โจทย์ใหม่วิจัย สพฐ.

Page 1

ใ ห ม  โ จ ท ย  ส พ ฐ . 4 ว จ ิ ย ั ผ ล ง า น ว จ ิ ย ั เ ด น ป ร ะ เ ด น ็ น า  ว จ ิ ย ัเ พ อ ่ ื พ ฒ ัน า ค ณ ุภ า พ ก า ร ศ ก ึ ษ า

ส า ํ น ก ั พ ฒ ัน า น ว ต ั ก ร ร ม ก า ร จ ด ั ก า ร ศ ก ึ ษ า ส า ํ น ก ั ง า น ค ณะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศ ก ึ ษ า ข น ้ ั พ น ้ ื ฐ า น


โจทยใหม วิจัย สพฐ.

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2555


ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. โจทยใหม วิจยั สพฐ..-- กรุงเทพฯ : สํานักงาน, 2555. 120 หนา. 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน. I. ชือ่ เรื่อง. 370.111 ISBN 978-616-202-611-9 พิมพครั้งที่ 1 จํานวนพิมพ

มิถุนายน 2555 500 เลม

จัดพิมพโดย

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0 2288 5882 โทรสาร 0 2281 5216 Website: http://inno.obec.go.th/ หจก.ศรีบูรณคอมพิวเตอร-การพิมพ 338/3-4 ซ.จุฬา40 ถ.พระราม 4 แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท 0 2215 4506 โทรสาร 0 2611 9043 E-mail: sbpprinting@gmail.com

พิมพที่


คํานํา การจั ด การศึ ก ษาในยุ ค ป จ จุ บั น ต อ งเท า ทั น ความเป น ไปของโลก นโยบาย การศึ ก ษาต อ งเหมาะกั บ สภาพการณ แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปนหนวยงานหลักรับผิดชอบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ ประเทศไทย เล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนของการวิจัยเพื่อกําหนดนโยบายและ ขับเคลื่อนการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ จึงมอบหมายใหสํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาแสวงหาแนวทางการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน หนังสือ “โจทยใหม วิจัย สพฐ.” ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอโจทย ทิศทาง การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเผยแพรผลงานวิจัยสวนหนึ่งที่สํานักพัฒนา นวัตกรรมการจัดการศึกษารับผิดชอบแกครู บุคลากรทางการศึกษาและผูเกี่ยวของ เพื่อใหเกิดความเขาใจและเห็นภาพที่ชัดเจนรวมกันในทิศทางการวิจัยของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในปจจุบันและอนาคต สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือนี้จะชวยให ครู บุคลากรทางการศึกษาและผูเกี่ยวของเห็นโจทยการทํางาน และทิศทางการวิจัยและ พัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรวมมือรวมพลังกัน “ตอบโจทย” เพื่อใหการจัด การศึกษาบรรลุสูความสําเร็จตอไป สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


สารบัญ คํานํา สารบัญ 1. ขอคิดและประเด็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน: มุมมองของ ผูทรงคุณวุฒิ…………………………………………………………… 2. การสังเคราะหการบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาที่ใชนวัตกรรม การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) …………………………………………………………… 3. แนวทางการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ………….…… 4. รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัย ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา………………………………..……. 5. การพัฒนาสูตรการจัดสรรงบประมาณเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการใชจา ยเงิน งบประมาณในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการจัดทําตัวชีว้ ัดสถานะ เศรษฐกิจ และสังคมระดับโรงเรียน ระยะที่ 1………………..………… 6. การศึกษาเกณฑมาตรฐานความสามารถดานการอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ของประเทศตะวันตก…………….…… 7. การพัฒนามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมที่หลากหลาย สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน…………………………………………….

หนา ก ข 1

23 43 69

93 103 111


ขอคิดและประเด็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน: มุมมองของผูทรงคุณวุฒิ กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา1

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการดานวิจัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน2 เมื่อ 26 กุมภาพันธ 2552 มี ดร.กฤษณพงศ กีรติกร เปนประธาน และผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาเปนเลขานุการ ในป พ.ศ.2552 คณะอนุกรรมการฯ ไดรวมประชุม จํานวน 6 ครั้ง เพื่อกําหนดทิศทางและโจทยการวิจัย ใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความคาดหวังของการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีเปาหมายคือเด็กวัยเรียนทั้งประเทศ ในการกําหนดทิศทางการวิจัยครั้งนี้ กลุมวิจัย และสงเสริมการวิจัยทางการศึกษา ซึ่งมีบทบาทเปนผูชวยเลขานุการคณะอนุกรรมการฯ ไดดําเนินการขอความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ เกี่ยวกับมุมมองตอแนวทางการวิจัย พัฒนาคุณภาพการศึกษาและสรุปนําเสนอใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณา ซึ่งขอคิดที่ได มีคุณคาและยังคงทันสมัย จึงนํามาเสนอไวในตอนที่ 1-2 และตอนที่ 3 เปนกรอบการวิจัย และโครงการวิจัยที่ดําเนินการในป 2553-2554 ตอนที่ 1 ขอคิดในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัยทางการศึกษาไดสรุปขอคิดของผูทรงคุณวุฒิ แตละทาน ซึ่งเปนมุมมองที่เปนประโยชนยิ่งในการนํามาพิจารณาเพื่อการวิจัยและ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของผูเกี่ยวของในการจัดการศึกษาทุกระดับ ดังนี้ 1

ดร.วิภาพร นิธิปรีชานนท, ดร.อรนุช มั่งมีสุขศิริ, สุดจิตร ไทรนิ่มนวล, พิทักษ โสตถยาคม และดร.พลรพี ทุมมาพันธ

2

ดร.กฤษณพงศ กีรติกร, ดร.ประพัฒนพงศ เสนาฤทธิ์, รองเลขาธิการ กพฐ., ดร.สีลาภรณ บัวสาย, ศ.ดร.สุวิมล

วองวาณิช, รศ.ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา, รศ.ดร.ส.วาสนา ประวาลพฤกษ, รศ.ดร.นาตยา ปลันธนานนท, ดร.อมรวิชช นาครทรรพ, ดร.มลิวัลย ธรรมแสง, ดร.เพชรา พิพัฒนสันติกุล, ดร.พรชัย อินทรฉาย, สุรางค โพธิ์พฤกษาวงศ, ที่ ปรึ ก ษาด านมาตรฐานการศึ กษา, ที่ ปรึ กษาดานเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน, ผอ.สํานั กวิ ชาการและ มาตรฐานการศึกษา, ผอ.สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ผูเชี่ยวชาญดานพัฒนานวัตกรรมการ เรียนรู, ผูเชี่ยวชาญดานวิเคราะหวิจัยการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ผอ.สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

หนา | 1


ศาสตราจารย นพ.ดร.ไกรสิทธิ์ ตันติศิรนิ ทร  สภาพปจจุบัน&ปญหา เด็กไทยออนทั้งทักษะการแกปญหา ทักษะการเรียนรู ทักษะการเอาตัวรอด ทักษะภาษา ทักษะการสื่อสาร ทักษะวิชาการ และทักษะวิชาชีพ  แนวทางพัฒนา (1) เนนที่ตัวเด็ก ควรมีการ Screen ความพรอมของเด็ก เชน ดานกาย อารมณ สังคม สติ ปญ ญา อาจมีเ ครื่อ งชี้วั ดความเจริ ญเติ บโตด า นต า งๆของเด็ ก เปน ระยะ/ ชวงเวลา เชน ป.1, ป.3, ป.6 เพื่อรู&พัฒนา และสงตอเด็กไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเปนฐานขอมูลทางการศึกษาที่สําคัญของประเทศ (2) คิดเชิงระบบเพื่อคุณภาพการศึกษา ดูวาระบบบริหารจัดการเอื้อหรือไม แนวคิดบางอยางไมถูกนําไปปฏิบัติเพราะ Top down หรือไม ความตอเนื่องของการสงตอ เด็กจากปฐมวัยสูประถมศึกษาสูมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาดีพอหรือยัง กระบวนการเรียน การสอนเปนแบบ Problem Based/ Process Based ที่ควบคูกับ Content Based (เทาที่จําเปน) แลวหรือไม ในการแกปญหาโดยการวิจัยควรใชแนวคิดเชิงระบบเปน Education System Research หรือ Education Research System ที่เนนคุณภาพของเด็ก ทั้งนี้การพัฒนา ระบบการศึกษา หรือ Education Service System อาจเทียบเคียงกับการพัฒนาระบบ สาธารณสุขที่ทําไดสําเร็จ และศึกษาแนวคิดระบบการศึกษาของ UNESCO รวมทั้ง ประเทศทั้งโลกตะวันตก/ ออก นอกจากนั้นมองหา Risk หรือ Bottle Neck แลวพัฒนา จาก Minimum ขึ้นไป และมุงพัฒนาคุณภาพและ cost effectiveness (3) นํา Operation Research มาใชทุกระดับเพื่อใหเกิด Innovation ดู Good Practices ใช Result Based ดู Cost Effectiveness และประเมินตาม Profile ทั้งโรงเรียน และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

2 | หนา


คุณปยะบุตร ชลวิจารณ  สภาพปจจุบัน&ปญหา การบริหารจัดการไมมุงคุณภาพผูเรียน, ผูบริหารโรงเรียน ขาดความเปนผูนําทางวิชาการ, การสอนยึดเพียงตํารา, ครูไมไดใชเวลาเพื่อการเตรียม การสอนและพัฒนาเด็กจริงจัง, ครูมีความรูไมเพียงพอในบางเนื้อหาสาระที่ควรสอนเด็ก  แนวทางพัฒนา สรางความรวมมือของภาคีเครือขาย (พอแมผูปกครอง ชุมชน ภาควิชาการ ภาคเอกชน อปท.), เปาหมายที่ตัวเด็กเนนเรียนใหรูจริงและคิดเปน, เนน Research Based/ Project Based/ Activity Based/ Experimental Based Learning, สราง source of multimedia เพื่อการเรียนรูของครูและเด็ก, สรางแรงจูงใจครูสาขาขาด แคลนดวยการเพิ่มเงินพิเศษ, กําหนดเกณฑและวิธีการประเมินวิทยฐานะครูใหม, พัฒนาเด็กปฐมวัย, กระจายอํานาจการดูแลโรงเรียนของ สพฐ.ไปยัง อปท.อยางจริงจัง เพื่อใหโรงเรียนเปนของชุมชน, ปรับปรุงระบบ operation ลดขั้นตอน/ กระจายอํานาจ คุณอมเรศ ศิลาออน  สภาพปจจุบัน&ปญหา ศธ.ขาด Discipline ในการใชงบประมาณ/ทรัพยากร เพื่อพัฒนาการศึกษา, ไมไดเรียนรูจากความผิดพลาดในอดีต, การศึกษาสรางคนใหทํา อะไรไมเปน(เชิงวิชาชีพ), ปญหาคุณภาพเด็ก เด็กไมรูวาตนเองถนัดอะไร ควรเรียนอะไร มีเด็กจํานวนมากเรียนในสิ่งที่ไมถนัด เด็กมีปญหาในการตัดสินใจ, ปญหาคุณภาพครู เปนผลจากเมื่อ 20 ปที่แลวปลอยใหใครก็ไดมาเปนครู เพื่อแกปญหาขาดแคลนครู และ ปจจุบันความกาวหนาของครูไมไดขึ้นอยูกับความสามารถทางวิชาชีพที่แทจริง  แนวทางพัฒนา เรื่องเด็ก ควรแบงกลุมเด็กตามความถนัด ตองวัดความถนัด ของเด็กใหพบ วาถนัดวิชาการหรือวิชาชีพ แลวพัฒนาตอยอด ทําโปรแกรมใหเด็กเลือก ใหเรียน/ทําในสิ่งที่เด็กถนัด ควรฝกใหรูจริงฝกใหทําเปน เชนเดียวกับวิธีของประเทศ เยอรมัน, เรื่องครู ตองหาวิธีวัดฝมือครู/ หาวิธี identifyครูดี อาจใชการสอบเพื่อพิสูจน ทักษะฝมือ ใหสอนแลวมีคนไป observe หรือใหมีคนสักกลุมหนึ่ง/นักวิชาชีพเปนผูตัดสิน หนา | 3


วามีฝมือถึงหรือยังในการเลื่อนระดับ นอกจากนั้นควรใชหลักปาเรโต 20/80 คือ หาให พบวาครูดี 20% คือใคร แลวนํามาพัฒนาดานความสามารถการสอน ใหกลับไปทํางาน และพัฒนาคนอื่นตอไป ซึ่งควรทําอยางเปนทางการ สําหรับการสรางครูพันธุใหม ควรทํา แนวของประเทศฟนแลนด/ไอรแลนดคือ ตั้งเงินเดือนครูใหเทาหมอ, ใหอัตราขึ้นเงินเดือน ครูใหเร็วกวาอาชีพอื่น, รับคนเปนครูจาก 5%ของกลุม Top ของมหาวิทยาลัย เปนตน สุดทายไดใหหลักในการพัฒนางานวา ควรทําในสิ่งที่สําคัญจําเปนจริงๆกอน เพราะเรามี ทรัพยากรจํากัด ตองจัดลําดับความสําคัญ สําหรับเรื่องการศึกษาตองทําเรื่องเด็กเปน อันดับหนึ่ง เรื่องครูเปนอันดับสอง และเรื่องโรงเรียนเปนอันดับสาม ศาสตราจารย นพ.วิจารณ พานิช  การศึกษาขั้นพื้นฐานตองเอาใจใสเรื่องอาชีพ  หลักสูตรตองไม one size fit all ควรเปดใหหลากหลาย ทําอยางไรการพัฒนา หลักสูตรจะไมใหทําแตในกระดาษ ควรไปหาวาที่ไหนทําดีแบบที่เราอยากเห็น และเปด ใจกวางใหเขาปรับตามเงื่อนไขของเขา ใหไดตามเปาหมาย แตวิธีปฏิบัติแตกตาง ใหไป จับภาพ (หา best practices) หาความสําเร็จที่เราอยากเห็น เราตองหาวิธีการสืบเสาะ ใหได แตระวังจะโดนตม (เอาของเทียมมายอมแมว)  ตองวิจัยวาทําไมคนเหลานี้ทําไมจึงทํา เราจะ facilitate เขาอยางไร และจะ ขยายไดอยางไร เราตองเอาใจใสหัวขบวนที่ดี (ครูดีๆ)  ปญหาครูดีๆ ออกไปเพราะ early retry เปนเพราะระบบ HRD (Human Resource Development) ของเราผิด และระบบไมลุมลึกพอ นั่นคือ ไมยกยอง ไมให เกียรติ ไมให reward ครูดี หากครูที่สอนดีๆ เราจะใหเงินเดือน 2 เทาไดหรือไม แตเรากลับ treat ครูดีเยี่ยมกับครูเลวเหมือนกัน  ทําอยางไรเราจะแยกครูดีจริงๆ ออกจากครูทั่วไปได ที่สําคัญคือตองดูที่ลูกศิษย เราตองการระบบหลักสูตร ระบบบริหารจัดการ ระบบ HRD ที่หนุนคนดี และชวย 4 | หนา


แยกแยะครูดี/ ไมดี ปจจุบันเราใหคุณคากับบริบทมากกวาการดูแลลูกศิษย ควรเนนที่ การเรียนรู ไมใชเนนที่การสอน การเรียนรูนี้ตองการความรูแบบ tacit knowledge ถาให ครูเลาถึงเด็กเกเรแลวสามารถชวยได ครูเลาดวยความภูมิใจในความเปนครู เขาจะเปน somebody จะทําชั่วไมได จะทําแตสิ่งดี  เราจะหาศึกษานิเทศกที่ริเริ่มสรางสรรค /สงเสริมการออกนอกกรอบ เพื่อสิ่งดีๆ ชวยใหครูทําหนาที่ครูใหดีขึ้นอยางไร เปนการหาการนิเทศเพื่อใหเกิดคุณภาพไดอยางไร/ หาวิธีการนิเทศที่ดี  วิธีคิด (paradigm) ที่เกี่ยวกับการเรียนรู ที่ครอบงําคนวงการศึกษาคือ การเรียนรู แบบถายทอด/ ฝก เปนแบบ training mode แบบ transfer mode ซึ่งไมถูกตอง ตองเปน Learning Mode ตองงอกงามมาจากภายในใจ/ ภายในสมอง ผานการปฏิบัติดวย ตนเอง (Action) คอยๆ งอกงามมาจากภายใน  ครูสอนดี ทําไมเราจึงคิดวาสอนดี ตองชวย/ กระตุนใหลูกศิษยเกิดแรงบันดาล ใจ เกิดความใฝฝน ใหความฝนลุกโชนขึ้นมา สรางความมั่นใจ มุมานะ วาเราจะสามารถ ทําได ครูจะรูวาลูกศิษยคนไหนจะจุดประกายแบบไหน ซึ่งแตกตางกัน  โจทยการวิจัยนี้วาดวยการเรียนรู วิจัยไมใชเพื่อรู แตเพื่อการเปลี่ยนแปลง ตอง หาความสําเร็จ มาตอยอด ขยายผล  ควรวิจัยระบบการเงินการคลังเพื่อระบบการศึกษา ทําไมเราใชเงินมากขึ้น แต คุณภาพลดลง เราใชทรัพยากรอยางฉลาดหรือยัง เราควรออกแบบระบบใหเงินลงไปยัง โรงเรียนโดยตรงเลยหรือไม เชน สมศ.ประเมินวามีโรงเรียน 8,000 แหงพรอม นาจะให เปนนิติบุคคล แต สพฐ.ยังไมปลอย  ระบบบริหารงานบุคคลที่ดีของ สพฐ.คืออะไร ซึ่งระบบที่ดีตองใหทุกคนรวม รับผิดชอบ  เรื่อง เขตพื้นที่การศึกษา เปนการออกแบบโครงสรางทางการศึกษาที่ถูกหรือผิด  การกระจายอํานาจที่ดีควรเปนแบบใด ควรจะไปเขตหรือควรตรงไปยังโรงเรียน หนา | 5


รองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ  โรงเรียนเล็ก จะทําใหเกิดคุณภาพขึ้นมาไดจะตองทําอยางไร อาจหลอมรวม โรงเรียน หรืออะไร ถาคําตอบคือการหลอมรวมโรงเรียนจะตองทําอยางไร ควรคนหา ความจริงวา การมีโรงเรียนขนาดเล็กมีผลเสียตอคุณภาพการศึกษาอยางไร หรือจะมี วิธีการอยางไรทําใหการศึกษามีคุณภาพ คะแนนทดสอบที่ฉุดผลประเทศมาจาก โรงเรียนเล็ก จะทําอยางไร/ มีวิธีการอะไรในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กใน เวลาอันรวดเร็ว ขณะนี้เรามีโรงเรียนมากเกินไปจริงๆ ปญหาคือเราปดโรงเรียนไมได  Governance ของ สพฐ. ควรศึกษาวาขณะนี้มีปญหาอะไรบาง เรื่องหนึ่งที่มี ปญหาคือ สพฐ.ไมสามารถดําเนินการเรื่อง การยายครู/ บุคลากรได เพราะติดกฎ ก.ค.ศ. ที่ระบุวา จะไมสามารถยายครูได ถาครูไมอยากยาย ซึ่งทําใหไมสามารถเกลี่ยอัตราได  ระบบ IT ทําอยางไรที่จะกดแลวสามารถรูขอมูลตางๆ ของการศึกษาไดอยาง รวดเร็วทันความตองการใชงาน เชน ขอมูลการเกษียณของครูและบุคลากร  ตอง Motivate ใหครูทํางานเต็มที่ แตตองไมใชเรื่องเงินอีกแลว ตองปลุกครูที่ หลับใหตื่นขึ้นมา ตองใหเห็นวา งานครูมีคุณคาสูงสง โดยทองถิ่นมีสวนรวม/ บีบบังคับ ชุมชนตรวจสอบเอง ตองชี้ใหเห็นวาไดเงินเดือนเทาไรก็ตองรับผิดชอบ และเรื่องครูนี้ทํา อยางไรจะจูงใจใหครูยายไปในสถานที่ที่ควรไป ไมกระจุกตัวอยูเฉพาะในเมือง  ควรมี ก ารติ ด ตามดู ว า การถ า ยโอนโรงเรี ย นไปยั ง อปท.มี ก ารจั ด การ และ คุณภาพเปนอยางไร มีปญหาอะไรบาง  อะไรเปน consensus ของหลักสูตรที่หลายๆ หนวยงานทําหลักสูตร วาควร สอนอะไรเด็กบาง และทําอยางไรใหเปนไปตามความคาดหวัง  ควรมีการศึ ก ษาวา มีเครือ ขายครู และบุคลากรทางการศึ กษาอยู กี่เครือ ขา ย เพราะมักมีการใชเครือขายเหลานี้ในการตอรอง และแสวงหาผลประโยชนเขากลุม ควรมี วิธีการจัดการกับกลุมการเมืองเหลานี้ที่จะเขามามีผลประโยชนเกี่ยวพันทางการศึกษา  ควรศึกษาวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญของความแตกตางเรื่องคุณภาพการศึกษา 6 | หนา


คุณนิพนธ สุรพงษรักเจริญ  จะทําอยางไรใหมีความสมดุลระหวางการทองจํา และการคิดเปน  การสอนตองสนุก ตองใช project based learning มาใช พัฒนาขีดความสามารถ ของเด็กใหมีความสามารถทั้ง Global และ Local ตองสอน learn how to learn เนน competency ของผูเรียน ครูตองเปน facilitator ตองออกแบบใหเด็กคิด ทํา นําเสนอ  การพัฒนาเด็กตองเปนเรื่องของ learning (ไมใช teaching) เมื่อเนนที่การ เรียนรูเด็กจะไดฝกความเปนผูนํา การทํางานเปนทีม ฝกนิสัยอดทนอดกลั้น แบงปน ความรูกันและกัน คิดเปนระบบ และมีนิสัยใฝรู เราตองฝกเด็กใหทันการเปลี่ยนแปลง มี self learning จึงจะสามารถสู global ได  ควรมี ก ารเชื่ อ มโยงความรู ข องการพั ฒ นาจากหน ว ยงานต า งๆ เช น สสวท. สวทช. หรือจาก สพฐ.เองมาใชในการพัฒนาเด็ก  การปฏิรูปการศึกษาควรปฏิรูปที่วัฒนธรรม แตปญหาคือ รากเหงาของระบบ ราชการเปลี่ยนยาก การจะพัฒนาไดนั้น คนในหนวยงานตองรูปญหาและจุดพัฒนาของ ตนเอง เชนเดียวกับคนไขจะรักษาไดตองรูตัวเอง/ยอมรับวาตนเองปวยกอน สิ่งที่สะทอน ความลมเหลวของการศึกษาที่ชัดเจนคือ การที่พอแมวิ่งหาโรงเรียนดีใหลูก  แนวทางพัฒนาคือ ใหทําโครงการโรงเรียนนํารอง เชนเดียวกับโครงการหลวง ทํา เล็กๆ ใหสําเร็จ มีระบบอัดฉีดใหผูบริหาร ครู มีกระบวนการประเมินผลงานที่เหมาะสม  ควรทํายุทธศาสตรของ สพฐ. อีก 20 ปขางหนา ใหชัดเจน ควรใหบอรด กพฐ. เลขาธิการ กพฐ. และ รมว.ศธ.ใหฝนใหเหมือนกันกอน

หนา | 7


คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา แบงเปน 2 สวน คือ (1) ประเภทของการวิจัย และ(2) ขอคิดตอการวิจัย ดังนี้ 1. ประเภทของการวิจัย ที่ตองการเห็นมี 4 ประเภท ไดแก 1.1 สรางองคความรูใหม ซึ่งไมจําเปนตองเปน สพฐ.ทําเสมอไป เชน เรื่อง Brain Based Learning, พฤติกรรมการเรียนรูแบบไทย, child development, การเรียนรู ภาษาไทย เปนต น ซึ่งเป นเรื่ อ งที่ยั งเปน ชอ งวา งอยู และสว นใหญ มักอาศั ยงานวิจั ย ตางประเทศ ซึ่งงานวิจัยประเภทนี้ไมคอยมีใครทํา นาจะประสานงานกับมหาวิทยาลัย เพื่อใหเกิดการสรางองคความรูใหม 1.2 การสรางนโยบายใหม มองไปขางหนา ในลักษณะเชนเดียวกับที่อาจารย กฤษณพงศ ได ชวย สกอ. เรื่องแผน 15 ป โดยที่มาของแผน15 ป ก็ม าจากงานวิจั ย ประเภท Future Oriented งานวิจัยประเภทนี้กลุมผูทรงคุณวุฒินาจะชวยดําเนินการได 1.3 การขับเคลื่อนนโยบาย การถอดประสบการณจากการขับเคลื่อน นโยบาย งานวิจัยประเภทนี้ สพฐ.นาจะมีขอมูลที่วาจุดออนอยูตรงไหน ซึ่ง คน สพฐ. นาจะเปนหัวหนาทีมได 1.4 การวิจัยปฏิบัติการ(action research) เชน การสอน การทํางานฝายการเงิน 2. ขอคิดตอการวิจัย มีดังนี้ 2.1 ตองสงเสริมใหคนในองคกรทํางานแบบ evidence based และให ทุกคนทํางานวิจัย ไมวาบุคคลนั้นจะอยูในตําแหนงไหน จะจบการศึกษาระดับใด ควร สามารถทํางานวิจัยได ยกตัวอยางเชน นักการภารโรงที่วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม เมื่อ 20 ปที่แลว ภารโรงทํางานวิจัย เขาไปในหองโรนียวเอกสาร ภารโรงคนนี้ขึ้นขอมูล บนชาร ต ข า งฝาห อ งเลยว า เดื อ นที่ ห นึ่ ง ใช ก ระดาษเท า นี้ ใช ห มึ ก เท า นี้ แล ว เขาได ปรับเปลี่ยนวิธีการอยางไร เพราะฉะนั้นเดือนที่สองกระดาษ เขาเสียนอยลงอยางไร แลว หมึกเสียนอยลงอยางไร ดังนั้นถาเราสามารถพัฒนาคนของเราใหมีความรูสึกวาเขา

8 | หนา


สามารถทํา action research ปรับปรุงตัวเอง ทดลองวิธีใหมๆ อันนี้เปนวิธีที่ควรจะ ปลูกฝงคนของเราทํางานเชิงวิจัย ทํางานเชิง evidence based 2.2 งานวิจัยบางอยางที่คนอื่นทํายาก แต สพฐ.ทําได โดยเฉพาะเรื่องเด็ก เพราะ ไมมีใครที่นั่งอยูกับเด็กปละ 200 วันตอเนื่อง และถาเราไมรูเรื่องเด็กดีที่สุด แสดงวานาจะ มีอะไรนาผิดปกติ ดังนั้นงานวิจัยระยะยาวตอเนื่องนานๆ เฝาเด็ก ตั้งแตเริ่มหลักสูตรใหม จนถึงวันสุดทาย งานประเภทนี้เรานาจะทําได หรือวางานวิจัยที่เกี่ยวกับเยาวชนวัยรุน ใหพยายามคิดงานวิจัยที่คนอื่นทําไมได ซึ่งตองทําอยางลึกซึ้งตอเนื่องและไมฉาบฉวย 2.3 การทํางานรวมกับองคกรอื่น ความพยายามที่ทีมงานวิจัยริเริ่มทําในครั้งนี้ เปนจุดเริ่มตนที่ดี เพียงแตบอยครั้งที่เรามอบใหมหาวิทยาลัยทํางานแลว counterpart ของเราไมเขมแข็งเทาที่ควร แทนที่เราจะไดเรียนรูจากวิธีการทํางานของเขา และวิธีการ ถอดบทเรีย นลงสูก ารปฏิ บัติ ช องว างตรงนั้น มันมากไป แตถ าทุ กสํา นัก ใน สพฐ.มี counterpart เปนมหาวิทยาลัย คิดวานาจะเกิดผลดีกับทั้งสองฝายคือ มหาวิทยาลัยก็ เข า ใจงานของเรามากขึ้ น และคนที่ รั บ ช ว งหรื อ รั บ ลู ก ไม ค วรไปกองอยู ที่ สํ า นั ก เดี ย ว อยากเห็นสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (หนวยงานกลางดานวิจัยของ สพฐ.) เปน quarterback ในอเมริกัน ฟุตบอล คือ สงใหลูกใหกับคนอื่น/สํานักอื่น ซึ่งคิดวา quarterback เปนตําแหนงที่สําคัญมากในการวางแผนและสงลูก 2.4 การทํา Meta Analysis Research วาใครเคยทําอะไรในแตละเรื่อง นาจะจาง ใครทํา และมีหัวขอที่เกี่ยวของกับการศึกษาขัน้ พื้นฐานอีกมาก ซึ่งเรานาจะใชประโยชนได 2.5 ควรกระจายงานวิจัยใหผูอํานวยการเขตพื้นที่การศึกษาทํา และจัดใหมี พี่เลี้ยง โดยเฉพาะงานวิจัยประเภทที่ 3 (การถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบาย) สวน บุคลากรของ สพฐ. ที่ไปเรียนต อ ปริญญาโท ปริญ ญาเอกควรกระตุนใหทํางานวิจั ย ประเภทที่ 1 (การสรางองคความรูใหม) และประเภทที่ 2 (การสรางนโยบายใหม)

หนา | 9


ตอนที่ 2 ประเด็นนาวิจัยที่ไดจากผูทรงคุณวุฒิ จากการวิ เ คราะห ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ประเด็ น ที่ น า วิ จั ย ที่ ไ ด จ ากการสั ม ภาษณ ผูทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการฯ 17 คน การประชุมกลุมผูทรงคุณวุฒิ 6 กลุม จําแนกตาม เปาหมายของการวิจัย 4 ประการคือ (1) การวิจัยเพื่อสรางองคคามรูใหม (2) การวิจัย เพื่อสรางนโยบายใหม (3) การวิจัยเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย และ(4) การวิจัยเพื่อเทาทัน สภาวการณ และจําแนกตามกลุมเปาหมายหรือกลุมเรื่อง ซึ่งมีผลดังตอไปนี้ 2.1 ดานผูเรียน (เปาหมาย มาตรฐาน และการประเมิน) เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/ -การพัฒนามาตรฐานหลักสูตร/ New Setting Standard R&D -การวิเคราะห/ ประเมินความเหมาะสมของมาตรฐานหลักสูตรแตละ กลุมสาระฯ -การศึกษา/วัดสมรรถนะดานตางๆ ของเด็กแตละชวงวัย -เปาหมายดานคุณภาพการเรียนรูของเด็กที่เห็นสอดคลองตรงกันของ stakeholder -อีก 10 ปขางหนา เราตองการใหเด็กไทยเปนอยางไร -เปาหมายที่ตัวเด็กเนนเรียนใหรูจริงและคิดเปน -วิจัยพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุมเด็กพิเศษ สรางนโยบายใหม/ -การสรางคานิยมใหมในการเลือกเรียนสายอาชีพ ชี้ทิศทาง -การคนหาความถนัดของเด็กใหพบวาถนัดวิชาการหรือวิชาชีพ แลว พัฒนาตอยอด ทําโปรแกรมใหเด็กเลือก ใหเรียน/ทําในสิ่งที่เด็กถนัด ควรฝกใหรูจริงฝกใหทําเปน ขับเคลื่อนนโยบาย/ -พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก /เด็กการศึกษาพิเศษ Action Research -พัฒนาเด็กความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตรดวยระบบพี่เลี้ยง และเครือขายครู

10 | หนา


เปาหมายการวิจัย ประเด็น เทาทันสภาวการณ -สไตลการเรียนรูของเด็ก (เฝาระวัง) -ควรมีการ Screen ความพรอมของเด็ก เชน ดานกาย อารมณ สังคม สติปญญา อาจมีเครื่องชี้วัดความเจริญเติบโตดานตางๆของเด็ก เปน ระยะ/ชวงเวลา เชน ป.1, ป.3, ป.6 เพื่อรู&พัฒนา และสงตอเด็กได อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเปนฐานขอมูลทางการศึกษาที่สําคัญของ ประเทศ -ติดตามเด็กระยะยาวตอเนื่อง/เฝาดู/เฝาระวัง

2.2 ดานครู (ลักษณะครู การพัฒนาครู และการเรียนรูของครู) เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/ -ศึกษา concept/ ความเขาใจของครูเกี่ยวกับการประเมินอิงมาตรฐาน R&D -วัดสมรรถนะ/ความรูความสามารถของครู -พัฒนาระบบ/กลไกสนับสนุนการสอนของครู เชน coaching node, reward system -วิจัยพัฒนาครูจํ าแนกกลุมเปาหมายด วยวิ ธีการที่ แตกต างกั น เช น กลุ ม นั ก ศึ ก ษาครู , ครู ใ หม 2 ป แ รก, ครู ใ นระบบ, ครู ที่ เ รี ย น บัณฑิตศึกษา, ครูที่มีวิทยฐานะ, ครูเกษียณฯ -วิจัยพัฒนาครูใหเกง ดี มีสุข โดยวิจัยเอกสาร, ศึกษา how to, การ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา -ตองหาวิธีวัดฝมือครู/ หาวิธี identifyครูดี อาจสอบเพื่อพิสูจนทักษะ ฝมือ โดยใหสอนแลวมีคนไปสังเกต หรือใหนักวิชาชีพเปนผูตัดสินวามี ฝมือถึงหรือยังในการเลื่อนระดับ

หนา | 11


เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางนโยบายใหม/ -การสรางคานิยมใหมในการเลือกเรียนสายอาชีพ ชี้ทิศทาง -กํ า หนดเกณฑ แ ละวิ ธี ก ารประเมิ น วิ ท ยฐานะครู ใ หม / หาวิ ธี ที่ เหมาะสมในการประเมินผลงานครู ดูจากครูดีๆที่ทําเพื่อศิษยจริงๆ ควรยกเลิก report based -สรางแรงจูงใจครูสาขาขาดแคลนดวยการเพิ่มเงินพิเศษ - Motivate ใหครูทํางานเต็มที่ ปลุกครูใหตื่น ใหเห็นวางานครูมีคุณคาสูง - หาใหพบวาครูดี 20% คือใคร แลวนํามาพัฒนาความสามารถการสอน ใหกลับไปทํางานและพัฒนาคนอื่นตอไป ซึ่งควรทําอยางเปนทางการ -การสรางครูพันธุใหมแบบฟนแลนด/ไอรแลนดคือ ตั้งเงินเดือนครูเทา หมอ, เงินเดือนขึ้นเร็วกวาอาชีพอื่น, รับคนเปนครูจาก 5%ของกลุม Top ของมหาวิทยาลัย เปนตน -พัฒนาระบบ Human Resource Development แยกครูดี/ไมดี ให reward ครูสอนดี ขับเคลื่อนนโยบาย/ -พัฒนาบรรยากาศการเรียนรูและสังคมแหงการเรียนรูของครู Action Research -พัฒนาระบบขอมูลครูมืออาชีพ รวมนวัตกรรมการแกไขปญหา รูวาครู เกงคือใคร อยูที่ใด เกงเรื่องอะไร เปนแบบ portfolio เปน resource ของ สพท.และมหาวิทยาลัย -การจัดทําฐานขอมูลการวิจัยของเด็กและครู -วิธีการจัดการศึกษาใหผูเรียนเรียนรูไดดวยตนเอง -การใชการวิจัยปฏิบัตกิ ารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของครู -รูปแบบการสงเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูที่เหมาะสมในแตละ ขนาดโรงเรียน -แลกเปลี่ยนเรียนรู สราง CoP กลุมโรงเรียนผานการประชุม/website เทาทันสภาวการณ -การทํางาน/ การใชเวลาของครู การจัดการเรียนการสอน การนิเทศ (เฝาระวัง) -เปรียบเทียบการสอนของครูทําผลงานวิทยฐานะกับครูที่ไมทําผลงาน

