ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2554

Page 1

Year 2 Volume 3 April-June 2011

สบน. ดำเนินการอยางไร

เกี่ยวกับการกอหนี้ และชำระคืนหนี้เงนกู ในประเทศของรัฐบาล

ÀÒÃм١¾Ñ¹·Ò§¡ÒäÅѧ¢Í§ÃÑ°ºÒÅ


พระบรมราโชวาท

“...¤ÇÒÁÊØ¢¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÍѹ᷌¨ÃÔ§¹Ñé¹ ËÁÒ¶֧¤ÇÒÁÊØ¢ ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ·ÕèºØ¤¤ÅáÊǧËÒÁÒä´Œ´ŒÇ¤ÇÒÁ໚¹¸ÃÃÁ ·Ñé§ã¹à¨μ¹ÒáÅСÒáÃÐ·Ó äÁ‹ãª‹ä´ŒÁÒ´ŒÇ¤ÇÒÁºÑ§àÍÔÞ ËÃ×Í´ŒÇÂá¡‹§á‹§àºÕ´àºÕ¹ÁÒ¨Ò¡¼ÙŒÍ×è¹ ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ·Õèá·Œ¹Õé ÁÕÅѡɳÐ໚¹¡ÒÃÊÌҧÊÃä à¾ÃÒÐÍӹǻÃÐ⪹ ¶Ö§¼ÙŒÍ×è¹ áÅÐʋǹÃÇÁ´ŒÇ μç¡Ñ¹¢ŒÒÁ¡Ñº¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÍ‹ҧà·ç¨à·ÕÂÁ ·Õèà¡Ô´¢Öé¹ÁÒ´ŒÇ¤ÇÒÁ»ÃоÄμÔäÁ‹à»š¹¸ÃÃÁ¢Í§ºØ¤¤Å «Öè§ÁÕÅѡɳÐ໚¹¡Ò÷ÓÅÒÂŌҧ à¾ÃÒÐãËŒâ·Éº‹Í¹àºÕ¹ ·ÓÅÒ¼ٌÍ×è¹áÅÐʋǹÃÇÁ ¡Òú‹Í¹àºÕ¹·ÓÅÒ¹Ñé¹ ·ÕèÊØ´¡ç¨Ð¡ÅѺÁÒ·ÓÅÒÂμ¹ ´ŒÇÂàËμØ·ÕèàÁ×èÍʋǹÃÇÁ ¶Ù¡·ÓÅÒÂàÊÕÂáÅŒÇ μ¹àͧ¡ç¨ÐÂ×¹μÑÇÍÂÙ‹äÁ‹ä´Œ ¨ÐμŒÍ§Å‹Á¨Áŧä»àËÁ×͹¡Ñ¹...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื่องในพิธีพระราชทานปริญญา และอนุปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘


ÊÒèҡºÃóҸԡÒà ส วั ส ดี ค ะ ท า น ผู อ า น ว า ร ส า ร หนี้ ส าธารณะทุ ก ท า น วารสารหนี้ ส าธารณะ ฉบั บ นี้ เ ป น ฉบั บ ที่ 3 ประจำป ง บประมาณ 2554 ถื อ ว า เป น ฉบั บ ต อ นรั บ การเป ด เทอม ท า นผู อ า นหลายๆ ท า นคงได เ ผชิ ญ อุ ป สรรค ในการเดิ น ทาง เนื่ อ งจากการจราจรที่ ติ ด ขั ด ประกอบกั บ ฟ า ฝนที่ ต กกั น อย า งสม่ ำ เสมอ อย า งไรก็ ดี ขอให ทุ ก ท า นเดิ น ทางด ว ย ความระมั ด ระวั ง และปฏิ บั ติ ต ามกฎจราจร เพื่อความปลอดภัยของทานและผูรวมใชถนน ทุกทานนะคะ ใ น ว า ร ส า ร ฉ บั บ นี้ ค ณ ะ ผู จั ด ท ำ มี บทความที่ คิ ด ว า น า จะเป น ประโยชน แ ละ น า สนใจอี ก เช น เคย ทั้ ง เรื่ อ งภาระผู ก พั น ทางการคลั ง ของรั ฐ บาล ซึ่ ง ได ก ล า วถึ ง หนี้ ที่ซอนเรน (ฟงดูนาตื่นเตนมั้ยคะ) และแนวทาง การชำระหนี้ในประเทศ เนื่องจากองคประกอบ สวนใหญของหนี้สาธารณะเปนหนี้สาธารณะ ในประเทศ ถาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ มีแนวทางที่ชัดเจนในการชำระหนี้ไมวาจะเปน หนี้ ใ นประเทศหรื อ หนี้ ต า งประเทศ เราก็ จ ะ สามารถรักษาความนาเชื่อถือของประเทศได สิริภา สัตยานนท ผูอำนวยการสวนความรวมมือระหวางประเทศ สำนักนโยบายและแผน

