูล กลุมตัวอยางคนที่ 1


109เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

109

จากภาพประกอบ 1 แสดงวา คาเฉลยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 (A1) มีคา เทากับ 35 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 72 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความบกพรอง ทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 66.25 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลงและมีแนวโนมที่จะคงที่ กลุมตัวอยางคนที่ 2

จากภาพประกอบ 2 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 ( A1) มีคา เทากับ 51.25 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 72.50 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูน ิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึน้ ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลีย่ รอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคา เทากับ 65 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อ หยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลง


110

110

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

กลุมตัวอยางคนที่ 3

จากภาพประกอบ 3 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 ( A1) มีคา เทากับ 30 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 66.5 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความบกพรอง ทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 56.25 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลง กลุมตัวอยางคนที่ 4


111เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

111

จากภาพประกอบ 4 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 ( A1) มีคา เทากบ 46.25 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 73.5 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 56.25 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลงและมีแนวโนมคงที่ กลุมตัวอยางคนที่ 5

จากภาพประกอบ 5 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 (A1) มีคา เทากับ 30 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 67.5 0 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 55 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อ หยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลงและมีแนวโนมคงที่


112 112

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

กลุมตัวอยางคนที่ 6

จากภาพประกอบ 6 แสดงวา คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิในระยะที่ 1 (A1) มีคา เทากับ 48.75 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 79 ซึ่งมีคาเพิ่ม ขึ้นสอดคลองกับสมมตฐานที่กําหนดวา เด็กที่มีความ บกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูนิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาล มีสมาธิเพิ่มขึ้น ในระยะที่ 3 ( A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีสมาธิมีคาเทากับ 63.75 ซึ่งลดลงจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหการมีสมาธิลดลง สถิติที่ใช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือคารอยละ คาเฉลี่ย และหาคาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน (แคปปา) แสดงผลการวิจัยดวยกราฟ วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหดว ยสายตา และการเปรียบเทียบ คาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมในการทดลองแตละระยะ 2.3 ผลการศึกษา การใชกิจกรรมหองธรรมานุบาลมีผลตอการเพิ่มขึน้ ของสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญ  ญาทีม่ ี ภาวะไมอยูน ิ่ง


113 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

113

2.4 สรุปผลและการวิจารณ สรุปผล เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะไมอยูน ิ่งที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรม หองธรรมานุบาลมีสมาธิเพิ่มขึน้ อภิปรายผล การทดลองในครั้งนี้ทําการทดลองกลุมตัวอยางเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาที่มีภาวะ ไมอยูน ิ่ง จํานวน 6 คน เปนเพศชาย 4 คน และเพศหญิง 2 คน ผลการวิจัยพบวา เด็กจํานวน 6 คน ที่ไดรับ การฝกดวยกิจกรรมหองธรรมานุบาลเพื่อเพิ่มสมาธิ มีสมาธิเพิ่มขึน้ สอดคลองกับผลการศึกษา ของ วันวิ สาข กาญจนศรีกุล (2547) ไดศกึ ษาผลการพัฒนาสมาธิและจินตนาการสําหรบเด็กสมาธิสั้น ชัน้ ประถมศึกษาป ที่ 3 พบวาพัฒนาการดานสมาธิและจินตนาการดีขนึ้ และสอดคลองกับที่พระธรรมปฎก (2541) กลาววา สมาธิ มีประโยชนในการเตรียมจิตใหอยูใ นสภาพพรอมและงายแกการปลูกฝงคุณธรรมตาง ๆ และเสริมสรางนิสัยที่ดี และในภาวะที่จิตใตสํานึกทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ คือในสภาวะที่รางกายและจิ ตใจมีความผอนคลาย นอกจากนี้สุจติ รา รณรืน่ (2532) กลาวถึงประโยชน ของสมาธิตอ ชีวติ ประจําวันไววา ชวยทําใหจิตใจผอนคลาย หายเครียด เกิดความสงบ หายกระวนกระวาย วิตกกังวล เปนเครื่องพักผอนใหใจสบาย และมีความสุขเปน เครื่องเสริมประสิทธิภาพในการทํางาน ในการเลาเรียน หรือทํากิจกรรมทุกอยาง เพราะจิตที่เปนสมาธิจะไม ฟุง ซาน วอกแวกเลื่อนลอย ซึ่ ง เป นอาการหนึ่ง ของโรค ADHD ดัง นั้นการฝ กสมาธิจึง เป นเครื่ องมืออั น ประสิทธิภาพอันหนึ่ง ในการพัฒนาพฤติกรรมของเด็กที่มีภาวะไมอยูนิ่ง ชวยเสริมสุขภาพ และใชแกไขโรคได รางกาย และจิตใจอาศัยกัน และมีอิทธิพลตอกัน ผูมีจิตใจผองใสเบิกบานยอมมีสุขภาพดีและเปนภูมิคุมกันโรค ไปในตัว 2.5 ขอเสนอแนะ 1. ควรเปรียบเทียบจํานวนครั้งที่ใชในการฝกตอสัปดาหวามีผลแตกตางกันหรือไม 2. ควรมีการศึกษาถึงความคงทนของการมีสมาธิในเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญา ที่มีภาวะไมอยูนิ่งโดยการใชกิจกรรมหองธรรมานุบาล 3. ควรศึกษาผลของการบําบัดในเด็กโต และวัยรุนที่มีตอพัฒนาการดานตางๆใหมากขึ้น


114

114

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

3. บรรณานุกรม / เอกสารอางอิง บรรณานุกรม พระธรรมปฏก (ประยุทธ ประยุตโต). (2541). สมาธิแบบพุทธ. กรุงเทพฯ : สหธรรมก. สุจิตรา รณรื่น. (2532). การฝกสมาธิ (Practice of Meditation). กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. (2539). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. American Psychiatric Association. (1994). Diagnostic and statistical manual of mental disorder. 4th ed. Washington, DC : Author. Case-Smith, J; & Miller, H. (1999). Occupational therapy with children with pervasive developmental disorders. American Journal of Occupational Therapy, 53, 506-513. Ermer, J. & Dunn, U. (1998). The sensory profile : A discriminant analysis of children with and without disabilities. American Journal of Occupational Therapy. 52, 283-289. 4. กิตติกรรมประกาศ การศึก ษาวิจั ยฉบับ นี้สํ าเร็จ ได ดว ยความกรุณ าของ นายไพฑู ร ย ศรีท อง ผู อํา นวยการโรงเรีย น ฉะเชิง เทราปญญานุกูล และประธานคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมครู ผูป กครอง นักเรียนโรงเรียน ฉะเชิง เทราปญ ญานุกูล ที่ใหก ารสง เสริม สนับ สนุนทุนในการดําเนินงานวิ จัย จนการศึก ษาวิจัยนี้สําเร็ จ สมบูรณ ขอขอบพระคุณคณะกรรมการทีป่ รึกษางานวิจัย นางสุชาดา ผดุงวิเชียร ครู คศ. 3 โรงเรียนฉะเชิงเทรา ปญญานุกูล นางสาวรัชนี เขตสาลี นักจิตวิทยาชํานาญการ โรงพยาบาลราชบุรี ที่ไดกรุณา ชวยเหลือ ให คําแนะนํา ตรวจแกไขขอบกพรองตางๆ ตลอดจนใหขอ คิดและกําลังใจจนการศึกษาวิจัยนี้ สําเร็จสมบูรณ และ ขอขอบคุณ คณะกรรมการดําเนินงานวิจยั ในโครงการสงเสริมบุคลากรของโรงเรียน ดําเนิ นจั ดทํา วิจัยคูขนานกั บ การปฏิ บั ติง านที่ ไดก รุ ณ าให ขอเสนอแนะในการศึ ก ษาเพื่ อให มี ความถู ก ตอ ง สมบูรณยงิ่ ขึ้น ผูศกึ ษาขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณแพทยหญิงวัชรา ริ้วไพบูลย และสถาบันสรางเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สิรนิ ธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ ผูใหทุนสนับสนุนในการดําเนินกิจกรรม