12 | หนา


3. ดานผูบ ริหารและผูเกี่ยวของ (โรงเรียน สพท. ผูปกครอง และชุมชน) เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/ -พัฒนาระบบการบริหารจัดการการประเมินอิงมาตรฐาน R&D -ควรมีการบริหารจัดการเพื่อใหเกิดการจัดการศึกษาที่เนนการทํางาน ไ ด จ ริ ง เ ช น ส ร า ง เ ค รื อ ข า ย / ศู น ย พั ฒ น า ฝ มื อ แ ร ง ง า น / สถาบันอุดมศึกษาเพื่อรับและสงตอเด็ก -วิจัยพัฒนาผูบริหารใหเกง ดี มีสุข โดยวิจัยเอกสาร, ศึกษา how to, การประกันคุณภาพภายในโรงเรียน สรางนโยบายใหม/ -การสรางคานิยมใหมในการเลือกเรียนสายอาชีพ ชี้ทิศทาง -พัฒนาระบบการแตงตั้ง/ การเลื่อนระดับ/ การลดระดับ/ การปลด ผูบริหารโรงเรียน -พัฒนาผูบริหารสถานศึกษาใหเปนผูนําทางดานวิชาการ/ เนนวิชาการ -การบริหารจัดการของเขตพื้นที่การศึกษาที่เหมาะสมเกี่ยวกับการ เรียนรวมสําหรับเด็กการศึกษาพิเศษ ขับเคลื่อนนโยบาย/ - Empowerment บทบาทของศึกษานิเทศกในเขตพื้นที่การศึกษา Action Research -จะหาศึกษานิเทศกที่ริเริ่มสรางสรรค /สงเสริมการออกนอกกรอบ เพื่อ สิ่ง ดี ๆ ชว ยให ครู ทํ า หนา ที่ ค รู ใ ห ดี ขึ้ น อย า งไร เป น การหาการนิ เ ทศ เพื่อใหเกิดคุณภาพไดอยางไร/ หาวิธีการนิเทศที่ดี -เสริมพลังอํานาจ (Empowerment) ผูปกครอง ชุมชน องคกร ทองถิ่นพัฒนาการเรียนรูของเด็ก -สงเสริมให ผอ.สพท.ถอดบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบาย โดยสพฐ. สนับสนุนพี่เลี้ยง -ศึกษากระบวนการปฏิบัติงานของผูบริหารสถานศึกษา -พัฒนาวัฒนธรรมการสรางนวัตกรรมใหอยูในวิถีชีวิตของบุคลากร เทาทันสภาวการณ -การมี ส ว นร ว มของคณะกรรมการสถานศึ ก ษา, การได รั บ การ (เฝาระวัง) สนับสนุนชวยเหลือจาก สพท., การบริหารงานดานตางๆของโรงเรียน

หนา | 13


4. ดานหลักสูตร การสอน และสื่อการเรียนรู เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/ -พัฒนาสิ่งอํานวยใหผูเรียนบรรลุมาตรฐาน (Opportunity to Learn: OTL) R&D -สรางศูนยสื่อ/รวบรวมสื่อการเรียนรูที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานหลักสูตร -สราง source of multimedia เพื่อการเรียนรูของครูและเด็ก -ทําอยางไรครูจึงจะใชสื่อในการสอนอยางหลากหลาย -พัฒนามาตรฐานสื่อแตละประเภท -พัฒนาสื่อที่เหมาะสมกับบริบทและวัย/ กลุมเด็ก เชน เด็ก LD, เด็กพิการ -พัฒนาผูผลิตสื่อใหสามารถพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพ -การซึมซับ/ การสื่อความหมายและความเขาใจจากสื่อไปยังเด็ก -พัฒนาหลักสูตรการสอนที่ยืดหยุนเนนอาชีพและการทํางานเปน -การจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย/การพัฒนาเด็กปฐมวัย -การเรียนปรับพื้นฐาน (transition program) ที่ดีควรเปนอยางไร -ศึกษากระบวนการปนเด็กหัวกะทิ -กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและหนวยการเรียนรูของโรงเรียนนํารอง ใชหลักสูตรแกนกลาง 2551 -พัฒนาหลักสูตร/การสอน/ประเมินการศึกษาทางเลือก/ตามอัธยาศัย -แสวงหา/จัดหา/พัฒนาสื่อและหนังสือดีๆสําหรับเด็ก -วิเ คราะห คุณ ภาพของตัว ชี้วัด ในหลั กสูต รแกนกลางการศึก ษาขั้ น พื้นฐาน 2551 วาเปนแบบ Performance Standard หรือไม -ทํา comparative study กับตางประเทศ เรื่อง ออกแบบ ร.ร.โดยใช ทฤษฏีสมอง, โฮมสคูล, ตนทุนจริงของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ, การสอนทักษะชีวิต, การศึกษาคนกลุมนอย, พัฒนาเด็ก talented ที่ ไมใช Gifted, การศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพ -หา consensus ของหลักสูตรตางๆ วาควรสอนอะไรเด็กและอยางไร -วิจัยเพื่อแกปญหาพฤติกรรมเด็กกลุมวัยเรียน

14 | หนา


เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางนโยบายใหม/ -สรางนโยบายผลิต/พัฒนาสื่อระดับชาติ เนนปญญานิยม, สรางคานิยม ชี้ทิศทาง ความเปนไทย (เชนเดียวกับที่ประเทศเกาหลีใชสื่อเปนเครื่องมือสราง ชาติสรางรายได) -นโยบายสื่อเสรี ทําอยางไรจึงจะเสรี และเสรีอยางเหมาะสมควรเปน อยางไร -คัดเลือก/จัดอันดับ/นําเสนอรายชื่อหนังสือดีเพื่อเด็ก -Paradigm ดานการเรียนรูของคนการศึกษาตองเปน learning mode (ไมใช training mode/ transfer mode) งอกงามจากภายในใจ/สมอง ผานการปฏิบัติดวยตนเอง -พัฒนา magnet school รวมมือของสถาบันอุดมศึกษาและสถาน ประกอบการ ขับเคลื่อนนโยบาย/ -หา best practicesวิธีพัฒนาหลักสูตร วาที่ไหนทําดีแบบที่เราอยาก Action Research เห็ น และเป ด ใจกว า งให เ ขาปรั บ ตามเงื่ อ นไขของเขา ให ไ ด ต าม เปาหมาย แตวิธีปฏิบัติแตกตาง -การจัดการเรียนรูเนน Research Based/ Project Based/ Experimental Based Learning -ถอดบทเรี ย นการพั ฒ นาด า นวิ ท ยาศาสตร ข องหน ว ยงาน สสวท. สวทช. เทาทันสภาวการณ -สํารวจสื่อที่มีอยูในประเทศไทย (เฝาระวัง) -ความคิดเห็นของเด็กตอสื่อตางๆ/ Needs assessment ดานสื่อของเด็ก

หนา | 15


5. ดานประสิทธิภาพของระบบการศึกษา เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางองคความรูใหม/ -ทํา Historical Research ศึกษาการเปลี่ยนแปลงดานการศึกษา R&D ตั้งแตป 2503 เพื่อ Problem Identification/ดูวามี Factor อะไรที่ทํา ใหการศึกษาเปลี่ยนทิศทาง -ทดลองนํารองโรงเรียนเนนองครวม เนนอาชีพ -การใชประโยชนรอง ผอ.สพท.ใหเต็มศักยภาพ -นํารองการกระจายอํานาจเต็มรูปใหกับ สพท. -วิเคราะหกิจกรรมโครงการที่ ศธ/ สพฐ/ สพท. ดําเนินการวาลงถึง เด็กเพียงใด -เปรียบเทียบแนวคิดระบบการศึกษาไทยกับ UNESCO และประเทศโลก ตะวันตก/ ออก -ควรศึกษาวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญของความแตกตางเรื่องคุณภาพ การศึกษา -ศึกษากลยุทธหรือเทคนิควิธีในการพัฒนาครู ผูเรียน และผูบริหาร จากงานวิ จั ย ของต า งประเทศ รวมและทํ า แจกจ า ยให ค รู แ ละ ผูเกี่ยวของ นําไปทดลองใชในการทํางาน -ศึกษาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการจัดการศึกษา 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต -รู ป แบบที่ เ หมาะสมในการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกในพื้ น ที่ 3 จังหวัดชายแดนใต

16 | หนา


เปาหมายการวิจัย ประเด็น สรางนโยบายใหม/ -การบริหารจัดการแบบ Area Based Reform ชี้ทิศทาง -ความร ว มมื อ จั ด การศึ ก ษาระหว า งสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ครอบครั ว ชุมชน สถานประกอบการ โดยรัฐกํากับดวยมาตรฐานหลักสูตร -การสรางเครือ ขา ยความรว มมือพัฒนาคุ ณภาพการศึกษาภายใน สพท. -พัฒนาเอกลักษณการจัดการศึกษา/ model เฉพาะของ แตละ สพท. - ระบบการใหรางวัลแกขาราชการที่ขยาย KM จัดเวทีเลาเรื่องเสริม พลังเครือขายครู -งบประมาณที่เหมาะสมของการลงทุนในโรงเรียนของรัฐ -กระจายอํานาจการดูแล ร.ร.ไปยัง อปท.อยางจริงจัง เพื่อให ร.ร.เปน ของชุมชน -ปรับปรุงระบบ operation เปนลดขั้นตอน/ กระจายอํานาจ -ควรวิจัยระบบการเงินการคลังเพื่อระบบการศึกษา (Financing) -ออกแบบระบบจัดสรรทรัพยากรใหไปสูโรงเรียนและผูเรียนโดยตรง -ระบบบริหารงานบุคคลที่ดี/ที่ควรจะเปน ของ สพฐ. ควรเปนอยางไร -โครงสรางทางการศึกษาที่ใหมี สพท. เปนการออกแบบระบบที่ถูก หรือผิด -การพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก -ทํายุทธศาสตรของ สพฐ. ในอีก 20 ปขางหนา

หนา | 17


เปาหมายการวิจัย ประเด็น ขับเคลื่อนนโยบาย/ -สั ง เคราะห ค วามรู / ถอดบทเรี ย นจากการขั บ เคลื่ อ นงาน นโยบาย Action Research สูการปฏิบัติ -กํา กับ ติดตาม สพท.อยา งจริง จังเพื่อ ดูแลการบรรลุมาตรฐานของ ผูเรียนในพื้นที่ -บริหารจัดการ/ขับเคลื่อนใหทุกสวนสัมพันธกับมาตรฐานหลักสูตรฯ เพื่อใหเด็กมีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น -การประเมินผลนโยบายเรียนฟรี 15 ป อยางมีคุณภาพ -สร า งความร ว มมื อ ของภาคี เ ครื อ ข า ย(ผู ป กครอง ชุ ม ชน วิ ช าการ ภาคเอกชน อปท.) -นํา Operation Research มาใชเพื่อใหเกิด Innovation ดู Good Practices ใช Result Based ดู Cost Effectiveness และประเมิน ตาม Profile ทั้ง ร.ร.และ สพท. -สงเสริมใหคนในองคกรทํางานแบบ evidence based -ควรมีการติดตามดูวาการถายโอนโรงเรียนไปยัง อปท.มีการจัดการ และคุณภาพเปนอยางไร มีปญหาอะไรบาง -สรางวัฒนธรรมการทํางานแบบใหม -ทํา Meta Analysis Research/ สังเคราะหความรูงานวิจัยในหัวขอ เรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

18 | หนา


เปาหมายการวิจัย ประเด็น เทาทันสภาวการณ -ระบบรายงานคุณภาพประจําปของสพท.และโรงเรียนที่มีความหมาย (เฝาระวัง) -พัฒนานวัตกรรมดาน ICT/ประดิษฐกรรมดานการบริหารจัดการที่ทํา ใหผูบริหารทราบสภาพปจจุบันปญหาและสามารถใชขอมูลเพื่อการ ตัดสินใจไดอยางทันทวงที -School watch -พัฒนาระบบเชื่อมฐานขอมูลทะเบียนราษฎร/ ฐานขอมูลเด็กวัยเรียน เพื่อ Update ขอมูล/ ตรวจสอบการตกหลน/ โอกาสเขาถึงการศึกษา ของเด็ก -ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใชทรัพยากรเพื่อการศึกษา/ การ จัดสรรงบประมาณ -เครือขายครูและบุคลากรทางการศึกษามีกี่เครือขาย ควรมีวิธีการ จัด การกั บกลุ มการเมื อ งเหลา นี้ ที่จ ะเข า มามีผลประโยชนเกี่ ย วพั น ทางการศึกษา -comparative study นวัตกรรมการศึกษา ของประเทศในกลุม ประเทศเอเชียที่ใกลเคียงกับเรา ดู best practices หรือ thinking ของประเทศอื่น จัดทําเปน intelligent report ปละครั้ง

ตอนที่ 3 กรอบการวิจัยและโครงการวิจยั ที่ไดดําเนินการในป 2553-2554 กรอบการวิจัยและโครงการวิจัยที่ผานการพิจารณาของคณะอนุกรรมการดาน วิ จั ย การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และสํ านั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้ นพื้ นฐานนํ าไป พิ จารณาจั ดทํ าเป นโครงการวิ จั ย และใช เ ป น กรอบการดํ า เนิ น งาน ประกอบด ว ยชุ ด โครงการวิจัย จํานวน 5 ชุด คือ ชุดโครงการที่ 1 ผูเรียน: ขับเคลื่อนดวยมาตรฐาน ชุดโครงการที่ 2 ครูและบุคลากร: ปลุกพลังการเรียนรูดวย KM หนา | 19


ชุดโครงการที่ 3 หลักสูตรและสื่อการเรียนรู: เชื่อมโยงการศึกษาเพื่อการมีงานทํา ชุดโครงการที่ 4 พื้นที่ : ระดมสรรพกําลังเชิงพื้นที่เพื่อผูเรียน ชุดโครงการที่ 5 บริหารจัดการ : เพิ่มประสิทธิภาพระบบการศึกษา 3.1 ชุดโครงการที่ 1 ผูเรียน: ขับเคลื่อนดวยมาตรฐาน ดําเนินการโดยมี รศ.ดร.นาตยา ป ลั น ธนานนท เป น ที่ ป รึ ก ษาโครงการ ชุ ด โครงการนี้ เ ป น การศึ ก ษา องคความรูและพัฒนามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบดวย 8 โครงการ ดังนี้ (1) วิจัยพัฒนามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมที่หลากหลาย (2) วิจัยพัฒนามาตรฐานเพื่อการอาชีพ (3) วิจัยพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษา สําหรับเด็กที่มีความตองการพิเศษ (4) การสังเคราะหการประเมินคุณภาพมาตรฐาน การเรียนรู 8 กลุมสาระ (5) วิจัยพัฒนามาตรฐานการประเมิน (6) วิจัยพัฒนามาตรฐาน การเรียนรูรายวิชา(Course standards) (7) วิจัยพัฒนา Curriculum alignment และ (8) การพัฒนาระบบบริหารจัดการการประเมินแบบอิงมาตรฐาน ระดับชาติ 3.2 ชุดโครงการที่ 2 ครูและบุคลากร: ปลุกพลังการเรียนรูดวย KM เปนชุดโครงการที่มีจุดมุงหมายเพื่อตอยอดระบบการพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษา ดวยกระบวนการจัดการความรู (Knowledge Management: KM) ซึ่งเปนเครื่องมือที่มี ความสําคัญในการสรางสังคมแหงการเรียนรู เริ่มจากการเรียนรูวิธีปฏิบัติที่ดี (best practices) จากเพื่อนรวมวิชาชีพ กอเกิดจากความภาคภูมิใจและกําลังใจใหเจาของ ผลงานได ส ร า งสรรค ง านต อ ไป และผู รั บ ฟ ง ได รั บ การจุ ด ประกาย เกิ ด พลั ง และแรง บันดาลใจในการลุกขึ้นพัฒนางาน หากมีการออกแบบกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู/ Show & Share ที่ดี และมีระบบสนับสนุนใหระบบขับเคลื่อนอยางจริงจัง จะกอใหเกิด สังคมฐานความรูและวัฒนธรรมการเรียนรูแบบใหมของครูและบุคลากรการศึกษา ซึ่ง คณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน เห็นวา ควรเชื่อมโยง/เสนอแนวคิดของ การพั ฒ นาครู ด ว ยกระบวนการจั ด การความรู กั บ โครงการพั ฒ นาครู ทั้ ง ระบบ ตาม โครงการ SP2 ที่มีแผนงานและงบประมาณดําเนินการอยูแลว 20 | หนา


3.3 ชุดโครงการที่ 3 หลักสูตรและสื่อการเรียนรู: เชื่อมโยงการศึกษา เพื่ อ การมี ง านทํ า คณะอนุ ก รรมการฯ ได เ ห็ น ชอบในหลั ก การให ค ณะครุ ศ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.สิริพันธ สุวรรณมรรคา เปนหัวหนาคณะนักวิจัย มีกรอบงาน อาทิ สังเคราะหองคความรูจากตางประเทศ ศึกษาจากโรงเรียนที่ปฏิบัติไดดี ซึ่งตอมาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดอนุมัติใหดําเนินการโครงการวิจัย “แนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ” เปนความรวมมือระหวาง คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.4 ชุดโครงการที่ 4 พื้นที่ : ระดมสรรพกําลังเชิงพื้นที่เพื่อผูเรียน คณะอนุกรรมการฯเห็นชอบใหรวมสนับสนุนงบประมาณในชุดโครงการวิจัยและพัฒนา เครือขายเชิงพื้นที่เพื่อหนุนเสริมการพัฒนาการเรียนรู (Local Learning Enrichment Network – LLEN) รวมกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย โดยมีวัตถุประสงคหลัก 4 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาความเปนไปไดและขอจํากัดของแนวคิดในการบูรณาการ ความรวมมือเชิงพื้นที่ (Area-based Integration) เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรูสําหรับ นักเรียนในพื้นที่ (2) เพื่อศึกษารูปแบบและแนวทางตลอดจนนวัตกรรมการจัดการใน การสรางเครือขายและระดมสรรพกําลังจากภาคสวนตางๆในพื้นที่เพื่อรวมสนับสนุน การยกระดับคุณภาพการเรียนรูของนักเรียนในพื้นที่ (3) เพื่อศึกษาถึงขีดความสามารถ เงื่อนไขและขอจํากัดของมหาวิทยาลัยในพื้นที่ในการประสานเครือขายและระดมสรรพกําลัง และ(4) เพื่อสังเคราะหบทเรียนและองคความรูจากโครงการเพื่อการขยายผลในวงกวาง และจัดทําขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนตอผูเกี่ยวของ ซึ่งชุดโครงการวิจัยนี้มี 15 มหาวิทยาลัยเปนแกนหลักในการบริหารจัดการความรวมมือ โดยทดลองทํางานรวมกับโรงเรียน 8-40 แหงในพื้นที่ 3.5 ชุดโครงการที่ 5 บริหารจัดการ : เพิ่มประสิทธิภาพระบบการศึกษา จากกรอบของชุดโครงการวิจัยนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดอนุมัติโครงการวิจัย จํานวน 3 โครงการคือ (1) การพัฒนาสูตรการจัดสรรงบประมาณ หนา | 21


เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการใชจายเงินงบประมาณในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและการ จัดทําตัวชี้วัดสถานะเศรษฐกิจและสังคมระดับ ระยะที่ 1 และ 2 (2) การสังเคราะหการ บริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาที่ใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) และ (3) รูปแบบการสงเสริมการ ดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สําหรับขอคิดและประเด็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน: มุมมอง ของผูทรงคุณวุฒิ ที่ไดเกิดขึ้นจากขอเสนอแนะของคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นับวามีประโยชนยิ่งตอทิศทางการดําเนินงานที่ชัดเจนเกี่ยวกับการวิจัยของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตั้งแตป 2552 จนถึงปจจุบัน รายการอางอิง กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา, คุณหญิง. 2552. “ประเด็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.” ในเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการดานวิจัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 3 / 2552 วันที่ 26 มิถุนายน 2552 ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร. 2552. สัมภาษณ, 19 พฤษภาคม. นิพนธ สุรพงษรักเจริญ. 2552. สัมภาษณ, 1 มิถุนายน. ปยะบุตร ชลวิจารณ. 2552. สัมภาษณ, 13 พฤษภาคม. รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการดานวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 4 / 2552 วันที่ 14 กันยายน 2552. วรากรณ สามโกเศศ. 2552. สัมภาษณ, 29 พฤษภาคม. วิจารณ พานิช. 2552. สัมภาษณ, 28 พฤษภาคม. อมเรศ ศิลาออน. 2552. สัมภาษณ, 18 พฤษภาคม. -------------------------------

22 | หนา


การบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาที่ใชนวัตกรรม การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) ผศ.ดร.ไมตรี อินทรประสิทธิ์1

1. ความสําคัญและความเปนมา ในการพัฒนาประเทศ มีความพยายามนํานวัตกรรมหรือแนวคิดใหมๆ มาใชใน เมืองไทยโดยตลอด แตความพยายามสวนใหญ มักประสบกับความลมเหลว หรือ ไมสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่งมาจากการขาดการเตรียมบริบทเพื่อ การใช น วั ต กรรมหรื อ แนวคิ ด ดั ง กล า ว การพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ข องญี่ ปุ น ที่ เ รี ย กว า “การศึกษา ชั้นเรียน” (Lesson Study) เปนนวัตกรรมที่ไดรับการพัฒนาและใชใน ประเทศญี่ ปุ น มาตั้ ง แต เ มื่ อ ประมาณ 130 ป ที่ แ ล ว (Shimizu, 2006) ป จ จุ บั น ได รั บ การเผยแพรไปหลายประเทศทั่วโลกเพื่อใชในการพัฒนาวิชาชีพครู สําหรับประเทศไทย ไดนํามาใชครั้งแรกตั้งแตป พ.ศ.2545 (Inprasitha, 2007) โดยมีการเตรียมบริบทที่ เกี่ยวของเพื่อนํานวัตกรรมดังกลาวมาใช ไดแก บริบทดานหลักสูตรการผลิตครู บริบท ดานบัณฑิตศึกษา บริบทดานการฝกอบรมครูประจําการ และบริบทดานการพัฒนา วิชาชีพครูในระยะยาว โดยเนนการบูรณาการทุกบริบทเขาดวยกัน การเตรียมบริบทดังกลาว เริ่มตนดวยการทดลองใชกับนักศึกษาฝกหัดครูชั้นปที่ 4 ที่ออกฝกสอนในปการศึกษา 2545 ตอมาตั้งแตปการศึกษา 2546 กําหนดใหการดําเนิน การฝกอบรมครูประจําการ เปนกิจกรรมหลักที่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาทุกคนตองเขารวม ในช ว งป 2546 - 2547 ได ท ดลองผสมผสานกั บ การฝ กอบรมครู ป ระจํา การระยะสั้ น แบบเดิมโดยขยายการติดตามประเมินผลจริงในโรงเรียน ตั้งแตปการศึกษา 2549 ได พัฒนาโมเดลเพื่อการนํามาใชในโรงเรียนเต็มรูปแบบเปนโครงการนํารอง ระยะเวลา 3 ป (2549 - 2551) โดยโมเดลดั ง กล า วประกอบด ว ยความร ว มมื อ จากสํ า นั ก งาน 1

คณบดีคณะศึกษาศาสตร และผูอํานวยการศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน

หนา | 23


คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา และศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน และความรวมมือจากนานาชาติ ความสนใจในการนํานวัตกรรมไปใชในโรงเรียนเพิ่มขึ้น เรื่ อ ยๆ จนกระทั่ ง รั ฐ บาลได ใ ห สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา (สกอ.) และ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานนํารองการขยายผลการใชนวัตกรรมในเขต ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจํานวน 22 โรงเรียน ในระหวางป 2552 - 2554 ขณะเดี ย วกั น ในป 2554 เพื่ อ เป น การเตรี ย มการขยายผลในระดั บ ประเทศ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานได ใ ห ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ดํ า เนิ น โครงการสังเคราะหรูปแบบการบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาที่ใชนวัตกรรม การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) จาก 15 โรงเรียนใน 22 โรงเรียน เพื่อนําเสนอแนวทางสําหรับโรงเรียนอื่นๆ ที่จะนํานวัตกรรม ดังกลาวไปใช 2. วัตถุประสงคของการวิจัย การวิ จัย ครั้ งนี้ มีวั ตถุ ประสงค เพื่อ สัง เคราะหรู ป แบบการบริห ารจัด การงาน วิชาการในสถานศึกษาที่ใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (School - based Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) 3. วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชวิธีการศึกษาวีดิทัศนชั้นเรียน (Video Classroom Study, Stigler & Hiebert, 1999) และการศึกษากรณีศึกษา กลุมเปาหมายที่เปนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จํานวน 15 โรง จากนั้นทําการสังเคราะหจากกรณี ศึกษาทั้ง 15 กรณี เพื่อใหได ภาพรวมการบริหารจัดการงานวิชาการในสถานศึกษาที่ใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) โดยมีรายละเอียดของวิธีการ ที่ใชในแตละโรงเรียนดังตอไปนี้ 1) การกําหนดแผนการปฏิบัติงานระยะยาว 3 ป 24 | หนา


โดยการดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรมจะเริ่มตนในระดับชั้นแรกของชวงชั้นและ เพิ่มขึ้นปละ 1 ชั้น ไปจนครบทุกระดับชั้น ในระยะเวลา 3 ปเชนในปที่ 1 เริ่มที่ระดับชั้น ป.1 และ ป.4 ในปที่ 2 เพิ่มระดับชั้น ป.2 ในชวงชั้นที่ 1 และเพิ่มระดับชั้น ป.5 ในชวงชั้น ที่ 2 ในปที่ 3 เพิ่มระดับชั้น ป.3 ในชวงชั้นที่ 1 และเพิ่มระดับชั้น ป.6 ในชวงชั้นที่ 2 2) การอบรมเชิงปฏิบัติการกอนนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดไปใช ในโรงเรียน เพื่อสรางความเขาใจรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย 3) การเขารวมอบรม เชิงปฏิบัติการและการบรรยายในระหวางป โดยผูเชี่ยวชาญทั้งในและตางประเทศ เพื่อ พัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับนวัตกรรม เชน โครงสรางและหนวยการเรียนรูของ หนังสือเรียนคณิตศาสตร คูมือครูและอภิธานศัพท เทคนิคการใชกระดานดํา รวมถึง วิธีการในการประเมินชั้นเรียน และ 4) การเขารวมการเปดชั้นเรียน (Open Class) ในแตละ ภาคการศึกษาแตละโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเปดชั้นเรียน และเมื่อสิ้นปการศึกษา ทุ ก โรงเรี ย นเข า ร ว มกิ จ กรรมการเป ด ชั้ น เรี ย นประจํ า ป ที่ ค ณะศึ ก ษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และการเขารวมการเปดชั้นเรียนในที่ประชุมทางวิชาการระดับ นานาชาติ APEC - Lesson Study ที่จัดขึ้นในประเทศไทยเปนประจําทุกป ในระหวางที่มี การนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดไปใชในโรงเรียน การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลการบริหารจัดการ งานวิชาการของโรงเรียน ในประเด็นดังนี้ (1) รูปแบบการบริหารจัดการ โดยรวบรวมขอมูล เกี่ยวกับการจัดสรรเวลา การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียน และ การสะทอนผลชั้นเรียน (2) ขอมูลเกี่ยวกับการสนับสนุนการดําเนินงาน และ (3) ขอมูล เกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคโดยใชแบบสอบถามและการสัมภาษณผูที่เกี่ยวของ (4) ขอมูล เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริงโดยการบันทึกวีดิทัศนชั้นเรียนของทุก โรงเรียนที่เปนกรณีศึกษา ในการสังเคราะหขอมูลผูวิจัยใชขอมูลจากที่เก็บรวบรวมดังกลาวขางตนแลว ยังใชขอมูลที่ไดจากแบบบันทึกการเขารวมกิจกรรมรายสัปดาห และรายเดือน ขอมูล หนา | 25


จากแบบสอบถาม ขอมูลจากแบบสัมภาษณรายบุคคล และขอมูลจากการนําเสนอผล การดําเนินงานประจําปของแตละโรงเรีย น รวมทั้งขอ มู ลอื่นๆ ที่เกี่ย วกับการบริหาร จัดการงานวิชาการของโรงเรียน ทําการสังเคราะหขอมูลภาพรวมของการบริหารจัดการ งานวิชาการของโรงเรียน โดยแยกโรงเรียนออกเปน 4 กลุม ดังนี้ 1) กลุมโรงเรียนตนแบบ การใชนวัตกรรมการศึกษา ชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปที่ 5 จํานวน 2 โรงเรียน 2) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกน และมหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปที่ 2 จํานวน 3 โรงเรียน 3) กลุม โรงเรี ย นภายใต ค วามร ว มมื อ ระหว า งมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น และมหาวิ ท ยาลั ย อุบลราชธานี ซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปที่ 2 จํานวน 3 โรงเรียน 4) กลุมโรงเรียนภายใต การดูแลของมหาวิทยาลัยขอนแกนซึ่งใชนวัตกรรมมาเปนปที่ 2 จํานวน 7 โรงเรียน โดย จะสังเคราะหเปนภาพรวมตามหัวขอตางๆ ดังตอไปนี้ 1) รูปแบบการบริหารจัดการ โดยจะกลาวถึง แนวทางการจัดสรรเวลา แนวทาง การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู แนวทางการสังเกตชั้นเรียน และแนวทาง การสะทอนผลชั้นเรียน 2) แนวทางการสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียนในภาพรวม 3) ปญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไข ในสวนสุดทายของรายงาน จะกลาวถึงขอเสนอแนะในการบริหารจัดการงาน วิชาการของโรงเรียนจากศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งเปน ผูรับผิดชอบโครงการ

26 | หนา


4. ผลการวิจัย ผลจากการสังเคราะหขอมูลตามกลุมของโรงเรียนพบวา 1) กลุมโรงเรียนตนแบบการใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการ แบบเปด มีรูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนโดยมีการนํานวัตกรรมเขาไปใชแบบ ทั้งโรงเรียน (Whole School Approach) มีการกําหนดแนวทางการจัดสรรเวลาในการพัฒนา แผนการจัดการเรียนรูและการสะทอนผลชั้นเรียนสัปดาหละ 1 วัน ตามความเหมาะสม ของแตละโรงเรียน และมีการกําหนดการสังเกตชั้นเรียนรวมกันในวันจันทรถึงวันศุกร โดยจัดใหครูผูสังเกตสามารถเขารวมสังเกตชั้นเรียนไดอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ ใน การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูในปแรกเปนการพัฒนา โดยอาศัย “สถานการณปญหา (Problem situation)” ในหนังสือเรียนคณิตศาสตรสํานักพิมพ GAKKOHTOSHO ของ ประเทศญี่ปุนมาเปนหลักในการพัฒนากิจกรรมคณิตศาสตร (Mathematical activity) และการออกแบบสื่อ (Material design) และในปตอมาจะมีการนําแผนการจัดการเรียนรู ในปกอนหนามาปรับเพื่อใหสอดคลองกับนักเรียนในแตละป โดยเนนการปรับปรุงคําสั่งใน สถานการณปญหา และการปรับสื่อทั้งสื่อหลักและสื่อเสริมใหเขากับแนวคิดที่เปนธรรมชาติ ของนักเรียนที่ไดจากการบันทึกจากปที่ผานมา แนวทางการสนับสนุนการดําเนินงานใน ปที่หนึ่งและปที่สอง ศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษาไดใหการสนับสนุนงบประมาณบางสวน ในการจัดซื้อและจัดทํา สื่อ วัสดุ อุปกรณ พื้นฐาน หลังจากนั้นโรงเรียนไดบรรจุโครงการ เขาไปในแผนปฏิบัติราชการ การจัดสรรงบประมาณ และงบประมาณในการดําเนิน กิจกรรมใหเปนงบปรกติและตอเนื่องทุกป จึงทําใหลดปญหาในการบริหารจัดการดาน งบประมาณ สําหรับทีมสนับสนุน ประกอบดวย ครูผูสอน ครูผูสังเกต ผูบริหารสถานศึกษา ศึ ก ษานิ เ ทศก นั ก ศึ ก ษาปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา ผู ป ระสานงานโรงเรี ย น ที ม นักวิจัยจากศูนยวิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่ปรึกษาโครงการและ หนา | 27


ผูเชี่ยวชาญภายนอก โดยในทีมการศึกษาชั้นเรียนแตละระดับชั้นนั้นครูที่เขารวมอาจจะ ไมใชเฉพาะครูผูสอนในชวงชั้นเดียวกันก็ได และในปตอๆ มามีการขยายชั้นเรียนไปยัง ระดับชั้นอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ทําใหตองลดขนาดทีมการศึกษาชั้นเรียนลง แตยังคงเปนทีมที่ สามารถทํางานรวมกันได และสามารถทํางานไดอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง นอกจากนี้ การลดทีมสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยขอนแกน เชน ผูประสานงานโรงเรียน ทีมนักวิจัย ที่ปรึกษาโครงการและผูเชี่ยวชาญ แตยังคงเขารวมในโครงการอยางตอเนื่องแตอาจจะ ลดจํานวนครั้งการเขารวมลงนอยกวาในชวงปแรกๆ เพื่อใหโรงเรียนสามารถสรางทีมที่ เขมแข็งของตัวเอง และยังคงสงทีมสนับสนุน ซึ่งเปนนักศึกษาปฏิบัติการสอนเขาไปรวม ทํางานกับครูในโรงเรียน ปญหาอุปสรรคที่พบคือครูผูสอนตองรับผิดชอบวิชาสอนทุกวิชา ทําใหเขารวม สังเกตการจัดการเรียนรูไมไดเต็มที่ และในบางโรงเรียนมีจํานวนนักเรียนในแตละหอง จํานวนมากทําใหครูผูสอนเกิดความยุงยากในการสังเกตแนวคิดรายบุคคลของนักเรียน และความยุงยากในการบริหารจัดการชั้นเรียนตามแนวทางวิธีการสอนที่แตกตางไปจาก เดิม รวมทั้งความยุงยากในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูที่ใชหนังสือเรียนคณิตศาสตร เปนภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนอุปสรรคอันเนื่องมาจากครูขาดความเขาใจในเนื้อหาและภาษา สงผลใหตองใชเวลามากในการออกแบบกิจกรรม การออกแบบสื่อและจัดทําแผนการ จัดการเรียนรู ซึ่งปกติโรงเรียนมีภาระงานมากอยูแลวจากการที่เขารวมโครงการตางๆ ที่ ทางโรงเรียนไดรับมอบหมายทั้งในสวนหนวยงานเชิงนโยบายหรือหนวยงานตนสังกัด ทํา ใหโครงการตางๆ เหลานั้นมีผลตอการดําเนินงานวิชาการของนวัตกรรมฯ เนื่องจากครูที่ เขารวมโครงการ ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบโครงการตางๆ ที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น ทําให ไมสามารถเขารวมสังเกตการจัดการเรียนรูหรือสะทอนผลการสังเกตการจัดการเรียนรูได อยางตอ เนื่อ ง ซึ่งโรงเรียนไดแกไขดวยการมอบหมายใหนักศึกษาปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษาเขาสังเกตชั้นเรียนอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ สําหรับครูของทีมการศึกษา ชั้นเรียน ถาไมมีการจัดการเรียนรูในชั่วโมงนั้นใหเขาสังเกตชั้นเรียนอื่นที่มีการจัดการเรียนรู 28 | หนา


2) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกนและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีรูปแบบการบริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดสรรเวลาในการพัฒนาแผนการจัด การเรียนรูประจําสัปดาหรวมกันในวันจันทร (ชวงเวลาที่เสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน) สังเกตชั้นเรียนรวมกันในวันจันทรถึงวันศุกร และสะทอนผลหลังการจัดการเรียนรูประจํา สัปดาหรวมกันในวันพุธหรือวันพฤหัสบดี ตามความเหมาะสมของแตละโรงเรียน (ช ว งเวลาที่ เ สร็จ สิ้ น การจั ดการเรี ย นการสอน) การพั ฒ นาแผนการจั ดการเรี ย นรู จ ะ แบงทีมการเขียนแผนตามชวงชั้น โดยมีนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเปน ผูประสานงานหลักในการเตรียมการ ทั้งในดานของการเตรียมขอมูลพื้นฐานและสื่อ อุปกรณ ซึ่งครูประจําการในแตละชวงชั้นจะเปนผูที่คอยสนับสนุนและชี้แนะในประเด็น ตางๆ จากประสบการณที่ผานมาจากมุมมองของครูผูสอนและมุมมองของครูผูสังเกต เพื่อใหแผนการจัดการเรียนรูมีความเหมาะสมกับนักเรียนใหมากที่สุด โดยใชหนังสือเรียน คณิตศาสตรญี่ปุนเปนเครื่องมือหลักในการวางแผนการจัดการเรียนรูควบคูกับหนังสือเรียน คณิ ต ศาสตร ไ ทย ในการจั ด สรรเวลาสํ า หรั บ การสั ง เกตชั้ น เรี ย นจะจั ด สรรเวลา เพื่อที่จะใหครูผูสังเกตสามารถเขาสังเกตในชวงชั้นเดียวกันได แนวทางการสนับสนุน การดําเนินงานในชวงแรก โครงการไดใหการสนับสนุนสื่อวัสดุ อุปกรณพื้นฐานเบื้องตน ที่จําเปน และชวงหลังโรงเรียนไดกําหนดเปนงบประมาณของโรงเรียนที่ตอเนื่อง เพื่อ สนับสนุนชั้นเรียนและครูเพื่อใชสรางสื่อการจัดการเรียนการสอน และเพื่อสนับสนุน การทํางานของครูในกระบวนการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด การจัดทีมบุคลากร เขาไปสนับสนุนประกอบดวย ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน ครู ผูประสานงาน โรงเรียน (ประจําการอยูในโรงเรียน 1 เดือนแรกของภาคการศึกษาตน) ผูเชี่ยวชาญ ภายนอกทั้ ง ในและต า งประเทศ และในป ที่ 2 โรงเรี ย นได เ ป น โรงเรี ย นเครื อ ข า ย สถานศึกษาของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยเชียงใหม จึงไดรับนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเขาไปรวมเปนทีมการศึกษาชั้นเรียนดวย หนา | 29


ปญหาอุปสรรคที่พบคือ (1) โรงเรียนประสบปญหาในการเขียนแผนการจัดการ เรียนรูดวยวิธีการแบบเปดในการเขียนคําสั่ง และการจัดลําดับของคําสั่ง กลาวคือ ทางทีม ที่ร ว มเขีย นแผนการจั ด การเรี ย นรู พ ยายามทํ า ความเข า ใจหนั ง สื อ เรี ย นญี่ ปุน เพื่ อ ใช ประกอบการกําหนดกิจกรรม แตทางทีมไมมั่นใจเกี่ยวกับความเขาใจของตนเองที่มีตอ หนังสือเรียนคณิตศาสตรญี่ปุนวาถูกตองหรือไม ทําใหการเขียนแผนการจัดการเรียนรูใช เวลาคอนขางมาก จึงไมสามารถสรางแผนการจัดการเรียนรูและสื่อการจัดการเรียนรูให เสร็จเรียบรอยภายในกําหนดเวลาที่ทางโรงเรียนไดกําหนดไวคือวันจันทรได ในสวนนี้ ทางโรงเรียนและคณะครูจึงไดมีการสรางสื่อการจัดการเรียนรูในวันอื่นที่ไมใชวันเขียน แผน และทํ า ขึ้น ทุ กครั้ งเมื่ อ มีเ วลาว าง นอกจากนี้ยั ง สนับ สนุน ใหบุ ค ลากรเข า อบรม เกี่ยวกับหนังสือเรียนคณิตศาสตรญี่ปุนที่นํามาใชในโครงการ เพื่อเพิ่มเติมความเขาใจใน การนํา ไปใช ให ถู กต อ งมากขึ้ น (2) ครู ป ระจํ า การในโรงเรี ย นมี จํ า นวนน อ ย ทํ า ให ค รู ประจําการที่เขารวมโครงการ แตละคนไมสามารถสังเกตการจัดการเรียนรูในระดับชั้น อื่นๆ ได ในการบริหารจัดสรรเวลาของโรงเรียน เพื่อใหครูสามารถสังเกตชั้นเรียนรวมกันได จึงไดปรับตารางเวลา และลดภาระงานบางอยางใหกับครูที่เขารวมในโครงการลงบาง เพื่อใหสามารถเขารวมการสังเกตชั้นเรียนได (3) ปญหาในการสะทอนผล กลาวคือ ในชวงการสะทอนผลมีปญหาประการแรก คือ ครูเตรียมชิ้นงานนักเรียนมาไมครบทําให การสะทอนผลบางครั้งไมครอบคลุม ปญหาประการที่สองคือ เมื่อสื่อที่ครูผูสอนเตรียม สําหรับสะทอนผลมีมากขึ้น ทําใหมีเวลาไมเพียงพอที่จะพูดถึงแนวคิดของนักเรียน และ ประเด็นที่ครูไดสังเกต มีมากทําใหเวลาสะทอนไมเพียงพอ นอกจากนั้น ยังพบปญหาวา ประเด็นในการสะทอนผลยังไมมีความชัดเจนและไมครอบคลุมประเด็นที่จะนําไปใชปรับ แผนการจัดการเรียนรูในครั้งตอไปได

30 | หนา


3) กลุมโรงเรียนภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยขอนแกน และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีรูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนโดยมีการจัดสรรเวลาในการพัฒนา แผนการจัดการเรียนรู อยางนอยสัปดาหละ 1 วัน ตามความเหมาะสมของแตละ โรงเรียน และการสังเกตชั้นเรียนในชวง วันจันทรถึงวันศุกร และการสะทอนผลชั้นเรียน สัปดาหละ 1 วัน การสนับสนุนการดําเนินงานในดานงบประมาณ ในชวงแรกโครงการได ใหการสนับสนุนงบประมาณบางสวนในการจัดซื้อและจัดทํา สื่อ วัสดุ อุปกรณ พื้นฐาน เพื่อใชในการเตรียมการจัดการเรียนรูและการดําเนินการในชั้นเรียน หลังจากนั้นโรงเรียน ไดจัดสรรงบประมาณ คาวัสดุ สื่อ โดยกําหนดเปนงบประมาณของโรงเรียนที่ตอเนื่อง เพื่อใชในการดําเนินกิจกรรมของโครงการ ในการจั ด ที ม บุ ค ลากรเพื่ อ สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานตามแนวทางการใช นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด จะเห็นวาโรงเรียนไดมีการกําหนดและ จัดทีมในการทํางานในแตละระดับ ชั้นอยางชัดเจนเพื่อใหการดําเนินการตางๆ ตาม โครงการสามารถเปนไปได ปญหาอุปสรรคที่พบคือ ในการเริ่มตนโครงการในโรงเรียน ซึ่ ง เป น ความร ว มมื อ ระหว า งมหาวิ ท ยาลั ย เช น กรณี ค วามร ว มมื อ ระหว า ง มหาวิทยาลัยขอนแกนกับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีนั้น ไดเกิดปญหาขึ้นจากการที่ โรงเรียนทั้งสามโรงเรียนของโครงการอยูในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ทําใหการดูแล ใหคําปรึกษา และการบริหารจัดการจากทีมบุคลากรของมหาวิทยาลัยขอนแกน ไมสามารถ ทําไดอยางเต็มที่หรือไมสามารถเขาโรงเรียนไดบอยครั้งดังเชนโรงเรียนที่อยูในจังหวัด ขอนแกน เนื่องดวยขอจํากัดเรื่องระยะทาง ดังนั้นมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในฐานะ มหาวิทยาลัยเครือขายและอยูใกลโรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีมากกวา จึงไดจัดสรรบุคลากรเขามาสนับสนุนและดูแลโรงเรียนในเขตพื้นที่ ในการดําเนินงานที่ผานมา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีไดทําหนาที่ตรงนี้อยาง เต็มที่ ทั้งในสวนของการจัดสรรทีมบุคลากรเพื่อรับผิดชอบดูแลแตละโรงเรียน เขารวมกับ หนา | 31


โรงเรียนอยางสม่ําเสมอในการสังเกตและสะทอนผล รวมถึงการเปดชั้นเรียนในแตละ ภาคการศึกษา และยังคอยใหกําลังใจ ใหคําปรึกษาดูแลโดยตลอด และเปนศูนยกลาง ในการประสานและสนับสนุนดานสถานที่ เพื่อรวมครูทั้งสามโรงเรียนในกรณีที่ตอง มารวมวางแผนการจัดการเรียนรูกอนเปดภาคเรียน หรือการประชุมหารือรวมตางๆ และ การเริ่ ม ต น โครงการในโรงเรี ย นขยายโอกาส โดยเริ่ ม เฉพาะในที ม ครู ร ะดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 1 - 6 ก อ น ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หากั บ ครู ผู ส อนคณิ ต ศาสตร ร ะดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาตอนตน ทั้งในแงบทบาทของการเขารวมในโครงการความเขาใจที่มีตอ นวัตกรรมและการนําไปใชในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่งอาจจะสงผลตอการขยายผล ไปสู ก ารใช น วั ต กรรมในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น ต อ ไปด ว ย เนื่ อ งจากครู ก ลุ ม ดังกลาวไมเคยผานการอบรมเกี่ยวกับนวัตกรรม หรือการสรางความเขาใจรวมกัน ใน การดําเนินงานมากอน ดังนั้น ในกรณีของโรงเรียนขยายโอกาสที่มีเปาหมายเตรียมจะใช นวัตกรรมถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจึงควรใหครูผูสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต น เข า มามี ส ว นร ว มทั้ ง ในแง ก ารสร า งความเข า ใจร ว มและการอบรมเกี่ ย วกั บ นวัตกรรมดังกลาวตั้งแตตน รวมถึงผูบริหารควรมีการประชุมชี้แจงการดําเนินโครงการ ของโรงเรียนใหกับคณะครูและชุมชนไดรับทราบ รวมถึงสงเสริมและผลักดันใหทุกคนได มีโอกาสเขามามีสวนรวมในโครงการดวย 4) กลุมโรงเรียนภายใตการดูแลของมหาวิทยาลัยขอนแกน มีรูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนในการวางแผนเกี่ยวกับการเขียนแผน การจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียนและการสะทอนผลชั้นเรียน โดยมีการกําหนดวันใน การเขียนแผนการจัดการเรียนรูจัดตารางการสังเกตชั้นเรียนของสมาชิกในทีมการศึกษา ชั้นเรียน โดยพยายามจัดตารางการสังเกตไมใหทับซอนกับตารางการจัดการเรียนรูของ ครูผูสังเกตชั้นเรียน และกําหนดวันการสะทอนผลชั้นเรียนในแตละสัปดาห ในชวงแรก ของการทํ า งานตามแนวทางนวั ต กรรมด ว ย ป แ รกจะเริ่ ม ใช น วั ต กรรมในระดั บ ชั้ น ประถมศึกษาปที่ 1 และ 4 ทําใหบางโรงเรียนมีการกําหนดวันเขียนแผนการจัดการ 32 | หนา


เรียนรูเปนสองวัน เพื่อที่ผูประสานงานโรงเรียนสามารถเขารวมเขียนแผนการจัดการ เรียนรูกับครูได หลังจากเขียนแผนการจัดการเรียนรูแลวเสร็จก็จะดําเนินการออกแบบสื่อ การจัดการเรียนรูทั้งสื่อหลักและสื่อเสริม และในปพ.ศ.2553 เมื่อนักศึกษาปฏิบัติการ สอนในสถานศึกษาเขามาเปนสวนหนึ่งของทีมการศึกษาชั้นเรียน จึงไดมีการปรับวัน เขียนแผน การจัดการเรียนรูขึ้นอยูกับความเหมาะสมของแตละโรงเรียน สําหรับวัน สะทอนผลชั้นเรียนโดยสวนใหญแตละโรงเรียนจะกําหนดในวันพุธหรือวันพฤหัสบดี การสนับสนุนงบประมาณในชวงแรกโครงการเปนผูสนับสนุนสื่อวัสดุอุปกรณพื้นฐาน หลังจากนั้นทางโรงเรียนไดจัดสรรงบประมาณรายป เพื่อใชจัดซื้อวัสดุอุปกรณพื้นฐานเอง การจั ด ที ม บุ ค ลากรสนั บ สนุ น ในช ว งแรกที ม การศึ ก ษาชั้ น เรี ย นประกอบด ว ย ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการโรงเรียน ครูทีมการศึกษาชั้นเรียนและผูประสานงานโรงเรียน จนกระทั่ ง เมื่ อ ป พ.ศ.2553 สาขาวิ ช าคณิ ต ศาสตรศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน สงนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนละ 2 - 3 คน เข า มาเป น ส ว นหนึ่ ง ในที ม การศึ ก ษาชั้ น เรี ย น เพื่ อ ดํ า เนิ น งานตามแนวทางการใช นวัตกรรมฯ นอกจากนี้บางโรงเรียนมีกลุมโรงเรียนมัธยมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาส เขามาสนับสนุนการดําเนินงานตามแนวทางการใชนวัตกรรมฯ เชน โรงเรียนบานบึงกาฬ โรงเรียนกุดบากราษฎรบํารุง โรงเรียนแกงครอวิทยา สนับสนุนครูที่อยูในฐานะผูประสานงาน โรงเรียนของโครงการ เขามามีสวนรวมในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรียน และการสะทอนผลชั้นเรียน ทําใหทีมการศึกษาชั้นเรียนมีความเขมแข็งมากยิ่งขึ้น ปญหาอุปสรรคที่พบคือ (1) โรงเรียนขนาดใหญการสังเกตแนวคิดของนักเรียนทํา ไดยาก และเวลาในการทํากิจกรรมไมเพียงพอตอการจัดกิจกรรมหนึ่งๆ เนื่องดวยกลุม นักเรียนมีจํานวนมากทําใหการนําเสนอแนวคิดของนักเรียนมีเวลาไมเพียงพอ ตองขยาย ไปใชในชั่วโมงถัดไป (2) ครูมีภาระงานนอกเหนือจากงานสอน ซึ่งมีผลกระทบตอการเขา รวมการเขียนแผนการจัดการเรียนรู การสังเกตชั้นเรี ยนและการสะทอนผลชั้นเรีย น นอกจากนี้ ศึ ก ษานิ เ ทศก มี ภ าระงานมากทํ า ให ไ ม ส ามารถเข า ร ว มได อ ย า งต อ เนื่ อ ง หนา | 33


(3) โรงเรียนที่มีครูยายเขาหรือออกในโรงเรียนตลอดทําใหทีมการศึกษาชั้นเรียนไดรับ ผลกระทบ เนื่องจากครูที่เขารับการอบรมเชิงปฏิบัติการเปนระยะเวลา 1 เดือนไดยาย โรงเรี ย น ทํ า ให ข าดบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ค วามเข า ใจในการปฏิ บั ติ ง านตามแนวทาง นวัตกรรม (4) จํานวนหองเรียนมีมาก แตกลุมคนที่มีความเขาใจรวมและทีมทํางานนั้น ยังมีจํานวนนอย จึงไดมีการเลือกจัดการจัดการเรียนรูตามแนวทางนี้ในบางหองเรียน เทานั้น (5) การเขารวมของผูประสานงานโรงเรียนไมตอเนื่อง เนื่องจากผูประสานงาน โรงเรี ย นเป น ครู ป ระจํ า การ มี ภ าระชั่ ว โมงสอนเต็ ม ทํ า ให ไ ม ส ามารถเข า ร ว มได ทุ ก กิ จ กรรม และการเข า ร ว มไม ต อ เนื่ อ งและไม ส ม่ํ า เสมอ (6) การดํ า เนิ น งานของที ม การศึกษาชั้นเรียนในบางโรงเรียนในปแรกไมไดรับความสนใจและการสนับสนุนจาก ผูบริหารระดับเขตพื้นที่การศึกษาและจากผูอํานวยการโรงเรียนเทาที่ควร เนื่องจากการขาด ความเขาใจที่มีตอการดําเนินโครงการ และความเขาใจที่มีตอนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน และวิธีการแบบเปด ทําใหไมไดรับการสนับสนุนเรื่องสื่อวัสดุอุปกรณในการทํากิจกรรม อยางเพียงพอ ซึ่งครูผูสอนสวนใหญจะใชงบประมาณสวนตัวในการจัดซื้อสื่ออุปกรณเอง และการจัดทีมสนับสนุนทั้งบุคลากรจากเขตพื้นที่ และบุคลากรในโรงเรียนยังไมเพียงพอ ทําใหครูผูสอนในทีมการศึกษาชั้นเรียนขาดกําลังใจในการทํางาน เพราะมีความรูสึกวา เปนภาระงานที่หนัก ตองใชเวลาหลังเวลาราชการเพื่อการเตรียมการจัดการเรียนรูมาก และไมมีใครใหความสนใจ รูสึกเหมือนวาตองรับภาระงานหนักอยูฝายเดียว ผลจากการที่โรงเรียนในโครงการทั้งหมดไดนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและ วิธีการแบบเปดไปใช ในชวง 2 ปหรือ 5 ปที่ผานมา ปรากฏวามีหลักฐานหลายอยางที่ ยืนยันวาครูไดเปลี่ยนแปลงความเชื่อเกี่ยวกับการสอน ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรูของ นักเรียนและคานิยมเกี่ยวกับการทํางานรวมกันของครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ซึ่งการทํางานอย างค อยเป นคอยไป ทําให โรงเรียนในโครงการกลายเป นชุมชนแห ง การเรียนรูบนฐานชุมชนแหงการปฏิบัติการที่ทีมการศึกษาชั้นเรียนโดยเฉพาะครูผูสอน 34 | หนา


เปนสมาชิกของชุมชนแหงการเรียนรูบนฐานชุมชนแหงการปฏิบัติ (Community of Practice - based Learning Community: COP - based Learning Community) ทําให ลักษณะการปฏิบัติงานของครูไมใชเปนเพียงการปฏิบัติงานตามคําสั่ง แตเปนการทํางาน ในฐานะครูผูเรียนรู (Teacher as a learner) มองเห็นการพัฒนาวิชาชีพในระยะยาว (Career path) ซึ่งจะทําใหการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดเปนเครื่องมือหรือ วิ ธี ก ารพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ที่ ยั่ ง ยื น ต อ ไป นอกจากนี้ ใ นส ว นของการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย น นอกเหนือจากผลสัมฤทธิ์จะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นในแตละปแลว สมรรถนะ ของผูเรียนในดานตางๆที่หลักสูตรคาดหวังไมวาจะเปนดานการแกปญหา การสื่อสาร การใหเหตุผล เปนตน เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นทั้งขอมูลเชิงประจักษที่ครูผูสอนและ ผูที่เกี่ยวของในการใชนวัตกรรมรับรูไดจากการสังเกตจากหองเรียน และขอมูลจากการเก็บ รวบรวมอยางเปนระบบ 5) แนวทางในการใชนวัตกรรมไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในสวนของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนที่ใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน และวิธีการแบบเปด พบวาแนวทางตอไปนี้เปนแนวทางในการใชนวัตกรรมไดอยาง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.1 ในการเริ่มใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ควรเริ่มใชใน ชั้นแรกของแตละชวงชั้น เชน ชวงชั้นที่ 1 ควรเริ่มระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ชวงชั้นที่ 2 เริ่มระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4 และชวงชั้นที่ 3 ควรเริ่มระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เปนตน ดังตัวอยางตอไปนี้

หนา | 35


ตัวอยางการวางแผนราย 3 ปของโรงเรียนตนแบบ การใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน จํานวน 4 โรงเรียน ปที่ 1 (2549) ปที่ 3 (2551) ปที่ 2 (2550) ป.1-2, ป.4-5 ป.1, ป.4 ป.1-6 และ ม.1-2 ม. 1 ม.1-3 1. โรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ (ขยายโอกาส) 2. โรงเรียนชุมชนบานชนบท (ประถมศึกษา) 3. โรงเรียนบานบึงเนียมบึงใครนุน (ขยายโอกาส) 4. โรงเรียนหนองตูมหนองงูเหลือม (ขยายโอกาส)

ภาพแสดงการวางแผนราย 3 ป ของโรงเรียนตนแบบการใชนวัตกรรม ตัวอยางการวางแผนราย 3 ปของโรงเรียนนํารอง การขยายผลการใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน จํานวน 19 โรงเรียน ปที่ 1 (2552) ปที่ 3 (2554) ปที่ 2 (2553) ป.1-2, ป.4-5 ป.1-6 ป.1 และ ป.4 ภาคเหนือ 4 จังหวัด รวม 6 โรงเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 จังหวัด รวม 13 โรงเรียน

ภาพแสดงการวางแผนราย 3 ป ของโรงเรียนนํารองการขยายผลการใชนวัตกรรม 5.2 ในการนํานวัตกรรมไปใชในโรงเรียนจําเปนตองจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโดย มีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ ไดแก (1) สรางความตระหนักเรื่องความรวมมือระหวาง เขตพื้นที่การศึกษากับโรงเรียนที่จะใชนวัตกรรมและโรงเรียนเครือขายโดยการอบรมเชิง ปฏิบัติการใหกบั ผูบริหารสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก ผูอํานวยการ โรงเรียน ครู ผูประสานงานโรงเรียน และนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 36 | หนา


(2) สรางความรูความเขาใจเกีย่ วกับนวัตกรรมทั้งในบริบทชัน้ เรียนของประเทศญี่ปุน ที่เปนตนกําเนิดของนวัตกรรม และความเปนไปไดในการใชในประเทศไทย โดยอาศัย วีดิทัศนชั้นเรียน ทั้งของประเทศไทยและประเทศญี่ปุนเปนเครื่องมือเพื่อพยายาม เปลี่ยนแปลงโลกทัศน ความเชือ่ หรือคานิยมของตนเองเกี่ยวกับการเรียนการสอน เกี่ยวกับผูเรียน และการทํางานรวมกับเพื่อนครู และนักศึกษาปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้จําเปนตองใหผูที่มีความรู และเชี่ยวชาญ นวัตกรรมดังกลาวเปนวิทยากร

ครู

ผูบริหาร สพท. นักศึกษา ปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา

ผูอํานวยการ โรงเรียน

ศึกษานิเทศก

ทีม การศึกษา ชั้นเรียน

ผูประสานงาน โรงเรียน

ภาพแสดงทีมการศึกษาชั้นเรียน 5.3 ควรวางแผนกิจกรรมภายใตนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบ เปดระยะยาวตลอดป โดยจัดกิจกรรมตอเนื่องอยางนอย 3 ป เพื่อการดําเนินงานตาม แนวทางนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดเปนไปอยางสม่ําเสมอและ ตอเนื่อง และเพื่อใหนวัตกรรมไดมีระยะเวลาในการทํางาน

หนา | 37


5.4 ควรวางแผนกิจกรรมตางๆ ที่จะเกิดขึ้นตลอดทั้งป และมีความตอเนื่อง ตลอดระยะเวลา 3 ป เพื่อใหทีมการศึกษาชั้นเรียนมีเปาหมายในการดําเนินตามแนวทาง นวัตกรรมตลอดทั้งป ดังตัวอยางตอไปนี้ เม.ย./ ต.ค.

• การเขียนแผนการจัดการเรียนรูรวมกัน (รายภาคการศึกษา)

เม.ย.มี.ค.

• การเขารวมประชุมทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

เม.ย.มี.ค.

• การอบรมเชิงปฏิบัติการเพือ่ เพิ่มพูนความรู

ก.พ.และ ต.ค.

• การจัดกิจกรรมเปดชั้นเรียน (open class) ระดับโรงเรียน

30-31 มี.ค.

• การจัดกิจกรรมเปดชั้นเรียน (open class) ระดับประเทศ

ภาพแสดงกิจกรรมภายใตนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดตลอดป 5.5 จากการที่การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูเปนหัวใจของการพัฒนาวิชาชีพครู ดวยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด จึงจําเปนตองมีเครื่องมือที่จะชวยครู ในการพัฒนาแผนอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ ซึ่งในโครงการนี้ไดใชการวิจัยและพัฒนา หนังสือเรียนของสํานักพิมพ GAKKOHTOSHO ของประเทศญี่ปุนเปนเครื่องมือหลัก 6) บทสรุป การนํานวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปดเขาไปในโรงเรียนนั้น เป น เรื่ อ งที่ ต อ งอาศั ย ระยะเวลาและการวางแผนอย า งเป น ระบบโดยพิ จ ารณาว า นวัตกรรมดังกลาวเปนเครื่องมือในการพัฒนาวิชาชีพครูและทําใหโรงเรียนกลายเปน ชุมชนแหงการเรียนรู (Learning of Community) ที่มีเปาหมายในการพัฒนาครูและ 38 | หนา


นักเรียน และคนอื่นที่เกี่ยวของใหสามารถเรียนรูตลอดชีวิต (Life-long Learning) เนน การเปลี่ยนแปลงนิสัยในการคิดหรือการเรียนรู (Habits of mind) มากกวาการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ในระยะสั้นๆ 7) ขอเสนอแนะในเชิงนโยบาย 7.1 การจัดตั้งศูนยพัฒนาวิชาชีพครู ควรมีการจัดตั้งกอตั้งศูนยพัฒนาวิชาชีพครูทั้ง 4 ภาค เพื่อใชในการพัฒนาครู ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ศึ ก ษานิ เ ทศก และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โดยใช น วั ต กรรม การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open Approach) 7.2 ความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยกับโรงเรียน สังกัด สพฐ. เน น ความร ว มมื อ ระหว า งมหาวิ ท ยาลั ย กั บ สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน โดยคณาจารย ใ นมหาวิ ท ยาลั ย มี โ รงเรี ย นในสั ง กั ด สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน เปนโรงเรี ยนกลุ มเปา หมายในการวิ จัย โดยใช โรงเรียนเปนฐานในการวิจัย (School - based Research) และพัฒนานักศึกษาฝกหัดครู รวมถึงนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย 7.3 การพัฒ นาวิ ช าชีพ ครูด วยนวั ต กรรมการศึก ษาชั้น เรีย นโดยใช โรงเรียนเปนฐาน (School - based Lesson Study) การพัฒนาวิชาชีพครูดวยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เปนการพัฒนาวิชาชีพครูโดยอาศัยโรงเรียนของตนเองเปนหนวยในการพัฒนา เนน การนิเทศภายใน โดยรวมมือกันทํางานตามขั้นตอนของการศึกษาชั้นเรียน ผูเชี่ยวชาญ ภายนอกเข า มามี ส ว นรว มในการพั ฒ นาในโรงเรี ย นมากกว า การที่ ค รูใ นโรงเรี ย นจะ ออกไปอบรมระยะสั้นกับผูเชี่ยวชาญภายนอกโรงเรียน 7.4 การพัฒนาวิชาชีพครูดว ยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนโดยใช เขตพื้นที่การศึกษาเปนฐาน (District - based Lesson Study) การรวมกลุมโรงเรียนเครือขาย หรือโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน เขารวมทีมการศึกษาชั้นเรียน เพื่อดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรม กอใหเกิดการขยายผล หนา | 39


การใชนวัตกรรมไปยังโรงเรียนเครือ ขายและโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน รวมทั้ ง มี ก ารแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ตั ว อย า งความสํ า เร็ จ ภาคปฏิ บั ติ ร ะหว า งโรงเรี ย น (Sharing Good Practices) 7.5 การจัดประชุมวิชาการประจําป (Annual meeting) การกําหนดการประชุมวิชาการประจําป (Annual meeting) อยางเชน กิจกรรมเปดชั้นเรียน (Open Class) เพื่อใหครูและบุคลากรทางการศึกษาในทีม การศึกษาชั้นเรียนมีเปาหมายในการดําเนินงานตามแนวทางนวัตกรรมวาในแตละป จะต อ งมี ก ารเตรี ย มตั ว เพื่ อ เข า ร ว มกิ จ กรรมเป ด ชั้ น เรี ย น รวมทั้ ง เป น การเผยแพร นวั ต กรรมการศึ ก ษาชั้ น เรี ย นและวิ ธี ก ารแบบเป ด ให กั บ โรงเรี ย นหรื อ หน ว ยงานทาง การศึกษาที่สนใจนวัตกรรมทั้งในสวนของภาครัฐและเอกชน 7.6 ความรวมมือระหวางสถาบันผลิตครูและหนวยงานการใชครู หนวยงานการใชครู เชน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรทํา ความตกลงกับสถาบันผลิตครูที่ใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด เพื่อ กําหนดโรงเรียนเปาหมายที่เปนทั้งเครือขายสถานศึกษาสําหรับการปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา และโรงเรียนที่จะบรรจุแตงตั้ง เมื่อสําเร็จการศึกษา เพื่อใหเปนโรงเรียนที่ เปนแหลงเรียนรูนวัตกรรมดังกลาว 7.7 การสนับสนุนงบประมาณ 7.7.1 ดานการจัดสรรงบประมาณโรงเรียนควรไดรับการสนับสนุนวัสดุ ครุภัณฑพื้นฐานสําหรับโรงเรียนที่ใชนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด เพื่ อ ให ส ามารถใช น วั ต กรรมได เ ต็ ม รู ป แบบ ซึ่ ง ได แ ก ง บประมาณสํ า หรั บ การจั ด หา หนังสือเรียนคณิตศาสตรที่เนนกระบวนการแกปญหา ซึ่งเปนหนังสือเรียนที่ผานการวิจัย มาแลว (Research - based Textbook) กลองดิจิตอล กลองวิดีโอกระดานแมเหล็ก คูมือครูหนังสือเรียนคณิตศาสตร อุปกรณสําหรับทํากิจกรรมกลุมยอย เชนกระดาษบรูฟ ปากกาเมจิก เปนตน 40 | หนา


7.7.2 โรงเรี ย นในแต ล ะภู มิ ภ าคที่ ต อ งการให เ ป น แหล ง เรี ย นรู ด า น การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปด ควรมีการจัดสรรงบประมาณใหเหมือนกับการจัดสรร ใหกับโรงเรียนวิทยาศาสตร เพื่อใหนักเรียนสามารถมีหนังสือเรียน วัสดุ อุปกรณพื้นฐาน ไวใชในการเรียน รวมถึงการเขารวมกิจกรรมทางวิชาการตางๆ เชน การประชุมวิชาการ ทั้งระดับชาติและนานาชาติ เอกสารอางอิง นฤมล อินทรประสิทธิ์. (2550). การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study): นวัตกรรมเพื่อ พัฒนาวิชาชีพครูภาษาไทย.วารสารศึกษาศาสตร ปที่ 30 ฉบับที่ 2 - 3 เมษายน - กันยายน 2550. ขอนแกน. โรงพิมพคลังนานาวิทยา ไมตรี อินทรประสิทธิ์และคณะ. (2552). การเตรียมบริบทสําหรับการพัฒนาวิชาชีพครู แบบญีป่ ุน ที่เรียกวา “การศึกษาชั้นเรียน” (Lesson Study) มาใชในประเทศไทย. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติเครือขายญี่ปุนศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 1. หนา 152 - 163. ไมตรี อินทรประสิทธ. (2547). การสอนโดยใชวิธีการแบบเปดในชั้นเรียนคณิตศาสตร ของญี่ปุน. KKU Journal of Mathematics Education, 1(1), 1-17. ไมตรี อินทรประสิทธและคณะ. (2546). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูวชิ า คณิตศาสตรในโรงเรียน โดยเนนกระบวนการทางคณิตศาสตร. ขอนแกน: ขอนแกนการพิมพ. สุลัดดา ลอยฟาและไมตรี อินทรประสิทธ. (2547). การพัฒนาวิชาชีพครูแนวใหม เพื่อสงเสริมการเรียนรูคณิตศาสตร. KKU Journal of Mathematics Education, 1(1), 18-28.

หนา | 41


Fernandez, C.& Yoshida, M. (2004). Lesson Study: A Japanese Approach to Improving Mathematics Teaching and Learning. Lawewnce Erlbaum Associates, Inc. New Jersey. Isoda, M., Stephens, M., Ohara, Y. & Miyakawa, T. (2007). Japanese Lesson Study in Mathematics: Its Impact, Diversity and Potential for Educational Improvement. World Scientific Publishing Co.Pte. Ltd. Singapore. Lewis, C., (2002). Lesson Study: A handbook of teacher - led Instructional change. Philadelphia: Research for better schools, Inc. Shimizu, S., (2006). Professional Development through Lesson Study: A Japanese Case. Paper presented at APEC International Symposium on Innovation and Good Practice for teaching and Learning Mathematics through Lesson Study. Khon Kaen Session. Stigler, J.W. & Hiebert, J. (1999). The Teaching Gap: Best Ideas from the World’s Teachers for Improving in the Classroom. New York: The Free Press. Wang - Iverson, P. & Yoshida, M. (2005). Building Our Understanding of Lesson Study. Research for better school, Inc. USA. Yoshida, M. ( 2006). An overview of Lesson Study. In Building our understanding of lesson study (pp.1-12). Philadelphia: Research for better schools Inc.

