ชุดเอกสารสร้างวัฒนธรรมการวิจัย เล่ม1.pdf

Page 1


ชุดเอกสารการสรางวัฒนธรรมการวิจัย เลม 1

แนวทางการบริหารและการสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ Edresearch.OBEC@gmail.com www.facebook.com/ObecResearch ISBN

๐๓/๐๔/๕๔


คํานํา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔(๕) ระบุให้ผสู ้ อนใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการเรี ยนรู ้ และมาตรา ๓๐ ให้ ส่ งเสริ ม ให้ ผูส้ อนสามารถวิ จ ัย เพื่ อ พัฒ นาการเรี ย นรู ้ ที่ เหมาะสมกับ ผูเ้ รี ย นในแต่ ล ะระดับ การศึ ก ษา เป็ นการมองไกลของประเทศ ที่ตอ้ งการให้ทุกฝ่ ายที่ปฏิบตั ิงานด้านการจัดการศึกษานํากระบวนการวิจยั มาใช้ ในการปฏิบตั ิงานและพัฒนางาน เพื่อให้มีการปฏิบตั ิงานที่เป็ นระบบ มีคุณภาพ มีความถูกต้อง จึงเน้นให้ ครู ผูส้ อนใช้ก ารวิ จ ัย เป็ นส่ ว นหนึ่ งของการเรี ย นรู ้ ท้ ังของตนเอง และการจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ กับ นัก เรี ย น ซึ่ งการเรี ยนรู ้ และแสวงหาความรู ้สามารถศึกษาค้นคว้าได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่ มีอยู่หลากหลายในปั จจุบนั แต่การแสวงหาความรู ้ดงั กล่าว มีขอ้ จํากัดที่วา่ คําตอบหรื อข้อมูลที่ได้อาจคลาดเคลื่อนกับความเป็ นจริ ง หรื อ ขาดความน่ าเชื่ อถื อ ซึ่ งการวิจยั สามารถแก้ปัญหานี้ ได้ เนื่ องจากการวิจยั เป็ นการค้น หาความรู ้ ความจริ ง โดยใช้วิธีก ารที่ เชื่ อถื อ ได้ มี ความเป็ นระบบ และมี ข้ นั ตอนการดําเนิ น งานที่ ชัด เจน คื อใช้ก ระบวนการ วิทยาศาสตร์ จึงทําให้คาํ ตอบหรื อสิ่ งที่ได้คน้ พบหรื อข้อมูลที่ได้จากกระบวนการ เป็ นข้อมูลที่ถกู ต้อง มีคุณค่า เชื่ อถื อได้ สามารถสร้ างสิ่ งต่าง ๆ ที่ เป็ นประโยชน์ ด้านการศึ กษา สังคมโลก สามารถป้ องกัน และแก้ไข สิ่ งต่าง ๆ ในทางที่ไม่ดี ที่อาจเกิดขึ้น ทําให้โลกมีความเจริ ญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เอกสารแนวทางการบริ หารและการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษาเล่มนี้ เป็ นทางเลือกหนึ่ งให้ ผูร้ ับผิดชอบด้านการศึกษานําไปปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการวิจยั ในองค์กรอย่างแพร่ หลาย เอกสารเล่มนี้ ประกอบด้วย ๓ ตอน ได้แก่ ตอนที่ ๑ บทนํา กล่าวถึงความสําคัญและความเป็ นมา ที่ตอ้ งพัฒนาองค์กรให้ สร้ า งวัฒ นธรรมการวิ จ ัย ในองค์ก ร ตอนที่ ๒ แนวทางการดํ า เนิ น งานวิ จั ย และการส่ งเสริ ม การวิ จั ย ทางการศึกษา สําหรับหน่ วยงานที่รับผิดชอบจัดการศึกษาระดับต่าง ๆ ตอนที่ ๓ แนวทางการบริ หารและ การส่ งเสริ มการวิจัยที่ประสบผลสํ าเร็ จ ที่ ได้จากการสังเคราะห์ กระบวนการบริ ห ารจัดการงานวิจยั และ ส่ งเสริ มการวิจยั ของหน่ วยงานต่าง ๆ ที่ ประสบผลสําเร็ จ โดยการสัมภาษณ์ ผูร้ ับผิดชอบด้านการวิจยั จาก สภาการศึ ก ษาแห่ งชาติ สํานัก งานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ สํานักงานกองสนับสนุ น ทุ น การวิจยั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต เกี่ยวกับปัจจัยสํ าคัญและจําเป็ น ที่ส่งผลและต่อการ การบริ หารงานวิจยั และส่ งเสริ ม สนับสนุนให้การวิจยั ประสบผลสําเร็ จ จึงหวังว่า เอกสารนี้จะมีส่วนช่วยให้ การปฏิรูปการศึกษาประสบผลสําเร็ จมากยิง่ ขึ้น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


หน้ า

สารบัญ

ตอนที่ ๑ บทนํา วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ตอนที่ ๒ แนวทางการดําเนินงานวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา โครงสร้างการบริ หารงานวิจยั และการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา การบริ หาร และการส่ งเสริ มการวิจยั การศึกษาระดับสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษาระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ตอนที่ ๓ การบริ หารและการส่ งเสริ มการวิจยั ที่ประสบผลสําเร็ จ การบริ หารและการส่ งเสริ มการวิจยั ที่ประสบผลสําเร็ จ การบริ หารจัดการงานวิจยั ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจยั ปัจจัยที่เอื้อต่อความสําเร็ จ เงื่อนไขความสําเร็ จ บรรณานุกรม ภาคผนวก กรณี ศึกษาการบริ หารจัดการงานวิจยั ที่ประสบผลสําเร็ จ

๑ ๓ ๓ ๙ ๙ ๑๓ ๑๖ ๒๓ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๕ ๒๕


ตอนที่ ๑ บทนํา ความเป็ นมา การจัดการศึกษาเป็ นกระบวนการที่ มีความสําคัญต่อการพัฒนาประเทศ เนื่ องจากการศึกษาเป็ น รากฐานของความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ที่จะทําให้เกิดองค์ความรู ้ นวัตกรรมใหม่ๆ 1 เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการ พัฒนาทรั พยากรมนุ ษย์อย่างยัง่ ยืนและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ซึ่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและ สังคม ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) ได้กาํ หนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ เน้นการพัฒนาคนเป็ น ศู นย์กลาง 2 เพื่ อเตรี ยมความพร้ อมและสร้ างภู มิ คุม้ กันให้พร้ อมรั บการเปลี่ ยนแปลง โดยใช้การศึ กษาเป็ น ตัวขับเคลื่อน ซึ่ งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔(๕) ระบุให้ผสู ้ อนใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการเรี ยนรู ้ และ มาตรา ๓๐ ให้ส่ งเสริ มให้ผูส้ อนสามารถวิจยั เพื่ อพัฒ นาการเรี ยนรู ้ ที่ เหมาะสมกับ ผูเ้ รี ยนในแต่ ละระดับ การศึกษา นอกจากนี้ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ ได้เน้นให้มีการพัฒนา ๔ ด้าน คือ ให้มีการพัฒนา คุณภาพการศึกษายุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครู ยคุ ใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรี ยนรู ้ยคุ ใหม่ และ พัฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจัดการยุคใหม่ ขณะเดี ยวกัน สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติ ได้กาํ หนด วิสยั ทัศน์ดา้ นการวิจยั ในภาพรวมของประเทศ คือ “ประเทศไทยมีการวิจยั ที่มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาที่สมดุล ยัง่ ยืน” โดยมุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจยั ของประเทศให้สูงขึ้น และยุทธศาสตร์ การวิจยั ของชาติในข้อ ๒ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา คือ การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนา สังคม พัฒนาด้านวิทยาการทรัพยากรบุคคล และข้อ ๕ คือ การบริ หารจัดการความรู ้ ผลงานวิจยั ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศสู่ การใช้ประโยชน์ดว้ ยยุทธวิธีที่เหมาะสม โดยใช้ทรัพยากรและเครื อข่ายวิจยั อย่างมีประสิ ทธิ ภาพที่ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วม” จึงเป็ นบทบาทและภารกิจของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ในการส่ งเสริ มการจัดการศึกษาโดยใช้กระบวนการวิจยั เพื่อให้มีการค้นคว้า แสวงหาองค์ความรู ้ ใหม่ ๆ มาปรับปรุ งและพัฒนางานด้านการศึกษาให้ครอบคลุมนักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมาย มากกว่า ๖ ล้านคน ใน การให้บริ การด้านโอกาสทางการศึกษา คุณภาพ และประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับ ปฐมวัย ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา รวมทั้งเด็กด้อยโอกาสและเด็กพิการ ในสถานศึกษาจํานวนมากกว่า ๓๐,๐๐๐ แห่ ง โดยมีสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่กระจายอยู่ทว่ั ประเทศ กํากับดูแลและส่ งเสริ มการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ให้นาํ ความรู ้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต 0

1

1

เพ็ญณี แนรอท. สํานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการวิจยั เรื่ อง กรอบทิศทางการวิจยั ทางการศึกษา. ฮาซัน พริ้ นติ้ง. กรุ งเทพ. ๒๕๕๐. : ๑ 2 สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ สํานักนายกรัฐมนตรี . ๒๕๕๑


