18TAXMA4KU68Basic services have been promoted with(BOI)

Page 1

ภาษีอากรกับประเภทกิจการสาธารณูปโภคและบริการพืน้ ฐานทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมการลงทุน (BOI) กรณีศึกษา กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือไอนา้

โดย นางสาวศิริวรรณ นางสาวสโรชา นางสาวเหมือนฝัน นางสาวอรอนงค์ นางสาวเอมมิกา

ลิม้ รสเจริญวงศ์ รื่นเริงฤทธิ์ ธนานุวงศ์ คูศิริวานิชกร พูลสวัสดิ์

ปัญหาพิเศษนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


ปัญหาพิเศษ ของ นางสาวศิริวรรณ นางสาวสโรชา นางสาวเหมือนฝัน นางสาวอรอนงค์ นางสาวเอมมิกา

ลิ้มรสเจริ ญวงศ์ รื่ นเริ งฤทธิ์ ธนานุวงศ์ คูศิริวานิชกร พูลสวัสดิ์

เรื่ อง ภาษีอากรกับประเภทกิจการสาธารณูปโภคและบริ การพื้นฐานที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) กรณี ศึกษา กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า

ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร เมื่อ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2555

อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญหาพิเศษ

อาจารย์ผปู้ ระสานงานสาขาวิชา


ภาษีอากรกับประเภทกิจการสาธารณูปโภคและบริ การพื้นฐานที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) กรณี ศึกษา กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า Taxation and business utilities and basic services have been promoted with (BOI) Case study business of electricity or steam

โดย นางสาวศิริวรรณ นางสาวสโรชา นางสาวเหมือนฝัน นางสาวอรอนงค์ นางสาวเอมมิกา

ลิ้มรสเจริ ญวงศ์ รื่ นเริ งฤทธิ์ ธนานุวงศ์ คูศิริวานิชกร พูลสวัสดิ์

รหัสนิสิต 51206134 รหัสนิสิต 51206183 รหัสนิสิต 51206274 รหัสนิสิต 51206282 รหัสนิสิต 51206365

ปั ญหาพิเศษฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554



(ก)

คำนำ ปั ญหาพิเศษเล่มนี้ได้จดั ทาขึ้นเกี่ยวกับภาษีอากรกับกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน จากสานักง านคณะกรรมการการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) เนื่องจาก ปั จจุบนั ประเทศไทยนั้นมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ธรรมชาติอนั อุดมสมบูรณ์ประกอบกับแรงงาน

อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยงั มีทรัพยากร การผลิต ที่ มีประสิ ทธิภาพ ช่วย ให้พฒั นา

อุตสาหกรรมของประเทศได้อย่างรุ ดหน้า ทั้งยัง ดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ ให้หนั มาลงทุนในประเทศ ทาให้ประเทศไทยได้เปรี ยบเป็ นศูนย์กลางตลาด อาเซียน ทางเศรษฐกิจที่มีอตั ราการเติบโตสู งใน ปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นตลาดใหม่ที่มีศกั ยภาพทางธุ รกิจสู ง การส่ งเสริ มการลงทุนจึงเป็ นนโยบายที่รัฐบาล มุ่งเน้นการการค้าเสรี ภาคเอกชนให้มาลงทุนในส่ วนของอุตสาหกรรมมากยิง่ ขึ้น

ซึ่ง สนับสนุน

เพื่อจะนาไปสู่ การพัฒนาทักษะ

เทคโนโลยี และนวัตกรรมภายในประเทศอย่างจริ งจัง ทั้งนี้จึงได้ทากา รศึกษาด้านภาษีอาก รของ กิจการที่ผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า และสิ ทธิ ประโยชน์อื่นที่เอื้อให้กบั กิจการ ปั ญหาพิเศษฉบับนี้สามารถช่วยให้ผทู ้ ี่ทาการศึกษาได้รับความรู ้เกี่ยวกับภาษีอากรและการ ลงทุนในกิจการบริ การและสาธารณูปโภคที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจากสานักงา

คณะกรรมการการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) ไม่มากก็นอ้ ย หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา กุมภาพันธ์ 2555


(ข)

ศิริวรรณ ลิ้มรสเจริ ญวงศ์ และคณะ 2554: ภาษีอากรกับประเภทกิจการสาธารณูปโภคและ บริ การพื้นฐานที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) กรณี ศึกษา กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ า หรื อไอน้ า ปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาปัญหาพิเศษ: อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์, บธ.บ., บช.ม. 72 หน้า

รายงานปั ญหาพิเศษเล่มนี้มีจุดประสงค์เพื่อทราบสิ ทธิ ประโยชน์ที่พึงได้รับจากการส่ งเสริ ม การลงทุน และศึกษาการคานวณกา ไรสุ ทธิและขาดทุนสุ ทธิขอ งกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอ น้ าที่ได้รับการส่ งแสริ มการลงทุน ใช้วธิ ี การค้นคว้าข้อมูลจากพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน ประกาศคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน เอกสาร บทความทางวิชาการ หนังสื อ วิทยานิพนธ์ และ วารสาร รวมทั้งสอบถามเจ้าหน้าที่จากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ าต้องยืน่ คา ขอเข้ารั บการส่ งเสริ มการลงทุน กิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจะได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ท้ งั ทางด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร และที่ เกี่ยวข้องกับภาษีอากรเหมือนกันทุกเขตการลงทุน โดยกิจการจะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จา กการประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มการลงทุนและตามประกาศของอธิ บดีกรมสรรพากร การคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น

กิจ การต้องแยก

แสดงรายได้และรายจ่ายสา หรับกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีและที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีออกจากกัน หากกิจการไม่สามารถแยกได้อย่างชัดเจนว่าเป็ นของกิจการใด กิจการควรใช้วธิ ี การปั นส่ วนรายจ่าย ดังกล่าวตามอัตราส่ วนของรายได้ของแต่ละกิจการ เพื่อความสะดวกและถูกต้อง กิจการจะต้องนา กาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการทั้งที่ได้รับยกเว้นภาษีและไม่ได้รับยกเ

ว้นภาษีมารวมเข้า

ด้วยกันเพื่อหากาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ

______________________________ ___________________________ ____/____/____ นางสาวศิริวรรณ ลิ้มรสเจริ ญวงศ์

อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์


(ค)

กิตติกรรมประกาศ การศึกษา กิจการ ผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุ นจาก คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ในครั้งนี้ สามารถประสบความสาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เนื่องจาก ได้รับความอนุเคราะห์ ความกรุ ณา และการสนับสนุน จาก อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์ อาจาร ย์ ประจาสาขาการบัญชีบริ หารและคณะอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ทุกท่าน ที่ถ่ายทอดวิชาความรู ้ทุกแขนงแก่ คณะผูจ้ ดั ทา โดยให้คาปรึ กษา ข้อชี้แนะ คอยให้ความช่วยเหลือ และให้คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ในการศึกษาปั ญหาพิเศษฉบับนี้ ตลอดทั้งให้ความเมตตาและ เสี ยสละเวลาแก่คณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด จนทาให้ปัญหาพิเศษฉบับนี้สาเร็ จลุล่วงด้วยดี ขอขอบคุณ คุณกัญญาณี ปุสเดโว เจ้าหน้าที่สานักคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนที่ให้ ความอนุเคราะห์ ข้อมูลเกี่ยวกับสิ ทธิ และประโยชน์ต่างๆของกิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุน ขอขอบคุณ เพื่อนๆ นิ สิ ตที่ช่วยเป็ นที่ปรึ กษาและให้การสนับสนุนในเรื่ องต่างๆ รวมถึง กาลังใจซึ่ งทาให้การจัดทาปั ญหาพิเศษฉบับนี้สาเร็ จ สุ ดท้ายนี้ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณและระลึกอยูเ่ สมอว่าจะไม่มีความสาเร็ จใด ๆ ในชีวติ ของคณะผูจ้ ดั ทา หากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และกา ลังใจจากบุคคลที่มีพระคุณ ที่คอยให้การสนับสนุนการศึกษาของคณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด ขอขอบคุณ บิดา มารดา และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู ้แก่คณะผูจ้ ดั ทา ผูจ้ ดั ทาหวังว่า ปัญหาพิเศษ ฉบับนี้ คงมีประโยชน์เป็ นอย่างมากสาหรับผูท้ ี่สนใจในเรื่ อง กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุ นจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการ ลงทุน หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด คณะผูจ้ ดั ทาต้องขออภัยและน้อมรับไว้ ณ ที่น้ ีดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา กุมภาพันธ์ 2555


บทที่ 1 บทนา ความสาคัญและทีม่ าของปัญหา การลงทุนเป็ นปั จจัยที่สาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เป้ าหมายที่สาคัญคือ จะต้องสามารถยกระดับชีวติ ความเป็ นอยูข่ องประชาชนส่ วนใหญ่ในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประชาชนในชนบทให้มีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน มีการกระจายความเจริ ญไปสู่ ภูมิภาค ซึ่ งประเทศไทย เป็ นประเทศที่ตอ้ งการเร่ งพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้เจริ ญก้าวหน้าทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ และ ในปี พ.ศ.2554 ประเทศไทยเกิดวิกฤตการณ์อุทกภัยขึ้น ส่ งผลกระทบต่อความเชื่อมัน่ ของผูล้ งทุนทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ ซึ่ งทาให้นกั ลงทุนชะลอการลงทุน หรื อชะลอการตัดสิ นใจที่จะลงทุน ในประเทศไทย จึงพยายามวางนโยบายและมาตรการเพื่อชักจูงและเร่ งรัดให้เกิดการลงทุนตาม เป้ าหมายที่วางไว้ การแก้ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจวิธีหนึ่งก็คือ ชักจูงให้เอกชนทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศมาลงทุนในประเทศไทย ส่ งเสริ มการลงทุนที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และความ มัน่ คงของประเทศ ดัง นั้น กระทรวงอุตสาหกรรม สานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน (Board of Investment: BOI) เป็ นหน่วยงานรัฐบาล ขึ้นตรงต่อสานักนายกรัฐมนตรี จึงเป็ นเครื่ องมือ หนึ่งที่จะนาและชักชวนให้นกั ลงทุนเกิดความสนใจที่จะนาเงินมาลงทุนในประเทศไทย กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า เป็ นกิจการหนึ่งที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนที่มี ความสาคัญต่อประเทศ ช่วยอานวยประโยชน์แก่ประชาชนและเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อการดาเนินชีวติ และในช่วง 11 เดือนที่ผา่ นมาของปี 2554 นั้นโครงการผลิตไฟฟ้ ามีการยืน่ ขอการรับการส่ งเสริ ม เป็ นจานวนมาก (กรุ งเทพธุ รกิจออนไลน์, 2554) ซึ่งธุ รกิจที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน เป็ นธุ รกิจที่ ภาครั ฐให้การส่ งเสริ มในการที่จะกระจาย รายได้ไปยังท้องถิ่น และการจ้างแรงงานท้องถิ่น อีกทั้ง สนับสนุนให้มีการส่ งออกสิ นค้าไปยังนอกราชอาณาจักร เพื่อนาเงินตราต่างประเทศกลับเข้ามายัง ประเทศไทยอีกทางหนึ่ง โดยที่ผู้ ขอรับการลงทุนจะได้รับสิ ทธิประโยชน์จา กการได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลและสิ ทธิประโยชน์อื่นๆ

อาทิเช่น การยกเว้นหรื อลดหย่อนภาษีนาเข้าเครื่ อง


2

วัตถุดิบ/วัสดุจาเป็ น เป็ นต้น ภายในระยะเวลาที่กาหนดตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุน ซึ่ ง กิจการจะต้อง ปฏิบตั ิตามขั้นตอน เงื่อนไข และข้อบังคับตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุนอย่างเคร่ งครัด ซึ่ ง ขั้นตอน เงื่อนไข และข้อบังคับดังกล่าวมีความยุง่ ยากและสลับซับซ้อน จึงก่อให้เกิดปั ญหาในทาง ปฏิบตั ิเกี่ยวกับการคานวณกาไรเพื่อเสี ยภาษีให้เป็ น ไปตามเงื่อนไขบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร ตามประกาศกรมสรรพากร การคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ของธุ รกิจที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ถือเป็ นเรื่ องที่สาคัญที่ควรทาการศึกษาอีกเรื่ องหนึ่ง เนื่องจากแตกต่างจากการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อ เสี ยภาษีเงินได้นิ ติบุคคลของธุ รกิจที่ดาเนินกิจการโดยทัว่ ไป เพราะ กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุนจะมีสิทธิ ประโยชน์และเงื่อนไขการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุนที่ กิจการนั้นๆได้รับ เพื่อคา นวณภาษีเงินได้ให้ถูกต้องตรงกับ คณะกรรมการการส่ งเสริ มการลงทุน และกรมสรรพากร วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาสิ ทธิ ประโยชน์ที่พึงได้รับจากการส่ งเสริ มการลงทุน ของกิจการผลิตพลังงาน ไฟฟ้ าหรื อไอน้ า 2. เพื่อศึกษาการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอ น้ าที่ได้รับการส่ งแสริ มการลงทุน วิธีการศึกษาค้ นคว้า การศึกษาเรื่ อง ภาษีอากรกับ กิจการสาธารณูปโภค และบริ การพื้นฐาน ที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุน (BOI) กรณี ศึกษา กิ จการ ผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ซึ่ง ได้ มีการใช้ขอ้ มูล ทุติยภูมิ (Secondary Data) ค้นคว้า จากพระราชบัญญัติส่งเสริ มการล งทุน พ.ศ.2520 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534 และพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน


3

(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2544 ประกาศคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนที่ 2/2553 เรื่ องการส่ งเสริ มการ ลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน เอกสาร บทความทางวิชาการ หนังสื อ วิทยานิพนธ์ และวารสาร ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้จะทาการศึกษาถึง นโยบายส่ งเสริ มการลงทุน หลักเกณฑ์การให้สิทธิ ของคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน สิ ทธิ ประโยชน์ที่พึงได้รับจากการส่ งเสริ มการลงทุน และ การศึกษาการคานวณกาไรขาดทุนสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลของธุ ร กิจที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนเฉพาะกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ 1. ทาให้ทราบถึง นโยบายส่ งเสริ มการลงทุน รวมถึง หลักเกณฑ์การให้สิทธิ กิจการผลิต พลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ของคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน 2. ทาให้ทราบ ถึงสิ ทธิ ประโยชน์ที่พึงได้รับจากการส่ งเสริ มการลงทุน ของกิจการ ผลิต พลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า 3. สามารถคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของบริ ษทั ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ของกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า 4. สามารถนาข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการทางานในอนาคต นิยามศัพท์ กิจการเดิม หมายถึง กิจการที่ดาเนินการอยูเ่ ดิมและมีรายได้ก่อนยืน่ ขอรับการส่ งเสริ มตาม มาตรฐานส่ งเสริ มการลงทุนกรณี พิเศษ


4

คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการในสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ภายใต้การบังคับบัญชาของรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม มีอานาจหน้าที่ในการให้บริ การ และอานวยความสะดวกแก่ผลู ้ งทุน ผลขาดทุนประจาปี หมายถึง ผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยไม่ตอ้ งนาไปหักออกจากกาไรประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการ BOI หมายถึง กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ซึ่ งจะได้รับการยกเว้นภาษีเงิ น ได้นิติบุคคลในระหว่างระยะเวลาที่ได้รับการส่ งเสริ ม กิจการ NON-BOI หมายถึง กิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน และจะไม่ได้รับการ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เนื่องจากเกิดภายหลังระยะเวลาที่ได้รับการส่ งเสริ ม อัตราปกติ หมายถึง อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ กิจการต้องเสี ยภาษีจริ งในรอบระยะเวลา บัญชีที่ได้รับสิ ทธิและประโยชน์พิเศษ ในราชอาณาจักร หมายถึง อาณาเขตในประเทศไทย หรื ออยูใ่ นแผ่นดินไทย


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี ผลการศึกษา และสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาภาษีอากรกับ กิจการสาธารณูปโภค และบริ การพื้นฐาน ที่ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุน (BOI) กรณี ศึกษากิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ครั้งนี้ผจู ้ ดั ทาได้ทาการศึกษาแนวคิด และตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ เพื่อนามากาหนดเป็ นกรอบความคิดการดาเนินงานการ ศึกษาวิจยั คือ 1. แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายและหลักเกณฑ์การส่ งเสริ มการลงทุน 2. แนวคิดการให้สิทธิและประโยชน์ดา้ นภาษีอากร 3. แนวคิดการคานวณกาไร/ขาดทุนสุ ทธิ สาหรับกิจการ BOI 4. แนวคิดการนาขาดทุนสุ ทธิ BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ NON BOI 5. แนวคิดการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย BOI / NON BOI 6. แนวคิดVAT : BOI กรณี นาเข้า-ส่ งออก 7. ผลงานวิจยั และงานศึกษาที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกีย่ วกับนโยบายและหลักเกณฑ์ การส่ งเสริมการลงทุน Board of Investment (BOI) คือ หน่วยงานที่ช่วยในการส่ งเสริ มการลงทุน โดยให้สิทธิ ประโยชน์ทางด้านภาษีอากร เช่น การยกเว้น /ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล การยกเว้น /ลดหย่อน อากรขาเข้าเครื่ องจักร และวัตถุดิบ /วัสดุจาเป็ น และสิ ทธิ ประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร เช่น การบริ การอานวยความสะดวกในการนาช่างฝี มือ และผูช้ านาญการชาวต่างชาติเข้ามาทางานใน กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม รวมทั้งการให้ถือกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินแก่นกั ลงทุนในการดาเนินการตาม โครงการ (คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน, 2553)


6

คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนได้กาหนดวิธีปฏิบตั ิสา หรับขั้นตอนขอรับการส่ งเสริ ม การลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการ

ลงทุน หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขต่างๆ มีดงั ต่อไปนี้

(สมเดช โรจน์คุรีเสถียร, 2547: 12-16) 1. วิธีการขอรับการส่ งเสริมการลงทุน ผูป้ ระกอบการที่สนใจและประสงค์จะขอรับการ ส่ งเสริ มสามารถขอคาแนะนาด้านการลงทุนและแบบฟอร์ มคาขอรับการส่ งเสริ ม

(กกท.01) ได้ที่

ศูนย์บริ การลงทุน ในนามบุคคลธรรมดา ผูข้ อรับการส่ งเสริ มนั้นจะต้องจัดตั้งบริ ษทั มูลนิธิ หรื อ สหกรณ์ให้แล้วเสร็ จภายใน 180 วันนับแต่วนั ที่ผขู ้ อรับการส่ งเสริ มได้ตอบรับมติคณะกรรมการให้ การส่ งเสริ มแล้ว 2. การพิจารณาโครงการทีข่ อรับการส่ งเสริม กสท.จะพิจารณาคาขอรับการส่ งเสริ มให้ แล้วเสร็ จภายใน 60 วันทาการนับแต่วนั ที่สานักงานได้รับคาขอ ส่ วนคาขอรับการส่ งเสริ มที่มีขนาด การลงทุนตั้งแต่ 500 ล้านบาทขึ้นไป ที่ผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็ นส่ วนใหญ่ จะต้องเสนอ คณะกรรมการพิจารณาเป็ นเวลา 90 วันทาการ 3. การแจ้ งมติอนุมัติหรือไม่ อนุมัติการส่ งเสริม หลังจากคาขอรับการส่ งเสริ มได้ผา่ นการ พิจารณาแล้ว สานักงานเลขานุการกรมจะแจ้งมติอนุมตั ิหรื อไม่อนุมตั ิ ให้การส่ งเสริ มแก่ผขู ้ อให้แล้ว เสร็ จภายใน 15 วันทาการ 4. การขอแก้ไขโครงการ หากผูใ้ ดรับการส่ งเสริ มไปแล้วมีความจาเป็ นจะขอเปลี่ยนแก้ไข โครงการ เช่น ขอเปลี่ยนที่ต้ งั โรงงาน เปลี่ยนกาลังการผลิต ก็สามารถกระทาได้โดยยืน่ คาขอแก้ไข พร้อมเอกสารและหลักฐานต่างๆที่สานักงานเลขานุการกรม 5. การออกบัตรส่ งเสริม ผูข้ อรับการส่ งเสริ มจะต้องตอบรับมติให้การส่ งเสริ มภายใน30 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อแจ้งมติ หากไม่สามารถตอบรับมติภายในระยะเวลาที่กาหนด สามารถขอ ขยายเวลาตอบรับมติและขอขยายเวลาเพื่อส่ งเอกสารประกอบการออกบัตรส่ งเสริ มได้ เมื่อตอบรับ แล้วจะต้องส่ งเอกสารและหลักฐานประกอบการออกบัตรส่ งเสริ มตามที่สานักงานกาหนดไว้ภายใน 180 วันนับตั้งแต่วนั ตอบรับมติได้ที่สานักงานเลขานุการกรม