42 | หนา


แนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ รองศาสตราจารย ดร.สิริพันธุ สุวรรณมรรคา1 และคณะ2

1. หลักการเหตุผล มนุษยจําเปนตองฝกฝนตนเองใหมีทักษะในการแสวงหาปจจัย 4 ในการดํารงชีวิต รวมทั้งไดรับการฝกฝนใหเห็นชองทางที่จะใชความรู ทักษะ ความสามารถ และความชอบ สวนตนในการประกอบอาชีพที่สุจริต การศึกษามีบทบาทสําคัญในการฝกฝนพัฒนาคนให เปนมนุษยที่สมบูรณ โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานนั้นจะจัดการอยางไร เพื่อใหผูเรียน เห็นชองทางในการประกอบอาชีพใหเกิดรายไดสําหรับดํารงชีพใหเร็วและชัดเจนที่สุด นอกจากนี้ แนวโนมการเปลี่ยนแปลงทุกๆ ดาน ทามกลางกระแสโลกาภิวัตน ที่มีการเคลื่อนยายคน เงิน เทคโนโลยี ขอมูล ขาวสาร และความรูอยางเสรี ทําใหการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานและการเรียนรูจะตองมีพลังที่จะกอใหเกิดผลอยางสรางสรรคตอ การพัฒนาการศึกษา การเรียนรูของผูเรียน และการเตรียมตัวของผูเรียนในการประกอบ อาชีพในอนาคต ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของระบบการพัฒนาประเทศ ซึ่งตองเชื่อมโยง กับการพัฒนาดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ภาคบริการ และการจางงาน ภาพสะทอนการจัดการศึกษาที่เชื่อมโยงกับการประกอบอาชีพที่ผานมาพบวา  “การศึกษาสรางคนใหทําอะไรไมเปน (เชิงวิชาชีพ) ปญหาคุณภาพเด็ก เด็กไมรู วาตนเองถนัดอะไร ควรเรียนอะไร มีเด็กจํานวนมากเรียนในสิ่งที่ไมถนัด เด็กมี ปญหาในการตัดสินใจ… แนวทางพัฒนา ควรแบงกลุมเด็กตามความถนัด ตองวัดความถนัดเด็กใหพบวาถนัดวิชาการหรือวิชาชีพ แลวพัฒนาตอยอด ทํา โปรแกรมใหเด็กเลือก ใหเรียน/ทําในสิ่งที่เด็กถนัด ควรฝกใหรูจริงฝกใหทําเปน เชนเดียวกับวิธีของประเทศเยอรมัน” (อมเรศ ศิลาออน, 18 พฤษภาคม 2552) 1 2

อาจารย ประจําคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชญาพิมพ อุสาโห และผูชวยศาสตราจารย ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

หนา | 43


 “ในการวิเคราะหพัฒนาการศึกษากอนที่เรามาถึงจุดนี้ เราจะเห็นมรดกทาง การศึกษาหลายอยางที่ไดใชประโยชนและเห็นสิ่งที่ตองแกไข ซึ่งเปนผลจาก ระบบการศึกษาเมื่อประมาณหนึ่งรอยปที่แลว ตามสาระ พ.ร.บ.ประถมศึกษา 2464 เราออกแบบการศึกษาเพื่อออกไปประกอบอาชีพได ดังที่แสดงใน ไดอะแกรมแผนการศึกษาชาติ 2447 หรือเรียกวา ศึกษาพฤกษ กรอบแนวคิด ระบบการศึกษาดั้งเดิม นักเรียนสามารถออกไปประกอบอาชีพไดหลายระดับ ตั้งแตประถม มัธยมตน มัธยมปลาย และอุดมศึกษา ตางจากปจจุบันที่ตองขึ้น บันได 12 ปการศึกษาขั้นพื้นฐานและขึ้นบันไดอุดมศึกษาอีก 4 ป ถึงไป ประกอบอาชีพได การศึกษาปจจุบันไมไดเปนสะพานขามสูอาชีพไดหลาย ระดับเชนในอดีตที่เรียน 4, 7, 10, 12 ปก็ออกไปประกอบอาชีพได ปจจุบันคน คิดวาตองจบอุดมศึกษา ตองเรียนหนังสือ 16 ป จึงทํางานได...การศึกษาใน อดีตสรางคนเขาสูการประกอบอาชีพไดทุกระดับ การศึกษาปจจุบันไมเตรียม คนเขาสูอาชีพ” (กฤษณพงศ กีรติกร, 2542) การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงมีความจําเปนที่จะนําพาใหเยาวชนไดรับความรู สราง คุณคาของการประกอบอาชีพอยางสุจริตโดยอาศัยความรูความสามารถ และทักษะที่ได เลาเรียนจากการศึกษาในระบบเปนฐาน และขยายตอไปยังการเรียนรูตลอดชีวิตตอไป 2. วัตถุประสงคการวิจัย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค 4 ประการคือ 1) เพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพของไทยกับตางประเทศ 2) เพื่อศึกษาสภาพ ปจจุบันและปจจัยเงื่อนไขที่สงผลตอความสําเร็จของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.และสังกัดอื่น ที่ มี ก ารปฏิ บั ติ ที่ น า สนใจ 3) เพื่ อศึ กษาแนวทางของความร วมมื อขององค กรต างๆ ที่ เกี่ยวของในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ และ 4) เพื่อนําเสนอทางเลือกเกี่ยวกับแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพเพื่อ การตัดสินใจเชิงนโยบายของ สพฐ. 44 | หนา


3. วิธีการดําเนินการวิจัย การดํ า เนิ น การวิ จั ย มี 4 กิ จ กรรม คื อ (1) การศึ ก ษาเอกสารและวิ เ คราะห เปรียบเทียบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพของตางประเทศกับ ประเทศไทย (2) การศึกษากรณีศึกษาโรงเรียนที่มีการปฏิบัติที่นาสนใจ 24 โรงเรียน 4 ภูมิภาค เกี่ยวกับสภาพปจจุบันและปจจัยเงื่อนไขที่สงผลตอความสําเร็จของการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ (3) การจัดกิจกรรมการสนทนากลุมใน ระดับภูมิภาคทั้ง 4 ภูมิภาค 4 ครั้ง และ (4) การจัดกิจกรรมการสนทนากลุมในระดับ ประเทศ 1 ครั้ง 4. ผลการศึกษา 4.1 การศึกษาขั้นพื้นฐานเพือ่ การประกอบอาชีพของไทยและตางประเทศ นโยบายการศึกษาของประเทศไทยซึ่งปรากฏในแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) แผนการศึกษาแหงชาติมีเจตนารมณเพื่อมุง (1) พัฒนา ชีวิตใหเปน “มนุษยที่สมบูรณทั้งทางรางกายจิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข” และ (2) พัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมที่มีความเขมแข็งและมีดุลยภาพใน 3 ดาน คือ เป น สั ง คมคุ ณ ภาพ สั ง คมแห ง ภู มิ ป ญ ญาและการเรี ย นรู แ ละสั ง คมสมานฉั น ท แ ละ เอื้ออาทรตอกันและเพื่อใหบรรลุตามเจตนารมณของแผนการศึกษาแหงชาติ จึงกําหนด วัตถุประสงค 3 ประการคือ (1) เพื่อพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลัก ของการพัฒนา (2) เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู และ (3) เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมเพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และสราง สังคมคุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรูซึ่งมีความสอดคลองกับการศึกษาเอกสารที่ เกี่ยวของกับจุดมุงหมายของการศึกษาที่ระบุวา เปาหมายประการแรกของการศึกษาคือ การเตรียมผูเรียนเพื่อการใชชีวิต รวมถึงชีวิตแหงการทํางาน ซึ่งไมมีความขัดแยงระหวาง การเตรียมพรอมสําหรับการทํางานและการเตรียมพรอมสําหรับการเปนพลเมืองผูมี หนา | 45


วัฒนธรรม หรือลักษณะมุมมองของชีวิตซึ่งการศึกษาไดพยายามจัดใหเกิดขึ้น (Evans, Hoyt, & Mangum, 1973) แนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ (Career education) จึงเปน อีกกรอบความคิดหนึ่งที่จําเปนตองมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนสําหรับผูเรียนโดยเฉพาะการศึกษาภาคบังคับ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปน อยางยิ่งที่จะตองมีความเขาใจที่จะดําเนินการตามแนวคิดการศึกษาเพื่อการประกอบ อาชีพ เนื่ องจากแนวคิดการจัดการศึก ษาเพื่อ การประกอบอาชีพหรื อ อาชีพศึ ก ษามี จุดประสงคเพื่อใหผูเรียนไดมีความคิดที่เปนเหตุเปนผลในการทํางาน สั่งสมความรู และทักษะที่จําเปนในการทํางาน รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และสํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ซึ่งระยะเวลาที่ไดศึกษาหาความรูใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานนั้นจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติอันดี ผานการศึกษา การฝกอบรม และการปฏิบัติงานเพื่อชวยใหผูเรียนมีประสบการณที่จะ ตัดสินใจในการศึกษาตอ และการทํางานตอไปไดในอนาคตทั้งนี้หากผูเรียนขาดความรู ความเข า ใจและเตรีย มความพร อ มเกี่ ย วกั บ การประกอบอาชีพ ความล ม เหลวหรื อ ขอผิดพลาดที่พบซึ่งกอใหเกิดปญหาทางดานสังคมที่ตามมาคือปญหาของการใหคุณคา ของงาน (Work values) ปญหาจริยธรรมในการทํางาน (Work ethic) หรือจรรยาบรรณ วิชาชีพ (Professional ethic) และนิสัยการทํางาน (Work habits) ซึ่งจะไดยินคํา กลาวถึงลักษณะอาชีพที่คนวัยทํางานตองการเสมอๆ คือ “ทํางานสบายๆ” “งานงาย รายไดดี” “ทํางานนั่งโตะ” “เชาชาม เย็นชาม” “งานประจําคืองานที่รับเงินเดือน สวน งานพิเศษคืองานสรางรายไดและความร่ํารวย” “เวลาระหวางวันคือการทํางานหารายได พิเศษ” “การคอรัปชั่นเปนเรื่องยอมรับได จะคอรัปชั่นอยางไรก็ได ขอใหมีผลงาน” อันเปน ความคลาดเคลื่อนของแนวคิดและความคิดความเขาใจที่มีการใชชีวิตและการทํางาน ซึ่งสรางผลเสียหายใหแกสังคมตอไป

46 | หนา


หลั ก สู ต รและการเรี ย นการสอนของสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานจํ า เป น ที่ ต อ ง ดํา เนิ นการอยา งรอบคอบและครอบคลุ ม ถึง จุด ประสงคห ลัก ของการศึ ก ษาเพื่ อ การ ประกอบอาชีพเพื่อใหผูเรียนไดความตระหนักรูในคุณคา และมีความคิดที่เปนเหตุเปนผล ในการทํางาน สั่งสมความรูและทักษะที่จําเปนในการทํางาน รูจักการหาโอกาสและ ชองทางในการทํางาน และสํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ซึ่งจากการศึกษา เอกสารและงานวิจัยพบวาสามารถจัดกลุมของโครงสรางเนื้อหาของการศึกษาเพื่อการ ประกอบอาชีพ (Evans, Hoyt, & Mangum, 1973) ดังนี้ คือ 1) โลกของการประกอบ อาชีพ 2) คุณคาของการทํางาน 3) นิสัยของการทํางาน 4) ความพึงพอใจและการ ปรับตัวในอาชีพ 5) การตัดสินใจเกี่ยวกับอาชีพ และ 6) การตัดสินใจในการประกอบ อาชีพ สอดคลองกับการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพที่สําคัญจากประเทศ ออสเตรเลีย ตัวอยางที่พบจากรัฐควีนสแลนด โดยอางอิงถึงแนวคิดของ McCowan & McKenzie (1997) ไดแก กิจกรรมการเรียนที่เอื้อใหผูเรียนไดตระหนักรูตนเอง (Selfawareness activities) กิจกรรมการเรียนที่เอื้อใหผูเรียนไดคนหาและคนพบ ประสบการณของโลกแหงการทํางานจริง (Opportunity awareness activities) การเรียนรูในการตัดสินใจ (Decision learning) การเรียนรูตอการเปลี่ยนไปของ สถานการณ (Transition learning) ที่จะเขามาทั้งที่ไดวางแผนไวและไมไดวางแผนไว ทั้งที่ปรารถนาจะใหเกิดขึ้นและไมปรารถนาใหเกิดขึ้น การศึ ก ษาเพื่ อ การประกอบอาชี พ ในหลั ก สู ต รและการสอนในสถานศึ ก ษา ประสบความสําเร็จไดจะตองชวยใหผูเรียนไดเห็นความเชื่อมโยงของความรูจากโรงเรียน กับชีวิตจริง ใหผูเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่สนุก นาสนใจ และมีความหมาย ชวยให ผูเรียนมีความรู เจตคติ และทักษะที่จําเปนในอนาคต เพื่อเตรียมผูเรียนใหพรอมตอ การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได ซึ่งสถานศึกษาตองสรางความรวมมือใหเกิดขึ้นระหวาง ผูปกครองและชุมชนซึ่งจะเปนคูคิดที่สนับสนุนและชวยเหลือการจัดการศึกษาเพื่อการ ประกอบอาชีพใหเกิดขึ้นภายในสถานศึกษา หนา | 47


สถานศึกษาและครูตองใหความสําคัญกับออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่ชวย เพิ่มโอกาสใหผูเรียนไดมี 1) การสรางแรงจูงใจ ความตระหนักในคุณคาและความสําคัญ ของการประกอบอาชีพ (Career motivation) 2) การสรางความเขาใจในอาชีพ (Career orientation) 3) การสํารวจโลกแหงอาชีพในยุคปจจุบัน (Career exploration) และ 4) การเตรียมพรอมสูเสนทางการประกอบอาชีพ (Career preparation) ซึ่งจัดเปน รูปแบบการศึกษาอาชีพระดับกอ นอุดมศึกษา ตามแผนภาพที่ 1 ซึ่งเปนรูปแบบ การศึ ก ษาอาชี พ ที่ รั ฐ โอไฮโอ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าได ดํ า เนิ น การออกแบบการจั ด การศึกษา ไวดังนี้

แผนภาพที่ 1 รูปแบบการศึกษาอาชีพของรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา อางถึงใน Dykeman et al. (2001) การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพในการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเปนตองเนน ใหผูเรียนมีความคิดที่เปนเหตุเปนผลในการทํางาน สั่งสมความรูและทักษะที่จําเปนใน การทํางาน รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และสํารวจและกาวเขาสูโลก แหงการทํางาน ซึ่งจะตองพัฒนาความคิดรวบยอด (Concepts) เกี่ยวกับการพัฒนา เสนทางอาชีพ (Career development) ของผูเรียนในชวงอายุตั้งแต 9-15 ป ซึ่งกําลัง เรียนอยูในชั้นประถมศึกษาตอนปลายถึงมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่งหลักสูตรและการเรียน การสอนจากทุ ก กลุ ม สาระการเรี ย นรู แ ละกิ จ กรรมพั ฒ นาผู เ รี ย นจะต อ งให ความสํ า คั ญ และร ว มมื อ กั น จั ด ให ผู เ รี ย นได รั บ การพั ฒ นาความคิ ด รวบยอด โดย 48 | หนา


ดําเนินการแบงน้ําหนักการใหความรูเปน 3 ระดับไดแก การแนะนํา การพัฒนา และการเนนย้ํา ดังตัวอยางในตารางที่ 1 ซึ่งมีความคิดรวบยอดหลายๆ ขอโดยเฉพาะ ในระดับที่ตองใหผูเรียนมีความรวบยอดในชวงแรกๆ ในระดับประถมศึกษาตอนปลายนั้น จัดไดวามีความสําคัญที่เปนพื้นฐานใหเกิดการยอมรับถึงความหลากหลายและความ แตกต า งของการทํ า หน า ที่ แ ละการประกอบอาชี พ ในสั ง คม อั น จะทํ า ให เ กิ ด เจตคติ คุณคาและแรงจูงใจที่ดีตอไป ตารางที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพจําแนกตามลําดับ น้ําหนักการใหความรูและระดับชั้น (Evans, Hoyt, & Mangum, 1973) ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพ อุปสงคและอุปทานของงานและอาชีพมีผลตอการวางแผนประกอบอาชีพ ความชํานาญเฉพาะทางในงานทําใหเกิดพึ่งพาอาศัยกัน สภาพแวดลอม/ศักยภาพสวนบุคคลมีอิทธิพลตอการพัฒนาเสนทางอาชีพ อาชีพและวิถีการใชชีวิตมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน บุคคลจากหลากหลายอาชีพ สามารถเรียนรูที่จะปฏิบัติงานและใชชีวิตได อยางพึงพอใจ การพัฒนาเสนทางอาชีพตองดําเนินไปอยางตอเนื่องและหลากหลาย ทางเลือก บุคคลและสถาบันที่หลากหลายมีอิทธิพลตอนิสัยและโครงสรางของการ ทํางาน บุคคลตองมีความรับผิดชอบตอการวางแผนอนาคตการทํางานของตนเอง ลักษณะของงานและบุคคลตองปรับใหเขากับสังคมที่เกิดเปลี่ยนแปลงได ความเขาใจและการยอมรับตนเองเปนสิ่งสําคัญของชีวิต มนุษยมีความตองการที่จะไดรับการเกียรติและเห็นคุณคา อาชีพตางๆ มีทั้งที่มาและความมุงหมายของอาชีพ อาชีพมีความหลากหลายและอาจจะจัดเปนกลุมอาชีพไดแตกตางกันไป ไดหลายแบบ

น้ําหนักการใหความรู แนะนํา พัฒนา เนนย้ํา ป.4-6 ม.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ป.4-6

ม.1-3

ป.4-6

ม.1-3

ป.4-6

ม.1-3

ม.1-3 ม.1-3 ป.4-6 ป.4-6 ป.4-6 ป.4-6

ม.1-3 ม.1-3 ม.1-3 ม.1-3

หนา | 49


ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการพัฒนาเสนทางอาชีพ การทํางานมีความหมายที่แตกตางกันไปตามแตบุคคลที่ตางกัน การศึกษากับการทํางานมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน แตละบุคคลมีความสนใจ ความสามารถ ทัศนคติ และการใหคุณคาที่ แตกตางกัน

น้ําหนักการใหความรู แนะนํา พัฒนา เนนย้ํา ป.4-6 ม.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ป.4-6 ม.1-3

จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพสําหรับนักเรียน ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไมไดหมายถึงความคาดหวังใหผูเรียนตัดสินใจเลือก อาชีพตั้งแตยังเยาววัย หากแตเปนการจัดการศึกษาใหผูเรียนไดเรียนรู ฝกฝน มีความรู และเจตคติอันดีที่จะนําไปสูตัดสินใจเลือกการประกอบอาชีพในอนาคต สํ า หรั บ ประเทศไทยการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ การประกอบอาชี พ ในการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน ปรากฏในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 สาระที่ 4 ของ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี คือ สาระการอาชีพ เริ่มตนจัดใหกับ นักเรียนตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 4 เปนตนไป เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ พื้นฐานเกี่ยวกับอาชีพในชุมชนของตน และสามารถสํารวจความสนใจ ความสามารถ และทักษะอาชีพของตน และเมื่อเขาสูระดับ มัธยมศึกษาตอนตน จึงเริ่มเรียนรูสาระ เกี่ยวกับแนวทางการเลือกอาชีพ และการสรางเจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ รวมทั้ง ได ฝ ก ทั ก ษะพื้ น ฐานที่ จํ า เป น ต อ การประกอบอาชี พ โดยทั่ ว ไปอย า งเช น ทั ก ษะ กระบวนการทํ า งาน ทั ก ษะกระบวนการแก ปญ หา ทั ก ษะการทํ า งานรว มกั น ทั ก ษะ แสวงหาความรู และทักษะการจัดการ เมื่อเขาสูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียน เริ่มฝกทักษะการหางานจากแหลงตางๆ และพรอมฝกทักษะอาชีพใหมีประสบการณ อาชีพที่ถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะที่ดีตออาชีพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) แต หากพิจารณาจากหลักสูตรและการเรียนการสอนแลวพบวายังขาดการเสริมสรางความรู

50 | หนา


และทั ก ษะทางอาชี พ ที่ เ ป น รากฐานสํ า คั ญ ในเชิ ง บู ร ณาการทั้ ง หลั ก สู ต ร เพื่ อ ให เ กิ ด การพัฒนาทางดานเจตคติสําหรับการทํางานและอาชีพตอไป ในสวนของการเตรียมการสูอาชีพ หรือเตรียมความพรอมในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ซึ่งผูเรียนอยูในวัย 16-18 ป นั้น พบวานโยบายของหลายๆ ประเทศเตรียมการสวนนี้ไมแตกตางกันกลาวคือ จัดใหมี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และการศึกษาตอในสถาบันอาชีวศึกษา สําหรับ ประเทศไทยไดจัดใหมีการศึกษาตอในสถาบันอาชีวศึกษาแบงออกเปนหลายระดับหรือ หลายหลักสูตร มีการกําหนดระยะเวลาในการศึกษาและพื้นฐานความรูของผูเขาศึกษา ต า งกั น โดยทั่ ว ไปแบ ง ได ดั ง นี้ หลั ก สู ต รวิ ช าชี พ ระยะสั้ น หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต ร ชางฝมือ (ปชม.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตร วิ ช าชี พ ขั้ น สู ง (ปวส.) หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ เทคนิ ค (ปวท.) หลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) ดังนั้นแนวคิดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพสําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของไทยจําเปนอยางยิ่งที่จะเปนรากฐานและเปนสวนหนึ่งของเจตนารมณและเปาหมาย ของการศึกษาสําหรับเยาวชนไทย พิจารณาจากแผนภาพที่ 2 การใหความรูความเขาใจ ตอความคิดรวบยอดของ “การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ”จําเปนอยูในทุกระดับชั้น และบูรณาการในหลักสูตรแกนกลางทุกกลุมสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งมีการจัดน้ําหนักของความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพใน แตละดานที่แตกตางกันไปตามระดับชั้นของผูเรียน

หนา | 51


แผนภาพที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ จําแนกตามน้ําหนักการให ความรูและระดับชั้น ผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 เปนวัยที่จําเปนตองเรียนรูเรื่องการอานออก เขียนได (Literacy) การทําความเขาใจเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพจึงเปน สวนที่มีสัดสวนนอยในหลักสูตรและการเรียนการสอน อยางไรก็ตามผูเรียนระดับชั้นนี้ให ความสนใจในเรื่องใกลตัวของตนเอง ครอบครัว การเรียนการสอนจึงสามารถใชเรื่อง รอบตัวของผูเรียนเชื่อมโยงไปสูการใหผูเรียนไดทําความรูจักและเห็นความแตกตางของ หนาที่วิธีการทํางานและอาชีพตางๆ ได ซึ่งเปนการสรางความตระหนักในอาชีพตอ คุณภาพชีวิตใหเกิดขึ้นมากที่สุด กลุมนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 เปนชวงวัยที่ สามารถเขาใจเรื่องราวตางๆ ที่เปนนามธรรมมากขึ้นและเรียนรูจากเรื่องใกลตัวและจาก สื่อตางๆ ไดมากซึ่งสามารถเชื่อมโยงอาชีพตางๆ ใหเห็นถึงความสําคัญของระบบสังคม ได จึงเปนชวงเวลาของการแนะนํา และสรางความรูความเขาใจตอการศึกษากับการ ประกอบอาชีพไดในทั้ง 4 ขั้นของแนวคิด

52 | หนา


สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 นับวามีความสําคัญมากเนื่องจากเปน วัยที่มีความอยากรูอยากเห็น เริ่มสนใจเรื่องของตนเอง เพื่อนใกลชิด มีการสรางสังคม และพัฒนาความเปนอัตลักษณของตนเองมากขึ้น การทําความเขาใจเกี่ยวกับการศึกษา กับการประกอบอาชีพจึงเปนชวงเวลาของการพัฒนาความรูความเขาใจ การยอมรับ ความแตกตางของบุคคลทั้งในดานความสนใจ ความสามารถ ทัศนคติ และการให คุณคาใหเพิ่มมากขึ้นโดยเชื่อมกับการประกอบอาชีพของคนในสังคม และเปดโอกาสให นักเรียนวัยนี้ไดรูจักตนเองมากยิ่งขึ้นโดยการเรียนการสอนจําเปนตองเอื้อใหผูเรียนไดรับ ประสบการณจริงรวมกับการประเมินตามสภาพจริงมากยิ่งขึ้น เชน กิจกรรมการสํารวจ อาชีพ ทัศนศึกษา การสังเกตงานอาชีพตางๆ และงานอาชีพในทองถิ่นแบบมีสวนรวม การฝกปฏิบัติ การเรียนโดยใชโครงงานเปนฐาน และการฝกงาน เปนตน สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเนนหนักที่การเตรียมการสูอาชีพ ซึ่ง โปรแกรมการศึกษากอนระดับ วิชาชีพ เนนการเตรียมการดานทฤษฎีและทักษะเพื่อ ดําเนินการในแนวทางวิชาชีพหลังการเรียนระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีความแตกตางจาก การเตรียมการสูอาชีพของสถาบันอาชีวศึกษาที่เนนการเตรียมการดานทักษะในการ ทํางานและความรูดานเทคนิค ดานพฤติกรรมในการทํางานและทัศนคติในการทํางาน 4.2 สภาพปจจุบันและปจจัยเงื่อนไขที่สงผลตอความสําเร็จของการจัด การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพของโรงเรียนที่มีการปฏิบตั ิทนี่ าสนใจ จากการศึ ก ษาจากกรณี ศึ ก ษาใน 4 ภู มิ ภ าคพบว า ภาพรวมของการจั ด การศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพของโรงเรียนที่มีการปฏิบัติที่ดีนั้นมีการจัดการศึกษา ออกเปน 3 กลุมคือ กลุมที่ 1 การพัฒนาทักษะชีวิต กลุมที่ 2 การพัฒนาฝมือแรงงาน ดานการเกษตร ศิลปวัฒนธรรม และการประกอบการ และ กลุมที่ 3 การพัฒนาฝมือ แรงงานดานอุตสาหกรรมและการบริการ (หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ: ปวช.) กลุมที่ 1 ในการพัฒนาไดนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักใน การบูรณาการเขาไปในทุกกลุมสาระการเรียนรู ในโครงการและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน หนา | 53


รวมทั้งไดรับการสงเสริมจากโครงการเศรษฐกิจพอเพียงจากภายนอก สงผลใหผูเรียนมี ทักษะชีวิตที่สามารถจะนําไปปรับใชในชีวิตการทํางาน กลุ ม ที่ 2 เชื่ อ มโยงมาจากกลุ ม ที่ 1 ที่ มี กิ จ กรรมของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ เกี่ยวของกับการฝกอาชีพ เมื่อมีนโยบายจากหนวยเหนือในดานการพัฒนาการเรียนการ สอนทั้งในเรื่องโครงการเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา โครงการโรงเรียนในฝนฯ รวมทั้ง นโยบายและบทบาทหนาที่ของหนวยงานภายนอก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สภา วัฒนธรรม องคกรปกครองสวนทองถิ่น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน สถาบันการศึกษาฯ ที่เขามาสนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอน กอใหเกิดการขับเคลื่อนของโรงเรียน โดยบุคลากรของโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชน ไดดําเนินการในรูปแบบ ของโครงการและกิจกรรม ตามนโยบายของหนวยเหนือ มีการบูรณาการฝกทักษะอาชีพ ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรู โครงการพัฒนาผูเรียน และโครงการสนับ สนุนจากภายนอก ทั้งในดานงบประมาณ และภูมิปญญาทองถิ่น กอใหเกิดการจัดการเรียนการสอนเพื่อการประกอบอาชีพที่ประสบผลสําเร็จทักษะฝมือ แรงงาน 3 ดาน คือ (1) ดานการเกษตรมี ปลูกพืช เลี้ยงสัตว และการประมง (2) ดาน ศิลปวัฒนธรรม มีการทอผา ทอเสื่อ การแสดงศิลปวัฒนธรรม ดนตรี และ (3) ดานการ ประกอบการมีสหกรณออมทรัพย ธนาคารโรงเรียน รานคานักเรียน รานเสริมสวย ชุมนุม อาชีพตางๆ และโครงงานอาชีพตางๆ กลุมที่ 3 เปนการจัดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ซึ่งสืบเนื่องมา จากนโยบายของกรมสามัญศึกษาเดิม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการบริหารตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 การจัดการศึกษาหลักสูตร ปวช. จึงขาด การสนับสนุน มีการปดการเรียนการสอนไป แตยังคงมีหลายแหงที่ทางโรงเรียนยังเห็น ความสําคัญจึงจัดการเรียนการสอนตอเนื่องประกอบกับเปนความตองการของทองถิ่น เพื่อรองรับนักเรียนที่มีปญหาทางการเงิน ไมสามารถศึกษาตอในวิทยาลัยอาชีวศึกษาได เนื่องจากการเรียนหลักสูตร ปวช. ในโรงเรียนสามัญเปนไปตามนโยบายเรียนฟรีของ 54 | หนา


รัฐบาลและอยูในทองถิ่นของนักเรียนเอง ผูปกครองจึงไมตองเสียคาใชจายเพิ่มเติมใน เรื่อ งคาเดินทาง และ/หรือ คาที่พัก นอกจากนี้ ผูปกครองยังสบายใจที่ไดดูแลอบรม สั่งสอนบุตรหลานของตนอยางใกลชิดซึ่งนักเรียนมัธยมศึกษาอยูในชวงวัยรุนที่มีการ เปลี่ ย นแปลงหลายด า นอย า งรวดเร็ ว ทั้ ง ได ศึ ก ษาต อ กั บ ครู ที่ รู จั ก และเข า ใจวิ ธี ดู แ ล ชวยเหลือนักเรียนมาตั้งแตระดับระดับมัธยมศึกษาตอนตนแลว การดูแลอยางใกลชิด ของผูปกครองและครูในชวงวัยรุนนี้สรางโอกาสใหนักเรียนไดพัฒนาความรู ทักษะ และ ความสามารถในการประกอบอาชีพของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพและสรางสรรค และพบวาหลักสูตร ปวช. ในโรงเรียนสามารถเชื่อมโยงกับองคกรภายนอก ภูมิปญญา ทองถิ่น และสถานประกอบการมาชวยในการสนับสนุนการสอน จึงสงผลใหผูสําเร็จ การศึกษามีงานทํา สรางรายไดใหกับครอบครัวเปนที่พึงพอใจของผูปกครอง หลักสูตร ปวช. เปนการสรางทักษะฝมือแรงงานในดานอุตสาหกรรมและการบริการ เชน สาขา ชางเชื่อมและโลหะแผน สาขาพาณิชยกรรม ที่สามารถตอบสนองสถานประกอบการ และโรงงานอุตสาหกรรม ปจจัยสูความสําเร็จของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพที่ ส ง ผลต อ คุ ณ ลั ก ษณะ ความรู แ ละทั ก ษะของนั ก เรี ย นโดยทั่ ว ไปคื อ ความมี วิ นั ย ความรับผิดชอบตอหนาที่ เจตคติที่ดีตอการทํางาน ความภาคภูมิใจและเห็น คุณคาในตนเอง มีสํานึกรักบานเกิด และภูมิใจในวัฒนธรรมทองถิ่น ทั้งนี้วิธีการ พัฒนาคุณลักษณะนักเรียนดังกลาวของโรงเรียนที่ปฏิบัติดีและนาสนใจในการศึกษาครั้งนี้ สวนใหญมีการพัฒนาคุณลักษณะ ความรูและทักษะของนักเรียนเปน 5 กลุม ไดแก 1) คุณลักษณะ ความรูและทักษะตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานการเกษตรที่สอดคลองกับ ลั ก ษณะเฉพาะของท อ งถิ่ น และการประยุ ก ต ใ ช ใ นอนาคต ได แ ก การปลู ก พื ช เช น การปลูกขาว ผัก ผลไม และเห็ด เปนตน

หนา | 55


3) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานศิลปวัฒนธรรม ไดแก การแสดงดนตรีไทยดนตรีพื้นเมือง เชน โปงลาง หมอลํา เปนตน และหัตถกรรม ไดแก การทอผา ทอเสื่อ สานไมไผ และงานประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติและของเหลือใช เปนตน 4) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานการประกอบการ ไดแก งานสหกรณออมทรัพย ธนาคาร รานเสริมสวย งานขาย งานคอมพิวเตอร เปนตน 5) คุณลักษณะ ความรูและทักษะฝมือแรงงานดานอุตสาหกรรมและการบริการ ไดแก งานชางตางๆ งานพาณิชยกรรม และงานบริการ ทั้งนี้คุณลักษณะของนักเรียนดังกลาวมีความสอดคลองกับผลการวิจัยเกี่ยวกับ คุณสมบัติพื้นฐานของลูกจางที่นายจางตองการ (กรมการจัดหางาน, 2552) ที่พบวา คุณสมบัติพื้นฐานของลูกจางที่นายจางตองการ ไดแก เปนผูที่มีความรับผิดชอบ เปนผูมี ความขยันหมั่นเพียร อดทน สูงาน และเปนผูที่มีระเบียบวินัยในตัวเอง

แผนภาพที่ 3 คุณลักษณะ ความรูและทักษะของนักเรียนจากขอคนพบของการปฏิบัติที่ นาสนใจของโรงเรียนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ 56 | หนา


การจั ด การเรี ย นการสอนที่ จ ะสร า งคุ ณ ลั ก ษณะดั ง กล า วเพื่ อ ให ผู เ รี ย นได ตระหนั ก เห็ น คุ ณ ค า ของการประกอบอาชี พ และพั ฒ นาความรู ค วามเข า ใจต อ คุณลักษณะดังกลาวนั้น จากการวิจัยพบวาโรงเรียนมีการจัดหลักสูตรและการเรียนสอน ที่เนนการเชื่อมโยงกับโลกแหงการทํางานจริง (Real-world relevance) การทํางานกลุม ในการเรียนแบบรวมกัน (Collaboration) การสะทอนคิด (Reflection) ที่ทําใหผูเรียน สรางความรูแบบเมตาคอคนิชัน (Metacognition) และการประเมินแบบบูรณาการ (Integrated assessment) จากเพื่อนรวมชั้นเรียน สถานฝกงาน และครูผูสอน ระบบ การสอนที่เอื้อตอการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ ซึ่งการออกแบบกิจกรรมการ เรียนรูตามระบบการสอนดังกลาวที่พบในโรงเรียนกรณีตัวอยาง ไดแก การมอบหมายให ผู เ รี ย นสํ า รวจอาชี พ การพาไปทั ศ นศึ ก ษา การเรี ย นแบบฝ ก ปฏิ บั ติ ก าร การทํ า งาน อาสาสมัคร การเรียนแบบใชปญหาเปนฐาน การเรียนรูแบบโครงงาน และการฝกงานใน หนวยงานและสถานประกอบการ แสดงเปนแผนภาพที่ 4

แผนภาพที่ 4 ลักษณะกิจกรรมการเรียนรูที่เอื้อตอการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ หนา | 57


แผนภาพที่ 5 สรุปปจจัยและเงื่อนไขสูความสําเร็จจากการปฏิบัติที่นาสนใจของโรงเรียน กรณีศึกษาในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ

58 | หนา


จากการศึกษาวิจัยพบวา มีหลายปจจัยและเงื่อนไขสําคัญของการขับเคลื่อนให การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพเกิดขึ้นได ปจจัยสําคัญ ไดแก หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง นโยบายที่ชัดเจนของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายจากหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของและเอื้อตอการเปนแหลงการเรียนรู การนํานโยบายสูการปฏิบัติ ความรวมมือ ของภูมิปญญาและวิทยากรในทองถิ่น นโยบายของโรงเรียน สรุปไดดังแผนภาพที่ 5 4.3 แนวทางของความร ว มมื อ ขององค ก รที่ เ กี่ ย วข อ งในการพั ฒ นา คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้น ฐานเพื่ อ การประกอบอาชี พ มีเ ป า หมายเพื่ อ ให เ กิ ด คุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา สรางโอกาสการไดรับบริการการศึกษาที่มี คุณภาพและมาตรฐาน ดังนั้นการมีสวนรวมขององคกรทุกภาคสวนจึงมีความสําคัญที่ จะทําใหผูเรียนไดรับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 4.3.1 ดานการมีสวนรวมขององคกรทุกภาคสวน (All for education) จากการศึกษาจากกรณีศึกษาใน 4 ภูมิภาคพบวา ประชาชนในวัยแรงงานผานการศึกษา ขั้นพื้นฐานในรูปแบบของการศึกษาในระบบ และการศึกษานอกระบบโรงเรียน มีสวน หนึ่งที่เขาสูตลาดแรงงานเปนนักเรียนที่ออกจากโรงเรียนกลางคัน และอีกจํานวนหนึ่งคือ แรงงานที่ ไ ม ไ ด ศึ ก ษาต อ ในระดั บ อาชี ว ศึ ก ษา และอุ ด มศึ ก ษานั ก เรี ย นที่ เ ข า สู ต ลาด แรงงานโดยที่ไมไดผานระบบการศึกษาทั้ง 3 ระบบ จะมี 3 กลุม ประกอบดวยกลุมที่ 1 นักเรียนที่ออกนอกระบบการศึกษากอนที่จะจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป หรือการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 12 ป เนื่องจากปญหาและปจจัยตางๆ จึงเปนกลุมที่ขาดความรูและทักษะ อาชีพ และเขาสูแรงงานภาคเกษตรกรรมหรือแรงงานไรฝมือในภาคอุตสาหกรรม กลุมที่ 2 นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลายแตไมสามารถศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาตอง เขาสูแรงงาน จึงเปนแรงงานที่ไมมีทักษะฝมือ และกลุมที่ 3 นักเรียนที่จบประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ของโรงเรียนมัธยมศึกษา เปนกลุมที่มีฝมือเขาสูแรงงาน ทั้ง 3 กลุมจึงเปนกลุมเปาหมายที่ สํานักงานคณะกรรมการ หนา | 59