ÊÒúÑÞ

2

สบน. ดำเนินการอยางไร เกีย่ วกับการกอหนีแ้ ละชำระคืนหนีเ้ งินกูใ น ประเทศของรัฐบาล

ภาระผูกพันทางการคลังของรัฐบาล

(Contingent Liabilities)

8

สถานะของหนี้สาธารณะ

สถานะของหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554

สารพันบันเทิง

Transformers 3 : Dark of the Moon อัลบั้ม Asia ศิลปน Lisa Ono

11 13

5

10

ตะลอนทัวร

เกาะสีชัง เมืองสงบใกลกรุงเที่ยวไดในวันเดียว

12

คำศัพทนารู

มุมสุขภาพ

เครียดแลวแก กินตานเครียด…คืนวัยวันอันสดใส

ขาวประชาสัมพันธ

จากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

16

14

ธรรมะกับการงาน

ธรรมะสำหรับการทำงานในแบบ Perfectionist

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) วิสัยทัศน: เปนมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน พันธกิจ: บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายวาดวยการบริหารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการกอหนี้ ค้ำประกัน และปรับโครงสรางหนี้ของรัฐบาล หนวยงานในกำกับดูแลของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้ง การชำระหนี้ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อใหการบริหารหนี้สาธารณะเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเสริมสรางความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ วารสารหนี้สาธารณะ จัดทำโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สังกัดกระทรวงการคลัง เพื่อเผยแพรแกประชาชนทั่วไป


นางสาววงเดือน สิทธิเดชศักดิ์ นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค

นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหนี้ เศรษฐกรชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหนี้ นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักบริหารการชำระหนี้

“สบน. ดำเนินการอยางไร เกี่ยวกับการกอหนี้และชำระคืนหนี้ เงินกูในประเทศของรัฐบาล” จากวารสารหนี้สาธารณะฉบับกอน (ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม-มีนาคม 2554) ผูเขียนไดกลาวถึงแนวทางปฏิบัติในการชำระคืนหนี้เงินกูตางประเทศ ของรัฐบาลวามีวิธีการอยางไรไวแลว ในฉบับนี้ผูเขียนจึงขอกลาวถึงแนวทาง ปฏิบัติในการกอหนี้ในประเทศและการชำระคืนหนี้เงินกูในประเทศของรัฐบาล พอสั ง เขป เพื่ อ ให เ กิ ด ความครบถ ว นของข อ มู ล แต ก อ นจะอธิ บ ายถึ ง ร า ย ล ะ เ อี ย ด ดั ง ก ล า ว ผู เ ขี ย น ข อ ส รุ ป ข อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ส ถ า น ะ ข อ ง ยอดหนี้สาธารณะคงคาง (Outstanding Debt) และขอมูลในประเด็นตางๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งด ว ย โดย ณ สิ้ น เดื อ นมี น าคม 2554 ประเทศไทยมี ย อดหนี้ ส าธารณะคงค า ง จำนวน 4.26 ล า นล า นบาท หรื อ คิ ด เป น ร อ ยละ 41.28 ของ GDP ซึ่ ง ประกอบด ว ยหนี้ ใ นประเทศและ หนีต้ า งประเทศ (ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดทบี่ ทความสถานะหนี้สาธารณะ หรือเว็บไซต สบน. www.pdmo.go.th ในหัวขอ “รายงานหนี้สาธารณะ”) โดยเปนหนี้ที่รัฐบาล กู โ ดยตรง ในส ว นของหนี้ ใ นประเทศ จำนวน 2.94 ล า นล า นบาท หรื อ คิ ด เป น รอยละ 27.07 ของ GDP ซึ่งมีทั้งหนี้ระยะสั้นและหนี้ระยะยาว ไมวาจะเปนพันธบัตร ตั๋วสัญญาใชเงิน ตั๋วเงินคลัง และเงินกูจากธนาคารพาณิชย ทั้งนี้ สามารถสรุปวัตถุประสงค ของการกูเงินและแหลงเงินที่ใชในการชำระคืนหนี้ดังกลาว ดังนี้