7

นโยบายและหลักเกณฑ์ การส่ งเสริมการลงทุน 1. นโยบายส่ งเสริมการลงทุน 1.1 เพิ่มประสิ ทธิ ภาพและความคุม้ ค่าในการใช้สิทธิ และประโยชน์ภาษีอากร โดยให้ สิ ทธิ และประโยชน์แก่โครงการที่มีผลประโยชน์ต่อเศรษฐกิจอย่างแท้จริ ง ต้องรายงานผลการ ดาเนินงานของโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ ม เพื่อให้สานักงานได้ตรวจสอบ ก่อนใช้สิทธิ และ ประโยชน์ภาษีเงินได้นิติบุคคลในปี นั้นๆ 1.2 สนับสนุนให้อุตสา หกรรมพัฒนาระบบคุณภาพ และมาตรฐานการผลิตเพื่อ แข่งขันในตลาดโลก โดยกาหนดให้ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มทุกรายที่มีโ ครงการลงทุนตั้งแต่ 10 ล้าน บาทขึ้นไป (ไม่รวมค่าที่ดินหรื อทุนหมุนเวียน) ต้องดาเนินการให้ได้รับใบรับรองระบบคุณภาพตาม มาตรฐาน ISO 9000 หรื อมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่า 1.3 ปรับมาตรการส่ งเสริ มการลงทุนให้สอดคล้องกับข้อตกลงด้านการค้า ลงทุนระหว่างประเทศโดยการยกเลิกเงื่อนไขการส่ งออกและการใช้ชิ้นส่ วนในประเทศ

และการ

1.4 สนับสนุนการลงทุนเป็ นพิเศษในภูมิภาค หรื อท้องถิ่นที่มีรายได้ต่า เอื้ออานวยต่อการลงทุนน้อย โดยให้สิทธิและประโยชน์ดา้ นภาษีอากรสู งสุ ด

และมีสิ่ง

1.5 ให้ความสาคัญกับการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม โดย กาหนดเงื่อนไขเงินลงทุนขั้นต่าของโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มเพียง 500,000 บาท (ไม่รวมค่า ที่ดินและทุนหมุนเวียน) 1.6 ให้ความสาคัญแก่ กิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการและบริ การพื้นฐาน 2 หลักเกณฑ์ การอนุมัติโครงการ 2.1 พิจารณาอนุมตั ิโครงการที่ขอรับการส่ งเสริ มจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1.1 จะต้องมีมูลค่าเพิ่มไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้ ยกเว้นการผลิต ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่ วน กิจการเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร และโครงการ ที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเป็ นกรณี พิเศษ


8

2.1.2 มีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียนไม่เกิน 3 ต่อ 1 สาหรับโครงการริ เริ่ ม ส่ วนโครงการขยายจะพิจารณาตามความเหมาะสมเป็ นรายๆไป 2.2 โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ) จะต้องแนบรายงานศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการตามที่คณะกรรมการกาหนด 3 หลักเกณฑ์ การถือหุ้นของต่ างชาติ เพื่ออานวยความสะดวกแก่นกั ลงทุนต่างชาติ ในการ ลงทุนในกิจการอุตสาหกรรม คณะกรรมการจะผ่อนคลายมาตรการจากัด ผูถ้ ือหุน้ โดยใช้แนว ทางการพิจารณา ดังนี้ 3.1 โครงการลงทุนในกิจการการให้บริ การ จะต้องมีผมู ้ ีสัญชาติไทยถือหุ น้ รวมกันไม่ น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 3.2 โครงการลงทุนในกิจการอุตสาหกรรม อนุญาตให้ต่างชาติถือหุ น้ ข้างมากหรื อ ทั้งสิ้ นได้ไม่วา่ ตั้งในเขตใด 3.3 เมื่อมีเหตุผลอันสมควร คณะกรรมการอาจกาหนดสัดส่ วนการถือหุ น้ ของ ต่างชาติ เป็ นการเฉพาะสาหรับกิจการที่ให้การส่ งเสริ มบางประเภท แนวคิดการให้ สิทธิและประโยชน์ ด้านภาษีอากร คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนได้แบ่งเขตการลงทุนออกเป็ น

3 เขต ตามปัจจัยทาง

เศรษฐกิจโดยใช้รายได้และสิ่ งอานวยความสะดวกพื้นฐานของแต่ละจังหวัดเป็ นเกณฑ์ ดังนี้ (อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์, 2553: 3-6) เขต 1 โครงการที่ต้ งั สถานประกอบการในจังหวัดกรุ งเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร


9

เขต 2 โครงการที่ต้ งั สถานประกอบการใน จังหวัดกาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก พระนครศรี อยุธยา ภูเก็ต ระยอง ราชบุรี สมุทรสงคราม สระบุรี สุ พรรณบุรี และอ่างทอง เขต 3 โครงการที่ต้ งั สถานประกอบการใน ท้องที่ 59 จังหวัด ประกอบด้วย 59 จังหวัด แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ 36 จังหวัด และ 23 จังหวัด รายได้ต่า ดังนี้

ภาพที่ 1: แผนที่เขตการลงทุน ทีม่ า: http://korat.boi.go.th

36 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ กาแพงเพชร ขอนแก่น จันทบุรี ชัยนาท ชุมพร เชียงราย เชียงใหม่ ตรัง ตราด ตาก นครราชสี มา นครศรี ธรรมราชพิษณุโลก นครสวรรค์ ประจวบคีรีขนั ธ์ ปราจีนบุรี พังงา พัทลุง พิจิตร เพชรบุรี เพชรบูรณ์ มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน ระนอง ลพบุรี ลาปาง ลาพูน เลย สงขลา สระแก้ว สิ งห์บุรี สุ โขทัย สุ ราษฎร์ธานี อุตรดิตถ์ และอุทยั ธานี

23 จังหวัด ได้แก่ กาฬสิ นธุ์ นครพนม นราธิ วาส น่าน บุรีรัมย์ ปั ตตานี พะเยา แพร่ มหาสารคาม ยโสธร ยะลา ร้อยเอ็ด ศรี สะเกษ สกลนคร ส ตู ล สุ รินทร์ หนองบัวลาภู ชัยภูมิ หนองคาย อุบลราชธานี อุดรธานี อานาจเจริ ญ และบึงกาฬ คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนกาหนด กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ให้เป็ น กิจการที่ได้รับความสาคัญเป็ นพิเศษ (คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน, 2553) สิ ทธิประโยชน์ ทไี่ ม่ เกีย่ วข้ องกับภาษีอากร 1. อนุญาตให้ คนต่ างด้ าวเข้ ามาเพือ่ ศึกษา ลู่ทางการลงทุน ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มจะได้รับ อนุญาตนาคนต่างด้าว ได้แก่


10

1.1 ช่างฝี มือ 1.2 ผูช้ านาญการ 1.3 คู่สมรส และผูซ้ ่ ึ งอยูใ่ นอุปการะของบุคคลในข้อ 1.1 และ1.2 เพื่อศึกษาลู่ทางการลงทุน หรื อกระทาการอื่นใดที่เป็ นประโยชน์ต่อการลงทุน โดยจะเข้าได้ ตามจานวน และกาหนดระยะเวลาให้อยูใ่ นราชอาณาจักรเท่าที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร 2. อนุญาตให้ ถือกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ิน ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มจะได้รับอนุญาตให้ถือกรรมสิ ทธิ์ ใน ที่ดิน เพื่อประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ตามจานวนที่คณะกรรมการพิจารณา เห็นสมควร 3. อนุญาตให้ ส่งออกซึ่งเงินตราต่ างประเทศ

ผูไ้ ด้รับ การส่ งเสริ มที่มีภูมิลาเนานอก

ราชอาณาจักรจะได้รับอนุ ญาตให้นาหรื อส่ งเงินออกนอกราชอาณ าจักรเป็ นเงิน ตราต่างประเทศ ต่อเมื่อเงินนั้นเป็ น 3.1 เงินทุน เงินปั นผล หรื อผลประโยชน์อื่นที่เกิดจากการลงทุน 3.2 เงินกูต้ ่างประเทศที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มนามาลงทุน รวมทั้งดอกเบี้ยของเงินกู้ ต่างประเทศนั้นด้วย 3.3 เงินที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มมีขอ้ ผูกพันกับต่างประเทศเกี่ยวกับสิ ทธิ และบริ การต่างๆ ในการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน สิ ทธิประโยชน์ ทางด้ านภาษีอากร 1. ยกเว้นอากรขาเข้ าสาหรับเครื่องจักร กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า นั้น จะได้รับ การยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักร


11

2. ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 8 ปี โดย ไม่กาหนดสัดส่ วนการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3. ลดหย่ อนภาษีเงินได้ นิติบุคคลร้ อยละ 50 จะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ ซึ่ งมีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั ที่สิ้นสุ ดระยะเวลาที่ได้รับการยกเว้น 4. ให้ หัก ค่ าขนส่ ง ค่ า ไฟฟ้า และค่ านา้ ประปา อนุญาตให้หกั ค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่า ประปา 2 เท่า ของจานวนเงินที่ผไู้ ด้รับการ ส่ งเสริ มได้เสี ยไปเป็ นค่าใช้จ่ายใ นการประกอบกิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ ม เพื่อประโยชน์ในกา รคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นระยะเวลา 10 ปี นับแต่ วันที่เริ่ มมีรายได้จากกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม 5. ให้ หักค่ าติดตั้งหรือก่อสร้ างสิ่ งอานวยความสะดวก อนุญาตให้หกั ค่าติดตั้งหรื อก่อสร้าง สิ่ งอานวยความสะดวกจากกาไรสุ ทธิ ร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุนในกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม โดยผู ้ ได้รับการส่ งเสริ มจะเลือกหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี ใดปี หนึ่ง หรื อหลายปี ก็ได้ภายใน 10 ปี นับแต่ วันที่มีรายได้จากกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม ทั้งนี้นอกเหนือไปจากการหักค่าเสื่ อมราคาตามปกติ หมายเหตุ: จะต้องยืน่ คาขอรับการส่ งเสริ มภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2555 นอกจากนี้ กิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม หรื อกิ จการที่มีระยะเวลาการยกเว้นและลด หย่อน ภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้ นสุ ดลง สามารถยืน่ ขอรับการส่ งเสริ มการลงทุนภายใต้มาตรการส่ งเสริ มการ ลงทุนเพื่อการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน หรื อการลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งมี หลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. สามารถบังคับใช้กบั กิจการที่ดาเนินการอยูแ่ ล้ว ไม่วา่ จะได้รับส่ ง

เสริ มการลงทุน

หรื อไม่ก็ตาม หากไม่ได้รับส่ งเสริ มต้องเป็ นประเภทกิจการที่คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ประกาศให้ได้การส่ งเสริ มการลงทุนประกาศให้การส่ งเสริ มการลงทุน


12

2. โครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนอยูเ่ ดิมสามารถยืน่ ขอรับการส่ งเสริ มการลงทุน ภายใต้มาตรานี้ได้ เมื่อระยะเวลายกเว้นหรื อลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้นสิ้ นสุ ดลงแล้วหรื อเป็ น โครงการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3. จะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน

การนา

พลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ หรื อการลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยมี การดาเนิ นการเรื่ องใด เรื่ องหนึ่งดังต่อไปนี้ 3.1 จะต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรไปสู่ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยเพื่อให้เกิดการ ใช้พลังงานลดลงตามสัดส่ วนที่กาหนด (มูลค่าของพลังงานที่ประหยัดได้ของโครงการต้องไม่นอ้ ย กว่ามูลค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลที่จะได้รับการยกเว้น) 3.2 จะต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่ องจักร เพื่อให้มีการนาพลังงานทดแทนมาใช้ ในกิจการในสัดส่ วนตามที่กาหนด เมื่อเทียบกับการใช้พลังงานทั้งสิ้ น 3.3 จะต้องมีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมไม่วา่ จะเป็ นการลดปริ มาณของเสี ย น้ าเสี ย หรื ออากาศตามเกณฑ์ที่กาหนด ส่ วนสิ ทธิ และประโยชน์ที่จะได้รับ คือ 1. ได้รับรับเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักร 2. ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 3 ปี เป็ นสัดส่ วนร้อยละ 70 ของเงิน ลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ทั้งนี้ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากรายได้ของ กิจการที่ดาเนินการอยูเ่ ดิม 3. ระยะเวลาการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้นบั จากวันที่มี รายได้ภายหลังได้รับ บัตรส่ งเสริ ม


13

ทั้งนี้จะต้องยืน่ คาขอรับการส่ งเสริ มภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และต้องดาเนินการ ให้แล้วเสร็ จภายใน 3 ปี นับจากวันที่สานักงานออกบัตรส่ งเสริ มให้ รวมทั้งสานักงานคณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุนจะเป็ นผูพ้ ิจารณาอนุมตั ิให้ส่งเสริ มการลงทุนแก่โครงการที่ดาเนินการอยูเ่ ดิมใน ทุกขนาดการลงทุนที่ขอรับการส่ งเสริ มการลงทุนตามมาตรการนี้ หลักประกัน 1. รัฐจะไม่โอนกิจการของผูท้ ี่ได้รับการส่ งเสริ มมาเป็ นของรัฐ 2. รัฐจะไม่ประกอบกิจการขึ้นใหม่แข่งขัน 3. รัฐจะไม่ผกู ขาดการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันกับผูท้ ี่ได้รับการส่ งเสริ ม 4. รัฐจะไม่ควบคุมราคาผลิตภัณฑ์ของผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ ม 5. รัฐจะอนุญาตให้ส่งออกเสมอไป 6. รัฐจะไม่อนุญาตให้ส่วนราชการ องค์กรของรัฐบาล หรื อรัฐวิสาหกิจ นาผลิตภัณฑ์ชนิด เดียวกับที่ได้รับการส่ งเสริ มเข้ามาโดยได้รับยกเว้นอากรขาเข้า การคุ้มครอง (พิจารณาตามความเหมาะสม) 1. ประธาน กรรมการมีอานาจสั่งช่วยเหลือ หากผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มประสบปั ญหาหรื อ อุปสรรคในการดาเนินกิจการ 2. ประธานกรรมการมีอานาจสั่งแก้ไข กรณี ที่โครงสร้างอัตรา หรื อวิธีการจัดเก็บภาษี อากร ค่าบริ การหรื อค่าธรรมเนียม เป็ นอุปสรรคต่อกิจการของผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มการลงทุน


14

แนวคิดการคานวณกาไรสุ ทธิ/ขาดทุนสุ ทธิ : กิจการ BOI กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. มาตรา 31 แห่ ง พรบ. ส่ งเสริมการลงทุน พ .ศ. 2520 บัญญัติว่า ‚ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มจะ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด ทั้งนี้ ให้พิจารณากาหนดเป็ นสัดส่ วนของเงินลงทุนโดยไม่ รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ซึ่ งต้องมีกาหนดเวลาไม่เกินแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการ ประกอบกิจการนั้น‛ รายได้ที่ตอ้ งนามาคานวณกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการ ให้รวมถึงรายได้จาก การจาหน่ายผลพลอยได้และรายได้จากการจาหน่ายสิ นค้ากึ่งสาเร็ จรู ป ตามที่คณะกรรมการพิจารณา เห็นสมควร (อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์, 2553: 6-38) ในกรณี ที่ประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ไป หักออกจากกาไรสุ ทธิ ที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล มีกาหนดเวลา ไม่เกินห้าปี นับแต่วนั พ้นกาหนดเวลานั้น โดยจะเลือกหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ ได้ 1.1 ประกาศสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนที่ ป .12/2544 วางหลักเกณฑ์ เพิ่มเติมดังนี้ 1.1.1 โครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนตามประกาศคณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุนที่ 1/2543 และ 2/2543 ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลาตามเขต ที่ต้ งั แล้วให้กาหนดการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลรวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินลงทุ นโดยไม่ รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน


15

1.1.2 เงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนของโครงการที่ได้รับ ส่ งเสริ ม หมายถึงค่าก่อสร้าง ค่าเครื่ องจักร ค่าติดตั้ง ค่าทดสอบเครื่ อง ค่าใช้จ่ายก่อนเปิ ดดาเนินการ และมูลค่าสิ นทรัพย์อื่นๆ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 1.1.3 ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ยกเว้นตาม 1.1.1 ให้คานวณตามเงินลงทุนโดยไม่ รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในคาขอรับการส่ งเสริ มและจะปรับเปลี่ยนตามจานวนเงินลงทุนโดย ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนที่แท้จริ งในวันที่เปิ ดดาเนินการตามโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ ม 1.2 ประกาศสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนที่ ป .1/2545 ได้มีการกาหนด ความหมายของเงินลงทุนไว้ดงั นี้ 1.2.1 ค่าก่อสร้าง ให้หมายความถึงรายการ ดังนี้ ก) กรณี ก่อสร้างเอง ได้แก่ ค่าก่อสร้างอาคารสานักงาน โรงงาน สาธารณูปโภค และสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ และรวมถึงการต่อ เติมหรื อปรับปรุ งด้วย ข) กรณี ซ้ื ออาคารหรื อใช้อาคารที่มีอยูแ่ ล้ว ให้ใช้มูลค่าตามสัญญาซื้ อขาย หรื อราคาสุ ทธิ ตามบัญชีของงวดบัญชีก่อนยืน่ คาขอรับการส่ งเสริ ม แล้วแต่กรณี ค) กรณี การเช่าอาคารหรื อโรงงานให้ใช้ค่าเช่าตามสัญญาการเช่า ทั้งนี้ จะต้องมีระยะเวลาการเช่ามากกว่า 3 ปี 1.2.2 ค่าเครื่ องจักร ค่าติดตั้ง ค่าทดลองเครื่ อง ให้หมายความถึงรายการดังนี้ ก) กรณี ซ้ื อเครื่ องจั กร ได้แก่ ค่าเครื่ องจักร และ ให้ รวมถึงค่าติดตั้ง ค่า ทดลองเครื่ อง ค่าวิชาการที่รวมอยูใ่ นต้นทุนเครื่ องจักร เช่น ค่าวิศวกร


16

ค่าออกแบบ สาหรับกิจการซอฟแวร์ และกิจการพาณิ ชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ให้รวมถึงค่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมด้วย ข) กรณี การเช่าซื้ อหรื อเช่าแบบลิสซิ่ งให้ใช้มูลค่าตามสัญญาเช่าซื้ อหรื อ เช่าแบบลิสซิ่ ง ค) กรณี เช่าเครื่ องจักร ใ ห้ใช้มูลค่าตามสัญญาเช่า ทั้งนี้ จะต้องมีการทา สัญญาเช่ามากกว่า 1 ปี ง) กรณี เครื่ องจักรที่บริ ษทั ในเครื อให้มาโดยไม่คิดค่าตอบแทนและได้ ระบุในคาขอรับการส่ งเสริ ม ให้ใช้มูลค่าตามบัญชีของบริ ษทั ที่ให้ เครื่ องจักร โดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ยนื่ คาขอรับการส่ งเสริ ม จ) กรณี การจานองเครื่ องจักร ให้ใช้ราคาทุนตามบัญชี 2. ประกาศกรมสรรพากร ลว . 5 ก.พ. 2530 กรมสรรพากรได้วาง หลักเกณฑ์ ในการ คานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลไว้ในประกาศกรมสรรพากร เรื่ อง การคานวณกาไร สุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน การคานวณรายได้ – กิจการ BOI 1. วันทีเ่ ริ่มมีรายได้ ตามบัตรส่ งเสริมฯ หมายถึง รายได้หลักและรายได้อนั เนื่องมาจาก กิจการ ซึ่งมีความสาคัญเพราะเป็ นวันเริ่ มต้นนับอายุสิทธิ บตั รฯ 2. รายได้ ทยี่ กเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคลตามบัตรส่ งเสริมฯ 2.1 รายได้จากการจาหน่ายผลิ ตภัณฑ์ ผลิตผล หรื อการให้บริ การ ตามโครงการที่ ได้รับการส่ งเสริ มไม่เกินปริ มาณการผลิตต่อปี หรื อไม่เกินขนาดของกิจการที่ให้บริ การตามที่ระบุ ไว้ในบัตรส่ งเสริ ม


