ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2553

Page 1

Volume 3 July-September 10

หนี ้ สาธารณะ วารสาร

Public Private Partnerships (PPPs)


พระบรมราโชวาท

...ข้าราชการผูป้ ฏิบตั บิ ริหารงานของแผ่นดิน จะต้องรูต้ ระหนักแน่

ในการสละ อันได้แก่การสละสำคัญสองประการคือ สละเพื่อ

ประโยชน์ ส่ ว นรวมที่ ยิ่ ง ใหญ่ แ ละเหนื อ กว่ า ประโยชน์ ส่ ว นตั ว

ประการหนึง่ กับสละความคิดจิตใจทีต่ ำ่ ทรามต่างๆ อีกประการหนึง่

จึงเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจของคนทั้งปวงและสามารถดำรงตำแหน่ง

หน้าทีอ่ ย่างมีเกียรติ มีศกั ดิศ์ รี และมีความเจริญมัน่ คงตลอดไป...

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ข้าราชการ พลเรือน เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ปีพุทธศักราช ๒๕๔๘


สารจากบรรณาธิการ

สารบัญ

ดปีกเลยค่ะ วารสารหนีส้ าธารณะ ฉบับเวลาผ่ที่ท่าานถืนไปเร็ออยูวเหมื่นี้เป็อนตินวารสารเล่ ม ที่ 3 แล้ ว ค่ ะ คณะ-

บรรณาธิการต้องขอขอบคุณข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ข้อติตงิ ทุกๆ ข้อคิดเห็น รวมทั้งการร่วมสนุกที่ได้รับการตอบรับ

อย่างล้นหลาม สำหรับท่านผู้โชคดีที่ได้รับรางวัล 10 ท่าน

เราจะรีบส่งของที่ระลึกให้ถึงมือท่านโดยเร็ว เราสัญญาว่า

จะพยายามปรับปรุงรูปเล่มและเนือ้ หาให้ถกู ใจผูอ้ า่ นภายใต้

แนวทางการดำเนินงานของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ อย่างเต็มความสามารถ หนึ่งในข้อเสนอแนะที่ได้มีผู้เสนอเข้ามา คือ ขอให้มี บทความเกี่ยวกับแนวทางการลงทุนในรูปแบบต่างๆ ดิฉัน ต้องขอเรียนท่านผู้อ่านว่า สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ มีหน้าที่ในการระดมทุน หรือหาเงินเพื่อให้ภาครัฐมีเงิน ลงทุนในการดำเนินโครงการเพื่อพัฒนาประเทศ ฉะนั้น แนวทางการลงทุนที่จะสามารถนำมาเผยแพร่ก็จะเป็น การลงทุนสำหรับการดำเนินงานของภาครัฐ ซึ่งวารสาร ฉบับนี้ เราได้บรรจุเรื่องการลงทุนในรูปแบบการร่วมลงทุน

ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน (Public Private Partnerships) หรือที่เรียกกันว่า PPPs อย่ารอช้านะคะ วารสารฉบับนี้มีคำถามให้ท่านผู้อ่าน ได้ ร่ ว มสนุ ก อี ก เช่ นเคย คณะบรรณาธิการได้จัดเตรียม ของที่ระลึกให้ผู้ร่วมสนุก รายละเอียดมีอยู่ในเล่มเลยค่ะ สิริภา สัตยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักนโยบายและแผน

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิ สั ย ทั ศ น์ : เป็นมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ

เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน พั น ธกิ จ : บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยการ บริหารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการ ก่อหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาล หน่วยงาน ในกำกับดูแลของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และรัฐวิสาหกิจ ซึง่ รวมทัง้ การชำระหนีข้ องรัฐบาล และการติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะเป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความยั่งยืนทางการคลังและการ พัฒนาเศรษฐกิจ

P2 เรื่องจากปก>

การระดมทุนในรูปแบบ Public Private Partnerships (PPPs)

P5 English Pages

Local Government Financing Experience in Thailand

้สาธารณะ P8 <สถานะของหนี สถานะของหนี้สาธารณะ ณ 31 พฤษภาคม 2553

P10 มุมอร่อย

<มุมสุขภาพ ง P11 10แบบง่วิธาีหยๆ่างไกลอาการปวดหลั ด้วยตัวเอง เว็บไซต์สำนักงาน P12 รูบริ้จัหการหนี ้สาธารณะ Vocabulary P14 Interest(ing) อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ข่าวประชาสัมพันธ์ P15 จากสำนั กงาน บริหารหนี้สาธารณะ

P16 ธรรมะกับการงาน วารสารหนี้สาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป


เรื่องจากปก

การระดมทุนในรูปแบบ Public Private Partnerships (PPPs)

ในการจัดหาบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน รัฐบาลจำเป็น ต้ อ งลงทุ น โครงการลงทุ น พื้ น ฐานของภาครั ฐ โครงการเหล่ า นั้ น

มักเป็นโครงการขนาดใหญ่ อาทิ โครงการขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ (Mass Transit) และโครงการก่อสร้างทางรถไฟ ซึ่งต้องใช้เม็ดเงิน ลงทุนเป็นจำนวนมาก ในขณะที่ ว งเงิ น ที่ จ ะนำมาใช้ ล งทุ น จากงบประมาณรายจ่ า ย ประจำปีที่ได้จากการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลนั้นมีจำกัดและวงเงิน

ส่วนใหญ่ต้องจัดสรรให้กับรายจ่ายประจำสำหรับหน่วยงานต่างๆ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามภารกิจประจำ อาทิ เงินเดือน

ทำให้วงเงินงบประมาณมีเหลือเพือ่ การลงทุนค่อนข้างจำกัด ในแต่ละปี รัฐบาลจึงต้องจัดหาแหล่งเงินเพื่อลงทุนเพิ่มเติมนอกเหนือจากเงิน งบประมาณเพื่ อ มาดำเนิ น โครงการลงทุ น ขนาดใหญ่ ข องภาครั ฐ โดยแหล่งการระดมทุนของรัฐบาลไทยอาจมาจาก 1) เงิ น กู้ ต่ า งประเทศ: ได้ แ ก่ เงิ น กู้ จ ากสถาบั น ทางการเงิ น ระหว่างประเทศหรือรัฐบาลต่างประเทศ ได้แก่ ธนาคารโลก (World

Bank) ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) หรือรัฐบาลญี่ปุ่น โดยกู้ผ่านองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ ของญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency: JICA) เป็นต้น 2) เงิ น กู้ ภ ายในประเทศ: ทั้งการกู้ตรงจากธนาคารพาณิชย์ ภายในประเทศ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ และการออกพันธบัตร 3) การระดมทุนรูปแบบใหม่ๆ เช่น การเปิดให้ภาคเอกชนเข้า

ร่วมลงทุนในรูปแบบ Public Private Partnerships (PPPs) เป็นต้น ซึ่ ง บทความนี้ จ ะเล่ า เกี่ ย วกั บ แนวทางการระดมทุ น โดยอาศั ย ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ และภาคเอกชน (Public Private Partnerships: PPPs) อะไรคือ PPPs? การระดมทุนในรูปแบบ PPPs คือ การร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐ

และภาคเอกชนในกิจการของรัฐ โดยมักจะเป็นการให้เอกชนร่วมลงทุน ในการให้บริการสาธารณะในระยะยาว โดยมุ่งเน้นการให้บริการที่ม ี

ประสิทธิภาพคุม้ ค่ากับต้นทุนมากกว่าภาครัฐดำเนินการเอง โดยเอกชน จะเข้ามามีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ เช่น การก่อสร้าง การดำเนินการ การบำรุงรักษา การจัดหาเงินทุน และการให้บริการตลอดระยะเวลา ของสัญญา ในบางกรณีภาครัฐอาจจะต้องจ่ายค่าจ้างบริหารให้แก่ เอกชน (Unitary Payment) หรือภาคเอกชนอาจมีการจ่ายส่วนแบ่ง รายได้ให้ภาครัฐได้เช่นกันในกรณีที่สามารถเรียกเก็บค่าบริการจาก ผู้ใช้ โดยการดำเนินงานในรูปแบบ PPPs มีลักษณะดังนี้ • ภาครัฐและเอกชนทำสัญญาร่วมลงทุนในโครงการระยะยาว • มีการโอนความเสี่ยงในด้านการก่อสร้างและการดำเนินการ ในโครงการที่ภาครัฐต้องดำเนินการด้านบริการสาธารณะให้เอกชน รั บ ภาระบางส่ ว นหรื อ ทั้ ง หมดขึ้ น กั บ ความสามารถในการบริ ห าร ความเสี่ยงระหว่างภาครัฐกับเอกชน • ภาครัฐอาจจะต้องจ่ายค่าจ้างบริหารให้แก่เอกชน (Unitary