การพัฒ นาคุ ณ ภาพนั ก เรี ย นของสถานศึ ก ษาในสั ง กัด ให้ ไ ด้ม าตรฐาน ยัง มี ค วามแตกต่ า งกัน ตามบริ บ ทและเงื่ อ นไขต่ า ง ๆ ซึ่ งผลการประเมิ น ศัก ยภาพของนั ก เรี ย นไทยในระดับ นานาชาติ โ ดย Organization for Economic Co-operation and Development Programmed for International Student Assessment (OECD PISA, ๒๐๐๙) พบว่า เด็กไทยมี ความสามารถด้านการอ่านและด้านคณิ ตศาสตร์ อยู่ใน อันดับ ๕๐ ส่ วนความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ อยู่ในอันดับที่ ๔๘ จาก ๖๕ ประเทศ และผลการประเมิน ผลการเรี ยนรู ้ระดับชาติ (O-NET) ในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึ กษา ปี การศึ กษา ๒๕๕๓ พบว่า ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ นักเรี ยนมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเฉลี่ยตํ่ากว่าร้อยละ ๕๐ และยังมีผลการศึกษา ที่สะท้อนว่ามีนกั เรี ยนบางส่ วน มีปัญหาด้านพฤติกรรม ออกกลางคัน และไม่เรี ยนต่อ รวมทั้งยังมีสถานศึกษา อีกจํานวนมากที่ยงั ไม่ผา่ นการรับรองมาตรฐานจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์ก ารมหาชน) นอกจากนี้ ยังพบว่า การส่ งเสริ มและพัฒ นาบุ คลากรให้มีความสามารถด้านการวิจ ัย ยังไม่ทว่ั ถึงและเพียงพอ การสนับสนุ นทุนวิจยั ยังมีจาํ นวนน้อย และกระบวนการขอรับทุนวิจยั ค่อนข้างมี ขั้นตอนมากและยุ่งยาก จึงทําให้หน่ วยงานต่าง ๆ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผลงานวิจยั จํานวนน้อย และขาดการนําผลการวิจยั มาใช้ในการพัฒนาการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน จึ งกําหนดวิสัยทัศน์ ว่า “สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นองค์กรขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยให้สูงเทียบเท่า ค่าเฉลี่ ยระดับนานาชาติ (PISA) ภายในปี ๒๕๖๓ รวมทั้งลดช่ องว่างของโอกาสและคุ ณ ภาพการศึ กษา” เพื่ อให้ทิ ศทางการพัฒนาและยกระดับคุ ณภาพการศึ กษา โดยมี พ นั ธกิ จในการเพิ่ มโอกาสทางการศึ ก ษาให้ ประชากรวัย เรี ย นทุ ก คนได้รั บ การพัฒ นาให้ เป็ นบุ ค คลที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถและมี คุ ณ ลัก ษณะ ตามมาตรฐานการศึ ก ษาด้ว ยระบบการจัด การศึ ก ษาที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตามนโยบายของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน รวมทั้ง ส่ ง เสริ ม การนํา เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ใ นการเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนการสอนและการเรี ยนรู ้อย่างจริ งจัง โดยใช้กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด การศึ ก ษาด้ว ย ๖ กลยุท ธ์ คื อ ๑. พัฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดับ ๒. ปลู ก ฝั งคุ ณ ธรรม ความสํานึ ก ในความเป็ นชาติ ไทย และวิถี ชี วิต ตามหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ๓. ขยายโอกาสทาง การศึกษา ๔. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ๕. พัฒนาประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอํานาจ หลักธรรมาภิบาล และเน้นการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วนและความร่ วมมือ กับ องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น เพื่ อ ส่ งเสริ ม และสนับ สนุ น การจัด การศึ ก ษา และ ๖. พัฒ นาการศึ ก ษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้


การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านการวิจยั ของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อช่วย ให้เกิ ดองค์ความรู ้ใหม่ๆ ที่สามารถยกระดับคุณภาพการศึกษา จาก ๑๐ จุดเน้นที่สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดไว้ในปี การศึกษา ๒๕๕๔ ได้แก่ (๑) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ๕ กลุ่มสาระวิชา หลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ (๒) นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็ น (๓) นักเรี ยนทุกคนมีคุณธรรม จริ ยธรรม สํานึ กในความรักชาติ (๔) เพิ่มศักยภาพนักเรี ยนด้านภาษา คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (๕) สร้างทางเลือกในการเรี ยนรู ้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรี ยนทุกคน เข้าถึงโอกาส ทางการศึกษาอย่างทัว่ ถึง เพื่อศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ และลดอัตราการออกกลางคัน (๖) ส่ งเสริ มการจัด การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ(๗) นักเรี ยน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรี ยมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเชี่ยน (๘) นักเรี ยน ครู และสถานศึกษา ในเขตพัฒ นาพิ เศษเฉพาะกิ จ จัง หวัด ชายแดนภาคใต้ ได้รั บ การพัฒ นาอย่ างทั่ว ถึ ง และมี คุ ณ ภาพ (๙) สถานศึกษาทุกแห่ ง ผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และ ผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก และ(๑๐) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมิน คุ ณ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของสํานักงานเขตพื้น ที่ การศึ กษา ซึ่ งมี จุดเน้น ที่ เกี่ ยวข้องกับการวิจยั ได้แก่ จุดเน้นที่ (๑)- (๔) และ (๖)- (๘) จากสภาพปั ญหา และข้อกําหนดดังกล่าวข้างต้น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึ งได้ท บทวนการพัฒ นางานวิ จยั และกําหนดทิ ศทางการวิจยั ให้ชัด เจนสอดคล้อ งกับ สภาพปั ญ หาและ ข้อกําหนดเชิงนโยบาย ไว้ดงั นี้ ๑) ส่ งเสริ มให้หน่ วยงานในสังกัดดําเนิ นงานวิจยั และพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่นาํ มาใช้ในการ แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการเรี ยนการสอน และเพิ่มประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการ ๒) ส่ งเสริ ม การสร้ างนั ก วิ จ ัยใหม่ แ ละพัฒ นาเครื อข่ ายวิ จ ัย พี่ เลี้ ยงนั ก วิ จ ัยแบบมี ส่ วนร่ วมจาก หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ และสามารถนําผลวิจยั ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ร่วมกันอย่างเป็ นรู ปธรรม ๓) ส่ งเสริ มให้เขตพื้นที่การศึกษาดําเนิ นการศึกษาวิจยั ร่ วมกันเพื่อการพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้ของ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตามแนวการปฏิรูปการศึกษาให้สาํ เร็ จ ๔) สนับสนุ นการศึกษาสภาพการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป และ รู ปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในปัจจุบนั และอนาคต ๕) ส่ งเสริ มให้เขตพื้นที่การศึกษา ศึกษารู ปแบบการบริ หารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิ ทธิภาพ


วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแนวทางในการ บริ หารและการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา ๒. เพื่อให้บุคลากรในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปฏิบตั ิงานโดยใช้ กระบวนการวิจยั เป็ นเครื่ องมือ และนําผลการวิจยั ไปใช้ในการพัฒนางานที่รับผิดชอบ เป้าหมาย

๑. หน่วยงานในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกระดับมีแนวปฏิบตั ิ ในการดําเนินงานวิจยั และการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษาให้แก่บุคลากรกลุ่มเป้ าหมาย ๒. หน่วยงานในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับ ได้รับการส่ งเสริ ม สนับสนุนให้ดาํ เนินการวิจยั เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามบทบาทและภารกิจ ๓. บุคลากรในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับ สามารถปฏิบตั ิงาน โดยใช้กระบวนการวิจยั เป็ นเครื่ องมือเพิ่มขึ้น


ตอนที่ ๒ แนวทางการดําเนินงานวิจัยและการส่ งเสริมการวิจัย จากนโยบาย และทิศทางการวิจยั ที่สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด เพื่อให้ หน่วยงานในสังกัดทุกระดับ สามารถใช้กระบวนการวิจยั เป็ นเครื่ องมือในการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นระบบ จึง กําหนดโครงสร้างและแนวทางการบริ หารและการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา ดังนี้ โครงสร้ างการบริหารงานวิจัย และการส่ งเสริมการวิจัยทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้มีกลุ่มวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา เป็ นหน่วยงานภายในสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา มีโครงสร้างการบริ หารงานดังนี้ สํ านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน คณะอนุกรรมการวิจัยการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา กลุ่มวิจัยและส่ งเสริมการวิจัยทางการศึกษา

ฝ่ ายบริหารการวิจัย - กําหนดนโยบาย เป้ าหมาย ทิศทาง การส่ งเสริ มการวิจยั - กําหนดมาตรฐานและคุณภาพของ ผลงานวิจยั - กําหนดประเด็นการวิจยั - จัดทําระเบียบ/ประกาศ ข้อตกลง ในการให้ทุนอุดหนุนวิจยั ของ สพฐ. - ดําเนินการวิจยั ระดับ สพฐ. ตาม นโยบาย/ความจําเป็ นเร่ งด่วน และ วิจยั ร่ วมกับหน่วยงานอื่น - จ้างที่ปรึ กษาวิจยั - สนับสนุนทุนวิจยั - กํากับ ติดตามและรายงานผล การส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา

ฝ่ ายส่ งเสริมการวิจัย

- ส่ งเสริ ม สนับสนุน และ ประสานงานการวิจยั กับหน่วยงาน รับผิดชอบงานวิจยั ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศึกษา - ส่ งเสริ มและพัฒนาบุคลากรและ เพิ่มนักวิจยั - พัฒนาคุณภาพงานวิจยั - ส่ งเสริ ม สนับสนุนการสร้าง เครื อข่ายวิจยั ร่ วมกับหน่วยงานอื่น - กํากับ ติดตาม และรายงานผล การดําเนินงานส่ งเสริ มการวิจยั

ฝ่ ายเผยแพร่ ผลงานวิจัย

- ประสานงานการเผยแพร่ ผลงานวิจยั กับหน่วยงานในสังกัดและหน่วยงาน อื่น ๆ - พัฒนาฐานข้อมูลผลงานวิจยั - พัฒนานักวิจยั รุ่ นใหม่ - จัด/ร่ วมงานสัมมนาวิชาการและ เผยแพร่ ผลงานวิจยั ประจําปี - จัดการความรู้การวิจยั - เชื่อมโยงเครื อข่ายการวิจยั ผ่านระบบ สารสนเทศ - เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารการวิจยั -กํากับ ติดตาม และรายงานผล การเผยแพร่ ผลงานวิจยั