2


ตารางแสดงยอดหนี้สาธารณะคงคางของหนี้เงินกูในประเทศ ที่เปนหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง จำแนกตามวัตถุประสงคของการกูเงิน วัตถุประสงคการกู • เงิ น กู เพื่อ ชดเชยการขาดดุ ล งบประมาณและ การบริหารหนี้สาธารณะ • เงิ น กู ช ดเชยความเสีย หายใหแกก องทุนฟน ฟู แ ละ พัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) - FIDF 1 - FIDF 3

ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554

ยอดหนี้คงคาง 1.41 ลานลานบาท

แหลงเงินในการชำระคืน งบประมาณรายจายประจำป

1.13 ลานลานบาท

ตนเงิน : ธนาคารแหงประเทศไทย รับผิดชอบ ดอกเบี้ย : งบประมาณรายจาย ประจำป งบประมาณรายจายประจำป

0.46 ลานลานบาท 0.67 ลานลานบาท

• เงินกูเพื่อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคง ทางเศรษฐกิจ (TKK)

0.40 ลานบาท

หมายเหตุ : FIDF1 ชำระจากบัญชีกองทุนเพื่อการชำระคืนตนเงินกูชดใชความเสียหายของกองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กระทรวงการคลังดูแลกองทุนฯ) FIDF3 ชำระจากบัญชีสะสมเพื่อการชำระคืนตนเงินกูชดใชความเสียหายของกองทุนฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (ธนาคารแหงประเทศไทยดูแลบัญชี)

สัดสวนยอดหนี้สาธารณะคงคางของหนี้เงินกูในประเทศ ที่เปนหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง จำแนกตามวัตถุประสงคของการกูเงิน TKK 14%

FIDF 38%

ชดเชยขาดดุล และบริหารหนี้ 48%

ที่มา : สำนักนโยบายและแผน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ทั้งนี้ รูปแบบการระดมทุนในประเทศ (Domestic Financing) ซึ่ง สบน. ดำเนินการเพื่อใหสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานในกำกับดูแลของรัฐนำไปดำเนินโครงการตางๆ ตามภารกิจภายใตนโยบายรัฐบาล สบน. จะดำเนินการตาม กรอบและแนวทางปฏิบัติที่กฎหมายกำหนด เพื่อใหมีตนทุนต่ำสุดภายใตความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยจำแนกได 4 รูปแบบ ดังนี้

3


1. พั น ธบั ต รรั ฐ บาล (Government Bond) : เป น ตราสารที่ รั ฐ บาลโดยกระทรวงการคลั ง เป น ผู อ อก ซึ่งสัญญาวาจะจายดอกเบี้ยพรอมเงินตนใหแกผูถือเมื่อครบ กำหนด โดยมีการจายดอกเบี้ยเปนงวดๆ ตามที่กำหนดใน ประกาศกระทรวงการคลัง รัฐบาลจะออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อ กู ยื ม เงิ น จากสถาบั น การเงิ น บริ ษั ท ประกั น ภั ย นิ ติ บุ ค คล กองทุนฯ ตางๆ และประชาชนทั่วไป ฯลฯ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับ วั ต ถุ ป ระสงค ข องการออกพั น ธบั ต รนั้ น ๆ เช น รั ฐ บาลมี ความจำเป น ต อ งใช เ งิ น เป น จำนวนมาก สบน. ก็ จ ะออก พั น ธบั ต รรั ฐ บาล โดยจำหน า ยให แ ก ส ถาบั น การเงิ น เป น กลุ ม เป า หมายหลั ก หากรั ฐ บาลมี น โยบายต อ งการให ประชาชนมี ท างเลื อ กในการออม สบน. ก็ จ ะออกเป น พันธบัตรออมทรัพย และผูซื้อพันธบัตรจะมีฐานะเปนเจาหนี้ รัฐบาลตามกฎหมาย 2. ตั๋วสัญญาใชเงิน (Promissory Notes-P/N) : ตราสารซึ่งบุคคลผูหนึ่ง เรียกวา ผูออกตั๋ว ใหคำมั่นสัญญาวา จะใช เ งิ น จำนวนหนึ่ ง ให แ ก บุ ค คลอี ก ผู ห นึ่ ง หรื อ ใช ใ ห ต าม คำสั่ ง ของบุ ค คลอี ก ผู ห นึ่ ง เรี ย กว า ผู รั บ เงิ น ซึ่ ง ส ว นใหญ การออก P/N ของกระทรวงการคลั ง จะเป น การกู เ งิ น จาก ธนาคารพาณิ ช ย และมี ก ารกู จ ากบริ ษั ท ประกั น ภั ย บ า ง แตก็เปนสวนนอย