การศึกษาขั้นพื้นฐานจะตองเขาไปมีบทบาทรับผิดชอบในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังมีหนาที่ที่จะตองเตรียมความพรอมทักษะชีวิต ใหกับนักเรียนในทุกชวงชั้น รวมทั้งการเตรียมความพรอมที่ศึกษาตอในอาชีพหรือความ พรอมในการเขาสูแรงงานในอนาคต องค ก รที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การผลิ ต หรื อ รั บ ผิ ด ชอบการพั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ เป น หนวยงานดานการศึกษาในทุกระบบ (ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย) ทุกระดับ (ระดั บ ขั้ น พื้ น ฐาน อาชี ว ศึ ก ษา อุ ด มศึ ก ษา และการศึ ก ษาอื่ น ๆ) และทุ ก หน ว ยงาน (ภาครัฐและเอกชน) สําหรับหนวยงานหลักที่รับผิดชอบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป คือ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะตองเขามารับผิดชอบโดยตรงในการ จัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ จะตองขับเคลื่อนหนวยงานในสังกัด และโรงเรียน ใหเขามาจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพและไดมาตรฐานและทันตอ การเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และสภาพแวดลอม ในภาคแรงงาน หน ว ยงานที่ เ ป น ผู ไ ด ป ระโยชน จ ากการศึ ก ษา ได แ ก ภาค เกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคการบริการ รวมทั้งภาคราชการ ซึ่งมีความตองการ แรงงานในระดับตางๆ ควรเขามามีบทบาทรวมมือในการสนับสนุนการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อใหไดแรงงานที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ใหสามารถ สนองความตองการดานแรงงานของประเทศ 4.3.2 ดานคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา คุ ณ ภาพและมาตรฐานของการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ การประกอบอาชี พ ของ โรงเรียนตองเนนทั้งทักษะชีวิต และทักษะฝมือแรงงาน ทั ก ษะชี วิ ต เป น หนึ่ ง ในสมรรถนะที่ สํ า คั ญ ในหลั ก สู ต รแกนกลาง และเป น คุณสมบัติพื้นฐานที่สําคัญที่นักเรียนจะตองมีความพรอมในการออกไปประกอบอาชีพ ใหประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืน การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน หลักในการออกแบบและการจัดการเรียนการสอนมีความจําเปนที่จะตองจัดการเรียน 60 | หนา


การสอนทั้งในสวนของการบูรณาการประกอบอาชีพในทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรูและ โครงการพัฒนาผูเรียนและการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อการดูแลตนเองทั้งในบริบทของการ อยู ใ นสั ง คมเมื อ ง และในสั ง คมโรงงานอุ ต สาหกรรมและสถานประกอบการอย า ง ปลอดภัยและเกิดสันติสุข โดยจะตองมีการจัดประสบการณการเรียนรูและการฝกอาชีพ ตามแนวทางของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหนักเรียนมีความพรอมในการออกไปสู ชีวิตการประกอบอาชีพและประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืน การกําหนดนโยบายระดับกระทรวง สํานัก หรือหนวยเหนือทุกระดับที่ชัดเจนใน การจัดการเรียนการสอนเพื่อการประกอบอาชีพ การสนับสนุนอยางเปนระบบ ตั้งแตการ มีสวนรวมในการวิจัย การมีสวนรวมในการพัฒนานโยบาย และการเชื่อมโยงกิจกรรมกับ หนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของกับแรงงานใหเขามามีสวนรวมในการพัฒนาในฐานะผูไดผล ประโยชนจากการไดแรงงาน จะสงผลใหการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการดําเนินการ จัดการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรูและโครงการพัฒนาอาชีพในโรงเรียน สามารถขยายการพัฒนาผูเรียนไปสูผูมีคุณภาพมีทักษะฝมือแรงงาน ทั้งในระดับการ เตรียมความพรอมเพื่อการศึกษาตอในวิชาชีพ และระดับออกไปประกอบอาชีพ สําหรับการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานยังคงมีความจําเปนอยางสูงในพื้นที่ที่มีความตองการ เพื่อรองรับ กลุมเปาหมายที่เปนนักเรียนที่มีฐานะยากจน และไมสามารถจะไปศึกษาตอไดในระดับ วิทยาลัย เนื่องจากการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจะเปนการพัฒนาฝมือแรงงานที่ ประชาชนใชตนทุนในการเรียนต่ําที่สุด แตไดผลสูงสุดหากการบริหารจัดการตั้งแตการ พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การฝกงานในสถานประกอบการ มีการจัดทํา แผนงานรวมกับหนวยงานที่เปนผูตองการแรงงานและหนวยงานสงเสริมการมีงานทํา อยางไรก็ตามจําเปนที่จะตอ งไดรับการสนับสนุนทางดานทรัพยากรการเรียนรูตางๆ โดยเฉพาะอัตรากําลัง และการคัดเลือกผูสอนที่มีความรูความชํานาญ

หนา | 61


โดยทั่วไปการนํานโยบายสูการปฏิบัติของการใชหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนของโรงเรียนนั้นมีศักยภาพและความพรอม ที่จะชวยขับเคลื่อนการศึกษาเพื่อ การประกอบอาชีพ สิ่งที่ตองเนนย้ําคือการทําความเขาใจวา การศึกษาเพื่อการประกอบ อาชีพคืออะไร และจะพัฒนาใหเกิดขึ้นกับผูเรียนอยางไร เพื่อใหผูเรียนไดมีโอกาสรูจัก ตนเอง รูจักคุณคาของการทํางาน คนหาและตัดสินใจการประกอบอาชีพในอนาคต และ มีคุณลักษณะนิสัยที่สอดรับตอการเปนแรงงานที่ดีที่พรอมรับการเปลี่ยนแปลงไดในอนาคต จึงควรเปนจุดเนนของการพัฒนาควบคูไปกับการสงเสริมความสามารถสรางอาชีพให นักเรียนไดดวยทรัพยากรที่มีอยู การเติมเต็มใหเกิดรูปธรรมใหนักเรียนสามารถออกไปสู อาชีพอยางแทจริง จะตองมีการสงเสริมสนับสนุนอยางจริงจัง ตั้งแตการจัดการเรียนการ สอน ไปจนถึงการจัดหาแหลงงานที่เหมาะสมและจัดดําเนินการอยางเปนระบบทวิภาค (Dual system) โดยหลักสูตรจะใหความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพพื้นฐานควบคูไป กับการพัฒนาความรู/ทักษะอาชีพของผูเรียนและจะตองมีระบบการบริหารจัดการที่ สรางความรวมมือภาควิชาการและภาคปฏิบัติการวิชาชีพระหวางโรงเรียนและสถาน ประกอบการ รวมทั้งการสงเสริมสนับสนุนจากหนวยเหนือและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ ดานอาชีวศึกษาและดานแรงงาน เขามาดูแลและรองรับกลุมนักเรียนที่ขาดโอกาสใน การศึกษาตอ มีปญหาทางครอบครัว และอยูนอกระบบการศึกษาซึ่งในอนาคตจําเปนที่ จะตองมีการประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ เพื่อสงเสริมและสรางความเขมแข็ง ของการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพที่สงตอจนถึงการสรางงานใหกับผูเรียนตอไป 4.3.3 ดานโอกาสการไดรับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน (Education for all) จากการศึกษาจากกรณีศึกษาใน 4 ภูมิภาคพบวา แนวทางและทางเลือกใน ความรวมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการ ประกอบอาชีพ เพื่อใหโรงเรียนสามารถจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ ประกอบดวย 62 | หนา


1) นโยบายประชาคมอาเซียนที่เปนตัวแปรเขามากระทบตอการพัฒนาทักษะ อาชีพ เพื่อรองรับการเขาสูตลาดแรงงานอาเซียน 2) นโยบายอื่นที่เกี่ยวของกับกับแรงงานเกี่ยวของกับการสงเสริมสนับสนุนการ จัดการศึกษาทั้งทางตรงและทางออม และ 3) นโยบายของหนวยเหนือ ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ที่เปนหนวยงานบังคับบัญชาโดยตรงเพื่อใหเขตพื้นที่ การศึกษาทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเขามาสงเสริม สนับสนุน กํากับ ติดตาม และ พิจารณาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพในโรงเรียน หน ว ยปฏิ บั ติ ก ารคื อ โรงเรี ย นจะต อ งมี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโดย การบูรณาการหลักการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพใน 8 กลุมสาระและกิจกรรม พัฒนาผูเรียน หรือจัดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพื่อใหเกิดการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่สรางโอกาสใหเกิดความพรอมสูการประกอบอาชีพ โดยผานโครงการ หรื อ โครงงาน ให นั ก เรี ยนเกิ ด ทัก ษะอาชีพ ประกอบด ว ยทั ก ษะชี วิต โดยการน อ มนํ า ปรัชญาของหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการพัฒนา และมีการพัฒนาทักษะ ฝมือแรงงาน โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรู ทั้งแบบ บูรณาการและการเนนที่กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เพื่อใหการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพมีคุณภาพและมาตรฐานดานทักษะอาชีพ หนวยงานสนับสนุนที่สําคัญประกอบดวย กลุมสนับสนุนวิชาการ ประกอบดวย ภูมิปญญาทองถิ่นสถาบันอุดมศึกษา อาชีวศึกษา สถาบันวิชาชีพ สถานประกอบการ ฯลฯ และกลุมสนับสนุนงบประมาณ ประกอบดวย องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน สถานประกอบการ ฯลฯ ซึ่งหากไดรับการสนับสนุนเปนนโยบายจากหนวยเหนือ จะ สงเสริมใหเกิดการสนับสนุนทั้งดานวิชาการและงบประมาณ เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้น พื้ น ฐานเพื่ อ การประกอบอาชี พ สามารถตอบสนองความต อ งการด า นแรงงานของ ประเทศอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน หนา | 63


4.4 ขอเสนอทางเลือกเกี่ยวกับแนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ การประกอบอาชีพ แนวทางการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรเนนการจัดทําหลักสูตร สถานศึกษาและวิธีการจัดการเรียนการสอน รวมทั้ง กิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่สงเสริมให ผูเรียน ไดมีความตระหนักและรับประสบการณจริง ในระหวางการศึกษา เพื่อใหเกิดการ เชื่อมโยงและถายโยงความรูไปสูการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพและการประกอบอาชีพที่ เหมาะสมไดในอนาคต ตามหลักการของการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพ (career education) โดยมีจุดประสงค เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียนได 1) มี ความคิดที่เปนเหตุเปนผลในการทํางาน 2) สั่งสมความรูและทักษะที่จําเปนในการ ทํางาน 3) รูจักการหาโอกาสและชองทางในการทํางาน และ 4) สํารวจและกาวเขาสูโลก แหงการทํางาน ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ไดศึกษาหาความรูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น นักเรียนจําเปนอยางยิ่งที่จะตองไดรับการพัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติอันดีผาน การศึ ก ษาการฝ ก อบรมและการปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ช ว ยให ผู เ รี ย นมี ป ระสบการณ ที่ จ ะ ตัดสินใจในการศึกษาตอและการทํางานตอไปไดในอนาคต ซึ่งจําเปนที่สถานศึกษา จะต อ งมี ค วามเข า ใจในการออกแบบหลั ก สู ต รและการเรี ย นการสอนรวมถึ ง วิ ธี จั ด กิจกรรมการเรียนสงเสริมดวย ดังนั้นผูเกี่ยวของอันไดแก ผูบริหารโรงเรียน และครู จาก ทุกกลุมสาระการเรียนรูจําเปนอยางมากที่จะตองมีความรูความเขาใจที่ตรงกันในการนี้ ยุทธศาสตรที่จะทําใหการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพประสบความสําเร็จ คือ ยุทธศาสตร “รวมพลังสานฝนขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขาสูอาชีพได ตลอดแนว” ที่มีแนวทางการขับเคลื่อนใน 4 ระดับดังนี้ 1) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ ควร “กําหนดใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพ” เปนวาระแหงชาติ จัดทํา School Mapping ทุกระดับทุก ประเภทและทุกสังกัด เพื่อเปนขอมูลพื้นฐาน ในการพิจารณา การจัดตั้งสถานศึกษาใหม หรือปรับเปลี่ยนสถานศึกษาเกาอยางมีเหตุผล ตรงตามความตองการจําเปนของชุมชน 64 | หนา


และไมกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบกับสถานศึกษาเดิม และชุมชนขยายกรอบมาตรฐาน คุณภาพผูเรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานใหครอบคลุมคุณภาพมาตรฐานทาง วิชาชีพหรือมาตรฐานฝมือแรงงานดวย เชน การวัดและประเมินผลการเรียนรูของ นักเรียนระดับชาติ นอกจากจะวัดความรูความสามารถของนักเรียนแลว ควรประเมิน ทักษะพื้นฐานดานการประกอบอาชีพหรือสมรรถนะดานวิชาชีพของนักเรียนดวย อาจ ประเมินโดยใชแบบวัดมาตรฐาน แบบเทียบประสบการณ หรือแบบบันทึก ประสบการณ กิจกรรม (activities transcript) ขยายกรอบคุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพของครู และ ผูบริหารใหครอบคลุมความรูและทักษะอาชีพที่จําเปนตองใชในการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพในโลกปจจุบัน และอนาคตใหแกนักเรียน รวมทั้งสงเสริม ใหสถาบันที่เกี่ยวของกับการพัฒนาครู จัดระบบการพัฒนาครูประจําการ และครู วิทยากร / ครูภูมิปญญา 2) ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ควร สงเสริมใหเกิดความรวมมือ ระหวาง สพฐ.กับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กรมพัฒนาฝมือแรงงานและสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานอื่นๆ ทั้งของรัฐและ เอกชน ในการสรางประสบการณจริงของการปฏิบัติงานในอาชีพใหกับครู และนักเรียน เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ โดย สอศ. กรมพัฒนาฝมือแรงงานและสถาบันตางๆ นาจะให ความสําคัญในการกําหนดเปนพันธกิจบริการวิชาการและการรวมพัฒนาเยาวชน (ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง) เปนพันธกิจที่สําคัญของหนวยงานสงเสริม คุณภาพ มาตรฐานของการพัฒนาทักษะวิชาชีพ และการสรางประสบการณในการสราง รายได และการใชจายอยางมีเหตุผลใหแกนักเรียน เชน โครงการนิทรรศการแสดงผลงาน ศิลปหัตถกรรมของนักเรียน ควรไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหดําเนินการตอไปอยาง ตอเนื่อง 3) ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทั้งสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา (สพป.) และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ควรเปน หนา | 65


องคกรกลางเชื่อมโยงการแสวงหา และสงเสริมความรวมมือระหวางสถานประกอบการ องคกรตางๆ และองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) กับโรงเรียนในการสรางโอกาสและ แหลงเรียนรู เพื่อฝกประสบการณ และการปฏิบัติการประกอบอาชีพจริงและการสราง ความรวมมือกับหนวยงานวิชาการในและนอกพื้นที่ในการพัฒนาครูใหมี ความรูทักษะ และประสบการณ จริ ง ในการสอนการประกอบอาชี พ ที่ต อบสนองตลาด แรงงานใน ปจจุบัน หนวยงานที่สําคัญดังกลาว ไดแก สถาบันทางดานอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา และหนวยงานวิชาชีพตางๆ 4) ระดับโรงเรียน ควรสํารวจทักษะอาชีพของครู ผูบริหาร ศิษยเกา และ ผูปกครอง เพื่อจัดทํารายงานอาชีพที่มีผูสอนและแหลงเรียนรูตางๆ ในทองถิ่น ผูบริหาร ควรสรางความรวมมือกับครูทุกกลุมสาระการเรียนรูทั้งโรงเรียนในการจัดทําเรื่องนี้ โดย สงเสริมใหคณะกรรมการสถานศึกษาสมาคมศิษยเกาและสมาคมผูปกครองมีสวนรวม ในการสนับสนุนกิจกรรมการเรียน เพื่อสํารวจ / ศึกษา / เลือกอาชีพ / พัฒนาทักษะ อาชีพ รวมทั้งเปนแหลงทรัพยากรบุคคลที่จะเปนวิทยากรและครูฝกทักษะอาชีพ ควรมี วิสัยทัศนและนโยบายในเรื่องการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพ เชน การจั ด ทํ า แผนที่ อ าชี พ ของท อ งถิ่ น วิ เ คราะห แ ละจั ด ทํ า ฐานข อ มู ล ของศิ ษ ย เ ก า และ นักเรียนที่ออกจากโรงเรียน กําหนดกิจกรรมหลักในการทําโครงงานประกอบอาชีพใน หลักสูตรสถานศึกษา จัดตารางเรียนและทรัพยากรใหสนับสนุนการฝกทักษะวิชาชีพ สงเสริมและพัฒนาใหครูทุกกลุมสาระ จัดทําหนวยการเรียนรูวิชาชีพประเภทตางๆ โดย บูรณาการกับกลุมสาระวิชาตางๆ ใหกับนักเรียนทุกชวงชั้นอยางตอเนื่อง สนับสนุน โครงงานอาชีพที่มีอยูอยางตอเนื่อง และจัดระบบการเรียนรู และการพัฒนาทักษะ วิชาชีพไปสูการเกิดรายได และการประกอบอาชีพตอไปโดยอาจเชื่อมโยงกับกลุมอาชีพ ตางๆ ที่มีอยู เชน กลุม OTOP กลุมอาชีพ กลุมสหกรณตางๆ ในชุมชน เพื่อพัฒนาฝมือ ผลิตภัณฑและการตลาดในงานเทศกาลตางๆ ของชุมชน

66 | หนา


ทั้ ง นี้ แ นวทางการขั บ เคลื่ อ นดั ง กล า วต อ งน อ มนํ า พระราชดํ า ริ ข องพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ไดพระราชทานไวเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มา เปนหลักของแนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพและมีเปาหมายสําคัญ คือ การมีสวนรวมขององคกรทุกภาคสวนการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ และมาตรฐาน ตามหลักการการจัดการศึกษา เพื่อการประกอบอาชีพและการสรางโอกาสใหนักเรียน ทุกคนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับการฝกปฏิบัติจริง มีนิสัยใฝเรียนรูและใฝทํางาน เพื่อสวนรวมมีความพรอมที่จะประกอบอาชีพสุจริตอยางสรางสรรค ในการตอบสนอง ความตองการดานแรงงานของประเทศและภูมิภาค รายการอางอิง การจัดหางาน, กรม. (2552). คุณสมบัติพื้นฐานของลูกจางที่นายจางตองการและ คุณลักษณะพื้นฐานของนายจางที่ลูกจางตองการในภาคอุตสาหกรรมและภาค บริการ. (ออนไลน). แหลงที่มา: http://lmi.doe.go.th 1 พฤษภาคม 2554. กฤษณพงศ กีรติกร. (2542). วิกฤติ กระบวนทัศน มโนทัศน เพื่อการปฏิรูปการศึกษา. 2542. นนทบุรี: หางหุนสวนจํากัด วรรณกรรม. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สํานักงาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: สํานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สํานักงาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: สํานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

หนา | 67


เลขาธิการสภาการศึกษา, สํานักงาน. (2553). แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559): ฉบับสรุป. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สิริพันธุ สุวรรณมรรคา ชญาพิมพ อุสาโห และปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2554). แนว ทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ. ทุนวิจัยสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สิริพันธุ สุวรรณมรรคา และคณะ. (2554). การวิเคราะหเปรียบเทียบการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพของตางประเทศกับประเทศไทย. รายงานวิจัย เลมที่ 1 ในโครงการวิจัยแนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบ อาชีพ. ทุนวิจัยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. อมเรศ ศิลาออน. (2552). “ผลการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับการวิจยั พัฒนา การศึกษาขั้นพื้นฐาน” เอกสารหมายเลข 2 หนา 1. ในเอกสารประกอบการ ประชุมคณะอนุกรรมการดานวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 3/ 2552. Dykeman, C., Herr, E.L., Ingram, M., Wood, C., Charles, S., Pehrsson, D. (2001).The Taxonomy of Career Development Interventions that occur in America’s Secondary School. St.Paul: Naitonal Research Center for Career and Technical Education, University of Minnesota. Evans, R. N., Hoyt, K. B. & Mangum, G. L. (1973).Career Education in the Middle/Junior High School. Salt Lake City, Utah: Olympus Publishing Company. McCowan, C. & McKenzie, M. (1997). The guide to career education. Sydney: New Hobsons Press: p. 17 Cited in http://education.qld.gov.au/students/service/career/principles.html [May 17, 2011] 68 | หนา


รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัย ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ1 และคณะ2

1. บทนํา กระแสโลกาภิวัตน (globalization) เปนปจจัยผลักดันสําคัญที่ทําใหสังคมโลก เคลื่อนเขาสูสังคมเศรษฐกิจฐานความรูอยางรวดเร็ว ทุกองคการตางพยายามเรียนรูที่จะ เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองคกร โดยมุงสูการพัฒนาและสรางวัฒนธรรมองคกรเชิงรุก เพื่อทําใหองคการมีความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น เปนที่ยอมรับอยางสากลวา “การวิจัย (research)” เปนนวัตกรรมทางการศึกษา ที่สําคัญที่สุดในการพัฒนาองคการสูสังคมเศรษฐกิจฐานความรู เพราะผลผลิตและ ผลลัพธของการวิจัยกอใหเกิดทั้งความรู (core knowledge) และนวัตกรรม ดังนั้น ประเทศที่พัฒนาแลวจึงทุมเททรัพยากรใหกับการวิจัยอยางตอเนื่อง และถือเปนนโยบาย สําคัญของรัฐที่ตองใหการสนับสนุนเปนพิเศษ เพื่อ ใหประเทศเจริญกาวหนา พึ่งพา ตนเองและสามารถแขงขันกับนานาประเทศได สําหรับประเทศไทยไดพยายามผลักดันให ทุกฝายเห็นความสําคัญของการวิจัย และใชการวิจัยเปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ใหความสําคัญกับการวิจัยโดยกําหนด เปนนโยบายสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในทุกศิลปวิทยาการสาขาตางๆ เพื่อ การพั ฒ นาประเทศอย า งสอดคล อ งกั บ ยุ ค แห ง การแข ง ขั น ที่ ต อ งใช ค วามรู เ ป น ฐาน (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2547 : 1) และไปในทิศทางเดียวกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 - 10 โดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติได จัดทํานโยบายการสงเสริมสนับสนุนการวิจัยของชาติอยางเปนรูปธรรมตั้งแต พ.ศ. 2520 1

หัวหนาภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

2

ผูชวยศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร, ดร.สําเริง ออนสัมพันธุ, ดร.วรกาญจณ สุขสดเขียว, ดร.มัทนา

วังถนอมศักดิ์, ดร.สายสุดา เตียเจริญ และ ดร.นุชนรา รัตนศิระประภา

หนา | 69


เรื่อยมา ประกอบกับปจจุบันประเทศไทยกําลังเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ รัฐบาลจึงให ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรูที่เนนการสรางองคความรูจากการวิจัย การสนั บ สนุน การวิ จั ยจึ งเป น การสนับ สนุ นเพื่ อ สร า งการเปลี่ ย นแปลงที่ ดีก ว า ให กั บ องคการ ดังนั้นการสงเสริมการวิจัยและสนับสนุนนักวิจัยจึงเปนพันธกิจที่สําคัญและตอง ทําใหสําเร็จ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนองคกรหลักที่มีบาทบาท และภารกิจเกี่ยวกับการจัดและสงเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีสถานศึกษา เปน หนวยปฏิบัติการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีหนาที่กํากับ ประสาน และ สงเสริมการจัดการศึกษา ตามเปาหมายการใหบริการดานสรางโอกาสทางการศึกษา อยางมีคุณภาพ แตเนื่องจากมีโรงเรียนมากกวาสามหมื่นโรง มีนักเรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานมากถึง 7,894,875 คน จากการประมวลผลการบริหารจัดการศึกษาพบปญหา การจัดการศึกษาที่ควรตองไดรับการแกไขอยางเรงดวน คือ ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต่ํากวาเกณฑ ปญหานักเรียนออกกลางคัน ปญหาคุณลักษณะอันไมพึงประสงคของ นัก เรี ย น ตลอดจนป ญ หาดา นคุณ ภาพการจัด การศึ ก ษา (สํ านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553 : 5) แนวทางแกไขปญหาแนวทางหนึ่ง คือ การสงเสริม สนับสนุนใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทําวิจัยทางการศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยคิดคนนวัตกรรมทางการศึกษาที่สามารถนํามาแกไขปญหาได และเพื่อใหการ ดําเนินการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดําเนินไปอยางเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรร ว มกั บ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง ดําเนินการศึกษาวิจัย เรื่อง “รูปแบบการดําเนินการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนา งานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา” เพื่อไดขอคนพบที่ดีและเหมาะสม นําไปใช เปนแนวดําเนินการสงเสริมและพัฒนาตอไป

70 | หนา


2. วัตถุประสงค 2.1. เพื่อทราบองคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2.2. เพื่อนําเสนอรูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. วิธีการศึกษา ผูวิจัยดําเนินการศึกษาตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยมี ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น การวิ จั ย 2 ขั้ น ตอนหลั ก ดั ง นี้ คื อ ขั้ น ตอนแรกเป น การวิ เ คราะห องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อ พัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ขั้นตอนที่ 2 เปนการวิเคราะหรูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนา งานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยคือ (1) แบบวิเคราะหเนื้อหา (2) แบบสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง และ(3) แบบสอบถาม ชนิดจัดลําดับคุณภาพ กลุมตัวอยางสําหรับการวิจัย คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4 ภูมิภาค แบงเปนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จํานวน 40 เขต และ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 20 เขต รวมทั้งสิ้น 60 เขต ผูใหขอมูล เขตพื้นที่ละ 7 คน ประกอบดวย รองผุอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฝายบุคคล หัวหนางานนิเทศ ศึกษานิเทศกผูรับผิดชอบงานวิจัย ผูอํานวยการโรงเรียน รองผูอํานวยการ ที่รับผิดชอบงานวิจัย ครู และประธานคณะกรรมการสถานศึกษา สถิติวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะหตัวประกอบ ประเภทการวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) และสถิติวิเคราะหความสัมพันธเชิงสาเหตุ (Path analysis)

หนา | 71


4. ผลการวิจัย รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พบวา 4.1 องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามี 6 องคประกอบ คือ (1) วัฒนธรรมองคการ (organizational culture) บรรยายดวย 15 ตัวแปร คาน้ําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.525 - 0.731 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 14.395 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 14.113 (2) การสงเสริมการดําเนินการ (enhancing performance) บรรยายดวย 18 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.620 คาความแปรปรวน ของตัวแปรเทากับ 13.230 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 12.971 (3) การพัฒนา บุคลากร (personnel development) บรรยายดวย 12 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรใน องคประกอบอยูระหวาง 0.509 - 0.627 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 12.653 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 12.405 (4) การกํากับติดตามและประเมินผล (monitor and assessment) บรรยายดวย 7 ตัวแปร คาน้ําหนักตัวแปรในองคประกอบ อยูระหวาง 0.502 - 0.738 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 11.131 และคารอยละ ของความแปรปรวนเทากับ 10.913 (5) องคกรเครือขาย (network) บรรยายดวย 8 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.535-0.669 คาความแปรปรวนของตัวแปร เทากับ 9.432 และคารอยละของความแปรปรวนเทากับ 9.247 และ (6) แรงจูงใจ (motivation) บรรยายดวย 5 ตัวแปร คานําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.508 - 0.696 คาความแปรปรวนของตัวแปรเทากับ 8.642 และคารอยละของ ความแปรปรวนเทากับ 8.473

72 | หนา


4.2. รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุขององคประกอบ 6 องคประกอบ ดังแผนภูมิที่ 1

แผนภูมิที่ 1 รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของเขตพื้นที่การศึกษา

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ตามวัตถุประสงค ดังนี้ 1. องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ประกอบดวย 6 องคประกอบ คือ 1.1 องคประกอบวัฒนธรรมองคการ บรรยายดวย 15 ตัวแปร องคประกอบนี้มี คาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 65.374 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 64.092 โดยมีคา น้ําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.525 - 0.731 ลําดับคาน้ําหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังนี้ (1) ใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานแตงตั้งนักวิจัยประจําเขตพืน้ ที่ การศึกษา คาน้าํ หนักเทากับ 0.731 หนา | 73


(2) สงเสริมเครือขายวิจัยสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทั่ว ประเทศโดยเนนการมีสวนรวม คาน้ําหนักเทากับ 0.694 (3) การสงเสริมเครือขายการทําวิจัยของสถานศึกษาในเขตพื้นที่โดยเนนการมี สวนรวม การสือ่ สาร การแลกเปลี่ยนเรียนรู คาน้ําหนักเทากับ 0.693 (4) สรางเครือขายครูแกนนําและพาครูทําวิจยั คาน้ําหนักเทากับ 0.683 (5) สงเสริมความรวมมือในการปฏิบัติตามวัฒนธรรมองคการที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.679 (6) รวมกันกําหนดวัฒนธรรมองคการที่จะสงเสริมการทําวิจัย คาน้าํ หนักเทากับ 0.663 (7) การวิเคราะหรวมกันเพื่อปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองคการที่เอื้อตอการสงเสริม การทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.659 (8) การตั้งทีมพี่เลี้ยงแนะนําการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.655 (9) กําหนดคูโรงเรียนในการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.651 (10) สงเสริมและสนับสนุนใหทําวิจัยเปนสวนหนึ่งของแผนปฏิบัติการประจําป ของโรงเรียน คาน้ําหนักเทากับ 0.628 (11) สนับสนุนใหมีการทดลองใชนวัตกรรมหรือผลการวิจัยตางๆ ในสํานักงาน เขตพื้นที่และสถานศึกษา คาน้ําหนักเทากับ 0.611 (12) กําหนดแนวปฏิบัติการทําวิจัยที่เปนเลิศใหกับบุคลากรในแตละเขตพื้นที่ การศึกษา คาน้าํ หนักเทากับ 0.602 (13) จัดตั้งกองทุนการวิจัยในเขตพื้นที่ คาน้ําหนักเทากับ 0.569 (14) สรางวัฒนธรรมองคการที่มุงเนนการศึกษา การทําวิจยั การคนควาเรียนรู รายบุคคลและรายกลุม การสรางองคความรู การแลกเปลี่ยนความรูและการมีสวนรวม คาน้ําหนักเทากับ 0.542

74 | หนา


(15) สงเสริมพัฒนาใหครูและบุคลากรมีทักษะการเขียนรายงาน คาน้ําหนักเทากับ 0.525 องคประกอบนี้สอดคลองกับการศึกษาของ ริทชี่ (Ritchie 2006 : 13) พบวา การสนับสนุน การสรางบรรยากาศองคการ การสรางวัฒนธรรมการวิจัยแกครู และการ สนับสนุนจากบุคลากรผูมีความรูความชํานาญดานวิจัยใหชวยเหลือดานขอมูล คําแนะนํา ชวยเหลือจากบุคคลผูชํานาญการวิจัย ทําใหครูมีแรงจูงใจในการทําวิจัยจากแรงผลักดัน จากที่ทํางาน วัฒนธรรมการทํางานแบบเครือขายสงผลตอการตัดสินใจทํางานวิจัยของ ครู การสงเสริมเครือขายการวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่และสถานศึกษาโดยเนนการมี สวนรวม การสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรูและชวยเติมเต็มในสิ่งที่ไมรู เชนเดียวกับวิจัยของ กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 136 - 139) พบวา การประสานกลุมตางๆ ทําใหเกิดเปน เครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานนั้นตองอาศัยกระบวนการติดตอสื่อสาร และ การปฏิสัมพันธเปนสําคัญ ผลที่เกิดคือ เกิดระบบความสัมพันธในเครือขายแบบชวยเหลือ เกื้อกูลในการรวมปฏิบัติงานควบคูไปกับกระบวนการเรียนรูระหวางทํางาน โดยเครือขาย ใหความสําคัญกับการจัดการความรูและประสบการณบนพื้นฐานความสัมพันธที่มีอยูเดิม ของกลุมคน การผสมภาคีหลากหลาย การผสานความรูสมัยใหมกับความรูพื้นบาน ประยุกตใชหลักธรรมทางศาสนา รวมถึงการใชทรัพยากรในทองถิ่นในการดําเนินงานที่ สนับสนุนใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น และสุดทายคือ การสงเสริมการพัฒนาใหครูและ บุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการเขียนรายงาน 1.2 องคป ระกอบการสงเสริ ม การดํา เนิ นการ บรรยายด วย 18 ตัว แปร องคประกอบนี้มีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 13.230 และคารอยละของ ความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 12.971 โดยมีคาน้ําหนักตัวแปรใน องคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.620 ลําดับคาน้ําหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังนี้ (1) การสนับสนุนและจัดหาอุปกรณเพื่อสงเสริมการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.620 หนา | 75


(2) การกําหนดระยะเวลาการทําวิจัยใหแลวเสร็จอยางชัดเจน คาน้ําหนัก เทากับ 0.611 (3) จัดใหมีแหลงเรียนรู แหลงคนควาและจัดการความรู ดานการวิจัยอยางเปน ระบบ คาน้ําหนักเทากับ 0.605 (4) กําหนดผูรับผิดชอบการทําวิจัยอยางชัดเจน คาน้ําหนักเทากับ 0.603 (5) การจัดทําโครงการที่ตอบสนองตอวัตถุประสงคการทําวิจัยของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา คาน้ําหนักเทากับ 0.600 (6) มีผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษาในการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.597 (7) การพั ฒ นาองค ค วามรู ด า นการวิ จั ย แก ค รู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา คาน้ําหนักเทากับ 0.575 (8) ใช ก ารวิ จั ย เป น เครื่ อ งมื อ ในการพั ฒ นางานด า นต า งๆ ขององค ก าร คาน้ําหนักเทากับ 0.575 (9) การสงเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีสวนรวมในการวางแผน การทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.570 (10) การจัดสรรงบประมาณใหแกครู บุคลากรทางการศึกษาและผูนํางานวิจัย อยางเพียงพอ คาน้ําหนักเทากับ 0.562 (11) มีแหลงวิชาการเพื่อการศึกษา คนควาดานวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.557 (12) การสรางความตระหนักใหแกครูและบุคลากรทางการศึกษาไดเห็น ประโยชนของการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.554 (13) การชี้แจงเพื่อทําความเขาใจกับผูรับผิดชอบงานวิจัยของสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษา คาน้ําหนักเทากับ 0.554 (14) การกําหนดมาตรฐานการทําวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ แจงใหบุคลากรทราบทุกคน คาน้ําหนักเทากับ 0.540