ศูนย


115เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

115

ขอขอบพระคุ ณ คุณ พ อ คุ ณแม และผู มี พระคุ ณทุ ก ท า นที่ ได ใ ห โ อกาสทางการศึ ก ษา ช วยเหลื อ สนับสนุนและใหกําลังใจดวยดีตลอดมา ทา ยที่สุ ด นี้ คุ ณ คา และคุ ณ ประโยชน ของการศึ ก ษาวิจั ย ฉบั บ นี้ ขอมอบเปน เครื่ อ งบูช าคุณ ของ บุพการีคือมารดาบิดาผูใหกําเนิด พระคุณของคุณครู อาจารย ผูประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูให ตลอดทัง้ ผูมีอุป การคุณทุก ๆ ทาน 5. การนําไปใชประโยชนทางการศึกษา ดานผูเรียน 1. สงเสริมใหผูเรียนสามารถจดจอในการทํากิจกรรมภายในระยะที่กําหนดใหได 2. สงเสริมใหผูเรียนรูจักการรอคอยในการทํากิจกรรมเดี่ยว หรือกิจกรรมกลุมรวมกับเพื่อน ในหองเรียนหรือตางชั้นเรียนได เชน การรอคอยขณะรับประทานอาหาร การรอคอยการเลนรวมกับเพื่อน เปน ตน 3. สงเสริมใหผูเรียนที่มีภาวะไมอยูนิ่ง สามารถมีสมาธิเพิ่มมากขึ้น ดานครู ครูสามารถนํากิจกรรมหองธรรมานุบาล ไปบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปนการลด พลังงานสวนเกิน และเพิ่มสมาธิ กอนการจัดกิจกรรมที่มีความซับซอนหรือตองการสมาธิ ในการทํากิจกรรม ตอไป สถานศึกษา 1. สงผลใหสถานศึกษาเปนศูนยกลางแหงการเรียนรูทางการศึกษาพิเศษที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง 2. สถานศึกษามี Best practice ประจําสถานศึกษา 3. สถานศึกษาไดรูปแบบการมีสวนรวมขององคกรทางสังคมคือ วัด บาน โรงเรียน ในการพัฒนา เด็กที่ มีความบกพรองทางสติปญญา 4. สถานศึกษามีนวัตกรรมที่ทําใหนกั เรียนไดรับการพัฒนาในทิศทางที่ถกู ตอง รวดเร็ว ประหยัด เวลา และลดคาใชจาย วงการวิชาชีพ 1. เกิดการเชื่อมโยงความรวมมือระหวางทีมสหวิชาชีพที่หลากหลายที่ทํางานกับนักเรียนพิเศษ 2. ผลงานวิจัย สงผลใหเกิดเปนองคความรูใหมสําหรับใชเปนบําบัดทางเลือก ซึ่งเกิดผลดีตอ วงการ วิชาชีพการศึกษาพิเศษ ที่มีตวั เลือกที่หลากหลายที่จะนํามาใชบําบัดนักเรียน


116 ชื่อเรื่องวิจัย : การศึกษาผลของกิจกรรมการกระตุนการรับความรูสึกและการเคลื่อนไหวที่มีตอการแสดง ชื่อผูวิจัย :

พฤติกรรมซ้ํา ๆ ความสามารถในการสบตาการมีปฏิสัมพันธกับผูใหญของเด็กออทิสติก นางพัชรีวรรณ พรมกุล โรงเรียนฉะเชิงเทราปญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2552

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ประเทศชาติจะมีการพัฒนาที่ยั่งยืนไดในอนาคต ขึ้นอยูกับประชากรเด็กที่มีความสมบูรณ ทั้งทาง รางกายและจิตใจ การสงเสริมใหเด็กทุกคนมีพัฒนาการที่เหมาะสมไปตามวัยถือเปนสิ่งที่สําคัญ เนื่องจาก พัฒนาการทุกชวงวัยมีความตอเนื่อง และสงผลกระทบถึงกันเมื่อเด็กเติบโตขึ้น แตเด็กบางคนใชวาจะมีโอกาส เชนนี้โดยเฉพาะเด็กที่มีลักษณะเบี่ยงเบนจากปกติไปมากในมิติตางๆของพัฒนาการ เชน สติปญญา รางกาย อารมณ สังคม (ศรีเรือน แกวกังวาน, 2540 : 334) เด็กออทิสติกเปนเด็กกลุมหนึ่งมีความบกพรองของ พัฒนาการหลายดาน ไดแกความบกพรองในการสื่อสาร ความบกพรองในจินตนาการ ความบกพรองในการมี ปฏิสัมพันธทางสังคม และมีการแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ (Dalton and Forman, 2000 : 87-88) ; (Dingle and Dulcan, 1998 : 586-587) ; ( Polin and ditmar, 1997 : 40) ; (shaner, 2000 : 44-45 ) ; (Teplin, 1999 : 591) มีขอมูลมากมายเกี่ยวกับวิธีการตางๆ เพื่อใชในการบําบัดรักษาเด็กออทิสติก โดยมี จุดมุงหมายเพื่อชวยใหเด็กสามารถมีพัฒนาการไดใกลเคียงหรือเทียบเทาเด็กปกติ (Kaplan and Sadock, 1998 : 1187) ; (Howlin, 1998 : 5) ; (Richard, 2000 : 5) เด็กออทิสติกจะมีปญหาเกี่ยวกับการรับความรูสึกและการรับรู(Sensory and Perceptual Problems) ในเรื่องของการไดยิน การเห็น การรับสัมผัส การดมกลิ่น และการรับรส ( Attwood, 1993 : 35-45) ; (American Psychaitric Association, 1996 : 67-68 ) ; (Roger and other, 2001 : 166 ) ; (Teplin, 1999 :593 ) ซึ่งสามารถสังเกตเห็นความผิดปกติเหลานี้ไดชัดเจน ในกรณีที่เด็กมีปญหา เกี่ยวกับ การรับ ความรูสึ ก การบํ าบัดโดยใชห ลัก การผสมผสานการรับ ความรูสึก เปนวิ ธีก ารหนึ่ ง ซึ่ง มี รายงาน ผลการวิจัยจํานวนมากพบวาไดผลดีตอเด็กคือเปนการเพิ่มกระบวนการการรับความรูสึก และการ เคลื่อนไหว ( Motor, Sensory processing) และเพิ่มทักษะทางวิชาการ แตยังไมสามารถสรุปผลชี้ชัดได (Cohn, 2001 : 285) และ ในประเทศไทยมีการศึกษาเรื่องนี้นอยมาก กิจกรรมบําบัดดวยวิธีการรับ ความรูสึกและการเคลื่อนไหว(Sensorimotor Approach) เชน กิจกรรมบําบัดดวยหลักการผสมผสานการรับความรู (Sensory Integration Therapy) มี พื้ น ฐานจาก ทฤษฎีการผสมผสานความรูสึก (Sensory Integration Theory) ซึ่งคิดขึ้นโดยแอร( Ayres, 1989 ) นัก กิจกรรมบําบัดชาวอเมริกัน เปนการศึกษาเกี่ยวกับการทํางานของระบบประสาท การที่บุคคลสามารถปรับตัว


