25COSTMA4KU68Activity Based Costing ABC

Page 1

การบริ หารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบต้นทุนตามกิ จกรรม กรณี ศึกษา การไฟฟ้ านครหลวง

โดย นางสาวกนกวรรณ นายคณิ ศร นางสาวชไมพร นางสาวพรพิ มล นางสาววิ ภาพร

วนันตระ ใจสมุทร แซ่เตียว ละอองแก้ว แซ่อึ้ง

ปัญหาพิ เศษนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิ จบัณฑิ ต สาขาวิ ชาการบัญชีบริหาร คณะวิ ทยาการจัดการ มหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


ปญั หาพิเศษ ของ นางสาวกนกวรรณ นายคณิศร นางสาวชไมพร นางสาวพรพิมล นางสาววิภาพร

วนันตระ ใจสมุทร แซ่เตียว ละอองแก้ว แซ่อง้ึ

เรื่อง การบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง

ได้รบั การตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร เมื่อ วันที่ 25 มีนาคม 2555 อาจารย์ทป่ี รึกษาปญั หาพิเศษและ ผูป้ ระสานงานรายวิชา

(ผูช้ ว่ ยศาสตร์จารย์พชั นิจ เนาวพันธ์,บธ.ม.)


การบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษาบริษทั การไฟฟ้านครหลวง

โดย นางสาวกนกวรรณ นายคณิศร นางสาวชไมพร นางสาวพรพิมล นางสาววิภาพร

วนันตระ ใจสมุทร แซ่เตียว ละอองแก้ว แซ่อง้ึ

51205326 51205433 51205524 51205839 51206068

ปญั หาพิเศษฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


(1) กนกวรรณ วนันตระ และคณะ 2554: การบริหารต้นทุนโดยใช้เครือ่ งมือระบบต้นทุน ตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง ปริญญาบริหารธุรกิจบัญฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร อาจารย์ทป่ี รึกษาวิชาปญั หาพิเศษ: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บ.ธ.ม 125 หน้า การศึกษาปญั หาพิเศษครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเป็ นมา และสาเหตุ การนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมาประยุกต์ใช้ ศึกษาเกี่ยวกับ ระบบการบริหารต้นทุน ในการ บริหารเพื่อนามาประยุกต์ใช้ รวมทัง้ คุณประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากการบริหารจัดการต้นทุน ศึกษา แนวทางการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม และศึกษาการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมา ใช้เพื่อการพัฒนาสู่สภาวะการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ระบบต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นระบบทีช่ ่วยในการคานวณต้นทุน หรือควบคุมต้นทุน โดย มีแนวคิดทีส่ าคัญคือ กิจกรรมเป็ นสิง่ ทีท่ าให้เกิดต้นทุนจึงคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่าใช้จ่ายต่างๆที่ เกิดขึน้ เข้าสู่กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวข้อง โดยอาศัยตัวผลักดันทรัพยากรทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั กิจกรรมที่ เกิดขึน้ หลังจากนัน้ จึงคิดต้นทุนของกิจกรรมเข้าสู่ สงิ่ ทีจ่ ะคิดต้นทุน โดยระบบจะต้องก่อให้เกิด ประโยชน์สงู สุดแก่กจิ การ เพื่อให้ผบู้ ริหารสามารถตัดสินใจในการบริหารต้นทุนได้อย่างถูกต้อง การศึกษาปญั หาพิเศษครัง้ นี้ คณะผู้จดั ทาได้เลือกศึกษา เรื่องการบริหารต้นทุนโดยใช้ เครื่องมือระบบต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง ผลการศึกษาพบว่า จาก การที่การไฟฟ้านครหลวงนาต้นทุนแบบเดิมมาใช้ทาให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการใน การตัดสินใจของผู้บริหารได้ นอกจากนี้ขอ้ มูลที่ได้รบั ไม่สามารถนามาใช้ในการพัฒนาองค์การ ภายหลังจึงได้นาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมาประยุกต์ใช้โดยแยกระบบต้นทุนออกเป็ นหลาย ส่วนงาน มีการจัดตัง้ ทีมพนักงานทีจ่ ดั ทาระบบต้นทุนตามกิจกรรม แล้วนาไปปฏิบตั งิ านทัง้ 18 เขต และนาผลลัพธ์ทไ่ี ด้มาทาการประมวลผลเป็ นกิจกรรมที่เพิม่ ค่าและไม่เพิม่ ค่าทาให้ทราบว่า กิจกรรมใดบ้างที่ไม่สาคัญและต้องต้องตัดออก ซึ่งข้อมูลทีไ่ ด้นัน้ สามารถนาไปใช้ในการบริหาร องค์การให้มปี ระสิทธิภาพขึน้ ได้


(2) กิ ตติ กรรมประกาศ การศึก ษาค้นคว้าปญั หาพิเ ศษเรื่อ ง การบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบต้นทุนตาม กิจกรรม กรณีศึกษา การไฟฟ้านครหลวง ฉบับนี้ จะสาเร็จอย่างสมบูรณ์ไม่ได้หากไม่ได้รบั ความ เมตตาจากพนักงานฝ่ายบัญชีบริหาร และพนักงานการไฟฟ้านครหลวงทุกท่านที่คอยช่วยเหลือ อานวยความสะดวกและให้ความอนุ เคราะห์ ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้เป็ นไปได้ ด้วยดี คุณค่าและประโยชน์ ของการศึกษาค้นคว้าปญั หาพิเศษครัง้ นี้ คณะผู้จดั ทาขอมอบความดี อันเกิดจากการศึกษาค้นคว้านี้แด่บดิ า มารดา ที่สร้างชีวติ และเป็ นแรงผลักดันให้ขา้ มผ่านอุปสรรค ต่างๆ คณาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิทยาการ เพื่อนๆกลุ่ม การบริหารต้นทุนทุกคนที่ร่วมทุกข์ร่วม สุขในการทางานครัง้ นี้รวมถึงทุกท่านทีไ่ ด้มสี ่วนเกีย่ วข้องในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ดว้ ย สุดท้ายนี้ขอกราบขอบพระคุณผู้ช่วยศาตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ อาจารย์ท่ปี รึกษาวิชา ปญั หาพิเ ศษ เป็ นอย่างยิง่ ที่ให้ ก ารชี้แนะ ตรวจสอบ กลันกรอง ่ แก้ไ ขและประสานองค์ความรู้ท่ี ถูกต้อง เหมาะสมตลอดช่วงเวลาทีท่ าการศึกษาในครัง้ นี้

คณะผูจ้ ดั ทา 25 มีนาคม 2555


(3) สารบัญ หน้า (1) (2) (3) (6) (7)

บทคัดย่อ กิ ตติ กรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 วิธกี ารศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 2 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั 3 นิยามศัพท์ 3 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง สภาวะเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมปจั จุบนั ของประเทศไทย ในภาพรวมทัง้ ประเทศ สภาวะเศรษฐกิจ 5 สภาวะสังคม 6 สภาวะสิง่ แวดล้อม 8 ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ สภาวะเศรษฐกิจ 9 สภาวะสังคม 10 สภาวะสิง่ แวดล้อม 12 ปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบศักยภาพการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ความตกต่าทางศีลธรรม 13 การเมืองและคอร์รปั ชัน่ 14 ความล่มสลายและล้มเหลวของระบบทุนนิยม 15 ความตกต่าทางการศึกษา 18 การเปิดเสรีประเภทต่างๆ 19 ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ 23


(4) สารบัญ(ต่อ) หน้า คุณลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะ การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก การบริหารต้นทุน ความหมายของต้นทุน ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ระบบบัญชีตน้ ทุนตามกิจกรรม การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) การบัญชีสงิ่ แวดล้อม ระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน แนวคิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น การพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น การฟื้นฟูค่านิยม หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุดในทุกเรือ่ ง การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การออกแบบระบบการสื่อสารและสารสนเทศทางการบัญชี การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับการบริหารต้นทุนตามกิจกรรม ระบบบัญชี ผังบัญชีและรหัสบัญชี แนวคิดของระบบต้นทุนตามกิจกรรม ความสาคัญของระบบบัญชีตน้ ทุนตามกิจกรรม การประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม ประโยชน์ของระบบต้นทุนตามกิจกรรม ข้อจากัดของระบบต้นทุนตามกิจกรรม แนวทางในการลดต้นทุนโดยใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม การบัญชีบริหารและการจัดการเชิงกลยุทธ์

30 32 32 32 33 33 34 34 35 36 38 42 44 45 58 58 59 60 61 61 72 72 73 78


(5) สารบัญ(ต่อ) งานศึกษาทีเ่ กี่ยวข้อง กรอบแนวคิดการศึกษา บทที่ 3 การไฟฟ้ านครหลวง ประวัตขิ องความเป็นมา ข้อมูลทัวไป ่ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ อานาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ผังโครงสร้างการบริหารไฟฟ้านครหลวง โครงสร้างการไฟฟ้านครหลวง ผังโครงสร้างการไฟฟ้านครหลวงเขต ปญั หาการคิดต้นทุนแบบเดิม วัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม แนวทางการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนกิจกรรมของการไฟฟ้านครหลวง ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบบัญชีตน้ ทุนตามกิจกรรม ในงานบริการลูกค้าช่วงแรก ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบบัญชีตน้ ทุนตามกิจกรรม ในงานบริการลูกค้าในปจั จุบนั การกาหนดผังรหัสบัญชี โครงสร้างของรหัสบัญชี การศึกษาระบบทางเดินข้อมูล (Flow Chart) เอกสารและรายงานประเภทต่างๆ ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมาใช้ ปญั หาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ จากการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมาใช้ บทที่ 4 ผลของการศึกษา บทที่ 5สรุปผล อภิ ปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

หน้า 75 78 79 80 80 80 80 81 82 83 84 84 85 85 94 100 101 103 105 110 110 112 116 117 118


(6) สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 3-1 ตัวอย่างการแสดงรายละเอียดกิจกรรม 3-2 ตารางแสดงการให้น้ าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 3 3-3 ตารางแสดงการให้น้ าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 2 3-4 ตารางแสดงการให้น้ าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 1 3-5 ตัวอย่างคาอธิบายรหัสบัญชีในระบบ SAP เพื่อใช้ในการบันทึกค่าใช้จ่ายต่างๆ 4-1 แสดงการตรวจสอบความครบถ้วนการบริหารต้นทุนของการไฟฟ้านครหลวง

89 94 95 96 102 115


(7) สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21 2-22 2-23 2-24 2-25

ผลสารวจภาวการณ์ทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทย สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น พ.ศ.2553 จาแนกตามอายุ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน รายได้เกษตรกร จานวนผูว้ ่างงาน ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขน้ึ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-2554 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) ในปี 2545- 2552 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISA ปี 2009 องค์กรการค้าโลก (WTO) นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area) ประชาคมอาเซียน (AEC) ตัวอย่างน้าท่วมของประเทศไทย กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานคร กราฟแสดงคุณภาพน้าผิวดินทัวประเทศ ่ ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับ กับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและ แนวทางในการบริ หารจัดการเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด องค์ประกอบการพัฒนาอย่างยังยื ่ น หลักการในการบริหารจัดการองค์กร องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล

5 6 7 9 10 11 11 13 13 14 15 18 19 21 22 25 26 27 28 30 31 32 35 38 38


(8) สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-31 2-32 2-33 2-34 2-35 2-36 2-37

สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 41 แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ 42 ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN 46 เปรียบเทียบของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN 49 องค์กรแห่งลีน 50 การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ 52 ห่วงโซ่อุปทาน 54 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ABC และ ABM 60 แสดงการปนั ส่วนจากกลุ่มต้นทุนลงสู่กจิ กรรม 69 วิธกี ารคานวณต้นทุนเข้ากับผลิตภัณฑ์แบบ 2 ขัน้ ตอน 70 วิธกี ารคานวณต้นทุนเข้าผลิตภัณฑ์แบบหลายขัน้ ตอน 71 กระบวนการบริหารงานตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ 75 และกระบวนการทางบัญชีบริหารทีเ่ กีย่ วข้อง 2-38 กรอบแนวคิดการศึกษาการบริหารต้นทุนโดยใช้เครือ่ งมือระบบบัญชีตน้ ทุนตาม 78 กิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง 3-1 ผังโครงสร้างการบริหารไฟฟ้านครหลวง 81 3-2 ผังโครงสร้างการไฟฟ้านครหลวงเขต 83 3-3 แสดงแผนกทีถ่ ูกกาหนดให้ใช้ตน้ ทุนกิจกรรมแบบเก่า 86 3-4 แสดงแผนกทีถ่ ูกกาหนดให้ใช้ตน้ ทุนกิจกรรมแบบใหม่ 88 3-5 ตัวอย่างขัน้ ตอนการคานวณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมของงานบริการลูกค้า 98 3-6 ตัวอย่างขัน้ ตอนการคานวณต้นทุนต่อหน่วยบริการตามประเภทลูกค้า 99 4-1 องค์ประกอบของ SAP 113


บทที่ 1 บทนา ปจั จุบนั นี้มกั จะได้ยนิ คาว่า “การจัดการต้นทุนหรือการบริหารต้นทุน ” อย่างแพร่หลาย การให้ความสาคัญทางด้านต้นทุนของหน่ วยงานธุรกิจได้เกิดขึน้ จากการทีธ่ ุรกิจมีการแข่งขันกัน อย่างรุนแรง ซึง่ เป็ นสาเหตุทาให้ผู้บริหารธุรกิจต่างๆ พบว่า การอยู่รอดของธุรกิจก็คอื การเพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงานของธุรกิจและมอบความมีประสิทธิภาพนัน้ ให้แก่ลูกค้าในลักษณะ ของผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพภายใต้ราคาทีเ่ หมาะสม ธุรกิจทีม่ กี ารผลิตสินค้าหลายชนิดในปจั จุบนั ได้หนั มาใช้การคานวณต้นทุนตามฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) ซึง่ ต้นทุนตาม กิจกรรมเป็ นวิธ ีการของการจัดสรรต้นทุนทรัพยากรขององค์ก าร โดยอาศัยกิจกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์ท่สี ร้างขึน้ สาหรับลูกค้า วิธกี าร ABC เป็ นเครื่องมือทีช่ ่วยให้สามารถเข้าใจถึงต้นทุน ของผลิตภัณฑ์และลูกค้า ทาให้ระบบ ABC ถูกใช้เพื่อรองรับการตัดสินใจทางกลยุทธ์ ต้นทุนตาม กิจกรรมถึง แม้ว่ าจะใช้ไ ด้ผ ลกับธุรกิจผลิต แต่ ใ นป จั จุบนั ธุรกิจบริก ารก็ไ ด้นาระบบ ABC มา ประยุกต์ใช้ในการคานวณต้นทุนเพื่อให้ได้ต้นทุนบริการทีถ่ ูก ต้องยิง่ ขึน้ ธุรกิจบริการที่นาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ เช่น สายการบิน โรงแรม โรงพยาบาล ธนาคาร ธุรกิจประกันภัย และธุรกิจ การสื่อสาร เป็ นต้น วัตถุประสงค์โดยรวมของระบบ ABC ในธุรกิจบริการไม่แตกต่างจากธุรกิจ การผลิต ซึ่งก็คอื การกาหนดกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิดต้นทุน และก็ตดิ ตามว่าธุรกิจบริการนัน้ จะต้องผ่านกิจกรรมอะไรบ้างเพื่อนาไปคานวณหาต้นทุนของบริการนัน้ การไฟฟ้านครหลวง เป็ นรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภคสาขาบริการสาธารณะที่ม ี ขนาดใหญ่ ในสัง กัด กระทรวงมหาดไทย ท าหน้ า ที่ผ ลิต และจ าหน่ า ยพลัง งานไฟฟ้ าให้ก ับ ประชาชนในเขตพืน้ ทีท่ ก่ี าหนด คือ จังหวัดกรุงเทพมหานคร นนทบุร ี และสมุทรปราการ ซึง่ ได้ นาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ในส่วนงานบริการลูกค้า เพื่อให้ทราบค่าใช้จ่ายและการดาเนินงาน ของแต่ ละเขต รวมไปถึง ประโยชน์ ใ นด้านการบริหารงานและการตัดสินใจของผู้บริหารให้ม ี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ จากทีไ่ ด้กล่าวข้างต้นนัน้ ระบบ ABC ถือได้ว่าเป็ นวิธที น่ี ่ าสนใจอีกวิธหี นึ่ง เพราะทาให้ ทราบถึงต้นทุนที่ชดั เจนมากขึน้ และข้อมูลที่ได้สามารถนาไปใช้ในการบริหารองค์ก าร รวมถึง ผูบ้ ริหารสามารถนาข้อมูลต้นทุนจากระบบ ABC ไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนัน้ ทางคณะผูจ้ ดั ทา จึง ให้ ค วามสนใจที่จ ะศึก ษาการบริห ารต้ น ทุ น โดยใช้ เ ครื่อ งมือ ระบบต้ น ทุ น ตามกิจ กรรม กรณีศึก ษาการไฟฟ้ านครหลวง เพื่อ ประโยชน์ ต่ อ องค์ก ารต่ า งๆ ตลอดจนผู้ท่ีจ ะน าไปเป็ น ตัวอย่างในการศึกษาอย่างแท้จริง


2

วัตถุประสงค์ของการศึกษา การศึกษาปญั หาพิเศษเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง มีวตั ถุประสงค์ในการศึกษา ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเป็ นมาและสาเหตุของการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมา ประยุกต์ใช้ 2. เพื่อศึกษาถึง เกี่ยวกับระบบการบริหารต้นทุนในการบริหาร การนามาประยุกต์ใช้ คุณประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั ทัง้ ด้านการบริหารจัดการต้นทุน 3. เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม 4. การนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมไปใช้เพื่อการพัฒนาสู่สภาวการณ์พฒ ั นาธุรกิจอย่าง ยังยื ่ น

วิ ธีการศึกษา 1. ทาการค้นหาข้อมูลเบือ้ งต้นของการไฟฟ้านครหลวง เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลเบือ้ งต้น ก่อนเข้าทาการสัมภาษณ์ 2. ศึกษาข้อมูลปฐมภูม ิ 2.1 จากการสอบถามการนาระบบบัญชีมาประยุกต์ใช้ภายในองค์การ 2.2 จากการสอบถามวิธกี ารดาเนินงานของพนักงานแผนกบัญชีตน้ ทุน 3. ศึกษาข้อมูลทุตยิ ภูม ิ ้ านครหลวง 3.1 ศึกษาข้อมูลการดาเนินงานโดยทัวไปของการไฟฟ ่ 3.2 ศึกษาแนวคิดระบบต้นทุนตามกิจกรรม 3.3 ศึกษาจากเอกสาร ทีบ่ ริษทั ได้ให้มาเป็ นแนวทางในการศึกษา 4. จัดเก็บข้อมูล 5. นาข้อมูลมาวิเคราะห์ 6. สรุปผลการศึกษา

ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครัง้ นี้ทาการศึกษาเกีย่ วกับการบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบต้นทุนตาม กิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง ซึง่ ตัง้ อยู่ท่ี 30 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยจะทาการศึกษาแต่เฉพาะทีส่ านักงานใหญ่ในส่วนงาน บริการลูกค้าทัง้ 18 เขตเท่านัน้ เพื่อให้การศึกษาเป็ นไปในทางเดียวกันไม่เกิดความซับซ้อน


3 ทัง้ นี้ในการศึกษามีขอ้ จากัดด้านข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลข และข้อมูลเชิงบริหาร ซึง่ การไฟฟ้านครหลวง ไม่สามารถให้ขอ้ มูลในส่วนนี้ได้ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั ประโยชน์ ท่คี าดว่าจะได้รบั จากการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารต้นทุนโดยใช้ เครื่องมือ ระบบต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง ดังนี้ 1. เพื่อ ให้ทราบถึงความเป็ นมาและสาเหตุ ของการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมา ประยุกต์ใช้ของการไฟฟ้านครหลวง 2. เพื่อ ให้ท ราบถึง ระบบต้ น ทุ น ตามกิจ กรรมในการบริห าร การน ามาประยุก ต์ใ ช้ คุณประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั ทัง้ การบริหารจัดการต้นทุน ของการไฟฟ้านครหลวง 3. คาดว่าผลจากการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมาประยุกต์ใช้ในการไฟฟ้านครหลวง อาจเป็นข้อมูลประกอบการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหาร และผูท้ ส่ี นใจโดยทัวไป ่ 4. เพื่อให้ทราบเกีย่ วกับการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมไปใช้ เพื่อการพัฒนาสู่สภาวะ การพัฒนาองค์การอย่างยังยื ่ นของการไฟฟ้านครหลวง นิ ยามศัพท์ การพัฒนาองค์การอย่างยังยื ่ น (sustainable development) World Commission on Environment and Development (1987) กล่าวว่า หมายถึง การพัฒนาเพื่อจะตอบสนองความ ต้อ งการขององค์ก ารปจั จุบนั โดยไม่ทาให้ผู้ค นในอนาคตเกิดปญั หาในการตอบสนองความ ต้องการของตนเอง การบริ หารต้ นทุน (cost management) โกศล ดีศลี ธรรม (2547) กล่าวว่า หมายถึง การดาเนินงานให้เป็ นไปตามเป้าหมายของกิจการคือ การมีก าไรสูงสุด ซึ่งจาเป็ นต้อ งอาศัย ระบบบัญชีต้นทุนและการบริหารต้นทุนที่มปี ระสิทธิภาพ การบริหารต้นทุนไม่ให้เกิดการสูญ เปล่าหรือรัวไหล ่ การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ย่างคุม้ ค่าล้วนแต่ตอ้ งอาศัยข้อมูลด้านต้นทุนทัง้ สิน้ ดังนั ้น ตัวเลขทีถ่ ูกต้องแม่นยาและทันเหตุการณ์เท่านัน้ ทีจ่ ะมีชยั เหนือคู่แข่งได้ ต้ นทุนบริ การ-งานบริ การลูกค้า (service cost - retail) การไฟฟ้านครหลวง (2554) กล่าวว่า หมายถึง การรวบรวมต้นทุนที่เกิดขึน้ ของทุกกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับงานบริการลูกค้า ได้แก่ งานบริการลูกค้า งานการตลาด งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ งานจัดทาใบแจ้งหนี้ฯ งานเก็บ เงินของลูกค้าแต่ละประเภท โดยมีสมมติฐานว่าหากลูกค้า 1 รายใช้บริการจากทุกกิจกรรม จะ คิดเป็นต้นทุนของลูกค้าแต่ละประเภท เป็นจานวนเท่าใด ต้ นทุนต่ อหน่ วยบริ การ (service cost object) การไฟฟ้านครหลวง (2554) กล่าวว่า หมายถึง การคานวณต้นทุนต่อหน่ วยของลูกค้า โดยนาต้นทุนที่เกิดขึน้ หมดของทุกกิจกรรมที่


4 เกี่ยวข้องกับงานบริการลูกค้าแต่ละประเภท หารด้วยจานวนลูกค้าทัง้ หมด ในแต่ละประเภท นัน้ ๆ การกระจายค่าใช้จ่ายแต่ละกิจกรรมไปยังลูกค้าแต่ละประเภท จะกระจายด้วยตัวผลั กดัน ต้น ทุ น ที่ม ีค วามสัม พัน ธ์ก ับ กิจ กรรมนัน้ ๆ เช่ น ค่ า ใช้จ่า ยของกิจ กรรมงานบริการลูก ค้า จะ กระจายต้นทุนไปยังลูกค้าแต่ละประเภทตามจานวนเครือ่ งวัดฯ เป็นต้น ระบบต้ นทุนตามกิ จกรรม (Activity Based Costing: ABC) รุธรี ์ พนมยงค์ และคณะ (2548) กล่ า วว่ า เป็ น เครื่อ งมือ ในการบริห ารงานในลัก ษณะการบริห ารงานฐานคุ ณ ค่ า ซึ่ง เชื่อมโยงการบริหารระดับองค์การลงสู่ระบบการปฏิบตั งิ านประจาวัน โดยพิจารณาหน้าทีค่ วาม รับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานตลอดทัง้ กิจการ การบริ หารตามกิ จกรรม (Activity Based Management: ABM) พัชนิจ เนาวพันธ์ (2552) กล่าวว่า คือ วิธกี ารบริหารงานรูปแบบหนึ่งที่ให้ความสาคัญของกิจกรรมชนิดต่างๆ ที่ ดาเนินภายในองค์การ จัดว่าเป็ นรูปแบบการบริหารชนิดหนึ่งซึ่งสามารถสร้างความสามารถใน การแข่งขันให้กบั องค์การ


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง สภาวะเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อมปัจจุบนั ของประเทศไทย 1. ในภาพรวมทัง้ ประเทศ 1.1 สภาวะเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รายงานว่า เมื่อปี 2554 เศรษฐกิจไทยในสาม ไตรมาสแรกมีการขยายตัวเพิม่ ขึ้น แม้จะได้รบั ผลกระทบทัง้ ภัยพิบตั ิในประเทศ ญี่ปุ่นและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก พบว่า แนวโน้มปี 2554 มีการขยายตัว ของเศรษฐกิจ ซึ่งขึน้ อยู่กบั ระยะเวลาที่ใช้ในการฟื้ นตัวเป็ นปกติของภาคการผลิต มาตรการในการบริหารจัดการน้ าของภาครัฐ และภาวะเศรษฐกิจโลก ซึง่ ส่วนหนึ่ง ขึน้ อยู่กบั การแก้ไขปญั หาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศยูโร ส่วนอัตราเงินเฟ้อมี แนวโน้ มชะลอลงตามราคาน้ ามันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก แม้จะมีแรง กดดันบ้างจากการฟื้นตัวของภาคเอกชนและผลของนโยบายภาครัฐ เช่น การปรับ ขึน้ ค่าจ้างขัน้ ต่ าและโครงการรับจานาข้าว 1.2 สภาวะสังคม 1.2.1 ด้านการจ้างงาน

ภาพที่ 2-1 ผลสารวจสภาวะการทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.service.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555)


6 อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่ าร้อยละ 0.6 แต่จานวนชัวโมงการ ่ ทางานลดลง จึงทาให้เกิดการว่างงานแฝง สถานการณ์ด้านการว่างงานที่ เกิดขึ้นนัน้ ไม่สอดคล้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และยังไม่สะท้อนถึง ภาวะน้ าท่ วมในช่วงที่ผ่ านมา เนื่องจากช่ วงที่เกิดมหาอุ ทกภัยน้ าท่วม ภาคค้าส่งและค้าปลีกมีการจ้างงานทีเ่ พิม่ มากขึน้ ตามความต้องการในการ กัก เก็ บสินค้ าของผู้ บริ โภค ผู้ ประกอบการบางส่ ว นอยู่ ใ นช่ ว งที่ขาด ฐานข้อมูลการจ้างงานที่จะนามาใช้ในการปรับแผนการจ้างงานได้ การลด การจ้างงานส่ วนหนึ่ งเป็ นการลดจ านวนชัว่ โมงการท างาน นอกจากนี้ แรงงานภาคเกษตรจานวนมากเป็ นแรงงานรอฤดูกาล ซึ่งไม่ได้ถูกนับว่า เป็นผูท้ ว่ี ่างงาน ดังนัน้ ในภาพรวมจึงเห็นได้ว่าการจ้างงานในไตรมาสทีส่ ป่ี ี 2554 ยังคงเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ซึง่ ไม่ตรงกับสภาพความเป็ นจริงในช่วงที่ เกิดสภาวะน้ าท่วม 1.2.2 ด้านสุขภาพ

ภาพที่ 2-2 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค.2552 –ม.ค.2555 ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์วจิ ยั ความสุขชุมชน มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) จากแผนภาพแสดงดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค. 2552 - ม.ค. 2555 พบว่า ความสุขมวลรวมของคนไทยลดลงในเดือน มกราคม 2555 อยู่ท่ี 6.66 มีผปู้ ่วยด้วยโรคจิตเวชที่มารับบริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ปญั หาสุขภาพและการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและไม่ตดิ ต่อ


7 เรือ้ รังอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ดังนัน้ ภาครัฐจึง ต้องให้ความรูแ้ ก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค 1.2.3 ด้านพฤติกรรมและความเป็ นอยู่ของคน

ภาพที่ 2-3 สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น พ.ศ. 2553 จาแนก ตามอายุ ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมันคงของมนุ ่ ษย์. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) พฤติกรรมเสี่ยงเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 15-24 ปี มีมากขึน้ เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ขึน้ และยังพบว่า คนไทยมีอตั ราการดื่มแอลกอฮอล์ทเ่ี พิม่ สูงมากขึน้ ในแต่ ละปี ทางด้านการใช้เทคโนโลยีท่ไี ม่เหมาะสมในเด็กวัยรุ่นมีเพิม่ มากขึ้น โดยมีสาเหตุมาจากการขยายตัวของเครือข่ายทางสังคมในโลกออนไลน์ มากขึน้ ส่งผลต่ อความมันคงและความปลอดภั ่ ยต่อชีวติ เด็กและเยาวชน อย่างมากมาย สัดส่ วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น มีแนวโน้ มที่เพิ่มสูงขึ้น โดยอัตราการคลอดบุตรของหญิงไทยอายุต่ ากว่า 20 ปี เพิม่ สูงกว่าเกณฑ์ ขององค์การอนามัยโลก และมีสถิตสิ ูงสุดในเอเชีย ส่งผลกระทบต่อปญั หา สุขภาพมารดาและการพัฒนาการของเด็กที่เกิดมา รวมทัง้ ปญั หาสังคมใน เรือ่ งของการทาแท้งและการเลีย้ งดูทไ่ี ม่เหมาะสมเพิม่ ขึน้


8 1.2.4 ด้านความมันคงทางสั ่ งคม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รายงานว่า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ภาวะสังคมไทยเรื่องเกี่ยวกับคดีอาญา โดยรวมเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาเสพติด กลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มีการเสพ ยาที่เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาไอซ์ ภาครัฐและภาคเอกชนต้องให้ความสนใจ พร้อมกับออกกฎหมายที่ระบุถึงความรับผิดที่ชดั เจนขึ้น ด้านอุ บตั ิเหตุ จราจรทางบกมีจานวนลดลง แต่อนั ตรายถึงขัน้ เสียชีวติ มีเพิม่ มากขึน้ โดย กลุ่มเยาวชนและแรงงานที่มพี ฤติกรรมขับขี่ท่ไี ม่เหมาะสมมีเพิม่ มากขึ้น ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุ นให้สร้างค่านิยมความปลอดภัยในการใช้ รถใช้ ถ นนในสังคม รวมทัง้ ติดตามและผลัก ดันให้ เ กิดการบัง คับใช้ กฎหมายอย่างเคร่งครัด 1.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (2553) ได้ รายงานสถานการณ์คุณภาพสิง่ แวดล้อมว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมของประเทศไทยในช่วงที่ผ่ านมามีปญั หาในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็ น ความเสื่อมโทรมของการใช้ท่ดี นิ ผิดประเภท และการขาดการกระจายการถือครอง ที่ดนิ นอกจากนี้การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมีแนวโน้ มเพิม่ ขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ซึง่ ประเทศไทยต้องใช้ความพยายามในการอนุ รกั ษ์ความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยสนับสนุ นการศึกษาวิจยั และตระหนักให้ประชาชนเห็นความสาคัญ ของการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพมากขึน้ ประเทศไทยมีส ัดส่ วนของการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกเป็ นจ านวนมาก ั หามลพิษ อากาศด้ า นป ญ ั หาการจัด การขยะที่ ย ัง ไม่ ส ามารถ ก่ อ ให้ เ กิ ด ป ญ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและทัวถึ ่ ง ซึง่ เป็ นปญั หาสาคัญในเมืองใหญ่และ แหล่งชุมชน ด้านปญั หาสิ่งแวดล้อมชุมชนเกิดจากการเพิม่ ขึ้นของประชากรไม่ สอดคล้องกับศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติและบริการขัน้ พื้นฐาน เนื่องจาก เศรษฐกิจขยายตัวประชากรจึงย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองเพิม่ ขึ้น ปญั หาสิง่ แวดล้อม ชุมชนทีส่ าคัญเช่น ปญั หามลพิษต่างๆ ปญั หาชุมชนแออัด และปญั หามลทัศน์ การดาเนินชีวติ ของมนุ ษย์กบั สิง่ แวดล้อมจึงเป็ นสิง่ ทีต่ ้องดาเนินควบคู่กนั ไปพร้อมกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนัน้ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสภาพ สิง่ แวดล้อมจึงต้องพิจารณาในการจัดรูปแบบของสังคมและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อการดารงชีวติ ของประชาชน ด้วยเหตุน้ีการดาเนินมาตรการด้านการอนุ รกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงต้ องเป็ นไปภายใต้ เงื่อนไขของการใช้ ประโยชน์อย่างยังยื ่ นมากกว่าการอนุ รกั ษ์เพียงอย่างเดียว


9 2. ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ 2.1 สภาวะเศรษฐกิจ

ภาพที่ 2-4 การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) จากผลกระทบของมหาอุทกภัยในปี 2554 ทีเ่ กิดขึน้ ด้านภาคอุตสาหกรรม ได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรง เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมผลิต ชิน้ ส่วนบางพืน้ ทีโ่ ดนน้าท่วม ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากมายในปี 2554 ไตร มาสที่ 4 ภาคอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากการที่น้ าท่วมโรงงานใน บางแห่งของไทย ซึง่ เป็นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ และมีเครือข่ายการ ผลิตที่ซบั ซ้อน เช่ น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดไดร์ฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้ า ส่งผลให้การผลิตหยุดชะงัก ขาดแคลนชิน้ ส่วน และส่งผลต่อการคมนาคมขนส่ง


10

ภาพที่ 2-5 รายได้เกษตรกร ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) ทางด้านภาคเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าผลผลิตในภาคกลางจะได้รบั ผลกระทบ จากมหาอุทกภัยโดยเฉพาะข้าว แต่ผลผลิตเกษตรอื่นๆ ยังคงขยายตัวตามการเพิม่ พื้นที่เพาะปลูก ซึ่งเมื่อประกอบกับราคาสินค้าเกษตรที่ยงั มีขยายตัวดี ส่งผลให้ รายได้เกษตรกรขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อน สาหรับในภาพรวม ปญั หาในภาคการผลิตทาให้สนิ ค้าขาดแคลน ส่งผลให้ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนทีข่ ยายตัวดีในช่วงสามไตรมาสแรกต้องสะดุด ลง แม้ปจั จัยสนับสนุ นการบริโภคและการลงทุนจะยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี ไม่ว่าจะเป็ น รายได้ทงั ้ ในและนอกภาคเกษตร ความเชื่อมันของทั ่ ง้ ผูบ้ ริโภคและนักธุรกิจ รวมทัง้ ภาวะการเงินมีการคลายตัวลง 2.2 สภาวะสังคม (ดังแสดงในภาพหน้าถัดไป)


11

ภาพที่ 2-6 จานวนผูว้ ่างงาน ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างถึง สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. http://social.nesdb.go.th (19 มีนาคม 2555) ปจั จุ บนั ประเทศไทยก าลังพัฒนาเป็ นประเทศของอุ ตสาหกรรม ท าให้ ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึน้ แต่ปลายปี 2554 ภาคเอกชนนัน้ ได้ประสบกับ วิกฤตอุทกภัย ทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงักลง และมีผลกระทบในด้านต่างๆ ที่สาคัญคือ คนงาน จากภาพจะเห็นได้ว่าอัตราการว่างงานมีจานวนที่ลดลงอยู่ใน ระดับต่ าร้อยละ 0.6 เพราะภาคเอกชนต้องใช้แรงงานเพื่อเข้ามาฟื้ นฟูกจิ การให้ สามารถกลับมาดาเนินกิจการได้

ภาพที่ 2-7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555)


12 นอกจากนี้สภาพสังคมในปจั จุบนั เป็ นสังคมเมือง มีรูปแบบการใช้ชวี ติ ที่ เร่งรีบ รักความสะดวกสบายและความรวดเร็วมากขึน้ ทาให้ภาคเอกชนต้องหันมา ให้ความสนใจเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคมากขึน้ เป็ นการ สร้างรายได้ แ ละขยายฐานลู กค้ า อีก ทัง้ ในการสื่อ สารที่รวดเร็ว ขึ้นโดยผ่ า น เทคโนโลยีท่สี ามารถครอบคลุ มทุกกลุ่ มผู้บริโภค จากภาพ พบว่ า มีประชากร เพิม่ ขึ้นทุกปี ในการใช้เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ทาให้ภาคเอกชนจาเป็ นต้องให้ ความสาคัญเรื่องการสื่อสารกับผู้บริโภคมากขึน้ นัน่ หมายถึง ภาคเอกชนต้องแบก รับภาระทางด้านต้นทุนเพื่อใช้ในการสื่อสาร โฆษณา หรือใช้ในการติดต่อทาให้ สินค้าหรือการบริการของภาคเอกชนเข้าถึงกลุ่มผูบ้ ริโภคมากขึน้ 2.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) ได้ รายงานสภาวะสิ่งแวดล้อมของภาคเอกชนในประเทศไทยว่ า สถานการณ์ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศไทยในปจั จุบนั มีแนวโน้มเสื่อม โทรมรุนแรงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ในด้า นกายภาพ การใช้ประโยชน์ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่งผลให้สถานการณ์และแนวโน้ มความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลน น้ า รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคที่ฟุ่มเฟื อยทัง้ ในภาคประชาชนและภาคการ ผลิต ท าให้มกี ารใช้ทรัพยากรอย่างสิ้ นเปลือง ไม่คุ้มค่ า และมีปริมาณของเสีย เพิม่ ขึน้ ปจั จุบนั ภาคธุรกิจเอกชนได้มสี ่วนส าคัญอย่างยิง่ ในการดูแลรักษาและ ฟื้ นฟู ส ิ่งแวดล้อม ซึ่งภาคเอกชนเองได้ม ีการจัดโครงการเพื่อรณรงค์เกี่ยวกับ สิง่ แวดล้อมมากมาย รวมไปถึงลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดภาวะโลกร้อน อย่างยังยื ่ น ดังนัน้ ภาคเอกชนจาเป็ นต้องให้ความสาคัญกับสิง่ แวดล้อมในประเทศ ไทยเป็ นอย่างมาก เพราะหากไม่มที รัพยากรเหลืออยู่ ภาคเอกชนก็จะไม่สามารถ ดาเนินการผลิตได้ อีกทัง้ การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมยังเป็ นการสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ี ในสายตาผูบ้ ริโภคอีกด้วย ภาคธุ รกิ จเอกชนจะต้ อ งด าเนิ น การเปลี่ยนแปลงโลกทัศ น์ เ กี่ย วกับ สิง่ แวดล้อมธรรมชาติอย่างเร่งด่วน ภาคธุรกิจเอกชนจะต้องมีแนวทางที่กระตุ้นให้ บริษทั ต่างๆ ดาเนินโครงการจัดระบบการศึกษาสิง่ แวดล้อมให้แก่บุคลากรทุกระดับ ทุกสาขาและทุกฝ่าย เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับแนวคิด ค่านิยม และ แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับระบบการจัดการทางสิง่ แวดล้อม


13 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ อศักยภาพการดาเนิ นงานของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน 1. ความตกต่ าทางศีลธรรม

ภาพที่ 2-8 ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)

ภาพที่ 2-9 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)


14 เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์ (2546) กล่าวว่า ในปจั จุบนั สภาพความเสื่อมถอย ด้านคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทยเริม่ เข้าสู่ภาวะวิกฤต สะท้อนได้จากพฤติกรรมของ คนในสังคม วิกฤตด้านคุ ณธรรมจริย ธรรมที่ตกต่ านัน้ สะท้อนในหลายๆ ด้าน เช่ น ั หาการขาดความรับผิดชอบของภาคธุ รกิจ โดยดู ได้จากภาพที่ 2-8 แสดงถึง ปญ ผลกระทบที่ผู้บริโภคประสบปญั หาจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึ่งประชาชนยังมีความ เสี่ยงสูงในการบริโภคผลิตภัณฑ์ต่างๆ ปญั หาความรุนแรงที่เพิม่ ขึ้นในสังคม ปญั หา อาชญากรรมยาเสพติด โดยดูได้จากจานวนคดีอาญาทีม่ จี านวนสูงขึน้ ดังแสดงในภาพที่ 2-9 การมีบุ ตรก่ อ นวัยอันควร การค้าประเวณี เหล่ านี้ ล้ว นเกิดจากศีลธรรมของ ประชาชนในสังคมทีเ่ สื่อมโทรมลง ปญั หาด้านคุณธรรมจริยธรรมนี้จะส่งผลโดยตรงต่อ การพัฒนาคน และสังคมไทยในอนาคตอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ซึ่งเป็ นปญั หา สาคัญทีค่ วรได้รบั การแก้ไขอย่างเร่งด่วน 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่

ภาพที่ 2-10 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ ในปี 2545- 2552 ทีม่ า: สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. www.siamintelligence.com. (18 มีนาคม 2555) ดอกไม้ปลายปื น (2553) กล่ าวว่ า การเมืองมีอิทธิพลต่ อ พัฒนาการทาง เศรษฐกิจของไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นักลงทุนในต่างประเทศมีนโยบายชะลอการ ลงทุ นในประเทศไทย รวมถึงตัดสินใจย้ายไปลงทุนที่ประเทศเพื่อนบ้าน เนื่ องจาก


15 การเมืองไทยมีความวุ่นวายไม่สงบนิ่ง เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทางด้านการเมือง ได้แก่ การปฏิวตั กิ ารยึดสนามบินนานาชาติ ทาให้ส่งสินค้าออกไม่ได้ การประกาศใช้ พ.ร.ก. ฉุ กเฉิน ทาให้บริษทั ไม่สามารถทาการผลิตมากกว่า 8 ชัวโมงได้ ่ จึงส่งผลกระทบต่อ การดาเนินธุรกิจ เกิดการจลาจลระหว่างกลุ่มคนเสื้อสีต่างๆ เกิดการชุมนุ มทางการ เมืองขึ้น ส่ งผลกระทบต่ อความเชื่อมันของนั ่ กลงทุ น ท าให้สร้างความเสียหายต่ อ เศรษฐกิจ ปญั หาการคอรัปชันของไทยยั ่ งคงเป็ นปญั หาสาคัญที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น จากการจัดอันดับภาพลักษณ์คอรัปชันโลกขององค์ ่ การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ ประเทศไทยตกอันดับจากอันดับที่ 78 ในปี 2553 เป็ นอันดับที่ 80 ในปี 2554 ซึง่ วัด จากดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (Corruption Perceptions Index: CPI) แสดงในภาพ ที่ 2-10 ปญั หาคอรัปชันเป็ ่ นตัวกัดกร่อนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวม 3. ความล่มสลายและล้มเหลวของระบบทุนนิยม