เรื่อง : กุลกานต์ อร่ามทอง เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

Payment) หรือภาคเอกชนอาจมีการจ่ายส่วนแบ่งรายได้ให้ภาครัฐ ได้เช่นกันในกรณีที่สามารถเรียกเก็บค่าบริการจากผู้ใช้ • เอกชนจะถูกปรับและไม่ได้รับเงินค่าซื้อบริการจากรัฐ (Unitary Payment) กรณีที่มาตรฐานการให้บริการไม่เป็นไปตามสัญญา • เอกชนโอนคืนทรัพย์สินให้แก่รัฐเมื่อสิ้นสุดสัญญาหรือตามที ่

ระบุไว้เป็นอย่างอื่น รูปแบบของ PPPs รูปแบบการดำเนินโครงการ PPP สามารถดำเนินการได้หลาย รูปแบบ โดยภาคเอกชนจะมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบครอบคลุมทัง้ หมด หรือบางส่วนตามความเหมาะสมของแต่ละโครงการและการบริหาร ความเสี่ยงระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในแต่ละด้าน โดยรูปแบบ ที่ใช้กันโดยทั่วไปประกอบด้วย 1) Build - Transfer - Operate (BTO) เป็นรูปแบบที่ความเป็น เจ้าของโครงการจะถูกโอนเป็นของรัฐเมื่อสร้างเสร็จ โดยเอกชนผู้รับ

สัมปทานจะได้รับสิทธิในการดำเนินงานตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ ในสั ญ ญา โดยเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบทั้ ง ในด้ า นเงิ น ทุ น การออกแบบ และดำเนินการก่อสร้าง 2) Build - Operate - Transfer (BOT) เป็นรูปแบบที่เอกชน ผู้ รั บ สั ม ปทานจะถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ใ นสิ น ทรั พ ย์ ต ลอดระยะเวลาที่ ใ ห้

บริ ก าร และมี ค วามเป็ น เจ้ า ของสิ น ทรั พ ย์ นั้ น ไปจนกระทั่ ง สิ้ น สุ ด ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญา 3) Designed - Build - Finance - Operate (DBFO) เป็นรูปแบบ ที่นิยมใช้กันมากที่สุด ซึ่งภาคเอกชนมีส่วนร่วมมากที่สุดเมื่อเทียบกับ

รูปแบบ PPPs อื่นๆ เนื่องจากภาครัฐให้เอกชนดำเนินการตั้งแต่การ ออกแบบ ก่อสร้าง จัดหาเงินทุน และดำเนินการให้บริการสาธารณะ ภายใต้สญ ั ญา ซึง่ ภาคเอกชนจะลงทุนผ่านการจัดตัง้ Special Purpose Vehicle (SPV) ขึน้ มาบริหารจัดการโครงการ ประกอบด้วย การก่อสร้าง การบำรุงรักษา และการให้บริการ และเมื่อสิ้นสุดสัญญา เอกชน จะต้องโอนทรัพย์สินคืนให้แก่ภาครัฐ โดยภาครัฐจะทำหน้าที่กำหนด ผลผลิตหรือบริการและการชำระเงินให้เอกชนตามผลผลิตหรือบริการ ที่ส่งมอบ 4) Build - Own - Operate (BOO) เป็นรูปแบบที่เอกชนผู้รับ

สั ม ปทานมี ห น้ า ที่ ใ นการจั ด หาแหล่ ง เงิ น ทุ น ออกแบบ ก่ อ สร้ า ง

ดำเนินการ และบำรุงรักษาทรัพย์สินของโครงการ โดยมีความเป็น เจ้าของสินทรัพย์ และดำเนินการให้บริการภายหลังจากการก่อสร้าง- แล้วเสร็จ จากนั้นภาครัฐจะเป็นผู้รับซื้อผลผลิตจากภาคเอกชนนั้น ทั้งนี้ ไม่มีข้อกำหนดในการโอนย้ายสินทรัพย์กลับเป็นของรัฐภายหลัง

สิ้นสุดสัญญา

ระดับการมีส่วนร่วมและความเป็นเจ้าของเอกชน

ที่มา: บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษาธุรกิจ จำกัด (2552)

ประโยชน์ของ PPPs การระดมทุนในรูปแบบ PPPs ถือเป็นการระดมทุนรูปแบบใหม่ 3 ที่มีผู้ให้ความสนใจค่อนข้างมาก เห็นได้จากประเทศต่างๆ ได้นำ แนวคิดของการระดมทุนในรูปแบบ PPPs ไปใช้กบั โครงการขนาดใหญ่ ภาครัฐ เช่น สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย สาธารณรัฐแอฟริกาใต้

และสาธารณรัฐเกาหลี เป็นต้น นอกจากนี้ การระดมทุนในรูปแบบ ดังกล่าวได้รบั การยอมรับจากทัว่ โลกว่าช่วยลดข้อจำกัดด้านงบประมาณ และการก่ อ หนี้ ส าธารณะของภาครั ฐ โดยเฉพาะในช่ ว งที่ รั ฐ บาล มีขอ้ จำกัดด้านเม็ดเงินลงทุน และไม่สามารถจัดเก็บรายได้ให้เพียงพอ ต่อความต้องการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการลงทุนในรูปแบบ PPPs ช่วยให้รฐั บาลสามารถขยายการลงทุน ในโครงการพื้นฐานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อความ ต้องการของประชาชน ซึ่งการดำเนินโครงการในรูปแบบ PPPs ก่อให้

เกิดประโยชน์หลายประการ โดยอาจพิจารณาในแต่ละด้านดังนี้ 1) ประโยชน์ต่อภาครัฐ: การให้เอกชนดำเนินงานตั้งแต่เริ่มต้น

โครงการ (ออกแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษา ดำเนินการ) จะช่วยให้ ประหยั ด ต้ น ทุ น ได้ เนื่ อ งจากเอกชนรายนั้ น จะสามารถออกแบบ เพื่อก่อให้เกิดการประหยัดในการดำเนินโครงการ รวมทั้ง รัฐบาลไม่มี ภาระค่าใช้จา่ ยหรือการลงทุนจนกว่าการก่อสร้างจะดำเนินการแล้วเสร็จ นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดการแบ่งหน้าที่การบริหารความเสี่ยงให้กับ

ผู้ที่มีความสามารถบริหารแต่ละปัจจัยเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่ า ระหว่ า งภาครั ฐ และภาคเอกชน รวมทั้ ง ลดปั ญ หาความ ล่ า ช้ า และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของโครงการ เนื่ อ งจากเอกชนต้ อ ง บริหารจัดการเงินด้วยตนเอง จึงมีแรงจูงใจให้ก่อสร้างให้แล้วเสร็จ

ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดค่าใช้จ่ายและภาระดอกเบี้ย และเพื่ อ ให้ ส ามารถเรี ย กเก็ บ ค่ า บริ ก ารจากรั ฐ ได้ เ ร็ ว ขึ้ น หลั ง จาก เริ่มดำเนินโครงการ


รูปภาพ: การเปรียบเทียบต้นทุนระหว่างการจัดซื้อจัดจ้าง

แบบเดิมและการดำเนินโครงการในรูปแบบ PPPs

ตัวอย่างโครงการลงทุนในรูปแบบ PPPs ในประเทศไทย สำหรับประเทศไทยโครงการ PPP ที่เกิดขึ้นและเป็นที่รู้จักกันดีคือ โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (โครงการรถไฟฟ้า สายสีน้ำเงิน) โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) รับภาระในด้านงานโยธา และเอกชนโดยบริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BMCL) รับภาระด้านตัวรถ (Rolling Stock) และการบริหาร จัดการการเดินรถ (Operation) โดยเป็นการลงทุนในรูปแบบ BTO