117

117เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

ตอสิ่งแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตอยางอิสระมีกระบวนการรับความรูสึก (Registration) มีการ ผสมผสาน ขอมูลความรูสึก (Integration) และมีการแสดงออกของพฤติกรรมการปรับตัว (Adaptive Response) โดย หลักการวาพัฒนาการของมนุษยนั้นเกิดขึ้นอยางเปนขั้นเปนตอน (Sequence) การทํางานระบบประสาท สวนกลาง (Central Nervous System) มีขั้นตอนและขึ้นตอกัน ขอมูลจากอวัยยะรับสัมผัสชนิดใดก็ตามจะ สงผลกระทบตอรางกายทุกสวน (สรอยสุดา วิทยากร, 2544 : 47-56) เด็ก ออทิส ติก สวนมากมีก ารรับ ความรูสึกจากประสาทสัมผัสตางๆ ที่ตางๆไปจากปกติซึ่งเปนผลจากการทําหนาที่ของสมอง การบําบัดดวยวิธี นี้ไดรับความสนใจอยางมาก ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของกิจกรรมการกระตุนการรับ ความรูสึก และการ เคลื่อนไหวที่มีตอแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ของเด็ก ออทิ สติก เพื่อชวยพัฒนาใหเด็กเต็มศักยภาพ 1.1 วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลการใชกิจกรรมการกระตุนการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวที่มีตอแสดงพฤติกรรม ซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ของเด็กออทิสติก 1.2 ระเบียบวิธีการวิจัย แบบแผนการวิจัย เปนการวิจัยแบบ Single Subject Design รูปแบบ ABA Design หลายเสนฐานขามพฤติกรรม (Multiple Baseline Across Behavior) ( Lear, 1995 : 387,396) กราฟแสดงแบบแผนการทดลองแบบ ABA Design หลายเสนฐานขามพฤติกรรม เปนการสังเกต และบันทึกพฤติกรรม 3 พฤติกรรมของตัวอยางที่ศึกษาในเวลาเดียวกัน ไดแก 1. การแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความถี่ของพฤติกรรม 100 ระยะที่ 1 (A1) 50

ระยะที่ 2 (B)

ระยะที่ 3 (A2)


ความถี่ของพฤติกรรม 100 118

118่ 2 (B) ระยะที

ระยะที่ 1 (A1)

งานวิจัยทางการศึ ระยะที่ 3 (A2)กษาพิเศษ

50

0 0

4

14 4

18 18

14 ครัครั� งที้งที� ่

ปฏิสัมพันธกับผูใหญ 2.การมี ความสามารถในการสบตา ความถี ความถี่ข่ของพฤติ องพฤติกกรรม รรม 100 100 ระยะที่ 1่ 1(A1)(A1) ระยะที

ระยะที่ 2่ 2(B)(B) ระยะที

ระยะที่ 3่ 3(A2)(A2) ระยะที

5050

00

44

14 14

1818

ครั้ง้งทีที่ ่ ครั ระยะปฏิA1สัมพัหมายถึ การมี นธกับผูใงหญระยะเสนฐาน ยัง ไมมีก ารฝก ตัวอยางที่ศึกษา ทําการสัง เกต และ บันทึก พฤติกรรมสัปดาห ละ่ข1องพฤติ ครั้ง รวม ความถี กรรม4 สัปดาห 100 ระยะที่ 1 (A1)

ระยะที่ 2 (B)

ระยะที่ 3 (A2)

50

0

4

14

18

ครั้งที่ ระยะ A1 หมายถึง ระยะเสนฐาน ยัง ไมมีก ารฝก ตัวอยางที่ศึกษา ทําการสัง เกต และ บันทึก พฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห


119เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

119

ระยะ B1 หมายถึง ระยะที่ใหตัวแปรอิสระ ทําการฝกตัวอยางที่ศึกษาดวยชุดแบบฝกกระตุน การ รับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว ทําการสังเกต และบันทึกพฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 10 สัปดาห ระยะ A2 หมายถึง ระยะถอดถอน หยุดทําการฝกตัวอยางที่ศึกษา ทําการสังเกต และ บันทึก พฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากร คือ เด็กออทิสติก เพศชาย อายุ 10 ป ไดรับการวินิจฉัยจากนักกิจกรรมบําบัดวา มีภาวะ ความบกพร อ งของการรั บ ความรู สึ ก และ การเคลื่ อ นไหวมี ป ญ หาเกี่ ยวกั บ การแสดงพฤติ ก รรมซ้ํ า ๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยาง คือ เด็กออทิสติกเพศชาย อายุ 10 ป ไดรับการวินิจฉัยจากนักกิจกรรมบําบัดวา มีภาวะความบกพรองของการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมีปญหาเกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ จํานวน 1 คน ทําการเลือกตัวอยางโดยการเจาะจง ตัวอยางที่ศึกษามีภูมิลําเนาอยูจังหวัดกรุงเทพฯ เรียนอยูชั้นอนุบาล 2 โดยขณะนี้เรียนอยูในโรงเรียน การศึกษาพิเศษเฉพาะทาง ไมสามารถที่อานได สื่อสารไดบางโดยใชรูปภาพ การชี้นิ้ว ไมสามารถที่จะ เขียนได ไมเคยไดรับการฝกการปรับพฤติกรรมจากโรงพยาบาล หรือศูนยกระตุนพัฒนาการใดเลย ไมมี โรคประจําตัว เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1. ชุดแบบฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวโดยนักกิจกรรมบําบัด 2. อุปกรณการสังเกต และแบบบันทึกพฤติกรรมเกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ชุดแบบฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวโดยนักกิจกรรมบําบัด ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ 1. ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมบําบัดดวยวิธีการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว (Sensorimotor Approach) โดยเฉพาะทฤษฎีการผสมผสานการรับความรูสึก (Sensory Integration Theory) ของแอร และ การนําทฤษฎีนี้มาเปนกรอบอางอิงในการบํา บัดเด็กออทิสติก นําเด็กออทิสติกตรวจวินิจฉัย ประเมิน


120

120

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ความบกพรองของกระบวนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว วางแผนถึงแนวทางการแกไข ลักษณะของ กิจกรรมที่ใชในการบาบัด 2. ผูวิจัยคิดชุดกิจกรรมการฝกซึ่งเปนกิจกรรมเฉพาะสําหรับตัวอยางที่ศึกษาเทานั้น ชุดกิจกรรมนี้ ผูวิจัยคิดขึ้นโดยทําการสํารวจทรัพยากร และจัดหาทรัพยากรเพิ่มเติมที่จําเปนในการฝก 3. นําชุดกิจกรรมการฝกที่คิดขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อดูความเหมาะสมของชุดกิจกรรม การฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหววามีความเฉพาะเจาะจงกับลักษณะของตัวอยาง ที่ใชในการวิจัย แกไขปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ลักษณะของชุดฝกกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว เปนกิจ กรรม เพื่อการ กระตุนระบบประสาทสัม ผั ส พื้นฐานทั้ง 5 ดาน แตจ ะใหความสํา คั ญ กับ ระบบการทรงตัว (Vestibular System) ระบบกลามเนื้อเอ็นขอ ( Proprioceptive System ) และระบบการรับสัมผัส (Tactile System) กิจกรรมที่ทําทุกครั้งเมื่อเริ่มตน และสิ้นสุดการฝก คือ การแปรงดวยวิธีของวิลบารเกอร (Wilbarger ‘s Brushing Protocol) ซึ่งเปนการกระตุนระบบการสัมผัส และระบบกลามเนื้อเอ็นขอเพื่อลดภาวการณ ตอบสนองตอตัวกระตุนการรับความรูสึกที่มากกวาปกติ (Sensory Defensiveness) มีวิธีการแปรง คือ ใช แปรงที่ขนไมออน หรือแข็งเกินไป เวลาแปรงตองไมเกิดการสัมผัสแผวเบา (Light Touch) และตองไม มีรอยขูด ขีดบนผิวหนังโดยตรง หามแปรงบริเวณศีรษะ ทอง และ บริเวณ ผิวหนังที่เปนแผล จากนั้นตามดวย การกดบริเวณขอตอตางๆ ( Gentle Joint Compression ) ตําแหนงละ 10 ครั้ง คือที่ ไหล ขอศอก ขอมือ นิ้วมือ สะโพก เขา ขอเทา และนิ้วเทา (สุภาวดี มั่นเขตวิทย,2544 : 24-25) ; (Schneck, 2001 : 146) กิจกรรมอื่นๆ ไดแก - โยกหมอนกลม (Bolster Swing) - ไกวชิงชา - ขี่จักรยาน - ไถสกูตเตอรบอรด - การสัมผัสพื้นผิวลักษณะตางๆ - การกลิง้ ตัว - การลื่นไถล - การเดิน - การวิ่ง - การบีบ