ภาพที่ 2-11 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ทีม่ า: นิฐนิ ันท์. http://nithinan-note.exteen.com. (21 มีนาคม 2555)


16 มายเฟิ รส์ อินโฟ (2552) ได้กล่าวไว้ว่า สังคมของโลกทุนนิยมนัน้ มีหลักการที่ ให้ เสรีภาพ โดยที่กลไกตลาดจะเป็ นตัวก าหนดความเป็ นไปของทุ กสิ่งทุ กอย่ าง แม้กระทังความสั ่ มพันธ์ของผูค้ นในสังคม ตลอดจนผลิตภัณฑ์ในตลาดจะถูกกาหนดว่า ภายใต้เงื่อนไขและผลิตภัณฑ์ใดจะถู กแลกเปลี่ยน ตลาดแรงงานจะเป็ นตัวกาหนด คุณสมบัตแิ ละค่าแรงงาน ทัง้ สินค้าแรงงานและทักษะของมนุ ษย์ท่เี ป็ นประโยชน์จะถูก นามาแลกเปลี่ยนอย่างเสรีภายใต้เงื่อนไขของตลาด ผลิตภัณฑ์ใดก็ตามจะไม่มคี ุณค่า ทางเศรษฐกิจเลยหากไม่มคี วามต้องการผลิตภัณฑ์นนั ้ ในตลาด แรงงานและทักษะของ มนุ ษย์ก็เช่นกันจะไม่มคี ุณค่าอันใดเลยหากไม่มคี วามต้องการของแรงงานและทักษะ นัน้ ในตลาด เจ้าของทุนสามารถทีจ่ ะจ้างแรงงานและสังการให้ ่ ผใู้ ช้แรงงานเหล่านัน้ ผลิต เพื่อให้เกิดผลกาไรจากการลงทุน ผู้ใช้แรงงานจะต้องรับจ้างนายทุน มิฉะนัน้ ก็จะไม่ สามารถหาเลี้ยงชีพได้ โครงสร้างทางเศรษฐกิจเช่นนี้เป็ นผลสะท้อนของระดับการให้ ความส าคัญของคุ ณค่ าต่ างๆ โดยมีเงินทุนสังการแรงงาน ่ และแรงงานทาการผลิต สิง่ ของที่ไม่มชี วี ติ ทีใ่ นบางครัง้ อาจมีค่ามากกว่าแรงงานของตัวผูผ้ ลิตเองทีย่ งั คงมีชวี ติ อยู่ ั หาต่ างๆ ตามมา ซึ่งการเกิดขึ้นของสังคมแบบทุ นนิ ยมย่อมก่ อให้เกิดปญ มากมาย เช่น ปญั หาความไม่สมดุลของความเจริญ เนื่องจากการพัฒนาของสังคมแบบ ทุนนิยมส่งผลต่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมมากกว่าการพัฒนาด้านการเกษตร จึงทา ให้เกษตรกรหันมาทางานทางด้านอุ ตสาหกรรมมากขึ้น ตลอดจนปญั หาการพัฒนา อย่างไม่ทวถึ ั ่ ง จึงทาให้เกิดการย้ายถิน่ ฐานของคนเพื่อแสวงหาแหล่งชุมชมที่มคี วาม ั หาการละทิ้ ง ถิ่ น ฐาน ตลอดจนการพัฒ นา เจริญ ที่ม ากกว่ า จึง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ป ญ อุตสาหกรรมทีม่ ากจนเกินไปย่อมทาให้เกิดปญั หาการกดราคาสินค้าทางการเกษตรให้ อยูใ่ นราคาทีต่ ่า เพื่อการทากาไรของพวกนายหน้า ตลอดระยะเวลาการพัฒนาทุนนิยมในสังคมไทยจะพบว่า เป็ นความร่วมมือ ระหว่างทุนท้องถิน่ รัฐและต่างชาติในการแสวงหาผลประโยชน์จากสังคมไทย ทุนไม่ได้ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท่ี ดี แ ละพั ฒ นาชี ว ิ ต ความเป็ นอยู่ ข องชาวบ้ า น อี ก ทั ้ง กระบวนการพัฒนาทุนนิยม ทาให้ชนชัน้ ล่างในสังคมไทยไม่มกี นิ และอดอยาก ทุนนิยม ไม่ได้นาเอาประชาธิปไตยเข้าสู่สงั คมไทยแต่กลับส่งเสริมระบบเผด็จการเสียด้วยซ้า ดังนัน้ กลุ่มคนทีผ่ ลักดันประชาธิปไตยนัน้ กลับเป็ นพวกปญั ญาชนและชนชัน้ ล่าง ผู้ซ่งึ เสียเปรียบจากการพัฒนาเสียมากกว่า ระบบทุนนิยมมีแนวคิดว่ามนุ ษย์ต้องซื้อ ต้อง ร่ารวย ต้องมีเงินในการซือ้ จับจ่ายใช้สอย เน้นทีอ่ านาจเงินเพื่อความอยู่รอด ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็ นต้นแบบของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี และเริม่ แผ่ขยายอานาจทางเศรษฐกิจออกไปตามประเทศต่างๆ ทัวโลก ่ โดยเฉพาะหลังจากที่ ระบบสังคมนิยมและคอมมิวนิ สต์ของสหภาพโซเวียตได้พ่ายแพ้ และล่ มสลายลงไป


17 อเมริกาได้รุกเข้าสู่ประเทศต่างๆ โดยใช้นโยบายเปิ ดการค้าเสรีและมีสทิ ธิเท่าเทียมกัน ในการดาเนินการทางธุรกิจในแต่ละประเทศ ประเทศไหนที่ยงั คงปิ ดไม่เปิ ดให้อเมริกา เข้าไปลงทุนได้ก็มกั จะถูกโจมตีว่าไม่เป็ นประชาธิปไตย หรือถ้าเข้าไปสู่ประเทศนัน้ ๆ แล้วไม่มชี ่องโอกาสให้รุกเข้าไปสู่ธุรกิจสาคัญๆ เพื่อหวังทรัพยากรธรรมชาติจากผู้อ่นื อเมริกาก็มกั จะใช้วธิ ดี สิ เครดิตความเชื่อมันในการลงทุ ่ นหรือบอยคอตการส่งสินค้าเข้า ไปขายในอเมริกาเอง ยังไม่รวมถึงการพยายามรุกคืบเข้าสู่ประเทศในแถบตะวันออก กลาง เพื่อมุง่ ผลประโยชน์ดา้ นพลังงานเป็ นหลัก อย่ างไรก็ตามหากมองในแง่ ดีแล้วก็ จะเห็นว่ า ทุ นนิ ยมเสรีนั น้ ช่ วยท าให้ เศรษฐกิจทัวโลกเติ ่ บโต และมีการแข่งขันอย่างเสรี สร้างบุคลากรที่มคี วามสามารถ ขึน้ มาในระบบเศรษฐกิจเป็ นจานวนมาก แต่ระบบทุนนิยมหาได้มขี อ้ ดีเพียงอย่างเดียว ไม่ ทุนนิยมนัน้ ๆ มีข้อเสียพอๆ กับข้อดี โดยเฉพาะในประเทศกาลังพัฒนาทัวโลกที ่ ่ ต่ างพยายามที่จะใช้ นโยบายระบอบทุ นนิ ยมเลียนแบบสหรัฐ จนต้ องพังทลายทาง เศรษฐกิจมาแล้ว รวมถึงประเทศไทยในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 การพังทลายลงของระบอบทุนนิยมทีเ่ ชื่อกันว่า เสรีทน่ี าโดยสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ สาเหตุเกิดจากการที่บริษัทต่างๆ ไร้ซ่งึ หลักธรรมาภิบาล มุ่งหวังแต่ผลกาไรและการ ขยายตัวทางธุรกิจ โดยเฉพาะสถาบันการเงินที่ต้องการลงทุนเพื่อเก็งกาไรและขยาย การลงทุน เฉพาะอย่างยิง่ การปล่อยสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์เป็ นจานวนมากให้กบั ลูกค้าที่ดอ้ ยคุณภาพโดยไม่คดิ ถึงผลกระทบที่จะตามมา และไม่มกี ารควบคุมดูแลของ ทางภาครัฐ ส่งผลให้เศรษฐกิจเป็ นแบบฟองสบู่ และแตกในเวลาต่ อมา ดูได้จากกรณี เลห์แมน บราเธอร์ส ที่ถือเป็ นการล้มละลายครัง้ รุนแรงที่สุ ดของสหรัฐอเมริกาด้วย ทรัพย์สนิ 691 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยได้ย่นื ล้มละลายไปเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2551 การล้มละลายครัง้ นี้เกิดจากการทีบ่ ริษทั ในเครือทีช่ ่อื ว่า บีเอ็นซี มอร์ทเกจ (BNC Mortgage) ได้ปล่อยกู้ให้กบั ลูกค้าทีไ่ ม่มคี ุณภาพในด้านอสังหาริมทรัพย์ ทาให้เกิดหนี้ เสียจานวนมากตามมา ส่งผลให้ต้องปิ ดตัวลง จนส่งผลกระทบมาถึงเลห์แมน บรา เธอร์ส ที่ต้องรับภาระและประสบปญั หาการขาดทุนอย่างหนัก ส่ งผลให้บริษัทต้อง ล้มละลายในที่สุด ปญั หาเหล่านี้เกิดจากการเก็งกาไรในตลาดอนุ พนั ธ์และลูกหนี้ไม่ สามารถชาระหนี้ได้ จนทาให้เกิดปญั หาสภาพคล่องและเงินหมุนเวียนในระบบ รวมถึง การทุ จริตคอรัปชัน่ ผลประโยชน์ ท ับซ้อนภายในองค์ การที่เป็ นส่ วนส าคัญของการ พังทลายของธุรกิจ อย่างไรก็ตามในความเป็ นจริงไม่เพียงแต่ในสหรัฐฯ เท่านัน้ ที่ได้รบั ผลกระทบ จากปญั หาในระบอบทุนนิยมดังกล่าวนี้ แต่ผลกระทบยังกระจายตัวออกเป็ นลูกโซ่ก่อ ปญั หาเศรษฐกิจในระดับโลกตามมา ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากเครื่องมือทางการเงินและการ ลงทุนที่ถูกผลิตขึน้ มาอย่างสลับซับซ้อนและมีบทบาทที่สาคัญยิง่ ในระบอบดังกล่าวนี้


18 ซึ่งได้ดงึ ดูดให้คนจากทัวทุ ่ กมุมโลกเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงกับทุนนิยม เมื่อธุรกิจทุน นิยมของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แตกลง ทาให้หนีไม่พ้นที่ผลกระทบจะต้องแผ่ออกเป็ นวง กว้างไปทัวโลกและสร้ ่ างปญั หาอย่างหนัก การเติบโตในแนวทางของทุนนิยมที่นับถือ เงินและความมังคั ่ งเป็ ่ นพระเจ้าโดยไม่มขี อบเขตของสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ จึงเป็ นสิง่ ที่ไร้ ความยังยื ่ น อาจไม่เกินเลยไปนักทีจ่ ะกล่าวได้ว่าการล้มละลายลงของธุรกิจขนาดใหญ่ ของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แสดงนัยยะให้เห็นถึงความอ่ อนแอและทรุดโทรมลงของสหรัฐฯ ชาติทค่ี รัง้ หนึ่งได้ภาคภูมใิ จในชัยชนะของระบอบทุนนิยมของตนเองที่มตี ่อสังคมนิยม และคอมมิวนิสต์ทส่ี หรัฐฯ ได้เคยประณามว่าเลวร้ายและต่อสูม้ าอย่างเอาเป็ นเอาตาย 4. ความตกต่าทางการศึกษา

ภาพที่ 2-12 ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISA ปี 2009 ทีม่ า: สฤณี อาชวานันทกุล. www.tcijthai.com. (21 มีนาคม 2555) สฤณี อาชวานันทกุล (2554) กล่าวว่า การศึกษาไทยอยู่ในขัน้ วิกฤติ เด็กไทย โดยเฉลี่ยมีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลต่ ามาก โดยดูจากการสังเกต พฤติกรรมของเด็กแบบสอบทาง การศึกษาแห่งชาติขนั ้ พืน้ ฐาน (O-NET) หรือโครงการ ประเมินผลนักเรียนนานาชาติแสดงให้เห็นถึงศักยภาพด้านการศึกษาของไทยแย่ลง มาก ส่งผลกระทบต่อศักยภาพทีจ่ ะก่อให้เกิดการแข่งขันกับนานาประเทศ


19 ประเด็นสาคัญคือ การศึกษาของไทยที่แย่ลงเรื่อยๆ นโยบายของประเทศไทย จึงมีการกาหนดรากฐานการศึกษาในด้านภาษา เนื่องจากเด็กไทยมีการใช้ภาษาไทย ในทางที่ผ ิด มีการสะกดค าที่ไม่ตรงตามรูปแบบ และเริ่มไม่ค่ อยให้ความส าคัญกับ ภาษาไทย ประกอบกับ เด็ ก ไทยมีค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในภาษาอัง กฤษ ซึ่ง เป็ น ภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อสารกันทัวโลกนั ่ น้ ค่อนข้างต่ า รวมทัง้ ไม่สามารถใช้ในการ สื่อสารได้ดีเท่ าที่ควร และผู้ใหญ่ สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้เพียงแค่ ประโยคสัน้ ๆ นอกจากนี้เด็กไทยไม่สามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้รบั จากการศึกษามาใช้ในการ คิดวิเคราะห์เพื่อน าไปใช้ในการปฏิบ ัติงานได้จริง เนื่ องจากการศึกษาของไทยใน ปจั จุบนั ไม่ได้ให้ความรูค้ วามเข้าใจในแต่ละเรื่องอย่างลึกซึง้ เช่น การศึกษาของไทยให้ นักเรียนได้เรียนหนังสือในหลายๆ วิชาในแต่ ละวัน รวมถึงจ านวนชัว่ โมงในแต่ ละ รายวิชามีเวลาในการเรียนน้อย และไม่ได้ให้นักเรียนมีการศึกษาหรือสนับสนุ นในเรื่อง ที่นักเรียนให้ความสนใจเป็ นพิเศษ และในเรื่องสถานที่ท่สี นับสนุ นการศึกษาของไทย นัน้ ไม่มสี ถานทีเ่ พียงพอต่อการรองรับจานวนบุคลากรทีใ่ ห้ความสนใจเข้าใช้บริการ ซึ่ง สถานที่ท่ีพ ร้ อ มต่ อ การให้ บ ริก ารสนั บ สนุ น ในเรื่อ งการศึ ก ษามัก จะอยู่ ใ นพื้น ที่ กรุงเทพมหานครและตามตัวเมืองทีส่ าคัญเป็ นส่วนใหญ่ จากทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น สิง่ นี้จะเป็ นผลกระทบต่อประเทศไทย หน่ วยงานของ ภาครัฐ และหน่ วยธุ รกิจทุ กหน่ วย เพราะเด็กไทยที่ส าเร็จการศึกษาจะกลายเป็ น ทรัพยากรบุคคลทีเ่ ป็ นเสมือนกาลังสาคัญทีจ่ ะสามารถขับเคลื่อนธุรกิจแต่ละองค์การให้ เกิดประสิทธิภาพ แต่ความตกต่ าที่เกิดขึน้ เหล่านี้มพี ้นื ฐานและต้นทุนทางการศึกษาที่ แตกต่างกันนาไปสู่ความเลื่อมล้าของการศึกษาทีส่ าคัญในการพัฒนานัน่ คือ การพัฒนา บุคลากร ซึ่งบุคลากรจะต้องมีความรูค้ วามเชี่ยวชาญ มีการถ่ายทอดประสบการณ์ซ่งึ กันและกัน และจะต้องมีการดาเนินการอย่างต่ อเนื่องและสม่ าเสมอ และยังสามารถ ส่งผลต่อองค์การธุรกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปไกลได้อกี ด้วย 5. การเปิดเสรีประเภทต่างๆ การเปิ ดการค้าเสรีเป็ นการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ ที่ตกลงกันทาการค้า เสรีโดยในแต่ละประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงสุดและ ต้นทุนต่ า ซึ่งการทาการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศต่างๆ ได้รบั ผลประโยชน์ เป็ นอย่าง มาก ทัง้ การลดการกีดกันทางด้านภาษี และการลดข้อกีดกันทางด้านการค้า ทัง้ นี้ม ี องค์การหลักๆ ทีเ่ ปิดการค้าเสรี ดังนี้ 5.1 องค์การการค้าโลก


20

ภาพที่ 2-13 องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ทีม่ า: Gladstone Thurston. www.thebahamasweekly.com. (23 March 2012) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2554) รายงานว่า องค์กรการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) เป็ นเวทีในการเจรจาลดอุปสรรคและข้อกีดกัน ทางการค้า มีกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ กระบวนการยุติข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ย งั ถือเป็ นกลไก การตรวจสอบและทบทวนนโยบายการค้าของประเทศสมาชิก การที่ประเทศไทย เป็ นสมาชิกองค์กรการค้าโลกจะส่งผลกระทบทัง้ ในเชิงบวกและเชิงลบให้แก่ธุรกิจ ในประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยยังไม่สามารถกาหนดเงื่อนไขในเรื่องการกาหนด อุ ตสาหกรรมที่มสี ทิ ธินาเข้าได้ เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่าประเทศไทยอาจมี ต้นทุนทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากการเป็ นส่วนหนึ่งขององค์กรการค้าโลก จากการทีป่ ระเทศ ไทยต้องนาเข้าสินค้ามากขึ้น ทาให้ผู้คนภายในประเทศมีทางเลือกที่หลากหลาย ธุรกิจในประเทศไทยต้องมีการปรับปรุงสินค้าของตนเองให้ดกี ว่าต่างประเทศ ทา ให้เสียต้นทุนในการพัฒนาและปรับปรุงสินค้าของตนเองเพิม่ ขึน้ ภาครัฐจึงต้องมี การเร่งสร้างความนิยมในสินค้าไทยให้มากขึน้


21 5.2 เขตการค้าเสรี

ภาพที่ 2-14 นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) ทีม่ า: Docstoc. www.docstoc.com. (19 March 2012) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2552) รายงานว่า เป็ นการรวมกลุ่ มทาง เศรษฐกิจเพื่อลดภาษีศุ ลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มให้เหลือน้ อยที่สุ ด การทาเขต การค้าเสรีนนั ้ จะส่งผลกระทบทาให้ประเทศไทยเกิดการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างทางด้าน การค้า ทาให้มกี ารขยายการค้าในระหว่างประเทศทีท่ าเขตการค้าเสรีมากยิง่ ขึน้ ซึง่ โดย ส่วนใหญ่แล้วจะทาให้ประเทศไทยส่งออกสินค้าไปยังประเทศมหาอานาจได้มากขึ้น นอกจากนี้การทาเขตการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถลดอุ ปสรรคทางด้าน การค้าและการลงทุน และยังถือเป็ นการสร้างพันธมิตรทีจ่ ะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจกับ ประเทศอื่นอีกด้วย แต่ ทงั ้ นี้ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับผลกระทบทางด้านลบที่จะ เกิ ด ขึ้น คื อ ทัง้ ภาครัฐ และภาคเอกชนจะต้ อ งให้ ค วามสนใจกั บ ผู้ ผ ลิ ต ไทยที่ ม ี ประสิทธิภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ า ซึ่งจาเป็ นจะต้องเร่งปรับปรุง ศักยภาพและมาตรฐานการผลิต


22 5.3 ประชาคมอาเซียน

ภาพที่ 2-15 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ทีม่ า: สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. www.thailog.org. (19 มีนาคม 2555) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็ นการ รวมกลุ่มของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแผน จะพัฒนาในปี 2558 มีกรอบความร่วมมือทีก่ าหนดไว้ 3 ส่วนหลัก ซึง่ ประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมืองความมันคง ่ และด้านสังคมวัฒนธรรม โดยจะมีการ รวมกันเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื รวมถึงปจั จัยการผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ กติกาทีต่ กลงกัน ซึง่ เป็ นผลดีต่อทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็ นผูบ้ ริโภค เกษตรกร นักธุรกิจ ผูส้ ่งออก-นาเข้า และนักลงทุน หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ (2554) ได้รายงานข่าวถึงผลการสารวจของ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าเกือบ 80% ของผูป้ ระกอบการ ไทยยังไม่รจู้ กั ประชาคมอาเซียน (AEC) แต่ในปจั จุบนั เริม่ มีการรูจ้ กั มากขึน้ การใช้ ประโยชน์ยงั ค่อนข้างน้อยโดยเฉพาะผูป้ ระกอบการที่เป็ นธุรกิจขนาดย่อม (SMEs) ดังนัน้ กระทรวงพาณิชย์จงึ ได้มกี ารหารือร่วมกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทัง้ ภาครัฐ และเอกชน เพื่อ เตรียมความพร้อ มเพื่อ รับมือ กับประชาคมอาเซียนอีก 3 ปี ข้างหน้ า ตัง้ แต่การเจรจาจัดทาแผนงานที่อาเซียนจะก้าวไปสู่ ประชาคมอาเซียน รวมถึงการปฏิบตั ติ ามแผนงาน และแนวทางรองรับผลกระทบ แต่ปจั จุบนั ประเทศ ไทยยังประสบปญั หาหลายด้าน ทัง้ การเมือง ความปรองดองของคนในชาติ อีกทัง้


23 ยังต้ อ งเร่ ง ฟื้ นฟู ป ระเทศครัง้ ใหญ่ ห ลังน้ า ลด ซึ่งต้ อ งใช้ งบอีกมหาศาล และ ภาคเอกชนที่ยงั มีความกังวลเรื่องแผนธุรกิจเพื่อรับมือกับน้ าท่วมทีอ่ าจเกิดขึน้ อีก ครัง้ ต้นทุนการผลิตที่สูงขึน้ จากการปรับขึน้ ค่าแรงของรัฐบาล ปจั จัยต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อการเตรียมพร้อมของภาครัฐและเอกชนพอสมควร ดังนัน้ ภาครัฐ และภาคเอกชนจึงควรมีการบริหารจัดการเพื่อรับมือกับผลกระทบต่ างๆ ที่มกี าร เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา 6. ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรโลก ประกอบกับกระแสโลกาภิวตั น์ท่กี ่อให้เกิด การเคลื่อนย้ายทุนทีส่ าคัญ ได้แก่ ประชากรในพื้นที่และประชากรแฝง ทุนการเงิน ทุน อ านาจ ซึ่งการเคลื่อนย้ายทุนดังกล่ าวทาให้เศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ภาวะการแข่งขันทางการค้ารวดเร็วและรุนแรงมากขึ้น ทัง้ นี้ประเทศไทยจึง ได้รบั ผลกระทบจากการกระแสโลกาภิว ตั น์ ทงั ้ ในด้านดีและไม่ดอี ย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง เนื่ องจากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง และขาดมาตรฐานในการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่าง จริงจัง นาไปสู่การขาดสมดุลของระบบนิเวศน์ 6.1 การล้มเหลวของรัฐบาลในการควบคุม สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) กล่าวว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศไทย ได้รบั ผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกและปจั จัยภายในประเทศ ทัง้ เรื่องของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การเพิม่ ขึน้ ของประชากร การพัฒนาเศรษฐกิจทีม่ ุ่ง การเจริญเติบโตและการแข่งขันทางด้านการค้าและการลงทุน ทาให้มกี ารใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติเกินศักยภาพในการรองรับของระบบนิเวศ ในขณะที่ ขีดความสามารถของการบริหารจัดการและเครื่องมือทางนโยบาย เช่น ฐานข้อมูล กฎระเบียบ การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์ยงั ไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในป จั จุ บ ันยังคงล้มเหลวขาดการบู รณาการ ร่วมกันระหว่างหน่ วยงานรับผิดชอบทีเ่ กี่ยวข้อง การกาหนดเครื่องมือและกลไกใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็ นแบบแยกส่วน ระบบการจัดการ ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมยังไม่เป็ นมาตรฐาน ไม่ครอบคลุม และขาดการเชื่อมโยงกับข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายมีลกั ษณะของ การบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้ ขาดความ เป็ นธรรม และไม่โปร่งใส นอกจากนี้ยงั มีปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และความไม่ เป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร เช่น ที่ดนิ น้ า และป่าไม้ เป็ นต้น ส่งผลให้เกิด


24 ความไม่ ไว้วางใจในการบริหารจัดการของภาครัฐ ในขณะที่เกิดช่ องว่ างทาง นโยบายในการบูรณาการระหว่างการอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ประกอบกับความอ่ อนแอของกลไกการจัดการสิ่งแวดล้อ มและการบังคับใช้ กฎหมาย และความไม่ ม ีประสิทธิภาพของเครื่องมือก ากับและควบคุ มในการ บรรเทาผลกระทบของโครงการขนาดใหญ่ ส่ งผลให้เกิดผลกระทบมากมายจาก โครงการพัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของทัง้ ภาครัฐและเอกชน อีกทัง้ รัฐบาลไม่ให้ ความสาคัญกับการจัดการสิง่ แวดล้อมเท่าที่ควร ซึ่งเปรียบเทียบกับต่างประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ ญี่ปุ่น หรืออเมริกา ได้ให้ความสาคัญกับการดูแลสิง่ แวดล้อม และการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ทัง้ ในภาครัฐและภาคธุรกิจ เห็นได้จากการนาหลักการ บัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) มาใช้อย่างเป็ นมาตรฐานในภาคธุรกิจ รวมไปถึง การจัดทาบัญชีเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น (accounting for sustainability) เป็ นต้น ซึง่ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนและคุณภาพ สิง่ แวดล้อม และนาไปสู่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ส่งผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศโดยรวมอย่างต่อเนื่อง 6.2 ทรัพยากรธรรมชาติ สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) รายงานว่า ทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศไทยมีความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและเกิด ปญั หาความขัดแย้งของการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติมากขึน้ เห็นได้จาก พืน้ ที่ป่าไม้ยงั คงถูกบุกรุกอย่างต่อเนื่อง จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรซึ่งต้องการ ใช้ประโยชน์ จากที่ดินในการผลิตทางการเกษตร เพื่อการอยู่อาศัยและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานภายใต้ทรัพยากรที่ดนิ มีอยู่อย่างจากัด อีกทัง้ ความเสื่อมโทรม ของคุณภาพดินที่เกิดจากดินเปรี้ยวและดินเค็ม รวมทัง้ การสูญเสียพื้นที่บริเวณ ั หาเหล่ านี้ ส่ งผลกระทบต่ อความสมดุ ล ทางระบบนิ เวศและความ ชายฝ งั ่ ป ญ หลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็ นแหล่งพึ่งพิงเพื่อการดารงชีวติ ของชุมชน และเป็ น พืน้ ฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต แต่รฐั บาลก็ไม่สามารถบริหาร จัดการที่ดนิ ให้มปี ระสิทธิภาพได้ ทาให้การใช้ท่ดี นิ ไม่ตรงตามศักยภาพของพื้นที่ และพื้นทีป่ ่าไม้ลดลงและถูกทาลายเหลือเพียงร้อยละ 33.56 ของพื้นทีท่ งั ้ ประเทศ เกิดความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ และไม่สามารถแก้ไขปญั หาผู้ไร้ท่ที ากินได้ ั ่ ดการเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่อง อย่างยังยื ่ น ส่วนทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเกิ เช่นกัน เนื่องจากพื้นที่ป่าชายเลนและแนวปะการังลดลงจากการถูกบุกรุกทาลาย ั ่ ความรุนแรงมากขึ้น มีการเปลี่ยนสภาพไปใช้ประโยชน์อ่นื ๆ การกัดเซาะชายฝงมี ในขณะที่ทรัพยากรประมงลดลงทัง้ ในเชิงปริมาณ ชนิ ด และขนาด ส่ วนการ ั่ ั หาคุ ณ ภาพ เพาะเลี้ ย งสัต ว์ น้ า ชายฝ งขยายตั ว ต่ อ เนื่ อ ง แต่ ย ัง คงสร้ า งป ญ


25 สิง่ แวดล้อมด้านทรัพยากรแร่และพลังงาน เนื่องจากยังคงมีความต้องการใช้เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรเพื่อรองรับความต้องการดังกล่าว ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรน้ ามีแนวโน้มขาดแคลนเพิม่ ขึน้ จากการประมาณการความต้องการใช้น้ าของประเทศที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี ละ 1,281 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 3 ปีขา้ งหน้า และปีละ 2,178 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 5 ปีถดั ไป 6.3 ปญั หาน้ าท่วมใหญ่ของประเทศ

ภาพที่ 2-16 น้าท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย ทีม่ า: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. www.bangkokbiznews.com. (19 มีนาคม 2555) แม้สาเหตุของอุทกภัยครัง้ ใหญ่ท่สี ุดในประวัตศิ าสตร์ของประเทศไทยจะเกิด จากภัยธรรมชาติอย่างพายุโซนร้อน ลมมรสุม และร่องความกดอากาศต่ ากาลัง ทาให้ม ี ฝนตกชุ กจนเกิดน้ าท่ วมต่ อเนื่ อง น าไปสู่ความเดือดร้อนในพื้นที่ภาคเหนื อ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศ และได้รบั อิทธิพลจากพายุโซน ร้อนพร้อมกับไต้ ฝุ่นพัดเข้าสู่ประเทศไทยตอนบนจนมีฝนตกหนักถึงหนักมากเป็ น ระยะๆ จึงเกิดเหตุการณ์น้ าท่วมอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่ทงั ้ นี้อีกสาเหตุหนึ่งที่ ส าคัญคือ การบริหารจัดการน้ าที่ไร้ประสิทธิภาพ ขาดการกาหนดผังเมืองและการ ควบคุมการใช้ประโยชน์ ท่ดี นิ ที่ดี ทาให้ท่วี ่างรับน้ าต่างๆ ถูกแทนที่ด้วยการก่อสร้าง อาคารบ้านเรือนและถนนหนทาง ซึ่งเป็ นการตอกย้าความล้มเหลวของรัฐบาลใน ั หาน้ าท่ วมที่เกิดขึ้น จากป ญ ั หาน้ าท่วมประเทศครัง้ ใหญ่ ท่ี ควบคุ มและป้ องกันป ญ เกิดขึน้ นัน้ กองติดตามประเมินผล (2554) เปิดเผยว่า พืน้ ทีท่ ป่ี ระสบอุทกภัยและพืน้ ที่ ทีม่ กี ารประกาศเป็ นพื้นทีป่ ระสบภัยพิบตั กิ รณีฉุกเฉินตัง้ แต่ปลายเดือนกรกฎาคม – 7 ธัน วาคม ปี 2554 รวมทัง้ สิ้ น 64 จัง หวัด มีผู้ เ สี ย ชีว ิต 675 ราย สู ญ หาย 3 คน


26 ผลกระทบจากอุทกภัยสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และรายได้ของประเทศ ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท (ข้อมูลวันที่ 8 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2554) อีกทัง้ ยังส่งผลกระทบไปยัง หลายๆ ด้าน โดยเฉพาะระบบนิเวศวิทยาทางทะเล และแหล่ งพื้นที่และพืชผลทาง เกษตรได้รบั ความเสียหาย ทาให้สุขภาพอนามัยของประชาชนแย่ลง เกิดโรคระบาด ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย เกิดแผ่นดินถล่ม และดินขาดปุ๋ยธรรมชาติ เกิดความ เสียหายต่อระบบบาบัดน้ าเสียและระบบกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น 6.4 มลพิษ เขตเมือง/เขตอุตสาหกรรม/สารตกค้างไปทัวประเทศ ่ ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ ซึง่ เปิดเผยถึงสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยปี 2554 โดยมีรายละเอียดสถานการณ์ต่างๆ ดังนี้ 6.4.1 มลพิษทางอากาศและเสียง

ภาพที่ 2-17 กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 2535-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง วิจารย์ สิมาฉายา อธิบดีกรมควบคุม มลพิษ ซึ่งได้สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยประจาปี 2554 ว่า สถานการณ์คุณภาพอากาศของประเทศไทยมีแนวโน้มดีขน้ึ เมื่อเทียบกับ ปี ทผ่ี ่านมา ปญั หาหลักยังคงเป็ นฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอนหรือ ฝุ่นขนาดเล็กในบริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานครซึ่งลดลงจากปี ท่แี ล้ว ดังภาพที่ 2-17 ปญั หาที่รองลงมาคือ ก๊าซโอโซนและก๊าซไนโตรเจนได


27 ออกไซด์ ซึ่ ง พบเกิ น มาตรฐานบริ เ วณริ ม ถนนในบางพื้ น ที่ ข อง กรุงเทพมหานคร ส่วนก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ ยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ด้านคุณภาพอากาศในเขตปริมณฑลพบว่า สมุทรปราการ นนทบุร ี และปทุมธานี ยังคงมีปญั หาฝุ่นขนาดเล็กมีค่าเกิน มาตรฐาน ส่วนต่างจังหวัดปญั หาหลักยังคงเกิดจากฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซ โอโซน โดยพืน้ ทีท่ ม่ี ปี ญั หาฝุ่นขนาดเล็กมากทีส่ ุด ได้แก่ สระบุร ี รองลงมา ได้แก่ พะเยา พระนครศรีอยุธยา และเชียงราย สาหรับก๊าซโอโซนพบว่า มีค่าเกินมาตรฐานในหลายพืน้ ที่ โดยพืน้ ทีท่ พ่ี บเกินมาตรฐานมากทีส่ ุดคือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนสถานการณ์สารอินทรียร์ ะเหยในพืน้ ทีม่ าบ ตาพุด พบว่า มีปญั หาสารอินทรีย์ระเหย (VOCs) 4 ชนิดมีค่ าเกิน มาตรฐาน ได้แก่ สารเบนซีน สาร 1,3-บิวทาไดอีน สาร 1,2-ไดคลอโรอี เทน และสารคลอโรฟอร์ม ซึง่ เกินมาตรฐานในบางช่วงเวลาและบางสถานี ด้านสถานการณ์ระดับเสียงริมเส้นทางจราจรและพื้นที่ทวไปใน ั่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีแนวโน้มลดลงจากปีท่ผี ่านมา โดยระดับ เสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ชัวโมงอยู ่ ใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 6.4.2 มลพิษทางน้ า

ภาพที่ 2-18 กราฟแสดงคุณภาพน้ าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555)


28 ก่อนเหตุการณ์น้ าท่วมใหญ่ช่วงเดือนกันยายนพบว่า คุณภาพน้ า ผิวดินอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 30 พอใช้ ร้อยละ 42 และเสื่อมโทรม ร้อยละ 28 ตามล าดับ ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบคุ ณภาพน้ า 5 ปี ย้อ นหลัง พบว่ า คุณภาพน้าโดยรวมมีแนวโน้มดีขน้ึ ยกเว้นแหล่งน้ า 3 แหล่ง ได้แก่ ระยอง ตอนบน พังราดตอนบน และปราจีนบุร ี เสื่อมโทรมลง สาเหตุมาจากความ สกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) เพิม่ ขึน้ ส่วนแม่น้ าสายหลักทีม่ คี ุณภาพ น้าอยูใ่ นเกณฑ์เสื่อมโทรม ได้แก่ เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนกลาง และ ท่าจีนตอนล่าง มีสาเหตุหลักมาจากน้ าเสียชุมชน ทัง้ นี้พบว่า แหล่งน้ าใน ทุกภาคโดยรวมมีคุ ณภาพน้ าดีข้นึ เมื่อเทียบกับปี ท่ผี ่ านมา และตัง้ แต่ ปี 2551-2554 ไม่มแี หล่งน้ าใดอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก ด้านคุณภาพน้ า ั่ ชายฝงทะเลส่ วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดแี ละพอใช้รวมกันกว่าร้อยละ 90 เช่น ั ่ นตก ฝ งอั ั ่ นดามัน ซึ่งเป็ นแหล่งท่ องเที่ยวส าคัญ ส่ วน อ่ าวไทยฝ งตะวั บริเวณที่ยงั คงมีปญั หาคุณภาพน้ าคือ พื้นที่อ่าวไทยตอนใน บริเวณปาก แม่น้ าสายหลักจากการระบายน้ าที่ท่วมขังลงในแม่น้ าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง ลงสู่ทะเลอ่าวไทยตอนใน ทาให้ค่าความเค็มลดต่ าลง ส่งผลต่อ สัตว์น้ าบางชนิดและการเพาะเลีย้ งฝงั ่ 6.4.3 มลพิษกากของเสียและสารอันตราย

ภาพที่ 2-19 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ปริมาณขยะมู ล ฝอยทัว่ ประเทศเพิ่ม ขึ้นทุ กปี โดยปี 2554 มี ประมาณ 16 ล้านตัน หรือวันละ 43,800 ตัน เพิม่ ขึน้ 0.84 ล้านตัน หรือ


29 ร้อยละ 5.5 ตามการขยายตัวของชุ มชนและประชากรที่เพิ่มขึ้น โดย กรุงเทพมหานครมีขยะมูลฝอยประมาณวันละ 9,500 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 22 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ ละวัน ขณะที่เขตเทศบาลและเมือง พัทยามีขยะมูลฝอยประมาณวันละ 17,488 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 40 ของ ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ขณะที่เขตองค์การบริหารส่วนตาบลมี ขยะมูลฝอยประมาณวันละ 16,792 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 38 ของปริมาณมูล ฝอยทัวประเทศ ่ ของเสียอันตรายเกิดขึ้นประมาณ 3.12 ล้านตัน โดยเกิดจาก อุตสาหกรรมประมาณ 2.4 ล้านตัน และประมาณ 0.73 ล้านตัน เป็ นของ เสียอันตรายจากชุ มชน แบ่ งเป็ นกลุ่ มแบตเตอรี่ หลอดไฟ และภาชนะ บรรจุสารเคมีประมาณ 340,000 ตัน กลุ่มซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 367,000 ตัน และมูลฝอยติดเชื้อประมาณ 41,000 ตัน ส่วนสารอันตรายยังคงเป็ นปญั หาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ชีวติ ประชาชนเช่นกัน จากสถิตจิ านวนผูป้ ่วยของกรมควบคุมโรคพบว่า มี ผูป้ ว่ ยได้รบั พิษจากสารเคมีประมาณ 1,934 ราย จาแนกเป็ นผูป้ ่วยทีไ่ ด้รบั พิษจากสารเคมีดา้ นอุตสาหกรรมรวม 210 ราย โดยพืน้ ทีท่ ม่ี ผี ู้ป่วยได้รบั สารพิษอันตรายทางด้านอุตสาหกรรมมากที่สุด คือ ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ และมีผปู้ ่วยทีไ่ ด้รบั พิษจากสารอันตรายทางการเกษตร 1,724 ราย โดยพื้นที่ท่มี ผี ปู้ ่วยได้รบั พิษจากสารอันตรายทางการเกษตรมากที่สุดคือ ภาคเหนือ ทัง้ ยังเกิดอุบตั ิภยั ฉุ กเฉินจากสารเคมี จากการขนส่งสารเคมี เกิดในโรงงานอุตสาหกรรม โกดังเก็บสารเคมี การลักลอบทิง้ กากของเสีย เป็ นต้น และในเขตกรุงเทพและปริมณฑลมีการร้องเรียนปญั หามลพิษมาก ที่ได้สุด ได้แก่ มลพิษทางด้านอากาศ 68% ปญั หามลพิษที่เกิดขึ้นใน ประเทศเหล่ านี้ ส่ งผลกระทบต่ อความสมดุล ของระบบนิเวศวิทยาด้วย เช่นกัน


30 7. คุณลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วของเศรษฐกิจโลก

ภาพที่ 2-20 เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ สภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก ทีม่ า: จุฑามาศ ปญั ญพรสุข. www.chula-alumni.com. (19 มีนาคม 2555) สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล (2549) กล่าวว่า ปจั จุบนั ธุรกิจในประเทศไทยต้อง เผชิญหน้ ากับคู่แข่งทางการค้าที่สาคัญคือ จีน และเวียดนาม ที่มคี ่าแรงงานที่ต่ ากว่า ประเทศไทย ทาให้งานหรือธุรกิจที่เคยมีในไทยนัน้ กลายไปเป็ นของคู่แข่ง เนื่องจาก ลักษณะธุรกิจในประเทศไทยส่วนมากจะเป็ นการรับจ้างผลิตสินค้า ทัง้ การรับจ้างให้กบั ผู้ว่าจ้างภายในประเทศหรือรับจากต่างประเทศ ทาให้การดาเนินงานของธุรกิจขึน้ อยู่ กับผู้ว่าจ้าง เพราะผู้ว่าจ้างอาจจะย้ายฐานการผลิตไปในประเทศอื่นที่มตี ้นทุนต่ ากว่า ประเทศไทยควรที่จะมีความกระตือรือร้นในการจัดการและพัฒนาองค์ก าร เพื่อที่จะ สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ ซึ่งแต่ละธุรกิจนัน้ ควรมีการเตรียมการรับมือกับ สภาวะเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการวางแผนกลยุทธ์ของธุ รกิจ เพื่อให้ พนักงานรับทราบและใช้เป็ นแม่บทในการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้สามารถปฏิบตั ิเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของธุรกิจ และสามารถอยูใ่ นตลาดธุรกิจได้อย่างยังยื ่ น


31 การบริ หารต้นทุน ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพ การประกอบการของภาครัฐและเอกชน

1. ความตกต่าทางศีลธรรม 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่ 3. ความตกต่าและความล้มเหลวของ ระบบทุนนิยม 4. ความตกต่าทางการศึกษา 5. การเปิ ดเสรีทางการค้า 6. ความเสือ่ มโทรมของระบบนิเวศน์ 7. ลักษณะธุรกิจทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ การเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจโลก

แนวทางในการบริหารเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันไปสู่การแข่งขันอย่างยังยื ่ น

1. 2. 3. 4. 5. 6.