76 | หนา


(15) การสงเสริมและสนับสนุนการทําวิจัยของบุคลากรอยางเปนระบบตอเนื่อง อยางยั่งยืน มีคาน้ําหนัก 0.522 (16) การมอบให ค รู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาทํ า งานวิ จั ย ตามแผนงานที่ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําหนดไวอยางเปนระบบ คาน้ําหนักเทากับ 0.515 (17) การสํารวจความตองการของครูและบุคลากรในการทําวิจัยเพื่อพัฒนางาน คาน้ําหนักเทากับ 0.505 (18) การจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศที่ถูกตองและเพียงพอตอการนํามาใช วางแผนการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.502 องคประกอบนี้สอดคลองกับแนวคิดของ สมพงศ เกษมสิน (สมพงษ เกษมสิน 2540: 70 อางถึงใน พจนันท รมสนธิ์ 2543 : 10) กลาววา ในการบริหารงานนั้นจะตอง สงเสริมสนับสนุนทรัพยากรการบริหารซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานที่ใชในการบริหาร อีกทั้ง สอดคลองกับ ธเนศ ตวนชะเอม (2538 : 3 - 4) ไดสรุปวาความสําเร็จของงานวิจัยขึ้นอยู กับระบบการบริหารงานวิจัย นับวาเปนกลไกที่มีความสําคัญ มีความซับซอนและ เกี่ยวของกับทรัพยากร หรือปจจัยตาง ๆ มากมาย ปจจัยที่สําคัญในการบริหารงานวิจัย มี 4 อยาง หรือ 4 M’s ไดแก บุคลากรการวิจัย งบประมาณการวิจัย วัสดุ-อุปกรณ ดังนั้น การสนับสนุนสงเสริมและจัดหาอุปกรณ เพื่อการวิจัย จึงมีความสําคัญจอการสงเสริม การดําเนินการวิจัยเพื่อสูวิจัยที่มีคุณภาพสามารถนําผลการวิจัยไปใชใชสนับสนุนให การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับงานวิจัยของ บัญชา อึ๋งสกุล (2546) ไดสรุปปจจัยสําคัญที่ชวยสงเสริมสนับสนุนการทําวิจัย คือ จัดระบบงานวิจัย การจัดระบบสารสนเทศ การบริหารบุคคล การจัดสรรงบประมาณที่ชัดเจนและสามารถ ปฏิบัติได 1.3 องคประกอบการพัฒนาบุคลากร บรรยายดวย 12 ตัวแปร องคประกอบนี้มี คาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 12.653 และคารอยละของความแปรปรวน

หนา | 77


(percent of variance) เทากับ 12.405 โดยมีคาน้ําหนักตัวแปรในองคประกอบอยู ระหวาง 0.509 - 0.627 ลําดับคาน้ําหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังนี้ (1) การสงเสริมในภาครัฐ นําผลวิจัยไปใชประโยชน คาน้ําหนักเทากับ 0.627 (2) การจัดเวลาใหครูมีเวลาสําหรับทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.591 (3) มีความรวมมือระหวางสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากับสถาบันอุดมศึกษา ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเกี่ยวกับ งานวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.586 (4) จัดใหมีผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษาในการทําวิจัยใหกับครูและบุคลากร คาน้ําหนักเทากับ 0.585 (5) คณะกรรมการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัฒนาผูบริหารการศึกษาและ ผูบริหารสถานศึกษาใหมีความเปนผูนําทางการวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.581 (6) ส ง เสริ ม พั ฒ นาความรู ด า นสถิ ติ พื้ น ฐานและการวิ จั ย ให ค รุ บุ ค ลากร คาน้ําหนักเทากับ 0.568 (7) สงเสริมใหมีการวิจัยภาคสนามมากขึ้น คาน้ําหนักเทากับ 0.548 (8) สงเสริมใหผูบริหารมีโอกาสในการทําวิจัยดวย คาน้ําหนักเทากับ 0.538 (9) กําหนดระบบใหผลตอบแทนและเกณฑเพื่อพิจารณาใหรางวัลเชิดชูเกียรติ แกผูทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.522 (10) การสรางทัศนคติเชิงบวกในการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.520 (11) ใหการวิจัยเปนเกณฑหนึ่งในการพิจารณาเกี่ยวกับสวัสดิการและสิทธิ ประโยชนตอบแทน คาน้ําหนักเทากับ 0.510 (12) จั ดเวทีทางวิช าการ เพื่อ ใหครู ไดแสดงผลงานอยา งตอ เนื่องสม่ํา เสมอ คาน้ําหนักเทากับ 0.509 องคประกอบนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ กัลยกร มั่นถาวรวงศ (2547 : 48) ไดศึกษาพบวา การสงเสริมการวิจัยและเกิดผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรมนั้นขึ้นอยูกับ 78 | หนา


ผูบริหารสถานศึกษา เพราะเปนบุคคลที่มีอํานาจในการบริหารและอยูใกลชิดครู มากที่สุด ผูบริหารสถานศึกษาจะตองสนับสนุนและสงเสริมใหครูไดมีการศึกษาคนควา ดานการวิจัยเพื่อหาความรูใหมในการนําไปใชในการพัฒนาแกปญหาที่เปนอุปสรรคตอ การเรียนการสอนในชั้นเรียนอยางมีประสิทธิภาพ และเปนไปตามที่ จิราภา ลวงลือ (2547 : 47) กลาววา การที่จะนําผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใชในการแกปญหา ปรับปรุง และพัฒนาการเรียนการสอนไดนั้น จะตองมีปจจัยที่จะชวยสงเสริม หรือสนับสนุนใหเกิด แรงจูงใจในการทํางาน สนับสนุนปจจัยทางดานวัสดุอุปกรณ งบประมาณ เวลา และ สงเสริมความกาวหนาในตําแหนงการงานของผูวิจัยดวย นอกจากนี้ยังสอดคลองกับ งานวิจัยของ ระพีพรรณ สีหะวงษ (2550 : 12 - 13) พบวา รูปแบบการพัฒนางานวิจัย ของบุ ค ลากร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ศรี ส ะเกษ นั้ น นโยบายและแนวทางในการวิ จั ย ระดับชาติในอดีตมีลักษณะคอนขางกวางและมีการนําไปใชประโยชนโดยตรงคอนขาง นอย และรัฐไมใหความสําคัญตอการพัฒนาการวิจัยเทาที่ควรการวิจัยไทยจึงอยูใน สภาพที่ออนแอ แตปจจุบันรัฐใหความสําคัญตอการวิจัยมากขึ้น มีการกําหนดนโยบาย และแนวทางการวิจัยที่ชัดเจนขึ้น และมุงสงเสริมการทําวิจัยที่นําไปใชประโยชนได 1.4 องคประกอบการกํากับติดตามและประเมินผล บรรยายดวย 12 ตัวแปร องคประกอบนี้มีคาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 11.131 และคารอยละของ ความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 10.913 โดยมีคาน้ําหนักตัวแปรใน องคประกอบอยูระหวาง 0.502 - 0.738 ลําดับคาน้ําหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังนี้ (1) การกําหนดเกณฑและขั้นตอนการดําเนินงานทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู ไวอยางชัดเจนและสะดวกในการตรวจสอบ ติดตาม คาน้ําหนักเทากับ 0.738 (2) แต งตั้ งคณะกรรมการดํ าเนินการตรวจสอบและประเมินผลการทํา วิจั ย คาน้ําหนักเทากับ 0.6881 (3) จัดทําเครื่องมือตรวจประเมินผลการดําเนินงานวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.687

หนา | 79


(4) มีการตรวจสอบความกาวหนาของการทําวิจัย และแกไขปญหาอุปสรรคได ทันทวงที คาน้ําหนักเทากับ 0.688 (5) การรายงานผลการตรวจสอบประเมินผลตอที่ประชุมของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เพื่อชี้แจงถึงความสําเร็จ และปญหาอุปสรรคที่พบคาน้ําหนักเทากับ 0.662 (6) ปรับปรุงแกไขวิธีการดําเนินงานตามแผนการวิจัยใหถูกตองและเหมาะสม อยูตลอดเวลา คาน้ําหนักเทากับ 0.620 (7) ดําเนินการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับเกณฑ และเปาหมายที่กําหนด คาน้ําหนักเทากับ 0.502 องคประกอบนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ ไพรซ (Price 1968 : 1) พบวา การกํากับติดตามและประเมินผลขึ้นอยูกับคุณภาพของ 5 องคประกอบ คือ การผลิต กําลังการผลิตและใชทรัพยากร การยินยอมการปฏิบัติตามการยอมรับบรรทัดฐานของ องค ก าร ขวั ญ ความพอใจและแรงจูง ใจของบุคลากร ความสามารถในการปรั บตั ว ความสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง และความเปนปกแผน เชนเดียวกับขอคนพบ งานวิจัยของ ณภชนก กําลังเกื้อ (2541) ระบุวา การกําหนดเกณฑและขั้นตอนการ ดําเนินงานทําวิจัยอยางชัดเจนและสะดวกในการตรวจสอบ ติดตาม ทําใหการบริหาร งานวิจัยประสบความสําเร็จ ตองดําเนินการกํากับ ติดตาม และประเมินผล ดังนี้ กําหนด นโยบายและการบริหารจัดการ กําหนดกระบวนการพัฒนา กําหนดการจัดการเพื่อ คุณภาพงานวิจัย กําหนดการสรางประชาคมวิจัย กําหนดการเผยแพรผลงานวิจัยและ การนําไปใชประโยชน และสอดคลองกับขอเสนอของ วิจารณ พานิช (2546 : 5) ที่วา การกํากับติดตามและประเมินผลสําหรับการบริหารงานวิจัย จําเปนอยางยิ่งตองมี การประยุกตใชหลักการ และวิธีการการจัดการตามกระบวนการของการวิจัย ประกอบดวย นโยบายและการวางแผนงานวิจัย การสงเสริมและสนับสนุนการทําวิจัยการเผยแพร ผลงานและการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน เพื่อดึงศักยภาพของคนในสังคม เพื่อสราง การเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค 80 | หนา


1.5 องคประกอบการองคกรเครือขาย บรรยายดวย 8 ตัวแปร องคประกอบนี้มี คาความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 9.432 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 9.247 โดยมีคาน้ําหนักตัวแปรในองคประกอบอยูระหวาง 0.535 - 0.669 ลําดับคาน้ําหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังนี้ (1) จัดกลุมสถานศึกษาเพื่อพัฒนาดานวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.669 (2) จัดกลุมเขตพื้นที่เพื่อพัฒนาดานวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.663 (3) ใหมีหนวยงานกลางในการกําหนดประเด็นปญหาในการวิจัยคาน้ําหนัก เทากับ 0.635 (4) สรางกลุมเครือขายและใหมีอํานาจตอรองในการสนับสนุนงบประมาณ คาน้ําหนักเทากับ 0.572 (5) มีการจัดทําทําเนียบประวัติ ผูทําวิจัยของเขตพื้นที่การศึกษา คาน้ําหนัก เทากับ 0.564 (6) สงเสริมใหครูไปศึกษาดูงานโรงเรียนที่เปนโรงเรียนวิจัยตนแบบ คาน้ําหนัก เทากับ 0.551 (7) หนวยงานกําหนดใหบุคลากรทําวิจัยโดยออกเปนคําสั่ง คาน้ําหนักเทากับ 0.549 (8) ตั้งชุมนุมงานวิจัยในชั้นเรียน คาน้ําหนักเทากับ 0.535 องคประกอบนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ ลําพอง กลมกูล (2548) พบวาโมเดล เครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่พัฒนาขึ้นประกอบดวย 3 รูปแบบยอยคือ รูปแบบ เครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในโรงเรียน รูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรียนภายในกลุมโรงเรียนและรูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในกลุม โรงเรียนและรูปแบบเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภายในเขตพื้นที่การศึกษา และ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ แพรทชเลอร (Pratschler 2009 : 18 ) พบวา บุคคลที่เปน ครูพี่เลี้ยงรูสึกดีตอหนาที่ของตน เกิดการเรียนรูเติบโตทางวิชาชีพ ครูไดรับการดูแล และ หนา | 81


รูสึกมีกําลังใจและมีความตองการเรียนรูเติบโตดานวิชาการ และการทําวิจัยเพื่อพัฒนา การปฏิบัติงานสอนในชั้นเรียน แสดงใหเห็นวา ระบบเครือขายครูพี่เลี้ยงมีอิทธิพลสําคัญ ต อ การปฏิ บั ติ ง านของครู รวมถึ ง การพั ฒ นานวั ต กรรมและการทํ า วิ จั ย ชั้ น เรี ย นด ว ย นอกจากนี้ กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 141) พบวา การประสานกลุมตางๆ ทําใหเกิดเปน เครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานนั้นตองอาศัยกระบวนการติดตอสื่อสาร และ การปฏิสัมพันธเปนสําคัญ ผลที่เกิดขึ้นคือ การเกิดระบบความสัมพันธในเครือขายแบบ ชวยเหลือเกื้อกูลในการรวมปฏิบัติงานควบคูไปกับกระบวนการเรียนระหวางทํางาน โดย เครือขายไดใหความสําคัญกับการจัดการความรูประสบการณจริงบนพื้นฐานความสัมพันธ ที่มีอยูเดิมของกลุมคน การผสมภาคีที่หลากหลายในการปฏิบัติงาน การผสานความรู สมัยใหมกับความรูพื้นบาน ประยุกตใชหลักธรรมทางศาสนา รวมถึงการใชทรัพยากรใน ทองถิ่นในการดําเนินงานที่สนับสนุนใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้นและตั้งชุมนุมงานใน ชั้นเรียน ทั้งนี้การกอตัวของเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจะเกิดขึ้นไดตองเริ่มจาก การมี เ ป า หมายและวิ สั ย ทั ศ น ร ว มกั น ของสมาชิ ก ภายในเครื อ ข า ยในการทํ า วิ จั ย ปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนและมีการประสานความรวมมือกัน ในการพัฒนาเครือขายใหมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 1.6 องคประกอบแรงจูงใจ บรรยายดวย 5 ตัวแปร องคประกอบนี้ มีคา ความแปรปรวน (eigenvalue) เทากับ 8.642 และคารอยละของความแปรปรวน (percent of variance) เทากับ 8.473 โดยมีคาน้ําหนักตัวแปรในองคประกอบอยู ระหวาง 0.508 - 0.696 ลําดับคาน้ําหนักตัวแปรจากมากไปนอย ดังนี้ (1) สนับสนุนใหมีการทําผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ คาน้ําหนัก เทากับ 0.696 (2) การสงเสริมใหศึกษานิเทศก มีบทบาทในการสนับสนุนงานวิจัยใหมากขึ้น คาน้ําหนักเทากับ 0.533

82 | หนา


(3) ใหครูและบุคลากรเห็นประโยชนและความสําคัญของการทําวิจัย เพื่อสราง ความมั่นใจในการทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.5223 (4) สรางมาตรการจูงใจใหครุและบุคลากรเกิดความรูสึก ประสงคที่จะทําวิจัย คาน้ําหนักเทากับ 0.514 (5) การสรางความตระหนักใหครูและบุคลากรในการแกปญหาการศึกษา คาน้ําหนักเทากับ 0.508 องคประกอบนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ ริทชี่ (Ritchie 2006 : 15 - 18) ศึกษาองคประกอบที่ทําใหครูตัดสินใจทําวิจัยชั้นเรียน โดยยึดแนวคิดที่วา จะทําอยางไร ใหครูที่เคยทําวิจัยชั้นเรียนแลวและครูที่ยังไมเคยทําวิจัยชั้นเรียนยังคงทําการวิจัยชั้นเรียน ตอไป ผลการวิจัยพบวา การสนับสนุนการสรางบรรยากาศองคการ การสรางวัฒนธรรม การวิ จั ย แก ค รู และการสนั บ สนุ น จากบุ ค ลากรผู มี ค วามรู ค วามชํ า นาญด า นวิ จั ย ให ช ว ยเหลื อ ด า นข อ มู ล คํ า แนะนํ า ช ว ยเหลื อ จากบุ ค คลผู ชํ า นาญการวิ จั ย ทํ า ให ค รู มี แรงจูงใจในการทําวิจัยจากแรงผลักดันจากที่ทํางาน นอกจากนี้ วัฒนธรรมการทํางาน แบบเครือขาย ก็สงผลตอการตัดสินใจในการทํางานวิจัยของครูดวย การสนับสนุนใหครู นักวิจัยเกิดความคิดความมั่นใจในผลการทํางานและเปนแรงจูงใจใหทํางานวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนนั้นจะตอง ทําใหครูนักวิจัยมีพฤติกรรม คือ 1) เปนผูรวมเรียนรู กับศิษยและเปนกัลยาณมิตรของศิษย 2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยมีนักเรียน เปนศูนยกลางการเรียนรู 3) มีความยืดหยุนทั้งเนื้อหา กิจกรรม สื่อการเรียน 4) เปดโอกาส ใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) มีความเขาใจ นักเรียนมากยิ่งขึ้นทั้งในดานปญหาและพฤติกรรมของนักเรียน อันนําไปสูสัมพันธภาพที่ ดีระหวางครูกับนักเรียน และ 6) การใหคําแนะนําและสงเสริมนักเรียนไดตรงตาม ความตองการและความสามารถ 2. รูปแบบการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เปนรูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุขององคประกอบ 6 องคประกอบ ดังนี้ หนา | 83


2.1 องคประกอบที่มีอิทธิพลทางตรงตอองคประกอบการกํากับ ติดตาม และ ประเมินผล คือ องคประกอบการสงเสริมการดําเนินการ องคประกอบองคกรเครือขาย องคประกอบวัฒนธรรมองคการ และองคประกอบแรงจูงใจ 2.1.1 การกํากับ ติดตาม และประเมินผล ไดรับอิทธิพลโดยตรงจาก องคกรเครือขาย และแรงจูงใจ และไดรับอิทธิพลทางออมจากการพัฒนาบุคลากรโดย สงผานปจจัยดานแรงจูงใจ สอดคลองวิจัย กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 142) พบวา การประสานกลุมตางๆ ทําใหเกิดเปนเครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานนั้นตอง อาศัยกระบวนการติดตอสื่อสาร และการปฏิสัมพันธเปนสําคัญ ผลที่เกิดขึ้นคือ การเกิด ระบบความสัมพันธในเครือขายแบบชวยเหลือเกื้อกูลในการรวมปฏิบัติงานควบคูไปกับ กระบวนการเรียนรูระหวางทํางาน โดยเครือขายไดใหความสําคัญกับการจัดการความรู ประสบการณ จ ริ ง บนพื้ น ฐานความสั ม พั น ธ ที่ มี อ ยู เ ดิ ม ของกลุ ม คน การผสมภาคี ที่ หลากหลายในการปฏิบัติงาน การผสานความรูสมัยใหมกับความรูพื้นบาน ประยุกตใช หลักธรรมทางศาสนา รวมถึงการใชทรัพยากรในทองถิ่นในการดําเนินงานที่สนับสนุนให เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นความสัมพันธของการกํากับติดตาม ประเมินผลกับแรงจูงใจ สอดคลองกับงานวิจัยของ ลา มาซา (La Masa 2005 : 3) พบวา ลักษณะความรวมมือ การสังเกตการณ แรงจูงใจอยางไมเปนทางการสงผลตอการปฏิบัติงานที่ดี กอใหเกิด การพัฒนาการดานการปฏิบัติงานของครู อีกทั้งไพรซ (Price 1968 : 2) กลาววา การกํากับ ติดตามประเมินผลนั้นขึ้นอยูกับคุณภาพขององคประกอบ ดังนี้ 1) การผลิต กําลังการผลิต และใชทรัพยากร 2) การยินยอมการปฏิบัติตามการยอมรับบรรทัดฐานขององคการ 3) ขวั ญ ความพอใจ และแรงจู ง ใจของบุ ค ลากร 4) ความสามารถในการปรั บ ตั ว ความสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง และ 5) ความเปนปกแผน เครื่องตัดสิน ความอยู ร อดขององค ก ารในระยะยาว และสอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ ชู เ มคเกอร (Shumacher 2004 : 15 - 17) เสนอแนะ 4 ประเด็น คือ 1) ระบบการประเมิน การปฏิบัติงานของครูตองมีความชัดเจนและมีความเชื่อมโยงกับผลลัพธที่คาดหวังไว 84 | หนา


2) การสร า งแรงจู ง ใจต อ งได รั บ ความสํ า คั ญ มากขึ้ น 3) ระบบการประเมิ น ต อ งให ความสําคัญกับผลลัพธมากกวากระบวนการ และ 4) ตองระบุเปาหมายของการประเมิน อยางชัดเจน และความสัมพันธของการพัฒนาบุคลากรกับแรงจูงใจ 2.1.2 องคประกอบการกํากับติดตามและประเมินผล ไดรับอิทธิพล โดยตรงจากการสงเสริมการดําเนินการและวัฒนธรรมองคการ ซึ่งสอดคลองกับ แนวความคิดของ กิติชัย ปญญาวัน (2548 : 143) พบวา การประสานกลุม เพื่อใหเกิด เครือขายความรวมมือในการปฏิบัติงานนั้นตองอาศัยกระบวนการติดตอสื่อสาร และ การปฎิ สั ม พั น ธ ใ นรู ป แบบช ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ในการร ว มปฏิ บั ติ ง านควบคู ไ ปกั บ กระบวนการเรียนรูระหวางทํางาน เปนสําคัญ และศุทธวัฒน นอยหมอ (2549) พบวา แนวทางในการสรางเครือขายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร คือ การทําใหอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความตองการของมนุษยมี การทํางานรวมกันเปนเครือขายอยางมีประสิทธิภาพไดแกกาสรางแกนนํา การมีสวนรวม ของสมาชิกการกําหนดวัตถุประสงค และการกําหนดกิจกรรมสอดคลองกับงานวิจัยของ จันทรา พักตรเพียงจันทร (2547) พบวา วัฒนธรรมองคการของโรงเรียนสัมพันธกับ การปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาทั้งนี้โรงเรียนที่มีวัฒนธรรมองคกรอยูใน ระดับมากทําใหผลการปฏิบัติงานในดานวิชาการ อยูในระดับดี ในลักษณะเดียวกับ งานวิจัยของ ธวัชชัย สัตยสมบูรณ (2548) พบวา รูปแบบวัฒนธรรมองคการที่พึงประสงค ประกอบดวย การมุงผลสัมฤทธิ์ เนนความรู ความรับผิดชอบและความกระตือรือรน ความเปนปจเจกบุคคล ความสัมพันธระหวางบุคคล มีคุณธรรม ยึดหลักการ ซื่อสัตย สุจริตตอตนเอง หนาที่และสังคม ความเปนหนวยงาน มีการประกันคุณภาพ ความเปน ประชาธิปไตย การบริหารแบบมีสวนรวม การทํางานเปนทีม ความภูมิใจในอาชีพ การมุง พัฒนาบุคลากร และมีกระบวนการกํากับติดตามประเมินผล 2.1.3 องคกรเครือขาย ไดรับอิทธิพลโดยตรงจากวัฒนธรรมองคกรและ การพัฒนาบุคลากร และไดรับอิทธิพลทางออมจากการสงเสริมการดําเนินการ ซึ่งสงผล หนา | 85


ผานวัฒนธรรมองคการและการพัฒนาบุคลากร สอดคลองกับแนวคิดของ แพรทชเลอร (Pratschler 2009 : 19 - 20) พบวา บุคคล ที่เปนครูพี่เลี้ยงรูสึกดีตอหนาที่ของตน เกิด การเรียนรูเติบโตทางวิชาชีพ ครูไดรับการดูแล และรูสึก มีกําลังใจและมีความตองการ เรียนรูเติบโตดานวิชาการ และการทําวิจัยเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานสอน ในชั้นเรียน แสดงให เ ห็ น ว า ระบบเครื อ ข า ยครู พี่ เ ลี้ ย งมี อิ ท ธิ พ ลสํ า คั ญ ต อ การปฏิ บั ติ ง านของครู รวมถึ ง การพั ฒ นานวั ต กรรมและการทํ า วิ จั ย ชั้ น เรี ย นด ว ยนอกจากนี้ ครอสเดลล (Croasdaile 2005 : 21) พบวา สถานศึกษาที่มีวัฒนธรรมองคการที่สนับสนุนชวยเหลือ ครูสงผลใหครูมีสวนรวมในการทําวิจัยมากขึ้น ในลักษณะเดียวกัน เนาวเรศ นอยพานิช (2552 : 126 - 141) พบวา รูปแบบการจัดการองคกรเครือขายการจัดการศึกษานอกระบบ ในชุมชนมีปจจัย 2 ดาน คือ 1) ปจจัยดานการสรางเครือขาย ประกอบดวย 3 องคประกอบ ยอย ไดแก การสรางเครือขาย ความรวมมือในชุมชน รูปแบบการรวมตัวขององคกร เครือขาย และระดับการรวมมือขององคกรเครือขาย 2) ปจจัยดานการบริหารเครือขาย ประกอบดวย 4 องคประกอบ ไดแก หลักการของการทํางานแบบเครือขายความรวมมือ แนวทางการจัดการองคกรเครือขาย ขั้นตอนกระบวนการและความรวมมือขององคกร เครื อ ข า ย และการสร า งวั ฒ นธรรมในการทํ า งานร ว มกั น ขององค ก รเครื อ ข า ย ความสัมพันธขององคกรเครือขายกับการพัฒนาบุคลากร สวน ลิซา (Lisa : 11 - 17) พบวา 1) ครูมีสวนรวมในการพัฒนาองคกร มีพื้นฐานบนความสนใจงานวิชาการ และ ยึดมั่นในอาชีพครู 2) ครูที่มีสวนรวมในคณะทํางานที่ดีตอกลุมทีมงาน และ 3) กลุมครูที่ มีอายุ 36-40 ป มีเจตคติที่ดีตอการทํางานเปนทีม และสมฤทัย รอดประเสริฐ (2544) พบวา การสงเสริมการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสระแกวโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดานการพัฒนา บุคลากรโดยกระบวนการปฏิบัติงาน กระบวนการพัฒนาตนเอง และดวยกระบวนการ บริหารอยูในระดับมาก สวนการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกอบรม และการสงบุคลากร ไปศึกษาอบรมหรือดูงานอยูในระดับปานกลาง การสงเสริมการดําเนินการจะสรางใน 86 | หนา


เกิดวัฒนธรรมองคกรบุคลากรมีแนวการปฏิบัติงานเปนไปแนวเดียวกัน มีการพัฒนา บุคลากรใหบุคลากรมีความรูความเชี่ยวชาญในงานที่ทํา เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกิด เปนองคกรเครือขายทั้งในรูปแบบเปนทางการและไมเปนทางการซึ่งเปนการ ซึ่งเปน ประโยชนอยางยิ่งตอการสงเสริมการดําเนินการเพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษา 2.1.4 องคประกอบแรงจูงใจ ไดรับอิทธิพลโดยตรงจากการสงเสริม การดําเนินการและการพัฒนาบุคลากร สอดคลองกับงานวิจัยของ แฟรมมางก (Flammang 2009 : 32-36) พบวา สํานักงานเขตพื้นที่มีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานและ สรางนวัตกรรม โดยสนับสนุนขอมูลและอุปกรณที่จําเปน การสนับสนุนการสรางเครือขาย ครูและการสรางพี่เลี้ยงดานวิชาการสงผลตอการชวยเหลือดานการสรางผลงานวิจัยและ นวัตกรรมในการเรียนการสอนในชั้นเรียน อีกทั้งขอคนพบของ แพรทชเลอร (Pratschler 2009 : 21 - 22) พบวา บุคคลที่เปนครูพี่เลี้ยงรูสึกดีตอหนาที่ของตน เกิดการเรียนรู เติบโตทางวิชาชีพ ครูไดรับการดูแล และรูสึกมีกําลังใจและมีความตองการเรียนรูเติบโต ดานวิชาการ และการทําวิจัย เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานสอนในชั้นเรียน แสดงใหเห็นวา ระบบเครือขายครูพี่เลี้ยงมีอิทธิพลสําคัญตอการปฏิบัติงานของครู รวมถึงการพัฒนา นวัตกรรมและการทําวิจัยชั้นเรียน 2.2 องคประกอบที่มีอิทธิพลทางออมตอองคประกอบการกํากับ ติดตาม และ ประเมินผล คือ 2.2.1 อิทธิพลทางออมของการสงเสริมการดําเนินการ อิทธิพลผล ทางออมที่ผานวัฒนธรรมองคการ อิทธิพลผลทางออมที่ผานวัฒนธรรมองคการ แลว ผานตอไปยังองคกรเครือขาย อิทธิพลผลทางออมที่ผานวัฒนธรรมองคการ แลวผาน ตอ ไปยั งการพั ฒ นาบุ ค ลากร แล วผ า นต อ ไปยั ง แรงจู ง ใจ อิ ท ธิ พ ลผลทางออ มที่ ผ า น องคกรเครือขาย อิทธิพลผลทางออมที่ผานแรงจูงใจอิทธิพล ทางออมที่ผานการพัฒนา

หนา | 87


บุคลากร แลวผานตอไปยังองคกรเครือขาย และอิทธิพลผลทางออมที่ผานการพัฒนา บุคลากร แลวผานตอไปยังแรงจูงใจ 2.2.2 อิทธิพลผลทางออมของวัฒนธรรมองคการ อิทธิพลทางออม ที่ผานองคกรเครือขาย อิทธิพลทางออมที่ผานการพัฒนาบุคลากร แลวผานตอไปยัง แรงจู ง ใจ และอิ ท ธิ พ ลทางอ อ มที่ ผ า นการพั ฒ นาบุ ค ลากร แล ว ผ า นต อ ไปยั ง องค ก ร เครือขาย 2.2.3 อิ ท ธิ พ ลทางอ อ มของการพั ฒ นาบุ ค ลากร อิ ท ธิ พ ลทางอ อ ม ที่ผานองคกรเครือขาย และอิทธิพลทางออมที่ผานแรงจูงใจ 2.2.4 อิทธิพลรวมของตัวแปรที่มีตอการกํากับติดตาม และประเมินผล คื อ อิ ท ธิ พ ลรวมของการส ง เสริ ม การดํ า เนิ น การ อิ ท ธิ พ ลรวมของวั ฒ นธรรมองค ก ร อิทธิพลรวมของการพัฒนาบุคลากร อิทธิพลรวมขององคกรเครือขาย และอิทธิพลรวม ของแรงจูงใจ 5. ขอเสนอแนะ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใชเพื่อประโยชนตอการพัฒนา คุณภาพศึกษา ดังนี้ 1. การพั ฒ นาบุ ค ลากรเรื่ อ งงานวิ จั ย จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง วั ฒ นธรรมองค ก ร การสงเสริมการดําเนินการ การกํากับติดตามและประเมินผล องคกรเครือขาย การสราง แรงจูงใจ ในการจัดอบรมพัฒนาบุคลากรนั้นจะตองเนนทั้งระดับสถานศึกษาและระดับ เขตพื้นที่การศึกษา โดยเนนเนื้อหาที่เปนประโยชนในการทํางานวิจัยของครูและบุคลากร ทางการ เชน องคความรูเกี่ยวกับวิจัยทางการศึกษา นโยบายการบริหารงานวิจัยจาก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เครือขายวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ แนวทางปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) โครงการยุววิจัย เปนตน 2. การสรา งวัฒ นธรรมองค การเพื่อ พัฒนางานวิ จัยของสํ านัก งานเขตพื้น ที่ การศึกษาจําเปนตองสงเสริมการดําเนินการโดยใหการสนับสนุนในดานวัสดุอุปกรณ 88 | หนา


แหลงเรียนรู งบประมาณ ตลอดจนผูเชี่ยวชาญกับครูและบุคลากรทางการศึกษา และ ที่สําคัญตองมีกระบวนการกํากับติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ใหครูและ บุคลากรตระหนั กและเขา ใจว าการกํ ากับ ติดตาม และประเมินผลเปนส วนหนึ่ง ของ การปฏิบัติงานในองคกร 3. สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ จ ะต อ งให ค วามสํ า คั ญ กั บ การสร า งองค ก รเครื อ ข า ย เพราะทําใหครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการทําวิจัย ซึ่งในการสรางเครือขายที่มีประสิทธิภาพจะตองคํานึงถึงการสรางวัฒนธรรมองคกรใหมี ความเขมแข็ง การพัฒนาบุคลากรใหมีความรูเกี่ยวกับการทําวิจัย และใหการสนับสนุน ในดานวัสดุอุปกรณ แหลงเรียนรู งบประมาณ ตลอดจนผูเชี่ยวชาญ 4. สํานักงานเขตพื้นที่ทางการศึกษาจะตองสรางแรงจูงใจใหกับครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีความตองการและตระหนักถึงความสําคัญของการทํางานวิจัย ซึ่งใน การสรางแรงจูงใจใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษานั้นสามารถดําเนินการโดยให การส ง เสริ ม การดํ า เนิ น การ ทั้ ง ในด า นประมาณ วั ส ดุ อุ ป กรณ ผู เ ชี่ ย วชาญ เป น ต น นอกจากนั้นการพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถดานการวิจัยยังเปนปจจัยที่ สรางแรงจูงใจใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทํางานวิจัยไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยั ครั้งตอไป 1. ควรมี วิ จั ย เปรี ย บเที ย บ “รู ป แบบการส ง เสริ ม การดํ า เนิ น การเพื่ อ พั ฒ นา งานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา” ระหวางกลุมที่สมัครใจและกลุมสุมตัวอยาง 2. ควรใหมีหนวยงานวิจัยเพื่อประเมินโครงการวิจัยการสงเสริมการดําเนินการ เพื่อพัฒนางานวิจัยของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. ควรมีการศึกษาสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีแนวทางปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) โดยใชรูปแบบระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ

หนา | 89


6. เอกสารอางอิง กิติชัย ปญญาวัน. (2548). “การเชื่อมประสานเครือขายเพื่อการเรียนรูและปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาเครือขายการสรางเสริมสุขภาพจังหวัดแพร.” วิทยานิพนธศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กัลยกร มั่นถาวรวงศ. (2547). “บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาตอการสงเสริมการวิจัย ในชั้นเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธครุศาสต รมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. จันทรา พักตรเพียงจันทร. (2547). “การศึกษาความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมโรงเรียน กับการปฏิบัติงาน วิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษากาญจนบุรี.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จิราภา ลวงลือ (2547). “สภาพและปญหาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียน อาชีวศึกษาเอกชนเขตกรุงเทพมหานคร 2.” ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนอาชีวศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. ณภชนก กําลังเกื้อ. (2541). “ความคาดหวังและการประเมินการดําเนินการจริงของ นักวิจัย ที่มีตอ การบริหารงานวิจัย ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.” ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ธเนศ ตวนชะเอม. (2548). “การบริหารงานวิจัย.” เอกสารประกอบการบรรยายในการ สัมมนา เรื่อง การบริหารงานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ. โรงแรมเวลคัม จอม เทียนพัทยา จังหวัดชลบุรี กองสุขศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธรณสุข.