121

121เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ - การดึง - การปนปาย (Rogers, 2001 : 186-196) นํากิจกรรมยอยตางๆ เหลานี้มาใชรวมกันเพื่อออกแบบเปนชุดฝกกิจกรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และ การเคลื่อนไหว จํานวน 10 กิจกรรม ไดแก การแปรง การทาโลชั่น การกลิ้งตัว การนวดแปง การเดินทรงตัว การเลนเครื่องเลนสนาม การเลนบอบอล การลอดทออุโมงค การ

กระโดดแทมโพลีน การตักลูกปงปอง โดยผูฝกใชเวลาในการฝกเด็กแตละวันรวมเวลาทั้งหมดประมาณ 45 นาที โดยฝกติดตอกัน หรือ ฝกไปหยุดพักไป ทําการฝกจํานวน 5 วันตอสัปดาห และทุกสัปดาหจะทําการ ประเมินพฤติกรรม และวิเคราะหความเหมาะสมของกิจกรรม การเลือกกิจกรรมในการฝกแตละครั้งไมเหมือนกัน โดยพิจารณาจากปญหากระบวนการ รับความรูสึกที่มีในขณะนั้น เลือกกิจกรรมตามความตองการ และความสนใจของเด็กสงเสริมใหเด็ก มีการเคลื่อนไหวดวยตนเอง มีความกระตือรือรน มีสวนรวม และอยากทํากิจกรรมตางๆ ดวยแรงจูงใจ ของตนเอง (Ayres, 1989 : 15, 100, 140, 142) ตัวอยางการบันทึกกิจกรรมที่ใชฝกแตละครั้ง วันที่

เวลา

กิจกรรม

2/11 /52 1. การแปรง 2. การเดินทรงตัว 3. การนวดแปง

5 30 10

(นาที)

ขอสังเกต - ชอบใหแปรง - ทรงตัวไดดีแตยังหลบสิ่งกีด

หมายเหตุ - ทําทุกครั้ง

ขวางไดไมคลอง - ถามือเลอะจะเช็ดออกทันที

หมายเหตุ กิจกรรมแตละครั้งจะไมเหมือนกัน ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ 1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับเด็กออทิสติก และการแสดงพฤติกรรมตางๆ ไดแก พฤติกรรมซ้ําๆ ความสามารถในการสบตา การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการสังเกต และ บันทึก พฤติกรรม เลือกวิธีการเหมาะสมกับตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ เลือกการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายโดยการ บันทึกดวยวีดีทัศน ใชการสังเกต และการบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา สังเกตพฤติกรรมครั้งละ 10 นาที แบงชวงเวลาเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที สังเกตพฤติกรรมสัป ดาหละ 1 ครั้ง (Case- Smith and Bryan, 1999 : 491-492) 2. จัดเตรียมกลองถายวีดที ัศน


122

122

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

3. จัดทําแบบบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2539 : 73) นําไปให ผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาตรวจสอบคุณภาพของการสังเกต และ บันทึกพฤติกรรม นํามาแกไขปรับปรุงตาม คําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ตัวอยางการบันทึกพฤติกรรม แบบบันทึกชวงเวลาของการเกิดพฤติกรรม (ในเวลา 10 นาที แบงเปน 20 ชวง ๆ ละ 30 วินาที) วันที่ .............. ครั้งที่สังเกต................................... ชื่อผูสังเกตพฤติกรรม.............................................. เริ่มสังเกตพฤติกรรมเวลา...........................................สิ้นสุดเวลา......................................................... พฤติกรรมที่สังเกต ไดแก 1. การแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ ชวงเวลาที่ 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

8

9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

2. ความสามารถในการสบตา ชวงเวลาที่ 1

2

3

4

5

6

7

3. การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ชวงเวลาที่ 1

2

3

4

5

6

7

(เมื่อมีพฤติกรรม ใสเครื่องหมายตามที่กําหนดไว ( )) (ไมมีพฤติกรรม ใส 0) สรุปผลการสังเกตพฤติกรรม 1. การแสดงพฤติกรรมซ้ําๆ

= ………………….. ชวงเวลา

2. ความสามารถในการสบตา = ………………….. ชวงเวลา 3. การมีปฏิสัมพันธกับผูใหญ = ………………….. ชวงเวลา ขอสังเกต............................................................................................. หมายเหตุ............................................................................................ ปญหา และ อุปสรรค............................................................................


123 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

123

วิธีการดําเนินการทดลอง กอนเริ่มทําการทดลอง มีขั้นตอน ดังนี้ 1. ผูวิจัยขอใหทางโรงเรียนออกหนังสือเพื่อเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญกิจกรรมบําบัดเปนผูตรวจสอบ คุณภาพของชุดแบบฝกกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว และเรียนเชิญผูเชี่ยวชาญ จิตวิทยาเปน ผูตรวจสอบคุณภาพของการสังเกต และบันทึกพฤติกรรมแบบชวงเวลา 2. ผูสังเกตพฤติกรรม คือ ครูการศึกษาพิเศษ และนักกิจกรรมบําบัด(ผูวิจัย) ฝกการสังเกต และ บันทึกพฤติกรรมเปาหมายกอนลงมือเก็บขอมูลจริงเพื่อดูความชัดเจนของพฤติกรรมเป าหมาย และแกไข ขอบกพรองตางๆ ที่เกิดขึ้น (McQueen and Knussen, 1999 : 235) หาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน โดยใชคาแคปปา (K) โดยไดคามากกวา 0.6 ขึ้นไป 5 ครั้งติดตอกัน (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2539 : อางอิงจาก Cooper, Heron and Heward, 1987) ดําเนินการทดลอง ระยะเวลาที่ใชในการทดลอง 18 สัปดาห แบงเปน 3 ระยะ คือ 1. ระยะเสนฐาน (ระยะ A1) ยังไมมีการฝกตัวอยางที่ศึกษา ทําการสังเกต และบันทึกพฤติกรรม สัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห 2. ระยะทดลอง (ระยะ B) ผูวิจัยทําการฝกเด็กดวยชุดแบบฝกกระตุนการรับความรูสึก และการ เคลื่อนไหว สัปดาหละ 5 วันวันละ 45 นาที ทุกสัปดาหจะประเมินความกาวหนาของเด็ก และความเหมาะสม ของกิจกรรมที่ฝก สังเกต และบันทึกพฤติกรรม สัปดาหละ 1 ครั้ง เปนระยะเวลา 10 สัปดาห 3. ระยะถอดถอน (ระยะ A2) หยุดทําการฝกตัวอยางที่ศึกษา ทําการสังเกต และบันทึก พฤติกรรมสัปดาหละ 1 ครั้ง รวม 4 สัปดาห การรวบรวมขอมูล รวบรวมจากการสังเกตพฤติกรรมดวยวิธีการดังนี้ 1. ใชวีดีทัศนบันทึกพฤติกรรมของเด็กเปนเวลา 10 นาที ที่หองฝกเปนชวงที่เด็กไดเลน หรือทํากิจกรรมที่ชอบ หรือ กําหนดใหไดอยางเสรี และมีผูบําบัดอยูดวย โดยจัดสภาพแวดลอม สถานการณ เวลา และสถานที่คงเดิมทุกครั้งในการบันทึกพฤติกรรม 2. นําวีดีทัศนมาสัง เกตพฤติกรรมโดยผูสัง เกต 2 คน คือนักกิจกรรมบําบัด (ผูวิจัย) และครู การศึกษาพิเศษ เปนผูบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมที่เตรียมไว


124

124 3.