การฟื้นฟูศลี ธรรม หลักธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศต่างๆ โดยเฉพาะทางการบัญชี 7. การออกแบบระบบบัญชี 8. การบริหารต้นทุนทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพ

ภาพที่ 2-21 สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและแนวทางในการบริหาร จัดการเพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทยเป็ นไปอย่างล่าช้า เนื่องมาจากความตกต่ าทาง ศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชัน่ ความตกต่ าและความล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่ า ทางการศึกษา การเปิ ดเสรีทางการค้า ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และลักษณะของธุรกิจที่ไม่ สามารถตอบรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้ ซึง่ ส่งผลต่อการบริหารจัดการองค์กร ในการพัฒนาขีด ความสามารถนัน้ จะต้องอาศัยระยะเวลาในการฟื้ นฟูความตกต่ าทางด้านศีลธรรม การนาหลักธรร มาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศและการออกแบบระบบทางการบัญชี และการบริหารต้นทุน มาประยุกต์ใช้ภายในองค์การ เพื่อลดต้นทุนในการดาเนินงาน นาไปสู่การเป็ นผู้นาทางด้านต้นทุน สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ และจะเป็ นแนวทางในการนาองค์กรไปสู่การพัฒนา อย่างยังยื ่ น


32 1. ความหมายของต้นทุน ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่าวว่า ต้นทุน (cost) หมายถึง มูลค่าของ ทรัพยากรที่กจิ การต้องสูญเสียไป เพื่อให้ได้สนิ ค้าหรือบริการกลับมา โดยมูลค่าของ ทรัพยากรนัน้ จะต้องสามารถวัดได้เป็ นหน่ วยเงินตรา เป็ นการลดลงของสินทรัพย์หรือ การเพิม่ ขึน้ ของหนี้สนิ ซึง่ เมื่อต้นทุนใดทีเ่ กิดขึน้ และธุรกิจได้ใช้ประโยชน์ไปทัง้ สิ้นแล้ว ต้นทุนนัน้ จะถือว่าเป็นค่าใช้จา่ ย แต่อย่างไรก็ตามต้นทุนและค่าใช้จา่ ยนัน้ มีวตั ถุประสงค์ ทีแ่ ตกต่างกันในแง่ของการก่อให้เกิดประโยชน์และการบันทึกบัญชี หากธุรกิจใดมีการ บริหารต้นทุนทีด่ แี ล้วก็จะทาให้ธุรกิจนัน้ ได้เปรียบทางการแข่งขันกับคู่แข่งได้ 2. ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ อนุ ธ ิดา ประเสริฐศักดิ ์ (2554) กล่ าวว่า ธุ รกิจที่แตกต่ างกันมีล กั ษณะของ ต้นทุนที่แตกต่างกัน ผู้บริหารจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับต้นทุนของกิจการ ตนเอง เพื่อให้การนาข้อมูลต้นทุนนามาใช้ในการบริหาร การวางแผนและตัดสินใจ การ ควบคุม และการจัดทางบประมาณมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ต้นทุนเป็ นปจั จัยสาคัญต่อทุกธุรกิจ เพราะต้นทุนที่เพิม่ ขึ้นหมายถึงก าไรที่ ลดลง แต่ถ้ากิจการสามารถลดต้นทุนลงได้กจ็ ะทาให้กาไรเพิม่ ขึน้ และกิจการสามารถ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ หากกิจการเป็ นผู้นาทางด้านต้ นทุนในตลาด ผูบ้ ริหารสามารถนากลยุทธ์การลดต้นทุนไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับกิจการ ซึง่ จะมี ผลทาให้เกิดความยังยื ่ นของธุรกิจ 3. การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ภาพที่ 2-22 เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)


33 ั หาจากภาวะ ปิ ยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่ าวว่ า ธุ รกิจประสบป ญ เศรษฐกิจที่มคี วามผันผวน ผู้บริหารจึงต้องพยายามหาวิธกี ารต่างๆ ที่จะทาให้ธุรกิจ สามารถอยู่รอดได้ ซึ่งสิ่งแรกที่ผู้บริหารจะค านึงถึงคือ การลดต้นทุน และการจัดทา บัญชีต้นทุน ซึ่งเป็ นข้อมูลที่มคี วามสาคัญ เนื่องจากการบัญชีต้นทุนทาให้รถู้ ึงต้นทุน ของการบริหารกิจกรรมหรือการท างานในฝ่ ายต่ างๆ ซึ่งการจัดทาบัญชีต้นทุนที่ดี สามารถทาให้ผู้บริหารวางแผน คาดการณ์ และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง อันจะนาไปสู่ การวางแผนในการลดต้นทุนของธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การธุรกิจต่างๆ ต้องให้ความสาคัญกับการมุ่งเน้นการพึ่งตนเอง และการ บริหารต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด จึงเกิดวิธกี ารต่างๆ ในการบริหารต้นทุนในระบบ การผลิต ซึง่ ประกอบด้วย 5 วิธ ี 3.1 ระบบการบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม วรศักดิ ์ ทุมมานนท์ (2544) กล่าวว่า ระบบการบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ นแนวคิดของการบริหารต้นทุน ซึง่ ถือว่าเป็ น กิจกรรมที่ทาให้เกิดต้นทุน จึงต้องมีการคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ เกิดขึ้นเข้าสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง หลังจากนัน้ จึงคิดต้ นทุนของกิจกรรมเข้าเป็ น ผลิตภัณฑ์จะทาให้ผบู้ ริหารได้รบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้องยิง่ ขึน้ นาตยา ตรีร ัตน์ ดิลกกุ ล (2550) กล่ าวว่ า ประโยชน์ จากการน าระบบ ต้นทุนตามกิจกรรมมาใช้มดี งั นี้ 1. ช่วยให้การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์มคี วามถูกต้องใกล้เคียงความ เป็นจริง 2. ช่วยในการวัดผลการปฏิบตั งิ านของกิจการ 3. ช่วยในการลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายของกิจการ 4. เชื่อมโยงกลยุทธ์ในการดาเนินงานของกิจการเข้ากับการตัดสินใจ อัน จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการพัฒนากิจกรรมทีเ่ ป็ นงานหลักของ องค์การ 5. ใช้ เ ป็ นข้ อ มู ล ในการต่ อ ยอด เพื่อ การจัดท าการบริหารตามฐาน กิจกรรม (Activity Based Management: ABM) เพื่อให้เกิดการบริหาร องค์การทีม่ ปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ 3.2 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ธนิต โสรัตน์ (2551) กล่าวว่า ในการบริหารกลยุทธ์ ผูบ้ ริหารควรเลือกใช้ กลยุทธ์ท่เี หมาะสมกับสภาพธุรกิจขององค์การ การนาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ซึ่งเป็ นเครื่องมือการบริหารมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพนัน้ ต้องมีการ ออกแบบโครงสร้างและกระบวนการต่างๆ ภายในห่วงโซ่อุปทานอย่างเหมาะสม


34 และครอบคลุม เพื่อการกาหนดกระบวนการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ แล้วจึงทาการ ระบุประเภทของเทคโนโลยี ส่งเสริมการดาเนินงานในแต่ละกระบวนการ รวมทัง้ การพิจารณาบุคลากรให้มลี กั ษณะทีส่ อดคล้องกับงานในแต่ละกระบวนการ วิธกี าร ดังกล่ าวนี้จะช่ วยให้ผู้ปฏิบ ัติงานสามารถมองห่ วงโซ่ อุ ปทานได้ท งั ้ ระบบอย่าง แท้จริง 3.3 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็ นอีกเครื่องมือที่ นามา ใช้ในการบริหารต้นทุน เพื่อความยังยื ่ นในการประกอบการ และพร้อมรับมือ ต่อการเปลีย่ นแปลงในยุคโลกาภิวฒ ั น์จากปญั หาความตกต่ าทางศีลธรรม การเมือง และคอรัปชัน่ เป็นต้น ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2554) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเศรษฐกิจที่ สามารถอุม้ ชูตวั เองได้ ให้มคี วามพอเพียงกับตัวเอง อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน ซึง่ ต้อง สร้างพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจของตนเองให้ดีก่อนคือ ให้ตนเองสามารถอยู่ได้ อย่างพอกินพอใช้ มิได้มุ่งหวังที่จะสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้เจริญอย่าง รวดเร็วแต่เพียงอย่างเดียว การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย ความพอประมาณคือ องค์การต้องรูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสมและสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม โดยพัฒนาจากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ก่อน ไม่คา้ กาไรเกินควร ความมี เหตุ ผ ลคือ ตัดกิจกรรมที่ไม่ จ าเป็ นเพื่อลดค่ าใช้จ่ าย และการมีภู ม ิคุ้มกัน คือ องค์การไม่ควรสร้างภาระหนี้สนิ มากจนเกินความสามารถ 3.4 การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) หมายถึง แนวคิดทางการบัญชีทค่ี านึงถึงการจาแนกต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้องหรือ มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมออกจากค่าใช้จ่ายทัง้ หมดที่เกิดขึน้ จากการผลิต โดยมี พื้นฐานในการค านวณที่คล้ายกับการคิดต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) ซึง่ โดยปกติแล้วต้นทุนดังกล่าวจะแฝงตัวอยู่ ทาให้ผปู้ ระกอบการ ไม่ทราบถึงจานวนที่แท้จริงของต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม ซึ่งแนวคิดดังกล่าวจะ สามารถช่วยให้ทาถึงจุดนี้ได้อย่างชัดเจน สิ่งส าคัญเพื่อที่จะได้ทราบถึงต้นทุ นตามแนวคิดของการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อมนัน่ ก็คอื ศูนย์ต้นทุน (cost centre) ซึง่ จะทาหน้าทีใ่ นการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึน้ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามที่ได้ก่อไว้ ตลอดจนการ นาข้อมูลที่ได้นาไปจัดท าเป็ นรายงาน เพื่อการบริหารภายในสาหรับปรับปรุง กระบวนการผลิต และการจัดทาเป็ นรายงาน เพื่อเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก


35 การที่อ งค์ การต่ างๆ น าหลักการบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้ อ มเข้ ามาใช้ นอกจากจะเป็ นการนาข้อมูลทีไ่ ด้มาเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและลดต้นทุนแล้ว ยังถือเป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมอีกด้วย 3.5 ระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน เกียรติขจร โฆมานะสิน (2550) กล่าวว่า ลีน (Lean) คือ การบูรณาการ แนวคิด กิจกรรม และวิธกี ารที่เป็ นระบบในการระบุและกาจัดความสูญเปล่า หรือ สิง่ ที่ไม่เพิม่ คุณค่าภายในกระแสคุณค่าของกระบวนการ ซึ่งความสูญเปล่าคือ ทุก สิง่ ทุกอย่างที่เพิม่ ต้นทุนหรือเวลา โดยปราศจากการเพิม่ คุณค่า ทาให้เกิดสภาพ การไหลอย่างต่อเนื่อง และทาการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างคุ ณค่าให้แก่ ระบบอยู่เสมอ รวมทัง้ มุ่งผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ ดียงิ่ ขึ้นโดยใช้ทรัพยากรการผลิตที่น้อยกว่า องค์การสามารถนาวิธ ีการบริหาร ต้นทุนดังกล่าวมาปรับใช้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และจะทาให้ เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ นตามมา แนวคิ ดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น

ภาพที่ 2-23 สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ทีม่ า: จากการวิเคราะห์ร่วมกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)


36 1. การพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์ (2553) ได้กล่าวถึงแผนแม่บทเพื่อพัฒนาอย่างยังยื ่ น ของโลก เพื่อ สร้างความสมดุ ล ให้ เ กิดขึ้น โดยครอบคลุ มการพัฒนาที่ส มดุ ล ทัง้ 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เรียกว่ า ไตรก าไร (Triple Bottom Line: 3BL) ซึง่ เป็ นการพัฒนาที่จะต้องคานึงถึงเศรษฐกิจ สังคม และ สิง่ แวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับสังคมจะทาให้เกิดความเท่าเทียมกันใน การแบ่งสรรทรัพยากรระหว่างสมาชิกในสังคม การพัฒนาสังคมคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะ ท าให้เกิดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ผู้คนช่ วยกันดู แลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีก็จะมี ความสามารถหาประโยชน์ จากสิ่งแวดล้อมได้นาน การพัฒนาเศรษฐกิจคู่ ไปกับ สิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิดความสมดุล ถ้าเศรษฐกิจเติบโตบนความเสื่อมของสิง่ แวดล้อม ก็จะเกิดความไม่สมดุลขึน้ สุดท้ายเราก็ต้องทุ่มเงินจานวนมากในการรักษาสิง่ แวดล้อม การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจะยืนได้ด้วยการพัฒนาทัง้ 3 สาขา คือ เศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม ซึ่งทัง้ หมดนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานของศีลธรรมอันดีงาม จึ งจะทาให้เรามี เศรษฐกิจที่เจริญเติบโต มีสงั คมที่เป็ นสุข และมีสงิ่ แวดล้อมที่ดี จนสามารถเกิดความ สมดุลและยังยื ่ น 1.1 ความหมายของการพัฒนาอย่างยังยื ่ น The UK government’s Department of Environmental Food and Rural Affairs กล่าวว่า การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (sustainable development) หมายถึง “การ ตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปจั จุบนั โดยไม่มผี ลกระทบในทางลบต่อความ ต้องการของคนรุ่นต่อไปในอนาคต” เนื่องจากทุกครัง้ ทีม่ กี ารตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปจั จุบนั ต้องมี การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ซึ่งส่งผลกระทบต่ออนาคตในทาง ลบ การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจึงเป็ นแนวคิดในการแก้ ปญั หาเหล่านี้ท่เี กิดขึ้น โดยมี กฎเกณฑ์สาหรับการพัฒนาอย่างยังยื ่ นที่ได้รบั การยอมรับจากการดาเนินงานของ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการวางแผนการดาเนินงานที่จะส่งผลให้เกิดการ พัฒนาอย่างยังยื ่ นแทนทีจ่ ะเน้นถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ด้านคือ ภาครัฐและภาคเอกชน 1. ภาครัฐเพื่อให้การพัฒนาที่ยงยื ั ่ นสามารถแทรกเข้าไปในทุกส่วนของ สังคมโลก องค์การสหประชาชาติจงึ เสนอให้ประเทศกาลังพัฒนาที่ ประสบความล้มเหลวในการพัฒนาตามที่กล่าวมาข้างต้น เร่งปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการปฏิรปู การเมือง การบริหาร การศึกษา การขจัดและลดความยากจน การส่งเสริมให้มกี ารบูรณาการทางการ ผลิต ทางการเกษตร การสร้างาน การรักษาสิง่ แวดล้อม และการลด


37 อัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร เป็ นต้น ซึง่ ทางภาครัฐจะมีการกาหนด รูปแบบในการประเมินอย่างยังยื ่ นใน 4 ขัน้ ตอน โดยมีการใช้วธิ กี าร ทางบัญชีต้นทุ นเป็ นพื้นฐานในการประเมินผลกิจกรรมต่ างๆ ที่ม ี ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและสังคม ซึง่ ประกอบด้วย 1.1 ขัน้ ที่ 1 กาหนดวัตถุประสงค์ของต้นทุน กาหนดจุดสาคัญของ การบริหารออกมาเป็ นแนวทางของโครงการต่างๆ โดยทีมงาน โครงการ 1.2 ขัน้ ที่ 2 ระบุขอบเขตของการวิเคราะห์ จะมีการกาหนดอย่าง แพร่หลาย ซึ่งการติดตามผลกระทบของโครงการนัน้ มีมากกว่า วงจรทีม่ กี ารแพร่ขยายผลกระทบเหล่านัน้ โดยตรง ทาให้สามารถ ควบคุมได้โดยทีมงานโครงการ 1.3 ขัน้ ที่ 3 ระบุผลกระทบของวัตถุประสงค์ต้นทุน ทาการพิจารณา ภายใต้หวั ข้อเศรษฐกิจ ทรัพยากรทีใ่ ช้ สิง่ แวดล้อมและสังคม 1.4 ขัน้ ที่ 4 ผลกระทบจากกาไรเกิดขึน้ ผลกระทบของโครงการจะถูก แปลงเป็ นฐานการวัดทัวไปด้ ่ านตัวเงิน ที่มคี วามหลากหลายใน การสร้างรูปแบบการวัดที่ได้ท่อี าจนามาใช้เพียงการเปิ ดเอกสาร เท่าที่จะเป็ นได้เพื่อให้ทราบราคาปจั จุบนั ส าหรับการระบุกลไก ลการสร้างกาไรที่จะเกิดขึ้น เมื่อทาการสร้างแบบจาลองสาหรับ การสร้างโครงการและระบุ การหมุนเวียนที่ส าคัญทัง้ หมด ซึ่ง อาจจะมีการเปลี่ยนเป็ นทางด้านตัวเงิน ซึ่งช่วยให้สามารถสร้าง กราฟได้ เป็ นผลให้ ก ราฟที่เ ป็ นรู ป แบบพื้นฐานออกมาเป็ น รูปแบบการประเมินการพัฒนาอย่างยังยื ่ น 2. ภาคเอกชน การดาเนินธุรกิจขององค์การจะมีกาหนดแนวทางในการ ปฏิบตั ใิ ห้กบั ตัวขององค์การในการป้องการเกิดขึน้ ของความล้มเหลว ในการพัฒนาอย่างยืนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านตัวองค์การ ด้าน ดาเนินงาน และด้านการเงิน ซึง่ แนวโน้มของทัง้ 3 ด้าน ทีก่ ล่าวมานัน้ เป็นตัวทีใ่ ช้การประเมินผลการพัฒนาอย่างยังยื ่ นหลักขององค์การ ถึง การประสิทธิภาพในประกอบธุ รกิจขององค์การในภาคเอกชน ซึ่ง หลายองค์ ก ารสามารถด าเนิ น การในเรื่ อ งเหล่ า นี้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ แต่ในทางกลับกันก็ยงั มีในบางองค์การทีไ่ ม่สามารถทา การพัฒนาอย่างยังยื ่ นได้ โดยสามารถทราบถึงประสิ ทธิภาพการ ปฏิบตั ขิ ององค์การจากปจั จัยในการประเมินผลดังภาพที่ 2-24


38

ภาพที่ 2-24 หลักการในการบริหารจัดการองค์กร ทีม่ า: Chartered Institute of Management Accountants. www.cgma.org. (21 March 2012) 2. การฟื้นฟูค่านิยม หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุดในทุกเรือ่ ง 2.1 หลักธรรมาภิบาล (ดังแสดงในภาพหน้าถัดไป)

ภาพที่ 2-25 องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล ทีม่ า: ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. http://www.kruinter.com. (18 มีนาคม 2555)


39 ศักดิช์ ัย ภู่เจริญ (2553) กล่ าวว่ า หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การ บริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็ นแนวทางสาคัญในการจัดระเบียบให้ สังคม ซึ่งเป็ นหลักการเพื่อการอยู่ร่วมกันในบ้านเมืองและสังคมอย่างมีความสงบ สุข องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลจากภาพที่ 2-26 มีองค์ประกอบที่ สาคัญ 6 ประการ ดังนี้ 1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทนั สมัย และเป็ นธรรม เป็ นที่ยอมรับของสังคมและสมาชิก ถือปฏิบตั ริ ่วมกัน อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม 2. หลักคุ ณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมันในความถู ่ กต้อง โดยการ รณรงค์เพื่อสร้างค่านิยมทีด่ งี ามให้ผปู้ ฏิบตั งิ านในองค์การหรือสมาชิก ของสังคมถือปฏิบตั ิ 3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีเ่ ปิดเผยข้อมูล ข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ ซึง่ จะเป็ นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่วยให้การทางาน ของภาครัฐและภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรัปชัน่ 4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีป่ ระชาชนมี ส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญๆ ของสังคม 5. หลักความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้ าที่ การงานทีต่ นรับผิดชอบอยู่ และพร้อมทีจ่ ะปรับปรุงแก้ไขได้ทนั ท่วงที 6. หลักความคุ้มค่า การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มจี ากัดให้ เกิดประโยชน์คุม้ ค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม 2.2 จิตสานึกแห่งความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร บุณิกา จันทร์เกตุ (2555) กล่าวว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจที่ไม่มศี ีลธรรม โดย ดาเนินธุรกิจมุ่งเน้นแต่ผลกาไรแต่ไม่คานึงถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้บริโภคมี มากขึน้ ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัตถุ เป็ นสาเหตุท่ที าให้สงั คมแสวงหาเงินทอง มากกว่าที่จะให้ความส าคัญทางด้านจิตใจ สังคมจึงเสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ ชัดเจนท่ามกลางการแข่งขันทางธุรกิจ ดังนัน้ การปลูกฝงั ความสานึกให้กบั บุคคล และองค์การเพื่อให้มคี วามรับผิดชอบต่ อตนเองและสังคมจึงควรที่จะเกิดขึ้นใน สังคม ด้วยเหตุน้ีในปจั จุบนั จึงมีการกล่าวถึงคาว่า “จิตสาธารณะ” เพื่อให้องค์การ ธุรกิจได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะมากกว่าตนเอง โดยในภาพรวม แล้วหากองค์การมีความรับผิดชอบต่ อสังคมจะมีส่ วนช่ วยเหลือเศรษฐกิจของ


40 ประเทศให้มคี วามมันคงเจริ ่ ญรุ่งเรืองได้ เนื่องจากองค์การที่มคี วามรับผิดชอบต่อ สังคมย่อมไม่ทาให้เกิดความเสียหายในเรือ่ งต่างๆ 2.3 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระ ราชด ารัสชี้แนะแนวทางการด าเนิ นชีว ิตแก่ พสกนิ กรชาวไทย ตัง้ แต่ ก่ อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้ นย้าแนวทางการแก้ไข เพื่อให้ รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น ภายใต้กระแสโลกาภิวฒ ั น์ และความเปลีย่ นแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการ พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวฒ ั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ ุม้ กันในตัวทีด่ ี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและ ภายใน ทัง้ นี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการน าวิชาการต่ างๆ มาใช้ในการวางแผนและด าเนิ นการทุ กขัน้ ตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ อง รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มสี านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้ความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ด าเนิ นชีว ิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็ นอย่างดี1

1

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ประมวลและกลันกรองจากพระราชด ่ ารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ พระราชทานในวโรกาสต่างๆ รวมทัง้ พระราช ดารัสอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง


41

ภาพที่ 2-26 สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีม่ า: สุดารัตน์ เสาวโค. www.gotoknow.org. (19 มีนาคม 2555) 2.4 การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการบริหารจัดการองค์การ ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ (2554) อ้างถึง สุเมธ ตันติ เวชกุล (2554) กล่าวว่า หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการเหมือนกับศีล 5 คือ นาไปปฏิบตั ิท่ีไหนก็เหมือนกันจะต่ างกันที่ว ิธ ีการกระทาหรือเส้นทางที่จะเดิน เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเพียง “เครื่องมือ” ซึง่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร องค์การได้ทุกองค์การ เป้าหมายก็เพื่อทาให้เกิดความมันคง ่ มีความสุข มีความ ยังยื ่ น โดยอาศัยแนวทางการดาเนินงานที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. ความพอประมาณในทุกด้าน ความพอดีท่ไี ม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่นื 2. ความมีเหตุ มผี ล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล 3. การมีภูมคิ ุ้มกันที่ดใี นทุกด้าน หมายถึง องค์การเราต้องมีการเตรียม ตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล


42 4. เป็ นองค์การที่ม ีความรู้คู่คุ ณธรรม สมดุ ลและยังยื ่ น การสะสมทุ น มนุ ษย์ ทุ นความรู้ การบริ ห ารจั ด การความรู้ ( Knowledge Management: KM) จะมีนโยบายโดดเด่นในการพัฒนาพนักงานอย่าง ต่อเนื่อง เน้นให้พนักงานมีคุณธรรมจริยธรรมในการทางานและในการ ดารงชีวติ คุณภาพชีวติ ในการทางานกับดุลยภาพของชีวติ สุขภาพ และความปลอดภัยในชีวติ 3. การสร้างองค์การให้เป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ 3.1 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ แก้ วตา ไทรงาม และคณะ (2548) ได้ให้ความหมายของแนวคิด ซึ่ง สามารถสรุปได้ว่า องค์การที่มุ่งสู่ความเป็ นเลิศด้วยการพัฒนาความสามารถของ คนในองค์การ ทัง้ ในด้านความรู้ ทักษะ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อองค์การ โดย ส่งเสริมการเรียนรูข้ องสมาชิกทุกๆ คน เน้นให้บุคลากรเรียนรูด้ ้วยการปฏิบตั จิ ริง ให้เกิดประสบการณ์ และนามาพัฒนาปรับปรุงเปลีย่ นแปลงองค์การอย่างต่อเนื่อง 3.2 ความสาคัญของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้

ภาพที่ 2-27 แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ทีม่ า: เสาวนิต คาจันทา. www.songthai.com. (18 มีนาคม 2555) จากภาพที่ได้แสดงให้เห็นถึงปจั จัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปจั จุบนั ซึ่งส่งผล กระทบต่ อองค์การอย่างมาก สามารถอธิบายได้ว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจแข่งขันกัน อย่างรุนแรงจากกระแสโลกาภิวตั น์และเศรษฐกิจโลก ทาให้ทุกประเทศต้องปรับตัว และพัฒนาความได้เปรียบ ลดข้อด้อยของตนเอง เพื่อท าให้ศ ักยภาพของการ แข่งขันเพิม่ มากขึน้ การแข่งขันในรูปแบบใหม่น้ีองค์การทีจ่ ะอยู่รอดต้องผลิตสินค้า ทีม่ คี ุณภาพดีขน้ึ และเน้นลูกค้าเป็ นสาคัญ นอกจากนี้ยงั มีปญั หาเศรษฐกิจทัวโลก ่


43 ซบเซาจากความล้มเหลวของระบบทุนนิยม แรงงานคุณภาพขาดแคลน เนื่องจาก เป็นเพราะระบบการศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงานผลิตคนได้ชา้ ไม่ทนั กับความ เปลี่ยนแปลงของสภาพธุรกิจในปจั จุบนั ดังนัน้ บุคลากรในองค์การจาเป็ นต้อง ฝึ กฝนตนเองผ่านการเรียนรูด้ ้วยตนเอง เป็ นต้น ทาให้การสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูเ้ ข้ามามีบทบาททีส่ าคัญ เพื่อความอยูร่ อดของธุรกิจในปจั จุบนั 3.3 การสร้างองค์การให้เป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ ปาริฉั ตต์ ศังขะนันทน์ (2548) ได้กล่ าวว่ า การสร้างองค์การให้ เป็ น องค์การแห่งการเรียนรู้ อันดับแรกทาการสารวจสภาพปจั จุบนั ขององค์การและทา การประเมินถึงศักยภาพและบุคลากร รวมทัง้ ประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรูใ้ นปจั จุบนั จากนัน้ นาข้อมูลทีไ่ ด้มากาหนดเป้าหมายกลยุทธ์ หรือแนวทางที่ จะใช้เป็ นรูปแบบและกิจกรรมที่จะทาให้เกิดกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกัน และการ ดาเนินงานตามแผนทีต่ งั ้ ไว้ มีการติดตาม และจัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลใน ขัน้ ท้ายสุดหลังจากทีด่ าเนินการไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าองค์การมีลกั ษณะ เป็นองค์การแห่งการเรียนรูม้ ากน้อยเพียงใด เพื่อทาการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ประกอบกับการนากฎของ Peter Senge มาใช้ในการสร้างองค์การแห่ง การเรียนรูโ้ ดยมีกฎ 5 ประการ ซึง่ เปี่ยมพงศ์ นุ้ยบ้านด่าน (2543) ได้สรุปไว้ว่า 1. การเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ (personal mastery) สมาชิกของ องค์การทีเ่ ป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ จะต้องมีลกั ษณะสนใจเรียนรู้สงิ่ ใหม่อยูเ่ สมอ เพื่อเพิม่ ศักยภาพของตน 2. แบบอย่างทางความคิด (mental models) มีการศึกษาและรู้เท่าทัน การเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ โดยมีทศั นคติทด่ี ี 3. การมีวสิ ยั ทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ (shared vision) สมาชิกทุก คนในองค์การมีการพัฒนาวิสยั ทัศน์ของตนให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ โดยรวม เพื่อไปสู่จดุ มุง่ หมายเดียวกัน 4. การเรียนรู้เป็ นทีม (team learning) จะส่ งผลให้เกิดความคิด ที่ ั หาที่ หลากหลาย รับฟ งั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน เรียนรู้การแก้ ปญ ซับซ้อนร่วมกัน 5. ระบบการคิดของคนในองค์การ (system thinking) มีการคิดอย่างเป็ น ระบบ โดยคิดถึงภาพรวม เพื่อเชื่อมโยงสิง่ ต่างๆ และเข้าใจโครงสร้าง อย่างเป็นขัน้ ตอน


44 4. การออกแบบระบบการสื่อสารและสารสนเทศ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อประสิทธิภาพของ องค์การ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในโลกปจั จุบนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา มีการแข่งขัน ทางธุรกิจสูง องค์การที่มกี ารบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว ย่อมทาให้สามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ ดังนัน้ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในองค์การ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ได้นัน้ องค์การจะต้องสร้างความแข็งแกร่งเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้ เพื่อให้องค์การเกิดความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน 4.1 ระบบสารสนเทศปจั จัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารองค์การ เสกสิทธิ คูณศรี (2555) กล่าวว่า จากการเปลี่ยนแปลงของโลกปจั จุบนั ที่ มีการแข่งขันกันอย่างสูงขึน้ การตัดสินใจของผูบ้ ริหารจึงมีระยะเวลาทีจ่ ากัดภายใต้ เงื่อนไขต่ างๆ มากมาย ทาให้บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์ก ารมีมากขึ้น ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีท่ใี ช้กนั ในปจั จุบนั ถือว่าเป็ นตัวขับเคลื่อนทีส่ าคัญ ที่จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถเก็บรวบรวมข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลง เรียกดูข้อมูล ประมวลผล รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูลสามารถทาได้อย่างง่ายขึน้ และมีค่าใช้จ่ายที่ ลดลง ในขณะเดียวกันระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีกย็ งั สามารถช่วยให้เกิดการ พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการในการผลิตและการปฏิบตั งิ านให้มตี ้นทุนที่ต่ าลง ใช้เวลาในการทางานทีล่ ดลงแต่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพมากยิง่ ขึน้ ดังนั ้น องค์ ก ารทุ ก ๆ องค์ ก ารจึง ควรมีการน าระบบสารสนเทศและ เทคโนโลยีไปใช้เพื่อช่วยในการพัฒนาและสร้างความสาเร็จให้กบั องค์การ เพื่อ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปจั จุบนั และยากต่อการคาดการณ์ อย่างไรก็ตามการนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีไป ใช้เพื่อพัฒนาองค์การให้ส าเร็จได้นั น้ ขึ้นอยู่ก ับความพร้อมของป จั จัยภายใน องค์การหลายด้าน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ ฐานข้อมูล ระบบเครือข่ายการสื่อสาร ความซับซ้อนของกระบวนการทางาน บุคลากรทีท่ างาน เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และที่สาคัญคือ ผู้ใช้งาน โดยต้องอาศัยการบริหารการ เปลี่ยนแปลงที่ดี เพื่อ ให้ ผู้ ใ ช้ งานยอมรับและใช้ งานเทคโนโลยีได้ อ ย่ างเต็ ม ประสิทธิภาพ 4.2 การออกแบบและวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี อนุ รกั ษ์ ทองสุโขวงศ์ (2548) กล่าวว่า ปจั จุบนั งานของนักบัญชีมกี าร เปลี่ยนแปลงจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัย ทาให้ม ี การพัฒนาชุดคาสังส ่ าเร็จรูปหรือชุดคาสังเฉพาะส ่ าหรับช่วยในการเก็บรวบรวม


45 และประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาและเพิม่ ความถูกต้องในการทางาน แก่ผใู้ ช้งาน ทาให้นกั บัญชีมเี วลาในการปฏิบตั งิ านเชิงบริหารมากขึน้ ระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ น แนวคิดของระบบการบริหารต้นทุนแบบใหม่ ซึง่ มีจุดมุ่งหมายให้ผบู้ ริหารหันมาให้ ความสนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง ดังนัน้ จึงมีการบริหาร โดยแบ่ งออกเป็ นกิจกรรมต่ างๆ และถือว่ ากิ จกรรมเป็ นสิ่งที่ท าให้เกิดต้ นทุ น กิจกรรม คือ การกระท าที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็ นผลผลิตได้ ดังนัน้ การบัญชีต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้ นการระบุกิจกรรมแล้วยังระบุต้นทุน ของกิจกรรม เพื่อใช้ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ และเพื่อเป็ นแนวทางในการ พัฒนาประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ระบบต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นระบบการใช้ทรัพยากรขององค์การไปใน กิจกรรม โดยจะแบ่งการบริหารออกเป็ นกิจกรรมต่างๆ โดยที่ต้นทุนกิจกรรมจะมี การปนั ส่วนเข้าสู่ผลิตภัณฑ์นัน้ ๆ ตามปริมาณการใช้กจิ กรรมของผลิตภัณฑ์เป็ น สาคัญ นอกจากนี้ยงั ถือว่ากิจกรรมสนับสนุ นต่างๆ เกิดขึน้ เพื่อให้การดาเนินงาน ดาเนินไปตามปกติ การใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นพื้นฐานในการนาไปใช้ในระบบ บัญชีอ่นื ๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงกว่า เช่น ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการประเมินว่ากิจกรรมใด เป็นกิจกรรมทีเ่ พิม่ คุณค่าและกิจกรรมไม่เพิม่ คุณค่า สามารถนาข้อมูลทีไ่ ด้ไปใช้ใน การบริหารกิจกรรม (ABM) เป็นต้น นอกจากนี้ การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม ซึ่งมีหน้าที่ในการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมก็ใช้หลักการระบบต้นทุนตามกิจกรรม (ABC) ในการปนั ส่วน ต้นทุน เนื่องจากมีแนวคิดว่า ผลิตภัณฑ์ใดสร้างกิจกรรมมากผลิตภัณฑ์นัน้ ก็จะ ได้รบั ต้นทุนไปมากเช่นกัน ซึ่งเป็ นหลักการเดียวกันกับแนวคิดการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อม 5. การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน 5.1 ความด้อยประสิทธิภาพของต้นทุน การบริหารจัดการต้นทุนในองค์การย่อมมีความด้อยประสิทธิภาพเกิดขึน้ ได้ ซึ่งเป็ นสิง่ ทีอ่ งค์การไม่ต้องการให้เกิดขึน้ เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อองค์การ ในระยะยาว ทฤษฎีเกี่ยวกับความด้อยประสิทธิภาพจะแตกต่างกันไปขึน้ อยู่กบั วิธ ี ที่ใช้ในการบริหารจัดการ ซึ่งทาให้ช่อื แตกต่ างกันไปด้ว ย บางทฤษฎีเกิดภาวะ เหลื่อมล้ากันคือ อาจมีวธิ กี ารจัดการกับความด้อยประสิทธิภาพทีเ่ หมือนกัน หาก มองในแง่ของการบริหารต้นทุนด้านความด้วยประสิทธิภาพก็คอื ของเสีย (waste)


46 นันเอง ่ ซึง่ อาจแฝงอยูใ่ นรูปของของดีและของเสีย โดยสามารถแบ่งตามมุมมองของ แนวคิดได้ 3 แนวคิด ดังต่อไปนี้

ภาพที่ 2-28 ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) จากภาพข้างต้นสามารถอธิบายแนวคิดทัง้ 3 แนวคิด โดยเริม่ จาก 1. ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) สามารถแบ่ง กิจกรรมได้ทงั ้ หมด 2 กิจกรรม คือ 1.1 กิจกรรมที่เพิม่ มูลค่า (value added) หมายถึง กิจกรรมทีจ่ าเป็ น ต่อการผลิตและเพิม่ มูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ ของเสียอาจแฝงอยู่ใน กิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่าได้


47 1.2 กิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ มูลค่า (non - value added) หมายถึง กิจกรรม ทีเ่ พิม่ ค่าใช้จา่ ยหรือเวลาทีใ่ ช้ในการผลิตแต่ไม่เพิม่ มูลค่าให้แก่ตวั ผลิตภัณฑ์ และอาจมีความจาเป็ นในระดับต่างกัน โดยกิจกรรมที่ ไม่เพิม่ มูลค่าจัดว่าอยูใ่ นกลุ่มของเสีย (waste) 2. การบัญชีบริหารทางด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) คือ แนวคิดทางการบัญชีท่คี านึงถึงต้นทุน สิง่ แวดล้อม โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้องค์การคานึงถึงการกาจัดของ เสีย (waste) ในทุกขัน้ ตอนของกระบวนการผลิตก่อนทีจ่ ะปล่อยออกสู่ สังคม 3. Lean คือ แนวคิดในการลดความไม่สม่าเสมอ (Mura) การฝื นทา (Muri) และความสูญเปล่า (Muda) ทีเ่ กิดขึน้ ในการทางานขององค์การ โดยความสูญเปล่า (wastes) ที่เกิดจากแนวคิดแบบลีนเรียกว่า ความ สูญเปล่า 7 ประการ (7 waste analysis) สามารถจาแนกของเสียได้ 7 อย่าง ประกอบไปด้วย 3.1 ความสูญเปล่ าจากการผลิตเกินความจาเป็ น หากเราผลิตมาก เกินไปจะทาให้มสี นิ ค้าคงคลังเพิม่ มากขึน้ เกิดต้นทุนในการเก็บ รักษาและการขนย้ายสินค้า อีกทัง้ ยังมีความเสี่ยงที่ไม่สามารถ ขายสินค้าได้หมด 3.2 ความสูญเปล่าจากการรอคอย เกิดจากการขาดแคลนวัตถุดบิ หรือ ขัน้ ตอนการผลิตใดขัน้ ตอนการผลิตหนึ่งเกิดติดขัด ทาให้ขนั ้ ตอน ต่อไปไม่สามารถผลิตต่อไปได้ ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงัก 3.3 ความสู ญ เปล่ า จากการเคลื่ อ นย้ า ยและขนย้ า ยที่ไ ม่ จ าเป็ น (transportation) ล้วนเป็ นความสูญเปล่ าทัง้ สิ้น เพราะเป็ นการ สิน้ เปลืองทัง้ แรงงานและเวลาโดยไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ ใดๆ 3.4 ความสูญเปล่าจากการมีสนิ ค้าคงคลังเกินความจาเป็ น เกิดจาก การทีอ่ งค์การมีการผลิตของเสียเป็ นจานวนมาก ทาให้ต้องสารอง วัต ถุ ดิบ ไว้ เ พื่อ สต็ อ กสินค้ า เปลี่ย นแทนให้ กับ ลู ก ค้ า อี ก ทัง้ องค์การมักคิดว่ าการซื้อวัตถุ ดิบในปริมาณมากๆ จะทาให้ได้ ราคาวัตถุดบิ ในราคาถูก แต่ไม่ได้คานึงถึงต้นทุนในการเก็บรักษา วัตถุดบิ ว่าคุม้ ค่าหรือไม่ 3.5 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ น โดยมุ่งเน้นให้องค์การมีการจัดระเบียบการทางาน ณ จุดทางาน ให้เหมาะสม เพื่อทาให้ร่างกายเคลื่อนไหวน้อยทีส่ ุด เกิดความล้า


48 น้ อยที่สุ ด ซึ่งจะท าให้พนักงานสามารถปฏิบ ั ติงานได้อย่ างมี ประสิทธิภาพ 3.6 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพ ความสูญเปล่าข้อนี้จะไม่เกิดขึ้น หากองค์การมีการพัฒนาอย่าง ต่ อเนื่ อง ซึ่งสิ่งที่ส าคัญที่สุ ดของระบบการผลิตแบบลีนก็ค ือ องค์การต้องไม่กลัวการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสู่กระบวนการที่ม ี ประสิทธิภาพทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง 3.7 ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย องค์การหลายๆ องค์การนัน้ มุ่งเน้นแต่การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าโดยที่ไม่ได้ให้ความสาคัญ กับการวิเคราะห์ปญั หาเพื่อหาสาเหตุ ดังนัน้ ผู้บริหารจะต้องให้ ความส าคัญกับการวิเคราะห์ปญั หาการผลิตของเสียอย่างเร็ว ทีส่ ุด เพื่อให้เกิดการผลิตของเสียให้น้อยทีส่ ุด กล่าวโดยสรุปถึงความสัมพันธ์ของความด้อยประสิทธิภาพในเชิงองค์รวม ได้ว่า ของเสียทัง้ 7 ประการจะสามารถจาแนกออกเป็ น Muri Muda และ Mura สามารถอธิบายความหมายของแต่ละตัวได้ดงั นี้ 1. ความสูญเปล่า (Muda) เกิดได้หลายลักษณะ เช่น ความสูญเปล่าที่ เกิดจากการรอคอย การเคลื่อนย้าย การปรับเปลีย่ น การทาใหม่ การ ถกเถียง เป็ นต้น ยกตัวอย่างเช่น การประชุมอาจเกิดความสูญเปล่า ได้ หากการประชุมนัน้ กลายเป็ นการถกเถียงกัน ทาให้เสียเวลาไปกับ การประชุมทีไ่ ม่ได้ขอ้ สรุป หรือในการทากิจกรรมการขาย ถ้าไม่มกี าร วางแผนในการจัดพื้นที่การไปพบลูกค้า ก็จะเสียเวลาในการเดินทาง และสิน้ เปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็ น 2. ความไม่สม่าเสมอ (Mura) งานที่มคี วามไม่สม่าเสมอไม่ว่าจะเป็ นใน เรื่องของปริมาณ วิธกี ารทางาน หรืออารมณ์ในการทางาน ทาให้เกิด ความไม่สม่าเสมอของผลงานตามไปด้วย นัน่ หมายความว่า ผลงานที่ ออกมาไม่เป็ นไปตามมาตรฐาน หากทุกคนสามารถรักษามาตรฐาน ของงานไว้ได้ก็จะทาให้ประสิทธิภาพของงานสูงขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ในการประชุมไม่เคยมีผู้เข้าร่วมประชุมพร้อมหน้ าเลย ครัง้ นี้ขาดคน นัน้ ครัง้ นัน้ ขาดคนนี้ และในการทากิจกรรมการขายก็เช่นเดียวกัน พนักงานอาจมีความตัง้ ใจในการทางานที่ไม่สม่าเสมอ ถ้าไม่ถงึ ปลาย เดือนก็จะไม่พยายามขาย เป็นต้น 3. การฝื นทา (Muri) การฝื นทาสิ่งใดๆ ก็ตาม มักทาให้เกิดผลกระทบ บางอย่างในระยะยาว ยกตัวอย่างเช่น การทางานล่วงเวลาเป็ นประจา