และระยะเวลาสัมปทาน 25 ปี

ตัวอย่างโครงการลงทุนในรูปแบบ PPPs ในต่างประเทศ • สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรเป็นประเทศที่ได้ริเริ่มการระดมทุนในรูปแบบ 2) ประโยชน์ต่อภาคเอกชน: การดำเนินโครงการในรูปแบบ PPPs จึงมีโครงการ PPP อยูเ่ ป็นจำนวนกว่า 800 โครงการ ในหลากหลาย PPPs จะเป็นการเพิ่มโอกาสการทำธุรกิจให้ภาคเอกชนในการให้ สาขา เช่น การศึกษา สาธารณสุข ที่อยู่อาศัย เป็นต้น ในบทความนี ้

บริการสาธารณะด้วยความมีประสิทธิภาพและในบางครั้งที่สภาพ ขอยกตัวอย่างโครงการ PPP ทีป่ ระสบความสำเร็จของสหราชอาณาจักร เศรษฐกิ จ เริ่ ม ชะลอตั ว จะถื อ ว่ า เป็ น การสนั บ สนุ น เศรษฐกิ จ ของ ได้แก่ โครงการ London Borough of Enfield-Highlands School

ประเทศโดยการส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมลงทุนในโครงการ ซึ่งเป็นโครงการ PPP ในรูปแบบ DBFO โดยเป็นการก่อสร้างโรงเรียน ของภาครัฐ ระดับ Secondary สำหรับนักเรียน 1,240 คน ระยะเวลาสัมปทาน 3) ประโยชน์ ต่ อ ประชาชน: ประชาชนจะได้ รั บ บริ ก ารที่ มี 25 ปี • สาธารณรัฐเกาหลี 4 ประสิ ท ธิ ภ าพและมี ม าตรฐานเนื่ อ งจากโครงการ PPP เป็ น การ ดำเนิ น งานและให้ บ ริ ก ารโดยรวมความเชี่ ย วชาญของทั้ ง ภาครั ฐ

สาธารณรั ฐ เกาหลี ไ ด้ เ ปิ ด ให้ เ อกชนเข้ า ร่ ว มลงทุ น อย่ า งจริ ง จั ง และภาคเอกชนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เมื่อปี 2542 จนถึงปัจจุบัน และมีโครงการ PPP เกิดขึ้นแล้วกว่า ประสิทธิผล และค่าบริการที่ภาคเอกชนจะได้รับมาจากการคำนวณ 170 โครงการ และเน้นการลงทุน PPPs ในรูปแบบ BTO และ BTL บนพื้นฐานของคุณภาพการให้บริการ โดยค่าตอบแทนจะถูกหักทันที (Build-Transfer-Lease) ในที่นี้ขอยกตัวอย่างโครงการ Cheonan- หากไม่สามารถให้บริการตามมาตรฐานที่ภาครัฐกำหนด Nonsan Highway ซึ่งเป็นการก่อสร้างถนน 4 ช่องทางทั้งไปและ กลับ รวมทั้งสะพาน สัญญาณ ป้ายจราจร ระยะทาง 81 กิโลเมตร โดยเป็นการลงทุนในรูปแบบ BTO ระยะเวลาสัมปทาน 30 ปี การระดมทุนในรูปแบบ PPPs ดูจะเป็นเหมือนทางออกที่สำคัญ สำหรับรัฐบาลไทยในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี รัฐบาลควรจะต้องคำนึงถึง ผลกระทบของการระดมทุนในรูปแบบ PPPs ต่อภาระทางการคลัง ของภาครัฐด้วย เนื่องจากรัฐบาลต้องผูกพันสัญญาการจ่ายเงินค่า บริ ก ารกั บ ภาคเอกชนเป็ น ระยะเวลายาว รวมทั้ ง การจ่ ายคื น ภาค เอกชนไม่ได้ถูกนับเข้ามาเป็นหนี้สาธารณะซึ่งในทางปฏิบัติถือเป็น ความเสี่ยงทางการคลังชนิดหนึ่ง เนื่องจากเป็นภาระผูกพันที่รัฐยังคง ต้องรับผิดชอบต้องจ่ายในอนาคต (Contingent Liability) ดังนั้น หากคิดแต่จะเร่งทำโครงการ PPP โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบดังกล่าว รัฐบาลอาจจะต้องเป็นหนี้ภาคเอกชนมากกว่าที่คิดก็เป็นได้ ที่มา: HM Treasury ประเทศอังกฤษ


English Pages Story: Prapop Anantakoon Senior Economist Project Loan Operation Bureau

Local Government Financing Experience in Thailand

The process of fiscal decentralization of Local Government Unit (LGU) evolved during the promulgation of the Decentralization Plan and Process Act of 1999 (Decentralization Act of 1999) per chartered by the 1997 Constitution of the Kingdom of Thailand. The division of LGU’ responsibility, revenue collection and entitlement has become more defined and self autonomous. The Act encourages greater autonomy for the LGU and specifies the process of decentralization. In addition, the Act categorizes local governments into 5 different tiers: 3 types of LGU and 2 Special Administrative Regions. Under the new division, Thailand divides into 75 provinces including Bangkok Metropolitan Administration (BMA), 144 municipalities, 2761 subdistrict and 1 special economic administration city namely, Pattaya City. Subsequently, LGUs are entitled to earn the revenue in the 4 following areas: (i) Local own-source revenue (taxes, fees, charges, permits, fines, and etc); (ii) Local revenue collected by National agencies (VAT, excises, vehicles fees, land registration and etc.); (iii) Shared taxes; and (iv) Grant. In addition, LGU can raise revenue by profit generating by LGU State enterprise, domestic loan, bond issuance, foreign loan and grant, subsidy, transfers and donation. Division of LGU in Thailand

Source: Ministry of Interior

5


6

LGU administration and fiscal affair of Provincial Administration Authority (PAO), Municipality and Tambon Administration Authority (TAO) are under the supervision of Ministry of Interior, while BMA and Pattaya City are independently monitored by the appointed Council. Traditionally, LGU appropriates the Balanced Budgeting per its disciplinary accounting regulation. However, the Decentralization act provides the window for borrowing for all LGU, which is subject to an approval process by the council and provincial governor. Aside from borrowing from Specialized Financial Institution or commercial bank, LGU can also borrow from Ministry of Interior (MOI)’s Provincial and Municipality Cooperative Funds. The MOI established the Cooperative Funds for PAO and Municipality for the LGU to borrow in case of the revenue shortfall during the fiscal year and the financing of investment projects. The PAO and Municipality are required to contribute around 10% of the proceeds from surplus to the Fund on annual basis. To encourage LGU financial discipline, MOI chartered the LGU borrowing guideline as a rational decision making tool for Provincial governor to concur the annual LGU borrowing plan. The borrowing criteria is based on the financial performance of revenue collection, capital budget disbursement and borrowing ceiling (debt service shall not exceed 35% of Capital Budgeting). When applying for loan application from commercial bank, LGU must comply with the bank’s regulation in providing collateral asset against the lending. Under such circumstance, the bank would require collateral in the form of Time Saving Deposit account or Guarantee of the loan by LGU chief. Most of the LGU borrowing finances the construction cost of LGU’s office and other infrastructure development projects. Among other popular investment project is the community fresh market that its rental revenue would subsidize the Project’s debt service. The average borrowing sum is around 30-500 million Baht. In general, LGU has had greater access to the financial markets as a result of the variety of financial products available in the market. Several municipalities express the interest to use Municipal bond as an alternative financing tool. Comparing to LGU Bond issuance experience in the neighbour countries, the Philippines is the most active player in the Local Government bond market in Southeast Asia. There are standard rules and regulations from central bank and Security Exchange Commission (SEC). The Philippines government also provides an innovative mechanism by setting up the Local government Guarantee Corporation for Local government loans and bonds. However, the issued amount is rather small ranging from 30-500 million


peso, which has potential to develop into the benchmark bond for Local government. Thailand government bond market has grown significantly since the financial crisis in 1997. However, the borrowing by local government is still at its early stage. There are no clear rules and regulations on issuance, compliance and supervision. From the market sounding the municipal bond should be sizable around 1 billion baht to attract the investor, which is equivalent to the average size of corporate debenture in Thailand. It is likely that the only high income LGU such as BMA or municipalities are able to issue municipal bond. The borrowing cost of the loan is generally lower than bond issuance. Bond issuances shall subsidize other related fees such as rating fee, auditor fee and clearing and settlement fee. Therefore, the commercial lending in money market is more popular and easily accessible without restriction to the loan size. With ongoing efforts to provide the LGU with financing infrastructure as well as to encourage fiscal discipline, Public Debt Management Office (PDMO) is currently revising the draft regulations of LGU Borrowing and LGU Bond Issuance. The regulations are chartered by the provision on Article 35 (3) of Public Debt Management Act B.E. 2548 to provide the borrowing regulations for government agencies, state enterprise, public organization and LGU. The regulations shall provide the borrowing instruction as well as borrowing limit to LGU. PDMO also works in collaboration with MOI and SEC and other experts to smoothen out the hurdle of LGU regulations. PDMO expects to finalize the draft of borrowing guideline by the end of the year 2010.