จากโครงสร้างการบริ หารงานการวิจยั และการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษาดังกล่าว จึงได้กาํ หนด บทบาทหน้าที่ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้องกับการดําเนิ นงานการวิจยั การศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยการให้นโยบาย คําปรึ กษา แนะนํา และแนวทางการดําเนิ นงานด้านการวิจยั การศึกษาขั้น พื้นฐาน ที่สอดคล้องกับการดําเนินงานจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. คณะอนุกรรมการวิจัยการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน คณะอนุ กรรมการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นคณะอํานวยการ กําหนดนโยบาย ทิศทางการวิจยั ทางการศึกษา กํากับ ดูแล และขับเคลื่อนการบริ หาร และการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษาให้เกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีบทบาทหน้าที่โดยตรงในการบริ หารและการส่ งเสริ ม การวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐานดังต่อไปนี้ ๒.๑ พิ จารณา กําหนดนโยบาย ทิ ศทางการบริ ห ารและการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึ กษาเพื่ อ พัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเสนอคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ ๒.๒ ให้ ค าํ ปรึ ก ษา อํานวยการ การปฏิ บ ัติ ง านด้านการบริ ห าร และการส่ งเสริ ม การวิ จ ัย ทาง การศึ ก ษาของสํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน และหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง ให้ เป็ นไปตาม นโยบาย และทิศทางการวิจยั อย่างมีประสิ ทธิภาพ ๒.๓ พิ จารณาให้ความเห็ น ชอบโครงร่ างโครงการวิจยั (Research Proposal) และขอบข่ายงาน (Term of Reference -TOR) ของโครงการวิจยั เพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒.๔ พัฒ นาเครื อข่ ายการวิจ ัย และขับ เคลื่ อนงานวิจยั เพื่ อพัฒ นาคุ ณ ภาพการจัด การศึ ก ษาขั้น พื้นฐาน ๒.๕ แต่งตั้งคณะทํางานอื่นๆ ตามความเหมาะสม ๒.๖ ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา มีภารกิจในการขับเคลื่อนการวิจยั และพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. กลุ่มวิจัยและส่ งเสริมการวิจัยทางการศึกษา สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา กลุ่มวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา มี บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบโดยตรงในด้านการดําเนินงานการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้


๑๐

๔.๑ ดําเนิ น การวิจยั และสนับ สนุ น ทุ น วิจยั เพื่ อให้ได้องค์ความรู ้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ป และ รายงานผลเพื่อใช้ในการกําหนดนโยบายหรื อการแก้ปัญหาการปฏิบตั ิงานของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๔.๒ สร้างความตระหนัก และพัฒนาความรู ้ความสามารถของบุคลากรในด้านการทําวิจยั และ ส่ งเสริ มการใช้ผลการวิจยั ในการพัฒนางาน เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการวิจยั ในการทํางานและมุ่งสร้างวัฒนธรรม การวิจยั ในการทํางานของบุคลากร ๔.๓ พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งในด้านทะเบียนงานวิจยั และ ทะเบียนนักวิจยั ๔.๔ เผยแพร่ ป ระชาสัมพัน ธ์ข่าวสารเกี่ ยวกับการวิจยั และการส่ งเสริ มการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ด้านการวิจยั ทั้งในด้านการจัดทําวารสารและการจัดเวทีสมั มนา ๔.๕ พัฒ นาเครื อข่ายความร่ วมมื อด้านการวิจยั การศึ กษาขั้น พื้น ฐานกับหน่ วยงานภายในและ หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน ๔.๖ กลุ่มวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั แบ่งงานตามความรับผิดชอบเป็ น ๓ ฝ่ าย ดังนี้ ฝ่ ายบริหารการวิจัย ทําหน้าที่ดาํ เนินการวิจยั และสนับสนุนทุนวิจยั เพื่อให้เกิดผลงานวิจยั โดยรับผิดชอบดําเนินการวิจยั ทั้งในรู ปแบบของการวิจยั ผ่านสํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ การจ้างที่ ปรึ กษา และการวิจยั ร่ วมกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ/หรื อสถานศึกษา และดําเนินการสนับสนุนทุนวิจยั แก่นิสิตนักศึกษา ระดับบัณฑิ ตศึกษา รวมถึงการติดตามการดําเนิ นงานวิจยั ในส่ วนที่รับผิดชอบให้สําเร็ จลุล่วง โดยมีภารกิจ หลัก ดังนี้ ๑) กําหนดนโยบาย ทิศทาง การบริ หาร และการส่ งเสริ มการวิจยั เสนอคณะอนุกรรมการวิจยั การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๒) กําหนดมาตรฐานและคุณภาพของผลงานวิจยั ๓) กําหนดประเด็นการวิจยั ๔) จัดทําระเบียบ/ประกาศ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่ อง การให้ทุนอุดหนุน วิจยั ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕) ดําเนินการวิจยั ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามนโยบาย/ความจําเป็ นเร่ งด่วน ๖) จัดจ้างที่ปรึ กษาวิจยั และประสานเครื อข่ายนักวิจยั ๗) สนับสนุนทุนวิจยั ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๘) กํากับ ติดตาม และรายงานผลการบริ หาร และการสนับสนุนการวิจยั ของ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งการวิจยั ร่ วมกับหน่วยงานอื่น


๑๑

ฝ่ ายส่ งเสริมการวิจัย ทําหน้าที่ส่งเสริ มการวิจยั ของหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อวางระบบสนับสนุ นการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐานให้เข้มแข็ง โดยประสานงานการดําเนิ นการวิจยั ของ กลุ่มอื่นๆ ในสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา หรื อหน่ วยงานอื่นในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดําเนิ นการและให้ทุนแก่ ผูท้ ี่มีผลงานวิจยั ดี เด่ น รวมถึงการฝึ กอบรม/พัฒนาการวิจยั พัฒนาเครื อข่ายนักวิจยั พัฒนาฐานข้อมูลการวิจยั โดยมีภารกิจหลัก ๆ ดังนี้ ๑) ส่ งเสริ ม สนับสนุนและประสานงานการวิจยั กับหน่วยงานรับผิดชอบการวิจยั ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศึกษา(เขตพื้นที่การศึกษา ควรจัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบส่ งเสริ มการวิจยั เพื่อทําหน้าที่ ส่ งเสริ มสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการวิจยั ทุกระดับในเขตพื้นที่ โดยอาจจะตั้งเป็ นศูนย์ส่งเสริ มการวิจยั ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา (ศวพ.) หรื อใช้ชื่ออื่นตามความเหมาะสม) ๒) ส่ งเสริ มและพัฒนาบุคลากรและเพิม่ นักวิจยั รุ่ นใหม่ ๓) พัฒนาคุณภาพงานวิจยั ๔) ส่ งเสริ ม สนับสนุนการสร้างเครื อข่ายการวิจยั ร่ วมกับหน่วยงานอื่น ๕) กํากับ ติดตาม และรายงานผลการดําเนินงานส่ งเสริ มการวิจยั กลุ่มเผยแพร่ ผลงานวิจัย ทําหน้าที่จดั ระบบและพัฒนาข้อมูลสารสนเทศของงานวิจยั สังเคราะห์งานวิจยั ของหน่ วยงานทั้ง ภายในและภายนอก ที่เกี่ ยวข้องกับการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และที่ได้รับทุนอุดหนุ นวิจยั เพื่อ สรุ ป รวบรวมนวัตกรรม วิธีการแก้ปัญหา และพัฒนาการศึกษาในรู ปแบบต่ าง ๆ รวบรวม เผยแพร่ และ ส่ งเสริ มให้มีการนําผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ในการเรี ยนการสอน และการบริ หารจัดการศึกษาต่อไป โดย มีภารกิจหลัก ดังนี้ ๑) ประสานการเผยแพร่ ผ ลงานวิ จ ัย กับ สํ านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน และ หน่วยงานอื่น ๒) พัฒนาฐานข้อมูลผลงานวิจยั และนักวิจยั ๓) จัด/ร่ วมงานสัมมนาวิชาการ และผลงานวิจยั ประจําปี ๔) จัดการความรู ้การวิจยั ๕) เชื่อมโยงเครื อข่ายการวิจยั ผ่านระบบสารสนเทศ ๖) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารการวิจยั ผ่านสื่ อในรู ปแบบที่หลากหลาย เช่น วารสารการ วิจยั แผ่นพับ สื่ อมัลติมีเดีย และประชุมสัมมนาวิชาการการวิจยั ๗) กํากับ ติดตาม รายงานผลการเผยแพร่ ผลงานวิจยั


๑๒

แนวทางการดําเนินงานวิจัย และส่ งเสริมการวิจัยทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดเน้นในการส่ งเสริ มการบริ หารและการส่ งเสริ ม การวิจยั การศึกษา ให้บุคลากรในสังกัดทําการวิจยั ๔ ลักษณะ ได้แก่ ทําวิจยั โดยการมีส่วนร่ วมจากทุกภาค ส่ วน การวิจยั ทางการศึกษาที่มีการพัฒนาและเชื่อมโยงเครื อข่ายนักวิจยั การวิจยั ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การวิจยั ระดับชาติ และการวิจยั ที่พฒั นาคุณภาพการศึกษาทั้งองค์กร ซึ่งแนวทางการดําเนินงานวิจยั และ ส่ งเสริ มการวิจยั ประกอบด้วย ๒ ส่ วน ได้แก่ การวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ระดับสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มี รายละเอียด ดังนี้ การบริหาร และการส่ งเสริมการวิจัยการศึกษาระดับสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การบริ ห าร และการส่ งเสริ ม การวิจยั ในระดับ สํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน มี วิธีดาํ เนินการ ๓ ลักษณะ คือ ๑) การให้ ทุนอุดหนุนวิจัยที่เสนอผ่ านความเห็นชอบจาก สํ านักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่ งชาติ ให้แก่บุคลากรในสังกัด ทั้งในส่ วนกลาง เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ที่เป็ นชุดโครงการวิจยั หรื อ วิจยั เดี่ยว โดยควรดําเนินการวิจยั ในรู ปแบบของเครื อข่ายนักวิจยั มีแนวการดําเนินงาน ดังนี้ ๑.๑) ประชาสั ม พัน ธ์ ให้ บุ ค ลากรในสั ง กัด สํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน ส่ งโครงการวิจยั ที่ขอรับการสนับสนุนทุนวิจยั ดังนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดําเนินการวิเคราะห์รายละเอียดของเอกสาร เงื่อนไข การส่ งโครงการวิจยั ที่ขอรับการสนับสนุ นงบประมาณตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ กาํ หนด พร้ อมทั้งจัดคําชี้ แจงการบัน ทึ กข้อมูล รายละเอี ยด กระบวนการ ขั้น ตอน วิธีการ และ ระยะเวลา การบัน ทึ ก ตามแบบฟอร์ ม การส่ งโครงการฯ ผ่านระบบบริ ห ารงานวิ จ ัย แห่ งชาติ (National Research Project Management -NRPM) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดําเนินการประชาสัมพันธ์ ให้หน่วยงานในสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบเกี่ยวกับกําหนดการ กระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ และ ระยะเวลาในการส่ งโครงการวิจยั ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ และเชิญชวนให้บุคลากรส่ งโครงการฯ โดยแนะนําขั้นตอนการพิมพ์รายละเอียดโครงการในระบบ NRPM ของ สํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ พร้อมทั้งแนบเอกสารชี้แจง การทําความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของการเขียนโครงการ ผู ้ท่ี ป ระสงค์ จ ะขอรั บ การสนั บ สนุ นงบประมาณวิ จ ั ย ต้ อ งศึ ก ษาแบบฟอร์ ม ที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ กาํ หนด ในการส่ งข้อเสนอโครงการวิจยั และจัดทําข้อเสนอโครงการวิจยั รวมทั้งคู่มือการประเมินผลข้อเสนอโครงการวิจยั ที่สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด คือ