49 เป็ นการฝื นร่างกาย ซึ่งไม่เป็ นผลดีในระยะยาว อาจท าให้ร่างกาย อ่อนเพลีย ประสิทธิภาพในการทางานลดลง ในการประชุมหากยังไม่ มีการปรึกษาหารือที่มากเพียงพอแต่กลับเร่งรัดให้มกี ารลงมติก็จะได้ ข้อสรุปที่ผดิ พลาด ส่วนในด้านการขาย การฝื นลดราคาเพื่อให้ได้รบั ออเดอร์หรือการรับงานทีต่ อ้ งส่งมอบเร็วเกินไปก็ไม่ส่งผลดีเช่นกัน 7 Wastes EMA ABC/ABM Lean 1. over production 2. waiting non-value Muri 3. transportation added Mura 4. inventory 5. motion 6. over processing waste Muda 7. defective units ภาพที่ 2-29 เปรียบเทียบของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) จากที่กล่าวมาข้างต้นถึงของเสียทัง้ 7 ประเภทนัน้ ตามมุมมองของแนวคิด ABC/ABM เรียกทัง้ หมดได้ว่า กิจกรรมที่ไม่เพิม่ มูลค่า (non-value added) ส่วนในมุมมองของแนวคิด Lean กลุ่มของเสียตัง้ แต่ขอ้ ที่ 1-6 เรียกว่า Muri และ Mura คือ การหยุดการผลิตโดยทันที (Jidoka) ซึ่ง สามารถกาจัดออกไปได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือแต่เพียงของดีเอาไว้ และของเสียข้อที่ 7 จะ เรียกว่า Muda คือ ความสูญเปล่าทีต่ ้องกาจัดทิง้ ให้เหลือศูนย์ แต่ตามแนวคิดของ EMA เรียกของ เสียข้อที่ 7 ว่า ของเสีย (waste) ซึง่ เนื่องจาก Muda เป็ นของเสียทีต่ ้องกาจัดให้หมดไป แต่ Muri กับ Mura จะแฝงอยู่ในรูปของของดีเพียงบางส่วน ดังนัน้ สามารถกาจัดได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และ เหลือไว้เพียงของดีเอาไว้ ส่วนวิธกี ารจัดการมีหลากหลายรูปแบบคือ ขายหรือรีไซเคิล และบางส่วน ทีจ่ ดั การไม่ได้จะต้องพยายามลดของเสียนัน้ จนกระทังเหลื ่ อศูนย์ และต้องพยายามลดความสูญเปล่า หรือความด้อยประสิทธิภาพประเภทต่างๆ ให้ลดลง ดังนัน้ ธุ รกิจจึงมีแนวทางในการลดหรือขจัดความด้อยประสิทธิภาพ เพื่อก่ อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดคือ การขจัดความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ ในทุกๆ กิจกรรมให้หมดไป โดยพืน้ ฐานการ ควบคุมควรเริม่ จากการสังเกตในเรื่องของสถานทีท่ างานว่าอยู่ในสภาพทีป่ กติหรือไม่ อาจมีการติด ป้ายระบุว่าส่วนใดเป็ นพืน้ ทีท่ างาน ทางเดินหรือที่วางสิง่ ของ เพื่อให้เกิดระบบในการใช้พน้ื ทีภ่ ายใน


50 โรงงานให้เป็นสัดส่วนนันเอง ่ ในส่วนของกระบวนการผลิตควรมีบอร์ดควบคุมการผลิต เพื่อดูว่าผลิต ได้แล้วจ านวนเท่ าไหร่ เกิดความล่ าช้าในการผลิต ที่จะส่ งผลกระทบต่ อปริมาณสินค้าหรือไม่ เครื่องจักรมีการด าเนิ นงานเป็ นอย่ างไร รวมถึงควรเปิ ดเผยข้อมูลทัง้ หมดของหน้ างานผลิต สถานการณ์ดา้ นคุณภาพ เพื่อพนักงานจะได้รว่ มกันทาให้บรรลุเป้าหมาย มีการกาหนดมาตรฐานการ ทางาน เพื่อหาความผิดปกติท่จี ะก่อให้เกิดความด้อยประสิทธิภาพในระบบ เพื่อมุ่งค้นหาถึงสาเหตุ อย่างจริงจัง วางแผนหามาตรฐานการปรับปรุง ดาเนินการปรับปรุง ทบทวนงานตามมาตรฐาน และทา ให้สงิ่ เหล่านี้ดาเนินการได้อย่างยังยื ่ นตลอดไป 5.2 ระบบการผลิตแบบลีน

Supply chain management

Implementation of Value Management

วิธีการผลิตภัณฑ์ในด้านการเงิน มีความเข้าใจที่อ อกแบบมาเพื่อ เพิ่ม ผลผลิต และผลก าไรอย่ า ง ต่ อ เนื่ องแล ะผลั ก ดั น ผ ลกา ร ดาเนินงาน

Implementation of Lean Manufacturing

The 8 Tools of Total Cost Management

The Road Map to Achieve ‘World Class’ Status

Supply chain management

การพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน เพือ่ การปรับปรุง -คุณภาพ - ต้นทุน - การจัดส่ง

Lean Manufacturing การส่งมอบคนและกระบวนการ ในการผลิต ที่ม ีค วามเหมาะสม เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม มั น่ ใ จ ว่ า จ ะ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ และกาจัด ของเสียในรูปแบบ 7+1 ได้

Value Management เพือ่ ให้แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ของคุณ ส่ ง มอบคุ ณ สมบั ติ ก ารท างาน ‚คุ้มค่าเงิน‛ ทีด่ ีทสี่ ุด เพื่อ ลูกค้า ของคุณในราคาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ คุม้ ค่าทีส่ ดุ

The 8 Tools Quality of Total Managemen Cost t Managemen

People Development การเสริมสร้าง ทักษะ ทัศนคติ และความเชื่อ ‛ ซึ่งช่วยให้การ พัฒนาของวัฒนธรรมองค์กรของ คุ ณ แ ล ะ ใ น ที่ สุ ด ก็ ก ล า ย เ ป็ น สภาพแวดล้อมระดับโลก

The Foundation for Success People Development ‚Skin, Attibrutes& Benefit‛

Quality Management ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ร ะ บ บ คุณภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพจะช่วย ลดความเสี่ย งของผลิต ภัณ ฑ์ ท ี่ บกพร่องเข้าถึงลูกค้าของคุณ

ภาพที่ 2-30 องค์กรแห่งลีน ทีม่ า: XR training & consultancy. http://xrtraining.com/main/showpage. (19 March 2012)


51 องค์กรแบบลีน จะสามารถสาเร็จได้ดว้ ยการปฏิบตั ติ าม 6 ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ 1. Value Management การส่ งมอบผลิตภัณฑ์ให้ ถึงมือลูกค้าด้วย ประสิทธิภาพสูงสุดและราคาทีค่ ุม้ ค่ามากทีส่ ุด 2. Quality Management การดาเนินงานตามระบบทีม่ คี ุณภาพด้วยการ ลดข้อบกพร่องในผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะส่งมอบ 3. People Development การสร้างทักษะ ทัศนคติ และความเชื่อ เพื่อจะ ช่วยพัฒนาวัฒนธรรมภายในองค์กรจนกลายสภาพแวดล้อมระดับโลก 4. The 8 Tools of Total Cost Management เครื่องมือทางด้านการเงิน ทีอ่ อกแบบมาเพื่อเพิม่ ผลผลิตและผลกาไรอย่างต่อเนื่องให้แก่องค์กร 5. Supply chain management การประสานความร่วมมือขององค์การ ต่ า งๆ ภายในห่ ว งโซ่ อุ ป ทานเพื่ อ น าไปสู่ ก ารด าเนิ น ง านที่ ม ี ประสิทธิภาพและลดต้นทุนในการดาเนินงาน 6. Lean Manufacturing การผลิตที่จะมุ่งเน้นการขจัดความสูญเปล่าที่ เกิดขึน้ ในกระบวนการ และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่องค์กร เมื่อนา 6 ขัน้ ตอนข้างต้นมาดาเนินงานร่วมกัน โดยทุกขัน้ ตอนมีความ เชื่อมโยงซึง่ กันและกัน เริม่ จากส่งมอบผลิตภัณฑ์ทค่ี ุม้ ค่าเงินให้แก่ลูกค้า ตลอดจน มีการควบคุ มคุ ณภาพสินค้า เพื่อลดความบกพร่องในผลิตภัณฑ์ นาเครื่องมือ ทางการเงินที่สร้างมาเพื่อวัดผลผลิตและก าไรมาใช้ และยังพัฒนาการสร้าง วัฒนธรรมภายในองค์การที่ดี นอกจากนัน้ มีการจัดการภายในห่วงโซ่อุปทานเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และสุดท้ายองค์การมีการนาวิธกี ารผลิตแบบ ลีนมาปรับปรุงในขัน้ ตอนการผลิตโดยขจัดความสูญเปล่าในองค์การ ซึ่งจะทาให้ องค์การประสบความสาเร็จได้ตามต้องการ


52

ภาพที่ 2-31 การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ทีม่ า: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น). www.tpa.or.th. (23 มีนาคม 2555) ภาณุ บูรณจารุกร (2550) กล่าวว่า ความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ 7 ประการนี้ เป็ นความสูญเสียทีแ่ ฝงอยู่ในกระบวนการผลิต ซึ่งทาให้ต้นทุนการผลิตสูงเกินกว่า ทีค่ วรจะเป็ น หากบริษทั ทาการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการนี้ออกไปได้ก็จะ ทาให้บริษทั สามารถลดต้นทุนได้ โดยการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการสามารถ ทาได้ดงั นี้ 1. ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินกว่าความจาเป็ น มีแนวทางการขจัด ความสูญเปล่าดังนี้ 1.1 ก าจัดจุดคอขวด โดยท าการศึกษาเวลาการท างานของแต่ ละ ขัน้ ตอนในการผลิตว่าทางานสมดุลกันหรือไม่ หากพบว่าขัน้ ตอน ใดมีการผลิตต่ากว่ามาตรฐานก็ทาการแก้ไข 1.2 ผลิตสินค้าเฉพาะปริมาณทีล่ กู ค้าต้องการเท่านัน้ 1.3 พนักงานต้องดูแลเครือ่ งจักรให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานเสมอ 2. ความสูญเปล่าจากการรอคอย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 2.1 บริษัทควรมีการวางแผนการผลิต เพื่อ ให้ กระบวนการผลิต สามารถเป็ นไปได้อย่างราบรื่น 2.2 บริษทั ควรมีการรักษาเครือ่ งจักรให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 บริษทั ควรลดเวลาในการตัง้ เครื่องจักรให้น้อยลง 2.4 บริษทั ควรมีการจัดสรรพนักงานให้เหมาะสมในแต่ละส่วนงาน


53 3. ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนย้ายและขนย้ายที่ไม่จาเป็ น มีแนวทาง การขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 3.1 วางผังเครือ่ งจักรให้ใกล้กบั คลังสินค้า เพื่อให้สามารถขนส่งสินค้า ได้งา่ ยและสะดวก 3.2 พยายามลดการขนส่งทีซ่ ้าซ้อนกัน 3.3 ใช้อุปกรณ์ในการขนส่งทีเ่ หมาะสม 4. ความสูญเปล่าจากวิธกี ารผลิต มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 4.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 4.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และสามารถปฏิบตั งิ านได้ ตรงตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 4.3 ดัดแปลงอุ ปกรณ์ ให้ สามารถป้ องกันความผิดพลาดจากการ ทางานได้ หรือดัดแปลงอุ ปกรณ์ ไม่ให้สามารถทางานได้ หาก ชิน้ งานนัน้ ไม่สมบูรณ์ 4.4 ตัง้ เป้าหมายให้ผลิตของเสียเป็ นศูนย์ 4.5 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้ใช้เวลาน้อยทีส่ ุด 5. ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ นมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 5.1 ศึกษาการเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาการเคลื่อนย้ายให้เกิดต้นทุนน้อย ทีส่ ุด 5.2 จัดการสภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสม 5.3 ปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ใ ห้ ม ี ข นาดเหมาะสมกั บ ผูป้ ฏิบตั งิ าน 5.4 ทาอุปกรณ์ในการจับหยิบชิ้นงาน เพื่อให้สามารถทางานได้อย่าง สะดวกรวดเร็วมากขึน้ 6. ความสูญเปล่าทีเ่ กิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 6.1 ปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ์และเลือกใช้ว ัสดุ ท่ีเหมาะสม เพื่อให้งา่ ยต่อการผลิตและการใช้งาน 6.2 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง 7. ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่า ดังนี้


54 7.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 7.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 1.3 ระบบห่วงโซ่อุปทาน

ภาพที่ 2-32 ห่วงโซ่อุปทาน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) คานาย อภิปรัชญาสกุล (2553) กล่าวว่า โซ่อุปทาน คือ เครือข่ายของ องค์การธุรกิจซึง่ ประกอบด้วย ผูข้ ายปจั จัยการผลิต ผูผ้ ลิต/บริการ ผูก้ ระจายสินค้า ผู้ค้าปลีก ที่ร่วมกันวางแผนและดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตัง้ แต่การจัดซื้อจัดหา วัตถุดบิ การผลิต การบริหารสินค้าคงคลัง การขนส่งและกระจายผลิตภัณฑ์ไปยัง ผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยการไหลของสารสนเทศ (เกี่ยวกับวัตถุดบิ การ ผลิตและผลิตภัณฑ์) การไหลของเงิน และการไหลของวัตถุ ดิบและผลิตภัณฑ์ เรียกว่า กระบวนการโลจิสติกส์ ดังภาพที่ 2-32 โดย ณรัฐ หัสชู (2553) อ้างถึง ปวีณา เชาวลิตวงศ์ (2548) ได้แยกกิจกรรมหลักภายในห่วงโซ่อุปทานเป็ น 4 กิจกรรม ได้แก่ 1. การจัดหา (procurement) เป็ นการหาวัตถุดบิ หรือวัสดุ เพื่อทาการ ป้ อนเข้าไปให้ แก่ ห่ วงโซ่ อุ ปทาน กิจกรรมการจัดหาจะส่ งผลต่ อ คุณภาพและต้นทุนในการผลิต


55 2. การขนส่ง (transportation) เป็ นกิจกรรมที่เพิม่ ให้แก่สนิ ค้าในแง่ของ การโยกย้ายสถานที่ของสินค้า ซึ่งหากการขนส่งไม่ดี เช่น เสียหาย หรือล่าช้า ย่อมทาให้ตน้ ทุนในการผลิตเพิม่ ขึน้ 3. การจัดเก็บ (warehousing) เป็ นกิจกรรมที่มไิ ด้เพิม่ คุณค่าให้แก่ตวั สินค้า แต่เป็ นกิจกรรมที่จาเป็ นสาหรับการรองรับความต้องการของ ลูกค้าที่ไม่คงที่ รวมถึงมีประโยชน์ ทางด้านในการผลิตครัง้ ละมากๆ เพื่อต้นทุนรวมทีต่ ่ าลง 4. การกระจายสินค้า (distribution) เป็ นกิจกรรมทีช่ ่วยกระจายสินค้าจาก จุดจัดเก็บไปยังร้านค้าปลีก หรือศูนย์กระจายสินค้า หรือตัวลูกค้า โซ่อุปทานที่มปี ระสิทธิภาพสูงย่อมสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าด้วยต้นทุนที่ต่ าสุดและตรงตามเวลาที่ต้องการ ดังนัน้ จึงจาเป็ นที่ต้องมีการ จัดการโซ่อุปทานให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อประสานองค์กร หน่ วยงาน และกิจกรรม ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด ซึง่ ต้องอาศัยความร่วมมือของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันทัง้ ทางด้านการผลิตคือ ช่วยลดต้นทุนใน การเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนอันเกิดจากการขาดแคลนสินค้าที่จะจัดส่ง ให้กบั ลูกค้า ด้านการตลาดคือ ทราบถึงปริมาณความต้องการของสินค้าที่แท้จริง ของผู้บริโภค ทาให้การวางกลยุทธ์ทางการตลาดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การจัดการการบริหารห่วงโซ่ อุ ปทานเข้ามาช่ วยในการจัดการตัง้ แต่ การสังซื ่ ้อ วัตถุดบิ การผลิต การเก็บรักษาสินค้า การกระจายสินค้า ตลอดจนการบริการหลัง การขายให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการเงินก่อให้เกิดสภาพคล่องของ เงินหมุนเวียนในโซ่อุปทาน อุปสรรคทางการเงินในการดาเนินธุรกิจจึงไม่เกิดขึน้ 1.4 การจัดการสินค้าคงคลัง คานาย อภิปรัชญาสกุ ล (2549) กล่ าวว่า สินค้าคงคลัง (inventory) คือ สินทรัพย์ชนิดหนึ่งที่กิจการต้องมีไว้เพื่อขายหรือผลิต ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดบิ งานระหว่างทา วัสดุซ่อมบารุงสินค้าสาเร็จรูป แรงงาน เงินลงทุน เครื่องมือและ อุปกรณ์ เป็นต้น สินค้าคงคลังมีว ัตถุ ประสงค์ในการสร้างความสมดุ ลในห่ วงโซ่อุ ปทาน เพื่อให้ระดับสินค้าคงคลังต่ าสุดโดยไม่กระทบต่อระดับการให้บริการ นอกจากนัน้ การมีส ินค้าคงคลังที่เพียงพอยังเป็ นการตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าได้ ทันเวลา จึงเห็นได้ว่าสินค้าคงคลังมีความสาคัญต่อกิจกรรมหลักของธุรกิจเป็ น อย่างมาก ดังนัน้ การจัดการสินค้าคงคลังที่มปี ระสิทธิภาพจึงส่งผลกระทบต่อผล กาไรโดยตรง ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (inventory control system) มี 3 วิธ ี คือ


56 1. ระบบสินค้าคงคลังต่อเนื่อง (continuous inventory system perpetual system) เป็นระบบทีม่ กี ารลงบัญชีทุกครัง้ ทีม่ กี ารรับและจ่าย ซึง่ ทาให้ บัญชีคุมยอดแสดงยอดคงเหลือทีแ่ ท้จริงของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ ซึง่ จาเป็ นอย่างยิง่ ในการควบคุมสินค้าคงคลังรายการสาคัญที่ปล่อยให้ ขาดมือไม่ได้ 2. ระบบสินค้าคงคลังเมื่อสิน้ งวด (periodic inventory system) เป็ นระบบ ทีม่ กี ารลงบัญชีเฉพาะในช่วงเวลาทีก่ าหนดไว้เท่านัน้ เมื่อของถูกเบิก ไปก็จะมีการสังซื ่ อ้ เข้ามาเติมให้เต็มระดับทีต่ งั ้ ไว้ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะ กับสินค้าทีม่ กี ารสังซื ่ อ้ และเบิกใช้เป็ นช่วงเวลาทีแ่ น่ นอน 3. ระบบการจาแนกสินค้าคงคลังเป็ นหมวดเอบีซี (ABC) โดยระบบนี้เป็ น วิธ ีการจ าแนกสินค้าคงคลังออกเป็ นแต่ ละประเภทโดยพิจารณา ปริมาณและมูลค่าของสินค้าคงคลังแต่ละรายการเป็ นเกณฑ์ เพื่อลด ภาระในการดูแล ตรวจนับ และควบคุมสินค้าคงคลังที่มอี ยู่มากมาย เพื่อไม่ให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเกินความจาเป็ น ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง มีดงั นี้ 1. ทาให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ประมาณการไว้ใน แต่ละช่วงเวลาทัง้ ในและนอกฤดูกาล 2. รักษาการผลิตให้มอี ตั ราคงทีส่ ม่าเสมอ เพื่อรักษาระดับการว่าจ้าง แรงงาน การเดินเครือ่ งจักรฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะเก็บสินค้าที่ ขายไม่หมดในช่วงขายไม่ดไี ว้ขายตอนช่วงขายดีซง่ึ ช่วงนัน้ อาจจะ ผลิตไม่ทนั ขาย 3. ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซือ้ จานวนมากต่อครัง้ ป้องกันการเปลีย่ นแปลงราคาและผลกระทบจากเงินเฟ้อเมื่อสินค้าใน ท้องตลาดมีราคาสูงขึน้ 4. ป้องกันของขาดมือด้วยสินค้าเผื่อขาดมือ เมือ่ เวลารอคอยล่าช้าหรือ บังเอิญมีคาสังซื ่ อ้ เพิม่ ขึน้ กระทันหัน 5. ทาให้กระบวนการผลิตสามารถดาเนินการต่อเนื่องอย่างราบรื่น ไม่ม ี การหยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความเสียหายแก่กระบวนการ ผลิต


57 1.5 การจัดการโลจิสติกส์ โกศล ดีศีลธรรม (2547) ได้กล่าวว่า การบริหารโลจิสติกส์ (logistics management) ได้ถูกนิยามโดยสภาการจัดการลอจิสติกส์ (Council of Logistics Management: CLM) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผน การดาเนินการ และ การควบคุม เพื่อให้เกิดการไหลของทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และรวมถึง ประสิทธิผลต้ นทุ นการจัดเก็บสินค้าคงคลัง และการไหลของสารสนเทศ การ บริหารโลจิสติกส์จะเป็ นส่วนหนึ่งของการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (SCM) ธนิต โสรัตน์ (2550) ได้กล่าวไว้ว่า ในประเทศไทยส่วนใหญ่แล้วยังมี ความเข้าใจว่า โลจิสติกส์เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับระบบการขนส่งสินค้าหรือ การเคลื่อนย้ายคนหรือสิ่งของ ความหมายของโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องที่เกี่ยวข้อง เฉพาะกับการขนส่ งและก็คลังสินค้า โดยกิ จกรรมของโลจิสติกส์ครอบคลุ มถึง กิจกรรมต่างๆ ในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการลดต้นทุนจาก การใช้ประโยชน์จากอรรถประโยชน์ของเวลา บทบาทและหน้าทีข่ องกิจกรรมต่างๆ ของโลจิสติกส์ จึงมีพนั ธกิจในการสนับสนุ นและการบูรณาการในการเชื่อมโยง ข้อมูลข่าวสารในทุกหน่ วยของโซ่อุ ปทาน โดยมีจุดศูนย์กลางในการตอบสนอง ความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า แนวคิ ดและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบต้นทุนตามกิ จกรรม ระบบต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เริม่ จะนามาใช้ครัง้ แรกในปี ค.ศ.1988 โดย Kaplan และ Cooper นักวิชาการทางบัญชีบริหารทีม่ ชี ่อื เสียงของสหรัฐอเมริกา โดยตีพมิ พ์ในนิตยสาร The Journal of Cost Management และ Harvard Business Review หลังจากนัน้ มีบทความเชิงสนับสนุ นแนวคิดระบบ ABC ตีพมิ พ์ในนิตยสารชัน้ นาทางด้านการ บัญชี จนกระทังในปี ่ ค.ศ.1991 แนวคิดและทฤษฎี ABC ได้รบั การยอมรับอย่างแพร่หลายทัวทุ ่ ก มุมโลก การที่ระบบ ABC ได้รบั การยอมรับอย่างแพร่หลายเนื่องจากผูบ้ ริหารเริม่ ไม่พอใจกับ ระบบต้นทุนแบบเดิม ซึ่งให้ขอ้ มูลต้นทุนผลิตภัณฑ์ท่บี ดิ เบือนไปจากความจริง เน้นการจาแนก ค่าใช้จา่ ยตามรหัสบัญชีซง่ึ ไม่ได้ให้ขอ้ มูลทีช่ ดั เจนถึงสาเหตุทแ่ี ท้จริงของการเกิดต้นทุน เน้ นการ ควบคุมการปฏิบตั งิ านในรูปของการกาหนดมาตรฐานและการวิเคราะห์ผลต่างการดาเนินงาน และให้ขอ้ มูลข่าวสารที่ไม่สอดคล้องและไม่ทนั ที่จะนาไปใช้ในการตัดสินใจ นอกจากยังเน้นตัว วัดผลการปฏิบตั ิงานที่เ ป็ นตัว เงินเป็ นส่ ว นใหญ่ ซึ่งขาดการน าไปเชื่อ มโยงกับตัว วัดผลการ ปฏิบ ัติง านด้า นอื่น ๆ ที่ไ ม่เ ป็ น ตัว เงิน และไม่ไ ด้ช่ว ยให้ผู้บ ริห ารเห็น ถึง ปฏิส ัม พันธ์ร ะหว่ า ง กิจกรรม ทีเ่ กิดขึน้ ในองค์การ ทาให้ไม่สามารถระบุสาเหตุทแ่ี ท้จริงของการเกิดต้นทุนได้


58 ระบบบัญชี สิรริ ตั น์ ศรีจกั รวาลวงษ์ (2545) อ้างถึง สุภาพร (หะยะมิน) พรนภา (2543) กล่าวว่า ระบบบัญชี คือ ระเบียบแบบแผนการปฏิบตั งิ านทางการบัญชี รวมถึงวิธกี ารทาบัญชี การทางบ การเงิน เอกสารและสมุดบัญชีต่างๆ อันเป็ นสื่อแห่งการทาบัญชีและการรายงาน ตลอดจนการ ใช้และการเก็บรักษาหลักฐานเอกสารใบสาคัญทางการบัญชีและการเงิน สมุดบัญชีต่างๆ ที่ใช้ บันทึกรายการทางธุรกิจ เพื่อรวบรวมข้อมูลและตัวเลขทางสถิตใิ ห้ตรงต่อความต้องการของฝ่าย บริหาร ดังนัน้ ระบบบัญชีจงึ ประกอบด้วยระบบที่สาคัญ 2 ระบบ คือ ระบบทางเดินข้อมูล หรือ ระบบการบันทึกบัญชีและการเก็บข้อมูล และระบบทางเดินเอกสาร โดยทีร่ ะบบทางเดินข้อมูลจะ แสดงถึงทางเดินของข้อมูลตัง้ แต่การบันทึกบัญชี ซึง่ ในปจั จุบนั การบันทึกบัญชีอาจทาได้ 2 วิธ ี คือ การบันทึกด้วยมือกับการบันทึกบัญชีดว้ ยคอมพิวเตอร์ โดยเริม่ จากการบันทึกบัญชีเข้าสมุด รายวันขัน้ ต้น ไปบัญชีแยกประเภท จนสามารถออกงบทดลองเพื่อใช้ในการจัดทางบการเงิน เช่น งบดุล งบกาไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบต้นทุนการผลิต และงบอื่นๆ ภายใต้การบันทึก บัญ ชีเ ข้า ระบบ เพื่อ ให้ก ารบัน ทึก บัญ ชีเ ป็ น ไปอย่า งถู ก ต้อ ง และรวดเร็ว ทัน ต่ อ เหตุ ก ารณ์ สามารถจัดทางบการเงินได้โดยสะดวกยิง่ ขึ้น จาเป็ นต้องอาศัยผังบัญ ชีและรหัสบัญ ชีในการ บันทึกบัญชี ส่วนระบบทางเดินเอกสาร จะแสดงถึง ทางเดินของเอกสาร แบบฟอร์มทีใ่ ช้ในระบบ บัญชี ตลอดจนลาดับขัน้ ตอนของการทางาน ว่าทีท่ าเป็ นงานอะใร ใครเป็ นคนรับผิดชอบงานนัน้ ทาทีไ่ หน และทาเมือ่ ไร นอกจากนี้ ส่ ว นประกอบส าคัญ ที่จ ะท าให้ ก ารปฏิบ ัติ ง านระบบบัญ ชีเ ป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ คือ ตัวบุคคล ซึง่ จะต้องมีความรูค้ วามสามารถ ความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์ ในการปฏิบตั หิ น้าที่ ส่วนเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ เป็ นเพียงเครื่องทุ่นแรงในการ บันทึกบัญชีให้ถูกต้องและรวดเร็ว ทาให้ประหยัดทัง้ เวลา และค่าใช้จ่าย สามารถลดข้อผิดพลาด ลงมาได้มากขึน้ ผังบัญชีและรหัสบัญชี ผังบัญชีและรหัสบัญชี (chart of account or classification accounting code) เป็ นสิง่ ที่ ระบบบัญ ชีต้อ งใช้ใ นการบัน ทึก บัญ ชีเ พื่อ ให้เ กิด ความสะดวกรวดเร็ว ถู ก ต้อ ง ง่า ยต่ อ การ ตรวจสอบ ซึ่งเห็นได้ว่าในปจั จุบนั องค์การขนาดใหญ่จะมีการกาหนดผังบัญชีและรหัสบัญชีใน การบันทึกบัญชี เนื่องจากปจั จุบนั การแข่งขันทางด้านข้อมูล และความถูกต้องของข้อมูลมีการ แข่งขันค่อนข้างสูงมาก ผังบัญชี คือ การกาหนดจานวนบัญชี และชื่อบัญชีแต่ละชนิดทีไ่ ด้จดั ให้มไี ว้ใช้ในระบบ บัญชีหนึ่งๆ โดยอาจใช้ตวั เลข ตัวอักษร หรือตัว เลขผสมกับตัว อักษรแทนก็ได้ และสามารถ ขยายจานวนประเภทของบัญชีได้ตามต้องการ


59 รหัสบัญชี คือ ตัวเลขหรือตัวอักษรที่ใช้แทนชื่อบัญชี ชื่อบัญชีอาจจะยยาวยุ่งยากและ รุงรังกว่าการใช้เลขทีบ่ ญ ั ชี (account numbers) โดยเฉพาะอย่างยิง่ การลงบัญชีดว้ ยเครื่องจักร ย่อมไม่สะดวกจึงทาให้เกิดการใช้รหัสบัญชี เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงและทาบัญชีโดยการ นาเอาตัวเลข ตัวอักษร หรือทัง้ ตัวเลขผสมตัวอักษรมาใช้แทนชื่อบัญชี แนวคิ ดของระบบต้นทุนตามกิ จกรรม ปรานอม บัว บานศรี (2546) อ้างถึง ดวงมณี โกมารทัต (2527) ได้กล่าวว่า ระบบ ABC มีแนวคิดทีส่ าคัญคือ กิจกรรมเป็ นสิง่ ทีท่ าให้เกิดต้นทุนจึงคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่าใช้จ่าย ต่างๆ ที่เกิดขึน้ เข้าสู่กจิ กรรมที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยตัวผลักดันทรัพยากรทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั กิจกรรมที่เกิดขึ้น หลังจากนัน้ จึงคิดต้นทุนของกิจกรรมเข้าสู่สงิ่ ที่จะคิดต้นทุน ซึ่งอาจอยู่ในรูป ของผลิตภัณฑ์ จากลักษณะการปนั ส่วนดังกล่าว ทาให้ผบู้ ริหารได้รบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้อง ทัง้ ในส่วน ของการคานวณต้นทุน และการควบคุมต้นทุน 1. การคานวณต้นทุน (cost dimension) เน้นข้อมูลต้นทุนโดยการคานวณต้นทุนของ การใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดกิจกรรมและปนั ส่วนต้นทุนตามกิจกรรมลงสู่ สิง่ ที่จะคิดต้นทุน เพื่อให้ผู้บริหารนาข้อมูลที่ได้รบั ไปใช้ในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ต่อไป 2. การควบคุมต้นทุน (control dimension) เป็ นการบริหารในการจัดโครงสร้างการ ดาเนินงานภายในองค์การ เพื่อก่อให้เกิดผลดีต่อองค์การ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์ ถึงสาเหตุของการเกิดกิจกรรม รวมทัง้ การวิเคราะห์กจิ กรรมทีเ่ พิม่ ค่า และไม่เพิม่ ค่า เพื่อใช้ในการวัดผลการปฏิบตั งิ านว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด หลักการสาคัญของระบบ ABC คือ ผลิตภัณฑ์เป็ นผลจากการใช้กจิ กรรม และกิจกรรม เป็ นตัวใช้ทรัพยากรที่ผลักดันให้ต้นทุนเกิดขึน้ ดังนัน้ ต้นทุ นการใช้ทรัพยากรต่างๆ และต้นทุน การใช้กจิ กรรมทัง้ หมดควรจะปนั ส่วนเข้าไปสู่ผลิตภัณฑ์ตามปริมาณการใช้กจิ กรรม ดังนัน้ ระบบ ABC จึงคานึงถึงความสัมพันธ์ทงั ้ ทางตรงและทางอ้อมของต้นทุนทรัพยากร ตัวผลักดันต้นทุน กิจกรรม และสิง่ ทีต่ ้องการคิดต้นทุน โดยได้แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างระบบ ABC และการ บริหารกิจกรรม (Activity Based Management : ABM) ดังภาพที่ 2-33 ดังนี้


60

ทรัพยากร

ตัวผลักดัน

continuous improvement process

กิจกรรม

การวัดผลการ ปฏิบตั งิ าน

สิง่ ทีจ่ ะคิด ต้นทุน object

cost dimension

control dimension

การบริหาร กิจกรรม ABM

ภาพที่ 2-33 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ABC และ ABM ทีม่ า: ปรานอม บัวบานศรี. 2546. อ้างถึง ดวงมณี โกมารทัต. 2527. ความสาคัญของระบบบัญชีต้นทุนตามกิ จกรรม วรศักดิ ์ ทุมมานนท์ (2544) กล่าวว่า การประกอบธุรกิจท่ามกลางสภาวการณ์แข่งขันที่ ทวีความรุนแรงในปจั จุบนั เป็ นการยากทีธ่ ุรกิจจะเพิม่ กาไรโดยการเพิม่ ราคาขาย การทีธ่ ุรกิจจะ มีกาไรและอยู่รอดในระยะยาวนัน้ ควรให้ความสนใจกับการบริหารต้นทุนทัง้ ในส่วนของต้นทุน การผลิตและต้นทุนในการบริหารงาน ระบบ ABC จะให้ขอ้ มูลสาคัญแก่ผบู้ ริหาร ดังนี้ 1. การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ ผู้บริหารใช้ขอ้ มูลต้นทุนผลิตภัณฑ์เพื่อประกอบการ ตัด สิน ใจในเรื่อ งต่ า งๆ ข้อ มูล ต้ น ทุ น ผลิต ภัณ ฑ์ท่ีม ีค วามถู ก ต้ อ งมากขึ้น ท าให้ ผูบ้ ริหารตัดสินใจผิดพลาดน้อยลง อีกทัง้ ยังสามารถประเมินและกาหนดสัดส่วนใน การผลิตผลิตภัณฑ์และการตลาดให้เหมาะสมยิง่ ขึน้ 2. การบริหารสภาพคล่ อ งของธุ รกิจ เงินสดและสภาพคล่ อ งทางการเงินนับว่าเป็ น ป จั จั ย ส าคั ญ ที่ ช่ ว ยให้ ธุ ร กิ จ สามารถปรับ ตั ว และอยู่ ร อดในสถานการณ์ ท่ี เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว อีกทัง้ ยังสามารถนาเงินทุนทีม่ อี ยู่อย่างจากัด ไปลงทุน ในผลประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากรายจ่ายในการลงทุนระยะสัน้ 3. การควบคุ ม ต้น ทุ น เกิด จากการที่ผู้บ ริห ารได้ร ับ ข้อ มูล ต้ น ทุ น ที่ถู ก ต้อ งอัน เป็ น ประโยชน์ ต่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ผู้บริหารต้องให้ความสาคัญกับการบริหาร กิจกรรม เพื่อลดความสูญเปล่าให้เหลือน้อยทีส่ ุดหรือให้หมดไป 4. การตัด สิน ใจเชิง กลยุ ท ธ์ ข้อ มูล ต้น ทุ น ผลิต ภัณ ฑ์ท่ีถู ก ต้อ งจะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผูบ้ ริหารเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับการตัง้ ราคาผลิตภัณฑ์ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ และการยกเลิกผลิตภัณฑ์


61 5. การเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมเพิม่ ประสิทธิภาพ ผู้บริหารหลายองค์การใช้ขอ้ มูล ต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นเครื่องมือสาคัญ ทีก่ ่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม ของพนักงาน เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการประกอบการและลดต้นทุนต่างๆ 6. สร้า งความเป็ น เลิศ ให้แ ก่ อ งค์ก าร โดยการให้ข้อ มูล ต้น ทุ น ผลิต ภัณ ฑ์ท่ีม ีค วาม ถูกต้องใกล้เคียงความเป็นจริง ซึง่ เป็นประโยชน์ต่อผูบ้ ริหารในประเด็นต่างๆ ดังนี้ 6.1 การปรับปรุงโครงสร้างต้นทุนและพัฒนาการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึน้ 6.2 การประเมินส่ ว นผสมของผลิต ภัณฑ์ ส่ ว นผสมของบริก าร การเข้าใจความ เกี่ยวเนื่องและความสัมพันธ์กนั ในระหว่างกิจกรรมต่างๆ ที่เหมาะสม จะช่วย เพิม่ ขีดความสามารถการทากาไรในระยะยาวของธุรกิจ 6.3 การลดความสูญเปล่าให้หมดไป จะช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นถึงศักยภาพของ องค์การในการลดต้นทุนได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ การประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิ จกรรม พัชนิจ เนาวพันธ์ (2552) กล่าวว่า การประยุกต์ใช้ระบบ ABC ในองค์การนัน้ ไม่ว่า ผูบ้ ริหารมีวตั ถุประสงค์เพื่อการคานวณต้นทุน หรือควบคุมต้นทุน สิง่ แรกทีจ่ ะต้องทาก่อนทีจ่ ะมี การประยุกต์ใช้ระบบ ABC คือ 1. ผูบ้ ริหารต้องให้ความสาคัญกับระบบ ABC และผลักดันทีใ่ ห้มกี ารจัดทาระบบ ABC ภายในองค์การก่อน 2. ควรกาหนดศูนย์ต่างๆ เพื่อบ่งบอกความรับผิดชอบ โดยใช้แนวคิดตามศู นย์ความ รับผิดชอบ คือ การกาหนดหน่ ว ยงานภายในองค์การเป็ นศูนย์ค วามรับผิดชอบ ต่างๆ เช่นศูนย์ตน้ ทุน ศูนย์รายได้ และศูนย์กาไร 3. ก าหนดให้ม ีผู้ร บั ผิด ชอบในการประสานงานกับ หน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ ง ควร ประกอบด้วยหัวหน้าแผนกต่างๆ เพื่อต้องการให้พนักงานทุกแผนกมีส่วนร่วมใน การประยุกต์ใช้ระบบ ABC โดยเฉพาะการกาหนดกิจกรรมภายในแผนกนัน้ ๆ 4. ฝึกอบรมให้พนักงานทุกคนภายในองค์การเข้าใจถึงระบบ ABC และต้องชีแ้ จงให้ พนักงานทราบถึงวัตถุประสงค์ของการนาระบบ ABC มาใช้ในองค์การ เพื่อสร้าง ความเข้าใจอันดีระหว่างพนักงานและองค์การ ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ ระบบต้ นทุนตามกิ จกรรม พิไลพร ล้าฤทธิ ์ (2545) อ้างถึง วรศักดิ ์ ทุมมานนท์ (2544) กล่าวว่า ขัน้ ตอนการ ประยุกต์ใช้ระบบ ABC เริม่ จากการวางระบบ ABC ผู้วางระบบควรกาหนดวัตถุประสงค์ว่า


62 ระบบจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์การ โดยมีต้นทุนรวมในการนาเอาระบบมาใช้ต่ า ทีส่ ุด ประกอบด้วย 1. การวิเคราะห์และกาหนดกิจกรรม 2. การรวมกิจกรรมเข้าด้วยกัน 3. การระบุศูนย์กจิ กรรม 4. การเลือกตัวผลักดันต้นทุน (ทัง้ ตัวผลักดันทรัพยากรและตัวผลักดันกิจกรรม) 5. การคานวณต้นทุนกิจกรรม 6. การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ การวางระบบ ABC มีความซับซ้อนมากน้อยเพียงใดขึน้ อยู่กบั ปจั จัยหลายประการซึ่ง รวมถึงวัตถุประสงค์ของผูบ้ ริหาร หากผูบ้ ริหารกาหนดวัตถุประสงค์ไว้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ใน การบริหารงานหรือเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในบางหน่ วยงาน การใช้ต ัว ผลัก ดัน ต้ น ทุ น เพีย งไม่ ก่ีช นิ ด ย่ อ มเพีย งพอ โดยการวางระบบอาจท าเฉพาะใน หน่วยงานนัน้ และไม่จาเป็ นต้องวางระบบสาหรับทัง้ องค์การ ขัน้ ตอนที่ 1 การวิ เคราะห์และกาหนดกิ จกรรม เป็นการพิจารณาแบ่งการดาเนินงานขององค์การออกเป็ นกิจกรรมย่อย โดยแต่ ละกิจกรรมก่อให้เกิดผลได้ (output) ในลักษณะทีส่ ามารถระบุหรือเข้าใจได้ ผลได้คอื สิง่ ทีจ่ ะนามาคิดต้นทุน (cost objects) ผลได้ทร่ี ะบุขน้ึ เป็ นประโยชน์ในการปนั ส่วนต้นทุน กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง ในกรณีทไ่ี ม่สามารถระบุผลได้อย่างครบถ้วน ต้นทุนทรัพยากรทีใ่ ช้ ไปจะป นั ส่ ว นเข้า เป็ น ต้ น ทุ น ของผลได้เ ฉพาะในส่ ว นที่ร ะบุ ไ ด้ ท าให้ข้อ มู ล ต้ น ทุ น ผลิตภัณฑ์ไม่ใกล้เคียงกับความเป็ นจริง เช่น กิจกรรมการค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จะไม่มคี วามสัมพันธ์ใดกับสินค้าปจั จุบนั ต้นทุนของกิจกรรมจึงควรแยกออกจากต้นทุน กิจกรรมทีจ่ ะปนั ส่วนเข้าเป็นต้นทุนสินค้า นอกจากนี้กจิ กรรมทีก่ าหนดขึน้ ควรเป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผูบ้ ริหารและ ควรมีข อบเขตที่ส อดคล้อ งกับ วัต ถุ ป ระสงค์ท่ีว างไว้ การวิเ คราะห์แ ละการก าหนด กิจกรรมอาจทาได้ 3 วิธดี งั นี้ 1. ก าหนดภายในองค์การแบ่งงานออกเป็ นกี่ระดับ แล้ว กาหนดมาตรฐานของ กิจกรรมในแต่ ล ะระดับให้เ หมือ นกันทัง้ องค์การ ข้อ ดีค ือ ทาให้ข้อ มูล ต้นทุน กิจกรรมของแต่ละหน่ วยงานสามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ง่าย ตลอดจนลด ความยุ่งยากเรื่องโครงสร้างกิจกรรมลง ข้อเสียคือ ลดความสาคัญของกิจกรรม ที่เป็ นงานเฉพาะเจาะจงและลดรายละเอียดของโครงสร้างกิจกรรม อีกทัง้ ลด ความคล่ อ งตัว ความยืด หยุ่ น ที่จ ะก าหนดกิจ กรรมให้ เ หมาะสมกับ แต่ ล ะ หน่วยงานหรือสถานการณ์