7


สถานะของหนี้สาธารณะ (ณ 31 พฤษภาคม 2553) เรื่อง : ศิรี จงดี เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักนโยบายและแผน

สถานะของหนี ้สาธารณะ ณ 31 พฤษภาคม 2553

8

ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2553 หนี้สาธารณะคงค้างมีจำนวนทั้งสิ้น 4,144.26 พันล้านบาท

หรือร้อยละ 42.59 ของ GDP โดยสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างประกอบด้วย หนี้ที่รัฐบาลกู้

โดยตรง 2,806.66 พันล้านบาท หรือร้อยละ 67.73 ของหนี้สาธารณะคงค้าง หนี้รัฐวิสาหกิจ

ทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงิน (SOEs) 1,097.57 พันล้านบาท หรือร้อยละ 26.48 ของหนีส้ าธารณะ

คงค้าง หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) (SFIs) 178.40 พันล้านบาท

หรือร้อยละ 4.3 ของหนี้สาธารณะคงค้าง และหนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ

สถาบันการเงิน (FIDF) 61.64 พันล้านบาท หรือร้อยละ 1.49 ของหนี้สาธารณะคงค้าง รายการ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

วงเงิน (พันล้าน) 2,806.66 1,097.57 178.40 61.64

องค์ประกอบหนี้สาธารณะคงค้าง 26% Direct Government Debt Non Financial SOEs SFIs Guaranteed Debt FIDF

ร้อยละ 67.73 26.48

4%

4.30 1.49

1% 68%


แนวทางการบริหารหนี้สาธารณะ Refinance

เป็นการเปลี่ยนเงื่อนไขเงินกู้ โดยการกู้เงินใหม่เพื่อมาชำระหนี้เดิม ทั้งนี้ เงื่อนไขเงินกู้ใหม่ควรเป็น ประโยชน์แก่ผู้กู้มากกว่าเงื่อนไขเงินกู้เดิม เช่น อัตราดอกเบี้ยลดลง ทำให้ประหยัดต้นทุนเงินกู้ เป็นต้น Rollover เป็นการยืดอายุเงินกู้ โดยการกู้เงินใหม่เพื่อมาชำระหนี้เดิมเมื่อเงินกู้ครบกำหนดอายุ ซึ่งมีประโยชน์ ทำให้ลดภาระการชำระหนี้ในช่วงเวลาหนึ่ง Prepayment

เป็นการชำระคืนเงินกู้ก่อนครบกำหนดอายุ ซึ่งเป็นประโยชน์ทำให้ลดภาระดอกเบี้ยในอนาคต และเป็นการปิดความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนในกรณีที่เป็นหนี้สกุลเงินต่างประเทศและความเสี่ยง ด้านอัตราดอกเบี้ยในกรณีหนี้อัตราดอกเบี้ยลอยตัว Interest Rate Swap (IRS)

เป็นธุรกรรมสัญญาแลกเปลีย่ นภาระดอกเบีย้ ในสกุลเงินเดียวกันระหว่าง 2 ฝ่าย ซึง่ ฝ่ายหนึง่ จะตกลง จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่และอีกฝ่ายจะตกลงจ่ายดอกเบี้ยในอัตราลอยตัว เช่น ผู้กู้ที่มีภาระดอกเบี้ย ลอยตัวสามารถปิดความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยโดยแลกเปลี่ยนภาระดอกเบี้ยให้เป็นอัตราคงที่กับ ธนาคารผู้ร่วมสัญญา เป็นต้น Cross Currency Swap (CCS)

เป็นธุรกรรมสัญญาแลกเปลี่ยนภาระหนี้ในเงินตรา 2 สกุลระหว่าง 2 ฝ่าย โดยฝ่ายหนึ่งจะตกลง จ่ายภาระหนี้ในสกุลเงินหนึ่งเพื่อแลกเปลี่ยนกับอีกฝ่ายที่ตกลงจ่ายภาระหนี้ในอีกสกุลเงิน เช่น ผู้กู้มีหนี้ สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ และขอทำ CCS กับธนาคาร โดยตกลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน ในวันทำสัญญา ทำให้ผู้กู้สามารถแปลงหนี้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐดังกล่าวเป็นภาระหนี้สกุลเงินใน ประเทศได้ เป็นต้น

9


มุมอร่อย เรื ่อง : อัญวรรณ ทองบุญรอด

Muso Japanese Restaurant

by Musoularb Suan-kฐศิริ สามเสนใน

เศรษ 47/1 ถนน กทม.10400 พญาไท ennai,

Rd., Sams 0 i ir s th e S 040 47/1 Bangkok 1 Phayathai, 9-9941 0-261

หากคิดว่าการไปกินเนื้อย่างจะต้องได้กลิ่นควันติดผมเผ้าเนื้อตัวเป็นของแถม กลับมาทุกครั้งไปล่ะก็... หยุดความคิดนั้นไว้สักแวบใหญ่ๆ ได้เลย เพราะแถวซอย เศรษฐศิริ ย่านสามเสน มีรา้ นเนือ้ ย่างยากินคิ ทุ เี่ พิง่ เปิดใหม่ได้เพียง 3 เดือน แต่คอนเซปต์ และการบริการเป็นเลิศสุดๆ เรื่องการเอาใจใส่รายละเอียดต้องยกให้เป็นที่หนึ่งสำหรับ Muso Japanese

Restaurant ร้านอาหารญี่ปุ่นที่มีบุฟเฟ่ต์ยากินิคุและชาบูให้ลูกค้าเลือกอิ่มได้ตาม ต้องการ เจ้าของร้านเล่าให้ฟังว่าหลังจากธุรกิจครอบครัวประสบความสำเร็จกับ

ร้านอาหารไทยที่ชื่อ สวนกุหลาบ มากว่า 50 ปี จึงอยากหันมาลองเปลี่ยนทำอาหาร ประเภทนีด้ บู า้ ง โดยเลือกเชฟคนไทยทีเ่ ชีย่ วชาญด้านอาหารญีป่ นุ่ เข้ามาช่วยพัฒนา สูตรให้เป็นรสชาติที่ถูกปากคนไทยด้วยกัน เนื้อที่กว้างๆ ภายนอกตัวบ้านเดี่ยวหลังคาปีกนกหลังนี้ถูกใช้เป็นลานจอดรถ จุได้ประมาณ 15 คัน แวดล้อมด้วยแมกไม้สีเขียวปะปนอยู่กับของตกแต่งน่ารักๆ ทำเอาแขกไปใครมาจะต้องแวะถ่ายรูปก่อนอย่างกับเป็นกฎ แต่ภายในตัวบ้านยังคง โครงสร้างเดิมไว้ เพียงเพิ่มการปรับปรุงใหม่ให้ทันสมัยและเสริมบรรยากาศความ เป็นญี่ปุ่นมากขึ้นเท่านั้น ได้แก่ พื้นไม้ทั้งชั้นล่างและชั้นลอยที่แบ่งไว้ให้เป็นโซน จัดเลี้ยงไพรเวทสำหรับลูกค้ากลุ่มใหญ่ประมาณ 40-50 คน รวมไปถึงโต๊ะ เก้าอี้

และของตกแต่ง ก็ยังเป็นไม้ทั้งหมดเพื่อให้เข้ากัน ฝั่งขวาคือโซนชาบูสำหรับเมนูต้มอย่างเนื้อวัว หมูสันคอ หมูสามชั้น หมูเด้ง ลูกชิ้นปลาแซลมอน และเต้าหู้ปลา ส่วนฝั่งซ้ายคือโซนยากินิคุสำหรับเมนูปิ้งย่าง ที่ใช้วัตถุดิบชั้นดีทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นปลาแซลมอนจากนอร์เวย์ เนื้อวัวสไลด์บางๆ