๑๓

แบบแผนงานวิจยั /ชุดโครงการวิจยั (แบบ ว-1ช) หรื อโครงการวิจยั เดี่ยว (แบบ ว-1ด) เพื่อขอรับทุนสนับ สนุน การวิจยั ในปี งบประมาณต่อไป แล้วจัดส่ งข้อเสนอการวิจยั จํานวน 4 ชุ ด (กรรมการ 3 ชุ ด และสํานักงาน คณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐาน 1 ชุ ด) และพิมพ์ขอ้ เสนอการวิจยั ผ่านระบบ NRPM ของสํานักงาน คณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ(โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ) พร้อมหนังสื อนําส่ งจากหน่ วยงานไปยังสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แบบฟอร์มมีปรากฏใน htpp//www.nrct.net) ๑.๒) ส่ งโครงการวิจยั ที่ ขอรั บการสนับสนุ น งบประมาณทุ น วิจยั ให้สํานัก งานคณะกรรมการ การวิจยั แห่ งชาติพิจารณา ดังนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดําเนิ นการวิเคราะห์รายละเอียด และความสมบูรณ์ ของโครงการวิจยั ที่ขอรับการสนับสนุ นงบประมาณวิจยั และแจ้งให้นกั วิจยั ปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะและ ปรับ แก้ไขในระบบ NRPM พร้อมทั้งรวบรวมรายละเอียดโครงการฯ สรุ ปวงเงินงบประมาณทั้งประเภท และลัก ษณะของการวิ จ ัย ที่ เป็ นชุ ด โครงการวิ จ ัย หรื อ วิ จ ัย เดี่ ย ว จําแนกตามเขตพื้ น ที่ เพื่ อ นําเข้าระบบ ฐานข้อ มู ล วิ จ ัย ของ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน และรวบรวมรายงานสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน เพื่ อ ขอความเห็ น ชอบและลงนามในหนั ง สื อ นํ า ส่ ง สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการวิจยั แห่งชาติ พิจารณาในขั้นต่อไป เมื่ อ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการวิ จ ัย แห่ ง ชาติ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ในการสนั บ สนุ น /หรื อ ไม่ สนับสนุ น งบประมาณโครงการวิจยั แล้วแจ้งสํานักงบประมาณพิจารณาวงเงิ น เพื่ อแจ้งให้สํานัก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบต่อไป ๑.๓) พิจารณางบประมาณสนับสนุนทุนวิจยั ดังนี้ เมื่อสํานักงบประมาณแจ้งวงเงินที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจยั แต่ละโครงการให้สาํ นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะดําเนิ นการปรับ ลด-เพิ่มวงเงินงบประมาณทุกโครงการให้สอดคล้องกับวงเงินที่ได้รับ โดยเชิ ญผูท้ รงคุณวุฒิ ร่ วมพิจารณา ความเหมาะสมของโครงการกับ วงเงิ น ที่ ไ ด้รับ หรื อ จะพิ จ ารณาโจทย์/ปั ญ หาวิจ ัย จํานวนกลุ่ ม ตัว อย่าง ระเบียบวิธีวิจยั ระยะเวลา ค่าใช้จ่ายที่จาํ เป็ น และผลการวิจยั ที่จะเกิดประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษามาก น้อยเพียงใด เมื่ อปรั บวงเงิน ของแต่ ละโครงการแล้ว สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน จะเชิ ญ นักวิจยั มานําเสนอโครงการวิจยั และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั ผูท้ รงคุณวุฒิ เพื่อทําความเข้าใจ รับฟั งการชี้ แนะ และยอมรับที่จะปรับปรุ งโครงการตามข้อเสนอแนะของผูท้ รงคุณวุฒิ และยอมรับวงเงินงบประมาณที่ได้ ปรับลด ก่อนการทําสัญญารับเงินสนับสนุนการวิจยั ๑.๔) ทําสัญญาการขอรับทุนอุดหนุนวิจยั ดังนี้ หลังจากผูว้ ิจยั รับทราบข้อเสนอแนะผลการพิจารณาโครงการและวงเงินงบประมาณและยอมรับ ตามข้อเสนอแนะแล้ว ก็จะลงนามในสัญญาขอรับทุนกับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม


๑๔

แบบฟอร์มที่กาํ หนด (จํานวน 2 ชุด) พร้อมด้วยเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และหนังสื อนําส่ งจากหน่วยงานไป ยังสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมทั้งปรับปรุ งข้อเสนอการวิจยั ผ่านระบบ NRPM ๑.๕) รับงบประมาณสนับสนุนทุนวิจยั เมื่อสํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติเห็ นชอบให้ดาํ เนิ นการวิจยั นักวิจยั และคณะดําเนิ น การวิจยั ปฏิบตั ิตามขั้นตอนและข้อเสนอวิจยั แล้วให้จดั ทํารายงานความก้าวหน้า และรายงานการวิจยั ฉบับ สมบู ร ณ์ (ที่ ป รั บ แก้ไ ขแล้ว ) จํานวน 5 ชุ ด พร้ อ มบัน ทึ ก ข้อ มู ล แบบซี ดี รอม จํานวน 1 แผ่น ส่ งสํานัก งาน คณะกรรมการการศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน โดยสามารถเบิ ก จ่ ายงบประมาณการวิจยั ที่ ได้รับ งบประมาณทุ น วิจยั (ประเภทเงินอุดหนุนทัว่ ไป) ตามเงื่อนไขสัญญา ๑.๖) นําผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ สํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานจัด พิ ม พ์เผยแพร่ รายงานการวิจ ัยฉบับ สมบู รณ์ สังเคราะห์ผลการวิจยั และรวบรวมผลการวิจยั เผยแพร่ ให้เขตพื้นที่ และสถานศึกษา นําไปใช้ในการพัฒนา และยกระดับ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาในรู ป แบบต่ าง ๆ เช่ น การทดลองใช้น วัต กรรมพัฒ นา การปรั บ เปลี่ ย น กิจกรรมการเรี ยนรู ้และการปรับโครงสร้างงานฯลฯ เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาจากผลงานวิจยั ๑.๗) พัฒนานักวิจยั ดังนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นทะเบียนนักวิจยั ที่ได้รับงบประมาณทุนวิจยั พร้อม ทั้งแจ้งให้เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาทราบเพื่อให้ครู และบุคลากรทางการศึกษา หรื อผูท้ ี่สนใจใช้เป็ น แหล่งเรี ยนรู ้เกี่ ยวกับการของบประมาณสนับสนุ นทุนวิจยั แก่ ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งผูส้ นใจ นอกจากนี้ สํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน สนับ สนุ น ส่ งเสริ ม นัก วิ จ ัย กลุ่ ม นี้ ให้ จ ัด ทําชุ ด โครงการวิจยั ต่อยอดจากงานวิจยั เดิม เพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญในเนื้ อหาและวิธีการวิจยั ในลักษณะการสร้างทีม วิจยั เป็ นทีม และสร้างนักวิจยั ใหม่ไปพร้อมกันด้วย ๒) สํ านักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐานดําเนิ นการวิจัยเอง หรื อดําเนิ นการวิจัยร่ วมกับ สํ านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา และหรือสถานศึกษา หรือดําเนินการวิจัยร่ วมกับหน่ วยงาน/องค์ กรอิสระ ภาครัฐ และเอกชน ตามข้อตกลงความร่ วมมือ (Memory of Understanding -MOU) มีแนวการดําเนินงาน ดังนี้ ๒.๑) คณะอนุกรรมการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาและกําหนดเรื่ อง/ประเด็นการวิจยั เพื่อ พัฒนาคุณ ภาพการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแจ้งให้ สํานักงานคณะกรรมการการศึ กษา ขั้นพื้นฐาน ๒.๒) กลุ่มวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษารับเรื่ อง/ประเด็นการวิจยั จากสํานักงาน