17

2.2 รายได้จากการส่ งออกทางอ้อม 2.3 รายได้จากการจาหน่ายผลพลอยได้ และสิ นค้ากึ่งสาเร็ จรู ป ตามชนิดและปริ มาณ ตามที่ระบุไว้ในบัตรส่ งเสริ ม 2.4 รายได้จากการดอกเบี้ย 2.5 กาไรจากการปริ วรรตเงินตรา

เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯ เริ่ มมีรายได้จากการ

ประกอบกิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุน 2.5.1 เกิดจากการดาเนินธุ รกิจเกี่ยวกับการส่ งออกผลิตภัณฑ์ การนาเข้า เครื่ องจักร เครื่ องมือเครื่ องใช้ วัสดุอุปกรณ์ และวัตถุดิบ 2.5.2 เกิดจากบริ ษทั ฯ นาเงินกูย้ มื เงินตราต่างประเทศเข้ามาใช้ในราชอาณาจักร 2.5.3 เกิดจากการนารายได้จากกิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนไปชาระหนี้ เงินกู้ 2.6 รายได้จากการจาหน่ายทรัพย์สิน ในระหว่างที่บริ ษทั ฯ ได้รับส่ งเสริ มการลงทุน อาจมีการจาหน่ายทรัพย์สินซึ่ งหมดสภาพที่จะใช้งานต่อไป เช่น รถยนต์ เครื่ องจักร เครื่ องใช้ต่างๆ 2.7 รายได้จากเงินชดเชยค่าภาษีอากร (บัตรภาษี ) การที่บริ ษทั ฯที่ได้รับส่ งเสริ มการ ลงทุนได้ทาประกันภัย เพื่อประกันรายได้ที่สูญเสี ยอันเป็ นผลมาจากเครื่ องจักรหยุดการผลิตทั้งหมด หรื อบางส่ วนอันเป็ นผลมาจากอุ บัติเหตุต่อทรัพย์สิน เครื่ องจักร อุปกรณ์ และบริ ษทั ฯได้เรี ยกร้อง ค่าชดเชยการขาดรายได้จากบริ ษทั ประกันภัย ซึ่ งคานวณโดยการนารายได้จากการประกอบกิจการที่ ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนที่ควรได้รับในช่วงระยะเวลาดังกล่าวหักด้วยต้นทุนผันแปรในการผลิต 2.8 เงินชดเชยตามสัญญาประกันภัย เป็ นการประกันภัยเช่นเดียวกับรายได้จากเงิน ชดเชยค่าภาษีอากรข้างต้น


18

2.9 เงินชดเชยความเสี ยหายจากการยกเลิกคาสั่งซื้ อ หากมีการยกเลิกคาสั่งซื้ อลูกค้า จะต้องจ่ายค่าชดเชยความเสี ยหายที่เกิดขึ้นให้แก่บริ ษทั ฯ และในทานองเดียวกันถ้าบริ ษทั ฯมีการ ยกเลิกคาสั่งซื้ อไปยังผูจ้ าหน่ายวัตถุดิบ บริ ษทั ฯก็ตอ้ งจ่ายค่าชดเชยให้แก่ผจู ้ าหน่ายด้วยเช่นกัน 2.10 รายได้ค่าสิ ทธิ ซึ่ งจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ เช่น ค่ากู๊ดวิลล์ ค่าลิขสิ ทธิ์ โดยมี กาหนดระยะเวลา 5 ปี นับแต่วนั ที่ผไู ้ ด้รับส่ ง เสริ มการลงทุนเริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ ม 2.11 รายได้เงินปันผล กิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงินปั นผลรวมคานวณ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ผไู้ ด้รับการ ส่ งเสริ มได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น 2.12 ยกเว้นรายได้ส่งออกที่เพิ่มขึ้น 5% จากปี ก่อน โดยการอนุญาตให้หกั เงินได้พึง ประเมินในการเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลเท่ากับร้อยละ 5 ของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจาก การ ส่ งออก การคานวณรายจ่ าย-กิจการBOI โดยหลักการบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ได้รับการส่ ง

เสริ มการลงทุน จะต้อง

คานวณรายได้ และรายจ่าย ตาม matching principle ตาม GAAP และตามเกณฑ์สิทธิ แห่งประมวล รัษฎากร เช่นเดียวกันกับบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลทัว่ ไป เนื่องจากมีการให้สิทธิ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไม่เกิน 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จาก การประกอบกิจการ จึงทาให้ในบางรอบระยะเวลาบัญชี บริ ษทั มีรายได้รายจ่ายทั้งประเภทที่ได้รับ การส่ งเสริ ม (BOI-ยกเว้นภาษีเงินได้ ) และประเภทที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม (NON-BOI ต้องเสี ยภาษี เงินได้นิติบุคคลตามปกติ) ปะปนกัน


19

นอกจากนั้นกรณี บริ ษทั ได้รับการส่ งเสริ มหลายบัตร โดยแต่ละบัตรอาจให้สิทธิ ประโยชน์ ทางภาษีแตกต่างกัน /ต่างช่วงเวลากัน จึงยิง่ ทาให้การคานวณรายได้รายจ่ายของแต่ละบัตรมีความ ซับซ้อนขึ้นและยังต้องคานึงถึงธุ รกรรมที่เป็ น NON-BOI ด้วย กรณี จึงอาจต้องมีการปั นส่ วนรายได้ รายจ่ายร่ วม เพื่อให้ได้กาไรสุ ทธิ ของแต่ละส่ วน ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นศูนย์กาไร ให้ถูกต้องตาม บทบัญญัติของประมวลรัษฎากร ในที่น้ ีเป็ นตัวอย่างการคานวณรายจ่ายในกรณี ต่างๆซึ่ งกรมสรรพากรได้มีคาวินิจฉัยไว้เป็ น บรรทัดฐานพอสังเขปดังนี้ 1. การแยกและเฉลีย่ รายจ่ าย BOI และ NON-BOI 1.1 รายได้ที่ได้รับการชดเชย เนื่องมาจากความเสี ยหายจากการยกเลิกคาสั่งซื้ อสิ นค้า ของลูกค้าและรายจ่ายค่าชดเชยที่บริ ษทั ฯ ต้องจ่ายให้แก่ผจู ้ าหน่ายวัตถุดิบไม่ถือเป็ นรายได้และ รายจ่ายจากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ผลิตผล ตามโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน บริ ษทั ฯ จึง ต้องนารายได้และรายจ่าย ค่าชดเชยดังกล่าวไปคานวณกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนเพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.2 รายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกัน ซึ่ งมีท้ งั กิจการที่ได้รับยก เว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลและกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่ไม่สามารถแยกได้ชดั แจ้งว่าเป็ น รายได้ของกิจการใดให้แยกรายได้ดงั กล่าวเป็ นรายได้ของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ก่อน จนกว่าจะครบถ้วนตามสิ ทธิ และประโยชน์ที่ได้รับตามที่กาหนดไว้ในบัตรส่ ง เสริ ม ส่ วนรายได้ที่ เหลือให้ถือเป็ นรายได้ที่ตอ้ งนาไปรวมคานวณเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล รายจ่ายจากกิจการรายการใดที่ไม่สามารถแยกได้ชดั แจ้งและไม่มีเกณฑ์อื่นที่จะ เฉลี่ยให้เป็ นการเหมาะสมว่าเป็ นรายจ่ายของกิจการใด ให้เ ฉลี่ยรายจ่ายดังกล่าวตามส่ วนของรายได้ จากกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล


20

ตัวอย่าง บริ ษทั ฯเป็ นบริ ษทั จดทะเบียน ในประเทศไทย และเป็ นบริ ษทั ในเครื อของ กลุ่ม บริ ษทั A จากัด แห่งประเทศสหรัฐอเมริ กา เข้ามาลงทุนในประเทศไทย เพื่อผลิตไฟฟ้ าจากก๊าซ ชีวภาพ เพื่อป้ อนให้กบั โรงงานบริ ษทั ข .จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ร่ วมทุนระหว่างบริ ษทั A จากัด แห่ง ประเทศสหรัฐอเมริ กา และบริ ษทั K จากัดแห่งประเทศญี่ปุ่น บริ ษทั ฯได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน จากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน โดยได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ น ระยะเวลา 8 ปี และสิ ทธิ อื่นๆ บริ ษทั ฯเริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุน ประมาณกลางเดือนตุลาคม 2540 โดยเป็ นรายได้จากการทดลองผลิต ไฟฟ้ าจากก๊าซชีวภาพ เพื่อส่ งให้บริ ษทั ข. จากัด เพื่อทดลองผลิตแต่ได้มีการคิดราคาขายและนาส่ งภาษีมูลค่าเพิ่มตามปกติ ถึงแม้บริ ษทั ฯจะยังไม่ได้ทาการผลิตจริ ง แต่บริ ษทั ฯเข้าใจว่าบริ ษทั ฯเริ่ มมีรายได้จากการประกอบ กิจการส่ งเสริ มฯตั้งแต่เ ดื อนตุลาคม 2540 บริ ษทั ฯมีรายได้อื่นๆอาทิ ดอกเบี้ยรับจากเงินฝากใน ธนาคาร จานวนเงิน 5.5 ล้านบาท และรายได้อื่นๆเพียงเล็กน้อยจากการขายของเสี ยจากการผลิต และมีค่าใช้จ่าย จานวน 260.4 ล้านบาท ประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่าย 3.5 ล้านบาท ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยนภายหลังการเปลี่ยนแปลงระบบจานวน 34.2 ล้านบาทและค่าใช้จ่ายอื่นๆ 222.7 ล้านบาท จึงสรุ ปได้วา่ แม้ว่าการขายจะเป็ นเพียงตัวอย่างหรื อที่ผลิตได้จากการทดลองการผลิต ของกิจการก็ตาม และไฟฟ้ าที่ผลิตได้ก่อนวันที่ได้รับอนุมตั ิให้ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ใน บัตรส่ งเสริ ม ถือได้วา่ บริ ษทั ฯเริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการส่ งเสริ มการลงทุนสาหรับการ ส่ งออกตามบัตรส่ งเสริ มแล้ว ดังนั้น บริ ษทั ฯเริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการส่ งเสริ มการลงทุน ตั้งแต่วนั แรกที่มีการขายสิ นค้าออกไป ประมาณกลางเดือนตุลาคม 2540 รายได้หรื อรายจ่ายรายการใดไม่สามารถแยกออกจากกันได้โดยชัดเจนและไม่เกณฑ์อื่นที่ จะเฉลี่ยรายได้หรื อรายจ่ายนั้นได้เป็ นการเหมาะสมแล้ว ก็ให้เฉลี่ยรายได้หรื อรายจ่ายดังกล่าวออก ตามส่ วนของรายได้จากกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี โดย เฉลี่ยเฉพาะรายได้ที่เกิดในช่วงระ ยะเวลาที่ได้รับการส่ งเสริ มเท่านั้น เช่น การปั นส่ วนรายได้จาก ดอกเบี้ยรับ คิด 2.5 เดือนรายได้ส่วนที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนคิด 9.5 เดือน


21

2. การหักรายจ่ าย 2 เท่า : ค่ าขนส่ ง ค่ าไฟฟ้ า และประปา พระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุนพ.ศ.2520 บัญญัติวา่ ‚ การอนุญาตให้หกั ค่าขนส่ ง ค่า ไฟฟ้ าและประปาสองเท่าของจานวนเงินที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มได้เสี ยไปเป็ นค่าใช้จ่ายในการ ประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มเพื่อประโยชน์ในการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ตาม เงื่อนไข วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการกาหนด ‚ การอนุญาตให้หกั ‘ค่าขนส่ ง ’ สองเท่าของจานวนเงินที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มได้เสี ยไป เป็ นค่าใช้จ่ ายในการประกอบกิจการที่ได้รับ ส่ งเสริ ม การลงทุน เพื่อ เป็ น ประโยชน์ในการคานวณ ภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 35(2) ให้หกั ได้เฉพาะค่าขนส่ งภายในประเทศเท่านั้น‛ ตัวอย่าง บริ ษทั A จากัด ประกอบกิจการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ตั้งอยูใ่ นอาเภอโคราช จังหวัดนครราชสี มา ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนทั้งกิจการ เนื่องจากสิ ทธิ และประโยชน์ที่บริ ษทั ฯ จะได้รับตามบัตรส่ งเสริ มคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนอนุญาตให้หกั ค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่า ประปาสองเท่าของ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 10 ปี นับจากวันที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบ กิจการ บริ ษทั ฯจึงมีสิทธิ หกั ค่าไฟฟ้ าและค่าประปา 2 เท่าของทั้งกิจการไม่วา่ ในแผนกผลิตและ แผนกสานักงาน (เช่นฝ่ ายบุคคล ฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายบัญชี เป็ นต้น ) ซึ่ งเป็ นรายจ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรง กับการประกอบกิจการ จึงไม่ตอ้ งห้ามนาไปเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้ นิติบุคคล ประกอบ ด้วยเรื่ อง การคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วน นิติบุคคลที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน จึงสรุ ปได้วา่ แม้วา่ บริ ษทั จะได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน บริ ษทั ยังคงมีหน้าที่ตอ้ ง คานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยรายจ่ายที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีใด ต้อง ลงเป็ นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีน้ นั ดังนั้นบริ ษทั ลูกค้าจึงต้องนารายจ่าย ค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่าประปาจานวนสองเท่าของรายจ่ายดังกล่าวมาถือเป็ นรายจ่ายในรอบระยะเ วลาบัญชีที่รายจ่าย นั้น เกิดขึ้น โดย กิจการ จะเลือกใช้สิทธิ ในบางปี และไม่ใช้สิทธิ ในบางปี ก็ได้ แต่หากมีปีใดไม่นา รายจ่ายค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่าประปาจานวนสองเท่าของรายจ่ายดังกล่าวมาถือเป็ นรายจ่ายแล้ว ก็ ไม่มีสิทธิ นาไปหักเพิ่มเติมในปี ต่อไปได้อีก


22

3. การหักรายจ่ าย 1.25 เท่า : ค่ าติดตั้งหรือก่อสร้ างสิ่ งอานวยความสะดวก ‚ การอนุญาตให้พกั เงินที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในการติดตั้งห รื อก่อสร้างสิ่ ง อานวยความสะดวกใน การประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ พิจารณากาหนดจากกาไ รสุ ทธิ รวมทั้งสิ้ นไม่เกินร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุนแล้วในการนั้น โดยผู ้ ได้รับการส่ งเสริ มการเลือกหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี ใ ดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ได้ ภายใน 10 ปี นับแต่ วันที่มีรายได้จากการลงทุน ทั้งนี้นอกเหนือไปจากการหักค่าเสื่ อมราคาตามปกติ‛ การอนุญาตให้หกั เงินที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในการติดตั้งหรื อก่อสร้างสิ่ ง อานวยความสะดวกในการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม ให้หกั ได้เฉพาะค่าใช้จ่าย ดังนี้ 3.1 ค่าติดตั้งหรื อก่อสร้างระบบคมนาคม เช่น ถนน ท่าเทียบเรื อ ทางรถไฟ และการ วางท่อสาหรับการขนส่ ง เป็ นต้น 3.2 ค่าติดตั้งหรื อก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกิจการที่ได้รับการ ส่ งเสริ ม เช่น ระบบไฟฟ้ า (การปักเสา พาดสาย) ระบบน้ าเพื่อการอุตสาหกรรม (การวางท่อ) การลดอัตราภาษีเงินได้ นิติบุคคล 50% พรบ. ส่ งเสริ มการลงทุนให้อานาจคณะกรรมการ BOI ในการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ลง 50% ของอัตราปกติเป็ นเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่ผไู ้ ด้รับส่ งเสริ มได้สิทธิ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลไม่เกิน 8 ปี ไปแล้วหรื อกรณี ที่ยงั ไม่เคยได้รับการส่ งเสริ มมาก่อนดังตัวอย่างหนังสื อตอบข้อ หารื อของกรมสรรพากร ตัวอย่าง บริ ษทั ฯจาหน่ายทรัพย์สินต่างๆที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนในขณะที่พน้ กาหนดเวลาตามบัตรส่ งเสริ มฯแล้ว บริ ษทั ฯจึงไม่ได้รับสิ ทธิ ยกเว้นภ าษีเงิน ได้นิติบุคคล แต่รายได้จากการจาหน่ายทรัพย์สินดังกล่าวถือเป็ นรายได้ที่มีสิทธิ นา ไปรวมคานวณ กับรายได้ที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนที่ได้รับสิ ทธิ ลดหย่อนอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเหลือร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เนื่องจากเป็ นการจาหน่ายในระหว่างบริ ษทั ฯ ได้รับสิ ทธิ ลดหย่อนภาษีเงินได้


23

จึงสรุ ปได้วา่ ในกรณี ของบริ ษทั ฯ เมื่อได้รับ ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเหลือร้อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิ อัตราปกติจึงเท่ากับร้อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิ ดังนั้นบริ ษทั ฯจึงมี สิทธิเสี ยภาษีเงินได้ นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 12.50 ของกาไรสุ ทธิ ตัวอย่าง บริ ษทั ฯได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนหลายกิจการ แต่ละกิจการได้รับสิ ทธิ ประโยชน์แตกต่างกัน และยังได้รับสิ ทธิ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้รับจาก การลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ มีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับจากวันพ้นกาหนดยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล หักขาดทุน (BOI)กับกาไรที่ได้รับการลดหย่อนอัตราภาษี 50% อย่างไร จึงสรุ ปได้วา่ บริ ษทั ฯได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุนมากกว่า 1 บัตร ซึ่งมี สิ ทธิ ประโยชน์และเงื่อนไขที่แตกต่างกันออกไป การใช้สิทธิ ประโยชน์ในบัตรส่ งเสริ มการลงทุน แต่ละบัตรนั้น บริ ษทั ฯต้องคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของแต่ละกิจการแยกต่างหากจากกัน แต่ในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลให้นากาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของ กิจการทั้งที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมารวมเข้า ด้วยกันก่อน แล้วจึงจะใช้สิทธิ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ การคานวณกาไรสุ ทธิ - กิจการ BOI/NON-BOI 1. กรณีทผี่ ลการดาเนินงานรวมมีกาไรสุ ทธิ 1.1 ถ้ามีกาไรสุ ทธิ ท้ งั สองกิจการ ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับกาไรจากกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.2 ถ้ามีกาไรสุ ทธิ จากกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นจานวน มากกว่าผลขาดทุนสุ ทธิ จากกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มต้องเสี ย ภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยคานวณจากจานวนกาไรสุ ทธิ รวม


24

1.3 ถ้ามีกาไรสุ ทธิ จากกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นจานวน มากกว่าผลขาดทุนสุ ทธิ จากกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มไม่ตอ้ ง เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเต็มจานวนกาไรสุ ทธิ รวม 2. กรณีทผี่ ลการดาเนินงานรวมไม่ มีกาไรสุ ทธิ ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ถึงแม้วา่ กิจการที่ไม่ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลจะมีกาไรสุ ทธิ ก็ตาม ตารางที่ 1 คานวณกาไรสุ ทธิ /ขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ BOI/NON-BOI และภาระภาษีที่ตอ้ งชาระ หน่วย:ล้านบาท BOI

NON BOI

ผลการ ดาเนินงาน

การเสี ย ภาษีเงินได้นิติ

รวม

บุคคล (CIT)

หมายเหตุ

1

50

10

60

CIT 10*30% = 3 กาไรสุทธิ (BOI) 50 ล้านบาท ได้รับ ยกเว้น CIT

2

(25)

30

5

CIT 5*30% = 1.5 ขาดทุนสุทธิ(BOI) สามารถนาไปหัก จากกาไรสุทธิ (NON BOI)

3

70

(15)

55

CIT = 0

กาไรสุทธิ(BOI) ได้รับยกเว้น CIT ขาดทุนสุทธิ (NON BOI) 15 ล้านบาท สามารถนาไปหักจากกาไรสุทธิ (NON BOI) ได้ 5 ปี

4

(45)

20

(25)

CIT = 0

ขาดทุนสุทธิ(BOI) คงเหลือ 25 ล้าน บาท สามารถนาไปหักจากกาไรสุทธิ (NON BOI) ได้ 5 ปี

หมายเหตุ: กาไรสุ ทธิ / ขาดทุนสุ ทธิ ข้างต้นหมายถึง กาไรสุ ทธิ / ขาดทุนสุ ทธิทางภาษี (taxable profits and losses)