หมูสันคอ ซี่โครงหมู ไก่หมัก กุ้งสด หรือปลาหมึก นำมาหมักคลุกเคล้ากับซอส 4 แบบก่อนนำลงไปย่างจะได้ความหอมอร่อยจับใจ ทั้งซอสมูโซะปรุงรส พิเศษเหมาะกับอาหารทุกจาน ซอสเพสโตเหมาะกับปลาหมึก เนยกระเทียม เหมาะกับปลาแซลมอน และเกลือเหมาะกับเนื้อหมู เนื้อแกะ คีบด้วย ตะเกียบพลิกซ้ายพลิกขวากันไปอย่างสนุกสนานโดยไม่ต้องกังวลเรื่องกลิ่น หรือควัน เพราะนอกจากร้านจะมีพื้นที่กว้าง ปลอดโปร่ง ระบายอากาศ ได้ดีแล้ว เหนือเตาย่างยังมีหลอดไฟรูปร่างสวยที่เสริมออพชั่นด้วยการเป็น เครื่องฟอกอากาศดูดควันอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีเมนู A La Carte สำหรับมื้อกลางวันที่รวดเร็ว หรือคนที่ต้องการ มื้อเล็กลงมาหน่อย เจ้าของร้านก็ภูมิใจนำเสนอเนื้อวัวคาลบิชอร์ตริบ เนื้อแกะ ออสเตรเลีย ปลาหิมะเทอริยากิ มูโซะมากิ หนังปลาแซลมอนมากิ ซูชิ และข้าวหน้าเนือ้ นำเข้าจากอเมริกา จะชวนเพื่อนฝูงมาแข่งกันต้ม แข่งกันย่างก็คงจะเฮฮาไม่เบา แต่ถ้าพาครอบครัวมาทานกันพร้อมหน้าก็คงจะอบอุ่นไปอีกแบบ โดยเฉพาะหากมี ผูใ้ หญ่ในบ้านทีต่ อ้ งนัง่ วีลแชร์ พืน้ ทีท่ างเดินกว้างๆ นีเ้ ขาก็จดั ไว้อำนวยความสะดวก เราสุ ด ๆ แต่ จ ะสะดวกกว่ า สำหรั บ คนทำงานย่ า นนี้ ที่ ไ ม่ อ ยากฝ่ า แดดร้ อ นเดิ น

ออกมาให้เสียเหงื่อ ทางร้านก็เอาใจด้วยบริการเดลิเวอรี่เซตเมนูกลางวันอย่าง อุด้ง ราเมน หรือซูชิ จัดเป็นเบนโตะแล้วไปเสิร์ฟให้ถึงที่เลยทีเดียวหากสั่ง 50 ชุดขึ้นไป แอบกระซิบว่าทั้งหมดนี้ราคาไม่แพงอย่างที่คิด บุฟเฟ่ต์เนื้อย่าง 399 บาท บุฟเฟ่ต์ชาบู 299 บาท และเครื่องดื่มเพียง 29 บาท แต่ความอิ่มนั้นคุ้มเกินคุ้ม

ถ้าเราไม่มัวคุยเพลินแล้วทำเนื้อไหม้ดำเกรียมไปเสียก่อน อย่างนี้สิเขาถึงจะเรียกว่า

สมน้ำสมเนื้อ (ย่าง)!!


มุมสุขภาพ เรื่อง : เบญจวรรณ วงศ์บุญฯ

วิธีห่างไกลอาการปวดหลัง แบบง่ายๆ ด้วยตัวเอง ด้วยชีวิตอันเร่งรีบของมนุษย์เงินเดือนในปัจจุบัน ที่เอาแต่

คร่ ำ เคร่ ง เร่ ง แก้ ปั ญ หาในการงานที่ ต้ อ งสะสางในแต่ ล ะวั น

ให้ลลุ ว่ ง จนหลายครัง้ ก็ละเลยการดูแลสุขภาพของตัวเองไปบ้าง

ซึง่ ปัญหาเกีย่ วกับร่างกายทีค่ นทำงานนัง่ โต๊ะในห้องแอร์เย็นเฉียบ

อย่างเราๆ พบเจอบ่อยๆ (แต่อาจจะไม่กล้าพูดออกมาเพราะ

เกรงว่าเพื่อนข้างๆ จะครหาว่าเป็นอาการของคนแก่) ก็คือ

อาการปวดหลัง ซึ่งอาการนี้เรามักจะไม่ให้ความสำคัญเท่าไร

เพราะคิดว่านัง่ ผิดท่านิดหน่อย เดีย๋ วสักแป๊บอาการก็หายไปเอง

แต่ ใ นความเป็ น จริ ง แล้ ว อาการปวดหลั ง ที่ พ บกั น ส่ ว นมาก

มี ส าเหตุ ม าจากการนั่ ง ในท่ า ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง การยื น ในท่ า ที่ ผิ ด

หรือแม้กระทั่งการต้องยกของหนักๆ ในชีวิตประจำวัน เหล่านี้

ล้ ว นเป็ น ต้ น เหตุ ข องอาการปวดหลั ง ทั้ ง สิ้ น ซึ่ ง จริ ง ๆ แล้ ว

หากเราปฏิบัติตามวิธีการนั่ง ยืน และเคลื่อนไหวร่างกายให้

ถูกต้อง อาการปวดหลังที่เราต้องเผชิญอยู่ทุกวันก็จะหายไป ในฉบับนี้เราจึงมีวิธีปฏิบัติตัวง่ายๆ มาให้สาวๆ หนุ่มๆ

ทีก่ ำลังมีอาการปวดหลัง ปวดไหล่ได้นำไปใช้ให้ถกู ต้อง แถมยัง

เป็นการสร้างบุคลิกภาพที่ดีให้กับตัวเราเองด้วยนะคะ 1. ในขณะนั่งทำงาน ควรนั่งให้ชิดกับโต๊ะ

ทำงาน ความสู ง ของเก้ า อี้ ต้ อ งพอเหมาะ ให้เท้าทั้งสองวางราบกับพื้น และระดับของ หัวเข่าอยูต่ ำ่ กว่าระดับสะโพกเล็กน้อย และจำไว้ เสมอว่าเราต้องนั่งตัวตรง และพยายามรักษา ส่ ว นเว้ า ของกระดู ก สั น หลั ง บริ เ วณเอวไว้ เพราะหากส่ ว นเว้ า นั้ น ลดลงจะทำให้ ห ลั ง แบนราบ และทำให้เกิดอาการปวดเรื้อรังได้ 2. ไม่ควรนัง่ ในท่าเดิม หรือยืนในท่าเดิมเป็นเวลานาน ควรเปลีย่ น อิริยาบถอยู่เสมอ 3. การลุกจากเก้าอี้ที่ถูกต้องนั้น ควรเลื่อนสะโพกออกมานั่งที ่

ขอบเก้าอีก้ อ่ น แล้วจึงค่อยลุกขึน้ ยืน โดยให้หลังและศีรษะอยูใ่ นท่าตรง แล้วใช้มือทั้งสองยันตัวลุกขึ้นยืน 4. ไม่ควรนั่งเก้าอี้ที่เบาะนั่งมีความลึกมากเกินไป หรือเก้าอี้ที่เตี้ย

เกินไป เพราะเก้าอี้ลักษณะนี้จะไม่สามารถรองรับหลังได้ดี และยัง ทำให้การลุกขึ้นจากเก้าอี้จะต้องก้มโน้มตัวไปข้างหน้า ซึ่งเป็นสิ่งที ่

ควรหลีกเลี่ยง

5. ในการนั่งเก้าอี้ทำงาน เราควรนั่งเก้าอี้ที่ไม่นิ่มจนเกินไปเพราะ เก้าอี้ที่นิ่มเกินจะไม่รองรับกระดูกสันหลัง และควรนั่งเก้าอี้ที่มีพนัก

รองรับส่วนโค้งของหลัง หรือไม่ก็ควรใช้หมอนรองหลังหรือม้วนผ้า- ขนหนู ส อดไว้ ที่ ห ลั ง ส่ ว นล่ า ง วิ ธี นี้ จ ะช่ ว ยให้ ก ระดู ก สั น หลังอยู่ใน ตำแหน่งที่ถูกต้อง 6. หากนัง่ ทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ ควรให้ขอบบนของจอมอนิเตอร์ อยู่ในระดับสายตา แป้นพิมพ์อยู่ในระดับที่ข้อศอกงอประมาณ 90