๑๕

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและออกแบบการวิจยั เรื่ องที่กาํ หนด ๒.๓) กลุ่มวิจยั ฯ ขออนุมตั ิการวิจยั ตามที่ออกแบบไว้ ๒.๔) กลุ่มวิจยั ฯ ดําเนินการวิจยั ถ้าต้องวิจยั ร่ วมกับเขตพื้นที่การศึกษา และหรื อสถานศึกษา จะ ประสานงานการวิจยั กับเขตพื้นที่การศึกษาและหรื อสถานศึกษาที่ร่วมวิจยั เป็ นระยะ ๆ ตามที่ออกแบบไว้ ๒.๕) กลุ่มวิจยั ฯ รายงานความก้าวหน้าการวิจยั ให้สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทราบเป็ นระยะ ๆ ๒.๖) กลุ่มวิจยั ฯ สรุ ปรายงานผลการวิจยั ให้สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ ๒.๗) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เผยแพร่ ผลการวิจยั ให้แก่ผเู ้ กี่ยวข้อง นําไปใช้ในการพัฒนางาน ๓) การจ้ างทีป่ รึกษาวิจัย เป็ นการวิจยั ตามนโยบายหรื อมีความจําเป็ นเร่ งด่วนที่ตอ้ งแก้ปัญหาหรื อต้อง อาศัยนักวิจยั หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีความชํานาญเฉพาะด้าน มีแนวการดําเนินงาน ดังนี้ ๓.๑) คณะอนุ กรรมการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาและกําหนดเรื่ อง/ประเด็นการวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแจ้งให้สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานทราบ ๓.๒) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานขออนุมตั ิทาํ สัญญาจ้างที่ปรึ กษาวิจยั และขอ อนุมตั ิจดั จ้างการวิจยั ๓.๓) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกาศ หรื อติดต่อหน่ วยงานที่มีความ ถนัด/ความสามารถในเรื่ องที่จะวิจยั ๓.๔) หน่วยงานที่สนใจ ส่ งข้อเสนอการรับเป็ นที่ปรึ กษาการวิจยั ให้สาํ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณา ๓.๕) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานคัดเลือกหน่วยงานที่เหมาะสมให้รับงานวิจยั และขออนุมตั ิจดั จ้างทํางานวิจยั ๓.๖) หน่ วยงานที่ ได้รับ การคัด เลื อกทําสัญ ญาจ้างกับ สํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน ๓.๗) หน่วยงานที่ได้รับคัดเลือกรายงานความก้าวหน้าของการวิจยั เป็ นระยะ ๆ ตามสัญญาจ้าง โดยนําเสนอก่อนส่ งรายงานให้สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ นระยะ ๆ ๓.๘) หน่วยงานที่ได้รับคัดเลือกสรุ ปรายงานการวิจยั ส่ งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓.๙) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเผยแพร่ ผลการวิจยั และนําผลการวิจยั ไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


๑๖

ตัวชี้วดั ความสํ าเร็จการบริหารและการส่ งเสริมการวิจัยทางการศึกษาระดับสํ านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๑. บุคลากรในสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปฏิบตั ิงานในความรับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการวิจยั อย่างสมํ่าเสมอ และต่อเนื่อง ๒. บุคลการในสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นําผลการวิจยั ไปใช้ในการพัฒนา งานที่รับผิดชอบ ๓. มีเครื อข่ายการวิจยั ที่มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และร่ วมพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ๔. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผลงานวิจยั ที่นาํ ไปพัฒนาการจัดการศึกษาเพิม่ ขึ้น การวิจัยและส่ งเสริมการวิจัยระดับสํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา และสถานศึกษา การบริ หาร และการส่ งเสริ มการวิจยั การศึกษาระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มีการดําเนินงานได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษาดําเนินการวิจยั เอง ในโครงการวิจยั ตามนโยบายหรื อ ความจําเป็ นเร่ งด่วนของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ตอ้ งการ แก้ปัญหาหรื อพัฒนา หรื อดําเนิ นการร่ วมกับสถานศึกษา หรื อร่ วมกับหน่ วยงาน/องค์กรอิสระ ภาครัฐและ เอกชน โดยใช้งบประมาณของเขตพื้นที่/สถานศึกษา ที่ได้รับจัดสรรจาก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน หรื อ เป็ นการดําเนิ น งานวิจ ัยตามข้อตกลงความร่ ว มมื อ (MOU) กับ หน่ ว ยงานอื่ น โดยแสวงหา งบประมาณดําเนินการวิจยั เองจากหน่วยงานภายนอก หรื อใช้งบประมาณของเขตพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานอื่น ๒. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษาดําเนินการชุดโครงการวิจยั โดยผ่านความเห็นชอบของ สํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ ซึ่งเขตพื้นที่ได้รับทุนอุดหนุนวิจยั หรื อเขตพื้นที่ ร่ วมกับสถานศึกษา ขอทุนอุดหนุนและได้รับทุนอุดหนุนวิจยั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ ประสงค์จะดําเนิ นการวิจยั ตามกรอบทิศทาง นโยบายและความ ต้องการของสํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน ให้ด าํ เนิ น การวิจ ัยแบบชุ ด โครงการที่ มีก าร ประสานกับสถานศึกษา และหน่ วยงาน องค์กรต่าง ๆ เป็ นเครื อข่ายความร่ วมมือทางวิชาการอย่างเป็ นระบบ เพื่อสร้างนักวิจยั ใหม่ และเสริ มสร้างความเข้มแข็งในด้านการวิจยั ของเขตพื้นที่ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษายุทธศาสตร์ นโยบาย ความต้องการภาพรวมงานวิจยั ของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประเด็นการวิจยั ที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กําหนดให้ทาํ และศึกษารายละเอียดในการเขียนข้อเสนอการวิจยั ประกาศ ระเบียบ หลักเกณฑ์การขอรับ ทุนอุดหนุนวิจยั และคู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจยั ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตาม แบบที่สาํ นักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่งชาติกาํ หนด


๑๗

๒.๒ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เลือกหัวข้อเรื่ องวิจยั ในประเด็นที่สอดคล้องกับบริ บทและ ความต้องการของพื้นที่ นโยบาย กลยุทธ์การวิจยั ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเน้น การวิจยั ที่เป็ นชุดโครงการที่มีการประสานเครื อข่ายคณะวิจยั ร่ วมจากโรงเรี ยน หน่ วยงาน องค์กรต่าง ๆ ที่มี ความพร้อมในการทําวิจยั ในด้านต่าง ๆ เช่น ความเชี่ยวชาญ กําลังคน เวลา สถานที่ ๒.๓ การขอรับทุนวิจยั คณะวิจยั แต่ละชุดโครงการ จะต้องจัดทําข้อเสนอการขอรับทุนวิจยั ตาม แบบฟอร์ มที่สํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติกาํ หนด และส่ งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้น พื้น ฐาน จํานวน ๔ ชุ ด พร้ อมหนังสื อนําส่ งจากหน่ วยงานต้น สังกัด การดําเนิ น งานในขั้น ตอนต่ างๆ ต้องผ่านการรับทราบจากหน่วยงานต้นสังกัด ๒.๔ การปรั บปรุ งโครงร่ างวิจยั ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ คณะวิจยั แต่ละชุ ด เมื่ อ รั บ ทราบผลการพิ จารณาของคณะกรรมการ จะต้องปรั บ ปรุ งข้อเสนอแนะการวิจยั และจัด ส่ งสํานัก งาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน จํานวน ๒ ชุ ด พร้ อมหนังสื อนําส่ งจากหน่ วยงาน มายัง สํานัก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และจัดพิมพ์ขอ้ เสนอแนะการวิจยั ผ่านระบบ NRPM ๒.๕ รับทราบผลการประเมินข้อเสนอการวิจยั ของสํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ เมื่อ สํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติเห็นชอบให้ดาํ เนิ นการวิจยั และแจ้งให้ผวู ้ ิจยั รับทราบข้อเสนอแนะ การปรับปรุ งข้อเสนอการวิจยั จากสํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ (ในกรณี ที่ได้รับความเห็นชอบ) ต้อ งจัด ทํา ข้อ เสนอแนะการวิ จ ัย ที่ ไ ด้ ป รั บ ปรุ งแก้ ไ ขแล้ว ผ่ า นระบบ NRPM ตามเวลาที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการ การวิจยั แห่ งชาติเปิ ดรับในระบบ NRPM และจัดส่ งข้อเสนอการวิจยั ที่สมบูรณ์ จํานวน ๒ ชุด พร้อมหนังสื อนําส่ งจากหน่วยงาน มายังสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒.๖ การทําสัญญาขอรับทุนกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะวิจยั ต้องลง นามในสัญญากับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแบบฟอร์ มที่กาํ หนด (จํานวน ๒ ชุ ด) และดําเนินการวิจยั ตามข้อเสนอการวิจยั และรายงานความก้าวหน้าตามสัญญา ๒.๗ การดําเนินการวิจยั คณะวิจยั ดําเนินการวิจยั แล้วจัดทํารายงานความก้าวหน้า และรายงาน การวิจยั ฉบับสมบูรณ์ จํานวน ๕ ชุด พร้อมบันทึกข้อมูลในซีดี จํานวน ๑ แผ่น ส่ งสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสามารถเบิกจ่ายงบประมาณการวิจยั ที่ได้รับทุนอุดหนุนตามเงื่อนไขสัญญา ๒.๘ การเผยแพร่ และการนําผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จัดพิมพ์เผยแพร่ รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ สังเคราะห์ผลการวิจยั และรวบรวมผลการวิจยั ให้ นําไปใช้ในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ตัวชี้วัดความสํ าเร็ จการบริ หารและการส่ งเสริ มการวิจัยทางการศึ กษาระดับเขตพื้นที่การศึ กษา/ ระดับสถานศึกษา ๑. บุคลากรในหน่วยงาน เป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู ้ และใช้ผลการเรี ยนรู ้เป็ นเครื่ องมือพัฒนางานใน


๑๘

ความรับผิดชอบ ๒. เขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษา มีผลงานวิจยั ที่สอดคล้องกับกรอบ ทิศทาง นโยบาย จุดเน้น ความต้องการของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา และนําผลการวิจยั มาแก้ปัญหาและหรื อพัฒนางานที่รับผิดชอบ ๓. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษา เป็ นองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ดา้ นการวิจยั