25

การคานวณต้ นทุนกิจการ BOI / NON – BOI ตัวอย่าง บริ ษทั ฯ เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มประเภทผลิตและส่ งออก อาหารทะเลแช่แข็ง อาหารเกษตรแช่แข็ง และอาหารกึ่งสาเร็ จรู ปแช่แข็ง ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุน 2 โครงการ คือ กิจการผลิตอาหารทะเลบรรจุภาชนะผนึก และพืชผักและผลไม้ บรรจุภาชนะ ผนึก ประเภทการผลิตอาหาร (ยกเว้นน้ าอัดลม ) และกิจการผลิตผลิตภัณฑ์สัตว์น้ าแช่แข็ง และ ประเภท กิจการห้องเย็น บริ ษทั ฯ มีข้ นั ตอนการผลิต โดยนาเข้าแม่ปลาสายพันธุ์คุณภาพดีเพื่อ เพาะพันธุ์แจกจ่ายให้ชาวบ้านเลี้ยงโดยไม่คิดมูลค่า และรับซื้ อปลา ดังกล่าวมาทาการผลิต ต่อมา บริ ษทั ฯ ได้ลงทุนซื้ อที่ดิน เครื่ องจักร อุปกรณ์เลี้ยงกุง้ และปลา ซึ่ งเป็ นกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุน เพื่อนามาผลิตตามโครงการ ขณะเดียวกันบริ ษทั ฯ ยังคงซื้ อปลาจากชาวบ้านด้วย จึงสรุ ปได้วา่ บริ ษทั ฯ จะนาต้นทุนของกิจการที่ไม่รับก ารส่ งเสริ มการลงทุนมาเป็ นต้นทุน ของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนไม่ได้เพราะบริ ษทั ฯ ต้องคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุน สุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน หลักเกณฑ์ การคานวณกาลังผลิตและรายได้ ทยี่ กเว้นภาษี ตัวอย่าง บริ ษทั ฯ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในกิจการผลิต กิจการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ หรื อส่ วนประกอบรวมทั้ งการติดตั้ง กิจการผลิตโครงสร้างโลหะที่ใช้ในการก่อสร้างหรื ออุปกรณ์ สาหรับงานอุตสาหกรรม โดยได้รับสิ ทธิ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้รับจาก การประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนรวมกันไม่เกินร้อยละ100 ของเงินลงทุนไม่รวมค่า ที่ดินและทุนหมุนเวียนกาหนดเวลา 3 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการมีกาลังการ ผลิตที่ได้รับอนุมตั ิปีละไม่เกิน 18,000 ตัน ทั้งนี้ ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นมีมูลค่าไม่เกิน 248,120,000 บาท ซึ่ งจะปรับเปลี่ยนตามจานวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนที่ แท้จริ งในวันเปิ ดดาเนินการตามโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มบริ ษทั ฯ แจ้งการมีรายได้ครั้งแรก เมื่อ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2548


26

จึงสรุ ปได้วา่ ตามข้อเท็จจริ งบริ ษทั ฯได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพียงบางส่ วน ดังนั้น ในการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ บริ ษทั ฯจะต้องนารายได้จากการขาย ก๊าซธรรมชาติ ตาม โครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในส่ วนที่ไม่เกินปริ มาณการผลิตจานวน 18,000 ตัน และคิด เป็ นเงินไม่เกิน 248,120,000 บาทตามที่กาหนดไว้ในบัตรส่ งเสริ มตลอดระยะเวลา 3 ปี เป็ นรายได้ที่ ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลก่อน ส่ วนรายได้ที่เหลือถือเป็ นรายได้ที่ตอ้ งนาไปรวมคานวณ เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล แนวคิดการนาขาดทุนสุ ทธิ BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ NON BOI การนาผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไป หักออกจากกาไรสุ ทธิ ที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษีเงิน

ได้นิติบุคคลให้ถือปฏิบตั ิ

ดังต่อไปนี้ (อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์, 2553: 40-51) 1. กรณีผ้ ไู ด้ รับการส่ งเสริมประกอบกิจการเฉพาะทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคล 1.1 ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มมีสิทธิ นาผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุ คคลมีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั พ้นกาหนดเวลานั้น และจะเลือกหักออกจาก กาไรสุ ทธิ ของปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ได้ ตัวอย่าง บริ ษทั ABC จากัด ประกอบกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ซึ่งได้รับ อนุมตั ิการส่ งเสริ มการลงทุน โดยให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 8 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้ (1 มกราคม 25X0) บริ ษทั มีผลประกอบการ ตั้งแต่ 25X0 – 25X9


27

ตารางที่ 2 การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี ประกอบกิจการ BOI อย่างเดียว (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี กาไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT) การวิเคราะห์และคานวณ 25X0 (10) BOI 25X1 7 BOI 25X2 (12) BOI 25X3 2 BOI 25X4 1 หมดสิ ทธิบตั ร BOI ณ 31 ธ.ค. 25X4 25X5 8 - NON BOI (กาไรสุทธิ 8 ล้านบาท) - ขาดทุนสะสม (BOI) 22 ล้านบาท ใช้สิทธินามาหักจากกาไรสุทธิ (NON BOI) เต็มจานวน 8 ล้าน บาท ทาให้ปี 25X5 ไม่มี CIT 25X6 9 5*30% = 1.5 - NON BOI (กาไรสุทธิ 9 ล้านบาท) - ขาดทุนสะสม (BOI)คงเหลือจากปี 25X5 = 22 – 8 = 14 ล้านบาท สมมติเลือกนามาหักจากกาไร สุทธิ (NON BOI) ปี 25x6 เพียง 4 ล้านบาท ดังนั้นปี 25X6 จึงต้อง เสี ย CIT 1.5 ล้านบาท 25X7 7 7*30% = 2.1 - NON BOI (กาไรสุทธิ 7 ล้านบาท) - ขาดทุนสะสม (BOI)คงเหลือจากปี 25X6 = 14 – 4 = 10 ล้านบาท สมมติเลือกไม่ใช้สิทธิ หักจาก กาไรสุทธิ (NON BOI) ปี 25x6 เพียง 4 ล้านบาท ดังนั้นปี 25X7 ทาให้ปี 25X7 ต้องเสี ย CIT 2.1 ล้านบาท


28

ตารางที่ 2 (ต่ อ) การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี ประกอบกิจการ BOI อย่างเดียว (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี กาไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT) การวิเคราะห์และคานวณ 25X8 10 - NON BOI (กาไรสุทธิ 10 ล้านบาท) - ขาดทุนสะสม (BOI)คงเหลือจากปี 25x6 และ25x7 = 10 ล้านบาท สมมติใช้สิทธินามาหักจากกาไร สุทธิ (NON BOI) ปี 25x8 ทั้ง จานวน ทาให้ปี 25X8 ไม่ตอ้ งเสี ย CIT 25X9 3 3*30% = 0.9 - NON BOI (กาไรสุทธิ 3 ล้านบาท) - ขาดทุนสะสม (BOI) ถูกใช้หมดไป ตั้งแต่ปี 25x8 ดังนั้นปี 25x9 ต้อง เสี ย CIT จากกาไรสุทธิ NON BOI ทั้งจานวน

2. กรณีผ้ ไู ด้ รับการส่ งเสริมประกอบกิจการทั้งทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคล และที่ ไม่ ได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคล 2.1 กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน ) และกิจการ NON-BOI (กาไร) ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มมี สิ ทธิ นาผลขาดทุนประจาปี ของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปหักออกจา กกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในระหว่างเวลาได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ตัวอย่าง บริ ษทั ผลิตกระแสไฟฟ้ า จากัด ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน โดยให้ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 8 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้จากกิจการส่ งเสริ ม (1 มกราคม 25X1) บริ ษทั มีผลประกอบการ ในรอบบัญชี 25X1 – 25X5 ดังนี้


29

ตารางที่ 3 การ คานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลา

ที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้

นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน) และกิจการ NON-BOI (กาไร) (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

การวิเคราะห์และคานวณ

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

25X1

(20)

8

-

- ขาดทุน (20 – BOI) สามารถนาหักจาก กาไร (8 - NON BOI) ได้ท้ งั จานวน ทาให้ไม่มี CIT

25X2

15

2

-

- ขาดทุน (BOI – 25X1) คงเหลือ 20 - 8 = 12 ล้านบาท สามารถนามาหักจาก กาไร (2 – NON BOI) ได้ท้ งั จานวน ทาให้ไม่มี CIT

25X3

(7)

18

1*30% = 0.3

- ขาดทุน (BOI – 25X1) คงเหลือจาก ปี 25X2 = 12 – 2 = 10 ล้านบาท สามารถนาหักกับกาไร (18 – NON BOI) ปี 25X3 คงเหลือ (NON BOI – 25X3) = 18 – 10 = 8 ล้านบาท - ขาดทุน (BOI – 25X3) 7 ล้านบาท นาหักจากกาไรคงเหลือของปี 25X3 (8 ล้านบาท) ทาให้ปี 25X3 มีกาไรที่ ต้องเสี ย CIT = 8 – 7 = 1 ล้านบาท

25X4

25

4

4*30% = 1.2

- กาไร (BOI) 25 ล้านบาทได้รับยกเว้น CIT - กาไร (NON BOI) 4 ล้านบาทต้อง เสี ย CIT


30

ตารางที่ 3 (ต่ อ) การ คานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลา

ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

เงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคล กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน) และกิจการ NON-BOI (กาไร) (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

การวิเคราะห์และคานวณ

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

25X5

(5)

13

8*30% = 2.4

- ขาดทุน (BOI – 25X5) 5 ล้านบาท นามาหักจากกาไร (NON BOI – 25X5) 13 ล้านบาท เหลือกาไร = 13 - 5 = 8 ล้านบาท ต้องเสี ย CIT

25X6

7

5

5*30% = 1.5

- กาไร (BOI) 25 ล้านบาทได้รับยกเว้น CIT - กาไร (BOI) 25 ล้านบาทได้รับยกเว้น CIT

25X7

(12)

9

-

- ขาดทุน (BOI – 25X5) 5 ล้านบาท นามาหักจากกาไร (NON BOI – 25X5) 13 ล้านบาท เหลือกาไร = 13 - 5 = 8 ล้านบาท ต้องเสี ย CIT

25X8

4

5

2*30% = 0.6

- กาไร (BOI) 25 ล้านบาทได้รับยกเว้น CIT - ขาดทุน (BOI – 25X5) 5 ล้านบาท นามาหักจากกาไร (NON BOI – 25X5) 13 ล้านบาท เหลือกาไร = 13 - 5 = 8 ล้านบาท ต้องเสี ย CIT

หมายเหตุ: การคานวณต้องใช้วธิ ี แบบเกิดก่อนใช้ก่อน(First-loss,First-use) (กรุ งเทพธุ รกิจ, 2551) คือการ นาผลขาดทุนสุ ทธิ ของรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้นก่อน ไปหักเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ ของรอบระยะเวลาบัญชีที่มีกาไรสุ ทธิ เป็ นปี แรกในช่วงเวลาไม่เกิน 5 ปี หลังจากปี ที่มีการ ขาดทุน สุ ทธิ ดงั กล่าว


31

2.2 กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน ) และกิจการ NON-BOI (กาไรและมีขาดทุนสะสม ) ผู้ ได้รับการส่ งเสริ มจะต้องนาผลขาดทุนประจาปี สะสมยกมาจากปี ก่อนของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลก่อน ถ้ากิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีกาไรสุ ทธิ เหลืออยู่ จึงมีสิทธิ นาผลขาดทุนประจาปี ของกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ไม่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลในระหว่างเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรมสรรพากรได้วางหลักเกณฑ์ให้กิจการใช้ขาดทุนสะสม (NON BOI) จนหมด ก่อนจึงค่อ ยนาขาดทุนสะสม (BOI) มาใช้หกั กาไรสุ ทธิ ประจาปี (NON BOI) ซึ่งวิธีการคานวณ ดังกล่าวเป็ นการให้สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีสูงสุ ดแก่กิจการ เนื่องจากขาดทุนสะสม (NON BOI) จะ มีสิทธิ ไปใช้ได้เพียงไม่เกิน 5 รอบบัญชี ตัวอย่าง บริ ษทั ผลิตกระแสไฟ จากัด โดยได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนให้ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 8 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้ (1 มกราคม 25X1) บริ ษทั มีผลประกอบการ ตั้งแต่รอบบัญชีปี 25X1 – 25X8 ดังนี้ ตารางที่ 4 การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้น ในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน) และกิจการ NON-BOI (กาไรและมีขาดทุนสะสม) (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี 25X1

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

5

(20)

-

การวิเคราะห์และคานวณ - กาไร (B) 5 ล้านบาท ไม่เสี ย CIT - ขาดทุน (NB) 20 ล้านบาท มีสิทธิยก ไปหักจากกาไร (NB) ได้ 5 ปี


32

ตารางที่ 4 (ต่ อ) การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้น ในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคล กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน) และกิจการ NON-BOI (กาไรและมีขาดทุนสะสม) (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

การวิเคราะห์และคานวณ

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

25X2

3

2

-

- กาไร (B) ไม่เสี ย CIT - ขาดทุน (NB – 25X1) 20 ล้านบาท นา หักกับกาไร (NB – 25X2) 2 ล้าน บาท ไม่ตอ้ งเสี ย CIT ปี 25X2

25X3

(10)

13

-

- ขาดทุน (NB – 25X1) = 20 – 2 = 18 ล้านบาท ถูกนามาหักจากกาไร (NB - 25X3) 13 ล้านบาท ได้ท้ งั จานวน จึงไม่เสี ย CIT ในปี 25X3

25X4

(12)

6

-

- ขาดทุน (NB – 25X1) คงเหลือ = 1813 = 5 ล้านบาท ถูกนามาใช้หกั จาก กาไร(NB – 25X4) 6 ล้านบาทก่อน คงเหลือกาไร (NB – 25X4) = 6 – 5 = 1 ล้านบาท จึงจะใช้ขาดทุน (B – 25X3) 10 ล้านบาท หักทาให้ไม่ตอ้ ง เสี ย CIT ในปี 25X4

25X5

8

(4)

-

- กาไร (B – 25X5) ไม่เสี ย CIT - ปี 25X5 กิจการNB มีผลขาดทุนจึงไม่ ต้องเสี ย CIT

25X6

11

3

-

- กาไร (B – 25X6) 11 ล้านบาท ไม่เสี ย CIT - กาไร (NB – 25X6) 3 ล้านบาท ให้นา ขาดทุน (NB – 25X5) 4 ล้านบาท มา หักก่อน ทาให้กิจการ NB ปี 25X6 ไม่เหลือกาไรจึงไม่เสี ย CIT


33

ตารางที่ 4 (ต่ อ) การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้น ในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคล กรณี กิจการ BOI (ขาดทุน) และกิจการ NON-BOI (กาไรและมีขาดทุนสะสม) (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

การวิเคราะห์และคานวณ

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

25X7

(2)

10

-

- กาไร (NB – 25X7) 10 ล้านบาท ให้นา ขาดทุนคงเหลือ (NB – 25X5) = 4 – 3 = 1 ล้านบาท มาหักก่อนคงเหลือ กาไร (NB - 25X7) = 10 – 1 = 9 ล้านบาท จึงค่อยนาขาดทุนคงเหลือ (NB – 25X3) 9 ล้านบาท มาหักซึ่ง ทาให้กิจการ NB ปี 25X7 ไม่เหลือ กาไรจึงไม่เสี ย CIT

25X8

9

15

1*30% = 0.3

- กาไร (B – 25X8) 9 ล้านบาท ไม่เสี ย CIT - กาไร (NB – 25X8) 15 ล้านบาท หัก ด้วยขาดทุน (B – 25X4) 12 ล้านบาท และขาดทุน (B – 25X7) 2 ล้านบาท ตามลาดับทาให้คงเหลือกาไร = 15 – 12 – 2 = 1 ล้านบาท จึงต้องเสี ย CIT = 30% ของ 1 ล้านบาท

2.3 ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มมีสิทธิ นาผลขาดทุนประจาปี คงเหลือ จากกิจการ BOI และ NON BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ ในรอบบัญชีหลังจากหมดสิ ทธิ บตั รได้ตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 2.3.1 ขาดทุนคงเหลือ – กิจการ BOI สามารถเลือกนาไปหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี หนึ่งปี ใดหรื อหลายปี ก็ได้


34

2.3.2 ขาดทุนคงเหลือ – กิจการ NON BOI สามารถนาไปหักจากกาไรสุ ทธิ ได้ ก) ต้องเป็ นขาดทุนสุ ทธิทางภาษี (taxable loss) ข) ต้องเป็ นขาดทุนสุ ทธิ ยกมาไม่เกิน 5 รอบบัญชี ค) วิธีการยกขาดทุนมาหักต้องเป็ นตามหลักเกิดก่อน -ใช้ก่อน (first loss, first use) ตามปกติ ตัวอย่าง บริ ษทั ผลิตไฟฟ้ าจากก๊าซชีวภาพ จากัด ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน โดยยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 3 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้จากกิจการส่ งเสริ ม ( 1 มกราคม 25X1) บริ ษทั มีผลประกอบการ (taxable profit and losses) ตั้งแต่รอบบัญชีปี 25X1 – 25X5 ดังนี้ ตารางที่ 5 การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้น ในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี มีขาดทุนคงเหลือจากกิจการ BOI และ NON BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ ในรอบบัญชีภายหลังหมด สิ ทธิบตั ร (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี 25X1

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

5

(20)

-

การวิเคราะห์และคานวณ - กาไร (B – 25X1) 5 ล้านบาท ไม่เสี ย CIT - ขาดทุน (NB – 25X1) 20 ล้านบาท มี สิ ทธิยกไปหักจากกาไรปี ถัดไปได้ 5 รอบบัญชี


35

ตารางที่ 5 (ต่ อ) การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงิน ได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี มีขาดทุนคงเหลือ จากกิจการ BOI และ NON BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ ในรอบบัญชี ภายหลัง หมดสิ ทธิบตั ร (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ)

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

การวิเคราะห์และคานวณ

BOI (B)

NON BOI (NB)

(CIT)

25X2

(15)

18

-

- กาไร (NB – 25X2) 18 ล้านบาท ต้องนาขาดทุน (NB – 25X1) 20 ล้านบาท มาหักก่อน ซึ่งทาให้กิจการ ไม่เหลือกาไร NB ในปี 25X2 จึงไม่ เสี ย CIT

25X3

3

1

-

- กาไร (B – 25X3) 3 ล้านบาท ไม่ตอ้ ง เสี ย CIT - กาไร (NB – 25X3) 1 ล้านบาท ต้อง นาขาดทุนคงเหลือ (NB – 25X1) จานวน = 20 – 16 = 2 ล้านบาท มา หักก่อน ซึ่งทาให้กิจการไม่เหลือ กาไร NB ในปี 25X3 จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT

25X4

หมด สิ ทธิบตั ร

5

4*30% = 1.2

- ปี 25X4 หมดสิ ทธิบตั ร จึงทาให้กาไร ทั้งหมด 5 ล้านบาท เป็ นNB - กาไร (NB – 25X4) 5 ล้านบาท กิจการ มีสิทธิเลือกว่าจะนาขาดทุนคงเหลือ จาก B หรื อ NB มาใช้ก็ได้ ในที่นี่ สมมติเลือกนาขาดทุนกิจการ B – 25X2 ดังนั้นบริ ษทั จึงต้องเสี ย CIT = 30%*(5 - 1) = 1.2 ล้านบาท


36

ตารางที่ 5 (ต่ อ) การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี มีขาดทุนคงเหลือ จากกิจการ BOI และ NON BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ ในรอบบัญชี ภายหลังหมด สิ ทธิบตั ร (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

25X5

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ) BOI (B) หมด สิ ทธิบตั ร

ภาษีเงินได้นิติ บุคคล

NON BOI (NB)

(CIT)

10

-

การวิเคราะห์และคานวณ

- กาไร (NB – 25X5) 10 ล้านบาท กิจการมีสิทธิเลือกว่าใช้สิทธิหกั ขาดทุนคงเหลือ (B – 25X2) เท่าใด หรื อไม่ ก็ได้ สมมติบริ ษทั เลือกวิธี หักขาดทุนดังกล่าวจานวน = 10 – 15 = (5) ล้านบาท จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 25X5 - ขาดทุนคงเหลือ (B – 25X2) จานวน 5 ล้านบาท สามารถยกไปหักกาไร NB ได้ถึงปี 25X8

การหักขาดทุนสุ ทธิกรณีได้ BOI หลายบัตร กรณี บริ ษทั มีโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในกิจการแต่ละประเภทมากกว่า