องศา 7. ในกรณี ที่ ต้ อ งยื น ทำงาน ไม่ ค วรยื น ท่ า เดี ย วเป็ น เวลานาน ควรเปลีย่ นท่ายืนบ่อยๆ และไม่ยนื ตัวงอ หรือก้มตัวไปทำงานข้างหน้า ควรปรับขนาดโต๊ะทำงานให้มีความสูงพอเหมาะ 8. ในการขับรถ ท่านั่งขับรถต้องนั่งตัวตรง และรักษาให้กระดูก- สั น หลั ง อยู่ ใ นท่ า สมดุ ล ปรั บ เบาะนั่ ง ให้ อ ยู่ ใ นท่ า เอนไปข้ า งหลั ง 11 เล็กน้อย และเลื่อนเบาะเก้าอี้ไปด้านหน้าให้พอเหมาะกับความยาว ของขาเพื่อจะได้ไม่ต้องยื่นมือหรือขามากเกินขณะขับ 9. หากมีความจำเป็นต้องยกของในที่ทำงาน หรือที่บ้าน ควรใช้ กล้ามเนื้อขาเป็นตัวยกน้ำหนัก ห้ามใช้กล้ามเนื้อหลังเด็ดขาด และ ในขณะทำการยกของ ให้ถือน้ำหนักให้ชิดลำตัวมากที่สุด ห้ามบิด

หมุนลำตัว แต่ให้ขยับปลายเท้าเพือ่ เปลีย่ นทิศทางขณะทำการยกของ 10. ในกรณีที่สิ่งของหนักมากนั้น สาวๆ ควรใช้วิธีการดันสิ่งของ จะปลอดภัยกว่าการยก ซึ่งการดันจะดีกว่า และออกแรงได้มากกว่า

การดึง

* ขอขอบคุณข้อมูลดีๆ จากหนังสือ ปวดหลังรักษาได้ด้วยตนเอง โดยสำนักพิมพ์ Post Book


รู้จักเว็บไซต์ สบน. เรื่อง : ธีระศักดิ์ อิญญาวงค์ นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหนี้

A

12

B

C

D

ลองเซิร์ฟดู E

รู้จักเว็บไซต์ สบน. เจอกันเป็นฉบับที่ 3 แล้วนะครับ กับคอลัมน์ ‘รู้จักเว็บไซต์ สบน.’ ในวารสารหนี้สาธารณะ

ของ สบน. ผู้อ่า นหลายท่านคงมีโอกาสได้เข้าไปดูข้อมูลต่างๆ มากและง่ายขึ้น หากท่านใด

ยังไม่เคยอ่าน ก็สามารถเปิดอ่านได้ที่ www.pdmo.mof.go.th ครับ ในหัวข้อ วารสารหนี้สาธารณะ

ส่วนล่างด้านขวามือ ที่หน้าหลักของเว็บไซต์นะครับ หรือจะไปที่หัวข้อ ‘ข่าว สบน.’ หัวข้อย่อย

‘วารสารหนี้สาธารณะ’ ก็ได้ครับ ฉบับนี้มาดูรายละเอียดหัวข้อต่อไปเลยครับ ข้อมูลและสถิติ มีหัวข้อ ข้อมูลหนี้สาธารณะเป็นเอกสาร

และกราฟ แสดงข้ อ มู ล และอธิ บ ายในลั ก ษณะของความเรี ย ง

‘ข้อมูลหนี้สาธารณะ (เอกสาร)’ ถ้าแสดงข้อมูลในลักษณะของ รูปภาพและแผนภูมิ ให้ดูในหัวข้อ ‘ข้อมูลหนี้สาธารณะ (กราฟ)’ แผนยุทธศาสตร์ มีหัวข้อต่างๆ ได้แก่ ‘ยุ ท ธศาสตร์ สบน.’ เพื่ อ ให้ ผู้ อ่ า นได้ ท ราบถึ ง ทิ ศ ทางการ ทำงาน และขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของ สบน. โดยเฉพาะ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ ของ สบน. ‘แผนปฏิบตั ริ าชการ’ รวบรวมข้อมูลแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปี

ของ สบน. ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ถึง 2553 ‘คำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ’ รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ถึง 2553 ข้อมูลคู่มืออธิบายตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ข้อมูลระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผน ส่งเสริมธรรมาภิบาล ‘แผนการบริหารหนี้สาธารณะ’ รวบรวมข้อมูลแผนบริหารหนี้ สาธารณะ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ถึง 2553

‘ผลการปฏิบัติราชการ’ รวบรวมข้อมูลผลการปฏิบัติราชการ ที่สอดคล้องกับคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สบน. ตั้งแต่ป ี

งบประมาณ พ.ศ. 2548 ถึง 2553 ข่าว สบน. มีหัวข้อต่างๆ ได้แก่ ‘ข่าวประกวดราคา’ เผยแพร่ขอ้ มูลและประกาศต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการประกวดราคาของ สบน. ‘ข่าวสมัครงาน’ เผยแพร่ข้อมูลและประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการสมัครงาน ทั้งในตำแหน่งข้าราชการ พนักงานราชการ

และลูกจ้างชั่วคราว ของ สบน. ‘คำถามที่น่าสนใจ’ และ ‘กระดานข่าว’ เผยแพร่ และเปิด

โอกาสให้ผอู้ า่ นสามารถเข้ามาตัง้ กระทู้ แสดงความเห็น หรือสอบถาม ในข้อสงสัยต่างๆ ได้ ‘ข่าวประชาสัมพันธ์ย้อนหลัง’ รวบรวมข้อมูลที่เคยเผยแพร่ ไปแล้วระยะหนึ่ง และหัวข้อดังกล่าว ยังมีประโยชน์ทั้งใน สบน. และต่อสาธารณะ จึงรวบรวมไว้เพือ่ การสืบค้นข้อมูลในโอกาสต่อไป ‘วารสารหนีส้ าธารณะ’ รวบรวมวารสารหนีส้ าธารณะย้อนหลัง ทุกฉบับ (ฉบับแรกเดือนมกราคม-มีนาคม 2553)


กฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี มีหัวข้อต่างๆ ได้แก่ ‘กฎหมาย’ รวบรวมกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติ พระราช- กำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ฯลฯ ที่เกี่ย วข้ อ งกั บ ภารกิจของ สบน. และการบริหารหนี้สาธารณะ ‘มติคณะรัฐมนตรี’ รวบรวมมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับ ภารกิจของ สบน. และการบริหารหนี้สาธารณะ เอกสารเผยแพร่ มีหัวข้อต่างๆ ได้แก่ ‘เอกสารเผยแพร่’ ข้อมูลทั่วไปที่ สบน. ต้องการเผยแพร่ เช่น กฎบัตรการตรวจสอบภายในของ สบน. รายงานสรุปผลการ ดำเนินงานแผนการปรับปรุงการให้บริการข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์

ของสำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เอกสารโครงการความช่วยเหลือ ทางวิชาการของธนาคารพัฒนาเอเชีย เป็นต้น ‘แบบฟอร์มดาวน์โหลด’ สบน. ได้อัพโหลดแบบฟอร์มต่างๆ เช่ น แบบฟอร์ ม แผนการบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ประจำปี งบประมาณ 2554 แบบฟอร์มติดตามโครงการเงินกู้และเงินกู้ เพื่อดำเนินกิจการทั่วไปและอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2553

เอกสารประกอบการบรรยายการจ้างที่ปรึกษา ตัวอย่างวิธีการ กรอกแบบฟอร์มติดตามโครงการเงินกู้ภายใต้แผนการบริหารหนี ้

สาธารณะ ประจำปีงบประมาณ 2552 เอกสารประกอบการ สัมมนา เรือ่ งหลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินระดับความน่าเชือ่ ถือ ของรัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินของภาครัฐ เป็นต้น เพื่อให้

ผูเ้ กีย่ วข้องทัง้ ภายในและภายนอก สบน. สามารถโหลดแบบฟอร์ม ดังกล่าวไปใช้ในการปฏิบัติงานในภารกิจที่รับผิดชอบต่อไป ‘เอกสารการจัดซื้อ/จัดจ้าง’ เผยแพร่ข้อมูลและประกาศต่างๆ

ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ/จัดจ้างของ สบน. ‘การจั ด การความรู้ ’ เผยแพร่ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความเป็ น มา และแผน คณะทำงานฯ องค์ความรู้ กิจกรรม และทรัพยากร ที่ใช้ในการจัดการองค์ความรู้ของ สบน. ‘ประกาศกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการกู้เงิน’ เผยแพร่ข้อมูล ประกาศกระทรวงการคลั ง เกี่ ย วกั บ การกู้ เ งิ น เช่ น พั น ธบั ต ร ตั๋วสัญญาใช้เงิน และตั๋วเงินคลัง เป็นต้น ‘ประกาศกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการออกพันธบัตรหรือหุ้น

กู้สกุลเงินบาท’ เผยแพร่ข้อมูลรายชื่อผู้ออกพันธบัตรต่างประเทศ หรือหุ้นกู้ต่างประเทศที่ได้รับยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการ

ขอความร่ ว มมื อ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรการป้ อ งปรามการเก็ ง กำไร ค่าเงินบาท ประกาศการเสนอขายพันธบัตรต่างประเทศหรือหุ้น

กู้ต่างประเทศในประเทศไทย กำหนดการยื่นคำขออนุญาตและ การพิจารณาจัดลำดับความสำคัญของคำขออนุญาตให้ออก พันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศ ประกาศการอนุญาต ให้ออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศ ยังมีเว็บเพจต่างๆ เช่น ร้องเรียน/ร้องทุกข์ แบบสำรวจความ คิดเห็นของผู้รับบริการผ่านทางเว็บไซต์เกี่ยวกับโครงการไทย เข้มแข็ง ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย Credit Scoring ศูนย์ข้อมูล ข่าวสาร สมัครสอบแข่งขัน ร่างคู่มือแนวทางการดำเนินโครงการ ลงทุนภาครัฐในรูปแบบ PPPs ที่มีรายละเอียดตามหัวข้อนั้นๆ ที่น่าสนใจอีกมาก หากมีโอกาสขอเชิญเข้ามาดูข้อมูลกันนะครับ สำหรั บ การแนะนำเว็ บ ไซต์ ข อง สบน. ก็ ค งมี เ พี ย งเท่ า นี้ หากในอนาคต สบน. มีการปรับปรุงเว็บไซต์ คณะทำงานจัดทำ วารสารหนี้สาธารณะของ สบน. คงมีโอกาสได้แนะนำข้อมูล ให้กับท่านผู้สนใจได้รับทราบในโอกาสต่อไป และขอขอบคุณ ท่านผูอ้ า่ นทีใ่ ห้ความสนใจข้อมูลเกีย่ วกับ สบน. เช่นเคยหากท่าน มีขอ้ สงสัยสามารถสอบถามเพิม่ เติมได้ที่ โทร. 0-2265-8050 ครับ

13


Interest(ing) Vocabulary เรื่อง : วีรยา จุลมนต์ เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

14

อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ หมายถึง ผลตอบแทนหรือจำนวน เงินที่ผู้กู้ต้องจ่ายชำระให้แก่ผู้ให้กู้โดยสัญญาว่าจะชำระคืน เต็มมูลค่าในวันที่ครบกำหนดในอนาคตตามที่ตกลงกันไว้

โดยในฉบั บ นี้ จะอธิ บ ายถึ ง อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ที่ น่ า สนใจ

ดังนี ้ อั ตราดอกเบี้ ยเงินให้กู้ ยืมระหว่างธนาคาร

(Interbank Rate) เป็นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมในตลาดเงิน

ระยะสั้น เพื่อใช้ในการปรับสภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์

โดยธุรกรรมอาจจะอยู่ในรูปการกู้ยืมแบบจ่ายคืนเมื่อทวงถาม (at call) หรือเป็นการกู้ยืมแบบมีกำหนดระยะเวลา (term) ตั้งแต่ 1 วัน ถึง 6 เดือน ในทางปฏิบัติส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ 50-70 เป็นการกู้ยืมระยะ 1 วัน (Overnight) รองลง มาเป็นการกู้ยืมแบบจ่ายคืนเมื่อทวงถาม (at call) ถ้าเป็นการ กู้ ยื ม ในตลาดระหว่ า งสถาบั น การเงิ น ด้ ว ยกั น จะเรี ย กว่ า

Interfinance และอัตราดอกเบี้ยที่ใช้เรียกว่า Interfinance Rate ซึ่งอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคารที่พบเห็น บ่อยๆ มีดังนี้ อัตราดอกเบีย้ ระหว่างธนาคารในตลาดกรุงเทพ (Bangkok Interbank Offer Rate : BIBOR) เป็นอัตราดอกเบีย้ เงินกู้ยืม ระหว่างธนาคารพาณิชย์ในตลาดกรุงเทพ โดยเป็นอัตราที่ได้ จากการเฉลี่ ย อั ต ราดอกเบี้ ย สำหรั บ การปล่ อ ยกู้ ร ะหว่ า ง ธนาคารพาณิชย์แบบไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันจากธนาคาร พาณิ ช ย์ ไ ทยและต่ า งประเทศ รวม 14 แห่ ง ซึ่ ง ในขณะนี้ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ ผ ลั ก ดั น ให้ ใ ช้ อั ต ราดอกเบี้ ย BIBOR เป็ น ดอกเบี้ ย อ้ า งอิ ง ในการทำธุ ร กรรมกู้ ยื ม เงิ น ระยะสั้นแบบมีระยะเวลา อัตราดอกเบีย้ ระหว่างธนาคารในตลาดลอนดอน (London Interbank Offered Rate : LIBOR) เป็นอัตราดอกเบี้ยเงิน ให้กู้ยืมระหว่างธนาคารพาณิชย์ที่มีฐานะและชื่อเสียงดีมาก ซึ่งกำหนด ณ ตลาดการเงินที่กรุงลอนดอน อัตราดอกเบี้ยนี้ ธนาคารพาณิชย์ทั่วไปมักจะนำมาใช้เป็นฐานในการกำหนด

อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมประเภทต่าง ๆ อัตราดอกเบีย้ ระหว่างธนาคารในตลาดสิงคโปร์ (Singapore Interbank Offered Rate : SIBOR) เป็นอัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ระหว่างธนาคารพาณิชย์ในตลาดสิงคโปร์ ในรูปของสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ ดังนั้น จะเห็นได้ว่าอัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารจะถูก เรียกแตกต่างกันไปในแต่ละตลาดการเงิน อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ (Lending Rate) ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย MLR (Minimum Lending Rate) หรือ (Minimum Loan Rate) หมายถึงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบมี

ระยะเวลาที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี อัตราดอกเบีย้ MOR (Minimum Overdraft Rate) หมายถึง อัตราดอกเบี้ยประเภทเบิกเกินบัญชีที่ธนาคารพาณิชย์เรียก เก็บจากลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี อัตราดอกเบี้ย MRR (Minimum Retail Rate) หมายถึง อั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ที่ ธ นาคารพาณิ ช ย์ เ รี ย กเก็ บ จากลู ก ค้ า รายย่อยชั้นดี อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมในตลาดซื้อคืนพันธบัตร

(Repurchase Rate) เป็นอัตราดอกเบี้ยที่ใช้ในการกู้ยืมโดย การซื้อขายพันธบัตรที่มีสัญญาซื้อคืน/ขายคืนพันธบัตรที่ใช้

เป็นหลักทรัพย์วางประกัน ได้แก่ พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ธปท. และพันธบัตรรัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน เงินต้นและดอกเบี้ยของสถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกในตลาด ซื้อคืนพันธบัตร ทั้งนี้ ธปท. ใช้อัตราดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนระยะ 1 วั น เป็ น อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายในการส่ ง สั ญ ญาณการ ดำเนินนโยบายทางการเงินภายใต้กรอบ Inflation Targeting ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย www.thaihomemaster.com


ข่าวประชาสัมพันธ์ จาก สบน. ่อง : สุเนตรา เล็กอุทัย เรืเศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

ข่าวกิจกรรม เมือ่ วันที่ 11 มิถนุ ายน 2553 กระทรวงการคลัง โดย สบน. ได้จดั พิธ ี ลงนามสัญญาเงินกู้กับธนาคารโลกและธนาคารพัฒนาเอเชีย สำหรับ โครงการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2) โดยมี นายประดิ ษ ฐ์ ภั ท รประสิ ท ธิ์ รั ฐ มนตรี ช่ ว ยว่ า การกระทรวงการคลั ง

เป็นผู้ลงนามร่วมกับผู้แทนทั้งสองธนาคาร ในโอกาสนี้ ผู้อำนวยการ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ลงนามร่วมกับผู้แทนธนาคาร พัฒนาเอเชีย เพื่อรับความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical

Assistance: TA) จากธนาคารพัฒนาเอเชีย สำหรับโครงการ ศึกษาและแผนกลยุทธ์การดำเนินงานพัฒนาทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองสายสำคัญ

เมือ่ วันที่ 3 กรกฎาคม 2553 สบน. ได้ออกบูทในงานมหกรรม การออม การลงทุนครบวงจร : Set in the City สัญจร ณ จังหวัด พิษณุโลก โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มาร่วมงานสามารถจองซื้อ

พันธบัตรออมทรัพย์ได้ และ สบน. ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ตราสารหนี้ ภ าครั ฐ การลงทุ น ในตราสารหนี้ ภ าครั ฐ และ ประชาสัมพันธ์บทบาทและหน้าที่ของ สบน.