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

การสังเกต และบันทึกพฤติกรรมจะแบงเวลา 10 นาที ออกเปน 20 ชวง ชวงละ 30 วินาที

ผูสังเกตหยุดภาพในวีดีทัศนทุก 30 วินาที และทําการสังเกตพฤติกรรมเปาหมายทุกพฤติกรรมไปพรอมกัน การวิเคราะหขอมูล 1. ขอมูลที่ไดจากการบันทึกพฤติกรรมของผูสังเกต นํามาหาคาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน โดยใชคาแคปปา (K) ซึ่งคํานวณไดจากสูตร (𝑃𝑜 − 𝑃𝑐 ) 𝐾= (1 − 𝑃𝑐 ) Po คือ สัดสวนของความสอดคลองระหวางการเกิด และไมเกิดพฤติกรรมหาไดจากการนําผลบวก ของความสอดคลองของจํานวนชวงเวลาของการเกิด และไมเกิดพฤติกรรมระหวางผูสังเกต หารดวยจํานวน ชวงเวลาที่สังเกตทั้งหมด Pc คือ สัดสวนของความสอดคลองที่คาดหวัง ซึ่งอยูบนพื้นฐานของความบังเอิญ หาไดจากการเอา ผลคูณของชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรมของผูสังเกตทั้ง 2 คน แลวหารดวยชวงเวลาที่สังเกตทั้งหมดยกกําลังสอง (สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต, 2539 : 82 ; อางอิงจาก Cohen, 1995) 2. ขอมูลจากการบันทึกพฤติกรรมเปนจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมเปาหมายเกิดขึ้นทําเปนคารอย ละของจํ า นวนช ว งเวลา นํ า ข อ มู ล มาแสดงด ว ยกราฟ สรุ ป ผลการวิ จั ย โดยการวิ เ คราะห ท างสายตา (Visual Analysis) (Personson and Baer, 1992 : 15-38) และการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรอยละของ จํานวนชวงเวลาในแตละระยะของการทดลอง สถิติที่ใช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือคารอยละ คาเฉลี่ย และหาคาความเที่ยงระหวางผูสังเกต 2 คน (แคปป า ) แสดงผลการวิ จั ย ดว ยกราฟ วิ เ คราะห ข อ มู ล โดยการวิ เ คราะห ด วยสายตา และการ เปรียบเทียบคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีพฤติกรรมในการทดลองแตละระยะ 1.3 ผลการศึกษา ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดเปนจํานวนชวงเวลา นํามาทําเปนคารอยละของจํานวนชวงเวลาในการ สังเกต และ บันทึกแตละครั้ง หาคาเฉลี่ยของจํานวนชวงเวลาในแตละระยะการทดลอง ทําเปนคาเฉลี่ย รอยละของจํานวนชวงเวลา ของพฤติกรรมเปาหมาย 3 พฤติกรรม แสดงผลการทดลองดังนี้


125เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

125

จากภาพประกอบ 1 แสดงวาคาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรมซ้ําๆ ในระยะที่ 1 (A1) มีคาเทากับ 67.5 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 32.0 ซึ่งมีคาลดลงสอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 1 ที่กําหนดวา เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกกระตุนดวยกิจกรรมการรับความรูสึก และการเคลื่อนไหวมีพฤติกรรมซ้ําๆ ลดลง ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติกรรมซ้ําๆมีคาเทากับ 42.5 ซึ่ง เพิ่มขึ้นจากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหพฤติกรรมซ้ําๆ เพิ่มมากขึ้น เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมีพฤติกรรม ซ้ําๆ ลดลง

จากภาพประกอบ 2 แสดงวาคาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีความสามารถในการสบตาในระยะที่ 1 (A1) มีคาเทากับ 35 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 71 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้น สอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 2 ที่กําหนดวาเด็ก ออทิสติก ที่ไดรับ การฝก ดวยกิจ กรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และการเคลื่อนไหว มี ความสามารถในการสบตาเพิ่มมากขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีความสามารถในการสบตา มีคาเทากับ


126

126

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

60 ซึ่งลดลง จากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝกแลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาหความสามารถในการ สบตาลดลง และมีแนวโนมลดลง เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมี ความสามารถในการสบตาเพิ่มขึ้น

ภาพประกอบ 3 แสดงวาคาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีปฏิสัมพันธกับผูใหญ ในระยะที่ 1 (A1) มีคาเทากับ 32.5 ในระยะที่ 2 (B) มีคาเทากับ 68 ซึ่งมีคาเพิ่มขึ้น สอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 3 ที่กําหนด วาเด็กออทิสติกที่ไดรับ การฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และการเคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธกับ ผูใหญเพิ่มมากขึ้น ในระยะที่ 3 (A2) คาเฉลี่ยรอยละจํานวนชวงเวลาที่มีปฏิสัมพันธกับผูใหญ มีคาเทากับ 5 7.5 ซึ่ง ลดลง จากระยะที่ 2 แสดงวา เมื่อหยุดฝก แลวติดตามผลเปนเวลา 4 สัปดาห การมีปฏิสัมพันธกับ ผูใหญ ลดลงและมีแนวโนมคงที่ เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวมีปฏิสัมพันธ กับผูใหญเพิ่มมากขึ้น 1.4 สรุปและการวิจารณ สรุปผล 1. เด็กออทิสติกที่ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึกและการเคลื่อนไหว มีการแสดง พฤติกรรมซ้ําๆ ลดลง 2. เด็ก ออทิส ติก ที่ไดรั บ การฝก ดว ยกิจ กรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และการเคลื่อนไหว มี ความสามารถในการสบตาเพิ่มมากขึ้น


127

127 127 : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ เศษ

127

ดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรู และการเคลื ัมจพัจกรรมกระตุ นกรรมกระตุ ธ ออทิ ับการฝ การฝมีกกปดดฏิววสยกิ ยกิ การรับบความรู ความรูสสึกึกและการเคลื และการเคลื่อ่อนไหว นไหวมีมีปปฏิฏิสสัมัมพัพันนธธ 3.3.เด็เด็สกกึกออทิ สสติติกกทีที่ไ่ไดดร่อรับนไหว นนการรั หญเเพิพิ่ม่มมากขึ มากขึ้น้น กักับบผูผูใใหญ การวิจจารณ ารณ//อภิ อภิปปรายผล รายผล การวิ

ายุ 10 ป พบวาเด็กมีพฤติกผลการศึ รรมซ้ ําๆกกษากั ลดลง วามสามารถในการ ผลการศึ ษากับบเด็เด็มีกคกออทิ ออทิสสติติกกอายุ อายุ 10 10 ปป พบว พบวาาเด็เด็กกมีมีพพฤติ ฤติกกรรมซ้ รรมซ้ําําๆๆ ลดลง ลดลง มีมีคความสามารถในการ วามสามารถในการ ใหญเพิ่มมากขึ้น สอดคล องกั่ม่มบมากขึ ผลการศึ กษาของแมคเคลี โฮลท สบตาเพิ มากขึ และมี หญ มากขึ้น้นสอดคล สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของแมคเคลี ษาของแมคเคลียยและ และโฮลท โฮลท-สบตาเพิ ้น้นและมี ปปฏิฏิสสัมัมพัพันนธธกกยับับและ ผูผูใใหญ เเพิพิ่ม่ม-มากขึ