1

โครงการนั้น ก็ตอ้ งนารายได้และรายจ่ายของโครงการนั้นทุกโครงการในรอบระยะเวลาบัญชี เดียวกันมาคานวณเพื่อให้ได้ยอดกาไรสุ ทธิ หรื อขาดทุนสุ ทธิ หากปรากฏว่ามีผลขาดทุนสุ ทธิ (BOI) ให้นาไปหักจากกาไรสุ ทธิ (BOI) เสี ยก่อน จึงจะมีสิทธิ นาผลขาดทุนสุ ทธิ คงเหลือดังกล่าวไปหัก ออกจากกาไรสุ ทธิ (NON-BOI) ภายหลังหมดสิ ทธิบตั ร เป็ นเวลา 5 ปี โดยจะเลือกหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ได้


37

แนวคิดการหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ าย : BOI/NON BOI ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย (withholding tax (WHT)) หรื อที่เรี ยกกันในเชิงวิชาการในต่างประเทศ ว่า pay as you go หรื อ pay as you earn ถือเป็ นการชาระภาษีเงินได้ล่วงหน้า (advance tax payment) รู ปแบบหนึ่ง ซึ่ งผูเ้ สี ยภาษีมีสิทธิ เครดิตภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายในการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเงิน ได้ตอนปลายปี (ภ.ง.ด.50) ได้ (อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์, 2553: 53 - 57) กรณี ที่บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลในกิจการบริ การและสาธารณูปโภค ได้รับการ ส่ งเสริ มการลงทุน โดยได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 3 – 8 ปี แม้จะมีหน้าที่ตอ้ งยืน่ แบบ ภ.ง.ด.50 (ตอนปลายปี ) แต่ไม่ตอ้ งชาระภาษีเงินได้ฯ ดังนั้นผูจ้ ่ายเงินจึงไม่มีหน้าที่ตอ้ งหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย การรับและจ่ ายเงินปันผลในช่ วงได้ รับการส่ งเสริม บริ ษทั ฯได้รับส่ งเสริ มการลงทุน จ่ายเงินปั นผลให้แก่บริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ ในระหว่างเวลาที่ บริ ษทั ฯผูไ้ ด้รับส่ งเสริ มการลงทุนได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล บริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ ย่อมได้รับยกเว้น ไม่ตอ้ งนาเงินปั นผลไปคานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ทาให้บริ ษทั ฯผูจ้ ่ายเงินปั นผลจึงไม่มี หน้าที่ตอ้ งหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายแต่อย่างใด ในทางกลับกัน บริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ เมื่อได้รับเงินปั นผลจากบริ ษทั ฯที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุน ไม่ตอ้ งนาเงินปั นผลที่ได้รับดังกล่าวไปรวมคานวณเป็ นเงินได้ แต่เมื่อประกอบกิจการมีกาไรและได้ จ่ายเงินปั นผลให้แก่ 1. ผูร้ ับเงินปั นผลที่เป็ นบุคคลธรรมดา เมื่อบริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ ได้จ่ายเงินปั นผลดังกล่าวมี หน้าที่ตอ้ งหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 10 ของเงินปั นผล โดยไม่ตอ้ งนามารวมคานวณ กับเงินได้อื่นก็ได้ (ในกรณี เลือกนามารวมคานวณกับเงินได้อื่นจะได้รับเครดิตภาษี) 2. ผูร้ ับเงินปั นผลเป็ นบริ ษทั จากัดที่มิใช่บริ ษทั จดทะเบียน เมื่อบริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ ได้จ่ายเงิน ปั นผลให้แก่บริ ษทั จากัดผูร้ ับเงินปั นผล ไม่วา่ เงินปั นผลนั้นบริ ษทั จากัดผูร้ ับเงินปั นผลจะได้รับ


38

ยกเว้นไม่ตอ้ งนามารวมคานวณเป็ นรายได้ หรื อไม่ก็ตามบริ ษทั ฯผูจ้ ่ายเงินปั นผลยังคงมีหน้าที่ตอ้ ง หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 10 ของเงินปันผล การจ่ ายเงินปันผลแก่บริษัทต่ างประเทศ / หัก ณ ทีจ่ ่ ายเกิน 1. เงินปั นผลจากกิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และจะได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งรวมคานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้น้ นั จะต้องเป็ นเงินปั นผลที่ผไู ้ ด้รับการ ส่ งเสริ มจ่ายจากกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเท่านั้น ซึ่ งต้อง เป็ นเงินปัน ผลที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มจ่าย และผูร้ ับเงินปั นผลได้รับในระหว่างระยะเวลาที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ ม ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 2. กรณี บริ ษทั ฯ ที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนเป็ น ผูจ้ ่ายเงิน ได้หกั ภาษี ณ ที่จ่าย ไว้เกินไป หรื อหักภาษีไว้โดยไม่มีหน้าที่ตอ้ ง หักถือได้วา่ บริ ษทั ฯ เป็ นผูเ้ สี ยประโยชน์โดยตรงจากการหักภาษี และนาส่ งภาษีไว้โดยไม่มีหน้าที่ตอ้ งหัก บริ ษทั ฯ จึงมีสิทธิ ขอคืนภาษีที่หกั และนาส่ งไว้เกินไปได้ ในนามของบริ ษทั ฯ โดยให้ยนื่ คาร้องขอคืน (แบบ ค.10) ภายใน 3 วัน นับแต่วนั สุ ดท้ายแห่งกาหนด เวลายืน่ รายการภาษี 3. กรณี บริ ษทั ฯที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุน จ่ายเงินปั นผลให้แก่บุคคลธรรมดาซึ่ งเป็ นผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ฯมีหน้าที่ตอ้ งหักภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 10 ของเงินปันผล โดยผูถ้ ือหุน้ ซึ่งได้รับเงิน ปันผลและเลือกเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 10 ของเงินปันผล โดยไ ม่ตอ้ งนาไปรวมคานวณกับเงินได้ อื่นก็ได้ หากเลือกนามารวมคานวณกับเงินได้อื่นจะได้รับเครดิตภาษี แต่ถา้ ได้รับเงินปั นผลที่จ่าย จากกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ผูไ้ ด้รับเงินปั นผลจะไม่ได้เครดิตภาษี กิจการ BOI ต้ องแจ้ งสิ ทธิตามบัตรส่ งเสริมให้ ผ้ จู ่ ายเงินทราบ 1. บริ ษทั ฯ ได้รับบัตรส่ งเสริ มการลงทุน โดยได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ กาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการ ประกอบกิจการ อุทยานสัตว์น้ า มีกาหนดเวลา 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการ จึงมีผลให้บริ ษทั ฯ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากการประกอบ


39

กิจการอุทยานสัตว์น้ าตลอดเวลาที่ได้รับยกเว้น ดังนั้นผูจ้ ่ายเงินอุทยาน จึงไม่มีหน้าที่ตอ้ งหักภาษี เงินได้ ณ ที่จ่าย แต่อย่างใด โดยบริ ษทั ฯต้องถ่ายสาเนาบัตรส่ งเสริ มให้ผวู ้ า่ จ้างเพื่อแสดงว่าบริ ษทั ฯ ได้รับสิ ทธิและประโย ชน์ในการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับการประกอบกิจการ ดังกล่าว เมื่อบริ ษทั ฯ ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และนาส่ งแล้ว แต่บริ ษทั ฯ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล บริ ษทั ฯ มีสิทธิยนื่ คาร้องขอคืนภายใน 3 ปี นับแต่วนั สุ ดท้ายแห่งรอบระยะเวลาบัญชี 2. กรณี บริ ษทั ประกอ บกิจการรับจ้างพิมพ์เอกสาร บริ การบูธแสดง สิ นค้า ชัว่ คราว ฯลฯ เป็ นการรับจ้างทาของ และเป็ นกิจการที่บริ ษทั ฯ ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ผูจ้ ่ายเงินได้จึงมี หน้าที่หกั ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3 ของค่าบริ การ การจ่ ายค่ าจ้ างช่ วงแก่บริษัทที่ได้ ลดหย่อนอัตราภาษีเงินได้ 50% กรณี กิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุน พ้นกาหนดระยะเวลาที่ได้รับการส่ งเสริ มที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 5 ปี นับแต่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการไปแล้ว แต่ บริ ษทั ฯยังคงได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ มีกาหนดเวลา 5 ปี โดยนับต่อจากระยะเวลาที่ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลข้างต้น ผูว้ า่ จ้าง หรื อผูจ้ ่ายเงินค่าจ้างในกรณี น้ ีให้แก่บริ ษทั ฯ จึงมีหน้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้าง เนื่องจากบริ ษทั ฯได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ให้ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในแต่ละ รอบระยะเวลาบัญชี มิใช่เป็ นการให้ลดหย่อนภาษีหกั ณ ที่จ่าย ร้อยละ 50 ของอัตราปกติ ธนาคารไม่ ทราบว่าดอกเบีย้ ทีจ่ ่ ายเกิน 2% หรือไม่ ธนาคารไม่สามารถทราบในขณะที่จ่ายว่าดอกเบี้ยที่จ่ายนั้น มีจานวนไม่เกินร้อยละ 2 ของ รายได้ท้ งั สิ้ นของกิจการที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนหรื อไม่ ธนาคารฯ จึงมีหน้าที่ตอ้ งหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 1


40

การโอนขายอสั งหาริมทรัพย์ทไี่ ด้ รับการส่ งเสริม ณ กรมทีด่ ิน กรณี บริ ษทั ฯ ผูโ้ อนกรรมสิ ทธิ์ หรื อสิ ทธิ ครอบครองในอสังหาริ มทรัพย์ได้รับส่ งเสริ มการ ลงทุนประเภทกิจการที่อยูอ่ าศัย สาหรับผูม้ ีรายได้นอ้ ยหรื อรายได้ปานกลางได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลเป็ นเวลา 5 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้จากกิจการ ดังนั้นผูซ้ ้ื อหรื อผู ้ จ่ายเงินจึงไม่มีหน้าที่ตอ้ ง หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แนวคิดVAT : BOI กรณีนาเข้ า การที่กิจการได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนนั้น มิได้มีการยกเว้น VAT สาหรับการนาเข้า/การ ส่ งออก แต่อย่างใด ซึ่ งอาจจะมีการลดหย่อนผ่อนปรนอยูบ่ า้ งสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์ (2553: 9-38 ถึง 9-62) VAT: กรณีนาเข้ า กรณี ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มนาเข้าสิ นค้า วัตถุดิบ หรื อเครื่ องจักร อุปกรณ์ เข้ามาใน ราชอาณาจักรนั้น บริ ษทั ผูน้ าเข้า (ซึ่งได้ BOI) ดังกล่าวจะยังคงต้องถูกเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT 7%) จากการนาเข้า เช่นเดียวกันกับผูป้ ระกอบการทัว่ ไป แต่กรมสรรพากรได้มีการผ่อนปรนให้ บริ ษทั ที่ได้รับการส่ งเสริ มฯ มีสิทธิ เลือกใช้วธิ ี วางประกัน และถอนประกันฯ แทนการชาระ ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นตัวเงินก็ได้ ดังนี้ 1. การนาเข้าเครื่ องจักรหรื อการนาเข้าวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตเพื่อการส่ งออกของผู ้ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ผูน้ าเข้าจะวางเงินประกันหลักประกัน หรื อจัดให้มีผคู ้ ้ าประกันเพื่อเป็ น ประกันภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งชาระหรื อพึงชาระแทนการชาระภาษีมูลค่าเพิ่มก็ได้ สาหรับวิธี การวาง ประกันให้กระทาโดยการยืน่ หนังสื อค้ าประกันของธนาคารต่ออธิ บดีกรมศุลกากร ณ กรมศุลกากร หรื อ ณ ด่านศุลกากรที่อธิ บดีกรมศุลกากรกาหนด พร้อมกับหนังสื อของสานักงานคณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุน ซึ่ งแจ้งขอให้ผนู ้ าเข้าใช้หนังสื อค้ าประกันของธนาคารเป็ นประกันภาษีมูลค่าเพิ่ ม และการถอนประกันดังกล่าวให้กระทาได้เมื่อสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนได้มี


41

หนังสื อถึงอธิ บดีกรมศุลกากรรับรองว่าเครื่ องจักรหรื อวัตถุดิบดังกล่าวเป็ นของที่ได้รับอนุมตั ิให้ นาเข้าตามโครงการส่ งเสริ มการลงทุน และขอให้สงั่ ถอนประกันดังกล่าว 2. การวางประกันและกา รถอนประกันนั้น ผูน้ าเข้าจะใช้หนังสื อของสานักงาน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนเป็ นเสมือนหนังสื อค้ าประกันแทนหนังสื อค้ าประกันของธนาคาร และใช้หนังสื อดังกล่าวเป็ นหลักฐานในการถอนประกันด้วยก็ได้ในกรณี ดงั กล่าว หนังสื อของ สานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนจะต้องรับรองว่า เครื่ องจักรหรื อวัตถุดิบดังกล่าวเป็ นของ ที่ได้รับอนุมตั ิให้ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ตามโครงการที่ได้รับอนุมตั ิส่งเสริ มการลงทุนและขอให้ สั่งถอนประกันดังกล่าวด้วย 3. สาหรับเครื่ องจักรหรื อวัตถุดิบ จะต้องเป็ นเครื่ องจักรหรื อวัตถุดิบที่ได้รับการอนุมตั ิให้ ได้รับสิ ทธิประโยชน์ตามโครงการที่ได้รับอนุมตั ิส่งเสริ มการลงทุนและต้องนาเข้าเพื่อใช้ในกิจการ ต่อไปนี้ 3.1 กรณี เครื่ องจักร ต้องนาเข้าเพื่อใช้ในการผลิตหรื อการให้บริ การ 3.2 กรณี วตั ถุดิบ ต้องนาเข้าเพื่อใช้ในการผลิตเพื่อการส่ งออกเท่านั้น กรณี วตั ถุดิบที่ นาเข้าเพื่อใช้ท้ งั ในการผลิต เพื่อการส่ งออก และเพื่อขายในราชอาณาจักรด้วยให้วางประกันและ ถอนประกันได้เฉพาะวัตถุดิบที่นาเข้าเพื่อใช้ในการผลิตเพื่อการส่ งออกตามจานวนที่คณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุนรับรองเท่านั้น VAT: กรณีส่งออก กรณี บริ ษทั (BOI หรื อ NON BOI) ส่ งสิ นค้าไปยังต่างประเทศ บริ ษทั ผูส้ ่ งออกจะต้องเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราศูนย์ (VAT 0%) ตัวอย่าง ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนอัญมณี ได้รับคาสั่งซื้ อจากผูซ้ ้ื อในต่างประเทศ และ ผูป้ ระกอบการอัญมณี ดงั กล่าวได้ซ้ื อสิ นค้าดังกล่าวจากโรงงานผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในประเทศ โดยให้


42

โรงงานผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในประเทศเป็ นผูด้ าเนินพิธีการศุลกากรยืน่ ใบขนสิ นค้าขาออกในนามของ โรงงานผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในประเทศ เพื่อส่ งสิ นค้าออกนอกราชอาณาจักรเพื่อส่ งไปต่างประเทศ การที่โรงงานผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในประเทศ (BOI) ขายสิ นค้าให้แก่ผปู ้ ระกอบการอัญมณี ถือ เป็ นการ ขายสิ นค้าในราชอาณาจักร โรงงานผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในประเทศ

(BOI) มีหน้าที่ตอ้ งเสี ย

ภาษีมูลค่าเพิ่ม และต้องจัดทาใบกากับภาษีเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผูป้ ระกอบการอัญมณี กรณี ดงั กล่าวถือว่าผูป้ ระกอบการอัญมณี ซ่ ึ งได้รับคาสั่งซื้ อจากต่างประเทศเป็ นผูส้ ่ งออก และได้รับสิ ทธิ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ตัวอย่าง ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนอัญมณี ได้รับคาสัง่ ซื้ อจากผูซ้ ้ื อในต่างประเทศ และ ผูป้ ระกอบการอัญมณี ผลิตสิ นค้าเพื่อส่ งออกดังกล่าวจากโรงงานผูผ้ ลิต หรื อผูข้ ายในประเทศเพื่อ ส่ งออก แต่ได้ส่งมอบสิ นค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศตามคาสั่งจากโรงงานผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายในประเทศ เพื่อส่ งออก แต่ได้ส่งมอบสิ นค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศตามคาสั่งซื้ อของผูซ้ ้ื อในต่างประเทศ โดยที่ สิ นค้าดังกล่าวไม่ได้ออกนอกราชอาณาจักรเพื่อส่ งไปต่างประเทศ ถือเป็ นการขายสิ นค้าใน ราชอาณาจักร ผูป้ ระกอบการอัญมณี มีหน้าที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากผูซ้ ้ื อในต่างประเทศ กรณี ผปู ้ ระกอบการส่ งมอบสิ นค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศตามคาสั่งซื้ อของผูซ้ ้ื อใน ต่างประเทศถือว่าผูซ้ ้ื อในต่างประเทศขายสิ นค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศ เมื่อลูกค้าในประเทศจ่ายเงิน ค่าซื้ อสิ นค้าให้แก่ผซู ้ ้ื อในต่างประเทศ ลูกค้าในประ เทศมีหน้าที่นาส่ งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผซู ้ ้ื อใน ต่างประเทศมีหน้าที่เสี ยภาษี กรณี ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนอัญมณี ได้ขายสิ นค้าให้แก่ผซู ้ ้ื อในต่างประเทศ แต่ผซู ้ ้ื อใน ต่างประเทศได้กาหนดให้ผปู ้ ระกอบการอัญมณี ส่งมอบสิ นค้าให้แก่ตวั แทนของผูซ้ ้ื อซึ่ งอยูใ่ น ราชอาณาจักร ถือ เป็ นการขายสิ นค้าในราชอาณาจักรและผูป้ ระกอบการอัญมณี มีหน้าที่ตอ้ งเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มโดยต้องจัดทาใบกากับภาษีเรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ื อในต่างประเทศ


43

ตัวอย่าง

ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนอัญมณี นาสิ นค้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเขต

อุตสาหกรรมส่ งออกนั้น ผูป้ ระกอบการอัญมณี จะได้รับสิ ทธิ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ดังนั้นอาจจะกล่าวได้วา่ บริ ษทั ที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนจะไม่ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ทาง ภาษีมูลค่าเพิ่มใดๆ โดยตรงจากการขายสิ นค้าในประเทศ (VAT 7%) และการส่ งออก (VAT 0%) ผลงานวิจัยและงานศึกษาทีเ่ กีย่ วข้ อง ชุติมา กมลศิรินนั ท์ (2548) ได้ศึกษาปั ญหาสาหรับกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนใน ด้านภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรพบว่า ทัศนคติของผูท้ าบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุนมีความยุง่ ยากเรื่ องรายได้ที่ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ในการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เนื่องจากมี หลายประเภท เช่น การคานวณกาลังการผลิตสู งสุ ดในกรณี ที่มีบตั รเริ่ มต้นหรื อหมดอายุระหว่างปี และกรณี ที่มีการขอกาลังการผลิตเพิ่มระหว่างปี แต่อย่างไรก็ตาม ผูท้ าบัญชีมีความเห็นว่า การรับการส่ งเสริ มการลงทุนแม้จะมีความยุง่ ยาก ในการจัดทาบัญชี แต่ถา้ เทียบเป็ นตัวเงินแล้วก็คุม้ ค่าในด้านของภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้รับการ ยกเว้น ยังเป็ นการพัฒนาและส่ งเสริ มให้องค์กรมีความเป็ นมาตรฐานมากขึ้น ช่วยให้กิจการมีการ กากับดูแลที่ดี ทาให้กิ จการน่าเชื่อถือมากขึ้นและสามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ ยกเว้นบางกิจการมี ความเห็นว่าการได้รับสิ ทธิ ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลมีความคุม้ ค่าในระดับน้อยและน้อยที่สุด เนื่องจากมีกฎหมายบางตัวที่รองรับและส่ งเสริ มอยูแ่ ล้ว เช่น กิจการเดินเรื อที่มีการได้รับยกเว้นภาษี ตามพระราชบัญญัติการเดินเรื ออยูแ่ ล้ว เป็ นต้น เยาวเรศ ธรรมารัตน์ (2545) ได้ศึกษาแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีสาหรับกิจการที่ได้รับการ ส่ งเสริ มการลงทุนพบว่า ขั้นตอนและพิธีการ กิจการจะต้องศึกษาประเภทของกิจการที่ดีรับการ ส่ งเสริ มและยืน่ คาขอรับการส่ งเสริ มการลงทุน เมื่อได้รับการพิจารณาโครงการและได้รับแจ้งอนุมตั ิ โครงการต้องมีการรายงานผลการดาเนินงานทุก 6 เดือนนับจากวันที่ในบัตรส่ งเสริ มการลงทุน


