27REPORTMA4KU68Auditor's Report

Page 44

32 คําอธิบาย การที่มีกฎหมายบัญญัติให้บริ ษทั ต้องจัดให้มีการทําและเก็บรักษาบัญชีก็โดยเหตุที่บริ ษทั ประกอบกิจการค้าขายย่อมมีการจ่ายเงิน รับเงิน มีหนี้ สินและทรัพย์สิน และคณะกรรมการเป็ นผูม้ ี หน้าที่จดั การและรับผิดชอบการงานของบริ ษทั แทนผูถ้ อื หุ น้ ทั้งปวง การรับจ่ายเงินตลอดจนการมี หนี้ สินและทรัพย์สินของบริ ษทั จึงจําต้องมีการบันทึกไว้ให้ถกู ต้องเพือ่ ผูถ้ อื หุ น้ ทั้งปวงจะได้มี โอกาสตรวจดูได้เมือ่ ประสงค์ และเพือ่ แสดงฐานะการเงินของบริ ษทั มีอย่างไร ตลอดจนการถูกต้อง ในการจัดการของกรรมการบริ ษทั ด้วย การจัดทําบัญชีของบริ ษทั ต้องมีการสอบบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี ซึ่งปัจจุบนั มี พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ควบคุมอยูซ่ ่ึงบริ ษทั จะต้องจัดทําบัญชีข้ ึนตามประเภทต่างๆ ที่กาํ หนดไว้ และตามระยะเวลาที่กาํ หนดไว้ดว้ ย นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีหน้าที่ตอ้ งเก็บรักษาบัญชี เหล่านั้นไว้ดว้ ย และต้องมีการสอบบัญชีโดยผูส้ อบบัญชีที่มีอาํ นาจให้ทาํ การตรวจสอบบัญชีของ บริ ษทั ได้ตามกฎหมาย จึงจะทําให้เชื่อได้วา่ บัญชีของบริ ษทั นั้นถูกต้องไม่เป็ นเท็จ หากบริ ษทั ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 109 เช่น ไม่จดั ทําบัญชีของบริ ษทั หรื อไม่เก็บรักษาบัญชี ไว้หรื อไม่ดาํ เนิ นการให้มกี ารตรวจสอบบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี พ.ศ. 2543 ย่อมมี ความผิดตามมาตรา 205 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท และปรับเป็ นรายวันอีกวันละ สองพันบาท จนกว่าจะปฏิบตั ิถกู ต้อง หมายเหตุ เนื่ องจากปั จจุบนั (พ.ศ. 2553) ได้มกี ารกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับ การจัดทําและการเก็บรักษาบัญชีของบริ ษทั มหาชนจํากัด ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ไว้แล้ว จึงไม่มคี วามจําเป็ นต้องกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในเรื่ องนี้ สาํ หรับบริ ษทั มหาชนจํากัดไว้ต่างหากเป็ นการเฉพาะอีกต่อไป กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจึงได้ยกเลิกประกาศ กรมทะเบียนการค้าฉบับที่ 19 (พ.ศ. 2542) ตั้งแต่วนั ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็ นต้นไป (ประกาศ ในราชกิจจานุ เบกษา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 91 ง ลงวันที่ 13 สิงหาคม 2547)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.