1) ซึ่งศึกษาในเด็กออทิ ติ(McClure กอายุ 13and ป พบว าพฤติกรรมการทํ ยอทส(McClure and Holz-Yotz, 1991) ซึาซึ่งร่งศึาศึกยกษาในเด็ ษาในเด็กกออทิ ออทิสสติติกกอายุ อายุ 13 13 ปป พบว พบวาาพฤติ พฤติกกรรมการทํ รรมการทําารราายย ยอท Holz-Yotz, 1991) เพิ่มมากขึ้น สอดคลตนเองลดลง องกับผลการศึ กษาของโรเซนทาล-มาเลก ตนเองลดลง และมี างสังงคมเพิ คมเพิ่มและมิ ่มมากขึ มากขึ้น้น สอดคล สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของโรเซนทาล-มาเลก ษาของโรเซนทาล-มาเลก และมิ และมิ และมี ปปฏิฏิสสัมัมพัพันนธธททางสั ศึกษาในวัยรุนออทิสทเชล ติทเชล กอายุ(Rosenthal-Michell, เฉลี่ย 15 ป พบวาพฤติ กรรมการกระตุ นยยรุรุนนออทิ (Rosenthal-Michell, 1997) ษาในวั ออทิสสติติกกอายุ อายุเเฉลี ฉลี่ย่ย 15 15 ปป พบว พบวาาพฤติ พฤติกกรรมการกระตุ รรมการกระตุนน 1997) ซึซึ่ง่งศึศึกกษาในวั

ศึกษาของลาริงตัน ตนเองลดลง (Larrington,และสอดคล 1987) ซึ่งศึอกองกั ษาในวั ยรุนออทิ สติก งงตัตันน (Larrington, ตนเองลดลง และสอดคล งกับบผลการศึ ผลการศึ ษาของลาริ (Larrington, 1987) 1987) ซึซึ่ง่งศึศึกกษาในวั ษาในวัยยรุรุนนออทิ ออทิสสติติกก กกษาของลาริ สมลดลง สงบมากขึอายุ ้นอายุ มีค15 วามตื ่นพบว ตั วามากขึ (Alert) และสามารถทํ 15 าพฤติ พฤติก้นกรรมที รรมที หมาะสมลดลงาสงบมากขึ สงบมากขึ้น้น มีมีคความตื วามตื่น่นตัตัววมากขึ มากขึ้น้น (Alert) (Alert) และสามารถทํ และสามารถทําา ปป พบว ่ไ่ไมมเเหมาะสมลดลง

hneck, 2001 : 147, 171) กล กิจกรรมบํ าบัดด(Schneck, วยวิธีการรั2001 บ2001 :: 147, กรรมที ุดมุมุงางหมายได หมายได ซแนก (Schneck, 147, 171) 171) กล กลาาววววาา กิกิจจกรรมบํ กรรมบําาบับัดดดดววยวิ ยวิธธีกีการรั ารรับบ กิกิจจกรรมที ่ม่มีจีจาุดวว ซแนก ธีที่เหมาะสมในการบํ า บัดเด็ ติก และวั่อ่อยนไหวเป รุนออทินนสวิวิติธธกีทีททํี่เี่เหมาะสมในการบํ าหมาะสมในการบํ ใหมี ความรู และสการเคลื การเคลื นไหวเป ออทิสสติติกกและวั และวัยยรุรุนนออทิ ออทิสสติติกกทํทําาให ใหมมี ี ความรู สสึกึก ออทิ และ าาบับัดดเด็เด็กกออทิ

ารดูแลตนเอง (Self-care) การเล วงความสนใจ( นาการเพิ ในด นตาางๆ งๆ คืคืออAttention) การดูแแลตนเอง ลตนเอง (Self-care) (Self-care) การเล การเลนนชชววงความสนใจ( งความสนใจ( Attention) Attention) พัพัฒฒนาการเพิ ่ม่มขึขึ้น้นชในด าานต การดู การพัฒนาการทํางานของสมองการศึ ะทํ ในเด็กเล็ฒฒกนาการทํ พฤติกกรรม รรม และปฏิ และปฏิกสสษาส ธททางสั างสังจงคม คมาในการพั ในการพั นาการทําางานของสมองการศึ งานของสมองการศึกกษาส ษาสววนใหญ นใหญจจะทํ ะทําาในเด็ ในเด็กกเล็เล็กก พฤติ ัมัมพัพันนวธนใหญ กพรอง แตในการวิจคืคืัยออครัตัตั้ง้งนีแต ้ เศึเริริก่ม่มษาในเด็ ตินาการบกพร กอายุ 10 ปออแอร แต พบวาาเด็เด็กกกออทิ แตใในการวิ นการวิจจัยัยครั ครั้ง้งนีนี้ ้ ศึศึกกษาในเด็ ษาในเด็กกออทิ ออทิสสติติกกอายุ อายุ 10 10 ปป แอร แอร พบว มีมีพพัฒัสฒนาการบกพร งง แต

ดกลาววา เมื่อเด็กอายุ(Ayres, 10 ป 1989 การเจริ เติ อกล การรั (Ayres, 1989 ::ญ45) 45)บนัโตของการเชื นักกกิกิจจกรรมบํ กรรมบํ่อาาบัมต บัดดกล อายุ 10 10 ปป การเจริ การเจริญญเติเติบบโตของการเชื โตของการเชื่อ่อมต มตออการรั การรับบ าาววววาบา เมืเมื่อ่อเด็เด็กกอายุ nection) เกือ บสมบู ร ณสสึกหรื ร ณ แล ว ฮุInterconnection) บInterconnection) เนอร และ ดั น น เกืเกืออบสมบู ความรู ึก ((อ สมบูSensory Sensory บสมบูรรณณ หรื หรืออสมบู สมบูรรณณแแลลวว ฮุฮุบบเนอร เนอร และ และ ดัดันนนน ความรู

) กลาววากิจกรรมบํ(Huebner า(Huebner บัดดวยวิธand ีกand ารรัDunn, บDunn, ความรู2001 สึกและการเคลื ่อกลนไหว 2001 22-24) กล กรรมบําาบับัดดดดววยวิ ยวิธธีกีการรั ารรับบความรู ความรูสสึกึกและการเคลื และการเคลื่อ่อนไหว นไหว :: 22-24) าาววววาากิกิจจกรรมบํ กการวาประสบการณ(Sensorimotor การรับความรูสึกApproach) และการเคลื (Sensorimotor Approach)่อนันันไหว การวาาประสบการณ ประสบการณกการรั ารรับบความรู ความรูสสึกึกและการเคลื และการเคลื่อ่อนไหว นไหว (Sensory (Sensory ้น้นมีมีหหลัลั(Sensory กกการว

โครงสรางของเซลลand สand มองMotor (NeuralExperiences) Structure) และส ผลตามมาต Motor Experiences) จะมีผงผลต ลตออโครงสร โครงสรอาางของเซลล งของเซลลสสมอง มอง (Neural (Neural Structure) Structure) และส และสงงผลตามมาต ผลตามมาตออ จะมี ของเด็ ก โตและผู ใการแสดงพฤติ หญ ยั ง คงมี ส มบักกตรรม ิ นิ ว รอลพลาสติ ซิ ตี้ (Neuralกกโตและผู การแสดงพฤติ รรม แตพพบว บวาาสมองของเด็ สมองของเด็ โตและผู ใ ใหญ หญยยั งั งคงมี คงมีสสมบั มบัตติ นิ นิ วิ วรอลพลาสติ รอลพลาสติซซิ ติ ตี้ ี้ (Neural (Neural แต การปรับเปลี่ยนการทํPlasticity) างานของเซลล ประสาทอยู เชนกัน Plasticity) หมายถึ ความสามารถในการปรั เปลี่ย่ยนการทํ นการทําางานของเซลล งานของเซลลปประสาทอยู ระสาทอยูเเชชนนกักันน ซึซึ่ง่งหมายถึ งงความสามารถในการปรั บบเปลี