44

การจัดทาบัญชีของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มนั้นต้องมีการจัดทาผังบัญชีที่มีการกาหนด รหัสบัญชีแยกสาหรับกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและกิจการที่ไม่รับการส่ งเสริ มการ ลงทุน เพื่อความถูกต้องและความสะดวก ในการจัดทารายงานรายได้และรายจ่าย และการคานวณ กาไรและขาดทุนสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ควรมีการวางแผนเกี่ยวกับกาลังการผลิต ของเครื่ องจักร เพื่อให้สอดคล้องกับการจาหน่ายและได้รับสิ ทธิ ตามขนาดหรื อปริ มาณการผลิตต่อปี ที่ระบุไว้ในบัตรส่ งเสริ ม ในการจัดทา งบการเงินต้องมีการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินเกี่ยวกับสิ ทธิ ประโยชน์และเงื่อนไขการส่ งเสริ มการลงทุนและให้เปิ ดเผยรายละเอียดรายได้และรายจ่ายสาหรับ กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ในการคานวณกาไรแ ละขาดทุนสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการต้องแยกแสดง รายได้และรายจ่ายสาหรับกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีและที่ไม่ได้รับการยกเว้นภาษีออกจากกัน เพื่อยืน่ แบบแสดงรายการผูเ้ สี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ปั ญหาด้านรายจ่ายหากกิจการไม่สามารถแยก ได้อย่างชัดเจนว่าเป็ นข องกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีหรื อมาได้รับการยกเว้นภาษี กิจการจะใช้ วิธีการปั นส่ วนรายจ่ายดังกล่าวตามอัตราส่ วนของรายได้ของแต่ละกิจการ เพื่อให้สอดคล้องกับ แนวทางปฏิบตั ิที่กรมสรรพากรได้ให้ไว้ ปั ญหาในด้านการจาหน่ายหรื อการทาลายผลพลอยได้ กิจการจะต้องพิสูจน์ได้วา่ เป็นของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจริ ง และยังไม่ได้มีการแปรรู ป ผลิตภัณฑ์ กนกพรรณ อุดมอิทธิพงศ์ (2536) ได้ศึกษากฎหมายภาษีอากรกับการส่ งเสริ มการลงทุน พบว่า ภาษีอากรเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึ่งที่นกั ลงทุนจะคานึงถึงและนามาพิจารณา ประกอบการตัดสิ นใจในการจะเข้า ไปลงทุนในประเทศใดประเทศหนึ่ง ดังนั้น หากประเทศไทยยัง มีนโยบายที่จะส่ งเสริ มและดึงดูดให้มีการลงทุนทั้งจากภายในและต่างประเทศแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม สิ ทธิ ประโยชน์พิเศษทางภาษีอากรตามกฎหมายส่ งเสริ มการลงทุนก็อาจ ไม่มีความหมายหรื อประโยชน์ใดๆสาหรับผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มเลย หากการตีความการบังคับใช้ บทบัญญัติของกฎหมายไม่สอดคล้องตรงตามเจตนารมณ์ของกฎหมายในเรื่ องนั้นๆที่ตอ้ งการใช้


45

สิ ทธิ พิเศษแก่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มกา รลงทุน เช่น การตีความบทบัญญัติของกฎหมายที่ทาให้ผไู ้ ด้รับ การส่ งเสริ มต้องแบกรับภาระภาษีอากรมากกว่าหรื อเท่าๆกับบุคคลที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม และ ปั ญหาในส่ วนของผลกระทบจากการปรับปรุ งโครงสร้างภาษีอากรใหม่ เช่น บทบัญญัติของ กฎหมายที่ออกมาภายหลัง มีผลทาให้ผไู้ ด้รับการส่ งเสริ มมีภาระภาษีมากขึ้นกว่าเดิม เป็ นต้น นันทิยา อินบุรี (2548) ได้ศึกษาปั ญหาการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีสาหรับธุ รกิจที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลาพูนพบว่า ในการคานวณ กาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีสาหรับธุ รกิจที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนมีปัญหามากกว่า การคานวณกาไร สุ ทธิ ของกิจการปกติที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ในประเด็นด้านการกาหนดวันที่เริ่ มได้สิทธิ ประโยชน์ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุน ปั ญหาด้านการกาหนดรายได้ที่จะนาไปรวมคานวณกาไร สุ ทธิ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ปัญหาด้านการเฉลี่ยรายได้เพื่อนาไป คานวณกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มกรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนบางส่ วน และ ปั ญหาด้านการเฉลี่ยรายจ่ายเพื่อนาไปคานวณกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มกรณี ได้รับ การส่ งเสริ มการลงทุนบางส่ วน ศิริลกั ษณ์ ปลื้มจิตต์ (2549) ได้ศึกษานโยบายการบัญชีและผลกระทบต่องบการเงิน เปรี ยบเทียบก่อนและหลังการหมดสิ ทธิ และประโยชน์ทางภาษี กรณี ศึกษา บริ ษทั ที่ได้รับส่ งเสริ ม การลงทุนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า กาไรสุ ทธิ ก่อนเสี ยภาษีรอบ ระยะเวลาบัญชีแรกภายหลังการหมดสิ ทธิและประโยชน์ทางภาษี มีอตั ราต่ากว่ากาไรสุ ทธิ ก่อนภาษี รอบระยะเวลาสุ ดท้ายก่อนการหมดสิ ทธิ และประโยชน์ทางภาษี


บทที่ 3 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือไอนา้ คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนได้มีการจัดแบ่งประเภทกิจการที่มีสิทธิ ขอยืน่ เป็ นผูร้ ับการ การส่ งเสริ มการลงทุนออกเป็ น 7 ประเภทด้วยกัน และยังได้ให้ความสาคัญกับกิจการที่มีประโยชน์ ต่อประเทศ และช่วยยกระดับชีวติ ความเป็ นอยู่ รวมทั้งการกระจายรายได้สู่ภูมิภาคมากขึ้น ซึ่ งกิจการ สาธารณูปโภคและบริ การพื้นฐานเป็ นหนึ่งในกิจการที่ได้รับความสาคัญเป็ นพิเศษ ประเภทกิจการสาธารณูปโภคและบริการพืน้ ฐาน 1. กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า 2. กิจการผลิตน้ าประปาหรื อน้ าเพื่ออุตสาหกรรม 3. กิจการทางสัมปทาน 4. กิจการขนถ่ายสิ นค้าสาหรับเรื อเดินทะเล 5. กิจการสถานที่ตรวจปล่อยและบรรจุสินค้าเข้าตูค้ อนเทรนเนอร์ 6. กิจการสนามบินพาณิ ชย์ 7. กิจการโทรคมนาคม 8. กิจการบริ การโทรศัพท์ 9. กิจการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ


47

โดยผูจ้ ดั ทาได้ การศึกษา ถึง กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า เฉพาะกรณี ที่ใช้พลังงาน หมุนเวียน ซึ่ งเป็ นกิจการประเภทที่ได้รับความสาคัญเป็ นพิเศษจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน เช่น (สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแห่งชาติ, 2542) 1. เชื้อเพลิงชีวมวล เป็ น สารทุกรู ปแบบที่ได้จากสิ่ งมีชีวติ รวมทั้งการผลิตจากการเกษตร และป่ าไม้ เช่น ไม้ฟืน แกลบ กากอ้อย วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอื่นๆ รวมทั้งของเสี ยจากสัตว์ เช่น มูลสัตว์และของเสี ยจากโรงงานแปรรู ปทางเกษตร และขยะมาผลิตก๊าซชีวภาพ ในการผลิต พลังงานจานวนเท่าๆกันต้อง ใช้ไม้ฟืนในปริ มาตรที่มากกว่าน้ ามันและถ่าน ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้ ในครัวเรื อน 2. พลังงานน้ า เป็ น พลังงานที่ได้มาจากแรงอัดดันของน้ าที่ปล่อยจากอ่างเก็บน้ าเหนือ เขื่อน น้ าที่ปล่อยไปนี้จะได้รับการทดแทนทุกปี โดยฝนหรื อการละลายของหิ มะ แต่ในการก่อสร้าง อ่างเก็บน้ าจะมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยต้องสู ญเสี ยพื้นที่ป่าไม้ ต้องมีการอพยพสัตว์ป่าและ ชาวบ้านที่อาศัยอยูใ่ นบริ เวณนั้น ทาให้ชีวติ ความเป็ นอยูแ่ ละสภาพแวดล้อมบริ เวณดังกล่าว เปลี่ยนแปลงไป 3. พลังงานแสงอาทิตย์ ได้มาจากการแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์ ซึ่ งนามาใช้เป็ นพลังงาน ความร้อน และการสังเคราะห์แสง หรื อโดยผ่านอุปกรณ์รับแสง เช่นเซลล์แสงอาทิตย์ เพื่อ เปลี่ยนเป็ นพลังงานไฟฟ้ าและความร้อน เพื่อนาไปใช้งานต่อไป 4. พลังงานลม เกิดจากการเคลื่อนตัวของอากาศ ถ้าอากาศเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วสู งจะทา ให้มีพลังงานมาก ซึ่งสามารถนามาใช้หมุนกังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งได้รับการจัดกลุ่มให้เป็ นกิจการเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานและพลังงานทดแทน ตัวอย่างกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือไอนา้ บริ ษทั ไทยออยล์เพาเวอร์ จากัด (ร่ วมทุนไทย - ญี่ปุ่น) ประกอบกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ า หรื อไอน้ า บริ ษทั พลังงานสุ ขสมบูรณ จากัด (หุ น้ ไทยทั้งสิ้ น) ประกอบกิจการไฟฟ้ าจากก๊าซชีวภาพ บริ ษทั ผลิตไฟฟ้ าอิสระ (ประเทศไทย) จากัด (หุ น้ ไทยทั้งสิ้ น) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ า


48

บริ ษทั เท็กซ ไทล เพรสท จี จากัด (มหาชน) (ร่ วมทุนไทย - ญี่ปุ่น - สวิตเซอร์แลนด์ ) ผลิต แผ่นใยสังเคราะห์ (NON - WOVENFABRIC) บริ ษทั อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 3 จากัด (หุ น้ ไทยทั้งสิ้ น) ประกอบกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ า หรื อไอน้ า บริ ษทั โรงไฟฟ้ าบ้านตาก จากัด ประกอบกิจการผลิตกระแสไฟฟ้ า บริ ษทั โรงไฟฟ้ าไบโอแก๊สคุระบุรี จากัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้ าจากก๊าซชีวภาพ


บทที่ 4 ผลการศึกษา คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนได้จดั แบ่งประเภทกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน เป็ น 7 ประเภท ซึ่ งกิจการบริ การและสาธารณูปโภคเป็ นหนึ่งในกิจการที่ได้รับการส่ งเ ลงทุน และมีกิจการที่ได้รับความสาคัญเป็ นพิเศษ คือ กิจการสาธารณูปโภคแล

สริ มการ

ะบริ การพื้นฐาน

ได้แก่ 1. กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า 2. กิจการผลิตน้ าประปาหรื อน้ าเพื่ออุตสาหกรรม 3. กิจการทางสัมปทาน 4. กิจการขนถ่ายสิ นค้าสาหรับเรื อเดินทะเล 5. กิจการสถานที่ตรวจปล่อยและบรรจุสินค้าเข้าตูค้ อนเทนเนอร์ 6. กิจการสนามบินพาณิ ชย์ 7. กิจการโทรคมนาคมดาวเทียม 8. กิจการบริ การโทรศัพท์ 9. กิจการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ การศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ซึ่งเป็ นประเภท กิจการที่ให้การส่ งเสริ มการลงทุนเป็ นพิเศษในกลุ่มใช้พลังงานหมุนเวียน เช่นพลังงานจากวัสดุทาง การเกษตร ก๊าซชีวภาพ และพลังงานลม เป็ นต้น โดยประกอบไปด้วย 2 ส่ วน ดังนี้


50

ส่ วนที่ 1 สิ ทธิประโยชน์ สานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ได้ เล็งเห็น ถึงความสาคัญของ กิจการผลิต พลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า เนื่องจากทาให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและความคุม้ ค่าในการใช้สิทธิ และ ประโยชน์จากภาษีอากร ซึ่ งกิจการ ที่มีความสนใจจะขอรับการส่ งเสริ มนั้น จะต้อง ตั้งเป็ นบริ ษทั มูลนิธิ หรื อสหกรณ์ และจึง ขอรับการส่ งเสริ มการลงทุนให้แล้วเสร็ จภายใน 180 วัน นับตั้งแต่ กิจการได้ตอบรับมติคณะกรรมการแล้ ว เมื่อกิจการผ่านการอนุมตั ิแล้ว จะต้องตอบรับมติภายใน 30 วัน และส่ งเอกสารประกอบการออกบั ตรส่ งเสริ มภายใน 180 วัน นับตั้งแต่วนั ตอบรับมติที่ สานักงานเลขานุการ นอกจากนี้ยงั ได้มีการสนับสนุนให้อุตสาหกรรมพัฒนาระบบคุณภาพ และมาตรฐานการ ผลิต โดยต้องมีการดาเนินงานให้ได้รับใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน

ISO 9000 หรื อ

มาตรฐานสากลอื่นเทียบเท่า และให้การสนับสนุ นการลงทุนในระดับภูมิภาค หรื อท้องถิ่นที่มีรายได้ ต่า ให้ได้รับสิ ทธิและประโยชน์ดา้ นภาษีอากรสู งสุ ด ส่ วนหลักเกณฑ์การให้สิทธิ ประโยชน์น้ นั โครงการที่จะได้รับอนุมตั ิจาก คณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุน ต้องมีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียนไม่เกิน 3 ต่อ 1 สาหรับโครงการริ เริ่ ม ส่ วนโครงการขยายจะพิจารณาตามความเหมาะสมเป็ นรายๆไป โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) จะต้องแนบรายงานศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ และสาหรับการถือหุน้ ของนักลงทุนต่างชาติ ต้องมีผมู ้ ีสัญชาติไทยถือหุ น้ รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน นอกจากนี้ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ยงั ไม่ เคยได้รับการส่ งเสริ ม หรื อกิ จการ เดิมที่มีระยะเวลาการยกเว้นและลด หย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้ นสุ ดลง แล้ว สามารถยืน่ ขอรับการ ส่ งเสริ มการลงทุน ได้ แต่ตอ้ งเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรเพื่อนาไปสู่ เทคโนโลยีที่ ทันสมัย เพื่อให้เกิดการใช้ พลังงาน ลดลง หรื อเพื่อให้มีการนา พลังงานทดแทน มาใช้ หรื อเพื่อ ลด ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ไม่วา่ จะเป็ นลดปริ มาณของเสี ย น้ าเสี ย หรื ออากาศเป็ นพิษ ทั้งนี้จะต้องยืน่ คาขอรับการส่ งเสริ มภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และต้องดาเนินการให้แล้วเสร็ จภายใน 3 ปี นับจากวันที่สานักงานออกบัตรส่ งเสริ มให้


51

กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า จะได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษี อากร ได้แก่ 1. อนุญาตให้คนต่างด้าว คือ ช่างฝี มือและคู่สมรส ผูช้ านาญและคู่สมรส เข้ามาเพื่อศึกษา ลู่ทางการลงทุน หรื อกระทาอย่างอื่นที่เป็ นประโยชน์ต่อการลงทุน 2. อนุญาตให้กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มถือกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน เพื่อประกอบกิจการที่ได้รับ การส่ งเสริ มการลงทุน 3. อนุญาตให้กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มที่มีภูมิลาเนานอกประเทศไทยสามารถนาหรื อส่ ง เงินออกนอกประเทศไทยเป็ นเงินตราต่างประเทศได้

เช่น เงินทุน เงินปั นผลที่เกิดจากการลงทุน

เงินกูต้ ่างประเทศพร้อมดอกเบี้ย เป็ นต้น รวมถึง กิจการฯ ยังจะได้รับหลักประกันจากรัฐบาล เช่น รัฐจะไม่โอนกิจการของผูไ้ ด้รับ การส่ งเสริ ม การลงทุน มาเป็ นของรัฐ รัฐจะไม่ประกอบกิจการขึ้นใหม่แข่งขัน และรัฐจะไม่ผกู ขาด การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันกับผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ ม ฯลฯ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอ น้ า จะได้รับสิ ทธิและประโยชน์ดา้ นภาษีอากร โดยจะ ได้รับการยกเว้น ดังนี้ 1. อากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักร ของกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า จะได้รับการ ยกเว้นทั้งจานวน 2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า

เป็ นกิจการที่ได้รับ

ความสาคัญเป็ นพิเศษจึงได้รับการยกเว้นเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากกิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ ม 2.1 เมื่อกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า สิ้ นสุ ดระยะเวลาที่ได้รับ สิ ทธิ ยกเว้นภาษี นิติบุคคลตามระยะเวลาดังกล่าวแล้ว สามารถรับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ


52

ที่ได้จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติได้อีกด้วย เป็ นระยะเวลา 5 ปี นับแต่วนั สิ้ นสุ ดที่ กิจการได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ตัวอย่างเช่น บริ ษทั กขค จากัด เริ่ มมีรายได้วนั ที่ 1 ม.ค. 2530 ได้หมดสิ ทธิจากการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในวันที่ 1 ม.ค. 2538 แต่ยงั มีสิทธิ หลัง จากนั้นอีก 5 ปี คือ ภายในวันที่ 1 ม.ค. 2543 ที่จะได้รับ สิ ทธิ ลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยจะ เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ในอัตราร้อยละ 15 ของกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการลงทุน เนื่องจากอัตราปกติ ของการเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริ ษทั ฯนี้ มีอตั ราร้อยละ 30 2.2 กิจการเดิมที่มีระยะเวลาการยกเว้นและลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้ นสุ ดลง แล้ว หรื อกิจการที่ยงั ไม่เคยได้รับการส่ งเสริ ม สามารถยืน่ ขอรับการส่ งเสริ มการลงทุนได้ แต่ตอ้ ง เสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรเพื่อนาไปสู่ เทคโนโลยีที่ทนั สมัยจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 3 ปี นับจากวันที่มีรายได้ภายหลังได้รับการส่ งเสริ ม ในสัดส่ วนร้อยละ 70 ของเงินลงทุน (ไม่รวมที่ดินและทุนหมุนเวียน ) ตัวอย่างเช่น จากตัวอย่างข้อ 2.1 บริ ษทั กขค จากั ด ได้หมดสิ ทธิ จากการได้รับลดหย่อน ภาษีเงินได้นิติบุคคล ไปแล้ว ดังนั้นหลังจากนี้ถึงวันที่ 1 ม.ค. 2546 รวมเป็ นระยะเวลา 3 ปี จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยในวันที่ 15 มี.ค. 2543 บริ ษทั ฯ ได้ต่อเติม อาคารสานักงาน เพิ่มเติม และซื้ อเครื่ องจักรพร้อมโปรแกรม เพื่อให้เกิดการใช้พลังงาน ลดลง รวมทั้งสิ้ นเป็ นเงิน 1,000,000 บาท ซึ่งบริ ษทั ฯจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นจานวน 700,000 บาท (1,000,000×0.70) ด้านรายได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เช่น รายได้จากการให้บริ การ ซึ่ งจะต้อง ไม่เกินปริ มาณการผลิตต่อปี หรื อไม่เกินขนาดของกิจการที่ให้บริ การตามที่ระบุในบัตรส่ งเสริ ม รายได้จากการจาหน่ายผลพลอยได้ตอ้ งตามชนิดและปริ มาณที่ระบุในบัตรส่ งเสริ ม ส่ วนรายได้ จากการขายเครื่ องจักร ส่ วนประกอบ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ และทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการ ได้หมดสภาพการใช้งานแล้ว แต่หากเป็ นเครื่ องจักร ส่ วนประกอบฯลฯ ที่ใช้ในกิจการ NON-BOI รายได้ที่ได้จากการขายนี้ ให้เฉลี่ยทั้งกิจการ BOI และกิจการ NON-BOI หากกิจการมีรายได้จาก ดอกเ บี้ยหรื อรายจ่ายอื่นที่เกิดจากการประกอบธุ รกิจก็ตอ้ งพิจารณาว่าต้องเป็ นดอกเบี้ยเงินฝาก ประเภทออมทรัพย์ที่ใช้สมุดคู่ฝากในการฝากถอนและต้องมีจานวนรวมกันไม่เกินร้อยละ