90 | หนา


ธวัชชัย สัตยสมบูรณ. (2548). “วัฒนธรรมองคการที่พึงประสงคของวิทยาลัยการ สาธารณสุขสิรนิ ธร สถาบันพระบรมราชชนก.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. เนาวเรศ นอยพานิช. (2552). “รูปแบบการจัดการองคกรเครือขายการจัดการศึกษานอก ระบบในชุมชน.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย 3 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2552) : 126-141. บัญชา อึ๋งสกุล อางถึงใน เกียรติศักดิ์ ชิณวงศ. (2546). “สภาพและปญหาครู ประถมศึกษาทีพ่ บในการวิจัยชั้นเรียนของโรงเรียน สังกัดสํานักงานการ ประถมศึกษา อําเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎรธานี.” ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ระพีพรรณ สีหะวงษ. (2550). “รูปแบบการพัฒนางานวิจัยของบุคลากร มหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษ.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. ลําพอง กลมกูล. (2548). “การพัฒนาโมเดลเครือขายวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.” วิทยานิพนธ มหาบัณฑิตครุศาสตร (วิจัยการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิจารณ พานิช. (2545). การบริหารงานวิจัย แนวคิดจากประสบการณ. กรุงเทพฯ : บริษัท เคล็ดไทย จํากัด. ศุทธวัฒน นอยหมอ. (2549). “เครือขายสงเสริมสุขภาพของโรงเรียนสงเสริมสุขภาพสังกัด สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย. พจนันท รมสนธิ์. (2543). “การบริการของหนวยงานบริการงานวิจัยใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.” ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ บริหารการศึกษา ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. หนา | 91


สมฤทัย รอดประเสริฐ. (2544). “การสงเสริมการพัฒนาบุคลากรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระแกว.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2553). แผนปฏิบัติการสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประจําป : ขอมูลสถิติประจําป 2552 (อัดสําเนา) สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. (2551). การวิจัยไทย : วิวัฒนาการสูอนาคต. กรุงเทพฯ : สวัสดิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (อัดสําเนา) Croasdaile, Susanne Swing. (2005). Social Organizational Factors Related to Involvement in Teacher Research : A Study of Teacher Researchers. University of Virginia. Lisa, Smulyan. (1988). “The Collaboration Process in Action Research” Education Research Quaterly, 12(1) : 11-17;October. Pratschler, Marianne. (2009). Effects of Mentoring Preservice Teachers on Inservice Teacher in Professional Development School Environments. Walden University. Price, James. L. (1968). Organization Effectiveness : An Inventory of Propositions. Homwood, Illinois : Richard D. Irwin Inc. Ritchie, Gail V. (2006). Teacher Research as a Habit Mind. George Mason University. Shumacher, Gerald T. (2004). Perceptions of the Impact of a Standards Based Teacher Evaluation System Based on the Danielson Framework for Teaching Model on Teaching and Student Learning. [Online]. accessed 22 February 2011. Available from http://www.lib.umi.com/dissertations/ 92 | หนา


การพัฒนาสูตรการจัดสรรงบประมาณเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพ การใชจา ยเงินงบประมาณในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการจัดทําตัวชี้วัด สถานะเศรษฐกิจ และสังคมระดับโรงเรียน ระยะที่ 1 รองศาสตราจารย ดร. ชัยยุทธ ปญญาสวัสดิ์สุทธิ์1และคณะ2

1. หลักการและเหตุผล การพัฒนาแนวทางการจัดสรรงบประมาณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชจาย ความเสมอภาค และความเปนธรรมทางการศึกษาใหมากขึ้น เปนเรื่องที่จําเปนและมี ความสําคัญ ปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณ ใหแกเขตพื้นที่การศึกษา โดยอาศัยสูตรการคํานวณ ที่ไดมีการพัฒนาขึ้นในป 2549 และ มีการปรับปรุงวิธีการคํานวณเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน แนวทางการจัดสรรงบประมาณ โดยอิงกับสูตร เปนวิธีที่แพรหลายในหลายๆประเทศ เพราะอิงกับหลักการความโปรงใส สะท อ นความจํ า เป น สอดคล อ งกั บ นโยบาย ลดความไม เ ท า เที ย มกั น และเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใชจายของเงินงบประมาณ อาทิ งบประมาณที่จัดสรรสะทอนความ ตองการ ความขาดแคลน ภาระและความยากลําบากในการปฏิบัติงานของโรงเรียนและ เขตพื้นที่การศึกษา อย า งไรก็ ต ามสู ต รการจั ด สรรเดิ ม ที่ ใ ช อ ยู นั้ น จํ า เป น ต อ งมี ก ารพั ฒ นาและ ปรับเปลี่ยนใหสมบูรณมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหสอดคลองกับแนวนโยบายการพัฒนาระบบ การศึกษาในปจจุบัน สอดคลองกับโครงสรางการบริหารเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งปจจุบัน ไดมีการแยกเขตพื้นที่ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาออกจากกัน อีกทั้งจําเปนตองปรับปรุง ระบบฐานขอมูลที่ใชสนับสนุนการคํานวณ ซึ่งก็ไดเปลี่ยนแปลง ไปจากเดิมมากเชนกัน แนวทางการปรับปรุงสูตรการจัดสรรงบประมาณ จะมุงเนนการสงเสริมบทบาท ของเขตพื้นที่การศึกษาในมิติประสิทธิภาพการบริหาร มิติการดําเนินงานตามนโนบาย 1 2

อาจารยประจําคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นางสาวปรัชญวรรณ วนานันท และนายวรัญไชย ธันธนาพรชัย

หนา | 93


หรือกลยุทธตางๆ ของ สพฐ. และมิติผลลัพธทางการศึกษา โดยเฉพาะเรื่องคุณภาพการ จัดการศึกษาที่เปนปญหาสําคัญ และเรงดวนมากในปจจุบัน นอกจากนี้สูตรที่พัฒนาขึ้น ใหม สงเสริมพัฒนาศักยภาพการทํางานใหเขตพื้นที่การศึกษา ในลักษณะการใหรางวัล แกเขตที่มีความสามารถในการใชงบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสนับสนุน เพิ่มเติมใหแกเขตพื้นที่ที่ตามระดับความขาดแคลน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการทํางาน ดังนั้น การศึกษาเพื่อปรับปรุงสูตรการจัดสรรเงินงบประมาณดานการศึกษา จึงมีความจําเปน ชวยใหกลไกการจัดสรรเงินแกโรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษาเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส เปนธรรม สนับสนุนการกระจายอํานาจ ครอบคลุมมิติพื้นที่ ที่มีความแตกตางไดมากขึ้น และสะทอนความตองการใชทรัพยากรในอนาคตไดดีขึ้น 2. วัตถุประสงคการศึกษา 1. เพื่อพัฒนาและปรับสูตรการจัดสรรเงินงบประมาณในระดับเขตพื้นที่ใหมี ความพรอมและครบถวนสําหรับการจัดสรรงบประมาณป 2554 2. เพื่อพัฒนาบุคลากรของสพฐ.ใหสามารถประยุกตใชสูตรการจัดสรร งบประมาณที่ไดพัฒนาขึ้น 3. วิธีการศึกษา 1. ทบทวนแนวทางการจัดสรรเงินงบประมาณสําหรับเขตพื้นที่การศึกษาที่ผานมา 2. จัดสัมมนารับฟงความคิดเห็นตอแนวทางการจัดสรรที่ผานมา 3. ออกแบบองคประกอบของสูตรการจัดสรรสําหรับเขตพื้นที่การศึกษาตามกรอบ แนวคิดการจัดสรรงบประมาณตามความจําเปน (Needs - Based Funding Formula) 4. ตรวจสอบความเป น ไปได ใ นการจั ด เก็ บ ข อ มู ล และดํ า เนิ น การจั ด เก็ บ ตาม องคประกอบของสูตร 5. พัฒนารายละเอียดสูตรการคํานวณ และกําหนดกรอบวงเงินจัดสรร 6. เสนอผลการพัฒนาสูตรการจัดสรรสําหรับเขตพื้นที่ และจัดสัมมนาเพื่อรับฟง ความคิดเห็นจากผูมีสวนไดสวนเสีย 94 | หนา


4. ผลการศึกษา 4.1 สูตรปจจุบัน 4.1.1 สูตรปจจุบันปงบประมาณ 2554 สพฐ.จัดสรรงบประมาณ (งบดําเนินงาน) ใหแก สพป. 183 เขต โดยแบงออกไดเปน 2 สวนคือ งบประจํา และงบพัฒนา  งบประจํา ในกรอบวงเงินรวม 886,665,040 บาท ประกอบดวย (ก) งบ ความจําเปนพื้นฐาน จัดสรรใหเทากัน เขตละ 1 ลานบาท และจัดสรรเปน คาสาธารณูปโภคใหอีก ตามกรอบอัตรากําลังระหวาง 520,000 - 600,000 บาท (ข) งบภาระงานและสงเสริมนโยบาย จัดสรรตามกรอบอัตรากําลัง ผลการประเมินความพึงพอใจของโรงเรียนตอการบริหารจัดการของ สพป. จัดสรรตามจํานวนนักเรียนในเขต และจัดสรรเทากัน เพื่อเปนคาใชจาย การติดตามคุณภาพการศึกษา และ (ค) งบองคประกอบอื่นๆ ตามลักษณะ พิเศษของเขต อาทิ เขตที่มีสนามบิน และเขตที่มีโรงเรียนในพื้นที่สูง  งบพัฒนา เปนการจัดสรรเพื่อใหเขตดําเนินงานตามกลยุทธสวนแรกเปน งบแลกเปาพื้นฐาน จัดสรรใหเทากันเขตละ 3 ลานบาท และงบแลกเปา เพิ่มเติม จัดสรรใหตามโครงการของ แตละ สพป. ระหวาง 1 - 2 ลานบาท 4.1.2 ตามสูตรป 2554 พบวาในการจัดสรรงบประจํานั้น รอยละ 31 ของงบ ประจํ า ที่ จั ด สรรให เ ขต เป น การจั ด สรรให ทุ ก เขตเท า กั น และอี ก เกื อ บร อ ยละ 70 มีการจัดสรรโดยอาศัยหลักเกณฑที่แตกตางกันไปชี้วา มีการจัดสรรงบประมาณ ตามความแตกตางของภาระงาน และความยากลําบากในการปฏิบัติงาน จึงนับไดวา สูตรชวยใหเกิดความเปนธรรมและประสิทธิภาพการจัดสรร 4.1.3 องคประกอบที่ไดรับงบประมาณสูงเรียงตามลําดับคือ ระดับความพึงพอใจ ตอการทํางาน (27%) กรอบอัตรากําลัง (22%) คาใชจายพื้นฐาน (21%) คาสาธารณูปโภค (12%) การติดตามคุณภาพ (10%) จํานวนนักเรียน (8%) เขตพิเศษ (2%)

หนา | 95


4.1.4 งบประมาณจัดสรรใหเฉลี่ยตอเขต 4.8 ลานบาท (ยังไมรวมงบพัฒนา) สูงสุด 5.3 ลานบาท ต่ําสุด 4.5 ลานบาท 4.1.5 เขตที่ไดรับสูงสุด 5 ลําดับแรกคือ อุดรธานี เขต 1 กทม.เขต 1 สกลนคร เขต 1 อุบลราชธานี เขต 1และ เชียงใหม เขต 2 4.1.6 เขตที่ไดรับต่ําสุด 5 ลําดับสุดทายคือ ระยอง เขต 2 ลําปาง เขต 2 พะเยา เขต 1 กาญจนบุรี เขต 4และ เลย เขต 3 4.2 ขอเสนอสูตรใหม 4.2.1 มีองคประกอบเพิ่มเติมอีก 2 สวนคือ สวนแรก จัดสรรเพิ่มเติมเพื่อให สะทอนความแตกตางในดานผลงานของเขตพื้นที่ รวม 3 ดานคือ  ดานประสิทธิภาพการบริหารจัดการ  ดานคุณภาพการดําเนินงานของสถานศึกษา และ  ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 4.2.2 การจั ด สรรมี ทั้ ง ด า นที่ เ ป น การสร า งแรงจู ง ใจให กั บ เขตพื้ น ที่ ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ และในขณะเดี ย วกั น ก็ มี ก ารจั ด สรรช ว ยชดเชยให กั บ เขตพื้ น ที่ ที่ มี ความลําบากในการดําเนินงานมากกวาเขตอื่นๆ 4.2.3 องคประกอบเพิ่มเติมสวนที่สอง คือ การจัดสรรใหเขตพื้นที่เพื่อใหมีการ ดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ แยกตามกลยุทธตางๆ รวม 4 กลยุทธ 4.2.4 เกณฑการจัดสรรใหตามองคประกอบเพิ่มเติมทั้ง 2 สวนนี้ อาศัยแนวคิด การจัดลําดับของตัวชี้วัด โดยการแบงกลุมออกตามเดไซล กรณีที่จัดสรรเพื่อเปนการสราง แรงจูงใจ เขตที่ตกอยูในกลุมเดไซลที่สูง จะไดรับจัดสรรมากกวาเขตที่อยูในเดไซลต่ํา ในทางตรงกันขาม กรณีที่จัดสรรเพื่อชดเชยความขาดแคลน เขตที่อยูในเดไซลต่ํากวา จะไดรับจัดสรรมากกวา 4.2.5 โดยสรุป สูตรการจัดสรรที่พัฒนาขึ้น ประกอบดวย 5 องคประกอบและ 15 ตัวชี้วัด คือ 96 | หนา


 ความจําเปนพืน้ ฐาน (2 ตัวชีว้ ัด)  ภาระงาน (5 ตัวชี้วัด)  ลักษณะเฉพาะเขต (2 ตัวชี้วัด)  ผลงาน (3 ตัวชี้วัด)  งานตามนโยบาย ( 4 ตัวชี้วัด) 4.2.6 วงเงินจัดสรรใหเขตพื้นที่ มีคาเทากับ ผลรวมการจัดสรรตามองคประกอบ ที่ 1 ถึง 5 กรอบวงเงินจัดสรรสําหรับองคประกอบที่ 1 - 3 คิดเปน 886.7 ลานบาท สวนกรอบ วงเงินสําหรับองคประกอบเพิ่มเติมอีก 2 สวนคิดเปน 1,261.8 ลานบาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 2,148.9 ลานบาท 4.2.7 ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดขององคประกอบ ตัวชี้วัดและเงินที่จัดสรร ใหในแตละรายการ พบวา องคประกอบดานงานตามนโยบายมีสัดสวนของงบประมาณ มากที่สุด คิดเปนรอยละ 52.74 รองลงมาไดแก องคประกอบดานภาระงาน รอยละ 27.68 ดานความจําเปนพื้นฐาน รอยละ 13.33 ดานผลงาน รอยละ 5.97 และ ลักษณะเฉพาะของเขต รอยละ 0.28 ตามลําดับ 4.2.8 งบประมาณเฉลี่ยตอเขต 11.7 ลานบาท สูงสุด 12.5 ลานบาท ต่ําสุด 10.9 ลานบาท 4.2.9 รายละเอียดตัวชี้วัด และเกณฑการจัดสรรในแตละองคประกอบ แสดงไว ในตารางที่ 2 5. สรุปและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 5.1 แนวทางการจัดสรรงบประมาณในอนาคต ควรใหน้ําหนักตอการจัดสรรเงิน ตามประสิทธิ ภาพของการทํางาน และการจัดสรรตามเปาหมายกลยุทธใหมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเปนประโยชนตอการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณใน แตละเขตพื้นที่

หนา | 97


5.2 เพื่อสงเสริมศักยภาพการบริหารงบประมาณของเขตพื้นที่การศึกษา ลดความเหลื่ อ มล้ํ า ที่ เ กิ ด จากบริ บ ทของพื้ น ที่ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ควรพิ จ ารณาการจั ด สรร งบประมาณเพิ่มเติม ซึ่งสะทอนความขาดแคลนในแตละมิติของเขตพื้นที่การศึกษา (งานในระยะที่สองของโครงการ) 5.3 การสงเสริมประสิทธิภาพการใชจาย และการบริหารจัดการงบประมาณ ของเขตพื้นที่การศึกษา ควรดําเนินการควบคูไปกับการกระจายอํานาจ เพื่อใหเขตพื้นที่ การศึกษาและสถานศึกษามีอิสระและคลองตัว ขยายวงเงินจัดสรรที่ใหเขตสามารถ บริหารจัดการมากขึ้น ภายใตกรอบเปาหมายตามกลยุทธของ สพฐ. 5.4 เพื่อใหการบริหารจัดการงบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สพฐ. ควรเนนการทําหนาที่ในการกํากับ ติดตามการดําเนินงานตามนโยบายมากขึ้น ควบคูกับ การกระจายอํานาจใหแกเขตพื้นที่การศึกษา 5.5 การบริหารที่มีประสิทธิภาพตั้งอยูบนพื้นฐานการมีขอมูลที่ครบถวน ทั น เวลาต อ การตั ด สิ น ใจ ดั ง นั้ น สพฐ.จํ า เป น ต อ งพั ฒ นาฐานข อ มู ล เพื่ อ สนั บ สนุ น การจั ด สรรงบประมาณโดยใช สู ต ร ให มี ค วามต อ เนื่ อ ง เพิ่ ม ข อ มูล เชิ ง ลึ กในมิ ติ พื้ น ที่ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงเชิงปริมาณและคุณภาพ 5.6 ขยายขอบเขตของสูตรการจัดสรรใหครอบคลุมหมวดงบประมาณอื่นๆ เพื่อใหเห็นภาพรวมของการใชจายและที่มาของทรัพยากรในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ขอมูลเหลานี้เปนประโยชนตอการวิเคราะหตนทุนผลผลิต และการศึกษาเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณระหวางเขตพื้นที่ นอกจากนี้ เปนประโยชนตอ การพัฒนาสูตรใหสมบูรณมากขึ้น

98 | หนา


ตารางที่ 1 รายละเอียดสูตรการจัดสรรงบประมาณสําหรับเขตพื้นที่การศึกษาที่พัฒนาใหม องคประกอบ ความจําเปนพื้นฐาน งบประมาณขั้นต่ํา คาสาธารณูปโภคเพิ่มเติม ภาระงาน ขนาดบุคลากรตามกรอบ ผลประเมินคุณภาพของเขต จํานวนนักเรียน การติดตามคุณภาพ ลักษณะเฉพาะเขต มีสนามบิน โรงเรียนในพื้นที่พิเศษ ผลงาน ประสิทธิภาพการดําเนินงานของเขต คุณภาพสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานตามนโยบาย กลยุทธที่ 1 กลยุทธที่ 2 กลยุทธที่ 3 กลยุทธที่ 5 งบประมาณรวม

งบประมาณ (บาท) 286,432,000 183,000,000 103,432,000 594,794,040 193,935,000 236,859,040 72,500,000 91,500,000 5,984,000 1,560,000 4,424,000 128,282,420 38,070,000 37,996,920 52,215,500 1,133,453,489 388,736,925 32,688,050 146,309,136 565,719,379 2,148,945,949

รอยละ 13.33 8.52 4.81 27.68 9.02 11.02 3.37 4.26 0.28 0.07 0.21 5.97 1.77 1.77 2.43 52.74 18.09 1.52 6.81 26.33 100

หนา | 99


ตารางที่ 2 รายละเอียดตัวชี้วัด และเกณฑการจัดสรรในแตละองคประกอบ รายละเอียด องคประกอบ งบประมาณขั้น พื้นฐาน ความจําเปน คา พื้นฐาน สาธารณูปโภค เพิ่มเติม

องคประกอบ

ตัวชี้วัด สพป.

เงินที่จัดสรรให เขตละ 1,000,000 บาท

อัตรากําลัง 75 คน เขตละ 600,000 บาท อัตรากําลัง 67 คน เขตละ 536,000 บาท อัตรากําลัง 65 คน เขตละ 520,000 บาท อัตรากําลัง 75 คน เขตละ 1,125,000 บาท จํานวนบุคลากร กรอบ อัตรากําลัง 67 คน เขตละ 1,005,000 บาท ตามกรอบ อัตรากําลัง อัตรากําลัง 65 คน เขตละ 975,000 บาท คะแนนความพึง ความพอใจ 1.50-1.85 เขตละ 1,200,000 บาท พอใจของ ร.ร. ตอ ความพอใจ 1.86-2.21 เขตละ 1,272,000 บาท ผลประเมิน การดําเนินงาน ความพอใจ 2.22-2.57 เขตละ 1,348,320 บาท คุณภาพของเขต ของ สพท. ภาระงาน ความพอใจ 2.58-2.93 เขตละ 1,429,220 บาท (คะแนน1-4) นักเรียน นอยกวา 28,262 คน เขตละ 300,00 บาท จํานวนนักเรียน นักเรียน 28,263-47,005 คน เขตละ 400,00 บาท จํานวนนักเรียน ทั้งหมดในเขต นักเรียน 47,006-65,748 คน เขตละ 500,00 บาท พื้นที่ นักเรียน มากกวา 65,749 คน เขตละ 600,00 บาท งานการติดตาม เขต เขตละ 500,000 บาท คุณภาพ ประเภทของ มีสนามบินปกติ เขตละ 80,000 บาท สนามบิน สนามบิน ลักษณะเฉพา มีสนามบินนานาชาติ เขตละ 120,000 บาท ะของเขต ร.ร.ในพื้นที่ จํานวนร.ร.ใน จัดสรรให ร.ร.ละ 2,000 บาท พิเศษ พื้นที่สูง เดไซลที่ 1 - 5 เขตละ 200,000 บาท ประสิทธิภาพ คะแนนประสิทธิภาพ ผลงาน การดําเนินงาน เดไซลที่ 6 - 7 เขตละ 210,000 บาท (+5%) (ผลผลิตคือกลยุทธ) ของเขตพื้นที่ เดไซลที่ 8 - 10 เขตละ 220,000 บาท (+10%)

100 | หนา

กรอบ อัตรากําลัง


องคประกอบ

รายละเอียด องคประกอบ

ตัวชี้วัด

คุณภาพ สถานศึกษา

คะแนนประเมิน ภายนอก สมศ

ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

คะแนน ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (คะแนน ONET เฉลี่ยของร.ร.) คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 1 (พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐาน)

งานตาม นโยบาย

คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 2 (ปลูกฝง คุณธรรม) กลยุทธสพฐ. 4 กลยุทธ คะแนนประเมิน กลยุทธที่ 3 (ขยายโอกาส ทางการศึกษา) คะแนนประเมิน กล ยุทธที่ 5 (พัฒนา ประสิทธิภาพบริหาร จัดการศึกษา)

เงินที่จัดสรรให เดไซลที่ 1 - 2 ร.ร.ละ 1,200 บาท เดไซลที่ 3 - 4 ร.ร.ละ 1,380 บาท (+15%) เดไซลที่ 5 - 6 ร.ร.ละ 1,560 บาท (+30%) เดไซลที่ 7 - 8 ร.ร.ละ 1,740 บาท (+45%) เดไซลที่ 9 - 10 ร.ร.ละ 1,920 บาท (+60%) เดไซลที่ 1 - 2 ร.ร.ละ 2,600 บาท (+30%) เดไซลที่ 3 - 4 ร.ร.ละ 2,500 บาท (+25%) เดไซลที่ 5 - 6 ร.ร.ละ 2,400 บาท (+20%) เดไซลที่ 7 - 8 ร.ร.ละ 2,200 บาท (+10%) เดไซลที่ 9 - 10 ร.ร.ละ 2,000 บาท เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 2,212,011 บาท (+15%) เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 2,115,837 บาท (+10%) เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 2,019,662 บาท (+5%) เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 1,923,488 บาท เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 185,865 บาท (+15%) เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 177,784 บาท (+10%) เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 169,703 บาท (+5%) เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 161,622 บาท เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 806,401 บาท (+15%) เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 771,340 บาท (+10%) เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 736,279 บาท (+5%) เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 701,218 บาท เดไซลที่ 1 - 4 เขตละ 3,115,792 บาท (+15%) เดไซลที่ 5 - 6 เขตละ 2,980,322 บาท (+10%) เดไซลที่ 7 - 8 เขตละ 2,844,853 บาท (+5%) เดไซลที่ 9 - 10 เขตละ 2,709,384 บาท

หนา | 101


6. การดําเนินการในระยะที่ 2 ของโครงการ ผลการศึกษาขางตนเปนการศึกษาในระยะแรก เพื่อใหเปนไปตามเปาหมาย และมีความสมบูรณมากขึ้น จึงจําเปนตองศึกษาเพิ่มเติมในประเด็น ดังตอไปนี้ 1. การปรับปรุงสูตรการจัดสรร เพื่อใหสามารถสะทอนความเหลื่อมล้ําทาง เศรษฐกิจของโรงเรียน ขอมูลที่ไดมีประโยชนตอการตัดสินใจเชิงนโยบาย โดยเฉพาะ การจัดทําดัชนีความเหลื่อมล้ําของโรงเรียน ครอบคลุมมิติดานเศรษฐกิจสังคมและคุณภาพ 2. วิเคราะหสัดสวนและลักษณะการใชจายงบประมาณในแตละดานของเขต พื้นที่การศึกษา ศึกษาเพื่อใหทราบวงเงินงบประมาณทั้งหมดที่เขตไดรับการจัดสรรหรือ มีการใชจายจริง รวมทั้งวิเคราะหสัดสวนและลักษณะการใชจายงบประมาณในแตละดาน อาทิ การบริ ห ารจั ด การ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการเรี ย นการสอน เป น ต น นอกจากนี้ วิเคราะหเพื่อจําแนกงบประมาณออกตามหมวดรายจายงบประมาณ ขอมูลที่ไดนี้มี ประโยชนในการคํานวณตนทุนผลผลิต ซึ่งจะชวยใหการดําเนินการเพื่อขอรับงบประมาณ เปนไปไดอยางเปนธรรมมากขึ้น นอกจากนั้น สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สนผ.)สามารถนํ า ข อ มู ล ดั ง กล า วมาคํ า นวณเพื่ อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการใช จ า ย งบประมาณของเขตพื้นที่ไดสมบูรณยิ่งขึ้นในอนาคต 3. วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการทํางานของเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อคนหาปจจัยที่สามารถอธิบายความแตกตางในเรื่องประสิทธิภาพการทํางานของ เขตพื้นที่การศึกษา หากทราบถึงปจจัยดังกลาวได สามารถนํามาใชเพื่อใชประเมินน้ําหนัก ความสําคัญของปจจัยเหลานั้น และอาจใชสวนหนึ่งของสูตรการจัดสรรงบประมาณ 4. ศึกษาความเปนไปไดของสูตรการจัดสรรในลักษณะของการจัดสรรเปนเงิน กอน (Block grant) ซึ่งตองคํานึงถึงการจัดสรรงบประมาณ สวนที่เปนเงินเดือนครู และ บุคลากรทางการศึกษาเพิ่มเติมจากเดิม ประเด็นนี้จะมีความสําคัญในอนาคตในกรณีที่ มีการเกษียณของครูเปนจํานวนมาก -----------------------------102 | หนา


การศึกษาเกณฑมาตรฐานความสามารถดานการอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร ของประเทศตะวันตก ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริรัตน นีละคุปต1 และคณะ2 1. ความสําคัญ และที่มาของปญหาการวิจยั คะแนนเฉลี่ยที่คิดเปนรอยละของคะแนนการสอบ O–NET ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 6 ใน 4 วิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตรและสังคมศึกษา ซึ่งไมถึงรอยละ 50 สะทอนผลสัมฤทธิ์ที่ต่ําในวิชาดังกลาว การที่เปนเชนนี้ มาจากหลายสาเหตุ ระบบการวัด และการประเมินผลอาจเปนสาเหตุหนึ่ง ประเทศไทยไดนําหลักสูตรอิงมาตรฐานมาใชทั่วประเทศ เมื่อป 2544 และในป 2551 ก็ได ปรับปรุงหลักสูตรใหม แตก็ยังคงเปนหลักสูตรอิงมาตรฐานอยู อันที่จริงการใชหลักสูตร อิงมาตรฐานก็จะตองประเมินผลอิงมาตรฐานควบคูกันไป และกระทรวงศึกษาธิการก็ให แนวทางแกสถานศึกษาเกี่ยวกับระดับคุณภาพของผลการปฏิบัติของผูเรียนไวหลายระบบ ระบบหนึ่งคือ ระบบใชคําสําคัญสะทอนมาตรฐานในระดับประถมศึกษา จําแนกเปน 2 หรือ 4 หรือ 5 ระดับ เชน จํ าแนก 4 ระดับออกเปน ไมผ าน ผาน ดี ดีเยี่ยม ในระดั บ มัธยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย จําแนกไว 8 ระดับ ต่ํากวาเกณฑ ผานเกณฑขั้นต่ํา พอใช ปานกลาง คอนขางต่ํา ดี ดีมาก ดี เยี่ยม ทั้งนี้โดยเทียบเคียงกับชวงคะแนนที่ คิดเปนรอยละ (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2552) เกณฑประเมินผลความรูดังกลาวใชกับทุกวิชาที่ประเมิน และผลที่ไดก็แสดงถึงระดับความสามารถโดยเฉลี่ยของนักเรียนในภาพรวม เชนนักเรียน ที่เรียนในชั้นนั้นๆ ทั้งประเทศ ในเขตการศึกษา ในโรงเรียนที่สังกัด ทําใหการปรับปรุง แกไขไมตรงตามความตองการของนักเรียนแตละคน 1

อาจารยคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2

ดร.ไพเราะ อังศุสุกนฤมล อาจารย ศุภฤกษ ทานาค ดร.ชนิศวรา เลิศอมรพงษ ดร.เอกรัตน ศรีตัญู

หนา | 103


ในประเทศตา งๆ ที่จัดการเรียนการสอนแบบอิ งมาตรฐาน ก็ จะประเมินผล การเรียนของนักเรียนโดยอิงมาตรฐานดวย เมื่อประเมินผลระดับรัฐ หรือระดับชาติ ก็จะ ใชเกณฑประเมินคุณภาพของผลปฏิบัติ (Performance Level Descriptors) ประเมิน ระดับความสามารถของนักเรียนในวิชาที่กําหนดใหประเมิน ทําใหบอกไดวาความสามารถ ของนักเรียนไดมาตรฐาน ต่ํากวามาตรฐาน หรือเหนือมาตรฐาน อีกทั้งยังชี้บงความรู และทักษะที่เปนจุดแข็ง และจุดออนของนักเรียน ดวยเหตุที่ประเทศไทย ก็จัดการเรียน การสอนแบบอิงมาตรฐาน การประเมินผลก็ตองอิงมาตรฐาน โดยเฉพาะอิงตัวชี้วัดหลัก ที่สําคัญสําหรับมาตรฐานการเรียนรูนั้นๆ จึงควรที่จะพัฒนาเกณฑประเมินคุณภาพของ ผลปฏิ บั ติ เพื่ อนํ ามาใช ประเมินความสามารถของนั ก เรี ยนเป น รายบุ ค คล การศึ ก ษา รูปแบบเกณฑประเมินความสามารถของนักเรียนของประเทศอื่นๆ ในวิชาหลัก คือ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร จึงเปนแนวทางใหมีโอกาสเลือกรูปแบบที่ เหมาะสมสําหรับประเทศไทย 2. วัตถุประสงคการวิจัย การวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ศึ ก ษารู ป แบบเกณฑ ค วามสามารถที่ ป ระเทศ ตะวันตกใชประเมินนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ระเบียบวิธีวิจัย กลุมตัวอยางของงานวิจัยนี้สุมมาอยางเฉพาะเจาะจง มี 2 กลุม กลุมแรก คือ เกณฑมาตรฐานความสามารถ ประกอบดวย Performance Level Descriptors สําหรับ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร ของมลรัฐแอริโซนา มลรัฐแคนซัส และมลรัฐเทกซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา ของรัฐแอลเบอรตา ประเทศแคนาดา และ Level Descriptions สําหรับวิชาดังกลาวของเขตการปกครองอังกฤษ สหราชอาณาจักร กลุมที่ 2 คือกลุมผูเชี่ยวชาญภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร รวมทั้งสิ้น 14 คน คณะนั ก วิ จั ย ได ศึ ก ษาเอกสารเกี่ ย วกั บ ประเภทของตั ว ชี้ วั ด และขั้ น ตอนใน การพัฒนาตัวชี้วัด ระดับคุณภาพของผลปฏิบัติ ตลอดจนแนวคิดทางการเขียนตัวชี้วัดที่ 104 | หนา


แสดงคุณภาพของผลการปฏิบัติในระดับตางๆ นอกจากนั้น ยังศึกษาการประเมินผลของ ประเทศสหรัฐอเมริกา เนนที่มลรัฐแอริโซนา มลรัฐแคนซัส และมลรัฐเทกซัสของประเทศ แคนาดาโดยเนนที่รัฐแอลเบอรตา และการประเมินผลในเขตการปกครองอังกฤษของ สหราชอาณาจักร คณะนักวิจัยไดศึกษา Performance Level Descriptors สําหรับ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตรที่พัฒนาขึ้นโดยมลรัฐแอริโซนา มลรัฐ แคนซัส และมลรัฐเทกซัส และที่พัฒนาโดยรัฐแอลเบอรตา รวมทั้ง Level Descriptions ที่เขตการปกครองอังกฤษของสหราชอาณาจักรไดพัฒนาขึ้นสําหรับวิชาที่กลาวมาแลว จึงวิเคราะหความแตกตางระหวางรูปแบบของ Performance Level Descriptors/ Level Descriptions ของมลรัฐ / รัฐ / เขตการปกครอง รวมทั้งวิเคราะหวิธีจําแนก ความแตกตางระหวางระดับความสามารถตางๆ ในเกรดเดียวกัน และวิธีการจําแนก ความแตกตางระหวางระดับความสามารถ ในเกรดต่ํา และเกรดที่สูงกวา นอกจากนี้ คณะนักวิจัยยังไดวิเคราะหความรู / ทักษะที่กําหนดใหประเมินในแตละวิชา โดยใช ตัวชี้วัดที่ระบุในระดับความสามารถตางๆ เปนพื้นฐาน หลังจากการศึกษาเอกสาร และวิเคราะห Performance Level Descriptors และ Level Descriptions เสร็จสิ้นลง ก็ไดดําเนินการจัดการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญ ภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร เพื่อขอความคิดเห็นเกี่ยวกับ Performance Level Descriptors และ Level Descriptions ซึ่งเปนกลุมตัวอยาง และใหเสนอแนะ จํานวนระดับความสามารถการประเมินที่เหมาะสมสําหรับประเทศไทย นอกจากนั้น ยั ง ให ผู เ ชี่ ย วชาญเสนอแนะความรู แ ละทั ก ษะที่ ค วรจะนํ า มาประเมิ น ในระดั บ ชั้ น ประถมศึกษาปที่ 6 มัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 6 เพิ่มเติม แลวนําความคิดเห็น ดานตางๆ ของผูเชี่ยวชาญมาสังเคราะห 4. ผลการวิจัย จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเกณฑมาตรฐานความสามารถ ของนักเรียน และตัวชีว้ ัดแสดงคุณภาพที่รัฐที่เปนกลุม ตัวอยางไดสรางขึ้น ปรากฏผลดังนี้ หนา | 105