63 2. ไม่กาหนดมาตรฐานของการระบุกจิ กรรมในแต่ละระดับชัน้ ว่าจะต้องเท่ากัน แต่ ต้องให้ขอ้ มูลทีต่ รงกับความต้องการของหน่ วยงาน คือการสะสมข้อมูลและการ รวบรวมข้อมูลในแต่ละกิจกรรมต้องสามารถร้อยเรียงกันขึน้ ไปจนถึงระดับบน โดยแต่ ละหน่ ว ยงานจะกาหนดกิจกรรมที่เหมาะสมกับหน่ วยงานของตนเอง ภายในมาตรฐานเดียวกัน มีข้อ ดีค ือ หน่ ว ยงานแต่ ล ะระดับ สามารถกาหนด กิจกรรมที่เหมาะสมกับงาน ตลอดจนมีค วามยืดหยุ่นคล่ องตัว แต่ ข้อ เสียคือ ยุ่ ง ยากกว่ า วิธ ีแ รก เพราะแต่ ล ะหน่ ว ยงานอาจมีโ ครงสร้ า งแตกต่ า งกั น ค่อนข้างมาก 3. ไม่มกี ารกาหนดมาตรฐานของรายการกิจกรรม มีขอ้ ดีคอื การกาหนดกิจกรรมมี ความคล่องตัวมาก ตลอดจนสามารถกาหนดกิจกรรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของธุรกิจได้ และข้อเสียคือไม่สามารถเปรียบเทียบกิจกรรมที่เหมือนกันของ หน่วยงานต่างๆได้ นอกจาก 3 วิธ ีข้างต้น ในทางปฏิบตั ิการกาหนดและวิเคราะห์กิจกรรมยัง สามารถทาได้อกี 3 วิธ ี ซึง่ ผูว้ างระบบจะเลือ กวิธกี ารใดก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมและ ความพร้อมขององค์การ 1. ก าหนดกิ จ กรรมโดยการพิจ ารณาจากโครงสร้ า งสายบัง คับ บัญ ชา (the organizational approach) โดยพิจารณารายละเอียดกิจกรรมตามศูนย์ความ รับผิดชอบหรือตามหน่ วยงาน หากองค์การมีการแบ่งย่อยไปจนถึงระดับที่ม ี ความละเอียดพอสมควร ก็จะสามารถกาหนดกิจกรรมให้ส อดคล้องกับศูนย์ ความรับผิดชอบได้งา่ ยขึน้ นอกจากนี้ความเป็ นเจ้าของข้อมูลก็จะไม่เป็ นปญั หา เนื่องจากแต่ละหน่วยงานเป็นผูก้ าหนดกิจกรรมขึน้ เป็ นเอกเทศ แต่วธิ นี ้ีมขี อ้ เสีย คือ ไม่ม องเห็น ความเกี่ยวเนื่อ งกัน ระหว่า งกิจกรรมของหน่ ว ยงานต่ า งๆ ใน องค์การ 2. การกาหนดกิจกรรมโดยมีการพิจารณาจากหน้ าที่การงาน (the functional approach) กิจกรรมต่างๆ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เดียวกันจะถูกนามาร้อยเรียงกัน วิธ ี นี้สามารถนาไปดาเนินการในลักษณะทางคู่ขนาน โดยเริม่ จากระดับ บน การ วิเคราะห์เริม่ จากการแบ่งแยกหน้าที่งานต่างๆ ออกเป็ นหน่ วยที่เล็กที่สุด และ ตามด้วยคาถามว่าหน้าทีง่ านนัน้ ๆ มีการปฏิบตั อิ ย่างไร และจากระดับล่างก็จะ ตัง้ คาถามว่าทาไมต้องมีการปฏิบตั กิ จิ กรรมนัน้ ๆ วิธนี ้ีมขี อ้ ดีคอื เป็ นวิธที ช่ี ่วยให้ การจัดโครงสร้างกิจกรรมเป็ นแบบแผนยิง่ ขึ้น แต่ ก็เ ป็ นวิธ ีท่ซี บั ซ้อ นและหา เจ้าของข้อมูลทีแ่ ท้จริงไม่ได้ 3. การกาหนดกิจกรรมโดยการพิจารณาจากลูกโซ่คุณค่าทางธุรกิจ (the business value chain approach) หรือพิจารณาจากกระบวนการทางธุรกิจ (the


64 business process approach) จะกาหนดและวิเคราะห์กจิ กรรมโดยพิจารณา จากลาดับหรือทางเดินของกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกัน อาศัยการเข้าไปสังเกตการณ์ จึงมีขอ้ ดีคอื ช่วยให้ได้มาซึง่ ข้อมูลกิจกรรมทีส่ ามารถเชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ ขององค์ ก าร ตลอดจนสามารถระบุ เ วลาที่ ใ ช้ ไ ปในขัน้ ตอนต่ า งๆ ของ กระบวนการ (lead time) อาจทาให้เสียเวลาค่อนข้างมาก แต่ให้ผลคุม้ ค่า การ ใช้ว ิธ ีน้ีจะต้อ งแน่ ใ จว่าไม่ม ีกิจกรรมใดที่ถูกมองข้ามโดยเฉพาะกิจกรรมที่ไม่ สามารถระบุได้โดยง่ายว่าเป็ นของกระบวนการใด สาหรับองค์การที่จะเริม่ วางระบบ ABC ควรเริม่ จากการกาหนดกิจกรรมโดย พิจารณาโครงสร้างสายบังคับบัญ ชาขององค์การแล้วขยายไปสู่การกาหนดกิจกรรม โดยพิจารณาจากกระบวนการทางธุรกิจและหน้าทีง่ านตามลาดับ เมื่อ ก าหนดทางเลือ กในการก าหนดกิจ กรรมได้แ ล้ว ขัน้ ตอนต่ อ ไปจะต้อ ง พิจารณาว่ากิจกรรมเหล่านัน้ ต้องการระดับรายละเอียดของกิจกรรมมากน้อยเพียงใด การกาหนดระดับรายละเอียดจะส่งผลต่อประโยชน์ท่จี ะได้จากการใช้กิจกรรม เป็ นตัว ควบคุ มค่ าใช้จ่ายของหน่ ว ยงานระดับต่ างๆ ตลอดจนความยากง่ายในการรวบรวม กิจกรรม เพื่อ รายงานให้กับหน่ ว ยงานระดับบน เช่น อาจกาหนดมาตรฐานว่าระดับ กิจกรรมควรมีก่รี ะดับที่จะร้อยเรียงขึ้นมา โดยมีทางเลือกอีกว่าให้เป็ นกิจกรรมว่างๆ และเป็ นกิจกรรมในระดับสูงหรือ จะยอมให้หน่ วยงานกาหนดรายละเอียดกิจกรรมที่ เฉพาะเจาะจงและระดับรายละเอียดของกิจกรรมลักษณะใดก็จะต้องพิจารณาถึงข้อดี ข้อเสียให้ครบถ้วน ขัน้ ตอนที่ 2 การรวมกิ จกรรมบางประเภทเข้าด้วยกัน กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ อาจมีจานวนมากจนกระทังเป็ ่ นความสูญเปล่าทัง้ ในแง่ ของเวลาและแรงงาน หากผู้ว างระบบจะใช้ตวั ผลักดันต้ นทุนที่ต่ างกันไปในแต่ล ะ กิจกรรม แม้ว่าการกาหนดกิจกรรมนัน้ จะเป็ นประโยชน์แก่ผวู้ างระบบในการระบุต้นทุน รวมตาม cost element หรือตามรหัสบัญชีเข้าสู่กจิ กรรม (cost mapping) และทาให้ ต้นทุนกิจกรรมมีค วามถู กต้อ งใกล้เ คียงความเป็ นจริง แต่ ประโยชน์ ท่ไี ด้รบั จากการ บริหารกิจกรรมอาจมีน้อย กล่าวคือ ยิง่ ผู้วางระบบกาหนดกิจกรรมเพิม่ มากขึน้ เท่าไร ค่าใช้จา่ ยในการหาตัวผลักดันต้นทุนทีเ่ หมาะสมก็จะเพิม่ สูงขึน้ เท่านัน้ สาเหตุทท่ี าให้ค่าใช้จ่ายในการหาตัวผลักดันตุ้นทุนสูงขึน้ ตามจานวนกิจกรรมที่ กาหนด ได้แก่ ผู้วางระบบระบุทรัพยากรที่ใช้ไปในแต่ละกิจกรรมและจานวนครัง้ ที่ทา กิจ กรรมนัน้ แยกตามประเภทของผลได้ใ นรายละเอีย ดมากจนเกิน ไป การก าหนด กิจกรรมในรายละเอียดเช่นนี้ยอ่ มทาให้ภาระการจัดเก็บข้อมูลเพิม่ ขึน้ และทาให้องค์การ มีค่าใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ โดยไม่จาเป็น


65 ขัน้ ตอนที่ 3 การระบุศนู ย์กิจกรรม ศูนย์กจิ กรรม (activity center) หมายถึง ส่วนของกระบวนการผลิตซึง่ รวมถึง แผนกบริก ารที่ผู้บริห ารต้องการให้แสดงต้นทุนกิจกรรมต่างๆ ที่เ กิดขึ้นแยกออกมา ต่างหาก เช่น แผนกสินเชื่ออาจจัดเป็ นศูนย์กิจกรรม ประกอบด้วยกิจกรรมต่ างๆ ที่ เกีย่ วข้องกับการตรวจสอบสินเชื่อและการเรียกเก็บหนี้ หรือ แผนกรับรอง ก็ถอื เป็ นศูนย์ กิจ กรรมได้เ ช่ น กัน การระบุ ศู น ย์กิจ กรรมในลัก ษณะนี้ จ ะไม่ ม ีผ ลต่ อ ตัว เลขต้ น ทุ น ผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะรายงานให้แก่ผบู้ ริหาร แต่จะมีผลต่อรายละเอียดข้อมูลต้นทุนผลิตภัณฑ์ กล่าวคือระบบ ABC อาจรายงานในลักษณะยอดรวม 5,000 บาท หรือรายงานต้นทุน ผลิตภัณฑ์แยกตามศูนย์กิจกรรม โดยแบ่ง ออกเป็ นต้นทุนของแผนกผลิต 3,500 บาท และแผนกรับรอง 1,500 บาท การรายงานในลักษณะนี้จะทาให้ขอ้ มูลเป็ นประโยชน์แก่ ผูบ้ ริหารในการควบคุมกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละศูนย์กจิ กรรมได้ดยี งิ่ ขึน้ ขัน้ ตอนที่ 4 การเลือกตัวผลักดันต้นทุน การปนั ส่วน 2 ขัน้ (two-stage allocation procedure) ในระบบ ABC มีขอ้ ดีคอื ผู้วางระบบสามารถเลือกใช้ตวั ผลักดันต้นทุนที่ต่างกันไปในแต่ละขัน้ เช่น ผู้วางระบบ อาจใช้สดั ส่วนเวลาที่ใช้ในการเตรียมการผลิตเป็ นตัวผลักดันต้นทุนในขัน้ ที่ 1 และใช้ จานวนครัง้ ของการเตรียมการผลิตเป็ นตัวผลักดันต้นทุนในขัน้ ที่ 2 การปนั ส่วนลักษณะ นี้ จ ะช่ ว ยให้ท ราบปริม าณการใช้ ท รัพ ยากรที่เ กิด ขึ้น ในระดับ ศู น ย์กิจ กรรม (ต้น ทุ น กิจกรรม) อันเป็ นประโยชน์ แก่ ผู้บริหารในการตัดสินใจเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพและลด ความสูญเปล่าของกิจกรรมต่างๆ แต่ละศูนย์กจิ กรรม 4.1 ตัวผลักดันทรัพยากร (resource driver) ในขัน้ แรกของการปนั ส่วนตาม ระบบ ABC ต้นทุนทรัพยากรต่างๆ หรือต้นทุนตาม cost element จะปนั ส่วนเข้าสู่กลุ่มต้นทุนกิจกรรม (activity cost pool) ของแต่ละศูนย์กจิ กรรม ตัวผลักดันต้นทุนทีน่ ามาใช้ในการระบุต้นทุนตาม cost element เข้าสู่กลุ่ม ต้นทุนกิจกรรมต่างๆ จะเรียกว่า ตัวผลักดันทรัพยากร กลุ่มต้นทุนกิจกรรม อาจจะอยู่ใ นรูปของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือ อยู่ใ นรูปของกิจกรรมที่ นามารวมกันไว้เป็นกิจกรรมเดียวกันก็ได้ อาจทาได้ 3 วิธ ี คือ 4.1.1 การระบุทางตรง (direct charging) จะใช้ในกรณีท่ที ราบปริมาณ ทรัพ ยากรที่ใ ช้จริง ในแต่ ล ะกิจกรรม เช่น องค์การที่ม ีการติดตัง้ มิเ ตอร์ไ ว้ใ นแต่ ล ะจุด ที่ม ีก ารเดิน เครื่อ งจัก ร พนั ก งานในแผนก เตรียมการผลิต แผนกตรวจสอบคุณภาพ แผนกขนย้ายวัตถุดบิ จะ ทราบเวลาและพลังไฟฟ้าที่ใช้ไปในแต่ละกิจกรรมได้จากการอ่าน มาตรมิเตอร์ วิธนี ้ีทาให้องค์การมีต้นทุ นสูงจึงไม่เห็นผลสนับสนุ น


66 ใดๆ ทีจ่ ะต้องลงทุนติดตัง้ มิเตอร์เพียงเพื่อให้ได้มาซึง่ ข้อมูลต้นทุน กิจกรรมทีม่ คี วามถูกต้อง 4.1.2 การประมาณ (estimation) จะใช้ในกรณีท่ไี ม่ทราบปริมาณการใช้ ทรัพยากรไปในกิจกรรมโดยตรง จาเป็ นต้องอาศัยการประมาณ ต้นทุนทรัพยากรที่ใช้ไปในกิจกรรมนัน้ ๆ โดยอาศัยการสัมภาษณ์ และการส่งแบบสอบถามไปยังพนักงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อให้ได้ขอ้ มูล ที่จะนามาใช้ว ิเคราะห์ต ัวผลักดันทรัพยากร ซึ่งจาเป็ นต้อ งอาศัย ความร่วมมือจากผู้จดั การแต่ละแผนกในการกรอกสัดส่วนเวลาที่ พนักงานใช้ไปในแต่ล ะสัดส่วนต้นทุนทรัพยากรเข้าสู่กลุ่ มต้นทุน กิจกรรมต่างๆ กลุ่มต้นทุนกิจกรรมจึงเป็ นที่สะสมต้นทุนกิจกรรมที่ เกิดขึน้ ในแต่ละศูนย์กจิ กรรม ในขณะเดียวกันตัวผลักดันทรัพยากร จะเป็ น ตั ว ก าหนดต้ น ทุ น ที่ ป นั ส่ ว นเข้ า สู่ ก ลุ่ ม ต้ น ทุ น กิ จ กรรม ตลอดจนความถูกต้องของข้อมูลต้นทุนกิจกรรม 4.1.3 การปนั ส่วนโดยอาศัยดุลยพินิจเข้าช่วย (arbitrary allocation) ใช้ ในกรณี ท่ีไ ม่ส ามารถประมาณสัด ส่ ว นของทรัพ ยากรที่ใ ช้ไ ปใน กิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีหลักเกณฑ์ วิธนี ้ีจงึ ควรนามาใช้น้อยทีส่ ุด เพราะไม้ได้ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์แก่ผบู้ ริหารถึงความเกี่ยวเนื่อง ระหว่างกิจกรรมต่างๆ ซึง่ เป็นสาเหตุทท่ี าให้เกิดต้นทุน 4.2 ตัวผลักดันกิจกรรม (activity driver) เมื่อต้นทุนทรัพยากรมีการปนั ส่วนเข้า สู่แต่ละกลุ่มต้นทุนกิจกรรมแล้ว ขัน้ ที่ 2 จะเป็นการปนั ส่วนต้นทุนกิจกรรมที่ สะสมอยู่ในแต่ละกลุ่มต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ ผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถทาได้ 3 วิธคี อื 4.2.1 การระบุทางตรง (direct charging) กระบวนการผลิต นัน้ มักจะมี ผลิต ภัณฑ์หลายชนิด การระบุต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ ผลิตภัณฑ์ได้ อย่างถูกต้องจึงเป็ นเรื่องยาก จะมีแต่เฉพาะค่าวัตถุดบิ และค่าแรง ทางตรงเท่านัน้ ที่ระบุเข้าสู่ผลิตภัณฑ์โดยตรง การระบุทางตรงจึง เหมาะสมกับองค์การทีม่ ผี ลิตภัณฑ์เพียงไม่ก่ชี นิด 4.2.2 การปนั ส่วนโดยอาศัยดุลยพินิจเข้าช่วย (arbitrary allocation) ซึง่ เป็ นวิธ ีท่ตี รงกันข้ามกับวิธแี รก การปนั ส่ว นมักจบด้วยการใช้ต ัว ผลักดันกิจกรรมทีไ่ ม่ได้มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับการใช้กจิ กรรมของ ผลได้นนั ้ ข้อดีคอื เป็ นวิธที ง่ี ่ายและไม่สน้ิ เปลืองค่าใช้จ่าย แต่ไม่ได้ คานึงถึงกิจกรรมในการผลิตของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด


67 4.2.3 การประมาณ (estimation) วิธนี ้ีอาจใช้เทคนิคทางสถิติ เช่น การ วิเคราะห์การถดถอย หรือการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ท่เี ป็ นเหตุเป็ น ผลระหว่างต้นทุนกิจกรรมกับผลได้ วิธนี ้ีจะมีต้นทุนต่ ากว่ าวิธแี รก และควรนาไปใช้มากกว่าวิธที ่ี 2 เนื่อ งจากความสัม พันธ์ระหว่างผลได้กับกิจกรรมที่มเี ป็ นจานวนมาก จึง จาเป็ นที่ผู้ว างระบบจะต้อ งเลือ กตัว ผลัก ดันกิจกรรมมาใช้เ ท่าที่จาเป็ น เพื่อ ให้ม ี ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า ที่สุ ด ดัง นั ้น ขัน้ ตอนที่ส่ ง ผลกระทบต่ อ กิจ กรรมมากที่สุ ด คือ การ วิเ คราะห์แ ละระบุต ัว ผลัก ดัน กิจ กรรม ผู้ว างระบบต้อ งค านึ งว่ า จะใช้ต ัว ผลัก ดัน กิจกรรมมากน้อยเพียงใด และใช้ตวั ผลักดันกิจกรรมใดบ้าง การกาหนดตัวผลักดันกิ จกรรม ทางทฤษฎีตวั ผลักดันต้นทุนหรือตัวผลักดันกิจกรรมมีการแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ 1. กิจกรรมทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั ปริมาณการผลิต (unit level) จะเป็ นต้นทุนผัน แปรโดยตรงกับปริมาณการผลิตหรือยอดขาย และสามารถระบุเข้าสู่สงิ่ ทีจ่ ะ นามาคิดต้นทุนได้โ ดยตรง เช่น ค่ า เช่าวัต ถุ ดิบทางตรง จะมีต ัว ผลักดัน ต้นทุนหรือตัวผลักดันกิจกรรมคือ จานวนวัตถุดบิ หรือค่าแรงทางตรง ก็จะ มีตวั ผลักดันต้นทุนหรือตัวผลักดันกิจกรรม คือ ชัวโมงแรงงานทางตรง ่ เป็ น ต้น 2. กิจกรรมทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั จานวนครัง้ ทีท่ ากิจกรรม (batch level) จะเป็ น ต้นทุนที่ผนั แปรโดยตรงกับจานวนกลุ่มของผลิตภัณฑ์ท่ผี ลิตแต่ไม่ได้ผนั แปรตามจานวนหน่ วยที่ผลิต เช่น การสังซื ่ อ้ จะมีตวั ผลักดันต้นทุนหรือตัว ผลักดันกิจกรรม คือ จานวนครัง้ ทีส่ งซื ั ่ อ้ หรือต้นทุนการขนย้ายวัตถุดบิ จะ มีตวั ผลักดันต้นทุนหรือตัวผลักดันกิจกรรมคือจานวนครัง้ ของการขนย้าย เป็นต้น 3. กิจกรรมที่มคี วามสัมพันธ์ตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ (product line) หรือตาม กระบวนการผลิต (process line) โดยต้นทุนกลุ่มนี้นนั ้ จะผันแปรตามความ หลากหลายของสินค้า เช่น ค่าใช้จ่ายในการออกแบบจะมีตวั ผลักดันต้นทุน หรือตัวผลักดันกิจกรรมคือ จานวนประเภทของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น 4. กิจกรรมรวมขององค์การเพื่อให้องค์การดาเนินงานต่อไปได้ (organization level) จะเป็ นต้นทุนที่ไม่ผนั แปรตามทัง้ 3 ระดับแรก แต่เป็ นต้นทุนคงที่ อย่างแท้จริงเป็นต้นทุนโดยรวมทีท่ าให้ธุรกิจสามารถดาเนินงานได้ เช่น ค่า เสื่อ มราคา จะมีต ัว ผลัก ดัน ต้น ทุ น /กิจ กรรมคือ พื้น ที่ (ตารางฟุ ต ) หรือ เงิน เดือ นผู้บ ริห ารโรงงาน จะมีต ัว ผลัก ดัน ต้ น ทุ น /กิจ กรรมคือ จ านวน พนักงาน เป็นต้น


68 นอกจากนัน้ ในการกาหนดตัวผลักดันต้นทุนหรือตัวผลักดันกิจกรรมยัง มีองค์ประกอบอื่นทีจ่ ะต้องคานึงถึง คือ การกาหนดตัวผลักดันกิจกรรมควรเริม่ พิจารณาจากจานวนตัวผลักดันกิจกรรมที่กาหนดขึ้น ซึ่งขึน้ อยู่กบั ระดับความ ถูกต้องของข้อมูลต้นทุนผลิตภัณฑ์ท่ตี ้องการ และความซับซ้อนของส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ หากมีตวั ผลักดันกิจกรรมมาก ความถูกต้องของต้นทุนผลิตภัณฑ์กม็ ี มากขึน้ ด้วย ส่วนในกรณีทผ่ี ลิตภัณฑ์มคี วามแตกต่างทัง้ ปริมาณการผลิต ขนาด ของผลิตภัณฑ์ ความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์ และความแตกต่างของวัตถุดบิ การ ใช้ต ัว ผลัก ดัน กิจ กรรมที่แ ตกต่ า งกัน ไปจะช่ ว ยให้ส ามารถระบุ ต้ น ทุ น เข้า สู่ ผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องมากขึน้ การเลือกตัวผลักดันกิจกรรมจะพิจารณาดังนี้ 1. ค่าใช้จา่ ยในการวัดตัวผลักดัน (measurement costs) เพื่อทีใ่ ห้ค่าใช้จ่ายใน การวัดตัวผลักดันต่ า ควรเลือกใช้กจิ กรรมทีส่ ามารถหาข้อมูลเพื่อมาใช้ระบุ ตัวผลักดันกิจกรรมได้งา่ ยขึน้ 2. สหสัมพันธ์ (correlation) การใช้ตวั ผลักดันกิจกรรมทีไ่ ม่มคี วามสัมพันธ์กบั การใช้ทรัพยากรจริง อาจทาให้ได้รบั ข้อมูลต้นทุนผลิตภัณฑ์ท่ไี ม่ถูกต้อง ดังนัน้ จึงควรพิจารณาสหสัมพันธ์ของปริมาณกิจกรรมทีร่ ะบุเข้าสู่ผลิตภัณฑ์ ทีส่ ะท้อนให้เห็นจากตัวผลักดันกิจกรรม กับปริมาณการใช้กจิ กรรมจริงของ ผลิตภัณฑ์นนั ้ 3. ผลกระทบเชิงพฤติกรรมของพนักงาน (behavioral effects) การเลือกตัว ผลักดันกิจกรรมควรคานึงถึงว่า ตัวผลักดันกิจกรรมที่เลือกมานัน้ จะทาให้ พฤติกรรมของพนักงานเปลีย่ นแปลงไปหรือไม่ เช่น อาจมีผลให้พนักงานมี พฤติ ก รรมมุ่ ง เน้ น แต่ ผ ลประโยชน์ ส่ ว นตนมากเกิน ไป และลืม นึ กถึ ง ประโยชน์โดยรวมขององค์การ 4. การเลือกตัวผลักดันกิจกรรมควรเลือกตัวผลักดันกิจกรรมที่แหล่งภายนอก ใช้คดิ ค่าบริการเพื่อทีจ่ ะทาให้สามารถเปรียบเทียบได้ว่า กิจกรรมดังกล่าว กิจกรรมควรทีจ่ ะดาเนินการเองหรือจ้างจากแหล่งภายนอก ขัน้ ตอนที่ 5 การคานวณต้นทุนกิ จกรรม นุจรินทร์ ฉิมพลอย (2542) อ้างถึง Peter b.b. Turney (n.d.) กล่าวเติมเพิม่ ว่า โดยปกติการบันทึกรายการทางบัญชีจะบันทึกต้นทุนแยกตามบัญชีแยกประเภท ซึง่ เป็ น การบันทึกต้นทุนตามรหัสบัญชี (cost element) ในขัน้ ตอนของการคานวณต้นทุน กิจกรรมนี้คอื การระบุต้นทุน ตาม cost element เข้าสู่กจิ กรรม เรียกได้ว่าเป็ นขัน้ ตอน ของการทา cost mapping


69 ต้นทุนบางชนิดสามารถระบุเข้ากิจกรรมได้โดยตรง (traceable cost) เนื่องจาก เป็นต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ จากการประกอบกิจกรรมนัน้ เพียงอย่างเดียวหรือเห็นความสัมพันธ์ อย่า งเด่ น ชัด หรือ สามารถประมาณโดยอาศัย หลักเกณฑ์บ างอย่า งได้เ ช่ น จากการ สัมภาษณ์ การเข้าสังเกตการณ์ปฏิบตั ิงาน นอกจากนี้จะมีค่าใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวกับ หลัก บริห ารหรือ งานบริก ารต่ า งๆ ที่ไ ม่ ส ามารถระบุ เ ข้า กิจ กรรมได้โ ดยอาศัย การ ประมาณได้อย่างมีหลักเกณฑ์ การทา cost mapping ก็จะต้องเป็ นไปในลักษณะดุลย พินิจ (arbitrary allocation) เมื่อกาหนดกิจกรรมแล้ว ทรัพยากรต่างจะถูกจัดสรรเข้าไปที่กิจกรรม ข้อมูล ต้นทุนตามบัญ ชีแ ยกประเภททัวไป ่ (general ledger) จะบันทึกเฉพาะต้นทุน ไม่ สามารถแยกเข้ากิจกรรมได้ ในขัน้ ตอนนี้จะใช้ตวั ผลักดันต้นทุนทรัพยากรเป็ นตัวเชื่อม ไปทีก่ จิ กรรม ดังภาพที่ 2-30

ทรัพยากรในการผลิต ทีบ่ นั ทึกอยูใ่ น GL ตัวผลักดันทรัพยากร (resource driver) กิจกรรม

ภาพที่ 2-34 แสดงการปนั ส่วนจากกลุ่มต้นทุนลงสู่กจิ กรรม ทีม่ า: นุจรินทร์ ฉิมพลอย. 2542. อ้างถึง Peter b.b. Turney, n.d. ขัน้ ตอนที่ 6 การคานวณต้นทุนผลิ ตภัณฑ์ การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์จะอาศัยบัญชีกจิ กรรม (bill of activity) คือ ผลิตภัณฑ์ แต่ละชนิดจะมีการพิจารณาก่อนล่วงหน้า 6.1 การระบุ กิจ กรรมที่เ กิด ขึ้นเพื่อ ให้ผ ลิต ภัณฑ์อ ยู่ใ นสภาพพร้อ มที่จะขายหรือ ให้บริการแก่หน่วยงานหรือลูกค้า 6.2 การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ ใช้อตั ราต้นทุนกิจกรรมต่อหน่ วยของตัวผลักดัน ต้นทุนและกิจกรรมที่กาหนดไว้เ ป็ นหลักเกณฑ์ใ นการคานวณค่าใช้จ่ายของ ผลิตภัณฑ์


70 วิธกี ารคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์จะมี 2 วิธ ี คือ 1. วิธ ีก ารค านวณต้นทุนเข้าผลิต ภัณฑ์แบบ 2 ขัน้ ตอน เข้าศูนย์กิจกรรมที่ ก าหนดไว้โ ดยใช้ค วามสัม พัน ธ์ข องตัว ผลัก ดัน ต้ น ทุ น ที่เ รีย กว่ า เป็ น ต้ น ผลักดันทรัพยากรเข้าสู่กจิ กรรมที่กาหนด เป็ นการผลิตขัน้ ที่ 1 จากนัน้ คิด ต้นทุนของกิจกรรมเข้าสู่ผลิตภัณฑ์ท่ตี ้องการโดยใช้ตวั ผลักดันต้นทุนที่ม ี ความสัมพันธ์กบั ผลิตภัณฑ์นัน้ เป็ นขัน้ ที่ 2 ซึง่ เป็ นขัน้ สุดท้ายของการคิด ต้นทุนเข้าผลิตภัณฑ์ทต่ี อ้ งการทราบ ดังภาพที่ 2-35

วัสดุสน้ิ เปลือง

เงินเดือน

ค่าใช้จ่าย อาคารสถานที่

ค่าประมวลผล ข้อมูล

ขัน้ ที่ 1 ต้นทุนกิจกรรม : กรออกใบสังผลิ ่ ต ขัน้ ที่ 2 บริการ ก

บริการ ข

บริการ ค

ภาพที่ 2-35 วิธกี ารคานวณต้นทุนเข้ากับผลิตภัณฑ์แบบ 2 ขัน้ ตอน ทีม่ า: วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. 2. วิธกี ารคานวณต้นทุนเข้าผลิตภัณฑ์แบบหลายขัน้ ตอน (multiple stage approach) ใช้ในกรณีทก่ี จิ กรรมซับซ้อน มีกจิ กรรมสนับสนุ นหลายขัน้ ตอน จึงต้องปนั ส่วนต้นทุนลดหลันไปตามล ่ าดับ จนกระทังคิ ่ ดเข้าสายผลิตภัณฑ์ ในขัน้ สุดท้าย ดังภาพที่ 2-36


71 ต้นทุน

การซ่อมบารุง การประดิษฐ์เครื่องมือ การผลิต

สินค้ า ก

สินค้ า ข

สินค้ า ค

สินค้ า ง

สินค้ า จ

ภาพที่ 2-36 วิธกี ารคานวณต้นทุนเข้าผลิตภัณฑ์แบบหลายขัน้ ตอน ทีม่ า: วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. ขัน้ ตอนที่ 7 การวัดผลการปฏิ บตั ิ งาน นุ จรินทร์ ฉิมพลอย (2542) อ้างถึง Peter b.b. Turney (n.d.) ได้กล่าวเพิม่ เติมว่า ระบบบัญชีเดิมวัดผลการปฏิบตั งิ านโดยการเปรียบเทียบตัวเลขค่าใช้จ่ายในงบประมาณ ที่ตงั ้ ไว้กบั ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งเป็ นการวัดผลการปฏิบตั งิ านที่เป็ นตัวเลขเท่านัน้ แต่ไม่ส ามารถเชื่อมโยงกับตัววัดผลการปฏิบตั ิงานที่ไม่เป็ นตัวเงิน ซึ่งการวัดผลการ ปฏิบตั งิ านทีด่ จี ะต้องสามารถแสดงให้เห็นถึงสิง่ ต่อไปนี้ 1. ต้องสามารถวัดประสิทธิภาพ (efficiency) ในการทางาน 2. ต้องสะท้อนให้เห็นถึงเวลา (time) ทีใ่ ช้ในการทากิจกรรมว่ายาวนานแค่ไหน 3. ต้องสะท้อนคุณาพ (quality) ของกิจกรรมโดยดูจากความผิดพลาดของงานทีท่ า 4. ต้องสะท้อนถึงความยืดหยุ่น (flexibility) ของกิจกรรมเพื่อรับรองเหตุการณ์ทไ่ี ม่ คาดคิดมาก่อน ระบบ ABC สามารถวัดผลการปฏิบตั งิ านได้ (Key Performance Indicator: KPI) ทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงิน และไม่เป็ นตัวเงิน ซึง่ ช่วยให้ผบู้ ริหารสามารถประเมินผลการทางานได้ ชัดเจนยิง่ ขึน้ 1. การวัดผลการปฏิบตั ิงานที่เ ป็ นตัวเงิน (financial) ได้แก่ การคานวนต้นทุนที่ เกิดขึ้นในการดาเนินกิจกรรม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการใช้ทรัพยากรในการทา


72 กิจกรรมนัน้ ๆ สูงหรือต่ ากว่าที่หน่ วยงานภายนอกใช้ในลักษณะกิจกรรมแบบ เดียวกัน 2. การวัดผลการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่เป็นตัวเงิน ได้แก่ 2.1 การวัดประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน 2.2 การวัดความพึงพอใจของลูกค้า 2.3 การวัดระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน 2.4 การวัดคุณภาพและบริการ ซึง่ สามารถสรุปได้ว่า ระบบ ABC มีประโยชน์ต่อผูบ้ ริหารองค์การในปจั จุบนั มาก เนื่องจากสามารถตอบสนองข้อมูลทีส่ าคัญๆ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ และข้อมูลทีไ่ ด้ จากระบบ ABC สามารถนามาเปรียบเทียบกับแหล่งภายนอกว่ากิจกรรมทีอ่ งค์การทา อยู่ในปจั จุบนั มีต้นทุนเหมาะสมที่จะด าเนินการต่ อ ไปหรือ ไม่ห รือ ควรจ้างจากแหล่ง ภายนอก ใช้ว ดั ผลการปฏิบตั ิงานที่ทาอยู่ใ นป จั จุบนั และใช้เ ป็ น ข้อ มูล ในการจัดท า งบประมาณ ประโยชน์ของระบบต้นทุนตามกิ จกรรม นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล (2550) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของระบบ ABC ว่า 1. ช่วยให้การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์/บริการ มีความถูกต้องใกล้เคียงความเป็นจริง 2. ช่วยในการวัดผลการปฏิบตั งิ านของกิจการ 3. ช่วยในการลดต้นทุนและค่าใช้จา่ ยของกิจการ 4. ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ 5. ช่วยในการพัฒนากิจกรรมทัง้ หมดอย่างต่อเนื่อง ข้อจากัดของระบบต้ นทุนตามกิ จกรรม สุดปราณี มณีศรี (2545) อ้างถึง วาสนา วิเศษสิงห์ (2543) ได้กล่าวว่า การนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้มขี อ้ จากัดซึง่ อาจระบุได้ดงั นี้ 1. ระบบ ABC ไม่เหมาะสมกับองค์การทีม่ ผี ลิตภัณฑ์เพียงชนิดเดียว 2. การแยกกิจ กรรมให้ล ะเอีย ดที่สุ ด ส่ ง ผลให้ต้ น ทุ น ที่ค านวณได้ม ีค วามถู ก ต้ อ ง ใกล้เคียงกับความเป็ นจริงมากทีส่ ุด แต่ความละเอียดในการแยกกิจกรรมนี้จะทาให้ เกิดค่าใช้จา่ ยสูง 3. ระบบ ABC อาจก่อให้เกิดการต่อต้านจากบุคลากรภายในองค์การ เนื่องจากเกิด ความกดดันด้านประสิทธิภาพและเวลาในการปฏิบตั ิงานของผู้ปฏิบตั ิงาน ทาให้ ผู้ป ฏิบ ัติง านเกรงว่ า ตนอาจต้อ งถู ก ต าหนิ ห รือ ถู ก ลงโทษ หากงานที่ท าอยู่เ ป็ น กิจกรรมทีก่ ่อให้เกิดต้นทุนทีไ่ ม่เพิม่ ค่า


73 4. ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับระบบ ABC ของพนักงานในกิจกรรมเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญ ซึง่ หากมีค วามเข้าใจไม่ตรงกัน อาจทาให้เ กิด ปญั หาในการนาระบบ ABC มา ประยุกต์ใช้ในองค์การได้ 5. ระบบ ABC ไม่สามารถช่วยในการค านวณต้นทุนผลิต ภัณฑ์ได้ถู กต้องร้อ ย เปอร์เซ็นต์ หากการกาหนดกิจกรรมไม่เหมาะสม หรือไม่ครอบคลุมทุกกิจกรรมทีท่ า อยู่ ทาให้การปนั ส่วนค่าใช้จ่ายผิดพลาดได้ หรือการหาข้อมูลเพื่อกาหนดกิจกรรม จากโครงสร้า งองค์ก าร ค าบรรยายลัก ษณะงาน แผนปฏิบ ัติก ารและจากการ สัมภาษณ์ อาจได้รบั ข้อมูลที่บดิ เบือนไปจากความเป็ นจริง หรือการให้น้ าหนักเวลา ของพนักงานในการประเมินน้าหนักเวลาปฏิบตั งิ านอาจไม่ตรงกับความเป็ นจริง อัน ส่งผลให้การปนั ส่วนค่าใช้จา่ ยผิดพลาดได้ แนวทางในการลดต้ นทุนโดยใช้ระบบต้นทุนตามกิ จกรรม วาสนา วิเศษสิงห์ (2543) อ้างถึง Don R. Hansen, and Maryanne M. Moven. (1997) กล่าวว่า แนวทางในการลดต้นทุนโดยใช้ระบบ ABC สามารถพิจารณาจากการบริหาร กิจกรรม (Activity Based Management: ABM) จากระบบ ABC ทาให้ทราบว่าภายในองค์การ ประกอบด้วยกิจกรรมใดบ้าง และเกิดจากสาเหตุใดโดยกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ อาจจะทาการวิเคราะห์ ได้เป็น ดังนี้ 1. กิจกรรมทีเ่ พิม่ ค่า (value added activity) หมายถึง กิจกรรมทีท่ าให้ผลิตภัณฑ์เกิด คุ ณ ค่ า ในสายตาลูก ค้า และท าให้เ กิด คุ ณ ลัก ษณะของผลิต ภั ณ ฑ์แ ละระดับ การ ให้บริการทีล่ กู ค้าควรจะจ่าย 2. กิจกรรมที่ไม่เพิม่ ค่า (non-value added activity) หมายถึง กิจกรรมที่ลดลงหรือ ขจัดให้หมดไปได้ ช่วยให้องค์การสามารถแข่งขันในการตอบสนองต่อข้อกาหนด ของลูกค้าได้ ทัง้ นี้หากผูบ้ ริหารนาข้อมูลที่ได้รบั ไปใช้ในการบริหารกิจกรรมที่เกิดขึน้ ภายในองค์การ ได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนและเพื่อให้องค์การมีความได้เปรียบในเชิง แข่งขัน ซึง่ การวิเคราะห์กจิ กรรมนัน้ สามารถลดต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ภายในองค์การได้ 4 แนวทาง คือ 1. การตัดทอนกิจกรรม (activity elimination) โดยเฉพาะกิจกรรมที่ไม่เพิม่ ค่าหรือ กิจ กรรมที่ไ ม่ จ าเป็ น ซึ่ง หากตัด ทอนกิจ กรรมนี้ ไ ปก็ ไ ม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การ ดาเนินงาน 2. การเลือกกิจกรรม (activity selection) เป็ นการพิจารณากิจกรรมใหม่ๆ ทีอ่ งค์การ ไม่ได้ทาอยุใ่ นขณะนัน้ เพื่อให้เกิดประสิทธิผล โดยเลือกกิจกรรมทีม่ ตี น้ ทุนต่าทีส่ ุด


74 3. การลดกิจกรรม (activity reduction) เป็ นการลดเวลาและทรัพยากรทีใ่ ช้ในกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ ค่าจนสามารถตัดทอนกิจกรรมนี้ได้ ทัง้ นี้เพื่อลดต้นทุน ทีเ่ กิดขึน้ และการเพิม่ ประสิทธิภาพของกิจกรรมทีจ่ าเป็น 4. การแบ่งกิจกรรม (activity sharing) เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพของกิจกรรมทีจ่ าเป็ น โดยใช้ก ารประหยัด ต่ อ ขนาดเป็ น การเพิ่ม ปริม าณผลิต ภัณ ฑ์โ ดยที่ต้น ทุ น ตาม กิจกรรมไม่เพิม่ ขึน้ ซึง่ ทาให้ตน้ ทุนต่อหน่วยตัวผลักดันต่าลง การบัญชีบริ หารและการจัดการเชิ งกลยุทธ์ พัชนิจ เนาวพันธ์ (2552) อ้างถึง Arthur A. Thompson, Jr. and A. J. Strickland III (1999) กล่าวว่า บัญชีบริหารได้เข้ามามีบทบาทในกระบวนการบริหารงานขององค์การเริม่ ตัง้ แต่ การกาหนดวิสยั ทัศน์ ผูบ้ ริหารจึงต้องปรับเปลีย่ นวิสยั ทัศน์ใหม่ให้เหมาะสมกับบริษทั และจัดทา พัน ธกิจ วัต ถุ ประสงค์ และกลยุท ธ์ต่ อ ไป ซึ่งข้อ มูล ทางด้านบัญ ชีบริหารมีค วามจ าเป็ นเพื่อ ประกอบการจัดทาทุกๆ ขัน้ ตอน จากนัน้ ก็กาหนดแผนปฏิบตั ิโดยนาเทคนิคและวิธกี ารต่างๆ ทางด้านบัญชีบริหารเข้ามาเกี่ยวข้อ ง จากนัน้ จึงนาแผนไปปฏิบตั ิงานจริง ในระหว่างการนา แผนงานไปปฏิบ ัติใ ช้ผู้บ ริห ารสามารถใช้ข้อ มูล ทางด้า นบัญ ชีเ พื่อ การสังการ ่ กระบวนการ บริหารงานตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์และกระบวนการทางบัญชีบริหารที่เกี่ยวข้องและ การจูงใจพนักงานในการปฏิบตั งิ านให้เป็ นไปตามแผนทีต่ งั ้ ไว้ และใช้ขอ้ มูลบัญชีเพื่อตรวจสอบ ว่าเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ห รือไม่ หรือ มีปญั หาอะไรที่เ กิดขึ้นบ้าง เพื่อที่จะได้ทาการแก้ไ ข ปญั หา และท้ายที่สุดคือการนาข้อมูลการปฏิบตั งิ านจริงทัง้ หมดมาเปรียบเทียบกับแผนทีว่ างไว้ เพื่อหาผลต่าง โดยผลต่างที่ได้จะบอกว่าการปฏิบตั งิ านจริงเป็ นไปตามแผน หรือแย่กว่าแผนที่ วางไว้ รายการใดบ้างทีม่ ผี ลต่าง นาผลต่างเหล่านัน้ ไปวิเคราะห์อย่างละเอียดเพื่อทราบสาเหตุท่ี แท้จริง และทาการปรับปรุงแผนการปฏิบตั ิงานหรือ วางแผนใหม่สาหรับงวดระยะเวลาการ บริห ารงานต่ อไปให้ดขี ้นึ กว่างวดปจั จุบนั จึงสรุปได้ว่า ทุกขัน้ ตอนการบริหารงานผู้บริห ารมี ความจาเป็นต้องใช้ขอ้ มูลเพื่อการตัดสินใจ เพื่อให้การบริหารมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดัง ภาพที่ 2-37