๑๙

ตอนที่ ๓ การบริหารและการส่ งเสริมการวิจัยทีป่ ระสบผลสํ าเร็จ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้สังเคราะห์การบริ หาร และการส่ งเสริ มการวิจยั จากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ประสบผลสําเร็ จด้านการวิจยั และมีผลงานวิจยั ที่เป็ นประโยชน์เป็ นจํานวนมาก ได้ ๔ ประเด็น คือ ๑) แนวปฏิบตั ิการบริ หาร และการส่ งเสริ มการวิจยั ทางการศึกษา ๑๘ ประการ ๒) การบริ หาร จัด การงานวิ จ ัย ที่ ไ ด้รับ งบประมาณสนับ สนุ น การวิ จ ัย ๓) ปั จ จัย ที่ เอื้ อ ต่ อ ความสําเร็ จ และ ๔) เงื่ อ นไข ความสําเร็ จ มีรายละเอียด ดังนี้ ๑. จัดให้ มีหน่ วยงาน และผู้รับผิดชอบการวิจัย ๑.๑ จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบการวิจยั ที่ชดั เจน ๑.๒ กําหนดให้มีงานวิจยั ในโครงสร้างการบริ หารงานทุกระดับ โดยจัดให้มีสายงานการบังคับ บัญชาในการบริ หารงานด้านการวิจยั อย่างชัดเจน ๑.๓ กําหนดบทบาทหน้าที่ภารกิจในการดําเนินงานด้านการวิจยั ๑.๔ จัดหาบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถ และทักษะหรื อประสบการณ์รับผิดชอบงานวิจยั ๑.๕ จัดให้มีคณะกรรมการบริ หารงานวิจยั ๒. กําหนดนโยบาย กลยุทธ์ และแผนการดําเนินการวิจัย ๒.๑กําหนด นโยบาย ยุท ธศาสตร์ และแผนการดําเนิ น งานวิจยั ที่ ส อดคล้องกับ ยุท ธศาสตร์ การวิจยั ของชาติ ๒.๒ นําผลการวิจยั มาใช้ในการปรับเปลี่ยนนโยบายและยุทธศาสตร์ดา้ นการศึกษาหรื อด้านอื่นๆ ๒.๓ ให้มีการรายงานผลการดําเนินงาน(นโยบาย ยุทธศาสตร์)ให้ตน้ สังกัดทราบอย่างน้อยปี ละ ๑ ครั้ง ในทุกระดับ ๓. กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินการวิจัย ๓.๑ กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินงานวิจยั เช่น การบริ หารงานวิจยั มาตรฐานคุณภาพ แนวปฏิบตั ิในการวิจยั ความสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจยั ระดับชาติ การวิจยั และพัฒนา (Research and Development) หลักการให้ทุนการวิจยั การนําผลการวิจยั ไปใช้ การเผยแพร่ ผลงานวิจยั ฯลฯ ๓.๒ ประกาศใช้หลักเกณฑ์การวิจยั ให้ผเู ้ กี่ยวข้องทราบ ๓.๓ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องทราบ


๒๐

๔. จัดให้ มีงบประมาณสนับสนุนการว◌ิจัย ๔.๑ สนับสนุนงบประมาณในรู ปแบบเงินอุดหนุนให้กบั การทํางานวิจยั อย่างต่อเนื่อง ๔.๒ จัดทําเอกสาร/เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์แหล่งสนับสนุนทุนการวิจยั ๔.๓ ประชาสัมพันธ์แหล่งสนับสนุนทุนการวิจยั จากหน่วยงานต่าง ๆ อย่างแพร่ หลาย ๔.๔ สร้างเครื อข่ายสนับสนุนด้านงบประมาณการวิจยั ๔.๕ สร้างเครื อข่ายร่ วมสนับสนุนงบประมาณ และร่ วมดําเนินการวิจยั ๔.๖ ประกาศเกียรติคุณผูส้ นับสนุนทุนการวิจยั ๔.๗ เสนอรัฐบาลให้ความเห็นชอบในการลดหย่อนภาษีให้กบั องค์กรเอกชน/บุคคลสนับสนุน การวิจยั ทางการศึกษา ๕. สร้ างและพัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้เกีย่ วกับการวิจัย ๕.๑ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ นศูนย์กลางในการบริ หารจัดการการวิจยั และพัฒนาบุคลากรการวิจยั ๕.๒ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสํานักงานเขตพื้นที่จดั ตั้งศูนย์วิจยั และ พัฒนา เพื่อรับผิดชอบการขับเคลื่อนการวิจยั ๕.๓ พัฒนาระบบฐานข้อมูล และสารสนเทศเกี่ยวกับการวิจยั ๕.๔ จัดทําคลังข้อมูลและสารสนเทศที่ทนั สมัยด้วยระบบ ICT เกี่ยวข้องกับงานวิจยั อย่างพอเพียง ๕.๕ เชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านการวิจยั กับหน่วยงาน สถาบันต่าง ๆ ที่มีผลงานการวิจยั ๕.๖ ให้บริ การข้อมูลสารสนเทศ และแหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นการวิจยั ด้วยรู ปแบบที่หลากหลาย ๕.๗ จัดให้มีผเู ้ ชี่ยวชาญ ให้บริ การให้คาํ ปรึ กษางานวิจยั ผ่านเครื อข่าย ICT ๕.๘ ให้บริ การการวิจยั ด้วยเครื อข่ายออนไลน์ ๕.๙ จัดทําเว็บบอร์ดเป็ นพื้นที่เพื่อการสนทนา แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดา้ นความรู ้เรื่ องการวิจยั ๕.๑๐ จัดหาสถานที่สาํ หรับเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้การวิจยั ๕.๑๑ จัดหาและให้บริ การสื่ อ วัสดุ ครุ ภณ ั ฑ์ที่จาํ เป็ นและเอกสารที่เกี่ยวข้องในการพัฒนางานวิจยั ๖. จัดให้ มีคลินิกวิจัย โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้ านการวิจัยเป็ นทีป่ รึกษา และร่ วมคิดร่ วมทํากับนักวิจัยทุกระดับ ๖.๑ จัดคลินิกให้คาํ ปรึ กษาเกี่ยวกับการทําวิจยั ๖.๒ จัดให้มีผเู ้ ชี่ยวชาญให้บริ การในคลินิกนักวิจยั และให้สามารถติดต่อกับผูเ้ ชี่ยวชาญในช่องทาง ผ่านระบบเครื อข่าย ICT ๖.๓ จัดให้มีพี่เลี้ยง (Mentor) ในการ “พาทําวิจยั ” ๖.๔ จัดสรรค่าตอบแทนให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ/เครื อข่ายให้บริ การงานวิจยั พี่เลี้ยงนักวิจยั ที่ให้บริ การในคลินิก ตามความเหมาะสม


๒๑

๗. ปรับกระบวนทัศน์ ด้านการวิจัย และการบริโภคงานวิจัย ๗.๑ สื่ อสาร ทําความเข้าใจ และสร้างความตระหนักให้บุคลากรเห็นความสําคัญของการวิจยั ๗.๒ ส่ งเสริ มให้มีการทําวิจยั เป็ นชุด ๗.๓ ส่ งเสริ มให้บุคลากรในหน่วยงานศึกษาค้นคว้า และนําผลงานวิจยั มาใช้ในการพัฒนางาน ๗.๔ ส่ งเสริ มการสร้างวัฒนธรรมการวิจยั ในการปฏิบตั ิงานในองค์กร ๗.๕ ปลูกฝังจิตสํานึกนักวิจยั เกี่ยวกับจรรยาบรรณนักวิจยั ๘. สร้ างความรู้ความเข้ าใจเกีย่ วกับการวิจัย ๘.๑ พัฒนาบุคลากรทางด้านการวิจยั ๘.๒ สร้างความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจยั โดยใช้ e-learning ๘.๓ จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการเกี่ยวกับกระบวนการวิจยั ให้แก่นกั วิจยั ๘.๔ จัดกิจกรรมให้ครู ได้ฝึกทักษะในการทําวิจยั ๘.๕ สนับสนุนให้ครู นาํ ผลการวิจยั ไปใช้พฒั นาการจัดการเรี ยนรู ้ ๘.๖ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ในลักษณะ Research Forum/KM/Symposium ด้านการวิจยั ๙. สร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั นักวิจัย ๙.๑ ปลูกฝังจิตสํานึกนักวิจยั เกี่ยวกับจรรยาบรรณนักวิจยั ๙.๒ เพิ่มความรู ้ดา้ นการวิจยั ให้แก่นกั วิจยั อย่างต่อเนื่อง สมํ่าเสมอ ๙.๓ จัดให้มีเอกสาร วารสารความรู ้ดา้ นการวิจยั ให้บริ การนักวิจยั อย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ ๙.๔ จัดส่ งเอกสาร เผยแพร่ ความรู ้ดา้ นการวิจยั ให้นกั วิจยั ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอย่างสมํ่าเสมอ ๙.๕ ส่ งเสริ ม และสนับสนุนให้บุคลากรทําวิจยั อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลูกฝังให้มีจิตวิจยั และเป็ น วัฒนธรรมการวิจยั ในการเรี ยนรู ้ดว้ ยกระบวนการวิจยั ๙.๖ ส่ งเสริ มให้บุคลากรในสังกัดทําวิจยั เพื่อสร้างองค์ความรู ้ใหม่และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ ๑๐. สร้ างนักวิจัยเพิม่ ขึน้ ๑๐.๑ จัดให้มีโครงการวิจยั ที่ช่วยสร้างนักวิจยั รุ่ นใหม่ ๑๐.๒ ส่ งเสริ มให้ครู และนักเรี ยนทําวิจยั ทั้งเต็มรู ปแบบของการวิจยั และเป็ นรู ปแบบอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับศักยภาพและบริ บท บทบาท หน้าที่และภารกิจ ๑๐.๓ มีคลินิกวิจยั ช่วยพัฒนาคุณภาพนักวิจยั ด้านเทคนิคการเขียนโครงการวิจยั และการขอทุน วิจยั ที่พฒั นาการเรี ยนการสอนทุกประเภท