2 ของ


53

รายได้ที่ได้รับการส่ งเสริ มในรอบระยะเวลาบัญชี หากเป็ นรายได้จากกาไรจากการปริ วรรตเงินตราก็ จะต้องเกิดจากการดาเนินกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน 2.3 ด้านรายจ่ายที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เช่น ค่าไฟฟ้ าและประปา สามารถหักได้ 2 เท่าของจานวนเงินที่เสี ยไป ส่ วนค่าขนส่ งหักได้ 2 เท่าของจานวนเงินที่เสี ยไป เฉพาะค่าขนส่ งภายในประเทศเท่านั้น เป็ นระยะเวลา 10 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากกิจการที่ได้รับ การส่ งเสริ ม ค่าติดตั้งหรื อก่อสร้างถนน ท่าเทียบเรื อ กา รวางท่อสาหรับการขนส่ ง การปั กเสา พาด สายของระบบไฟฟ้ า เป็ นต้น สามารถหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ได้ โดยไม่เกิน ร้อยละ 25ของเงินที่ได้ ลงทุนในการติดตั้งสิ่ งนั้น

ทั้งนี้นอกเหนือไปจากการหักค่าเสื่ อมราคา

ตามปกติ 2.4 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงินปั นผลไปรวม คานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้ ตลอดระยะเวลาที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล นั้น 3. อากรวัตถุดิบเพื่อผลิตส่ งออก จะได้รับการยกเว้นอากรวัตถุดิบเพื่อผลิตส่ งออกเป็ นปี ต่อปี 4. ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า แม้จะมีหน้าที่ตอ้ งยืน่ ภ.ง.ด.50 แต่ไม่ตอ้ งชาระภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย นอกจากนี้ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า

จะไม่ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ทาง

ภาษีมูลค่าเพิ่มใดๆโดยตรงจากการขายสิ นค้าในประเทศ(VAT 7%) และการส่ งออก(VAT 0%) ส่ วนที่ 2 คานวณกาไรสุ ทธิและขาดทุนสุ ทธิ การคานวณกาไรสุ ทธิ /ขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการสาธารณูปโภคและบริ การพื้นฐานจะได้รับ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุ ทธิ โดยคณะกรรมการจะกาหนดเป็ นสัดส่ วนของเงิน ลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน และเวลาไม่เกิน 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการ


54

ประกอบกิจการนั้น ในการคานวณกาไรสุ ทธิ /ขาดทุ นสุ ทธิ ควรแยกรายได้และรายจ่าย หากกิจการ ไม่สามารถแยกรายได้และรายจ่ายได้อย่างชัดเจน ด้านการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน แบ่ง เป็ นกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และกิจการทั้งที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและ ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และในการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ กิจการจะต้อง นากาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการทั้งที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและไม่ได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลมารวมเข้า ด้วยกันเพื่อหากาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ มีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. กรณี ผลการดาเนินงานรวมมีกาไรสุ ทธิ 1.1 ถ้ามีกาไรสุ ทธิ ท้ งั 2 กิจการ กิจการ NON-BOI จะต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล เท่านั้น 1.2 ถ้ากิจการ NON-BOI มีกาไรสุ ทธิ มากกว่าผลขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ BOI กิจการ จะต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลจากจานวนกาไรสุ ทธิ รวม 1.3 ถ้ากิจการ BOI มีกาไรมากกว่าผลขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ NON-BOI กิจการจะ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเต็มจานวนกาไรสุ ทธิ รวม 2. กรณี ที่ผลการดาเนินงานรวมไม่มีกาไรสุ ทธิ 2.1 ถ้าผลการดาเนินงานรวมไม่มีกาไรสุ ทธิ กิจการจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล แม้วา่ กิจการ NON-BOI จะมีกาไรสุ ทธิ ก็ตาม 3. กรณี การนา “ขาดทุนสุ ทธิ -BOI” ไปหักจาก “กาไรสุ ทธิ NON-BOI” 3.1 ถ้ากิจการ BOI หากมีผลขาดทุนสะสม สามารถนาไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ภายหลังที่หมดอายุของบัตรส่ งเสริ มได้ไม่เกิน 5 ปี โดยจะเลือกหักออกจากปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ ได้


55

3.2 ถ้ากิจการ BOI ขาดทุนสุ ทธิ และกิจการ NON-BOI มีกาไรสุ ทธิ กิจการมีสิทธิ นา ผลขาดทุนประจาปี ของกิจการ BOIไปหักออกจากกาไรของกิจการ NON-BOIได้ 3.3 ถ้ากิจการ BOI ขาดทุนสุ ทธิ และกิจการ NON-BOI มีท้ งั กาไรสุ ทธิ และขาดทุน สุ ทธิ กิจการต้องนาผลขาดทุนสะสมประจาปี ของกิจการ NON-BOI มาใช้ก่อน หากยังมีกาไร เหลืออยู่ สามารถนาผลขาดทุนประจาปี ของกิจการ BOI ไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ของกิจการ NONBOI ได้ กรณีศึกษาที่ 1 บริ ษทั XYZ จากัด ได้รับบัตรส่ งเสริ มลงวันที่ 15 ธันวาคม 2552 เปิ ดดาเนินการเมื่อ 1 เมษายน 2554 โดยเริ่ มมีรายได้ต้ งั แต่ 15 มีนาคม 2554 บริ ษทั ได้รับสิ ทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 8 ปี ผลการดาเนินงานของบริ ษทั XYZ จากัด ปี 2554 มีดงั นี้ รายได้ ขายต่างประเทศ

200,000

ขายผลพลอยได้

66,500

ดอกเบี้ยฝากออมทรัพย์

3,500

กาไรจากการขายสิ นทรัพย์ กาไรจากการปริ วรรตเงินตรา รวมรายได้

0 30,000 300,000

ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุน

180,000

ค่าใช้จ่ายในการขาย

40,000

ค่าใช้จ่ายในการบริ การ

55,000

ดอกเบี้ยจ่าย

15,000

รวมค่าใช้จ่าย

290,000

กาไรขาดทุนสุ ทธิ

10,000


56

ข้อมูลเพิ่มเติม รายได้จากการขายผลพลอยได้ เป็ นรายได้จากการขายเศษซากที่เหลือจากการผลิตให้แก่ บุคคลภายนอก และมีการนาเศษซากส่ วนหนึ่งนาไปผ่านกระบวนการผลิตเพื่อจาหน่ายต่อ มูลค่า การจาหน่าย เท่ากับ 30,000 บาท ตารางที่ 6 แสดงการคานวณการปรับปรุ งกาไร(ขาดทุน)ของกิจการที่ประกอบกิจการที่ได้รับการ ส่ งเสริ มการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน รายการ รายได้ ขายต่างประเทศ ขายผลพลอยได้ ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ กาไรจากการขายสิ นทรัพย์ กาไรจากการปริ วรรตเงินตรา รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ การ ดอกเบี้ยจ่าย รวมค่ าใช้ จ่าย กาไร(ขาดทุน)สุ ทธิ ภาษีเงินได้ นิติบุคคล

BOI

ยกเว้น

NON-BOI 200,000 36,500 3,500 0 30,000 270,000

0 30,000 0 0 0 30,000

170,000 40,000 49,500 15,000 274,500 (4,500)

10,000 0 5,500 0 15,500 14,500 เสี ยภาษี


57

รายการปรับปรุ ง 1. รายได้จากการจาหน่ายเศษซากบางส่ วนที่มีการนาไปผ่านกระบวนการผลิตเพื่อ จาหน่ายต่อ ไม่ถือเป็ นการจาหน่ายผลพลอยได้ เพราะเนื่องจากกิจการได้นาเศษซากดังกล่าวมาแปร รู ปก่อนที่ทาการจาหน่าย ดังนั้น กิจการจึงต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล 2. ปี 2554 มีกาไรสุ ทธิ จากกิจการที่ไม่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นจานวน มากกว่าผลขาดทุนสุ ทธิ จากกิจการที่ได้รับการยกเว้น ต้องเสี ยภาษีเท่า กับ 10,000 บาท โดยคานวณ จากกาไรสุ ทธิ รวม ((4,500)+14,500) 3. การแยกค่าใช้จ่ายในการบริ หาร เนื่องจากกิจการไม่สามารถแบ่งแยกได้อย่างชัดเจน ดังนั้น กิจการจึงใช้เกณฑ์การคานวณค่าใช้จ่ายจากเปอร์ เซ็นต์ของยอดรายได้ของกิจการที่ไม่ได้รับ การส่ งเสริ มการลงทุน คือ 30,000/300,000 = 10% ดังนั้นค่าใช้จ่ายในการบริ หารสาหรับกิจการที่ ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนเท่ากับ 55,000×10% = 5,500 บาท กรณีศึกษาที่ 2 บริ ษทั ABC จากัด โดยได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 8 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้ (1 มกราคม 25X1) บริ ษทั มีผลประกอบการ ตั้งแต่รอบบัญชีปี25X1 – 25X8 ดังนี้ ตารางที่ 7 การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี มีขาดทุนคงเหลือจากกิจการ BOI และ NON BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ ในรอบบัญชี (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

25X1 25X2

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ) BOI (B)

NON BOI (NB)

7 2

(15) 4

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT)

-


58

ตารางที่ 7 (ต่ อ) การคานวณผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณี มีขาดทุนคงเหลือจากกิจการ BOI และ NON BOI ไปหักจากกาไรสุ ทธิ ในรอบบัญชี (หน่วย:ล้านบาท) รอบบัญชี

25X3 25X4 25X5 25X6 25X7 25X8

กาไรสุทธิ(ขาดทุนสุทธิ) BOI (B)

NON BOI (NB)

(9) (3) 7 14 (2) 9

3 10 (5) 9 10 3

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT)

2*30% = 0.6 3*30% = 0.3

จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าใน ปี 25X1 กิจการ B มีกาไรจากการดาเนินงาน 7 ล้านบาท แต่ เนื่องจากได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจึงไม่เสี ย CIT และกิจการ NB ขาดทุน จากการดาเนินงาน 15 ล้านบาท มีสิทธิ ยกไปหักจากกาไร NB ได้เป็ นระยะเวลา 5 ปี ปี 25X2 กิจการ B มีกาไรจากการดาเนินงาน 2 ล้านบาท แต่ได้รับการยกเว้น จึงทาให้ไม่ ต้องเสี ย CIT และกิจการ NB มีกาไรจากการดาเนินงาน 4 ล้านบาท ซึ่งสามารถนาขาดทุน NB จากปี 25X1 จานวน 15 ล้านบาท มาหักได้ดงั นี้ กิจการ NB กาไรปี 25X2

4

ล้านบาท

หัก กิจการ NB ขาดทุนปี 25X1

15

ล้านบาท

กิจการ NB ขาดทุนปี 25X1 คงเหลือ

11

ล้านบาท

ดังนั้น กิจการ NB จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 25X2 และกิจการ NB มีขาดทุนจากการ ดาเนินงานปี 25X1 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือ 11 ล้านบาท


59

ปี 25X3 กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานจานวน 9 ล้านบาท จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT และ กิจการNB มีกาไรจากการดาเนินงาน จานวน 3 ล้านบาท ซึ่งสามารถนาขาดทุน NB จากปี 25X1 คงเหลือ 11 ล้านบาท มาหักได้ดงั นี้ กิจการ NB กาไรจากการดาเนินงานปี 25X3

3

ล้านบาท

หัก กิจการ NB ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X1

11

ล้านบาท

กิจการ NB ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X1 คงเหลือ

8

ล้านบาท

ดังนั้น กิจการ NB จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 25X3 และกิจการ NB มีขาดทุนจากการ ดาเนินงานปี 25X1 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือ 8 ล้านบาท ปี 25X4 กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงาน 3 ล้านบาท จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ส่ วนกิจการ NB มีกาไรจากการดาเนินงาน 10 ล้านบาท สามารถนาขาดทุน NB จากปี 25X1 คงเหลือ 8 ล้านบาท และขาดทุน B จากปี 25X3 จานวน 9 ล้านบาท มาหักได้ดงั นี้ กิจการ NB กาไรจากการดาเนินงานปี 25X4

10

ล้านบาท

หัก กิจการ NB ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X1

8

ล้านบาท

กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3

9

ล้านบาท

กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3 คงเหลือ

7

ล้านบาท

ดังนั้นกิจการ NB จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 25X4 ส่ วนกิจการ NB ไม่มีผลขาดทุนจากการ ดาเนินงานปี 25X1 คงเหลือแล้วเนื่องจากได้ใช้สิทธิ นามาหักหมดทั้งจานวนแล้ว และกิจการ B มีผล ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือจานวน 7 ล้านบาท ปี 25X5 กิจการ B มีกาไรจากการดาเนินงาน 7 ล้านบาท แต่เนื่องจากได้รับยกเว้นจึงทาให้ ไม่ตอ้ งเสี ย CIT ส่ วนกิจการ NB นั้นมีผลขาดทุนจากการดาเนินงานจานวน 5 ล้านบาทด้วย ทาให้ กิจการไม่ตอ้ งเสี ย CIT


60

ปี 25X6 กิจการ B มีกาไรจากการดาเนินงานจานวน 14 ล้านบาท ซึ่งได้รับยกเว้น จึงไม่ตอ้ ง เสี ย CIT ส่ วนกิจการ NB มีกาไรจานวน 9 ล้านบาท ให้นาขาดทุน NB จากปี 25X5 และกิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3 จานวน 7 ล้านบาท มาหักซึ่ งแสดงได้ดงั นี้ กิจการ NB กาไรจากการดาเนินงานปี 25X6

9

ล้านบาท

หัก กิจการ NB ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X5

5

ล้านบาท

กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3

7

ล้านบาท

กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3 คงเหลือ

3

ล้านบาท

ดังนั้นกิจการ NB จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 25X4 ส่ วนกิจการ NB ไม่มีผลขาดทุนจากการ ดาเนินงานปี 25X5 คงเหลือแล้วเนื่องจากได้ใช้สิทธิ นามาหักหมดทั้งจานวนแล้ว และกิจการ B มีผล ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือจานวน 3 ล้านบาท ปี 25X7 กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงาน 2 ล้านบาท จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ส่ วนกิจการNB มีผลกาไรจากการดาเนินงานจานวน 10 ล้านบาท จึงนาขาดทุน จากการดาเนินงาน B จากปี 25X3 และปี 25X4 จานวนปี ละ 3 ล้านบาท และขาดทุนจากการดาเนินงาน B ปี 25X7 จานวน 2 ล้านบาท มาหักได้ดงั นี้ กิจการ NB กาไรจากการดาเนินงานปี 25X7

10

ล้านบาท

หัก กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X3

3

ล้านบาท

กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X4

3

ล้านบาท

กิจการ B ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 25X7

2

ล้านบาท

กิจการ NB กาไรจากการดาเนินงานปี 25X7 ที่ตอ้ งเสี ย CIT 2

ล้านบาท

ดังนั้นในปี 25X7 กิจการ NB มีกาไรจากการดาเนินงานที่ตอ้ งเสี ย CIT จานวน 2 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็ น 2 ล้าน* 30% = 6 แสนบาท


61

และปี 25X8 กิจการ B มีกาไรจากการดาเนินงาน จานวน 9 ล้านบาท แต่เนื่องจากอยูใ่ น ระยะเวลาได้รับยกเว้น จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT และกิจการ NB มีกาไรจานวน 3 ล้านบาท ทาให้ตอ้ งเสี ย CIT ทั้งจานวน คิดเป็ น 3 ล้าน *30% = 9 แสนบาท กรณีศึกษาที่ 3 บริ ษทั ABC จากัด ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 8 ปี นับแต่วนั เริ่ มมีรายได้ (23 พฤษภาคม 2540) บริ ษทั ฯ มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ ตารางที่ 8 แสดงการคานวณการปรับปรุ งกาไร (ขาดทุน )ของกิจการที่ประกอบกิจการที่ได้รับการ ส่ งเสริ มการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน รอบระยะเวลาบัญชี

กิจการที่ได้รับยกเว้น

กิจการที่ตอ้ งเสี ย

รวมกาไร

ภาษีเงินได้ (BOI)

ภาษีเงินได้ (NON BOI)

(ขาดทุน) สุทธิ

ผลการดาเนินงานจริ ง 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 39

(24,009,973)

(24,009,973)

2 ม.ค. - 31 ธ.ค. 40

( 702,657,975)

(38,179,173)

(740,837,148)

3 ม.ค. - 31 ธ.ค. 41

268,291,804

(21,342)

268,270,462

4 ม.ค. - 31 ธ.ค. 42

(140,556,652)

2,843,810

(137,712,842)

5 ม.ค. - 31 ธ.ค. 43

(112,184,962)

9,990,622

(102,194,340)

6 ม.ค. - 31 ธ.ค. 44

(44,114,824)

(704,503)

(44,819,327)

7 ม.ค. - 31 ธ.ค. 45

149,095,201

10,557,581

159,652,782

8 ม.ค. - 31 ธ.ค. 46

100,510,222

9,878,479

110,388,701

จากตารางข้างต้นพบว่า ผลการดาเนินงานใน ปี 2539 สาหรับกิจการ NON BOI มีผล ขาดทุนจานวน 24,009,973 บาท ซึ่ งมีสิทธิ ยกไปหักจากกาไร NON BOI ได้ เป็ นระยะเวลา 5 ปี


62

ปี 2540 กิจการ BOI มีผลขาดทุนจากการดาเนินงาน 702,657,975 จึงไม่ตอ้ งเสี ย ภาษีเงินได้ และกิจการ NON BOI มีผลขาดทุนเช่นเดียวกัน จานวน 38,179,173 บาท ดังนั้นทาให้ในปี 2540 กิจการไม่ได้เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ปี 2541 กิจการ BOI มีกาไรจากการดาเนินงาน 268,291,804 บาท แต่เนื่องจากกิจการได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 8 ปี จึงทาให้ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ และกิจการ NON BOI มีผลขาดทุนจานวน 21,342 บาท ทาให้ในปี 2541 กิจการไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ ปี 2542 กิจการ BOI มีผลขาดทุนจากการดาเนินงานจานวน 140,556,652 บาท จึงไม่ตอ้ ง เสี ยภาษีเงินได้ และกิจการ NON BOI มีกาไรจากการดาเนินงานจานวน 2,843,810 บาท ซึ่งสามารถ นาขาดทุน NON BOI จากปี 2539 มาหักได้เต็มจานวนโดยแสดงได้ดงั นี้ กิจการ NON BOI กาไรจากการดาเนินงานปี 2542

2,843,810

บาท

หัก กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2539

24,009,973 บาท

กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2539 คงเหลือ 21,166,163 บาท ดังนั้นกิจการ NON BOI จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 2542 และกิจการ NON BOI มีผลขาดทุน จากการดาเนินงานปี 2539 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือจานวน 21,166,163 บาท ปี 2543 กิจการ BOI มีผลขาดทุนจากการดาเนินงาน 112,184,962 บาท จึงไม่ตอ้ งเสี ย ภาษี เงินได้ และกิจการ NON BOI กาไรจากการดาเนินงานจานวน 9,990,622 บาท ซึ่งจะนาขาดทุน NON BOI ปี 2539 คงเหลือจานวน 21,166,163 บาท มาหักทั้งจานวนได้ดงั นี้ กิจการ NON BOI กาไรจากการดาเนินงานปี 2543

9,990,622

บาท

หัก กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2539

21,166,163 บาท

กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2539 คงเหลือ 11,175,541 บาท ดังนั้นกิจการ NON BOI จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 2543 และกิจการ NON BOI มีผลขาดทุน จากการดาเนินงานปี 2539 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือจานวน 11,175,541 บาท


63

ปี 2544 กิจการ BOI และกิจการ NON BOI มีผลขาดทุนจากการดาเนินงานจานวน 44,114,824 บาท และ 704,503 บาท ตามลาดับ ซึ่ งทาให้ในปี นี้กิจการไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ ปี 2545 กิจการ BOI มีกาไรจากการดาเนินงานจานวน 149,095,201 บาท ซึ่ งอยูร่ ะหว่างการ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ส่ วนกิจการ NON BOI มีกาไรจากการดาเนินงาน 10,557,581 บาท ซึ่งจะนาขาดทุน NON BOI คงเหลือของปี 2539 มาหักไม่ได้เนื่องจากเกินระยะเวลา 5 ปี แต่ สามารถนาขาดทุน NON BOI ของปี 2540 ไปหักทั้งจานวนได้ดงั นี้ กิจการ NON BOI กาไรจากการดาเนินงานปี 2545