75 กาหนด วิสยั ทัศน์ และพันธกิจ

กาหนด วัตถุประสงค์

ทบทวน ทบทวน หรื อแก้ ไขถ้ าจาเป็ น หรื อแก้ ไขถ้ าจาเป็ น

กาหนด แผนกลยุทธ์

การนาแผน กลยุทธ์ ไปปฏิบตั ใิ ช้

ปรับปรุง หรื อ เปลีย่ นแปลง

ปรับปรุง หรื อ เปลีย่ นแปลง

การวางปฏิ บตั ิ การ (แผนงานามหน้ าที่) การวางแผนงานบัญชีบริหาร - การออกแบบระบบต้นทุน - การวิ เคราะห์ต้นทุนปริ มาณกาไร - แผนงบประมาณ

การตรวจสอบ ประเมินผลและ ทาการแก้ไข ดาเนินการซ ้า ถ้ าจาเป็ น

ผลการปฏิ บตั ิ งานจริง - งบประมาณยืดหยุ่น - การวิ เคราะห์ผลต่างต้นทุน มาตรฐาน - รายงานจาแนกตามส่วนงาน - การวิ เคราะห์ความสามารถ ในการทากาไร

ภาพที่ 2-37 กระบวนการบริหารงานตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์และกระบวนการทาง บัญชีบริหารทีเ่ กีย่ วข้อง ทีม่ า: พัชนิจ เนาวพันธ์. 2552. อ้างถึง Arthur A. Thompson, Jr. and A. J. Strickland III. 1999. งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง จิต ต์ ข จี บุ ญ ครอบ (2539) ได้ ศึ ก ษาการน าระบบบัญ ชีต้ น ทุ น กิ จ กรรมมาใช้ ใ น รัฐวิสาหกิจ 1. วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจหน่ วยงานรัฐวิสาหกิจที่มกี ารนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ ศึกษาปจั จัยแรงจูงใจ ขัน้ ตอน ปญั หา และอุปสรรคในการใช้ และศึกษาผลกระทบที่ เกิดขึน้ ภายหลัง 2. วิธกี ารศึกษา โดยวิธกี ารสัมภาษณ์ผบู้ ริหารทีม่ หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบบัญชี 3. ผลการศึกษา พบว่า หน่ วยงานทีน่ าระบบ ABC มาใช้ม ี 2 แห่ง คือ การไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย และการไฟฟ้านครหลวง เนื่องจากระบบเดิมให้ข้อมูลที่ไม่ ชัดเจน ข้อมูลไม่เชื่อมโยงกัน และต้องการระบบงานทีเ่ ป็ นมาตรฐานสากล ขัน้ ตอน การนามาใช้ของการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแบ่งออกเป็น ระยะที่ 1 คือการวิเคราะห์และระบุ


76 กิจกรรม การคานวณต้นทุนตามกิจกรรม และการระบุตวั ผลักดันต้นทุน ระยะที่ 2 คือซือ้ software package ‚Walker‛ ใช้ในระบบบัญชีและการเงิน ส่วนการไฟฟ้า นครหลวง คัดเลือกหาหน่ วยงานที่จะทดลองแล้ววิเคราะห์ขนั ้ ตอน หาตัวผลักดัน ต้นทุน และกาหนดวิธกี ารปฏิบตั งิ าน ผลดีคอื ทราบต้นทุนทีใ่ กล้เคียงความเป็ นจริง ได้ข้อมูลรวดเร็ว และกาหนดกลยุทธ์ได้ถูกต้อง แต่อุปสรรคที่สาคัญคือ พนักงาน ขาดความรู้ และการหาตัวผลักดันต้นทุนที่ถูกต้อ ง ดังนัน้ ต้องใช้เวลามากในการ ปรับเปลีย่ นระบบให้เข้าที่ สุดปราณี มณีศรี (2545) ได้ศึกษาเรื่องแนวทางในการลดต้นทุนโดยใช้ระบบต้นทุน กิจกรรม กรณีศกึ ษา บริษทั วี.พี.เอฟ.กรุป๊ จากัด 1. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการลดต้นทุนการผลิตสุกรโดยใช้ระบบ ABC 2. วิธกี ารศึกษา โดยรวบรวมข้อ มูลจากโครงสร้างองค์การ คาบรรยายลักษณะงาน และสัมภาษณ์ผบู้ ริหาร พนักงานรวมทัง้ เข้าร่วมสังเกตการณ์ปฏิบตั งิ าน 3. ผลการศึกษา พบว่า เมื่อรวมกิจกรรมที่คล้ายกัน แล้ววิเคราะห์กิจกรรมที่เกิดขึ้น แบ่งออกเป็ นกิจกรรมที่เพิม่ ค่า 11 กิจกรรม และกิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ ค่า 3 กิจกรรม ผูบ้ ริหารสามารถนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ตัดสินใจและดาเนินมาตรการต่างๆ เพื่อบริหารให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะกิจกรรมที่ไม่เพิม่ ค่า ซึง่ ต้องหา แนวทางในการกาจัดกิจกรรม ลดกิจกรรม รวมกิจกรรม หรือเลือกทากิจกรรมใหม่ นอกจากนี้ควรพัฒนากิจกรรมทีเ่ พิม่ ค่า เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันและ ขีดความสามารถในการทากาไร อัษรายุทธ มาสแก้ว (2551) ได้ทาศึกษาเรื่องแนวทางการลดต้นทุนโดยใช้ระบบต้นทุน กิจกรรม กรณีศกึ ษา บริษทั สยามมาสเตอร์คอนกรีต จากัด 1. วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์กจิ กรรม ตัวผลักดันต้นทุน และศึกษาแนวทางการลด ต้นทุนโดยใช้ระบบ ABC 2. วิธกี ารศึกษา โดยศึกษาจากการสนทนา การสัมภาษณ์เชิงลึก และจดบันทึก 3. ผลการศึกษา พบว่า การวิเคราะห์กจิ กรรมสามารถแบ่งเป็ น 3 ขัน้ ตอน คือการระบุ กิจกรรม การรวมกิจกรรม และการรายงานกิจกรรม ส่วนการวิเคราะห์ตวั ผลักดัน ต้นทุน จะสามารถจาแนกเป็นกิจกรรมทีเ่ พิม่ ค่า และไม่เพิม่ ค่า ซึง่ สรุปได้ว่ากิจกรรม ทีเ่ กิดขึน้ ภายในแต่ละแผนกมีกจิ กรรมที่เหมือนกันคือ กิจกรรมจัดทารายงาน และ เข้าร่วมประชุมหรือสัมมนา ส่วนแนวทางการลดต้นทุนโดยใช้ระบบต้นทุนกิจกรรม กิจกรรมที่ไม่เพิม่ ค่าทีร่ ะบุได้ว่าควรลดกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการขนย้ายวัตถุดบิ การขนย้า ยสิน ค้า ส าเร็จ รูป การแก้ไ ขสิน ค้า ที่ไ ม่ไ ด้ม าตรฐาน การรับ คืน สิน ค้า เสียหาย การแก้ไขปรับปรุงงานทีท่ าเสร็จ การประสานงานกับฝ่ายบัญชีและการเงิน การติดต่อทนาย การติดต่อหน่ วยงานราชการ และท้ายที่สุดควรตัดทอนกิจกรรม


77 โดยเฉพาะกิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ ค่าให้หมดไป ได้แก่ การติดตามการส่งมอบ การบันทึก ข้อร้องเรียน การแก้ไขสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน การตรวจนับและการจัดเรียง การ ซ่อมแซมแบบผลิต และการตรวจรับสินค้า ซึ่งองค์การควรเลือกกิจกรรมใหม่ โดย เลือกกิจกรรมทีม่ ตี ้นทุนต่ าที่สุดจากหลายๆ กิจกรรม หรือทากิจกรรมที่จาเป็ นเพื่อ เพิม่ รายได้ขององค์การ แต่ทงั ้ นี้ตน้ ทุนของกิจกรรมต้องไม่เพิม่ ขึน้ จามร สุวรรณฉาย (2550) ได้ศกึ ษาเรื่องแนวทางการประยุกต์ระบบต้นทุนกิจกรรมกับ ธุรกิจโลจิสติกส์ในจังหวัดเชียงใหม่ 1. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการนาระบบ ABC มาประยุกต์กบั ธุรกิจโลจิสติกส์ ในจังหวัดเชียงใหม่ 2. วิธกี ารศึกษา โดยวิธกี ารสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และเข้าสังเกตการณ์ปฏิบตั งิ านของ พนักงานระดับปฏิบตั กิ าร 3. ผลการศึกษา พบว่า มีขนั ้ ตอนการคานวณต้นทุนกิจกรรม 4 ขัน้ ตอน คือ การ วิเคราะห์กจิ กรรม วิเคราะห์ตวั ผลักดันต้นทุน การกระจายค่าใช้จ่ายจากบัญชีแยก ประเภทเข้ากิจกรรม และการหาอัตราส่วนต้นทุนกิจกรรมต่อตัวผลักดันต้นทุน และ แนวทางการประยุกต์ใช้ต้นทุนกิจกรรม จะมีการคานวณต้นทุนการให้บริการแก่ ลูกค้า จากการกระจายต้นทุนตามบัญชีแยกประเภทสู่กจิ กรรม และได้อตั ราส่วน ต้นทุนกิจกรรมต่อตัวผลักดัน จากผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่ วยตัวผลักดัน จะ ช่วยให้ผู้บริห ารสามารถนาข้อ มูล ที่ได้มากาหนดราคา ส่ว นการพิจารณาความมี ประสิทธิภาพในกิจกรรมที่เพิม่ มูลค่า และพิจารณาแก้ไขปรับปรุงหรือทากิจกรรม ใหม่ในกิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ ค่า เพื่อพิจารณาว่าในแต่ละกลุ่มงาน ควรจะครอบคลุมถึง กิจกรรมใดบ้าง กิจกรรมใดสามารถดาเนินการได้ในเวลาเดียวกันได้ รวมถึง พิจารณาขัน้ ตอนหรือวิธปี ฏิบตั ทิ ่เี ป็ นอยู่ แล้วทาการค้นหาสาเหตุท่แี ท้จริงที่ทาให้ เกิดการสูญเสียเวลาและทรัพยากรขององค์การโดยไม่จาเป็น จากงานวิจ ัย เกี่ย วเนื่ อ งที่ไ ด้ไ ปศึก ษาถึง การน าระบบบัญ ชีต้ น ทุ น ตามกิจ กรรมมา ประยุกต์ใช้ เพื่อศึกษาแนวทาง ปญั หาและอุปสรรค ตลอดจนผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ในภายหลังนา ระบบ ABC มาใช้ อีกทัง้ ยังเป็ นแนวทางในการศึกษาเรื่องการลดต้นทุนโดยใช้ระบบ ABC เพื่อ วิเคราะห์กจิ กรรม วิเคราะห์ตวั ผลักดันต้นทุน และศึกษาแนวทางในการลดต้นทุนโดยใช้ระบบ ABC ด้วยเหตุน้ีจงึ ได้มกี ารจัดทาการศึกษาเรื่องการบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือทางการบัญชี ต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความเป็ นมาและสาเหตุ ของการนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ รวมถึงขัน้ ตอนและประโยชน์ ตลอดจนปญั หาและ อุปสรรคที่เกิดขึน้ จากการนามาใช้ในการดาเนินงาน โดยมีวธิ กี ารศึกษาแบบปฐมภูม ิ คือ จาก การสนทนา การสัมภาษณ์ ผูบ้ ริหารและพนักงาน และแบบทุตยิ ภูมคิ อื เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจากงานวิจยั ดังนัน้ จึงนามากาหนดกรอบแนวคิดการศึกษา คือ


78 กรอบแนวคิ ดการศึกษา ทฤษฎีเกี่ยวกับระบบบัญชี -

ต้นทุนตามกิ จกรรม ปญั หาการคิดด้นทุนแบบเดิม การนา ABC มาใช้ แนวทางการประยุกต์ใช้ ABC/ABM ในองค์การ การบริหารและการจัดการ เชิงกลยุทธ์ การพัฒนาอย่างยังยื ่ น

การปฎิ บตั ิ การโดยใช้เครื่องมือ ระบบบัญชีต้นทุนตามกิ จกรรม - สาเหตุทก่ี ารไฟฟ้านครหลวงนา ABC มาใช้ - ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ การจัดองค์การ การกาหนดผังรหัสบัญชี การจัดทาระบบทางเดินข้อมูล เอกสาร, รายงานประเภทต่างๆ การคิดต้นทุนสาหรับ ABC - ประโยชน์จากการนา ABC มาใช้ - การนาข้อมูล ABC มาใช้ในการ บริหาร ABM

ภาพที่ 2-34 กรอบแนวคิดการศึกษาการบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบบัญชีต้นทุนตาม กิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้านครหลวง การศึกษาการบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม กรณีศกึ ษา การไฟฟ้ านครหลวง มีว ิธกี ารศึกษาโดยการสัมภาษณ์ ผู้บริห ารและพนักงานที่เกี่ยวข้อ ง จะ ทาการศึก ษาถึง ปญั หาในการคิด ต้น ทุน แบบเดิม แนวทางการประยุก ต์ใ ช้ระบบต้น ทุน ตาม กิจกรรมหรือการบริหารกิจกรรม การบริหารและการจัดการเชิงกลยุทธ์ รวมถึงแนวทางการ พัฒนาอย่างยังยื ่ น ซึ่งจะทาให้ทราบถึงสาเหตุท่กี ารไฟฟ้านครหลวงเปลี่ยนมาใช้ต้นทุนตาม กิจกรรม ขัน้ ตอนการนาการบริหารต้นทุนตามกิจกรรมมาประยุกต์ใช้ ตัง้ แต่ การจัดองค์การ การ กาหนดผังรหัสบัญชี การจัดทาระบบทางเดินข้อมูล การคิดต้นทุน รวมถึงเอกสารและรายงาน ประเภทต่างๆ ตามระบบ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ต่อการนาข้อมูลต้นทุนตาม กิ จ กรรมมาใช้ ใ นการบริ ห ารกิ จ กรรม เพื่ อ พัฒ นาต้ น ทุ น ของการไฟฟ้ านครหลวงให้ ม ี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ดังภาพที่ 2-34


บทที่ 3 การไฟฟ้ านครหลวง ประวัติความเป็ นมา1 การไฟฟ้านครหลวง องค์กรทีด่ าเนินกิจการไฟฟ้าในระยะแรก มี 2 แห่ง ได้แก่ การไฟฟ้ ากรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2430 รัฐ บาลให้สมั ปทานการเดินรถรางแก่ นายจอห์น ลอฟตัส กับ นาย เอ. ดู เปลซี เดอ ริเชอเลียว เนื่องจากยังไม่มไี ฟฟ้าจึงต้องใช้มา้ ลากเปิดดาเนินการ เพียงระยะหนึ่งเกิดขาดทุนจึงโอนกิจการให้บริษทั เดนมาร์ก เมื่อปี พ.ศ. 2435 เปลี่ยนมาใช้รถราง ไฟฟ้า และเมื่อปี พ.ศ. 2443 จึงขายกิจการให้บริษทั บางกอกอีเล็คตริคซิต้ี ไลท์ ซินดิเคท และโอน กิจการให้บริษทั ไฟฟ้าสยาม จากัด มีชาวเดนมาร์กชือ่ นายอ๊อก เวสเตนโฮลส์ เป็นผูด้ าเนินการ ตัง้ สานักงานอยู่ท่วี ดั เลียบจนกระทังปี ่ พ.ศ. 2482 ได้เปลี่ยนชื่อเป็ น บริษทั ไฟฟ้าสยามคอร์ปอเรชั ่น จากัด แล้วในปี พ.ศ. 2493 สัมปทานหมดอายุรฐั บาลจึงเข้ามาดาเนินงานแทน และเปลี่ยนชื่อเป็ น การไฟฟ้ ากรุ ง เทพ เป็ น หน่ ว ยงานหนึ่ ง ของกระทรวงมหาดไทย ท าหน้ า ที่ผ ลิต และจ าหน่ า ย กระแสไฟฟ้าแก่ประชาชนทีอ่ าศัยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของคลองบางกอกน้อยและคลองบางลาพู กองไฟฟ้ าหลวงสามเสน เดิม ชื่อ กองไฟฟ้ าสามเสน กาเนิด ขึ้นจากพระราชดาริข อง พระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้า เจ้าอยู่ ห ัว ทรงโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้า พระยายมราช (ปนั ้ สุ ขุม ) เสนาบดีกระทรวงนครบาลและผูบ้ งั คับบัญชากรมสุขาภิบาลในขณะนัน้ ดาเนินการสร้างโรงไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจาหน่ายแก่ประชาชนโดยมีการจัดการเช่นการค้าขายทัวไป ่ หรือรัฐวิสาหกิจ ในปจั จุบนั เจ้าพระยายมราชจึงกูเ้ งินจากกระทรวงการคลังจานวน 1 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4 ต่อปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและผลิตจาหน่ ายกระแสไฟฟ้า และขอโอน นาย เอฟ บี ชอร์ นายช่างไฟฟ้าชาวอังกฤษจากกรมโยธาธิการมาเป็ นผูค้ วบคุมการก่อสร้างโรงไฟฟ้ าใช้ วิธเี รียกประกวดราคา และบริษทั อัลเกไมเน อีเลคตริคซิต้ี เกเซ็ลซาฟท์ จากัด หรือ AEG ทาการ ก่อสร้าง จนกระทังวั ่ นที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2546 กองไฟฟ้าหลวงสามเสนได้มกี ารเริม่ ทดลองเดิน เครื่องจักรผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นครัง้ แรก และเริม่ จาหน่ายไฟฟ้าให้แก่ประชาชนเมื่อกรกฎาคม พ.ศ. 2457 โดยมีเ ขตจาหน่ ายอยู่บ ริเวณตอนเหนือ ของคลองบางกอกน้ อยและคลองบางลาพู ต่อมา รัฐบาลสมัยพลเอกถนอม กิตติขจร ได้รวมองค์การทัง้ สองเข้าด้วยกันเป็น การไฟฟ้ านครหลวง เมื่อ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2501 1

การไฟฟ้านครหลวง. 2555. http://www.mea.or.th/menu1_2.htm (1 กุมภาพันธ์ 2555)


80

ข้อมูลทัวไป ่ การไฟฟ้ านครหลวงเป็ นรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภคสาขาบริก ารสาธารณะสังกัด กระทรวงมหาดไทย จัดตัง้ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2501 ทาหน้าที่ผลิตและจาหน่ ายพลังงานไฟฟ้ า ให้กบั ประชาชนในเขตพืน้ ทีท่ ก่ี าหนด คือ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2504 ได้โอนโรงงานผลิตไฟฟ้าให้กบั การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ปจั จุบนั การไฟฟ้านครหลวงถูกจัดประเภทอยู่ในสาธารณูปโภคสาขาพลังงานสังกัดเดิม มี วัตถุประสงค์ในการจัดตัง้ คือ จัดให้ได้มาและจาหน่ ายพลังไฟฟ้ าและดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงาน ไฟฟ้า และธุรกิจเกีย่ วเนื่องหรือทีเ่ ป็นประโยชน์แก่การไฟฟ้านครหลวง โดยมีพน้ื ทีเ่ ขตจาหน่ายใน 3 จังหวัดดังกล่าวข้างต้น รวม 3,191.6 ตารางกิโลเมตร มีการให้บริการ 18 เขต และ 14 สาขาย่อย วิ สยั ทัศน์ มุ่งสู่องค์กรสมรรถนะสูง เป็นผูน้ าด้านระบบจาหน่ายพลังไฟฟ้า และบริการที่เป็ นเลิศ สร้าง ความเข้มแข็งในธุรกิจเกีย่ วเนื่อง รับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ภารกิ จ 1. พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง โดยมีระบบการดาเนินงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพบนพืน้ ฐานของ การมีส่วนร่วมจากผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย รวมทัง้ รับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม 2. บริหารจัดการตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยคานึงถึงการบริหารความเสี่ยง องค์กร การด าเนิ นการตามกฎ ระเบีย บ มาตรฐานที่ก าหนด รวมทัง้ การน าระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างบูรณาการ 3. ดาเนินธุรกิจไฟฟ้าให้มกี ารเติบโตอย่างมั ่นคง โดยมีระบบจาหน่ ายที่มคี ุณภาพ เชื่อถือ ได้และปลอดภัย พร้อมให้บริการทีเ่ ป็นเลิศ 4. พัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจเกีย่ วเนื่อง อานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบ 1. ให้บริการและความสะดวกต่างๆ แก่ประชาชน ในการขอติดตัง้ ไฟฟ้า ฯลฯ 2. จัดสร้าง และบารุงรักษาระบบจ่ายพลังไฟฟ้าอย่างมั ่นคงและมีประสิทธิภาพ 3. ขยายการจ่ายไฟฟ้า เพื่อให้ประชาชนมีไฟฟ้าใช้อย่างทั ่วถึง 4. จัดนารายได้ทเ่ี หลือจากการขยายงานส่งกระทรวงการคลัง 5. กาหนดรายได้ทเ่ี ป็นธรรม และจัดสวัสดิการต่างๆ ให้พนักงาน


81

ผังโครงสร้างการบริ หารไฟฟ้ านครหลวง

ภาพที่ 3-1 ผังโครงสร้างการบริหารไฟฟ้านครหลวง ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.


82

โครงสร้างการไฟฟ้ านครหลวง การไฟฟ้านครหลวงประกอบด้วย 3 หน่วยงาน คือ 1. กองรายได้ มีหน้ าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหาร และควบคุมการจัดเก็บ รายได้ค่าไฟฟ้า วิเคราะห์และพัฒนาระบบงาน การอ่านมาตรเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า การ จัดทาใบเสร็จรับเงินค่าไฟฟ้า การเก็บเงิน การติดตามและเร่งรัดหนี้ค่าไฟฟ้า และจัดให้ มีหลักประกันการใช้ไฟฟ้ าเพื่อ ลดหนี้สูญ ซึ่งแต่ละเขตประกอบด้วย แผนกประมวล ข้อมูลและจัดเตรียมใบเสร็จรับเงิน แผนกการเงิน และแผนกหลักประกัน 2. กองบริการผู้ใช้ไฟฟ้า มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการให้บริก ารและอานวย ความสะดวกในการขอใช้ห รือ เปลี่ย นแปลงการใช้ไ ฟฟ้ า การบริก ารข้อ มู ล และ เตรียมการเพื่อการจ่ายไฟฟ้าให้กบั ผูใ้ ช้ไฟฟ้า การรับเรื่องร้องเรียน การกาหนดขนาด เครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า การออกแบบและประมาณราคาการติดตัง้ หรือเปลี่ยนแปลง การ ตรวจสอบความเรียบร้อยของการเดินสายและติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้า การติดตัง้ รื้อถอน การเปลีย่ นและบารุงรักษาเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้า การส่งเสริมให้ใช้บริการเกี่ยวกับการ เดินสายและการติดตัง้ อุปกรณ์ ไฟฟ้าภายในอาคาร และงานบริก ารซ่ อมแซมอุปกรณ์ ไฟฟ้ า ซึ่งแต่ละเขตประกอบด้วยแผนกบริการ แผนกออกแบบประมาณราคา แผนก บริการเครื่องวัดและแผนกตรวจสอบภายใน 3. กองบริก ารการจ าหน่ า ย มีห น้ า ที่แ ละความรับ ผิด ชอบในการติด ตัง้ รื้ อ ถอนและ บารุงรักษาระบบจาหน่ายให้อยู่ในสภาพใช้งาน ตรวจสอบการจัดภาระไฟฟ้าของหม้อ แปลงให้เหมาะสม จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และยานพาหนะ เพื่อใช้ในการดาเนินงาน ซึ่ง แต่ละเขตประกอบด้วย แผนกก่อสร้างระบบจาหน่ าย แผนกบารุงรักษาระบบจาหน่ าย แผนกจัดการยานพาหนะและเครื่องมือ และแผนกวัสดุ


83

ผังโครงสร้างการไฟฟ้ านครหลวงเขต สาขาย่อย ผู้อานวยการไฟฟ้ าเขต แผนกบริหารทั ่วไปบท.

กองบริ การผูใ้ ช้ไฟฟ้ า (กบฟ.) แผนกบริการ (บร.) แผนกออกแบบและประมาณราคา (อป.)

แผนกตรวจสอบสายภายใน (ตน.)

แผนกตัง้ เทียบเครือ่ งวัด Hotline

กองรายได้ (กรด.) แผนกประมวลข้อมูลและจัดเตรียม ใบเสร็จรับเงิน (ปจ.)

กองบริ การการจาหน่ าย (กบจ.) แผนกก่อสร้างระบบจาหน่าย (กจ.) แผนกบารุงรักษาระบบจาหน่าย (บจ.)

แผนกการเงิน (กง.) แผนกหลักประกัน การใช้ไฟฟ้า (ลป.)

แผนกจัดการยานพาหนะและเครื่องมือ (จย.) แผนกก่อสร้างสายใต้ดนิ (กด.)

แผนกบริการเครื่องวัด (บค.) แผนกพัสดุ (พด.)

ภาพที่ 3-2 ผังโครงสร้างการไฟฟ้านครหลวงเขต ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.


84

ปัญหาการคิ ดต้นทุนแบบเดิ ม ก่อนปี พ.ศ. 2539 การไฟฟ้านครหลวงยังมิเริม่ นาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ในองค์การ หากเพียงใช้แต่ระบบบัญชีต้นทุนแบบเดิมที่เมื่อเกิดค่าใช้จ่าย ก็บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ทัง้ หมด ไม่ได้แบ่งค่าใช้จ่ายว่าเป็นของแผนกใด และเมื่อเกิดรายได้กร็ บั รูร้ ายได้นนั ้ ว่าเป็นรายได้ ขององค์กร ซึ่งปญั หาการคิดต้นทุนแบบเดิมของการไฟฟ้านครหลวงมี ดังนี้ 1. การไฟฟ้ านครหลวงตกต้อ งอยู่ในสภาพการเสียเปรียบทางด้านต้นทุน เพราะไม่ สามารถคานวณต้นทุนแท้จริงทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละแผนกได้ 2. ไม่สามารถระบุได้วา่ ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ แผนกใดผูจ้ ่ายเงินและเป็นผูใ้ ช้ 3. กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น มีค วามซับซ้อน หากใช้ระบบบัญชีต้นทุนแบบเดิมจะไม่ สามารถนาไปพัฒนาและปรับปรุงต้นทุนได้ 4. ไม่ ส ามารถน าข้อ มู ล ไปใช้ในการบริ ห ารองค์ก รให้เ กิด ประสิท ธิภ าพได้ เพราะ ผู้บ ริหารจาเป็ น ต้อ งใช้ข้อ มู ลที่ช ดั เจนเพื่อ ช่ว ยประกอบการตัด สิน ใจท่ า มกลาง สภาวการณ์แข่งขันทีม่ คี วามรุนแรงขึน้ วัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิ จกรรม จากปญั หาการคิดต้นทุนแบบเดิมที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ประกอบกับระบบ ABC จะ ช่วยให้ขอ้ มูลต้นทุนทีไ่ ด้มคี วามบิดเบือนไปจากความเป็นจริงลดน้อยลงกว่าข้อมูลทีไ่ ด้จากระบบ บัญชีตน้ ทุนแบบเดิม ทาให้การไฟฟ้านครหลวงจึงตัดสินใจนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาระบบบัญชีต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากระบบ ABC เป็ น ระบบบัญชีท่มี แี นวคิด กาหนดให้กลยุทธ์เป็ นตัวกาหนดกิจกรรม กิจกรรมเป็ นตัว ผลักดันที่ทาให้เกิดความต้องการใช้ทรัพยากร และทาให้เกิดหน่ วยต้นทุน โดยมี ผลิตภัณฑ์เป็นสิง่ ทีใ่ ช้กจิ กรรมต่างๆ นอกจากนี้ระบบ ABC จะใช้เกณฑ์การปนั ส่วน ต้น ทุน ที่ส อดคล้องกับ ปริมาณการใช้กิจ กรรมของแต่ล ะผลิต ภัณ ฑ์ ทาให้ข้อ มู ล ต้นทุนผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้มคี วามถูกต้องมากขึน้ และสามารถนาไปใช้สนับสนุ นการ บริหารงานให้มปี ระสิทธิภาพ 2. เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจและวางแผนกลยุทธ์ของผูบ้ ริหารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ไปใช้ในการตัดสินใจกรณีพจิ ารณาทางเลือกว่าจะให้บริการเองหรือ ว่าจ้างบริษทั อื่นเป็นผูบ้ ริการแทน และวิธกี ารใดจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยทีส่ ุด 3. เพื่อใช้เป็ นข้อมู ลในการพิจารณาลดและควบคุ มต้นทุน การพัฒ นากระบวนการ ทางานอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกลยุทธ์ในการดาเนินงานกับการตัดสินใจอัน เป็ น ประโยชน์ต่อผูบ้ ริหาร


85

แนวทางการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิ จกรรมของการไฟฟ้ านครหลวง เนื่องจากระบบ ABC มีประโยชน์ทส่ี าคัญต่อผูท้ น่ี าระบบดังกล่าวนัน้ มาประยุกต์ใช้ เช่น การให้ขอ้ มูลต้นทุนกิจกรรมที่ถูกต้องใกล้เคียงกับความเป็ นจริง ให้ข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการ ตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ การไฟฟ้ านครหลวงก็เป็ นอีกองค์กรหนึ่งที่ได้เล็งเห็น ประโยชน์จากระบบ ABC นี้ จึงได้ให้ความสนใจและนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้กบั องค์กรเมื่อ ปี พ.ศ. 2539 กับส่วนงานการบริการลูกค้าทัง้ 18 เขต โดยเลือกจากเขตที่มคี วามเหมาะสมที่ สามารถใช้ระบบดังกล่าวได้ มีการนาร่องโดยพนักงานในการไฟฟ้านครหลวงเอง จากนัน้ ปี พ.ศ. 2543 มีการพัฒนาระบบมากขึน้ โดยมีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวช่วยในการดาเนินงานให้สะดวก มากยิง่ ขึน้ จนกระทังปี ่ พ.ศ. 2549 มีการนาโปรแกรม SAP มาประยุกต์ใช้เรื่อยมาจนถึงปจั จุบนั ซึ่งสามารถสรุปแนวทางการประยุกต์ใช้ระบบ ABC ของการไฟฟ้านครหลวงได้ ดังนี้ 1. ผูบ้ ริหารได้เล็งเห็นความสาคัญ ให้ความสนใจ และสนับสนุนให้นามาใช้ 2. มีการจัดตัง้ ทีมพนักงานจัดทาระบบต้นทุนตามกิจกรรม 3. จัดฝึกอบรมภายในการไฟฟ้านครหลวง เพื่อชีแ้ จงภาพรวมระบบ ABC และชีใ้ ห้เห็น ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั 4. กาหนดกิจกรรม ตัวผลักดันต้นทุน และการคานวณต้นทุนงานบริการ 5. รวบรวมข้อมูลมาออกแบบฟอร์มการกรอกตัวผลักดันต้นทุน 6. นาไปปฏิบตั งิ านจริงทัง้ 18 เขตทีม่ คี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับระบบ ABC 7. ประมวลผลข้อมูล ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิ จกรรม ในงานบริ การลูกค้าช่วงแรก วิธกี ารจัดทาระบบ ABC ในช่วงแรก เริม่ ดาเนินการเฉพาะเขตที่ผบู้ ริหารให้ความสนใจ และสนับสนุนในการจัดทา เช่น การไฟฟ้านครหลวงเขตบางใหญ่ จากนัน้ จึงเริม่ เพิม่ ขึน้ ในเขต อื่นๆ จนครบทัง้ 18 เขตในปี 2546 โดยมีขนตอนการด ั้ าเนินงาน ดังนี้ 1. กาหนดแผนกที่เกี่ยวข้องในการวางระบบ ABC โดยพิจารณาจากแผนกที่มี ลักษณะงานเป็นงานบริการลูกค้า (customer service) มีค่าใช้จ่ายทางอ้อมจานวน มาก และไม่มกี ารวิเคราะห์ต้นทุน ซึ่งประกอบด้วย 7 แผนก คือ สาขาย่อย แผนก บริหาร กองบริการผูใ้ ช้ไฟฟ้า แผนกกองรายได้ แผนกประมวลข้อมูลและจัดเตรียม ใบเสร็จรับเงิน แผนกการเงิน และแผนกหลักประกันการใช้ไฟฟ้า


86

ภาพที่ 3-3 แสดงแผนกทีถ่ ูกกาหนดให้ใช้ตน้ ทุนกิจกรรมแบบเก่า ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง (2554) 2. การวิ เคราะห์และระบุกิจกรรม (activity) และการกาหนดตัวผลักดันต้ นทุน กิ จกรรม (cost driver) การจัดทาบัญชีต้นทุนในช่วงแรกใช้วธิ กี ารวิเคราะห์และ ระบุกจิ กรรม การกาหนดตัวผลักดันต้นทุนกิจกรรมโดยการรวบรวมข้อมูลขัน้ ตอน การปฏิบตั งิ านของแต่ละแผนก จากผังโครงสร้างองค์กร คาบรรยายลักษณะงาน และสัมภาษณ์พนักงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ 18 เขต ทัง้ นี้หลักการกาหนดกิจกรรมและตัว ผลักดันต้นทุนกิจกรรม พิจารณากิจกรรมทีเ่ ป็นงานหลักทีม่ สี าระสาคัญ มีประโยชน์ ต่อการนาข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ การกาหนดกิจกรรมและตัวผลักดันต้นทุนใน ช่วงแรกกาหนดเป็นรหัสกิจกรรมย่อยของแต่ละแผนก โดยกาหนดให้พนักงานทุก คนมีหน้าทีก่ รอกข้อมูลน้ าหนักงาน สาหรับการกรอกข้อมูลตัวผลักดันต้นทุนในแต่ ละเดือนให้กรอกเป็นภาพรวมของแผนกโดยเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบในการรวบรวม 3. การค านวณต้ นทุน ต่ อหน่ วยกิ จ กรรม แยกเป็ นต้ นทุนต่ อหน่ ว ยของแต่ ล ะ แผนก โดยน าข้อมู ลน้ าหนักงาน และตัวผลัก ดัน ต้น ทุ นกิจกรรม จากข้อ 2 มา คานวณเป็นต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จากขัน้ ตอนดังกล่าวทาให้การคานวณต้นทุ น ต่อหน่ วยกิจกรรมแยกออกเป็ นกิจกรรมย่อยๆ จานวนมาก และไม่สามารถนามา แสดงเป็ น ภาพรวมของกิจ กรรมที่เ ป็ น ล าดับ ขัน้ เพื่อ ใช้ ใ นการบริ ห ารงานได้


87

นอกจากนี้ตน้ ทุนต่อหน่ วยกิจกรรมที่คานวณได้นนั ้ คิดเฉพาะต้นทุนต่อหน่ วยของ การไฟฟ้ านครหลวงเขต 18 เขตเท่านัน้ ไม่ นาค่าใช้จ่ายของหน่ วยงานอื่นๆ ที่มี หน้าทีส่ นับสนุนงานของเขตมารวมคานวณด้วย วิ ธีการจัดทาบัญชีต้นทุนตามกิ จกรรมในปัจจุบนั จากปญั หาดังกล่าวจึงมีการพัฒนา วิธกี ารจัดทาระบบ ABC เพื่อแก้ไ ขปญั หาที่เกิดขึน้ โดยใช้แนวคิดการแยกระบบบัญชีต้นทุน หน่วยธุรกิจของการไฟฟ้านครหลวงออกเป็นระบบจาหน่ ายไฟฟ้า ต้นทุนงานบริการลูกค้า และ ต้นทุนบริการของหน่ วยธุรกิจ โดยกาหนดให้ระบบ ABC เป็ นบัญชีบริหารในส่วนงานบริการ ลูกค้า ประกอบด้วย กระบวนงานการคิดต้นทุนงานตัง้ แต่การขอติดตัง้ ไฟฟ้า โดยแบ่งกิจกรรม ออกเป็ น 3 ระดับ กิจกรรมระดับที่ 1 มี 6 กิจกรรม กิจกรรมระดับที่ 2 มี 15 กิจกรรม และ กิจกรรมระดับที่ 3 มี 17 กิจกรรม รวม 38 กิจกรรม ดังภาพที่ 3-4


88

งานบริ การลูกค้า

ระดับ AR1 งานบริการ ลูกค้า

ระดับ AR1.1

AR1.2

AR2 งาน การตลาด AR1.3

AR2.1

AR2.2

AR3 งานอ่านหน่วย เครื่องวัด AR3.1

AR4 งานจัดทาใบ แจ้งหนี้

AR3.2

AR4.1

AR4.2

AR5 งานเก็บเงิน

AR4.3

ระดับ

AR5.1

AR5.3.1

AR3.2.1

AR3.2.2

ระดับ

AR4.3.1

AR4.3.2 AR4.3.3

สรุป กิจกรรมระดับที1 กิจกรรมระดับที2่ กิจกรรมระดับที3่ รวมทัง้ สิน้ กิจกรรม

6 15 17 38

ภาพที่ 3-4 แสดงแผนกทีถ่ ูกกาหนดให้ใช้ตน้ ทุนกิจกรรมแบบใหม่ ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.