๒๒

๑๐.๔ ส่ งเสริ มให้มีการรวมกลุ่มนักวิจยั ในรู ปแบบ ชมรม สมาคม ฯลฯ เพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ผมู ้ ี ผลงานวิจยั ดี และยกระดับนักวิจยั สู่มืออาชีพ ๑๑. ส่ งเสริมบุคลากรให้ ปฏิบัติงานปกติ โดยใช้ กระบวนการวิจัย (From Routine to Research) ๑๑.๑ สร้างความตระหนักให้บุคลากรในสังกัดเห็นความสําคัญของการหาความรู ้ในการปฏิบตั ิงาน โดยใช้กระบวนการวิจยั ๑๑.๒ สร้างความเข้าใจและสื่ อสารให้ครู และบุคลากรทําการวิจยั ให้เหมาะสมกับภารกิจและ บทบาทของแต่ละบุคคล ๑๑.๓ พัฒนาบุคลากรให้ปฏิบตั ิงานปกติ โดยใช้กระบวนการวิจยั ๑๑.๔ ส่ งเสริ มให้บุคลากรในสังกัดปฏิบตั ิงานปกติโดยใช้กระบวนการวิจยั ๑๑.๕ จัดกิจกรรมให้ครู ได้จดั การเรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการวิจยั อย่างต่อเนื่อง โดยมีการวางแผน ร่ วมกัน พาทํา จนกว่าครู จะมัน่ ใจในการทําวิจยั ๑๑.๖ จัดหาผูท้ รงคุณวุฒิให้คาํ ปรึ กษา ให้ขอ้ เสนอแนะในการทํางานวิจยั ๑๑.๗ ยกย่องเชิดชูเกียรติและให้รางวัลบุคลากรในสังกัดที่มีผลงานวิจยั ๑๑.๘ เผยแพร่ ผลงานวิจยั ที่ผา่ นการพิจารณาของคณะกรรมการที่รับผิดชอบแล้ว ๑๒. ส่ งเสริมการนําผลการวิจัยไปใช้ ในการแก้ ปัญหา /พัฒนางาน ๑๒.๑ ศึกษาแนวทาง และรู ปแบบการนําผลวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ๑๒.๒ จัดการความรู ้เกี่ยวกับการนําผลงานวิจยั ไปใช้พฒั นางานให้ประสบความสําเร็ จ ๑๒.๓ ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้เขตพื้นที่รวบรวมผลงานวิจยั นําเสนอแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ให้เกิดการ นําผลงานวิจยั ไปใช้แก้ปัญหา และพัฒนาการเรี ยนการสอนในสถานศึกษา ๑๒.๔ ส่ งเสริ มให้บุคลากรนําผลการวิจยั ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนางาน ๑๒.๕ จัดให้มีการนําผลการวิจยั ไปใช้ในการแก้ปัญหา /พัฒนางานที่รับผิดชอบอย่างสมํ่าเสมอ และต่อเนื่อง ๑๒.๖ ประสานความร่ วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการนําผลการวิจยั ไปใช้เพื่อ แก้ปัญหาหรื อพัฒนางานของหน่วยงาน ๑๒.๗ จัดให้มีการนําผลการติดตามการดําเนินงานวิจยั ไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุ งการดําเนินการ ในรอบต่อไปอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๘ ส่ งเสริ มให้นาํ ผลการวิจยั มาพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๙ จัดให้มีการประกวดสื่ อ นวัตกรรมทางการศึกษาที่ใช้ในการแก้ปัญหาพัฒนางานประจําทุกปี


๒๓

๑๓. จัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้การวิจัยในลักษณะ Symposium หรือ Knowledge Management-KM ๑๓.๑ จัดให้มีเวทีสมั มนาและนําเสนอผลงานวิจยั ในลักษณะ Symposium หรื อ Knowledge Management ประจําปี ๑๓.๒ จัดให้มีการนําเสนอผลงานวิชาการ (Symposium) เพื่อแสดงผลงานวิจยั ประเภทต่าง ๆ ของ กลุ่มนักวิจยั ใหม่ ๑๓.๓ จัดให้มีการเสนอผลงานวิชาการ (Symposium) และผลงานวิจยั ในเวทีระดับประเทศ และ นานาชาติ เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพนักวิจยั ๑๓.๔ จัดให้มีเวทีนาํ เสนอผลงานวิจยั โดยมีผทู ้ รงคุณวุฒิ ด้านการวิจยั วิพากษ์ เติมเต็มงานวิจยั ให้ สมบูรณ์ ๑๓.๕ จัดให้มีการประกวดผลงานวิจยั เป็ นประจําทุกปี ๑๓.๖ มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ผลงานวิจยั ด้วยรู ปแบบที่หลากหลาย ๑๓.๗ ส่ งเสริ มการนําเสนอและเผยแพร่ ผลงานวิจยั ระดับนานาชาติ ๑๓.๘ จัดทําเอกสาร สารสนเทศ รวบรวมผลงานวิจยั เพื่อการเผยแพร่ ๑๓.๙ มีการเผยแพร่ ผลงานวิจยั อย่างสมํ่าเสมอทางสื่ อต่าง ๆ ๑๓.๑๐ ให้ บ ริ ก ารเผยแพร่ สื่ อ และเอกสารงานวิ จ ัย ที่ เกี่ ย วข้อ งด้ว ยความรวดเร็ ว และง่ ายต่ อ การเข้าถึงการให้บริ การ ๑๓.๑๑ จัดเผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับการวิจยั และสามารถโต้ตอบได้สะดวกรวดเร็ วทางสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ ICT และเว็บบอร์ด ๑๔. สร้ างเครือข่ ายการวิจัยทั้งหน่ วยงานภาครัฐ และเอกชน ๑๔.๑ จัดให้มีการรวมกลุ่มในรู ปแบบ ชมรม สมาคม ฯลฯ และจัดให้มีการพบปะ ประชุม อบรม สัมมนา เป็ นประจําทุกปี ๑๔.๒ จัดให้มีเว็บไซต์เฉพาะสําหรับการวิจยั เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ๑๔.๓ ประสานความร่ วมมือกับสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสร้างเครื อข่ายการวิจยั ๑๔.๔ ประสานความร่ วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐและเอกชนในการดําเนิ นงานวิจยั เพื่อแก้ปัญหา หรื อพัฒนางานในท้องถิ่นของแต่ละหน่วยงาน เช่น กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เป็ นต้น ๑๔.๕ จัดให้มีเวทีการประชุมสัมมนาระหว่างองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อนําไปสู่ หัวข้อ/ ปัญหาการวิจยั ร่ วมกัน ๑๔.๖ มีการประสาน/สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือในการวิจยั กับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน เพื่อให้มีส่วนร่ วมในการสร้างงานวิจยั ที่สามารถนําผลวิจยั ไปใช้ประโยชน์ได้จริ ง ๑๔.๗ ส่ งเสริ มให้มีการวิจยั โดยร่ วมมือกับเครื อข่ายวิจยั ที่เป็ นหน่วยงานภายนอกในรู ปแบบต่างๆ


๒๔

๑๔.๘ สร้างเครื อข่ายนักวิจยั ในระดับสถานศึกษา เพื่อช่วยครู ในการทําวิจยั โดยให้ผอู ้ าํ นวยการ สถานศึกษา หรื อนักวิจยั ภายนอกเป็ นพี่เลี้ยงให้ครู ทาํ วิจยั ควบคู่กบั การเรี ยนการสอน ๑๔.๙ สนับสนุ นให้หน่ วยงานในสังกัดทุกระดับสร้างเครื อข่ายการวิจยั /นักวิจยั ร่ วมกับหน่ วยงาน ต่างๆ ๑๕. จัดระบบกํากับ ติดตาม การดําเนินการวิจัยอย่ างเป็ นระบบ และต่ อเนื่อง ๑๕.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตามช่วยเหลือการดําเนินงานวิจยั ของบุคลากรในสังกัด ๑๕.๒ จัดทําแผนและเครื่ องมือนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดําเนินงานวิจยั ของบุคลากรในสังกัด โดยความร่ วมมือระหว่างคณะกรรมการนิเทศ และผูร้ ับการนิเทศ และปฏิบตั ิการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือตาม แผนที่กาํ หนดไว้ ๑๕.๓ จัดทีมบุคลากรออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มให้ความช่วยเหลือชี้แนะและเข้าร่ วมวิจยั กับกลุ่ม กํากับ ติดตาม ตรวจสอบการทําวิจยั ให้เป็ นไปตามแผนงาน ๑๕.๔ เปิ ดโอกาสให้บุคลากรในสังกัดเสนอความต้องการในการขอรับการนิเทศจาก คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ การดําเนินการวิจยั ที่ได้รับแต่งตั้ง ๑๕.๕ สรุ ปผลการนิ เทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดําเนิ นงานวิจยั ของบุคลากรในสังกัดเป็ นระยะ ๆ ระหว่างการดําเนินงาน และเมื้อสิ้ นสุ ดการดําเนินงาน ๑๕.๖ นําผลการนิ เทศ ติ ดตามช่ วยเหลื อการดําเนิ น การวิจยั ของบุ คลากรในสังกัดไปใช้ในการ พัฒนา ปรับปรุ ง การดําเนินการในรอบต่อไป ๑๕.๗ มีการกําหนดหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพของผลงานวิจยั ๑๕.๘ มีผเู ้ ชี่ยวชาญเป็ นคณะกรรมการในการกํากับ ติดตามผลการดําเนินโครงการวิจยั ๑๕.๙ มีการประเมินประสิ ทธิภาพของการบริ หารงานวิจยั ๑๕.๑๐ มีการติดตามผลการทําวิจยั ตั้งแต่เริ่ มดําเนินการวิจยั จนเสร็ จสิ้นการทําวิจยั โดยใช้ครื อข่าย วิจยั ในพื้นที่ ๑๕.๑๑ จัดให้มีชุดโปรแกรมวิจยั (Research Program) ช่วยตรวจสอบคุณภาพงานวิจยั ตั้งแต่เสนอ โครงการจนเสร็ จสิ้ น และนําผลวิจยั ไปใช้ ๑๕.๑๒ มีการกํากับติดตามและประเมินโครงการวิจยั ที่ได้รับทุนวิจยั ๑๕.๑๓ มีการรายงานความก้าวหน้าของงานวิจยั ๑๕.๑๔ มีการสรุ ปผลการดําเนินงานวิจยั ของหน่วยงานในสังกัดประจําปี