ะของจํานวนชวงเวลาที่เกิดพฤติ กรรมซ้ ลดลงในระยะที ่ อย งที่ศ่ศําึกึกๆษามี ษามี เฉลี่ย่ยรรออยละของจํ ยละของจํ นวนชววงเวลาที งเวลาที่เ่เกิกิดดพฤติ พฤติกกรรมซ้ รรมซ้ําําๆๆ ลดลงในระยะที ลดลงในระยะที่ ่ ตัตัววอย าางที คคาาเฉลี าานวนช ความรูสึกและการเคลื องกับผลการศึ กษาของนิ รุทสสติึกึก์ และการเคลื ับการฝ การฝซึกก่งดสอดคล ดววยกิ ยกิจจกรรมกระตุ กรรมกระตุ การรั ความรู และการเคลื่อ่อนไหว นไหวซึซึ่ง่งสอดคล สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของนิ ษาของนิรรุทุทติติ์ ์ ไดไดร่อรับนไหว นนการรั บบความรู

5) สอดคลองกับผลการศึ กษาของจาง : 162; สอดคล อมรคณารั และ(Schneck,2001 าพร ชิชินนชัชัยย (2545) (2545) สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของจาง ษาของจาง (Schneck,2001 (Schneck,2001 ::162; 162; อมรคณารั ตตนน และ สุสุภภาพร งกับผลการศึกษาของ เคส-สมิ ท และไบรอั (Case-Smith and citing Jang, 1996) นและ และ สอดคลอองกั งกับบผลการศึ ผลการศึกกษาของ ษาของ เคส-สมิ เคส-สมิทท และไบรอั และไบรอันน (Case-Smith (Case-Smith and and citing Jang, 1996) สอดคล

พฤติกรรมซา ๆของ Bryan, เด็ กออทิ1999 ส1999 ติกเปน:: การปรั Bryan, 495) ซึบซึ่งแต ่งอธิ อธิงบกระแสประสาท( บายว ายวาาพฤติ พฤติกกรรมซ รรมซาา ๆของ ๆของ เด็เด็กกออทิ ออทิสสติติกกเปเปนนการปรั การปรับบแต แตงงกระแสประสาท( กระแสประสาท( 495) Arousal) บาราเน็ ก ฟอสเตอร และเบอร น ่น่นตัตัวว (( Arousal) ในระบบการรั ความรู ภาวะตื Arousal) บาราเน็ บาราเน็กก ฟอสเตอร ฟอสเตอร และเบอร และเบอรกกสัสันน พื่อเพิ่มภาวะตื่นตัว (Modulate) Modulate) ในระบบการรั บบความรู สสึกึกเพืเพื่อ่อเพิเพิก่ม่มสัภาวะตื


128

128

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

(Baranek, Foster and Berkson, 1997) พบวา ภาวะการตอบสนองการรับความรูสึกทางการสัมผัสที่ มากกวาปกติ (Tactile Defensiveness) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมซ้ําๆ ซึ่งมักพบวาสัมพันธกับลักษณะ ออทิสติก ตัวอยางที่ศึกษามีคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีความสามารถในการสบตาเพิ่มขึ้นในระยะที่ ไดรับการฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว สอดคลองกับสมมติฐานการวิจัยที่ กําหนดให ซแนก ( Schneck, 2001 : 147, 171) กลาววา กิจกรรมบําบัดดวยวิธีการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหวเปนวิธีที่เหมาะสมในการบําบัดเด็กออทิสติกและวัยรุนออทิสติกทําใหมี พัฒนาการเพิ่มขึ้นใน ดานตางๆ คือการดูแลตนเอง (Self-care) การเลน ชวงความสนใจ (Attention) พฤติกรรม และปฏิสัมพันธ ทางสังคม ในการพัฒนาการทํางานของสมอง ตัวอยางที่ศึกษามีคาเฉลี่ยรอยละของจํานวนชวงเวลาที่มีปฏิสัมพันธกับผูใหญเพิ่มขึ้นในระยะที่ไดรับ การฝกดวยกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การเคลื่อนไหว สอดคลองกับผลการศึกษาของลินเดอร แมน และ สจวต ( Linderman and Stewart, 1999) และ สอดคลองกับผลการศึกษาของเคส-สมิท และไบรอัน ( Case-Smith and Bryan, 1999 : 496) ซึ่งอธิบายวาการมีปฏิสัมพันธมากขึ้นมีความสัมพันธ กับกระบวนการรับความรูสึก ( Sensory Processing) เพราะเด็ก สามารถตอบสนองตอผูใหญไดดีข้ึน สามารถจัดระเบียบ (Organize) ของการตอบสนอง และ สามารถแปลความหมาย (Interprete) ขอมูล ความรูสึกที่ซับซอนที่เกี่ยวของกับปฏิสัมพันธทางสังคมได ปฏิสัมพันธทางสังคมอาจเปนเรื่องยากสําหรับเด็ก ออทิสติก เพราะขอมูลความรูสึกทางสังคมมีมากมาย ทําใหระบบประสาทสวนกลางมีภาวะตื่นตัวมากเกินไป 1.5 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทั่วไป ในการฝกเด็กนั้นควรมีการสังเกตเด็กตลอดเวลา และ อยาบังคับเด็กใหทําในสิ่งที่ไมชอบ มิลเลอร (Miller, 1998 : Online) อธิบายวาเปนสิ่งสําคัญที่ตองทําการสังเกตเด็กอยางระมัดระวัง และ ตองเคารพ ตอความชอบที่จะทํากิจกรรมของเด็ก ถาเด็กทําทาทางกลัว หรือ มีความยากลําบากในการทา กิจกรรมก็อยา บังคับเด็กเพราะพบไดเสมอๆ วาความกลัว หรือ ความยากลําบากนั้นมีพื้นฐานมาจากการทํางานของระบบ ประสาท และ เด็กไมสามารถใชจิตสํานึกควบคุมได (Concious Control) ชุดแบบฝก กิจ กรรมกระตุนการรับ ความรูสึก และ การเคลื่อนไหว มีความเหมาะสมกับ เฉพาะ ตัวอยางที่ศึกษาเทานั้น ในกรณีเด็กออทิสติกรายอื่นควรไดรับคําแนะนําจากนักกิจกรรมบําบัดเปนเฉพาะราย ไป และในการฝกเด็กนั้นตองมีความรูความเขาใจ และทําอยางตอเนื่อง สรอยสุดา วิทยากร (2541 : 3-4) อธิบายวา เนื่องจากเด็กออทิสติกมีความสามารถ และ พฤติกรรมคอนขางแตกตางกัน ในการใหโปรแกรมทาง


129เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

129

กิจกรรมบําบัดนั้นควรคํานึงถึงปญหาเรงดวน ความรุนแรงของปญหารวมทั้งความสามารถพื้นฐานของเด็กแต ละคนดวย จึงจําเปนตองมีโปรแกรมการรักษาพิเศษสําหรับบุคคลแตละบุคคล ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรเปรียบเทียบจํานวนครั้งที่ใชในการฝกตอสัปดาหวามีผลแตกตางกันหรือไม 2. ควรศึกษาความคงทนของผลการบําบัด 3. ควรศึกษาทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกจากการใชกิจกรรมกระตุนการรับความรูสึก และ การ เคลื่อนไหว 2. บรรณานุกรม/เอกสารอางอิง บรรณานุกรม นิรุทติ์ อมรคณารัตน และ สุภาพร ชินชัย. (2545). “ผลของการกระตุนระบบ Tactile และ Vestibular ตอการลดพฤติกรรม Stereotyped ในเด็กออทิสติก,” ในบทคัดยอเสนอ ผลงานวิชาการการ ประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง ครู หมอ พอแม : มิติแหงการพัฒนา ศักยภาพบุคคลออทิสติก. หนา 88. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ศรีเรือน แกวกังกาล. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ______. (2543). จิตวิทยาเด็กพิเศษ แนวคิดสมัยใหม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุภาวดี มัน่ เขตวิทย. (2544). “Addressing Sensory Issues in Children,” ในเอกสารการประชุม วิชาการสาขากิจกรรมบําบัด เนื่องในโอกาสคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาปนาครบรอบ 25 ป. หนา 15-116. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ______. (2545, มกราคม-เมษายน). “เจตคติของนักกิจกรรมบาบัดตอการมีสวนรวมของผูปกครองใน การบําบัดรักษาทางกิจกรรมบาบัด,” วารสารกิจกรรมบาบัด. 7(1) : 23-30. สรอยสุดา วิทยากร. (2544, มกราคม-เมษายน). “กิจกรรมบาบัดสาหรับภาวะออทิสซึม,” วารสาร กิจกรรมบาบัด. 3(1) : 3-5. ______. (2544). “กรอบอางอิงการผสมผสานความรูสึกของสมอง (The Sensory Integrative Frame of Reference),” ในกรอบอางอิงในกิจกรรมบาบัดเด็ก . บรรณาธิการโดย วิไลวรรณ มณีจักร และคนอื่นๆ. หนา 47-124. เชียงใหม : คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ______. (2545). “กิจกรรมการสัมผัส-การเคลื่อนไหวรวมกับกิจกรรมทาง Sensory Integration ในเด็กออทิสติก,” ในบทคัดยอการเสนอผลงานวันวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง


130

130

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

ครู หมอ พอ แม : มิติแหงการพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติก. หนา 89. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. (2539). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. American Psychiatric Association. (1996). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders. 4th ed. Washington DC : The American Psychiatric Association press. Attwood, T. (1993). Why Does Chris Do That ?. London : The National Autistic Society. Ayres, J. (1989). Sensory Integration and the Child. Los Angeles : western Psychological Services. Baranek, G. T., Reinhartsen, D. B. & Wannamaker, s.w. (2001). “Play : Engaging Young Children with Autism,” In Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P. 313-351. Gaithersburg : Aspen Publishers Baron-Cohen, S. & Bolton, P. (1993). Autism the Fact. London : The National Autistic Society. Case-Smith, J. & Bryan, T. (1999, September/October). “Occupational Therapy With Children With Pervasive Developmental Disorders,” American Journal of Occupational Therapy. 53 (5) : 5.6-513. Cohn, E. S. (2001, May/June).”Parent Perspective of Occupational Therapy Using a Sensory Integrative Approach,” American Journal of Occupational Therapy. 55 (3) : 285-292. Dalton, R. & Forman, M. A. (2000). “ Pervasive Developmental Disorders and Childhood Psychosis,” in Nelson Textbook of Pediatrics. 16th ed. Edited by R.E. Behrman, R.M. Kliengman & H. B. Jenson. P. 87-88 Philadelphia : W. B. Saunders. Dingle, A. D. & Dulcan, M. K. (1998). “Psychiatric Disorders of Childhood and Adolescence,” in Clinical Psychiatry for Medical Students. 3rd ed. Edited by A. Stoudemire. P. 524606. Philadelphia : Lippincott-Raven. Howlin, P. (1998). Autism : Preparing for Adulthood. New York : Routledge.


131เศษ : 8 เรื่องการจัดการเรียนรู้เพื่อนักเรียนที่มีความต้องการพิ

131

Huebner, R. A. & Dunn, W. (2001). “Introduction and Basic Concepts,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P.3-40. Gaithersburg : Aspen Publishers. Huebner, R. A. & Kraemer, G. W. (2001). “Sensorimotor Aspects of Attachment and Social Relatedness in Autism,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P. 209-244. Gaithersburg : aspen Publishers. Kaplan, H. I. & Sadock, B. J. (1998). Kaplan and Sadock’s Synopsis of Psychiatry Behavioral Sciences / Clinical Psychiatry. 8th ed. Baltimore : Willams & Wilkins. Larrington, G.G. (1987). “A Sensory Integration Based Program With a Severely Retarded / Autistic Teenater : An Occupational Therapy Case Report.” Occupational Therapy in Health Care. 4 : 101-117. Linderman, T. M. & Stewart, K. B. (1999, March / April). “Sensory Integrative Based occupational Therapy and Functional Outcomes in Young Children With Pervasive Fevelopmental Disorders : A Single Subject Study, “American journal of Occupational Therapy. 53 (2) : 207-213. McClure, M. K. & holtz-Yotz, M. (1991). Case Report : The Effects of Sensory Stimulatory Treatment on an Autistic Child,” American Joumal of Occpational Therapy. 45 : 1138-1142. McQueen, R. A. & Knussen, C. (1999). Research Methods in Psychology : A Practical Introduction. Hemel Hemstead : Prentice Hall Europe. Miller-Kuhaneck, H. & Glennon, T. J. (2001). “An Introduction to Autism and the Pervasive Developmental Disorders,” in Autism : A Comprehensive Occupational Therapy Approach. Edited by H. Miller-Kuhaneck. P. 1-22. Bethesda : The American Occupational Therapy Association. Parsonson, B. S. & Baer, D. M. (1992). “The visual Analysis of Data, and Current Research into the Stimuli Controlling It,” in Single-Case Research Design and Analysis : New Direction for Psychology and Education. Edited by T. R. kratochwill & J. R. Levin. P. 15-40. Hillsdale : Lawrence Erlbaum.


132

132

งานวิจัยทางการศึกษาพิเศษ

Polin, R. A. & Ditmar, M. F. (1997). Pediatrics Secrets. 2nd ed. Philadelphia : Hanley & Belfus. Richard, G. J. (2000). The Source for Treatment Methodologies in Autism. East Moline : Lingui System. Rogers, S. L. (2001). “Sensory Integration in Child-Centered Therapy,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by R. A. Huebner. P. 179-207. Gaithersburg : Aspen Publishers. Rogers, S. L. et al (2001). “Common Diagnosis in Pediatric Occupational Therapy Practice,” in Occupational Therapy for children. 4th ed. Edited by J. Case- Smith. P. 136-187. St. Louis : Mosby. Rosenthal-Malek, A. & Mitchell, S. (1997). “Brief Report : The Effects of Exercise on the Self-Stimulatory Behaviors and Positive Responding of Adolescents With Autism,” Joumal of Autism And Developmental Disorders. 27(2) : 193-201. Schneck, C. M. (2001). “The Efficacy of a Sensorimotor Treatment Approach by Occupational Therapist,” in Autism : A Sensorimotor Approach to Management. Edited by r. A Huebner. P. 139-178. Gaithersburg : Aspen Publishers. Shaner, R. (2000). Board Review Series Psychiatry. 2nd ed. Philadeiphia : Lippincott Williams & Wilkins. Stocks, J. T. (1999). Introduction to Single Subfect Designs. (Online). Available Telnet : home.attbi.com/~inference/ssd/issd02.htm. Teplin, S. W. (1999). “Autism and Related Disorders,” in Developmental-Behavioral Pediatrics. 3rd ed. Edited by M. D. Levine, W. Bl. Carey & A. C. Crocker. P. 589605. Philadelphia : W. B. Saunders.


คณะกรรมการกาหนดกรอบการคัดเลือกผลงานวิจัยและนิทรรศการ 1. นางสาววันทนา วงศ์ศิลปภิรมย์

ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. นางวาทินี ธีระตระกูล

ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3. นางบุญชู ชลัษเฐียร

ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4. นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์

ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตาแหน่งที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส

5. นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต

รองผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

6. นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท์

นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

คณะกรรมการวิเคราะห์คัดเลือกรายงานวิจัยและนวัตกรรม 1. นางสาววันทนา วงศ์ศิลปภิรมย์

ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. นางวาทินี ธีระตระกูล

ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3. นางบุญชู ชลัษเฐียร

ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4. นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์

ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตาแหน่งที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส

5. รองศาสตราจารย์กานดา พูลลาภทวี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

6. รองศาสตราจารย์วรรณ์ดี แสงประธีปทอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพรัช สู่แสนสุข

มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร

8. นายราชา มหากันธา

มหาวิทยาลัยมหิดล

บรรณาธิการกิจ นางพจมาน พงษ์ไพบูลย์

ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตาแหน่งที่ปรึกษาด้านการศึกษาพิเศษ และผู้ด้อยโอกาส

นางอรนุช มั่งมีสุขศิริ

สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.