1. วิชาที่นํามาประเมินผล ในระดับรัฐ / เขตการปกครอง เปนวิชาแกนหลัก คือ การอาน การเขียน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร การประเมินการอาน และคณิตศาสตร ในสหรัฐอเมริกาจะมีขึ้นทุกปในเกรด 3 – 8 และในเกรดใดเกรดหนึ่งใน High school สวนการเขียนและวิทยาศาสตรจะประเมินใน 2 -3 เกรดเทานั้น รัฐแอลเบอรตา ประเมินผลวิชาดังกลาวในเกรด 3, 6 และ9 เขตการปกครองอังกฤษประเมินระดับชาติ ในตอนปลาย Key Stage 2 เทานั้น 2. คู มื อ การประเมิ น ผลของมลรั ฐ / รั ฐ ที่ นํ า มาศึ ก ษา ให ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ข อ ทดสอบ ในแตละวิชากระจางชัด ระบุความรูและทักษะที่จะประเมิน จํานวนขอคําถาม เวลาที่ใชในการทดสอบ การเผยแพรขอมูลดังกลาวเปนไปอยางกวางขวาง ใหผูมีสวน เกี่ยวของ ไดแก นักเรียน ครู ผูปกครองและสาธารณชนที่สนใจไดรับทราบจนเปนที่ เขาใจโดยไมตองตีความ 3. ระดับคุณภาพของผลการปฏิบัติในเกณฑมาตรฐานความสามารถสําหรับ วิชาตางๆ ของมลรัฐ / รัฐ ที่นํามาศึกษา มีตั้งแต 2 จนถึง 5 ระดับ และถอยคําบรรยาย ระดับไดมาตรฐานของแตละมลรัฐ / รัฐ ก็แตกตางกัน ยังผลใหถอยคําบรรยายระดับ คุณภาพอื่นๆ ที่สูง และต่ํากวา ระดับไดมาตรฐานแตกตางไปดวย การกําหนดคะแนน จุดตัดระหวางระดับความสามารถ สวนมากใชคะแนนที่ไดจากการทดสอบระดับรัฐใน วิชาที่ตองการประเมินเปนพื้นฐาน ขอทดสอบในแตละแบบทดสอบก็อิงมาตรฐานเนื้อหา (Content Standards) ที่คัดเลือกมาเฉพาะความรู / ทักษะที่นักเรียนจําเปนตองมีใน เกรดนั้นๆ เพื่อ ที่จะใชเปนพื้นฐานในการเรียนรูในเกรดที่สูงขึ้น กระบวนการกําหนด คะแนนจุ ดตั ดระหว างระดั บความสามารถต างๆ ที่ มลรั ฐ / รั ฐ กลุ มตั วอย างนํ ามาใช สวนใหญคือ Item Mapping หรือเปนที่รูจักในอีกชื่อหนึ่งวา Bookmark Procedure 4. คําบรรยายตัวชี้วัดที่แสดงผลการปฏิบัติในระดับความสามารถตางๆ ของ 3 มลรัฐ ของสหรัฐอเมริกา 1 รัฐ ของแคนาดา และ 1 เขตการปกครองของสหราช อาณาจักรที่เปนกลุมตัวอยางของงานวิจัยนี้ เปนความรู และความสามารถที่ปรากฏใน 106 | หนา


ตัวชี้วัดชั้นป / ตัวชี้วัดชวงชั้น ของมาตรฐานการเรียนรูของแตละกลุมสาระ และแตละ ระดับเกรด / ชวงชั้นที่ประเมิน แตเลือกเฉพาะความรูหลักที่สําคัญไมไดนําทุกความรูใน ตัวชี้วัดในแตละเกรดมาเขียนไวใน Performance Level Descriptors ของเกรดนั้น 5. วิธีเขียน Performance Level Descriptors ที่พบจากการศึกษามีดังนี้ 1) สรุปคุณลักษณะโดยรวมของนักเรียนที่มีความสามารถในระดับตางๆ ไวใน ตอนตน ตัวอยางคือ การสรุปของมลรัฐแอริโซนา 2) มลรัฐทั้ง 3 ของสหรัฐอเมริกา นิยามระดับความสามารถของผลการปฏิบัติที่ กําหนดสําหรับรัฐของตนอยางชัดเจน การจําแนกระดับความสามารถของผลการปฏิบัติ ของทั้ง 3 มลรัฐตางกัน มลรัฐเทกซัสจําแนกไว 3 ระดับ มลรัฐแอริโซนา 4 ระดับ และมลรัฐ แคนซัส 5 ระดับ สวนรัฐแอลเบอรตาของแคนาดาจําแนกไว 2 ระดับ และเขตการปกครอง อังกฤษกําหนดความคาดหวังสําหรับนักเรียนวัยตางๆ ตามลําดับจากต่ําไปสูง 4 ระดับ 3) ในการเขียนตัวชี้วัดที่แสดงคุณภาพของผลการปฏิบัติในระดับตางๆ 3 มลรัฐ ของสหรัฐอเมริการะบุความรูและความสามารถที่พึงมีในแตระดับความสามารถของผล ปฏิบัติไวเปนรายการ ใชตัวเลขหรือจุดนําขอความ(bullet) ลําดับรายการรัฐแอลเบอรตา ของแคนาดา ใชวิธีบรรยายสั้นๆ เกี่ยวกับความสามารถในแตละดับความสามารถของ ผลปฏิบัติ สวนเขตการปกครองอังกฤษซึ่งจําแนกความรูความสามารถของนักเรียนตั้งแต อายุ 6-14 ป เปน 8 ระดับ และระดับที่เหนือกวาระดับ 8 อีก 1 ระดับใชวิธีบรรยายสั้นๆ เกี่ยวกับความรูและความสามารถในการนําความรูไปใชในแตละระดับ 4) วิธีเขียนตัวชี้วัดของมลรัฐแอริโซนา คือกําหนดความรูและความสามารถที่ พึงประสงคในแตละเกรดไวจํานวนหนึ่ง แลวนํามาจําแนกไวในระดับความสามารถของ ผลปฏิ บัติ ร ะดั บ ต า งๆ มลรั ฐเทกซั สและมลรั ฐ แคนซั สเขีย นตั ว ชี้วั ดคลา ยกัน คื อ ระบุ ความรู/ทักษะเหมือนกันทุกเกรด แตแตกตางกันตรงที่มลรัฐเทกซัสระบุความรู/ทักษะ เหมือนกันทุกเกรด ตั้งแตเกรด 3 – 8 แตมลรัฐแคนซัสระบุตัวชี้วัดทุกระดับความสามารถ ในเกรด 3–6 เหมือนกัน และเกรด 7 ถึง High school เหมือนกัน ตัวชี้วัดของรัฐแอลเบอรตา หนา | 107


สรางไวสําหรับเกรด 3, 6 และ9 ซึ่งมีการทดสอบ และเขียนบรรยายความรูความสามารถ สั้นๆ การเขียนตัวชี้วัดในแตละระดับของเขตการปกครองอังกฤษก็เปนไปในลักษณะสรุป รวมเชนกัน 5) วิธีเขียนตัวชี้วัดที่แสดงคุณภาพของผลการปฏิบัติในระดับตางๆ หากนําหลัก ในการจําแนกคุณภาพของผลการปฏิบัติของ Kendall และคณะ (2005) มาเปนพื้นฐาน พบวา Performance Level Descriptors ของรัฐเทกซัส และมลรัฐแคนซัส ใชความคงเสน คงวาเป น หลั ก มากที่ สุ ด นอกจากนั้ น ก็ ใ ช ค วามยาก ความสํ า คั ญ ของรายละเอี ย ด คุณภาพ ความเร็ว และความคลองแคลว 6) ผลจากการสังเคราะหความคิดเห็นของกลุมผูเชี่ยวชาญ 3 กลุม คือกลุม ผูเชี่ยวชาญ ภาษาไทย คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตรพอสรุปไดดังนี้ 6.1) เนื่องจากไมสามารถประเมินทุกตัวชี้วัดในแตละมาตรฐานการเรียนรูของ แตละกลุมสาระการเรียนรูได จึงควรคัดเลือกตัวชี้วัดที่สําคัญจริงๆ ที่เปนองคความรูหลัก ที่นักเรียนจําเปนตองเรียนรูจนเชี่ยวชาญเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนในระดับที่สูงขึ้น 6.2) การประเมินในระดับชั้นเรียน ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติตองมีจุดเนนที่ชัดเจน 6.3) ระดับเกณฑการประเมินที่เหมาะสมคือ 4 ระดับ ดังนี้คือ ระดับต่ํากวา มาตรฐาน ระดับเกือบถึงระดับไดมาตรฐาน ระดับไดมาตรฐานและระดับเหนือมาตรฐาน 6.4) การเขียนตัวชี้วัดในแตละระดับความสามารถควรแยกเนื้อหา และทักษะ กระบวนการใหเห็นอยางชัดเจนเพื่อใหผูที่เกี่ยวของกับการประเมินเขาใจงายไมตอง ตีความ 6.5) นอกจากการประเมินระดับชาติ เมื่อจบชวงชั้นที่ 2, 3 และ 4 แลว ควรมี การประเมินเมื่อจบชวงชั้นที่ 1 และประเมินกอนจบชวงชั้น 1 ป เพื่อใหโอกาสนักเรียน พัฒนาตนเองกอนที่จะรับการประเมินระดับชาติ

108 | หนา


5. ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย 1. ควรดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาเกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถใน วิชาและชั้นที่กําหนดใหมีการประเมิน 2. การอานเปนทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูวิชาเนื้อหาอื่นๆ จึงควรให ความสํ า คั ญ และประเมิ น เฉพาะทั ก ษะนี้ เช น เดี ย วกั บ ประเทศตะวั น ตกที่ เ ป น กลุ ม ตัวอยางของงานวิจัยนี้ไดกระทํา ทั้งการอานและคณิตศาสตรซึ่งเปนวิชาทักษะที่ตอง พัฒนาตอเนื่องกันไป ควรประเมินทุกชั้นปตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 2 หรือ 3 ถึง มัธยมศึกษาปที่ 3 เปนอยางนอย 3. เกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถในแตละวิชาควรมี 4 ระดับ คือ ระดับต่ํากวามาตรฐานมาก ระดับใกลมาตรฐาน ระดับไดมาตรฐาน และระดับเหนือ มาตรฐาน การที่มีระดับต่ํากวามาตรฐานมากและระดับใกลมาตรฐานทําใหจําแนก นักเรียน 2 กลุม ซึ่งตองการความชวยเหลือไมเทากันออกจากกัน 4. รูปแบบของตัวชี้วัดสําหรับแตละคุณภาพของผลปฏิบัติที่ประเทศไทยอาจใช เปนแบบอยางที่เหมาะที่สุดคือรูปแบบของรัฐเทกซัส มลรัฐแอริโซนา และมลรัฐแคนซัส คือเขียนเปนรายการตัวชี้วัดสําหรับแตละระดับความสามารถ คําและวลีที่ใชเพื่อจําแนก ระดับความสามารถควรแสดงใหเห็นถึงความคงเสนคงวา ความยาก รายละเอียดที่ สําคัญ คุณภาพ และความเร็ว และความคลองแคลวของการใชความรู และทักษะ 6. การนําผลงานวิจัยไปใช 1. ผลจากการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาเกณฑมาตรฐานการ ประเมินความสามารถในกลุมสาระตางๆ จะเปนแนวทางใหหนวยงานในประเทศไทยที่ จะรับผิดชอบในการพัฒนาเกณฑมาตรฐานใชเปนพื้นฐานในการคนควาเพิ่มเติม 2. ตัวอยางการเขียนตัวชี้วัด แสดงระดับความสามารถตางๆ ในการอาน การเขียน คณิ ต ศาสตร และ วิ ท ยาศาสตร เป น แนวทางในการเขี ย นตั ว ชี้ วั ด สํ า หรั บ กลุ ม สาระ ดังกลาว ถาหากมีการสรางเกณฑมาตรฐานการประเมินความสามารถในประเทศไทย หนา | 109


3. ข อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ ตั ว ชี้ วั ด เพิ่ ม เติ ม ของผู เ ชี่ ย วชาญกลุ ม ภาษาไทย คณิ ต ศาสตร แ ละวิ ท ยาศาสตร น า จะเป น ประโยชน ใ นการปรั บ ปรุ ง ตั ว ชี้ วั ด สํ า หรั บ มาตรฐานการเรียนรูดานการอาน การเขียน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร ในระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 มัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 6 ครั้งตอไป 4. ผลจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการประเมินผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ และระดับรัฐของประเทศตะวันตก ใหขอมูลที่ควรแกการสนใจสําหรับหนวยงานที่ทํา หนาที่ประเมินผลนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทยอาทิเชน การประเมิน ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของสหรัฐอเมริกาโดย National Center for Education Statistics (NCES) ไมไดประเมินผลนักเรียนทุกคน ทุกชั้นเรียน ทุกโรงเรียน ทุกวิชาในหลักสูตรของ แตละมลรัฐแตสุมนักเรียนในเขตพื้นที่ตางๆ ทุกมลรัฐในสหรัฐอเมริกาและเลือกเฉพาะ บางวิชามาประเมิน และแตละกลุมสาระที่เลือกมาประเมินก็ไมไดประเมินทุกป บางกลุม สาระเชน English Language Arts ก็เลือกประเมินเฉพาะ Reading และ Writing และ กลุมสาระสังคมศึกษาก็เลือกประเมินเฉพาะ U.S. History, World History, Geography และ Civics ผลการประเมินออกมาในลักษณะผลสัมฤทธิ์รวมของนักเรียน จําแนกเปนรัฐ เขตพื้นที่ โรงเรียน เพศ เผาพันธุของนักเรียน สวนการประเมินในระดับรัฐของมลรัฐในสหรัฐอเมริกาก็เปนการประเมินเพื่อ แจงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมสาระตางๆ ของนักเรียนเปนรายบุคคลและประเมิน เฉพาะกลุมสาระแกนหลัก คือ English Language Arts เฉพาะการอานและการเขียน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สวนสังคมศึกษาไมไดประเมินในทุกมลรัฐ การอานและ คณิตศาสตรประเมินทุกปในเกรด 3-8 และเกรดใดเกรดหนึ่งในระดับ High school สวน การเขียน วิทยาศาสตร และสังคมศึกษา (ถามีการประเมิน) ก็จะประเมินใน 3 เกรด ใน Elementary school เกรดหนึ่ง ใน Middle school เกรดหนึ่ง และ High school อีกเกรดหนึ่ง ------------------------------------------

110 | หนา


การพัฒนามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมที่หลากหลาย สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.ราชา มหากันธา1 และคณะ2

1. ที่มาและความสําคัญ จากความเปลี่ยนแปลงของโลกไรพรมแดนและในองคการรัฐมนตรีศึกษาธิการ แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตหรือองคการซีมีโอเพื่อขับเคลื่อนกลไกการศึกษาสูการบรรลุ เปาหมายการจัดการศึกษา เพื่อปวงชนขององคการยูเนสโก และการสรางประชาคม อาเซียนภายในป พ.ศ.2558 โดยใหความสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในภูมิภาค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต เ พื่ อ การส ง เสริ ม วั ฒ นธรรมและขนบธรรมเนี ย มประเพณี การพัฒนาความรูสึกรวมในการเปนประชาชนอาเซียน และการบรรลุเปาหมาย การจัด การศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนของสหประชาชาติ ทามกลางความแตกตางดาน เชื้อชาติ ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม หรือประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติมาที่ อาจนํามาซึ่งปญหาตางๆ ทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก เพื่ อให พลเมื องของประเทศไทยมี ศั กยภาพ และสามารถก าวทั นหรื ออยู ร วม กันไดกับพลเมืองของประเทศตางๆ ประเทศไทยโดยกระทรวงศึกษาธิการ จึงตองมี แนวทางการพัฒนาการศึกษาใหกับเยาวชนไทยใหมีความพรอมตั้งแตระดับขั้นพื้นฐาน แนวทางดังกลาวสามารถระบุและนํามาใชเปนมาตรฐานเพิ่มเติมในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานเพื่อการ ดําเนินชีวิตในสังคมที่หลากหลาย มุงหวังใหเปนมาตรฐานนํารองในการปลุกจิตสํานึก ของการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลายไดอยางมีความสุขและกําหนดคุณภาพของ ผูเรียนในแตละวัย เพื่อใหเยาวชนปจจุบันเติบโตเปนพลเมืองที่ดีและมีคุณภาพ 1

อาจารยประจําวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

2

ดร.พัชรีพรรณ ม.รัตนพล, น.ส.สกาวรัตน ตันศิริ, น.ส.เฉลิมพร นามวงศ, ดร.วิลาศ ดวงกําเหนิด,

ดร.อามัดไญนี ดาโอะ, นายอานนท ชินอักษร

หนา | 111


2. วัตถุประสงคของงานวิจัย 2.1 ศึกษามาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมที่หลากหลายสําหรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานในสังคมพลวัต 2.2 สรางมาตรฐานเพื่อการดําเนินชีวิตในสังคมที่หลากหลายสําหรับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน รองรับการอยูรวมกัน ของประชาชนในประเทศ และประชาคมโลก 3. วิธีดําเนินการวิจัย การพั ฒ นามาตรฐานเพื่ อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ในสั ง คมที่ ห ลากหลาย สํ า หรั บ การศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน มีวิธีดําเนินการวิจัยออกเปน 3 ระยะดังนี้ (1) ระยะที่ 1 ศึกษา คนควาและรวบรวมมาตรฐานการศึกษาของประเทศตางๆ (2) ระยะที่ 2 จัด สนทนากลุ ม 2 รอบเพื่ อ สร า งและพั ฒ นามาตรฐานเพื่ อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ในสั ง คมที่ หลากหลาย สําหรับการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (3) ระยะที่ 3 สัมภาษณโดยใชคําถาม แบบมีโครงสราง/ หรือแจกแบบสอบถามปลายเปดใหกับ กลุมตัวอยางไปกรอกคําตอบ ตามแนวความคิดของตนเองและสงคืนในภายหลัง ประชากรและกลุมตัวอยางในการปฏิบัติการแตละระยะเปนดังนี้ คือ ระยะที่ 1 คือเอกสารการออกแบบมาตรฐานการศึกษา และจากเว็บไซตที่เกี่ยวของกับการศึกษา ของตางประเทศ ศึกษาในชวงระหวางเดือนมกราคม 2553 - มิถุนายน 2553 ระยะที่ 2 คือ ผูเชี่ยวชาญจากกลุมสาขาอาชีพตางๆ มีประสบการณการทํางานดานตางๆไมนอย กวา 10 ป กลุมตัวอยางถูกคัดเลือกโดยไมใชหลักความนาจะเปน (Non Probability Sampling) และเฉพาะเจาะจงตามเกณฑที่กําหนดไว ในชวงเดือนกรกฎาคม 2553 พฤศจิกายน 2553 และระยะที่ 3 เปนผูบริหาร หรือครู อาจารยผูสอน ในสถานศึกษา ระดับ พื้นฐานในแตละภาคของไทย กลุมตัวอยางคือตัวแทนที่เก็บขอมูลแบบ Cluster Sampling จากภาคเหนื อ ภาคตะวั น ออก เฉี ย งเหนื อ ภาคกลาง ภาคใต และ กรุงเทพมหานคร ซึ่งไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง อยางนอยภาคละ 2 คนในชวง ระหวาง เดือนมกราคม 2554 - มีนาคม 2554 112 | หนา


การรวบรวมขอมูล ประกอบดวย (1) การสนทนากลุมรอบที่ 1 มีผูทรงคุณวุฒิที่ เขารวมใหขอมูลการสนทนากลุม จํานวน 10 คน (2) การสนทนากลุมรอบที่2 มีผูทรง คุณวุฒิที่เขารวมใหขอมูลการสนทนากลุม จํานวน 14 คน จากนั้นนํามาตรฐานฯไปใช คณะผูวิจัยไดเดินทางไปพบผูใหขอมูลสําคัญบางรายและฝากเครื่องมือไว จํานวน 22 คน และไดรับผลกลับคืน ประมาณ 1-2 สัปดาห การวิเคราะหขอมูล หลังจากเก็บรวบรวมขอมูลแตละครั้ง คณะผูวิจัยตรวจสอบ ความถูกตอง และความครบถวนสมบูรณเปนขอมูลแบบบรรยาย (Descriptive) ที่ได จากการสังเกต สัมภาษณ และการทําสนทนากลุมแลวจดบันทึกไวและใชการตีความ สรางขอสรุปแบบอุปนัย (Inductive) 4. ผลการวิจัย จากการศึกษาขอมูลทั้งปฐมภูมิ และทุติยภูมิไดมีการวิเคราะห สังเคราะหและ เสนอเปน (ราง) มาตรฐานการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลายสําหรับการศึกษาระดับ ขั้นพื้นฐาน และเกณฑสําหรับการชี้วัดแตละระดับ ตอไปนี้ มาตรฐานการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลาย สําหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเกณฑการชี้วัด มาตรฐานที่ 1. มีความสามารถอยูรวมกันไดดีในสังคมที่หลากหลาย (ประกอบไปดวยเกณฑการชี้วัด 3 ระดับ และ มาตรฐานยอย 4 มาตรฐาน ดังนี้) เกณฑการชี้วัด ระดั บ 3 ประสบความสํ า เร็ จ และมี ค วามสุ ข ในการอยู ร ว มกั น ในสั ง คมที่ หลากหลาย ระดับ 2 มีความสุขในการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลาย ระดับ 1 สามารถอยูรวมกันไดในสังคมที่หลากหลาย

หนา | 113


มาตรฐานยอย (Sub-Standard) 1.1 การยอมรับและการใหเกียรติในความแตกตางในเรื่องที่เกี่ยวกับ ศาสนา ความเชื่อ ระบอบการปกครอง และวัฒนธรรมในการดําเนินชีวิต 1.1.1 แสดงออกถึงความเขาใจและอยูรวมกับบุคคลอื่น ที่มีความแตกตางได เปนอยางดี 1.1.2 ประพฤติตนและใหเกียรติยกยองผูอื่นไดอยางเหมาะสมตาม อายุ ฐานะ บทบาททางสังคมที่แตกตางกัน 1.2 การสงเสริมความยุติธรรมรวมกันในสังคม 1.2.1 ชื่นชมพฤติกรรมของบุคคลที่กอใหเกิด ความเปนธรรมทางสังคม 1.2.2 ปฏิเสธพฤติกรรมที่ไมเปนธรรม 1.2.3 ชักจูงและสงเสริมใหคนสรางความยุติธรรมในสังคม 1.3 การมีจิตอาสาและจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม 1.3.1 เอื้อเฟอ เผื่อแผ ชวยเหลือผูอื่นและสังคมเทาที่สามารถกระทําได โดยไม จําเปนตองไดรับการรองขอ 1.3.2 ใหความรวมมือในฐานะพลเมืองที่ดี 1.4 การเคารพ กฎ กติกา กฎหมาย สิทธิ หนาที่ ความเสมอภาค และเสรีภาพ ของตนเองและผูอื่น 1.4.1 เขาใจในสิทธิ หนาที่ บทบาทและเสรีภาพของตนเองและผูอื่น 1.4.2 ประพฤติตนโดยไมละเมิดสิทธิของผูอื่น รวมทั้งไมสรางความเดือดรอน รําคาญใหกับผูอื่น 1.4.3 เคารพและประพฤติตนตามกฎ กติกา และกฎหมาย 1.4.4 ตระหนักถึงประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน

114 | หนา


มาตรฐานที่ 2. มีความสามารถในการจัดการชีวิต และสภาพการทํางานของ ตัวเองได (ประกอบไปดวยเกณฑการชี้วัด 3 ระดับ และ มาตรฐานยอย 5 มาตรฐาน ดังนี้) เกณฑการชี้วัด ระดับ 3 ประสบความสําเร็จในการจัดการชีวิต และสภาพการทํางานของตัวเอง ในสังคมที่หลากหลาย ระดับ 2 มีความสุขและมีความสามารถในการจัดการชีวิตและสภาพการทํางาน ของตัวเอง ในสังคมที่หลากหลายได ระดับ 1 มีความสามารถในการจัดการชีวิตและสภาพการทํางานของตัวเองใน สังคมที่หลากหลายได มาตรฐานยอย (Sub - Standard) 2.1 สมรรถนะในการจัดการดานการงาน 2.1.1 อดทน ขยั น ทํ า งานหารายได โ ดยสุ จ ริ ต ไม ขั ด ต อ ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี และศีลธรรม 2.1.2 วางแผนการใชจายและเก็บออม โดยยึดหลักของเศรษฐกิจพอเพียงเปน แนวทาง 2.2 สมรรถนะในการเรียงลําดับความสําคัญ 2.2.1 รูจักตนเอง เขาใจและประเมินตนเองวา มีจุดเดนหรือควรพัฒนาอยางไร 2.2.2 มีเปาหมายแหงตน สามารถกําหนดเปาหมายชีวิต ของตนเองทั้งในระยะ สั้นและระยะยาวได 2.2.3 สามารถบริหารเวลา ใหสอดคลองกับความเรงดวนและความสําคัญ ใน สิ่งที่จะตองทําไดดีและเหมาะสม 2.2.4 มีพัฒนาการและเพิ่มศักยภาพ ตนเองเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่สูงขึ้นได

หนา | 115


2.3 สมรรถนะในดานอารมณและความรูสึก 2.3.1 เขาใจความรูสึกของตนเอง และแสดงออกไดอยางเหมาะสม 2.3.2 ควบคุมอารมณไดดีในสถานการณฉุกเฉิน 2.3.3 มองโลกในแงดี 2.4 สมรรถนะในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.4.1 มีจิตสํานึกในฐานะพลเมืองโลก เขาใจสถานการณ ภาพรวมและ องคประกอบยอย มองเห็นความเชื่อมโยง ผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน 2.4.2 ใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยใชวิธีคิดเชิงระบบ และการหยั่งถึงคุณคา เพื่อใหเกิดทัศนคติและจิตสํานึกในระบบนิเวศทางสังคม 2.4.3 หวงแหนและอนุรักษสิ่งแวดลอม 2.5 การใหศาสนาเปนที่พึ่งและแนวทางในการดําเนินชีวิต 2.5.1 เขาใจหลักศาสนาของตนเบื้องตน และนําไปใชปรับปรุงการดําเนินชีวิต 2.5.2 แสดงออกถึงความคิด วาจา และพฤติกรรมที่ดี ตามแนวทางของแตละ ศาสนา จนเปนที่ยอมรับ นับถือของสังคม 2.5.3 ปรับตัว ยืดหยุนใหอยูรวมกันอยางปรองดอง 2.5.4 เอื้อเฟอ เผื่อแผ เห็นอกเห็นใจ รัก เมตตากรุณาตอสรรพสิ่งและชีวิตทั้งมวล มาตรฐานที่ 3. มีความสามารถในการใชเครื่องมือชวยตางๆไดเปนอยางดี และ ตระหนักบทบาทในวงกวาง (ประกอบไปดวยเกณฑการชี้วัด 3 ระดับ และ มาตรฐานยอย 3 มาตรฐาน ดังนี้) เกณฑการชี้วัด ระดับ 3 ประสบความสําเร็จในการใชเครื่องมือชวยตางๆ และตระหนักถึง บทบาทของตนเมื่ออยูในสังคมที่หลากหลาย ระดับ 2 มีความสุขที่สามารถใชเครื่องมือชวยตางๆและตระหนักถึงบทบาทของ ตนเมื่ออยูในสังคมที่หลากหลาย 116 | หนา


ระดับ 1 มีความสามารถใชเครื่องมือชวยตางๆและตระหนักถึงบทบาทของตน เมื่ออยูในสังคมที่หลากหลาย มาตรฐานยอย (Sub - Standard) 3.1 การใชภาษา 3.1.1 สามารถใชทั้งภาษาถิ่น ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เพื่อการสื่อสาร ในเชิงบวกไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.1.2 ใชภาษาสรางสุนทรียสนทนาเพื่อความสันติสุขในการอยูรวมกัน 3.1.3 ใชภาษาเปนเครื่องมือในการชักจูงและกระตุนใหเกิดการเรียนรูอยาง ยั่งยืน การพัฒนา และการสรางสรรคเพื่อสันติภาพโลก 3.2 การใชเทคโนโลยี คอมพิวเตอร 3.2.1 สามารถใชทั้งภาษาถิ่น ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เพื่อการสื่อสาร ในเชิงบวกไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.2.1 รูเทาทันเทคโนโลยีและเลือกใชงาน ไดอยางเหมาะสม 3.2.2 ใชเทคโนโลยี คอมพิวเตอรสรางผลงานในเชิงบวก 3.3 การแสวงหา และการจัดการความรู 3.3.1 สืบคนหาขอมูลที่มีคุณคาและอางอิงไดอยางมี ประสิทธิภาพ 3.3.2 นําความรูที่ไดไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด 3.3.3 สนับสนุน ถายทอด และมีสวนรวมในการสรางสังคมแหงการเรียนรู 5. การนํามาตรฐานไปใช มาตรฐานที่ 1 มีความสามารถอยูรวมกันไดดีในสังคมที่หลากหลาย 1) ผูบริหารสถานศึกษา กําหนดนโยบาย กลยุทธ และมีแผนการปฏิบัติงานที่ ชัดเจน มีผูรับผิดชอบ โดยมีผูบริหารเปนผูนําและเปนแบบอยางใหกับผูอื่นดวย 2) ครู อาจารย ผูสอน ปฏิบตั ิตอนักเรียนทุกคนดวยความเสมอภาคและยอมรับ ความแตกตางของนักเรียนแตละคนกอนนํามาตรฐานไปออกแบบเชื่อมโยงกับกลุมสาระอื่น หนา | 117


3) ผูเรียนศึกษาความแตกตางของคน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน พรอมยอมรับความแตกตางและยอมรับฟงความคิดเห็นที่แตกตางของคนอื่น ยึดถือ แนวทางระบอบประชาธิปไตย มาตรฐานที่ 2 มีความสามารถในการจัดการชีวิตและสภาพการทํางานของตัวเองได 1) ผูบริหารสถานศึกษา ปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอน การคนควาที่ สอดคลองตอการจัด การเรียนรูและพัฒนาผูเรียนสูมาตรฐาน 2) ครู อาจารย ผูสอน ศึกษาชุมชนวามีอะไรที่นํามาเปนประโยชนตอการสราง อาชีพ สรางรายไดใหกับผูเรียนและชุมชน ปลูกฝงแนวคิดและหลักการในการประกอบ อาชีพอิสระ การใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความปลอดภัยในการทํางาน 3) ผูเรียน เลือกเรียนและแสดงความสามารถในดานที่ตนสนใจ เขารวม กิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้นเพื่อสะสมประสบการณ และนําไปใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐานที่ 3 มีความสามารถในการใชเครื่องมือชวยตางๆไดเปนอยางดีและตระหนัก บทบาทในวงกวาง 1) ผูบริหารสถานศึกษา กําหนดนโยบาย จัดสรรงบประมาณหาเทคโนโลยีให เพียงพอตอการใชงานของบุคลากรและนักเรียน สนับสนุนการใชภาษาใหถูกตองเหมาะสม 2) ครู อาจารย ผูสอน ใหนักเรียนพูดและใชภาษาอยางถูกตองเหมาะสม 3) ผูเรียนฝกพัฒนาการใชภาษา เรียนภาษาที่ตนเองสนใจ หาโอกาสฝกงาน ดูงาน หรือแลกเปลี่ยนประสบการณกับเจาของภาษา สื่อสารกับเพื่อนชาวตางชาติวัยเดียวกัน ขอเสนอแนะในการนํา (ราง)มาตรฐานฯไปใช ในระยะ เริ่มตน 1) ประชาสัมพันธใหทุกฝายทราบโดยการจัดอบรม สัมมนา แสดงตัวอยาง โรงเรียนนํารอง (หากมี) 2) สรางความเขาใจใหกับคณะผูบริหาร เสนอใหคณะกรรมการสถานศึกษาให ความเห็นชอบ 3) ผูบริหารและคณะทํางาน ประชุมทําความเขาใจทุกฝายที่เกี่ยวของ 118 | หนา


4) แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจัดทําแนวทางการนํามาตรฐานฯไปใช 5) จัดทําหลักสูตรใหสอดคลองเชื่อมโยงกับการเรียนการสอนปกติในแตละกลุม สาระและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตาง ๆ ที่ผูเรียนไดเรียนรู 6) โรงเรียน คณะครูและนักเรียน กําหนดเกณฑและการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุผล การประเมินที่เปนรูปธรรมชัดเจน และจัดทําเกณฑการประเมิน 7) ใหความรูกับคณะครู บุคลากร นักเรียนและฝายตางๆที่เกี่ยวของกับ มาตรฐานฯและตัวชี้วัด 8) มีการแตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนงานโครงการประจําปใหสอดคลองกับ มาตรฐานฯ 9) มีการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากร 10) วิเคราะหตัวชี้วัดและประเมินผลใหสอดคลองครอบคลุมมาตรฐานกลุมสาระ 11) ประกาศใชนโยบายมาตรฐานฯ ในสถานศึกษา 12) ประเมินผลและจัดประชุมเพื่อรวบรวมปญหา จัดลําดับความสําคัญและ สรุปประเด็นปญหา วางแผนแกไข 13) ประชุมผูปกครองเพื่อแกไขปญหาและดําเนินการตามแผนที่วางไว การประเมินผล 1) ประเมิ น ภาพรวมทั้ ง สถานศึ ก ษาประเมิ น บริ บ ท ข อ มู ล ดิ บ นํ า เข า กระบวนการ และผลลัพธ (Context, Input, Process, และ Product หรือ Output) โดย ประเมินทั้งกอน ระหวาง และหลังการดําเนินการ 2) ประเมินภาพยอยเฉพาะผลของการนํามาตรฐานฯไปใช โดยใหนักเรียน ประเมินตนเอง และ / หรื อ เพื่อ น ครู ผู สอน หรื อ บุ ค คลภายนอกเปน ผูป ระเมิน โดย ประเมิ น เปรี ย บเที ย บเป น ช ว งระยะเวลา คล า ยกั บ การประเมิ น ทั้ ง ระบบ หรื อ อาจ ดําเนินการทั้ง Formative และ Summative

หนา | 119


ปจจัยแหงความสําเร็จ (Key Success Factors) 1) เผยแพรความรูในการนํามาตรฐานฯไปใชจากทุกระดับ 2) วางแผนขั้นตอนการนํามาตรฐานฯ ไปใชที่ชัดเจนไมยุงยาก ใหครูมีสวนรวม ในจังหวะและบทบาทที่เหมาะสม ในการทํางานโดยไมเพิ่มภาระงานจากปกติ 3) ทุกฝายรวมกันกําหนดความตองการและเกณฑการประเมินเปนรูปธรรมและ ยอมรับได 4) นําหลักการแนวคิดของมาตรฐานฯ มาใชจนเปนคานิยมและวัฒนธรรมองคกร ปจจัยแหงความลมเหลว (Key Failure Factors) 1) การยึดติดกับการเรียนรูเนื้อหาสาระ มากกวาคุณลักษณะและสมรรถนะที่ สมดุลของเยาวชน 2) การไมตระหนักถึงความสําคัญของมาตรฐานฯจากผูบริหารและผูเกี่ยวของ 3) การขาดความเขาใจ เนื่องจากไมมีการปฏิบัติรูปธรรม ชัดเจน 4) การขาดการติดตาม กํากับดูแล ประเมินผลอยางตอเนื่อง ประโยชนที่ไดจากการนํามาตรฐานการอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลายฯ 1) ผูเรียน ไดรับการพัฒนาไอคิว อีคิว ทักษะตางๆและยอมรับความแตกตาง เคารพกฎกติกาสังคม อยูรวมกันในสังคมที่หลากหลายอยางมีคุณภาพและมีความสุข 2) สําหรับครูผูสอน ไดแนวทางการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมที่ให ความสําคัญกับการพัฒนาเด็กนักเรียน ใหอยูรวมกันในสังคมที่หลากหลายไดอยางมี ความสุขและมีคุณภาพ 3) สําหรับโรงเรียนและผูบริหาร ไดรับการยกยองวาเปนผูผลิตเยาวชนที่เปนกําลัง สําคัญของชาติที่มีคุณภาพไดอยางดี มีมาตรฐานใชในการสรางเยาวชนที่มีคุณภาพ 4) สําหรับสังคมและประเทศชาติ มีคนมีวินัย มีความปรองดอง ความสามัคคี คน ในองคกร หรือสังคมอยูรวมกันอยางมีความสุขโดยไมคํานึงถึงความแตกตางดานตางๆ ................................................................ 120 | หนา


ภาคผนวก ที่ปรึกษา นายชินภัทร ภูมิรัตน นายอนันต ระงับทุกข นายพิษณุ ตุลสุข นางเบญจลักษณ น้ําฟา นางพจมาน พงษไพบูลย

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

คณะทํางานกลุมวิจัยและสงเสริมการวิจัย สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นางสาววิภาพร นิธิปรีชานนท นางอรนุช มั่งมีสุขศิริ นางสุดจิตร ไทรนิ่มนวล นายพิทักษ โสตถยาคม นายพลรพี ทุมมาพันธ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.