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2553 สบน. ได้จัดโครงการ ฝึกอบรมหัวข้อ ‘การกูเ้ งินจากต่างประเทศสำหรับโครงการ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ: เงื่อนไข ทางเลือก และการ บริ ห ารความเสี่ ย ง’ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความเข้ า ใจให้ แ ก่ บุ ค ลากร สบน. เกี่ ย วกั บ รู ป แบบในการระดมทุ น จาก ตลาดเงิน ตลาดทุน และแหล่งเงินกู้ทางการ โดยมีผู้แทน ธนาคารโลก ธนาคารพัฒนาเอเชีย และธนาคารสแตนดาร์ด- ชาร์เตอร์ดเป็นผู้บรรยาย

เมื่อวันพุธที่ 4 สิงหาคม 2553 สบน. สัญจรเยี่ยมรั้วมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยจัดการบรรยายเกี่ยวกับหนี้สาธารณะ ความจำเป็น ในการก่อหนีข้ องภาครัฐ เครือ่ งมือทางการเงินต่างๆ ของภาครัฐ รวมทัง้ ข้อมูลเกีย่ วกับ พันธบัตรออมทรัพย์ และแนวทางการบริหารจัดการหนีส้ าธารณะของไทย แก่นกั ศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งนี้ หน่วยงานและสถานศึกษา ที่มีความสนใจ อยากให้จัดการบรรยายเกี่ยวกับหนี้สาธารณะ สามารถติดต่อ

สอบถามได้ที่คณะทำงานและเลขานุการโครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี ้

สาธารณะ โทร. 0-2265-8050 ต่อ 5127 และ 5512 โทรสาร 0-2273-9147

15


ธรรมะกับการงาน เรื่อง : สุวิชญ โรจนวานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ขอแนะนำให้ผู้ที่ทำบุญทั้งหลาย ตั้งใจถวายสังฆทานเป็นประจำ เพื่อความสุขสวัสดีของท่านทั้งหลาย คำถวายสังฆทานพิเศษ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก

16

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (3 จบ) อิมานิ มะยัง ภันเต / ภัตตานิ / สังฆะทานานิ / สะปะริวารานิ / ภิกขุสังฆัสสะ / โอโณชะยามะ / สาธุโนภันเต / ภิกขุสังโฆ / อิมานิ / ภัตตานิ / สังฆะทานานิ / สะปะริวารานิ / ปฏิคัณหาตุ / อัมหากัง / ทีฆะรัตตัง / หิตายะ / สุขายะ ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย ขอน้อมถวาย ภัตตาหารและเครือ่ งสังฆทาน กับบริวารทัง้ หลายเหล่านี้ แด่พระสงฆ์

ขอพระสงฆ์โปรดรับ ภัตตาหาร เครื่องสังฆทาน กับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข

แก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย ตลอดถึงญาติมติ รบุพการีชน คนผูม้ อี ปุ การะคุณ ต่อชีวติ และการงานของข้าพเจ้า ขอท่านทัง้ หลายเหล่านัน้

จงมีแต่ความอุดมร่มเย็นเป็นสุข มีความปลอดภัยในชีวิต ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมอุทิศ ซึ่งส่วนแห่งบุญ ที่ได้ตั้งจิตบำเพ็ญดีแล้วนี้ แก่พระภูมิเจ้าที่ คือ ภุมมะเทวดา เทพผู้รักษา

ผืนแผ่นดิน รุกขะเทวดา เทพผูร้ กั ษาป่าไม้ อากาสะเทวดา เทพผูร้ กั ษาอากาศ พระสยามเทวาธิราช เทพผูค้ มุ้ ครองผืนแผ่นดินไทย ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมอุทิศพระราชกุศล แด่องค์บุรพะ มหากษัตริยาธิราชเจ้าทุกพระองค์ มีพอ่ ขุนรามคำแหง

มหาราช สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช

สมเด็ จ พระปิ ย ะมหาราช เป็ น ต้ น และน้ อ มเกล้ า น้ อ มกระหม่ อ ม ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลเจริ ญ พระชนมพรรษา

แด่ อ งค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลมหาราช สมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรมราชิ นี น าถ พระบรมวงศานุ ว งศ์

ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม นำแผ่นดินไทยให้พ้นภัยพิบัติ ทรงเป็นหลักชัยแห่งการพัฒนา

ทรงยังผืนแผ่นดินไทยให้อุดมสมบูรณ์ ทรงนำความสงบสุขร่มเย็น มาสู่อาณาประชาราษฎร์ โดยไม่มีที่สิ้นสุด ไม่มีประมาณ

และขอน้อมถวายเป็นพระกุศล เจริญพระชนมายุ แด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก

และขอน้อมอุทิศถวาย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมจิตอธิษฐาน อุทิศส่วนแห่งบุญนี้ เป็นเปตะพลี ญาติพลี และเทวตาพลี ขอความปรารถนาของ

ข้าพเจ้า จงสัมฤทธิ์ผลอันอุดมสมบูรณ์ไพบูลย์ยิ่ง แม้แก่เหล่าเปรต อสุรกาย และสัมภเวสี ถ้าตกทุกข์ได้ยาก ขอสัตว์เหล่านั้น

จนพ้นจากทุกข์ ถ้าหิวกระหาย จงพ้นจากความหิวกระหาย ขอสัตว์ทั้งปวง จงได้อนุโมทนาบุญ และเสวยสุขอันเป็นทิพย์

ทุกประการ ข้ า พเจ้ า ขออธิ ษ ฐานจิ ต อุ ทิ ศ ส่ ว นกุ ศ ลแก่ เ จ้ า กรรมนายเวร คื อ สั ต ว์ ทั้ ง หลายน้ อ ยใหญ่ ที่ ข้ า พเจ้ า กิ น เป็ น อาหาร

สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ได้สละเลือดเนื้อและชีวิตของตน เพื่อเกื้อกูลแก่ชีวิตของข้าพเจ้า ขอกุศลผลบุญจงเกิดแก่สัตว์เหล่านั้น

ขอญาติ มิ ต รบุ พ การี ช น และคนมี เ วร ทั้ ง ที่ ล ะโลกนี้ ไ ปแล้ ว และยั ง มี ชี วิ ต อยู่ จงได้ อ นุ โ มทนาบุ ญ และได้ เ สวยผลบุ ญ

ที่ปวงข้าพเจ้าได้พร้อมใจกันตั้งจิต บำเพ็ญอุทิศดีแล้วนี้ จงทุกประการเทอญฯ


การเป็นคนปากกล้านั้น

ง่ายดาย เมื่อเธอไม่รอพูด ความจริงที่สมบูรณ์ รพินทรนาถ ฐากูร (นักปรัชญา นักธรรมชาตินิยม และกวีชาวอินเดีย มีชีวิตอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2404-2484)

“To be outspoken is easy when you do not

wait to speak the complete truth.” Rabindranath Tagore

ตอบคำถาม ชิงรางวัล

> PPPs คืออะไร? > PPPs ให้ประโยชน์อย่างไรบ้าง? > ตัวอย่างโครงการลงทุนรูปแบบ PPPs ในประเทศไทย ได้แก่โครงการอะไร?

กรุณาส่งคำตอบมาที่ E-mail Address : mz_pdmo@hotmail.com หรือทางไปรษณีย์ ที่อยู่สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพ 10400 ภายในเดือนกันยายน 2553 (วงเล็บมุมซองว่าตอบคำถามร่วมสนุก) ผู้ที่ตอบถูก 8 ท่านแรก เท่านั้น จะได้รับรางวัลจากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.