AR5.1.1 AR5.1.2

AR5.2

AR6 งานอื่นๆ

AR5.3

AR5.3.2

AR5.3.3

AR5.1.3

AR5.1.5

AR5.1.4

AR5.1.6

AR6.1

AR5.3.4

AR5.1.7 AR5.1.8

AR6.2


89

ตารางที่ 3-1 ตัวอย่างการแสดงรายละเอียดกิจกรรม กิ จกรรมหลัก LEVEL 2 AR 1 งานบริการลูกค้า AR 1.1 งานดาเนินการคา ขอและทะเบียนประวัติ (จานวนลูกค้าใน เขตรับผิดชอบ)

T-Code ที่ใช้ในการ ดาเนิ นการ

CIC0 สร้าง/ค้นหา BP

ZISUFICAR119 (รายงานตรวจสอบข้อมูลเครื่องวัด ฯ)

CICO ZISUCSR072, CICO ZISUSDE024, ZISUSDE029 CICO CICO

กิ จกรรมหลัก LEVEL 3 งานดาเนิ นการคาขอ - การดาเนินการเกีย่ วกับคาขอ/การแจ้งเรื่องต่าง ๆ ตรวจสอบเอกสาร หลักฐานและจัดทาใบรับ (ในระบบ ISU ก่อนทีจ่ ะ Key เอกสารจะต้องสร้าง BP- Business Partner (รหัสผูใ้ ช้ไฟฟ้า) ซึง่ เลขนี้จะใช้อ้างถึงลูกค้าและใช้ร่วมกันกับ แผนก ลป.ด้วย) - ตรวจสอบใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าเดือนแรกทีต่ ดิ ตัง้ แก่ลกู ค้า เก็บรักษาทะเบียน ประวัตลิ กู ค้า (เป็นงานทะเบียนฯ) - การออกหนังสือรับรองความพร้อมการจ่ายไฟ - ตรวจสอบพิจารณาคืนเงินค่าบริการการใช้ไฟฟ้าในกรณีทย่ี งั ไม่ตดิ ตัง้

-

เครื่องวัดฯ หรือยังไม่ได้รบั บริการ การคานวณและกาหนดขนาดเครื่องวัดฯ ทีจ่ ะติดตัง้ หรือเปลีย่ นแปลง การคานวณค่าใช้จ่ายและจัดทาแบบสรุปการคิดค่าใช้จ่ายและบันทึก ข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ (กรณีมกี ารปกั เสา พาดสาย จะส่งให้แผนก อป.) จัดทาหนังสือแจ้งค่าใช้จ่ายและจัดทาหนังสือชีแ้ จงเรื่องต่าง ๆ ใบเสนอราคา การพิจารณาให้ส่วนลดค่าไฟฟ้าแก่ผทู้ ก่ี ระทาหน้าทีใ่ นการรบ

T-Code รายงานที่เป็ น Cost Driver

สมุดรับเรื่อง (จานวนลูกค้าในเขต รับผิดชอบ)


90

ตารางที่ 3-1 ตัวอย่างการแสดงรายละเอียดกิจกรรม (ต่อ) กิ จกรรมหลัก LEVEL 2

T-Code ที่ใช้ในการดาเนิ นการ CICO

กิ จกรรมหลัก LEVEL 3 - จัดทำหนังสือแจ้งผูใ้ ช้ไฟฟ้ำให้มำติดต่อ เพื่อยืน่ หลักฐำนเพิม่ เติม กรณีหลักฐำนไม่ครบถ้วน หรือโทรฯ แจ้งลูกค้ำขอเอกสำรเพิม่ เติม (แจ้งในใบเสนอรำคำ) - จัดเก็บตัวเรื่องกำรขอใช้ไฟฟ้ำ, กำรโอนสิทธิ,เข้ำแฟ้มประวัติ - ออกหนังสือแจ้งค่ำใช้จำ่ ยงำนละเมิด (รถชนเสำ) ให้ กทม. กรณีมลู ค่ำเกิน 50,000 บำท งานขอต่ออายุไฟฟ้ าชัวคราว ่

ZISUCSR019/ZISUCAR119

- กำรตรวจสอบกำรต่ออำยุ/ และหนี้คำ่ ไฟฟ้ำค้ำงชำระ

ZISUWME022/ZISUWME026

- จัดทำใบสังงำนให้ ่ หน่ วยงำนที่เกี่ยวข้อง ( เฉพำะไฟชัวครำว, ่ งำนหลังเครื่องวัด ฯและงำนสำรอง เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ ) - กำรออกหนังสือ ตรวจสอบกำรต่ออำยุกำรใช้ไฟฟ้ำชัวครำว ่

CICO

- ให้เช่ำหม้อแปลงภำยในเครื่องวัด ฯ - ออกคำสังถอดเครื ่ ่องวัด ฯ ไฟฟ้ำชัวครำว ่ ิ งานทะเบียนประวัต (ECHS)

CICO

- จัดทำและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงประวัตใิ นกำร์ดประวัตผิ ใู้ ช้ไฟฟ้ำ บันทึกและแก้ไขประวัตผิ ใู้ ช้ไฟฟ้ำ

CICO

- รำยงำนกำรขอเปลีย่ นแปลงประวัตผิ ใู้ ช้ไฟฟ้ำ สอบถำมค้นหำทะเบียน ประวัตผิ ใู้ ช้ไฟฟ้ำ -กำรพิจำรณำให้สว่ นลดค่ำไฟฟ้ำแก่ผกู้ ระทำหน้ำที่ในกำรรบ

T-Code รายงานที่เป็ น Cost Driver


91

ตารางที่ 3-1 ตัวอย่างการแสดงรายละเอียดกิจกรรม (ต่อ) กิ จกรรมหลัก LEVEL 2

T-Code ที่ใช้ในการ ดาเนิ นการ บันทึกผลการทางาน ของตัวแทนส่งหนังสือเตือน ZISUCAE107_C2 ZISUCAE107_B

AR5.1 งานเก็บเงิน AR5.1 งานเก็บเงิน (จานวนใบเสร็จรับเงิน)

ปจั จุบนั ฟข.ยกเลิกพนักงาน ออกเก็บนอกทีท่ าการ (ส่งแจ้งหนี้โดยตัวแทน/ปณ)

กิ จกรรมหลัก LEVEL 3

- การเลื่อนวันครบกาหนดเตือนให้ลูกค้าทีไ่ ม่ได้รบั ใบเตือน ZISUCAE105 - พิมพ์ใบขออนุมตั จิ ่ายค่าตอบแทน AR5.1.1 งานเก็บเงิน (OPS) นอกสถานที่โดยจ้างตัวแทน การจ้างตัวแทนเก็บเงินค่าไฟฟ้า - จัดทาและติดตามนิตกิ รรมสัญญาตัวแทนเก็บหนี้ (ตัง้ แต่ทาสัญญาถึง จัดทาบันทึกจ่ายค่าตอบแทน การตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบตั งิ าน) การรับชาระค่าไฟฟ้านอกทีท่ าการโดยจ้างตัวแทน - จัดทาและปรับปรุงก้อนงาน บันทึกข้อมูลการรับชาระ AR5.1.2 งานเก็บเงิน (OPS) นอกสถานที่โดยพนักงาน การไฟฟ้านครหลวง - วางแผนการจัดเก็บรายได้ค่าไฟฟ้า - จัดพนักงานออกเก็บเงินประจาวัน จัดทา/ปรับปรุง และบันทึกตารางหลัก

T-Code รายงานที่เป็ น Cost Driver บันทึกผลการทางาน ของตัวแทนส่งหนังสือเตือน ZISUCAE107 ZISUCAE105

สมุดทะเบียนคุม

สมุดทะเบียนคุม


92

ตารางที่ 3-1 ตัวอย่างการแสดงรายละเอียดกิจกรรม (ต่อ) กิ จกรรมหลัก LEVEL 2 T-Code ที่ใช้ในการดาเนิ นการ

ZISUCAR106,108,109,110,113 รำยงำนสรุปผลกำรรับชำระ ZISUCAR112 ประมวลผลใบนำส่งเงินและ เช็คให้กบั คลังเงิน ZISUCAR108 รำยงำนสรุปผลกำรรับเงิน จำแนกตำม พกง.รับเงิน ZISUCAR106 รำยงำนสรุปแยกตำมกำรรับชำระ

กิ จกรรมหลัก LEVEL 3

T-Code รายงานที่เป็ น Cost Driver

- จัดพนักงำนออกเก็บเงิน (พกง.ของ กฟน.) จัดทำ/ปรับปรุง และบันทึกก้อนงำนรวมถึงกำรเบิกค่ำทดแทน - ดำเนินกำรใบเสร็จรับเงินตำรวจ, ใบเสร็จรับเงินทหำรอำกำศ จัดทำ/ปรับปรุงและบันทึกก้อนงำนรวมถึงกำรเบิกค่ำทดแทน - งำนเก็บเงินส่วนรำชกำรและรัฐวิสำหกิจ จัดทำ/ปรับปรุง และบันทึกก้อนงำนรวมถึงกำรเบิกค่ำทดแทน - รับชำระค่ำไฟฟ้ำนอกทีท่ ำกำรโดยพนักงำน กฟน. จัดทำ/ปรับปรุงและบันทึกข้อมูลรับชำระ วป.4101 (ZISUCAR113 AR5.1.3 งำนรับชำระค่ำไฟฟ้ำ ณ ทีท่ ำกำร และสำขำย่อย และ ZISUCAE113) - รับชำระค่ำไฟฟ้ำ ค่ำเบี้ยปรับ ค่ำต่อกลับ ณ ทีท่ ำกำร - รับชำระค่ำธรรมเนียม ค่ำสิง่ ของและบริกำร เงินประกันกำรใช้ไฟฟ้ำ และอื่น ๆ - ดำเนินกำรรับเงิน ตรวจสอบ ปิดยอด นำเงินส่งคลังเงิน งานออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกากับภาษี (ZISUCAE132) - ใบกากับภาษีอย่างเต็มแทนอย่างย่อ - ยกเลิ กใบแทนใบเสร็จรับเงิน/ใบกากับภาษีฉบับเดิ ม แล้วออกฉบับใหม่


93

ตารางที่ 3-1 ตัวอย่างการแสดงรายละเอียดกิจกรรม (ต่อ) กิ จกรรมหลัก LEVEL 2 T-Code ที่ใช้ในการดาเนิ นการ ZISUCAR 111 FPCJ ZISUCAR112 รายงานแสดงใบนาส่งเงินสด/เช็ค

ZISUCAR137A ZISUCAR137B ZISUCAR119 , FPL9 ZISUCAR162 CIC0

ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.

กิ จกรรมหลัก LEVEL 3

T-Code รายงานที่เป็ น Cost Driver

- รายงานนาส่งเช็คให้ธนาคาร - ปิดโต๊ะ

AR5.1.4 งานรับชาระเงินผ่านธนาคาร (ตัวแทน) - ดาเนินการให้ผู้ใช้ไฟฟ้าชาระเงินผ่านธนาคาร รับแจ้ง แก้ไข ปรับปรุง จัดทาข้อมูลเพื่อการชาระเงินค่าไฟฟ้าหักบัญชีเงินฝาก ธนาคาร ยกเลิก เปลีย่ นแปลง ฯลฯ - ประชาสัมพันธ์การชาระเงินหักบัญชีเงินฝากธนาคาร ( กง.รับแจ้ง ปจ.รับแจ้งและปรับปรุง จัดทาข้อมูล) - สอบเลขทีบ่ ญ ั ชีธนาคารทีต่ ดั Bank ผ่าน - สอบเลขทีบ่ ญ ั ชีธนาคารทีต่ ดั Bank ไม่ผ่าน หมายเหตุ : กง.รับเอกสาร ส่ง ปจ.(กลุ่มจัดเตรียมฯ) ดาเนินการ - ตรวจสอบหนี้คา้ งและการชาระเงิน - ตรวจดูเลขทีบ่ ญ ั ชีลกู ค้า - สร้างใบรับเรือ่ ง และเปลีย่ นแปลงข้อมูล

ZISUBIR049 ( รายงานสรุปประเภทใบแจ้งหนี้ แต่ละประเภท เช่น BANK , POST, AGENT, E-mail หรือ บิลรวม ว่ามีจานวนเท่าใด ในแต่ละเดือน )


94

ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิ จกรรม ในงานบริ การลูกค้าในปัจจุบนั 1. การวิ เคราะห์และระบุกิจกรรม (activity) การวิ เคราะห์และระบุต ัวผลักดัน ต้ นทุนกิ จกรรม (cost driver) ใช้วธิ กี ารเดียวกับการดาเนินงานในช่วงแรก แต่ พัฒนาการกาหนดกิจกรรมเป็ นภาพรวมของเขต และออกแบบกิจกรรมของงาน บริการลูกค้าเป็น 3 ระดับ เพื่อประโยชน์ในการบริหารงาน การกรอกข้อมูลน้ าหนัก งานและตัวผลักดันต้นทุนของแต่ละกิจกรรมกาหนดให้หวั หน้าแผนกหรือผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมายเป็นผูก้ รอกข้อมูล โดยกรอกข้อมูลเป็ นภาพรวมของแผนก ตามฟอร์มที่ ฝา่ ยบัญชีกาหนด เช่น ตัวอย่างการให้น้ าหนักงาน (ตัวผลักดันต้นทุน) 1.1 หัวหน้ าแผนกกรอกชัวโมงการท ่ างานของพนักงานในแผนก โดยดูจาก ลักษณะการทางานว่าแต่ละส่วนงานใช้เวลามากน้อยเท่าไร เช่น กิจกรรม ระดับที่ 3 ในส่วนงานตรวจสอบมีชวโมงการท ั่ างานการตรวจสอบสาย ภายในขนาด 50 ขนาด 200-400 Amp และ ขนาด 300 KVA ขึน้ ไป เป็ น 5% 3% และ 3% ตามลาดับ ดังตารางที่ 3-2 ตารางที่ 3-2 ตารางแสดงการให้น้าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 3 กิ จกรรมระดับที่ 3 AR 1.3.1 งานตรวจสอบสายภายในขนาด 50 AR 1.3.2 งานตรวจสอบสายภายในขนาด 200-400 Amp AR 1.3.3 งานตรวจสอบสายภายในขนาด 300 KVA ขึน้ ไป AR 3.2.1 งานอ่านเครื่องวัดโดย sub-contractor AR 3.2.2 งานอ่านเครื่องวัดโดยพนักงานกฟน. AR 4.3.1 งานส่งใบแจ้งหนี้โดย sub-contractor AR 4.3.2 งานส่งใบแจ้งหนี้โดยพนักงาน AR 5.1.1 งานเก็บเงินนอกสถานทีโ่ ดยจ้างตัวแทน AR 5.1.2 งานเก็บเงินนอกสถานทีโ่ ดยพนักงานกฟน. AR 5.1.3 งานเก็บเงิน ณ ทีท่ าการ AR 5.1.4 งานเก็บเงินผ่านธนาคาร AR 5.1.5 งานเก็บเงินผ่านตัวแทน และ E-payment AR 5.1.6 งานรับชาระค่าสินค่าและบริการแทนกิจการอื่น AR 5.1.7 งานเก็บเงินไปรษณียธ์ นาณัติ AR 5.1.8 งานคืนเงิน

ชัวโมง ่ การ ทางาน

5% 3% 3% 2% 3% 1% 0% 0% 1% 20% 0% 0% 0% 0% 0%

จานวน พนักงาน

ตาราง เมตร

จานวน คอมฯ

2% 2% 2% 1% 1% 1% 1% 1% 1% 7% 6% 4% 12% 9% 7% 2% 2% 3% 0% 0% 1% 0% 0% 0% 0% 2% 1% 6% 15% 18% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 0%


95

ตารางที่ 3-2 ตารางแสดงการให้น้าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 3 (ต่อ) กิ จกรรมระดับที่ 3

ชัวโมง ่ การ ทางาน

จานวน พนักงาน

ตาราง เมตร

จานวน คอมฯ

AR 5.3.1 งานติดตามหนี้คา้ งชาระ กรณีตดั ไฟแล้ว 0% 0% 0% 0% AR 5.3.2 งานติดตามหนี้คา้ งชาระ กรณีไม่มหี มายเลขเครื่อง 0% 0% 0% 0% AR 5.3.3 งานติดตามหนี้คา้ งชาระ กรณีผใู้ ช้ไฟฟ้าขอผัดผ่อน 0% 0% 0% 0% AR 5.3.4 งานดาเนินการเกีย่ วกับเช็คคืน 0% 0% 0% 0% 38% 33% 39% 36% รวม ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง (2554) 1.2 หัวหน้าแผนกสรุปชัวโมงการท ่ างานแต่ละส่วนงาน เช่น กิจกรรมระดับที่ 2 ในส่วนงานตรวจสอบสายภายในมีชวโมงการท ั่ างานรวมทัง้ สิ้น 11% คิด จากการยอดรวมชัวโมงการท ่ างานในกิจกรรมระดับที่ 3 ดังตารางที่ 3-3 ตารางที่ 3-3 ตารางแสดงการให้น้ าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 2 กิ จกรรมระดับที่ 2 AR 1.1 งานดาเนินการคาขอและทะเบียนประวัติ AR 1.2 งานหลักประกัน AR 1.3 งานตรวจสอบสายภายใน AR 1.4 งานคาร้องและให้คาปรึกษา AR 2.1 งานประชาสัมพันธ์ภายใน AR 2.2 งานโฆษณาประชาสัมพันธ์ภายนอก AR 3.1 งานวางแผนการอ่านหน่วย AR 3.2 งานอ่านหน่วยเครื่องวัด AR 4.1 งานประมวลผลการอ่านหน่วย AR 4.2 งานคานวณและจัดทาใบแจ้งหนี้ AR 4.3 งานส่งใบแจ้งหนี้ AR 5.1 งานเก็บเงิน AR 5.2 งานสรุปยอดและทารายงาน AR 5.3 งานนาฝากเงินได้เข้าธนาคาร AR 5.4 งานติดตามหนี้คา้ งชาระ

ชัวโมง ่ การ ทางาน

9% 9% 11% 20% 0% 1% 1% 5% 1% 2% 1% 21% 4% 2% 1%

จานวน พนักงาน

ตาราง เมตร

จานวน คอมฯ

8% 5% 5% 17% 0% 3% 2% 19% 4% 7% 2% 7% 2% 4% 1%

6% 5% 4% 12% 0% 1% 1% 15% 3% 5% 3% 17% 2% 3% 5%

17% 7% 3% 14% 0% 2% 1% 11% 2% 4% 3% 19% 5% 2% 3%


96

ตารางที่ 3-3 ตารางแสดงการให้น้ าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 2 (ต่อ) กิ จกรรมระดับที่ 2

ชัวโมง ่ การ ทางาน

จานวน พนักงาน

ตาราง เมตร

จานวน คอมฯ

AR 6.1 งานบริหารการซื้อไฟ 0% 0% 0% 0% AR 6.2 งานประเมินความต้องการซื้อไฟเพิม่ 0% 0% 0% 0% AR 7.1 งานบัญชีการเงินเขต 3% 3% 5% 4% AR 7.2 งานสนับสนุนอื่นๆ 11% 10% 14% 3% 100% 100% 100% 100% รวม ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554. 1.3 จากนัน้ หัวหน้ า แผนกจึง รวมยอดชัวโมงการท ่ างานของแต่ ละส่ ว นงาน เพื่อให้ได้ตวั ผลักดันต้นทุนของแต่ละกิจกรรม เช่น ชัวโมงการท ่ างานรวม ของกิจกรรมระดับที่ 1 ใน AR 1 งานบริการลูกค้า คิดจากผลรวมชังโมง ่ การทางานทัง้ หมดจากกิจกรรมระดับที่ 2 นัน้ คือ งานดาเนินการคาขอและ ทะเบียนประวัติ งานหลักประกัน งานตรวจสอบสายภายใน และงานคาร้อง และให้คาปรึกษา ดังตารางที่ 3-4 ตารางที่ 3-4 ตารางแสดงการให้น้ าหนักงานในกิจกรรมระดับที่ 1 กิ จกรรมระดับที่ 1 AR 1 งานบริการลูกค้า AR 2 งานการตลาด AR 3 งานอ่านเครื่องวัดฯ AR 4 งานจัดทาใบแจ้งหนี้ AR 5 งานเก็บเงิน AR 6 งานดาเนินการซื้อไฟฟ้า AR 7 งานสนับสนุนอื่นๆ รวม ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.

ชัวโมง ่ การ ทางาน

จานวน พนักงาน

ตาราง เมตร

จานวน คอมฯ

49% 36% 27% 41% 1% 3% 1% 2% 6% 21% 16% 12% 4% 13% 11% 9% 28% 14% 26% 30% 0% 0% 0% 0% 13% 13% 19% 7% 100% 100% 100% 100%

2. วิ ธีการคานวณต้ นทุนต่ อกิ จกรรมของงานบริ การลูกค้ า มีรายละเอี ยดดังนี้ การกระจายค่าใช้จ่ายโดยแบ่งตามกลุ่มตามประเภทค่าใช้จ่ายเข้ากิจกรรมด้วยตัว


97

ผลักดันต้นทุน ซึ่งสัมพันธ์กบั กลุ่มค่าใช้จ่ายแต่ละประเภท เช่น ค่าใช้จ่ายบุคลากร กระจายเข้ากิจกรรมด้วยจานวนชัวโมงท ่ างาน เป็นต้น นอกจากนี้ยงั มีการกระจาย ค่าใช้จ่ายในการจดหน่ วย demand ของแผนกบริการเครื่องวัดฯ (บค.) 18 การ ไฟฟ้านครหลวงเขตซึ่งทาหน้าที่ในการจดหน่ วย demand ของลูกค้ากิจการขนาด กลาง กิจการขนาดใหญ่ และกิจการเฉพาะอย่างเข้าเป็ นต้นทุ นต่อหน่ วยของงาน อ่านหน่วยเครื่องวัดด้วยตัวผลักดันต้นทุน คือ จานวนลูกค้าแต่ละประเภท การกระจายค่าใช้จ่ายของฝ่ายการตลาดและลูกค้าสัมพันธ์ (ฝตพ.) และสานัก วิเ คราะห์และตรวจสอบส่ว นเขต (สวต.) ให้แต่ ล ะการไฟฟ้ านครหลวงเขตตาม สัดส่วนลูกค้าแต่ละการไฟฟ้ านครหลวงเขตการกระจายค่าใช้ค่าใช้จ่ายของฝ่าย ปฏิบ ัติก ารระบบสื่อ สารและคอมพิว เตอร์ (ฝสค.) กองระบบคอมพิว เตอร์แ ละ ประมวลผล ให้แต่ละการไฟฟ้ านครหลวงเขตตามสัด ส่วนจานวนใบเสร็จรับเงิน จากนัน้ กระจายเข้าแต่ละกิจกรรมตามเปอร์เซ็นต์น้ าหนักงาน การกระจายค่าใช้จ่ายทีไ่ ด้รบั ปนั ส่วนจากส่วนกลาง (เฉพาะส่วนของ retail) เข้า แต่ละกิจกรรมตามเปอร์เซ็นต์น้ าหนักงาน ทัง้ นี้การปนั ส่วนสาหรับค่าใช้จ่ายในการ บริหารงานส่วนกลาง (cost allocation) เป็นการปนั ส่วนค่าใช้จ่ายของฝ่ายที่ทางาน สนับสนุ นให้กบั หน่ วยงานระบบจาหน่ าย งานบริการลูกค้าและหน่ วยงานที่ไม่ใช่ ธุรกิจหลัก โดยใช้ตวั ผลัก ดันต้นทุนในการปนั ส่วน เช่น จานวนพนัก งาน จานวน ค่าใช้จ่าย มูลค่าจัดซื้อ และจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การค านวณต้น ทุ นต่ อ หน่ วยของแต่ล ะกิจ กรรม ค านวณแยกเป็ นต้น ทุน ต่ อ หน่ วยกิจกรรมเฉพาะค่าใช้จ่ายการไฟฟ้านครหลวงเขต ต้นทุนต่อหน่ วยกิจกรรม เฉพาะค่ าใช้จ่ายของฝ่ายการตลาดและลูก ค้าสัม พัน ธ์ ต้นทุน ต่อหน่ วยกิจกรรม เฉพาะค่าใช้จ่ายของสานักวิเคราะห์และตรวจสอบส่วนเขต ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม เฉพาะค่าใช้จ่ายของ ฝา่ ยปฏิบตั กิ ารระบบสื่อสารและคอมพิวเตอร์ ต้นทุนต่อหน่ วย กิจกรรมเฉพาะค่าใช้จ่ายของส่วนกลาง และต้นทุนรวมของแต่ละกิจกรรมภาพรวม ของการไฟฟ้านครหลวง การคานวณต้นทุนต่อหน่วยต่อหน่วยบริการของงานบริการลูกค้า ตามประเภท ลูกค้า โดยการกระจายค่าใช้จ่ายของแต่ละรหัสกิจกรรมไปยังประเภทลูกค้าด้วยตัว ผลักดันต้นทุนซึ่งสัมพันธ์กบั แต่ละกิจกรรม เช่น กิจกรรมงานบริการลูกค้า กระจาย ไปยังลูกค้าแต่ละประเภท ด้วยจานวนลูกค้า กิจกรรมการเก็บเงิน กระจายไปยัง ประเภทลูกค้าด้วยจานวนใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น ดังภาพที่ 3-4 และภาพที่ 3-5


98

ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง – RETAIL ค่าใช้จา่ ย ฝกพ. สวต. ต่อลูกค้า *จานวนลูกค้า ฝสก.(กกป.)ของแต่ละ ฟช. ต่อใบเสร็จ*จานวนใบเสร็จ

(งานบริการลูกค้า)ของแต่ = ค่าใช้จา่ ยของ ฝกพ.สวต. ค่าใช้จา่ ยของฝสก.(กกป.)

กลุม่ ค่าใช้จา่ ย ค่าใช้จา่ ย บุคลากร

ตัวผลักดัน ต้นทุน จานวนชัวโมง ่ ทางาน

ค่าไฟฟ้า สานักงาน

จานวนพื้นที่

ค่าน้ าประปา

จานวน พนักงาน

ค่าสือ่ สาร ค่าใช้จา่ ย อาคาร สานักงาน

จานวนชัวโมง ่ ทางาน จานวนพื้นที่

ค่าใช้จ่าย คอมพิวเตอร์

จานวน คอมพิวเตอร์

ค่าจ้าง บุคคลภายนอก ค่า ล่วงเวลา ค่าเบีย้ ประกันภัย

บันทึกตาม ต้นทุนจริงของ แต่ละกิจกรรม

จานวนชัวโมง ่ ทางาน

รหัส กิจกรรม กิจกรรม AR1

ตัวผลักดัน ต้นทุน จานวนลูกค้า ในเขต

กิจกรรม AR2

จานวนลูกค้า ในเขต

กิจกรรม AR3 งานจาหน่ าย

จานวน เครื่องวัด

กิจกรรม AR4 งานทาใบแจ้ง

จานวน เครือ่ งวัดในเขต

กิจกรรม AR5

รับผิดชอบ จานวน ใบเสร็จรับเงิน

กิจกรรม AR6

จานวนลูกค้า ในเขต

ต้นทุนรวมต่อหน่ วย บาท/ ลูกค้า บาท/ ลูกค้า บาท/เครื่อง วัดฯ บาท/เครื่อง วัดฯ บาท/ใบเสร็จ รับเงิน

บาท/ ลูกค้า

ภาพที่ 3-5 ตัวอย่างขันตอนการค ้ านวณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมของงานบริการลูกค้า ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.


99

ค่าใช้จา่ ยรวม ของ กฟน.(ตาม

ตัวผลักดัน ต้นทุน

ค่าใช้จา่ ยตามปะเภทผูใ้ ช้ ไฟ(ลูกค้า)

กิจกรรม AR1 งานบริการ ลูกค้า

จานวนลูกค้าแยก ตามประเภทลูกค้า

ประเภทลูกค้า <150Kwh./เดือน

กิจกรรม AR2 งานการตลาด

จานวนลูกค้าแยก ตามประเภทลูกค้า

ประเภทลูกค้า >150Kwh./เดือน

กิจกรรม AR3 งานจาหน่ าย เครือ่ งวัด

จานวนเครือ่ งวัดฯ แยกตามประเภท ลูกค้า

กิจกรรม AR4 งานทาใบแจ้งหนี้ฯ

จานวนเครือ่ งวัดฯ แยกตามประเภท ลูกค้า

กิจกรรม AR5 งานเก็บเงิน กิจกรรม AR6 งานอื่นๆ

จานวนใบเสร็จรับเงิน แยกตามประเภทลูกค้า จานวนลูกค้าแยก ตามประเภทลูกค้า

ประเภทลูกค้า กิจการขนาดเล็ก ประเภทลูกค้า กิจการขนาดกลาง

ตัวผลักดัน ต้นทุน

ต้นทุนรวมต่อหน่ วย ตามประเภทผูใ้ ช้ไฟ บาท/ลูกค้า <150Kwh./เดือน บาท/ลูกค้า <150Kwh./เดือน

หาร ด้วย

จานวนลูกค้าแยก ตามประเภทลูกค้า

ประเภทลูกค้า กิจการขนาดใหญ่ ประเภทลูกค้า กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทลูกค้า ส่วนราชการ

บาท/ลูกค้า กิจการขนาดเล็ก บาท/ลูกค้า กิจการขนาดกลาง บาท/ลูกค้า กิจการขนาดใหญ่ บาท/ลูกค้า กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทลูกค้า ส่วนราชการ

ภาพที่ 3-6 ตัวอย่างขันตอนการค ้ านวณต้นทุนต่อหน่วยบริการตามประเภทลูกค้า ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554. 3. บันทึกข้อมูลลงในระบบ SAP เพื่อนาข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากการประมวลผลนาไปใช้ใน การตัดสินใจในการบริหารต้นทุน และข้อมูลที่ได้รบั ยังมีประโยชน์ ต่อผู้บริหารที่ สามารถน าข้อมู ลต้น ทุน ไปใช้ใ นการประกอบการตัดสิน ใจได้อีก ด้วย ซึ่งการใช้ โปรแกรม SAP นัน้ จะทาให้ก ารไฟฟ้ านครหลวงสามารถเข้าถึงข้อ มูลได้อย่าง รวดเร็ว ได้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องแม่นยา และมีประสิทธิภาพ


100

การกาหนดผังรหัสบัญชี เปรียบเทียบ ระบบบัญชีเก่า – ระบบบัญชีใหม่ รหัสบัญชีเดิ มที่มี Cost Code Ex – LineSAP 4XXXX / XXX XX

01 = เงินเดือน > 5210100010

40102 589 01

Cost

ฟั งก์ชนั งาน

Code

G/L Account

Cost Account

ลักษณะของรหัสบัญชีใหม่ (SAP) 1. เป็นตัวเลขติดต่อกัน และไม่มเี ครือ่ งหมายคันระหว่ ่ างตัวเลข 2. ความยาว 10 หลัก 3. กาหนดโครงสร้างรหัสบัญชีเป็นหมวดหมู่ หมวด บัญชี

ประเภท บัญชี

กลุ่ม บัญชี

กลุ่ม บัญชีย่อย

บัญชีหลัก

บัญชี ย่อย

4. ไม่มรี หัสองค์กร รหัสหน่วยงาน หรือรหัสฟงั ก์ชนั งานแฝงอยู่ในรหัสบัญชี


101

รหัสบัญชีใหม่ Ex – Line Main/Sub B/S งบดุล

P/S งบกาไร ขาดทุน

SAP G/L Account

1XXXXXXX/16 SUB 1XXXX/XXXXX 2XXXX/XXXXX

1XXXXXXXXXX สินทรัพย์ 2XXXXXXXXXX หนี้สนิ 3XXXXXXXXXX ทุน 9XXXXXXXXXX บัญชีพกั

4XXXX/XXXXX

4XXXXXXXXXX รายได้ 5XXXXXXXXXX ค่าใช้จ่าย 6XXXXXXXXXX ชาระ บัญชี

โครงสร้างของรหัสบัญชี บัญชี 40102 58901 = บัญชีค่าดาเนินการระบบจาหน่าย ค่าใช้จ่ายแปรสภาพ เงินเดือน บัญชีคมุ 40X0X 01 = ระบบส่ง 01 = ค่าดาเนินการ 02 = ระบบจาหน่าย 02 = ค่าบารุงรักษา 03 = บัญชีลูกค้า 04 = การให้บริการและข่าวสารลูกค้า 05 = ค่าใช้จ่ายในการเปลีย่ นระบบแรงดัน 06 = บริหารงานและทัวไป ่ บัญชีย่อย XXXXX COST CODE = รหัสประเภทค่าใช้จ่าย


102

รหัสบัญชีค่าใช้จ่าย (SAP) เช่น 5210100010 เงินเดือน 5230100010 ส่วนลดค่าไฟ 5220100050 โบนัส 5220100010 ค่าล่วงเวลา 5220100020 ค่าเบีย้ เลีย้ ง 5220100040 ค่าอยู่เวร 5230200010 ค่ารักษาพยาบาล 5330300010 ค่าเครือ่ งเขียนและแบบพิมพ์ 5310100010 ค่าจ้างบุคคลภายนอก 5330699990 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 5330100010 ค่าน้ ามันเชือ้ เพลิง 5330300020 ค่าพาหนะเดินทาง 5330300020 ค่าวัสดุทวไป ั่ คาอธิ บายรหัสบัญชีในระบบ SAP ตารางที่ 3-5 ตัวอย่างคาอธิบายรหัสบัญชีในระบบ SAP เพื่อใช้ในการบันทึกค่าใช้จ่ายต่างๆ รหัสบัญชี ชื่อบัญชี คาอธิ บายรหัสบัญชี SAP 5330300010 ค่าเครือ่ งเขียนและแบบพิมพ์ ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับเครื่องเขียนและแบบพิมพ์ ได้แก่ อุ ปกรณ์ เครื่องเขียนและแบบกรอก ข้อ มู ล ต่ างๆ กระดาษพิมพ์เ ขีย ว กระดาษ FAX และวารสาร ค่า แปลเอกสาร พิม พ์ เอกสาร เข้ารูปเล่ม ค่ า ใ ช้ จ่ า ย เ กี่ ย ว กั บ ง า น จ้ า ง ที่ จ้ า ง ใ ห้ บุ ค คลภายนอกมาท างานประจ าทดแทน แรงงานของพนัก งานการไฟฟ้ านครหลวง 5310100010 ค่าจ้างบุคคลภายนอก ได้แก่ การจดหน่วย การเก็บเงิน การเก็บเงิน การตัดต้นไม้ การรับ – ส่งเอกสาร การรักษา ความปลอดภัย การทาความสะอาด การจ้าง บุคลากรทางการแพทย์ ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.


103

การศึกษาระบบทางเดิ นข้อมูล (Flow Chart) รายงานบัญชีต้นทุนกิจกรรม (ABC) หน่วยงานทีเ่ กีย่ งข้อง

แผ่นที่1/1

วิเคราะห์และประมวลผล กองบัญชีบริหาร ฝา่ ยบัญชี หน้าจอ S_ALR_87013612

ค่าใช้จ่ายระบบ CO

1 ข้อมูลน้ าหนักงาน ฟช.

ฟข. 18

หน้าจอ

บันทึกข้อมูล เข้า

4

3

Intranet ของ ฝศก.

จานวนลูกค้าแต่ละ ฟช.

หน้าจอ

KB31N ข้อมูลน้ าหนักงาน

KSU5

ชาระบัญชีตามใบสัง่ หน้าจอ KO8G

บันทึกข้อมูล เข้า

2

กบน.

หน้าจอ

KO8G

4

จานวนใบเสร็จและ มิเตอร์ตามยอดขาย

ชาระบัญชีตามใบสัง่ หน้าจอ ZFICOR007

5 รายงานแสดง รายละเอียดค่าใช้จ่าย

รายการแสดง ค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบ


104

ลาดับที่ หน่ วยงาน รายละเอียดวิ ธีปฏิ บตั ิ งาน 1 งานวิเคราะห์และ เมื่อได้รบั mail ข้อมูลน้ าหนักงานจาก ฟช. ซึ่งประกอบด้วยสาขาย่อย แผนกบริการ ประมวลผล กบบ. แผนกการเงิน แผนกหลักประกัน ผูร้ บั ผิดชอบทาการบันทึกข้อมูลน้าหนักงาน (ชม. ฝบช. ทางาน จานวนพนักงาน จานวนพท. จานวนคอมพิวเตอร์) พร้อมกับเรียกข้อมูล น้ าหนักงานอีกส่วนหนึ่ง (ค่าจ้างบุคคลภายนอก ค่าประกันภัย ค่าล่วงเวลา สัดส่วน ค่าใช้จ่ายของฝตพ. และสวต. สัดส่วนค่าใช้จ่ายของ ฝสค. ทีเ่ กีย่ วกับเขต) ในfile excel ทีเ่ ตรียมไว้ อัพโหลดข้อมูลลงใน SAP 2 งานวิเคราะห์และ บันทึกข้อมูลจานวนลูกค้าของแต่ละ ฟข.ใน Intranet ของฝศก. และจานวนใบและ ประมวลผล กบบ. มิเตอร์ตามยอดขายตามรายงานของกบน. ฝบช. บันทึกข้อมูลใน file excel ทีเ่ ตรียม ฝบช. ไว้ อัพโหลดข้อมูลลงใน SAP 3 งานวิเคราะห์และ หลังจากบันทึกข้อมูลน้ าหนักงานข้อ1 และ2 ผูร้ บั ผิดชอบทาการปนั ส่วนค่าใช้จา่ ย ประมวลผล กบบ. ฝบช. 4 งานวิเคราะห์และ หลังจากปนั ส่วนค่าใช้จ่าย ผูร้ บั ผิดชอบทาการชาระบัญชีตามใบสั ่ง ABC,CUS ประมวลผล กบบ. ฝบช. 5 งานวิเคราะห์และ หลังจากชาระบัญชีเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั ผิดชอบทาการเรียกรายงานแสดงรายละเอียด ประมวลผล กบบ. ต้นทุนต่อหน่วย และรายงานแสดงรายละเอียดต้นทุนต่อหน่วยเปรียบเทียบเดือน ฝบช.

T-CODE S_ALR_87013612

KB31N

KSU5

KO8G

ZFICOR007 ZFICOR008


105

เอกสารและรายงานประเภทต่างๆ รายงานบัญชีต้นทุนกิ จกรรม ค่าเฉลี่ยการไฟฟ้ านครหลวงเขต 18 ฟข. ไตรมาสที่ 1 (ม.ค.-มี.ค.2554) ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อหน่ วย (บาท) กิ จกรรมหลัก AR 1.1 AR 2.1 AR 3.1 AR 4.1 AR 5.1 AR 6.1

งานบริ การลูกค้า งานการตลาด งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ งานจัดทาใบแจ้งหนี้ งานเก็บเงิ น งานอื่นๆ Total

Activity Cost Driveer จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ

ม.ค.-54

ก.พ.-54

มี.ค.-54

ค่าเฉลี่ยไตรมาสที่ 1 (ม.ค.54-มี.ค.54)


106

ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อหน่ วย (บาท) กิ จกรรมระดับที่ 2 AR 1.1 AR 1.2 AR 1.3 AR 2.1 AR 2.2 AR 3.1 AR 3.2 AR 4.1 AR 4.2 AR 4.3 AR 5.1 AR 5.2 AR 5.3 AR 6.1 AR 6.2

งานดาเนิ นการคาขอและทะเบียนประวัติ งานหลักประกันฯ งานคาร้องและให้คาปรึกษาฯ งานประชาสัมพันธ์ภายใน งานโฆษณาประชาสัมพันธ์ภายนอก งานวางแผนการอ่านหน่ วยเครื่องวัด ฯ งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ งานประมวลผลการอ่านหน่ วยฯ งานคานวณและจัดทาใบแจ้งหนี้ งานส่งใบแจ้งหนี้ ค่าไฟฟ้ า งานเก็บเงิ น งานสรุปยอดทารายงานและนาฝากเงิ นได้เข้าธนาคาร งานติ ดตามหนี้ ค้างชาระ งานธุรการเกี่ยวกับสวัสดิ การพนักงาน ฯ งานประชุม อบรม สัมมนา ฯลฯ Total

Activity Cost Driveer จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนเครือ่ งวัดฯในเขตรับผิดชอบ จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ จำนวนลูกค้ำในเขตรับผิดชอบ

ม.ค.-54

ก.พ.-54

มี.ค.-54

ค่าเฉลี่ยไตรมาสที่ 1 (ม.ค.54-มี.ค.54)


107

ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อหน่ วย (บาท) กิ จกรรมระดับที่ 3 AR 3.2.1 AR 3.2.2 AR 3.2.3 AR 4.3.1 AR 4.3.2 AR 4.3.3 AR 5.1.1 AR 5.1.2 AR 5.1.3 AR 5.1.4 AR 5.1.5 AR 5.1.6 AR 5.1.7 AR 5.1.8 AR 5.3.1 AR 5.3.2 AR 5.3.3 AR 5.3.4

งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯโดยจ้างตัวแทน(sub-contractor) งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ โดยพนักงานกฟน. งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ และแจ้งหนี้ ทนั ที (เฉพาะลูกค้าประเภท 1และ2 ) งานส่งใบแจ้งหนี้ ฯ โดยจ้างตัวแทน(sub-contractor) งานส่งใบแจ้งหนี้ ฯ โดยพนักงานกฟน. งานส่งหนังสือเตือนตัดไฟ โดยจ้างตัวแทน งานเก็บเงิ นฯ นอกสถานที่ โดยจ้างตัวแทน งานเก็บเงิ นฯ นอกสถานที่ โดยพนักงานกฟน. งานรับชาระเงิ นค่าไฟฟ้ า ณ ที่ ทาการ และสาขาย่อย งานรับชาระเงิ นฯ ผ่านธนาคาร (ตัวแทน) งานเก็บเงิ นฯ ผ่านตัวแทน(pay-point) และ E-payment งานรับชาระค่าสิ นค้าและบริ การแทนกิ จการอื่น(Store Bill) งานรับชาระไปรษณี ยธ์ นาณัติ หรือเช็คที่ ส่งทางไปรษณี ย์ งานคืนเงิ น งานติ ดตามหนี้ ค้างชาระ กรณี ตดั ไฟแล้ว งานติ ดตามหนี้ ค้างชาระ กรณี ไม่มีหมายเลขเครื่องวัดฯ งานติ ดตามหนี้ ค้างชาระ กรณี ผใู้ ช้ไฟฟ้ าขอผัดผ่อนการชาระเงิ น งานดาเนิ นการเกี่ยวกับเช็คคืน Total

Activity Cost Driveer จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนเช็คคืน

ม.ค.-54

ก.พ.-54

มี.ค.-54

ค่าเฉลี่ยไตรมาสที่ 1 (ม.ค.54-มี.ค.54)


รำยงำนบัญชีบริหำร

108

ต้นทุนกิจกรรมระดับที่ 1 และ กิจกรรมระดับที่ 2 ของ Retail ผลกำรดำเนินงำนประจำงวดค่ำเฉลีย่ ไตรมำสที่ 4 (ต.ค.53-ธ.ค.53) รหัส

กิ จกรรม

AR1 งานบริ การลูกค้า AR 1.1 งำนดำเนินกำรคำขอและทะเบียนประวัติ AR 1.2 งำนหลักประกันฯ

ตัวผลักดันต้นทุน (Activity Driver) ลูกค้าทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน.

AR2

AR 1.4 งำนคำร้องและให้คำปรึกษำฯ งานการตลาด AR 2.1 งำนประชำสัมพันธ์ภำยใน

AR3

AR 2.2 งำนโฆษณำประชำสัมพันธ์ภำยนอก งานอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ AR 3.1 งำนวำงแผนกำรอ่ำนหน่วยเครือ่ งวัด ฯ

ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน. เครื่องวัดฯทัง้ หมดของ กฟน. เครือ่ งวัดฯทัง้ หมดของ กฟน.

AR 3.2 งำนอ่ำนหน่วยเครือ่ งวัดฯ งานจัดทาใบแจ้งหนี้ AR 4.1 งำนประมวลผลกำรอ่ำนหน่วยเครือ่ งวัดฯ AR 4.2 งำนคำนวณและจัดทำใบแจ้งหนี้ AR 4.3 งำนส่งใบแจ้งหนี้ค่ำไฟฟ้ำ งานเก็บเงิ น

เครือ่ งวัดฯทัง้ หมดของ กฟน. เครื่องวัดฯทัง้ หมดของ กฟน. เครือ่ งวัดฯทัง้ หมดของ กฟน. เครือ่ งวัดฯทัง้ หมดของ กฟน. เครื่องวัดฯทัง้ หมดของ กฟน. ใบเสร็จรับเงิ นทัง้ หมดของ กฟน.

AR4

AR5

ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้าทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน.

AR 5.1 งำนเก็บเงิน ใบเสร็จรับเงินทัง้ หมดของ กฟน. AR 5.2 งำนสรุปยอดทำรำยงำนและนำฝำกเงินได้เข้ำธนำคำร ใบเสร็จรับเงินทัง้ หมดของ กฟน. AR6

AR 5.3 งำนติดตำมหนี้คำ้ งชำระ งานอื่นๆ AR 6.1 งำนธุรกำรเกีย่ วกับสวัสดิกำรพนักงำน ฯ AR 6.2 งำนประชุม อบรม สัมมนำ ฯลฯ รวม

ใบเสร็จรับเงินทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้าทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน. ลูกค้ำทัง้ หมดของ กฟน.

ต้นทุนทางตรงต่อหน่ วย: บาท กิ จกรรมระดับที่ 1

กิ จกรรมระดับที่ 2

ต้นทุนรวมต่อหน่ วย: บาท กิ จกรรมระดับที่ 1

กิ จกรรมระดับที่ 2


109

รำยงำนบัญชีบริหำร ต้นทุนกิจกรรมระดับที่ 1 และ กิจกรรมระดับที่ 2 ของ Retail ผลกำรดำเนินงำนประจำงวดค่ำเฉลีย่ ไตรมำสที่ 4 (ต.ค.53-ธ.ค.53) รหัส

กิ จกรรม

ตัวผลักดันต้นทุน

ต้นทุนทางตรงต่อหน่ วย: บาท

(Activity Driver)

กิ จกรรมระดับที่ 1 กิ จกรรมระดับที่ 2

AR 3.2.1

งำนอ่ำนหน่วยเครือ่ งวัดฯโดยจ้ำงตัวแทน(sub-contractor)

จำนวนเครือ่ งวัดฯ

AR 3.2.2

งำนอ่ำนหน่วยเครือ่ งวัดฯ โดยพนักงำนกฟน.