10,557,581 บาท

หัก กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2540

38,179,173 บาท

กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2540 คงเหลือ 27,621,592 บาท ดังนั้นกิจการ NON BOI จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 2545 และกิจการ NON BOI มีผลขาดทุน จากการดาเนินงานปี 2540 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือจานวน 27,621,592 บาท ปี 2546 กิจการ BOI มีผลกาไรจานวน 100,510,222 บาท แต่ยงั อยูใ่ นระยะเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้จึงทาให้ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ ส่ วนกิจการ NON BOI มีผลกาไรจากการ ดาเนินงานจานวน 9,878,479 บาท โดยจะไม่สามารถนาผลขาดทุน NON BOI ของปี 2540 เนื่องจากเกินกาหนดระยะเวลา 5 ปี จึงนาขาดทุน NON BOI ในปี 2541 และ 2544 จานวน 21,342 และ 704,503 บาท มาหักกาไร NON BOI ปี 2546 ได้ดงั นี้ กิจการ NON BOI กาไรจากการดาเนินงานปี 2546 หัก กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2541 กิจการ NON BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2544

9,878,479

บาท

21,342

บาท

704,503 บาท

กิจการ BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2542

140,556,652 บาท

กิจการ BOI ขาดทุนจากการดาเนินงานปี 2542 คงเหลือ

139,644,018 บาท

ดังนั้นกิจการ NON BOI จึงไม่ตอ้ งเสี ย CIT ในปี 2546 และกิจการ BOI มีผลขาดทุนจาก การดาเนินงานปี 2542 ที่สามารถมีสิทธิ นาไปหักจากกาไรคงเหลือจานวน 139,644,018 บาท


บทที่ 5 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ การศึกษาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาสิ ทธิประโยชน์ที่พึงได้รับ จากการส่ งเสริ มการ ลงทุน ของกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า และการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของ กิจการ ผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ได้รับการส่ งแสริ มการลงทุน โดยการศึกษาในครั้งนี้ ทาการศึกษาจากพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน เอกสารประกาศคณะกรรมการส่ งเสริ มการ ลงทุน หนังสื อ และบทความต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับการบัญชีสาหรับกิจการ ผลิตพลังงานไฟฟ้ า หรื อไอน้ าที่ได้รับการส่ งแสริ มการลงทุน บทสรุ ป จากการศึกษา เรื่ องภาษีอากรกับกิจการ สาธารณูปโภคแล ะบริ การพื้นฐาน ที่ได้รับการ ส่ งเสริ มการลงทุน(BOI) กรณี ศึกษา กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า สามารถสรุ ปผลการศึกษา ได้ดงั นี้ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า เป็ นหนึ่ง ในเก้าของกิจการสาธารณูปโภคแล ะบริ การ พื้นฐาน อยูใ่ นหมวด 7.1.1 ซึ่งเป็ นประเภทกิจการที่ให้การส่ งเสริ มการลงทุนเป็ นพิเศษในกลุ่มการ ประหยัดพลังงานและพลังงานทดแทน เช่น พลังงานจากวัสดุทางการเกษตร ก๊าซชีวภาพ และ พลังงานลม เป็ นต้น ซึ่งกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ทางด้านภ าษี อากรในแต่ละเขตการลงทุนเหมือนกัน โดยกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ าที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนสามารถ นาคนต่างด้าวที่เป็ น ช่างฝี มือ ผูช้ านาญ พร้อมด้วยคู่สมรสเข้ามาเพื่อศึกษาลู่ทาง การลงทุน ได้ สามารถ ถือกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน เพื่อประกอบกิจการ และอนุญาตให้กิจการที่ได้รับการ ส่ งเสริ มที่มีภูมิลาเนานอกประเทศไทยสามารถนาหรื อส่ งเงินออกนอกประเทศไทยเป็ นเงินตรา ต่างประเทศได้ เช่น เงินทุน เงินปั นผลที่เกิดจากการลงทุน เงินกูต้ ่างประเทศพร้อมดอกเบี้ย เป็ นต้น ด้านสิ ทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากการได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนนั้น กิจการผลิตพลังงาน ไฟฟ้ าหรื อไอน้ า จะได้รับการยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นระยะเวลา 8 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้


65

จากกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม และสามารถได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ นับแต่วนั สิ้ นสุ ดที่กิจการได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นระยะเวลา 5 ปี และกิจการเดิมที่มีระยะเวลาการยกเว้นและลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้ นสุ ดลงแล้ว สามารถยืน่ ขอรับการส่ งเสริ มการลงทุนได้ จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 70 ของเงินลงทุน (ไม่ รวมที่ดินและทุนหมุนเวียน) นับจากวันที่มีรายได้ภายหลังได้รับการส่ งเสริ ม เป็ นระยะเวลา 3 ปี ยกเว้น อากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจัก รทั้งหมด ส่ วนอากรวัตถุดิบเพื่อผลิตส่ งออก จะได้รับ การยกเว้นปี ต่อปี และไม่ตอ้ งชาระภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย แต่ ไม่ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ทาง ภาษีมูลค่าเพิ่มใดๆโดยตรงจากการขายสิ นค้าในประเทศ (VAT 7%) และการส่ งออก (VAT 0%) ในด้านเงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุน กิจการจะรับรู ้รายได้จากวันที่ เริ่ มมีรายได้จริ งของกิจการ และจะต้องเป็ นรายได้จากการ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ ผลิตผลหรื อการบริ การที่ไม่เกินขนาดหรื อปริ มาณการผลิตต่อปี ที่ระบุในบัตร ส่ งเสริ มด้วย ถ้าเป็ นในส่ วนของผลพลอยได้และสิ นค้ากึ่งสาเร็ จรู ปก็จะต้องมีการระบุไว้อย่างชัดเจน ในบัตรส่ งเสริ มว่าผลพลอยได้น้ นั คืออะไร หากกิจการมีรายได้จากดอกเบี้ยหรื อรายจ่ายอื่น

ต้อง

พิจารณาว่าต้ องเป็ นดอกเบี้ยเงินฝาก ประเภทออมทรัพย์ที่ใช้สมุดคู่ฝากในการฝากถอนและต้องมี จานวนรวมกันไม่เกินร้อยละ 2 ของรายได้ที่ได้รับการส่ งเสริ มในรอบระยะเวลาบัญชี ในด้านเงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย จะได้รับอนุญาตให้หกั ค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่าประปาได้ 2 เท่าของจานวนเงินทีเสี ยไป กิจการสามารถใช้สิทธิ ได้เป็ นระยะเวลา 10 ปี และการได้รับอนุญาต ให้หกั รายจ่ายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการติดตั้งหรื อก่อสร้างสิ่ งอาน

วยความส ะดวกในการประกอบ

กิจการได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุนในการติดตั้งสิ่ งนั้น แต่ท้ งั นี้กิจการจะต้องมี หนังสื อที่ ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนแสดงเป็ นหลักฐานด้วย ด้านการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุน เพื่อ ความถูกต้องและสะดวกควรแยกรายได้และรายจ่าย หากกิจการไม่สามารถแยกรายได้และรายจ่าย ได้อย่างชัดเจนกิจการจะต้องเฉลี่ยรายจ่ายดังกล่าวออกตามส่ วนของรายได้จากกิจการที่ได้รับการ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล


66

ในการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ แบ่ง เป็ น 2 กรณี คือ กรณี ที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ ม ประกอบกิจการเฉพาะกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และกรณี ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มได้ ประกอบกิจการทั้งที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล โดย ในกรณี ที่กิจการมีหลายโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มหลายโครงการหรื อมีส่วนที่ไม่ได้รับการ ส่ งเสริ ม กิจการจะต้องแยกบัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายของแต่ละกิจการออกจากกัน และในการ คานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ กิจการจะต้องนากาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการทั้งที่ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงิ นได้นิติบุคคลมารวม เข้าด้วยกันเพื่อหา กาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ มีแนวปฏิบตั ิดงั นี้ ถ้ามีกาไรสุ ทธิ ท้ งั 2 กิจการ กิจการจะต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกิจการที่ไม่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ถ้ามีกาไรจากกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลเป็ นจานวนมากกว่าผลขาดทุน สุ ทธิ จากกิจการที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการจะต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล จาก จานวนกาไรสุ ทธิ รวม ถ้ามีกาไรจากกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นจานวนมากกว่าผลขาดทุนสุ ทธิ จากกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เต็ม จานวนกาไรสุ ทธิ รวม ถ้าผลการดาเนินงานรวมไม่มีกาไรสุ ทธิ กิจการจะได้รับยกเว้นภาษีเงิ นได้นิติบุคคลบุคคล แม้วา่ กิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจะมีกาไรสุ ทธิ ก็ตาม ในด้าน การนาผลขาดทุนสะสมไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ภายหลังระยะเวลาที่ได้รับการ ส่ งเสริ ม กิจการสามารถนาผลขาดทุนประจาปี ที่เกิดขึ้นในระหว่างที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลไปหักออกจากกาไรสุ ทธิ ภายหลังระยะเวลาที่ได้รับการส่ งเสริ มมีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี โดย จะเลือกหัก ออกจากปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ได้ หากกิจการประกอบทั้งกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลและไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการมีสิทธิ นาผลขาดทุนประจาปี ของ กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปหักออกจากกาไรของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลในระหว่างที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนได้ โดยถ้ากิจการทั้งสองมีผลขาดทุนสะสมยกมา จากปี ก่อน กิจการต้องนาผลขาดทุนสะสมประจาปี ของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีนิติบุคคลมาใช้


67

ก่อน หากยังมีกาไรเหลืออยูจึง่ มีสิทธินาผลขาดทุนประจาปี ของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล มาใช้ ในด้านเงินปันผล จะได้รับการยกเว้น ไม่ตอ้ งนาเงินปั นผลที่ได้รับนั้นไปรวมคานวณเพื่อ เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรื อนิติบุคคล โดยเงินปั นผลดังกล่าวต้องเป็ นเงินปั นผลที่จ่ายจาก กาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนเท่านั้น กรณี ที่ กิจการ ได้รับการส่ งเสริ ม การ ลงทุนจ่ายเงินปั นผลโดยมิได้ระบุวา่ เงินปั นผลดังกล่าวจ่ายจากกาไรสุ ทธิ ของกิจการใด ให้เฉลี่ยเงิน ปั นผลดังกล่าวตามส่ วนของกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ได้ รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และกิจการที่ ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ข้ อเสนอแนะจากการศึกษา จากการศึกษามีขอ้ เสนอแนะเพื่อเป็ นแนวทาง ในการปฏิบตั ิทางบัญชีสาหรับ กิจการผลิต พลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนเป็ นไปอย่างถูกต้อง ผูจ้ ดั ทามีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ 1. กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ควรมีการแยกรายได้และรายจ่ายสาหรับกิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน โดยมีการจัดทาผังบัญชี อย่างชัดเจน เพื่อความสะดวกและความถูกต้องในการคานวณกาไรสุ ทธิ และขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ 2. กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ควรศึกษาถึงสิ ทธิ ประโยชน์ที่กิจการพึงจะได้รับ จากการได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน 3. กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ที่ได้รับส่ งเสริ มการลงทุนนั้น มีการจัดทาบัญชี ค่อนข้างยุง่ ยาก แต่ก็คุม้ ค่ากับสิ ทธิ ประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับ ผูจ้ ดั ทาจึงเห็นว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนและกรมสรรพากรควรจัดให้มีการอบรม เพื่อเป็ นแนวทาง ปฏิบตั ิที่ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่ งจะทาให้กิจการได้ใช้ สิ ทธิ ประโยชน์จากการได้รับการส่ งเสริ มการ ลงทุนได้อย่างเต็มที่


68

ข้ อเสนอแนะสาหรับผู้ทจี่ ะทาการศึกษาต่ อไป 1. ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ทาการศึกษาเฉพาะกิจการผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อไอน้ า ดังนั้น ผู้ ที่จะทาการศึกษาต่อไป ควรจะทาการศึกษาถึงกิจการอื่นๆ เพื่อให้ทราบถึงสิ ทธิ ประโยชน์ที่จะได้รับ จากการได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน เนื่องจากแต่ละกิจการจะได้รับสิ ทธิ ประโยชน์แตกต่างกัน 2. เนื่องจากกฎหมายและข้อหารื อต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ดังนั้น ทาการศึกษาต่อไป ควรทาการศึกษาถึงกฎหมายและข้อหารื อต่างๆที่ออกมาใหม่ เพื่อข้อมูลที่ ทันสมัยมากขึ้น

ผูท้ ี่จะ


69

บรรณานุกรม กนกพรรณ อุดมอิทธิพงศ์. 2536. กฎหมายภาษีอากรกับการส่ งเสริมการลงทุน. นิติศาสตรมหา บัณฑิต สาขากฎหมายบัญชี , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน. 2553. การส่ งเสริ มการลงทุนBOIคืออะไร. ใน การขอรับการ ส่ งเสริมการลงทุน (Online). http://boisupport.com., 24 ธันวาคม 2554. คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน. 2553. การส่ งเสริ มการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน. ใน ประกาศคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุนที่ 2/2553 (Online). http://ns.boi.go.th., 14 มกราคม 2555. คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน. 2553. สิ ทธิประโยชน์ ด้านการลงทุน (Online). www.boi.go.th., 24 ธันวาคม 2554. จินตนา บุญบงการ. 2545. “นโยบายการส่ งเสริ มการลงทุน ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทย.” จุฬาลงกรณ์ วารสาร 14 (54): 9-24. ชมัยพร แก้วปานก้น และคณะ. 2550. “สิ ทธิ ประโยชน์จากการส่ งเสริ มการลงทุน.” วารสารธรรม นิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร 26 (308): 29-40. ชุติมา กมลศิรินนั ท์. 2548. ปัญหาสาหรับกิจการทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมการลงทุน . บัญชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .


70

นันทิยา อินบุรี. 2548. ปัญหาการคานวณกาไรสุ ทธิเพือ่ เสี ยภาษีสาหรับธุรกิจทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริม การลงทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลาพูน . บัญชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชี , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เยาวเรศ ธรรมารัตน์. 2545. แนวปฏิบัติทางการบัญชี สาหรับกิจการทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมการลงทุน . บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สมเดช โรจน์คุรีเสถียร. 2548. การบัญชี ภาษีอากรของธุรกิจทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมการลงทุน . พิมพ์ ครั้งที่5. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. ศิริลกั ษณ์ ปลื้มจิตต์. 2549. นโยบายการบัญชีและผลกระทบต่ องบการเงินเปรียบเทียบก่อนและ หลังการหมดสิ ทธิและประโยชน์ ทางภาษี กรณีศึกษา บริษัททีไ่ ด้ รับส่ งเสริม การลงทุนทีจ่ ด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. การจัดการมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี , มหาวิทยาลัยบูรพา. ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่2. ม.ป.ป. เขตการส่ งเสริมการลงทุน (Online). http://korat.boi.go.th., 11 ธันวาคม 2554. สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแห่งชาติ. 2542. พลังงาน และทางเลือกการใช้ เชื้อเพลิงของประเทศไทย (Online). http://www.eppo.go.th., 14 มกราคม 2555. อดิภา พลเรื อนทอง. 2551. ความสั มพันธ์ ระหว่างความสามารถทางการปฏิบัติงานและ ประสิ ทธิภาพการทางานของนักบัญชี ธุรกิจทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมการลงทุนประเภทกิจการ สาธารณูปโภค. บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสารคาม.


71

อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์. 2553. การบัญชี ภาษีอากร ชั้ นสู ง. พิมพ์ครั้งที่3. กรุ งเทพมหานคร: ชวน พิมพ์ 50. ________. 2550. “หลักเกณฑ์การนาผลขาดทุนสุ ทธิ ยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี มาเป็ น รายจ่ายทางภาษีอากร.” กรุ งเทพธุรกิจ (Online) http://www.pattanakit.net., 24 ธันวาคม 2554.

_______.

2554. บอร์ ด BOI อนุมัติส่งเสริมลงทุน 18 โครงการ เฉียด 3 หมื่นลบ.ส่ งท้ายปี

(Online). http://www.corehoononline.com., 14 มกราคม 2555.


72

ภาคผนวก


d5:tnn

Q . Q ~

iii3n~~wEmuaanaaasiw"5a1~aiwS~~inwaer5m msinm5

Jszmn d.b.cn

~~u~~inv~~auu:n"saua~i~~

iilrnsa~nn~a4~n5~"sa~dnsdd5z~u"mwa"4~7u

~"sltYw&;riwnm i t n u J5:~nw d . 9 ~

~ ~ n 7 s w l a r a a 6 i $ a ~(Fuel w 5 ~Cell)

d5zbfiTl ~).G).G)

W J ~ ~ S W ~ R W E P I ~ ~ U Z ~ A ~ W ~ O I ~ ~ ~ ' ~

idu r r i h i u ~ 7 n i a q n 7 c

- nsru?d$4;13unyuiiau

nismwms

n"7'11Z2fi-1~ LL~:W&.JIMBU

du6u

(Eco - Friendly Chemicals)

dszmn ~

. d

dd

d

ii~n~~wlmw'im~tu.nn1du2m5ia~.~t~am~au (Eco - Friendly Products)


dsrmn o.oo.oo 8 o n 7 5 ~ ~ m o 7 H l 5 ~ 7 ~ n (Medical l 5 6 6 ~ ~Food) ~ 5

b . .

d5rmn b.od

~i)n75e~smW8@n"~"jidvanced Ceramics

iii)n~swlmiaqui~un"son1s~3m~~mn'f~n"i)7n?aq d IdA~fl w

dsrmn m.p.g

604 (Manufactured Nano Material)

8om5~lsm68~1~~5~a~%ii ~~at~u~ud3r&ti

-

6~Wlx~9fll5~%l Functional Fiber

d5rmn m.c+

iii)o~~wlntn<o~iieuwnu'

dxmn m.oo d.irmn d.b.4

iii)n~~w~ntn~s.riia5nui~ian5' 8 i ) ~ 7 5 W ? i " k ~ $ 0 ~ % 5qdnsd

ua-guhu fIiin>s

(Farm Machinery) L L R = ? ~ ~ ~ M ~ S ~ N C S ~ ~ D I M ~ (Food Processing Machinery)

dsrmn cr'.b.d 8iln75~~m~~a'tjau66%0~66d~urj - ~aw7:i)~lnis w8muu'buw"~ta~iud-~u

dsr~nnd.d

n ' ~ n 7 5 w h$eu

~"5~~166da~a7n1eru~u (Aircraft

conversion) s2u$q$uhuqdnsnia7n7~u7u14%

- Automatic Transmission - Continuously Variable Transmission (CVT) - Traction Motor ~ ~ w ? u s ~ ) 6iU uUG 50~Hybrid M%

5fl Fuel Cell

- Electronic Stability Control (ESC) - Regenerative Braking System

dszmn G.cr'.cn

~ 7 5 ~ 8 ~ ~ 7 9 ~ 7 ~ ~ 7 H I d ~

~~n75~~~1~8(i\n"fMn"~6~nn5~~ndd7~5'~07o


I)

0

5)

PC

9 9

I;:

5

z 9

dn

'3

2'

2

L!C

s e

5

3

a . 2

92

2

3

C

3

3 rl-

3 d

P

PC)

9

I)9

r

3 dl

L)

3 D



~um.idz'uJ~qnum5wSm

m.m. ~m'a~dud7ua~un~~d.j1a~uwtaubbwun75a~~u~un7s~?ud~~bnn~w w

d

wSmwSmn"~nd.rrCml~1;n7uluaun ms, ht-a~nuW.PI. ~ C G G m.d.

~fid~u'n~~unruznssun~~d~~a~o~n~~a~y!w~~

~i~~a3un~.ra~~uun~n~~n~~di~tijun~~a~t5ulu~nau~mn~5a~~o


Y

3 161 ' d . ~ ~roia~t~u~d1tiium~~n.'a~unun~n"nmn'aa::dauls9um~~mn1~61u ~ ~ t t ~ m b u ~ i u d n r i ~ ~ n a n ~Luiiriiuanslrjtiiutnmn'd~m~uqu sfi~wue\ $ n )IUI ufii MU R t~azt3u(dsznaun151u?mai~n55~ kdaldd'

ti. 3

I

w

- Is~ntYuiiGu

w

d

d5ZfllR tM 3U41

h8

tUV7UW W.R. bGGm



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.