๒๕

๑๖. สร้ างขวัญกําลังใจ และแรงจูงใจในการทําวิจัย ๑๖.๑ ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และให้รางวัลผลงานวิจยั โดยประกาศเกียรติคุณ/ยกย่อง/เชิดชูเกียรติ ๑๖.๒ จัดสรรงบประมาณ สนับสนุนการทําวิจยั ให้บุคลากรในหน่วยงาน ๑๖.๓ สํานัก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน จัด งบประมาณ ให้รางวัล แก่ ผูท้ ี่ ส่ งผลงานวิจ ัย เผยแพร่ อย่างเหมาะสมและทัว่ ถึง ๑๖.๔ ให้รางวัลแก่นกั วิจยั และนักวิจยั รุ่ นใหม่ที่ผลิตผลงานวิจยั ที่มีคุณภาพ สามารถนําไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้ และผูท้ ี่พฒั นาไปสู่ความเป็ นนักวิจยั มืออาชีพอย่างต่อเนื่อง ๑๖.๕ ส่ งเสริ มให้หน่วยงานอํานวยความสะดวกแก่นกั วิจยั ในการศึกษาค้นคว้างานวิจยั นอกสถานที่ ๑๖.๖ อํานวยความสะดวกแก่บุคลากร กรณี ที่มีการทํางานวิจยั ข้ามหน่วยงาน ๑๖.๗ ส่ งเสริ มให้หน่วยงานใช้ผลงานวิจยั ประกอบการพิจารณาความดีความชอบของบุคลากรใน หน่วยงานตามความเหมาะสม ๑๖.๘ ส่ งเสริ มให้ผมู ้ ีผลงานวิจยั ได้เสนอผลงานเพื่อขอให้มีและเลื่อนวิทยฐานะสูงขึ้น โดยเสนอ คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ให้นาํ ผลงานการวิจยั (ในปริ มาณที่ เหมาะสม)ของบุคลากร เป็ นเกณฑ์ในการเลื่อนวิทยฐานะเป็ นกรณี พิเศษ ๑๗. สร้ างความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับแนวทางการบริหารจัดการงานวิจัย ๑๗.๑ จัดทําสื่ อประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวทางการบริ หารงานวิจยั โดยใช้ช่องทางสื่ ออย่างหลากหลาย เช่น เอกสาร แผ่นพับ สื่ อสารทางเครื อข่ายออนไลน์ ๑๗.๒ เสนอกรณี ตวั อย่างเกี่ยวกับการบริ หารจัดการงานวิจยั ที่ประสบความสําเร็ จ ๑๗.๓ จัดให้มีการประเมินประสิ ทธิภาพของการบริ หารงานวิจยั และเสนอแนวทางในการปรับปรุ ง ๑๘. พัฒนาจรรยาบรรณนักวิจัยสั งกัดสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๑๘.๑ กําหนดจรรยาบรรณนักวิจยั สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๘.๒ ควบคุม กํากับ ติดตามการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณนักวิจยั สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การบริหารจัดการงานวิจัยทีไ่ ด้ รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัย การบริ หารจัดการงานวิจยั ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุ นการวิจยั ให้มีความถูกต้อง คล่องตัว และมี ประสิ ทธิภาพ มีแนวทางการดําเนินการ ดังนี้ ๑. กําหนดระยะเวลาแต่ละขั้นตอนของกระบวนการทํางานวิจยั ให้ชดั เจน และทันตามกําหนดเวลา ๒. ชี้แจงหลักเกณฑ์และวิธีการให้บุคลากรในหน่วยงาน และผูเ้ กี่ยวข้องที่สนใจทราบ


๒๖

๓. กําหนดให้มีคณะกรรมการกลัน่ กรองโครงการวิจยั ในระดับเขตพื้ น ที่ การศึ กษา ก่ อนนําส่ ง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. กําหนดให้มีผทู ้ รงคุณวุฒิเฉพาะด้านที่สอดคล้องกับโครงการวิจยั พิจารณาโครงการและ งบประมาณสนับสนุนการวิจยั ๕. หลังจากได้รับงบประมาณแล้ว ให้มีผทู ้ รงคุณวุฒิให้คาํ ปรึ กษาในการปรับโครงการวิจยั ให้ สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ ๖. ให้มีคณะกรรมการแนะนําระหว่างดําเนินงานวิจยั ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ของการวิจยั โดยคณะกรรมการช่วยปรับเนื้อหาให้ชดั เจน เหมาะสมกับหัวข้อเรื่ องและทุนวิจยั ที่ได้รับ ๗. จัดให้มีผเู ้ ชี่ยวชาญดูแลให้คาํ ปรึ กษาผูว้ ิจยั ๘. กํากับติดตามการดําเนินงานวิจยั ๙. เผยแพร่ งานวิจยั ๑๐. สร้างเครื อข่ายการวิจยั ปัจจัยทีเ่ อือ้ ต่ อความสํ าเร็จ การบริ หารจัดการงานวิจยั จะประสบผลสําเร็ จได้ ควรดูแลจัดปั จจัยเหล่านี้ให้เหมาะสม และเพียงพอ ได้แก่ ๑. ความรู ้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติของนักวิจยั ๒. ความเข้มแข็งของเครื อข่ายการวิจยั ๓. บรรยากาศที่เอ◌ื◌้อต่อการวิจยั ๔. สิ่ งอํานวยความสะดวกต่างๆ ในการทําวิจยั ๕. งบประมาณสนับสนุนการวิจยั ๖. การจัดสรรเวลาในการทําวิจยั เงื่อนไขความสํ าเร็จ เงื่อนไขที่ทาํ ให้การบริ หารจัดการงานวิจยั ประสบผลสําเร็ จ คือ ๑. ผูบ้ ริ หารของหน่วยงานเห็นความสําคัญและให้การสนับสนุนการทําวิจยั ของบุคลากรในหน่วยงาน ๒. อํานวยความสะดวกในการบริ หารงบประมาณให้มีความยืดหย◌ุ ◌่น สามารถปรับเปลี่ยน งบประมาณ จากงบปกติเป็ นงบอุดหนุนวิจยั ได้ ๓. ผูเ้ กี่ยวข้องทุกระดับเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการทําวิจยั ไปในทิศทางที่ถูกต้อง ๔. ให้ความเป็ นอิสระทางความคิดของนักวิจยั


๒๗

บรรณานุกรม เพ็ญณี แนรอท. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการวิจยั เรื่ อง กรอบทิศทางการวิจยั ทางการศึกษา. ฮาซัน พริ้ นติ้ง. กรุ งเทพ. ๒๕๕๐. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๑๐. ๒๕๔๙. สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. การปฏิรูประบบวิจยั ของประเทศ : Thailand Reform. 2550. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานสรุ ปผลการสัมมนา เรื่ อง กรอบทิศทาง การวิจยั ทางการศึกษา. เพ็ญณี แนรอท. ฮาซัน พริ้ นติ้ง. กรุ งเทพ. 2550. สํานักนโยบายและแผน. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนปฏิบตั ิการ สพฐ. ปี 2553. , ข้อมูลสถิติ ประจําปี 2552. สํานักทดสอบการศึกษา. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.ศูนย์ปฏิบตั ิการGPA. http://gpa.moe.go.th/ สื บค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2553 สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. ภารกิจบริ หารจัดการผลงานวิจยั . บันทึก (3) เปิ ดโลกงานวิจยั , การนําเสนอผลงานวิจยั แห่งชาติ. 2551: Thailand research Expo 2008. หจก.อรุ ณการพิมพ์, กรุ งเทพ. 2551. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการวิจยั และส่ งเสริ มการวิจยั ของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปี 2553 - 2555. สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติ. ภารกิจนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจยั . คู่มือนโยบายยุทธศาสตร์ การวิจยั แห่ งชาติ. พ.ศ. 2551 – 2553. กรุ งเทพ. 2551. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 เล่มที่ ๑๑๖ ตอนที่ ๗๔ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ สิ งหาคม ๒๕๔๒ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็ นปี ที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบนั


๒๘

ภาคผนวก


๒๙


๓๐


๓๑


๓๒


๓๓


๓๔


๓๕


๓๖


๓๗


๓๘


๓๙


๔๐

กรณีตัวอย่ าง แนวปฏิบตั ิสู่ ความเป็ นเลิศ (Best Practices) การส่ งเสริมการดําเนินการเพือ่ พัฒนางานให้ วจิ ัยของสํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ๔ ภาพ ประเด็นการวิจัยของสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาํ หนดประเด็นการวิจยั ๑๐ ประเด็น คือ ๑. การปฏิรูปหลักสู ตร และการเรี ยนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. การปฏิรูปและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ๓. การปฏิรูปทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ๔. การพัฒนาการศึกษาปฐมวัย ๕. การพัฒนาคุณธรรมและจริ ยธรรม ๖. การขยายโอกาสทางการศึกษา ๗. การปฏิรูปและสร้างความเข้มแข็งการบริ หารจัดการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา ๘. การพัฒนาการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ หรื อเด็กพิการเรี ยนร่ วม ๙. การพัฒนาการศึกษาเพื่อการส่ งเสริ มบทบาทนักเรี ยนไทยในเวทีโลก ๑๐. การส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาสังคมของเอกชน พ่อแม่ ผูป้ กครอง องค์กรทางสังคม


๔๑

คณะผู้จดั ทํา คณะทีป่ รึกษา ๑. ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน ๒. ดร.ชัยพฤกษ์ เสรี รักษ์ ๓. ดร.สมเกียรติ ชอบผล ๔. ดร.อรทัย มูลคํา

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ปรึ กษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คณะยกร่ างและปรับปรุ งเอกสาร ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

ดร.วันทยา วงศ์ศิลปภิรมย์ รศ.ดร.จิราภรณ์ ศิริทวี นายประดิษฐ์ ทองคําปลิว รศ.ดร.ปรี ชา วิหคโต รศ.พันธนีย ์ วิหคโต ดร.เฉลิม ฟักอ่อน

๗. นายประกอบ มณี โรจน์ ๘. นายยืนยง ราชวงษ์ ๙. นายชวลิต จันทร์ศรี ๑๐. นายพีรพงษ์ หงส์ทอง ๑๑. ดร.ยุภาดี ปณะราช ๑๒. ดร.แสงรุ นี มีพร ๑๓. ดร.สุ นีย ์ สอนตระกูล

นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ นักวิชาการอิสระ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงชลา เขต 2 ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรี อยุธยา เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๓ ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร ศึกษานิเทศก์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอํานาจเจริ ญ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนโเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการนนทบุรี สํานักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓


๔๒

๑๔. นายสงวน อินทรรักษ์ ๑๕.ดร.เชน หมัน่ เนตรกิจ ๑๖. น.ส.วิภาพร นิธิปรี ชานนท์ ๑๗.นางอรนุช มัง่ มีสุขศิริ ๑๘. นายพิทกั ษ์ โสตถยาคม ๑๙. นายพลรพี ทุมมาพันธ์ ๒๐. นายพรชัย ถาวรนาน ๒๑. น.ส.จุฑารัตน์ ก๋ องคํา

บรรณาธิการกิจ ๑. น.ส.วิภาพร นิธิปรี ชานนท์ ๒. นางอรนุช มัง่ มีสุขศิริ

ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนบ้านตาบา สํานักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๒ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนอนุบาลสว่างอารมณ์ สํานักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทยั ธานี เขต ๑ นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ครู ช่วยราชการ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา พนักงานพิมพ์ดีด สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นักวิชาการศึกษา สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.