จำนวนเครือ่ งวัดฯ

AR 4.3.1 AR 4.3.2 AR 5.1.1

งำนส่งใบแจ้งหนี้ฯ โดยจ้ำงตัวแทน(sub-contractor) งำนส่งใบแจ้งหนี้ฯ โดยพนักงำนกฟน. งำนเก็บเงินฯ นอกสถำนทีโ่ ดยจ้ำงตัวแทน

จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนใบเสร็จรับเงิน

AR 5.1.2 AR 5.1.3

งำนเก็บเงินฯ นอกสถำนทีโ่ ดยพนักงำนกฟน. งำนรับชำระเงินค่ำไฟฟ้ำ ณ ทีท่ ำกำร และสำขำย่อย

จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน

AR 5.1.4 AR 5.1.5 AR 5.1.6 AR 5.1.7 AR 5.1.8

งำนรับชำระเงินฯ ผ่ำนธนำคำร (ตัวแทน) งำนเก็บเงินฯ ผ่ำนตัวแทน(pay-point) และ E-payment งำนรับชำระค่ำสินค้ำและบริกำรแทนกิจกำรอื่น(Store Bill) งำนรับชำระไปรษณียธ์ นำณัติ หรือเช็คทีส่ ่งทำงไปรษณีย์ งำนคืนเงิน

จำนวนเครือ่ งวัดฯ จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน

AR 5.3.1 AR 5.3.2

งำนติดตำมหนี้คำ้ งชำระ กรณีตดั ไฟแล้ว งำนติดตำมหนี้คำ้ งชำระ กรณีไม่มหี มำยเลขเครือ่ งวัดฯ งำนติดตำมหนี้คำ้ งชำระ กรณีผใู้ ช้ไฟฟ้ำขอผัดผ่อนกำรชำระเงิน

จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนใบเสร็จรับเงิน

AR 5.3.3 AR 5.3.4

งำนดำเนินกำรเกีย่ วกับเช็คคืน

จำนวนใบเสร็จรับเงิน จำนวนเช็คคืน

รวม หมำยเหตุต้น: ทุนทำงตรง ประกอบด้วย 1 ค่ำใช้จ่ำยของ 5 แผนก (สำขำย่อย.,บร.,ปจ.,กง.,ลป.) และค่ำใช้จ่ำยจดหน่วย Demand จำก บด.ของ 18 ฟข. และรวมค่ำใช้จำยปนั ส่งนจำกฝำ่ ย, บท.,กบฟ.,และค่ำใช้จ่ำยของกองรำยได้ และธุรกำรกอง 2 ค่ำใช้จ่ำยของ ฝสค.,(กคบ.),ฝตพ. และสวต. ต้นทุนรวม ประกอบด้วย ต้นทุนทำงตรง บวกค่ำใช้จ่ำยบริหำรงำนปนั ส่วนจำกส่วนกลำง


110

ประโยชน์ ที่ได้รบั จากการนาระบบต้นทุนตามกิ จกรรมมาใช้ จากการจัดทาระบบ ABC ของการไฟฟ้านครหลวง ในงานบริการลูกค้าทัง้ 18 เขต ข้อมูลทีไ่ ด้มาสามารถนามาใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1. ลดความสูญเปล่าของกิจกรรมต่างๆ ทีไ่ ม่มคี วามจาเป็ นให้เหลือน้อยที่สุด โดยการ วิเคราะห์วา่ กิจกรรมใดเป็นกิจกรรมทีเ่ พิม่ ค่า โดยมุ่งเน้นการลดกิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ ค่า การพิจารณาจะรวมถึงการปรับปรุงโครงสร้างกระบวนการทางานใหม่ เพื่อลดภาระ งานทีซ่ ้าซ้อน และบริหารจานวนคนทีม่ อี ยู่ให้เพียงพอกับภาระงาน ทาให้ลดต้นทุน ในการจ้างพนักงานลงได้ 2. เชือ่ มโยงกลยุทธ์ในการดาเนินงานของกิจการกับการตัดสินใจ อัน เป็ นประโยชน์ต่อ ผูบ้ ริหารในการพัฒนากิจกรรมทีเ่ ป็นงานหลักขององค์กร เช่น การใช้แนวคิด BSC ในการพัฒนาองค์กรแบ่งออกเป็ น 4 มุมมอง คือ มุมมองด้านการเงิน มุมมองด้าน ลูกค้า มุมมองด้านกระบวนการดาเนินงานภายใน และมุมมองด้านการพัฒนาและ การเรียนรู้ ข้อมูลต้นทุนต่อหน่ วยของบัญชีต้นทุนกิจกรรมเป็ นข้อมูล สนับสนุ นของ มุมมองด้านการเงิน ซึ่งสัมพันธ์กบั อีกทัง้ 3 มุมมอง 3. นาไปเป็นฐานข้อมูลการจัดทางบประมาณตามแนวคิด (Activity Based Budgeting: ABB) การจัดทางบประมาณตามฐานต้นทุนกิจกรรม และแนวคิด ABM ซึ่งมุ่งเน้น การบริหารตามฐานกิจกรรมเพื่อตอบสนองกลยุทธ์ 4. ใช้เป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ เช่น ข้อมูลต้นทุนต่อหน่ วยของกิจกรรมการอ่าน หน่วยเครื่องวัดฯ โดยพนักงานการไฟฟ้านครหลวง และการอ่านหน่ วยเครื่องวัดฯ โดยจ้างตัวแทน เป็ นต้น ในการพิจารณาทางเลือกว่ าจะให้บริการเองหรือว่าจ้าง บริษทั อื่นเป็นผูใ้ ห้บริการแทน วิธกี ารใดจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยทีส่ ุด และหากตัดสินใจ ว่าจ้างความกาหนดอัตราการจ้างเท่าใด 5. ใช้เป็ นข้อมูลในการต่อยอดเพื่อการจัดทาการบริหารตามฐานกิ จกรรมเพื่อให้เกิด การบริหารองค์กรที่ประสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ เพราะการบริหารตามฐานกิจกรรมเป็ น การรวบรวมการดาเนินการในหลากหลายหน้าที่งาน ที่มีความแตกต่างกันไปให้ ดาเนินงานอย่างเป็นระบบโดยมุ่งไปที่เป้าหมายไปที่การก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อภาพรวมขององค์กร ปัญหาและอุปสรรคที่เกิ ดขึน้ จากการนาระบบต้นทุนตามกิ จกรรมมาใช้ 1. การกรอกข้อ มู ล น้ า หนัก งานและตัว ผลัก ดัน ต้ น ทุ น ที่ไ ม่ ถู ก ต้อ ง ข้อ มู ล มีค วาม คลาดเคลื่อน เนื่องจากพนักงานอาจขาดความรู้ความเข้าใจ และไม่ให้ความสาคัญ เนื่องจากไม่ ทราบถึงผลกระทบที่จะตามมา ทาให้ต ัวผลักดันต้นทุ น ที่ได้มีค วาม เบีย่ งเบน ไม่สามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจได้


111

2. การจัดทาบัญชีตน้ ทุนกิจกรรมในปจั จุบนั เป็นการจัดทาภายนอกระบบบัญชีการเงิน โดยใช้ personal computer (program excel) ทาให้เมื่อข้อมูลค่าใช้จ่ายมีการ เปลีย่ นแปลง จะไม่มกี ารปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปจั จุบนั การจัดทามีความล่าช้า และ อาจเกิดข้อผิดพลาดได้ 3. การใช้โปรแกรม SAP ทีย่ งั ไม่ค่อยชานาญของพนักงานที่เกี่ยวข้อง ทาให้เสียเวลา การดาเนินงาน และอาจเกิดความซ้าซ้อนของงาน 4. การนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ในปจั จุบนั ดาเนินการเฉพาะการไฟฟ้านครหลวง 18 เขตเท่านัน้ สาหรับหน่ วยงานอื่นๆ ยังไม่มีการจัดทา จึงไม่สามารถมองเห็น ต้น ทุ น บริก ารของกระบวนงานอื่น ๆ ที่มีข นั ้ ตอนการด าเนิ น งานประกอบด้ว ย กิจกรรมต่างๆ จากหลายหน่วยงาน 5. การนาข้อมูลต้นทุนทีไ่ ด้มาช่วยในการบริหารองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ หรือ ABM ยังทาได้ไม่ครอบคลุมทัง้ ระบบ มีการจัดการเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ ทา เพียงแต่การนาข้อมูลต้นทุนทีไ่ ด้มาวิเคราะห์และนาเสนอผูบ้ ริหารเพื่อใช้ประกอบใน การตัดสินใจการจัดทางบประมาณ และเพื่อให้ทราบผลการดาเนินงาน


บทที่ 4 ผลการศึกษา 1. จากการศึกษาโดยวิธกี ารสัมภาษณ์แบบปลายเปิ ด จึงได้ผลสรุปเกี่ยวกับสาเหตุทก่ี าร ไฟฟ้านครหลวงมีการนาระบบต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) มา ประยุกต์ใช้ได้ว่า จากสภาพการแข่งขัน ที่รุนแรงมากขึ้นในปจั จุบนั ผู้บริโภคต้องการ สินค้าคุณภาพดีเป็นทีน่ ่าเชื่อถือในระดับราคาสมเหตุสมผล ตลอดจนบริการหลังการขาย ที่น่าประทับใจ การไฟฟ้านครหลวงถึงแม้จะเป็ นรัฐวิสาหกิจ ที่ทาหน้าที่ให้บริการด้าน ไฟฟ้าก็ยงั ตระหนักถึงสภาวะการแข่งขันทางธุรกิจ ทาให้การไฟฟ้านครหลวงจึงได้ทา การพัฒนาองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดยการพัฒนาดังกล่าวจาเป็ นต้องใช้เงินทุน จานวนมาก แต่การระดมทุนจากภายในประเทศอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อความต้องการ ดังนัน้ จึงต้องทาการขอกู้ยมื เงินจากองค์กรต่างประเทศ โดยทางธนาคารโลกได้กาหนด กฎเกณฑ์เ งื่อ นไขของการกู้ย ืม ที่ส าคัญ คือ ต้อ งปรับ ปรุง ระบบบัญ ชีแ ละการจัด ท า รายงานให้มปี ระสิทธิภาพ มีค วามเป็ นสากล และถู กต้อง การไฟฟ้ านครหลวงจึง ให้ ความส าคัญ กับการบริห ารต้นทุ น ซึ่ง เป็ น วิธ ีการที่ส ามารถท ากาไร โดยมุ่งเน้ นการ บริห ารที่ท าให้ ล ดต้ น ทุ น ขัน้ ตอนส าคัญ จะสัม พัน ธ์ กับ การก าหนดกระบวนการ ดาเนินงานให้มคี วามรวดเร็ว และไม่เกิดความซ้าซ้อนในการปฏิบตั งิ าน 2. จากการศึกษาโดยวิธกี ารสัมภาษณ์แบบปลายเปิด และการเข้าไปศึกษาเอกสารของการ ไฟฟ้านครหลวง พบว่ามีแนวทางในการนาระบบ ABC มาใช้ ดังนี้ 2.1 ผูบ้ ริหารได้ตระหนักถึงความสาคัญกับข้อมูลต้นทุน และให้ความสนใจกับกิจกรรมที่ เกิดขึน้ ในแต่ละแผนก ทาให้มกี ารคิดริเริม่ ใช้ระบบ ABC โดยฝ่ายบัญชีตงั ้ แต่ปี พ.ศ. 2539 เริม่ จัดทาเป็นโครงการนาร่อง ซึง่ ทาแบบค่อยเป็ นค่อยไปแทนการประยุกต์ใช้ ทัง้ องค์กรโดยทันที ซึง่ ส่วนงานทีเ่ ลือกทาก่อนคือ การไฟฟ้านครหลวงเขตบางใหญ่ ในส่วนกองรายได้ เนื่องจากผูอ้ านวยการเขตสนใจในระบบ ABC มาก จึงให้ความ ร่วมมืออย่างเต็มที่ จากนัน้ ได้นาเสนอข้อมูลต่อผู้บริหารและได้รบั อนุ มตั ิให้จดั ทา เพื่อ ประโยชน์ ใ นการน าข้อ มูล ไปใช้ ใ นการบริห ารและการตัด สิน ใจ จึง ได้เ ริ่ม ดาเนินการในเขตอื่นๆ เพิม่ ขึน้ มีการแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาขัน้ ตอนกระบวนการ ในการจัดทาบัญชีต้นทุนกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง ในปจั จุบนั ฝ่ายบัญชีจดั ทาบัญชี ต้นทุนกิจกรรมของการไฟฟ้านครหลวงเขตทัง้ 18 เขต ในส่วนงานบริการลูกค้า 2.2 การว่าจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญในการพัฒนาระบบการดาเนินงาน


113

2.2.1 วิ เคราะห์ระบบการดาเนิ นงาน ระบบงานเดิมของการไฟฟ้านครหลวง เป็ นการพัฒนาขึ้นด้วยตนเองเพียงใช้แค่โปรแกรม excel เท่านัน้ ซึง่ เป็ น ระบบปฏิบตั ิการ (software) เฉพาะงานที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบงานอื่น ๆ อย่างต่อ เนื่อ ง ผลที่เกิดขึ้นคือ เกิดความซ้าซ้อนในการทางาน สิ้นเปลือ ง ทรัพยากรหลายด้าน อีกทัง้ การกรอกข้อมูล เพื่อนามาคิดเป็ นตัวผลักดัน ต้นทุนก็มขี อ้ ผิดพลาด และการทางานจะไม่มปี ระสิทธิภาพ ทาให้การไฟฟ้า นครหลวงต้องตระหนักถึงปญั หาดังกล่าว 2.2.2 การพัฒนาระบบการดาเนิ นงาน ในปี พ.ศ. 2549 การไฟฟ้านครหลวงได้ มีการว่าจ้างบริษทั โฟร์ทเวฟ โซลูชนั ่ จากัด เป็ นผู้ดาเนิ นการติดตัง้ พร้อม การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป (Systems Applications and Products: SAP) ให้ครอบคลุมส่วนงาน ที่ต้องเชื่อมต่อกับลูกค้า จะแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ คือ ระบบบริการลูกค้า จะครอบคลุมส่วนงานทัง้ การยื่นคาร้องขอเป็ น ผูใ้ ช้ไฟฟ้ารายใหม่ การขอมิเตอร์มาตรวัด รวมถึงการรับคาร้องเรียนต่างๆ และส่วนงานระบบใบเสร็จ โดยจะรวมถึงกระบวนงานอื่นๆ เช่น การติดตาม ทวงหนี้ ซึ่ง คาดว่ า สามารถอ านวยความสะดวกให้กับ ประชาชนผู้มารับ บริการดีขน้ึ ส่วนระบบงานบริหารงานภายในองค์กร ส่วนนี้จะครอบคลุมถึง การทาบัญชีการเงิน การจัดซือ้ จัดจ้าง การจัดการโครงการ ค่าใช้จ่ายในการ บารุงรักษา และระบบบริหารงานทรัพยากรบุคคล 2.2.3 การวางระบบการดาเนิ นงาน

ภาพที่ 4-1 องค์ประกอบของ SAP ทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง. 2554.


114

จากภาพ พบว่าโปรแกรมนัน้ SAP จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่ สาคัญ ทัง้ 12 ส่วน โดยแต่ละส่วนมีความสาคัญที่โดดเด่นงและแตกต่ากันออกไป เพื่อ ให้ก ารทางานขององค์กรมีการเข้าถึงข้อมูล ได้อ ย่างรวดเร็ว และได้ข้อ มูล ที่ ถูกต้อง แม่นยา และผูบ้ ริหารสามารถเรียกดู ตรวจสอบข้อมูลได้ แต่ทงั ้ นี้การไฟฟ้า นครหลวงได้นาโปรแกรม SAP มาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น ในด้าน การจ้ดการทรัพยากร (human resource) เกี่ยวกับเรื่องการจัดการกับคน โดยจะมี การกรอกข้ อ มู ล น้ า หนั ก งาน ค านวณตั ว ผลัก ดัน ต้ น ทุ น ด้ า น บั ญ ชี บ ริห าร (controlling) เกี่ย วกับ การท าบัญ ชีส าหรับ ภายในองค์ก ร ซึ่ง โปรแกรมสามารถ ประมวลผลออกมาเป็ น รายงานส าหรับ ผู้บ ริห ารใช้ ป ระกอบการตัด สิน ใจ การ พิจารณาในเรื่องต่างๆ ด้านการบริหารโครงการ (project system) เป็ นการบริหาร โครงการ จะเก็บข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันและนาไปเชื่อมต่อกับระบบต่างๆ ด้าน บัญชีการเงิน (financial account) เกี่ยวกับการทาบัญชีสาหรับคนภายนอก เช่น รายงานส่งสรรพากร และด้านกระบวนการดาเนินงาน (workflow) เป็ นเรื่องของ ระบบการดาเนินงาน โปรแกรม SAP จะช่วยให้การทางานเป็ นไปอย่างอัตโนมัติ และเชื่อมโยงข้อมูล เป็นต้น 2.3 นาโปรแกรม SAP เข้าอบรมให้พนักงานฝ่ายบัญชีของการไฟฟ้านครหลวงทัง้ 18 เขตทีน่ าระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ให้รบั รู้ และเข้าใจถึงขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน เพื่อ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางาน และลดความซ้าซ้อนลง 2.4 นาโปรแกรม SAP มาใช้ในกระบวนการดาเนินงาน โดยใช้ในขัน้ ตอนการบันทึก ข้อมูลน้ าหนักงาน เพื่อใช้หาตัวหลักดันต้นทุน อีกทัง้ ยังบันทึกจานวนเครื่องวัดฯ จ านวนใบเสร็จ รับ เงิน จากเอกสารยอดขาย และจ านวนลูก ค้า จากเอกสารฝ่ า ย ศู น ย์ก ลาง เพื่อ ใช้เ ป็ น ฐานในการป นั ส่ ว นค่ า ใช้จ่า ยไปตามรหัส กิจ กรรม ซึ่ง ใน โปรแกรม SAP จะมีการกาหนดสัญลักษณ์เพื่อให้สะดวกต่อการปฏิบตั ิ นัน่ คือ การ กาหนด T-Code และในท้ายที่สุดจะมีการประมวลออกมาเป็ นรายงานบัญชีต้นทุน กิจกรรม เพื่อเป็นเอกสารประกอบในการตัดสินใจของผูบ้ ริหารต่อไป 3. จากการศึกษาโดยวิธกี ารสัมภาษณ์แบบปลายเปิด ของการไฟฟ้านครหลวง พบว่า การ ไฟฟ้านครหลวงได้นาการบริหารกิจกรรม (Activity Based Management: ABM) มา ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานเพียงเล็กน้อย หากเทียบเป็ นอัตราส่วนคิดเป็ นร้อยละ 20 เท่านัน้ ซึง่ ได้พจิ ารณาเกีย่ วกับกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในส่วนงานบริการลูกค้า โดยกิจกรรมที่ เกิดขึน้ ในกระบวนการดาเนินงานนัน้ มีความซับซ้อน แบ่งออกเป็ นกิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่า และไม่เ พิ่มมูล ค่ า เพื่อ น าเสนอต่ อ ผู้บ ริห ารให้ม ีการพัฒ นาและปรับปรุง ระบบต่ อ ไป ในทางตรงกันข้ามการบริหารกิจกรรมยังดาเนินการได้ไม่ครอบคลุมทัง้ ระบบ ทาให้การ ไฟฟ้านครหลวงไม่สามารถมองภาพรวมของกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ได้ว่ามีประสิทธิภาพมาก


115

น้อยเพียงใด ดังนัน้ เพื่อแสดงถึงระบบการบริหารต้นทุนของการไฟฟ้านครหลวงทัง้ 18 เขต ในส่วนงานบริการลูกค้า จึงจัดทาตารางแสดงการตรวจสอบความครบถ้วนการ บริหารต้นทุน ตารางที่ 4-1 แสดงการตรวจสอบความครบถ้วนการบริหารต้นทุนของการไฟฟ้านครหลวง การปฏิบตั งิ าน ข้อ การบริหารต้นทุน มี ไม่ม ี 1. การนาระบบต้นทุนตามกิจกรรมมาประยุกต์ใช้  2. การนาการบริหารกิจกรรมมาประยุกต์ใช้  3. การนาระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานมาประยุกต์ใช้  4. การนาระบบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้  5. การนาระบบบัญชีตน้ ทุนสิง่ แวดล้อมมาประยุกต์ใช้  การน าระบบการผลิ ต แบบลี น และการบั ญ ชี แ บบลี น มา 6.  ประยุกต์ใช้ 7. การพัฒนานาไปสู่สภาวะการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น  จากตารางที่ 4-1 พบว่า การไฟฟ้านครหลวงมีการบริหารต้นทุน โดยการนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้ในองค์กร เริม่ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2539 ซึง่ เริม่ ทาแบบค่อยเป็ นค่อยไปแทนที่จะใช้ทงั ้ องค์กรทันที เริม่ จากการนาร่องในหน่ วยงานที่ให้ความสนใจและเหมาะสม แล้วพัฒนาใช้ 18 เขต ในส่ ว นงานบริก ารลูก ค้า ท าให้ ล ดกิจ กรรมที่ม ีค วามซับ ซ้อ นลง และสามารถป นั ส่ ว น ค่าใช้จา่ ยเข้าสู่กจิ กรรมทีเ่ กีย่ วข้อง อีกทัง้ ยังนา ABM มาประยุกต์ใช้เล็กน้อย ยังไม่ครอบคลุมทัง้ ระบบ นอกจากนี้ยงั มีการนาระบบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ โดยจะรับพนักงานเข้ามา ทางานให้เพียงพอกับงานทีม่ ี ใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อไม่ให้เกิดต้นทุนจม จากข้า งต้น จะเห็น ได้ว่ า การไฟฟ้ านครหลวงมีก ารบริห ารต้น ทุ น ไม่ค รบทุ ก ส่ ว นงาน แล้ว บางส่วนของการบริหารต้นทุนก็ใช้ไม่ครอบคลุมทัง้ องค์กร ทาให้ไม่มกี ารพัฒนาทีน่ าไปสู่สภาวะ การพัฒนาอย่างยังยื ่ น ทัง้ นี้ในสภาพการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึน้ ในปจั จุบนั การดาเนินการ เพียงบางส่วนไม่สามารถทาให้ธุรกิจอยูร่ อดต่อเนื่องได้ ดังนัน้ การไฟฟ้านครหลวงจึงควรพัฒนา และปรับปรุงระบบให้ทนั สมัยและครอบคลุม เพื่อ ให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขัน ถึง แม้ก ารไฟฟ้ านครหลวงจะเป็ นรัฐวิสาหกิจที่มรี ฐั บาลให้การสนับสนุ น ก็ค วรจะตระหนักถึง ปญั หาดังกล่าวด้วย


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การศึกษาการบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือทางการบัญชีต้น ทุนตามกิจกรรมของการ ไฟฟ้านครหลวง มีว ตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับความเป็ นมาและสาเหตุของการนาระบบ ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) มาประยุกต์ใช้ ซึง่ ศึกษาถึงระบบ ABC ใน การบริหาร การประยุกต์ใช้ คุณประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั รวมทัง้ ด้านการบริหารจัดการต้นทุน ศึกษา แนวทางการประยุกต์ใช้ระบบ ABC ทัง้ นี้ยงั ศึกษาถึงการนาระบบ ABC ไปใช้เพื่อการพัฒนาสู่ สภาวการณ์พฒ ั นาธุรกิจอย่างยังยื ่ น พบว่า 1. ระบบต้นทุนแบบเดิมไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการใช้งานได้ เนื่องจาก ค่าใช้จา่ ยเป็นค่าใช้จ่ายโดยรวมของทัง้ องค์การ ซึง่ ไม่ได้จาแนกว่าเป็ นของแผนกใด ท าให้ ก ารไฟฟ้ านครหลวงเปลี่ ย นมาใช้ ร ะบบ ABC ส่ ง ผลให้ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม ี ประสิทธิภาพมากขึน้ สามารถทราบถึงต้นทุนที่เกิดขึน้ อย่างแท้จริงในแต่ละแผนก และทีส่ าคัญคือผูบ้ ริหารสามารถนาข้อมูลทีไ่ ด้รบั ไปใช้ในการตัดสินใจในระดับสูงได้ 2. การนาระบบ ABC มาประยุกต์ใช้นนั ้ ได้แยกระบบบัญชีต้นทุนในหน่ วยงานออกเป็ น หลายส่ ว นงาน การแบ่ ง หลายส่ ว นงานนี้ ท าให้ส ามารถน าข้อ มูล ไปใช้เ พื่ อ การ บริหารงานได้หลายมุมมอง โดยมีขนั ้ ตอนดังนี้ วิเคราะห์และระบุกิจกรรม คานวณ ต้นทุนต่อกิจกรรม จากนัน้ จึงบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม SAP และประมวลผล 3. การประยุกต์ใช้ระบบ ABC ของการไฟฟ้านครหลวงนัน้ เกิดจากการทีผ่ บู้ ริหารให้ ความสนใจและมีการสนับสนุ น จากนัน้ จึงมีการจัดตัง้ ทีมพนักงานจัดทาระบบ ABC มีการจัดฝึ กอบรมให้พนักงาน กาหนดกิจกรรม ตัวผลักดันต้นทุน และการคานวณ ต้นทุนงานบริการ ทาการรวบรวมข้อมูลมาออกแบบฟอร์มเพื่อใช้ในการกรอกตัว ผลักดันต้นทุน แล้วนาไปปฏิบตั งิ านทัง้ 18 เขต และทาการประมวลผลข้อมูล 4. การนา ABC ไปใช้เพื่อพัฒนาสู่สภาวการณ์พฒ ั นาธุรกิจอย่างยังยื ่ นนัน้ การไฟฟ้า นครหลวงมีการจัดทาเป็ นบางส่วนแต่ยงั ไม่มากพอ โดยได้ใช้ระบบ ABC ในการ ประมวลผลเป็ นกิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่า และไม่เพิม่ มูลค่า ซึง่ ทาให้ทราบว่ากิจกรรมใด ทีไ่ ม่จาเป็ นและต้องตัดออก ทัง้ นี้ยงั สามารถใช้ในการจัดทาการบริหารตามกิจกรรม (Activity Based Management: ABM) ทางการไฟฟ้านครหลวงได้เริม่ มีการนามา


117

ปฏิบตั บิ างส่วน นอกจากนี้ยงั มีการใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินงาน โดยจะรับพนักงานพอดีกบั งานทีม่ ี ไม่รบั พนักงานจานวนมากเกินไป ข้อเสนอแนะ 1. จากผลการศึกษาการบริหารต้นทุนโดยใช้ระบบ ABC ของการไฟฟ้านครหลวงจะ ส่งผลดีให้กบั องค์การแต่ควรมีการตรวจสอบข้อมูลให้ละเอียดและฝึกฝนพนักงานให้ มีความรูค้ วามเข้าใจในหน้าทีท่ ป่ี ฏิบตั ใิ ห้มากขึน้ พร้อมชีใ้ ห้เห็นถึงความสาคัญของ สิง่ ที่พนักงานปฏิบตั ิ เช่น การกรอกข้อมูลน้ าหนักงานและตัวผลักดันต้นทุนที่ไม่ ถูกต้อง ข้อมูลมีความคลาดเคลื่อน เนื่องจากพนักงานขาดความรูค้ วามเข้าใจ หรือ ไม่ให้ความสาคัญในการกรอกข้อมูล จากการไม่ทราบถึงผลกระทบที่เกิดขึน้ ทาให้ ต้นทุนทีไ่ ด้มคี วามเบีย่ งเบน ไม่สามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจได้ 2. จากผลการศึกษาการบริหารต้นทุน โดยใช้ระบบ ABC ของการไฟฟ้านครหลวง มี การจัดทาระบบ ABC เพียงบางส่วนงานขององค์กร โดยการจัดทาระบบ ABC ใน ปจั จุบนั ดาเนินการเฉพาะการไฟฟ้านครหลวงเขต 18 เขต ในส่วนงานบริการลูกค้า เท่านัน้ สาหรับส่วนงานอื่นๆ ยังไม่มกี ารจัดทา จึงทาให้ไม่สามารถมองเห็นต้นทุน บริการของกระบวนงานอื่นๆ ทีม่ ขี นั ้ ตอนการดาเนินงานประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ จากหลายหน่วยงานได้ 3. ควรมีการฝึกฝนการใช้โปรแกรม SAP ให้กบั พนักงานทีเ่ กี่ยวข้องอย่างชานาญ เพื่อ ป้องกันการผิดพลาด และทาให้ข้อมูลที่ได้รบั สามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจได้ อย่างถูกต้อง และน่าเชื่อถือมากยิง่ ขึน้ 4. เนื่องจากการไฟฟ้านครหลวงได้เริม่ มีการนาผลลัพธ์จากระบบ ABC มาใช้ในการ จัดทา ABM แต่ มกี ารนามาประยุกต์ใ ช้ใ นการดาเนินงานเพียงเล็กน้ อ ยทาให้ไ ม่ สามารถมองเห็นภาพรวมในกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ได้ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ดังนัน้ การไฟฟ้านครหลวงจึงควรทา ABM อย่างครบถ้วนเพื่อทาให้การดาเนินงาน มีประสิทธิภาพทีเ่ พิม่ มากขึน้ 5. จากผลการศึกษาการบริหารต้นทุนโดยใช้เครื่องมือ ระบบ ABC พบว่า การไฟฟ้า นครหลวงมีการบริหารต้นทุนไม่ครบทุกส่วนงาน ทาให้องค์การไม่สามารถพัฒนา ไปสู่ความยังยื ่ นได้ ดังนัน้ การไฟฟ้านครหลวงควรนาการบริหารต้นทุนวิธตี ่างๆ มา ประยุกต์ใช้ให้ครบทุกส่วนงาน เช่น ระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ระบบปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ระบบบัญชีต้นทุนสิง่ แวดล้อม และระบบบัญชีแบบลีน เป็ นต้น เพื่อการพัฒนาไปสู่ความยังยื ่ น ซึง่ จะส่งผลให้องค์กรมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และ นามาซึง่ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน


118

บรรณานุกรม กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2553. “เขตการค้าเสรี.” [เข้าถึงได้จาก]. แหล่งทีม่ า http://www.thaifta.com (19 มีนาคม 2555). การไฟฟ้านครหลวง. 2554. คู่มือการจัดทาบัญชีต้นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร การไฟฟ้านครหลวง. 2555. “ประวัติความเป็ นมา.” [เข้าถึงได้จาก]. แหล่งทีม่ า http://www.mea.or.th/menu1_2.htm (1 กุมภาพันธ์ 2555) เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์. 2546. ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจากัด วี. ที. ซี. คอมมิวนิเคชัน. ่ เกียรติขจร โฆมานะสิน. 2550. LEAN: วิ ถีแห่งการสร้างคุณค่าสู่องค์กรที่เป็ นเลิ ศ. 2000 เล่ม. กรุงเทพมหานคร: บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จากัด (มหาชน). แก้วตา ไทรงามและคณะ. 2548. ผูน้ าเชิ งกลยุทธ์เพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาผูบ้ ริหารการศึกษา. โกศล ดีศลี ธรรม. 2547. การบริ หารต้นทุนสาหรับนักบริ หารยุคใหม่. บริษทั อินฟอร์มเี ดีย อินเตอร์เนชันแนล ่ จากัด. โกศล ดีศลี ธรรม. 2547. เทคนิ คการจัดการโลจิ สติ กส์ และซัพพลายเชนในโลกธุรกิ จยุค ใหม่. กรุงเทพมหานคร: อินฟอร์มเี ดีย บุ๊คส์. คณะกรรมการโลกว่าด้วยสิง่ แวดล้อมและการพัฒนา. 2530. “การพัฒนาแบบยังยื ่ นคือ อะไร.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า http://environment.exteen.com (19 มีนาคม 2555) คานาย อภิปรัชญาสกุล. 2549. โลจิ สติ กส์เพื่อการผลิ ต และการจัดการดาเนิ นงาน. กรุงเทพมหานคร: ซี.วาย.ซิซเทิม พริน้ ติง้ จากัด.


119

จามร สุวรรณฉาย. 2550. การประยุกต์ระบบต้นทุนตามกิ จกรรมกับธุรกิ จโลจิ สติ กส์ใน จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จิตต์ขจี บุญครอบ. 2539. การศึกษาการนาระบบบัญชีต้นทุนกิ จกรรมมาใช้ใน รัฐวิ สาหกิ จ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ฉัตรแสง ธนารักษ์โชค. ม.ป.ป. “พฤติ กรรมผู้บริ โภคในระบบทุนนิ ยม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaifactory.com/Person/Behavior.htm (21 มีนาคม 2555). ฐานเศรษฐกิจ. 2554. “ธุรกิ จไทยพร้อมแค่ไหนสู่ประชาคมอาเซียน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thanonline.com (19 มีนาคม 2555). ดวงมณี โกมารทัต. 2538. “หลักการบัญชีเพื่อสิ่ งแวดล้อม : มิ ติหนึ่ งของระบบบริ หาร สิ่ งแวดล้อม.” จุฬาลงกรณ์ธรุ กิ จปริ ทศั น์ . ดอกไม้ปลายปืน. 2553. “ผลกระทบของการเมืองต่ อเศรษฐกิ จไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.manager.co.th (18 มีนาคม 2555). ดังตฤณ. 2544. “ธรรมะใกล้ตวั .” [เข้าถึงได้จาก] http://www.prd.go.th/ewt_news.php?nid=16945 (19 มีนาคม 2555). ไทยพลับลิกา้ . 2554. “การควบคุมมลพิ ษเผยสถานการณ์มลพิ ษปี 2554 ขยะน่ าห่วงทัง้ ปี 16 ล้านตัน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://thaipublica.org/2011/12/report-pollution-2544 (19 มีนาคม 2555). ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2554. "ภาวะเศรษฐกิ จไทย 2554." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bot.or.th (19 มีนาคม 2555). ธนิต โสรัตน์. 2550. การประยุกต์ใช้โลจิ สติ กส์และโซ่อปุ ทาน. กรุงเทพมหานคร: ประชุม ทอง พริน้ ติง้ กรุป๊ .


120

นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล. 2550. หลักการบัญชีเพื่อการจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. นิฐนิ ันท์. 2553. “พีระมิ ด แห่งระบบ 'ทุนนิ ยม'.” [เข้าถึงได้จาก] http://nithinannote.exteen.com/20100308/entry-1 (21 มีนาคม 2555). นิรนาม. 2549. “เขตการค้าเสรี.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.okmd.or.th/th/knowledge _detail.asp?id=190 (22 มีนาคม 2555) นิรนาม. 2552. “GM สัญญาณการล่มสลายของระบบทุนนิ ยมสหรัฐ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://blog.nidalp11.com/2009/06/12/gm (21 มีนาคม 2555). นุจรินทร์ ฉิมพลอย. 2542. การจัดทางบประมาณดาเนิ นการตามระบบต้นทุนกิ จกรรม ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย กรณี ศึกษาโรงไฟฟ้ าแม่เมาะ จังหวัด ลาปาง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บุณกิ า จันทร์เกตุ. ม.ป.ป. “การสร้างจิ ตสาธารณะในสังคมไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.stou.ac.th/study/sumrit/8-54(500)/page1-8-54(500).html (17 มีนาคม 2555). ปรานอม บัวบานศรี. 2546. การประยุกต์ใช้ต้นทุนกิ จกรรมในสถานศึกษาเอกชน : กรณี ศึกษา โรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บญ ั ชี มหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปาริฉตั ต์ ศังขะนันทน์. 2548. “องค์กรอัจฉริ ยะ: องค์กรแห่งการเรียนรู้” [เข้าถึงได้จาก]. แหล่งทีม่ า http://www.km.kmutt.ac.th (21 มีนาคม 2555). ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม. 2552. “การลดต้นทุนเพื่อความยังยื ่ นของธุรกิ จ.” วารสารนัก บริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 29 (1)


121

พรรณี บัวเล็ก. ม.ป.ป. “พัฒนาการทุนนิ ยมในประเทศไทย พัฒนาการทุนนิ ยมใน ประเทศไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://research.krirk.ac.th/pdf (21 มีนาคม 2555). พัชนิจ เนาวพันธ์. 2552. บัญชีเพื่อการบริ หารธุรกิ จตามแนวคิ ดกระบวนการจัดการ เชิ งกลยุทธ์. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิชานัน อินโปธา. 2554. “บุกรุกป่ าวังน้าเขียว “เพิ่ มศักดิ์ ” สะท้อนรัฐทางานล้มเหลว.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaireform.in.th/2011-12-30-06-57-30/item/6223-201108-06-05-11-56.html (19 มีนาคม 2555). พิชติ เทพวรรณ์. 2548. “องค์การแห่งการเรียนรู้: แนวปฏิ บตั ิ ที่เป็ นเลิ ศสาหรับ นวัตกรรม” วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร [เข้าถึงได้จาก]. แหล่งทีม่ า http://www.chiangrai.ru.ac.th (21 มีนาคม 2555). พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์. 2553. การจัดการความรับผิ ดชอบต่อสังคมขององค์กร การสร้าง ข้อได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยังยื ่ น. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จากัด. พิไลพร ล้าฤทธิ ์. 2545. ปัญหาในการนาระบบต้นทุนกิ จกรรมมาประยุกต์ใช้ของ นักบัญชีเขต กรณี ศึกษา การไฟฟ้ านครหลวง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. ไพบูลย์ ผจงวงศ์. 2549. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์แสงดาว. มังกร โรจน์ประภากร. 2552. ระบบการผลิ ตแบบโตโยต้า (TOYOTA Production System). พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทยญีป่ นุ่ ). แปลจาก Toyota Seisan Houshiki wo Kangaeru Kai. n.d. Tokoton Yasashii Toyota Seisan Houshiki no Hon. Japan: THE NIKKAN KOGYO SHIMBUN LTD. ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . 2554. “ค่าสถิ ติภาวะสังคม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://social.nesdb.go.th/social/ (วันที่ 18 มีนาคม 2555).


122

รุธรี ์ พนมยงค์ และคณะ. 2548. “การวิ เคราะห์ต้นทุนตามระบบต้นทุนฐานกิ จกรรม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ าhttp://www.logisticscorner.com (23 มีนาคม 2555) วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. ระบบการบริ หารต้นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ไอโอนิค. วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. ระบบการบริ หารต้นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ไอโอนิค. วาสนา วิเศษสิงห์. 2543. แนวทางในการลดต้นทุนโดยใช้ระบบต้นทุนกิ จกรรม ของ บริ ษทั พิ บูลย์คอนกรีต จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. 2553. “หลักธรรมาภิ บาล.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.ocn.ubu.ac.th (18 มีนาคม 2555). สมนึก เอือ้ จิระพงษ์พนั ธ์. 2546. การบัญชีเพื่อการจัดการและการบริ หารต้นทุน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ธรรมนิติ เพรส. สมนึก เอือ้ จิระพงษ์พนั ธ์. 2554. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: วี.พริน้ ท์ (1991). สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. 2555. “ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน (AEC).” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thailog.org/wikilog/home.html (19 มีนาคม 2555). สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. 2554. “องค์กรเพื่อความโปร่งใสจัดอันดับไทยโกงกระฉูดจาก 78 สู่ 80ของโลก.” [เข้าถึงได้จาก]. www.siamintelligence.com (18 มีนาคม 2555). สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล. 2549. “Contract Manufacturing ความท้าทายใหม่ของการ แข่งขันและความอยู่รอดของธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก] http://www.brandage.com /Modules/DesktopModules/Article/ArticleDetail.aspx? tabID=2&ArticleID =1277&ModuleID=21&GroupID=567 (21 มีนาคม 2555).


123

สฤณี อาชวานันทกุล. 2554. “ความตกตา่ ของการศึกษาไทย: O-NET และ PISA บอกอะไรกับเรา.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tcijthai.com/column-article/721 (21 มีนาคม 2555) สฤณี อาชวานันทกุล. 2554. “ความตกตา่ ของการศึกษาไทย: O-NET และ PISA บอก อะไรกับเรา.” [เข้าถึงได้จาก] http://www.tcijthai.com/column-article/721. (21 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2544. "แผนพัฒนา เศรษฐกิ จและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555. “ภาวะสังคมไทย ไตรมาสสี่และภาพรวมปี 2555.” [เข้าถึงได้จาก]. http://social.nesdb.go.th (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. “รายงานสรุปสภาวะของ ประเทศ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th/Portals/0/home/interest/11/data_0344110811.pdf (22 มีนาคม 2555). สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม. 2553. “รายงาน สถานการณ์ คณ ุ ภาพสิ่ งแวดล้อม พ.ศ.2553.” [เข้าถึงได้จาก] http://www.onep.go.th (21 มีนาคม 2555). สานักงานเศรษฐกิจเกษตร. 2552. “ตารางแสดงผลการเจรจาเกษตร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oae.go.thwww.oae.go.th (19 มีนาคม 2555). สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. 2553. "การมีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ครัวเรือน." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nso.go.th (19 มีนาคม 2555).


124

สิรริ ตั น์ ศรีจกั รวาลวงษ์. 2545. ระบบบัญชีและการควบคุมทางการบัญชีของเหมือง แม่เมาะการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุดปราณี มณีศรี. 2545. แนวทางในการลดต้นทุนโดยใช้ระบบต้นทุนตามกิ จกรรม กรณี ศึกษา บริ ษทั วี.พี.เอฟ.กรุป๊ จากัด. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชา บัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุเมธ ตันติเวชกุล. 2554. “ประสบการณ์การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงด้าน การบริ หารองค์กร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.social.nesdb.th (19 มีนาคม 2555). เสกสิทธิ คูณศรี. ม.ป.ป. “ความสาคัญของการพัฒนาองค์กรด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.chanthaburi.go.th/redcross/article/IT.htm (21 มีนาคม 2555). เสาวนิต คาจันทา. 2549. “องค์การแห่งการเรียนรู้.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.songthai. Com (18 มีนาคม 2555). อนุธดิ า ประเสริฐศักดิ ์. 2554. “การลดต้นทุนเพื่อความยังยื ่ นของธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://kmctuaccounting.wordpress.com (18 มีนาคม 2555). อนุรกั ษ์ ทองสุโขวงศ์. 2548. “การบัญชีต้นทุน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://home.kku.ac.th (19 มีนาคม 2555). อัษรายุทธ มาสแก้ว. 2551. การปรับปรุงระบบต้นทุนการผลิ ตในโรงงานผลิ ต เฟอร์นิเจอร์โดยใช้ระบบต้นทุนกิ จกรรม กรณี ศึกษาบริ ษทั สยามมาสเตอร์ คอนกรีต จากัด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.


125

Chartered Institute of Management Accountants. 2011. “HOWMANAGEMENT ACCOUNTING DRIVES SUSTAINABLE SUCCESS.” http://www.cgma.org/BecomeACGMA/WhyCGMA/Pages/CGMA-aspx (21 มีนาคม 2555). Gladstone Thurston. 2010. "Bahamas World Trade Organisation (WTO) accession talks start." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thebahamasweekly.com/publish/bisnews-updates/World_Trade_Organisation_WTO12423.shtml (23 มีนาคม 2555) XR training & consultancy. 2012. “The Lean Enterprise.” [Available] http://xrtraining.com/main/showpage.php?tier1=lean+enterprise&path=leanenterpr iseoverview&page=gtwp_section_leader.htm (19 March 2012).



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.