4

3. ตั๋วเงินคลัง (Treasury Bill–T/B) : เปนตราสาร ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังเปนผูออกเพื่อกูยืมเงินระยะสั้น จากสถาบันการเงินตางๆ ปกติจะมีอายุไมเกิน 1 ป ตัว๋ เงินคลัง ไม มี ก ารจ า ยดอกเบี้ ย เป น ผลตอบแทน แต ผ ลตอบแทนจะ อยูในรูปของสวนลด ซึ่งรัฐบาลกำหนดจะชำระคืนตามราคาที่ ตราไวเมื่อตั๋วเงินคลังครบกำหนดไถถอนคืน ตั๋วเงินคลังจะ ทำการซื้อขายที่ราคาคิดลด ซึ่งหมายถึงเงินลงทุนครั้งแรกจะ นอยกวาราคาหนาตั๋ว และเมื่อครบกำหนดไถถอนจะไดรับ เงินเต็มจำนวนตามที่ตราไวหนาตั๋ว 4. การกูเงินจากธนาคารพาณิชยตางๆ สำหรับวิธกี ารชำระคืนหนีเ้ งินกูใ นประเทศจะมีขนั้ ตอน และความสลับซับซอนนอยกวาการชำระคืนหนี้ตางประเทศ กลาวคือ ในการชำระคืนหนี้เงินกูในประเทศมีการดำเนินการ โดยเริ่ ม จากการตรวจสอบรายละเอี ย ดใบแจ ง หนี้ จากนั้ น ดำเนินการตั้งเบิกเงินงบประมาณผานระบบบริหารการเงิน การคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) และติดตามผล การรับเงินของเจาหนี้ พรอมทั้งดำเนินการปรับปรุงขอมูล หนี้ส าธารณะในระบบบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (GFMIS-TR) เปนลำดับสุดทาย


กุลกานต์ อร่ามทอง เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

ภาระผูกพันทางการคลังของรัฐบาล (Contingent Liabilities)

เมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เศรษฐกิจของประเทศไทยเข้าสู่ภาวะวิกฤติส่งผล ให้เกิดปัญหาในหลายๆ ด้าน ทัง้ ต่อภาครัฐและภาคเอกชน เช่น สถาบันการเงินหลายแห่งต้องเพิ่มทุน ในขณะที่ บางแห่ ง ต้ อ งปิ ด ตั ว ลง ส่ ว นราชการหลายแห่ ง ต้ อ ง ประหยั ด การใช้ จ่ า ยของตน สถานการณ์ ดั ง กล่ า ว เหล่านี้ทำให้เกิดการดำเนินนโยบายแบบใหม่ของ รั ฐ บาลขึ้ น จากเดิ ม ที่ รั ฐ บาลกระตุ้ น เศรษฐกิ จ ผ่ า นวิ ธี ก ารใช้ จ่ า ยและการก่ อ หนี้ ข องรั ฐ บาล เปลี่ยนเป็นการใช้จ่ายผ่านหน่วยงานของรัฐหรือ องค์กรพิเศษต่างๆ เพื่อให้หนี้ที่เกิดขึ้นใหม่นั้น ในบางกรณีไม่ถูกบันทึกในฐานะเป็นหนี้ของรัฐบาลหรือ หนี้ ส าธารณะ (Public Debt) แต่ เ ป็ น หนี้ ข องหน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก รนั้ น ๆ ซึ่ ง หนี้ ใ นลั ก ษณะนี้ ถึ ง แม้ ว่ า จะไม่ ไ ด้ ถู ก บั น ทึ ก ตามช่องทางปกติเช่นเดียวกับหนี้สาธารณะ แต่ก็ยังถือว่าเป็น ภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต (Contingent Liability) นอกจากนี้ การระดมทุนวิธีใหม่ที่เน้นการลงทุนของภาคเอกชน ซึ่งเกิดขึ้นและมีบทบาทอย่างมากในหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว คือ การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public Private Partnership : PPP) ในโครงการลงทุ น พื้ น ฐานของภาครั ฐ ซึ่ ง หนี้ ดั ง กล่ า วไม่ ไ ด้ ถู ก บั น ทึ ก ไว้ ใ นระบบงบประมาณและ ไม่ถูกนับรวมเป็นหนี้สาธารณะ ในขณะที่รัฐบาลอาจมีภาระผูกพันที่ก่อให้เกิดภาระทางการคลังในอนาคตจากการดำเนิน โครงการในลักษณะดังกล่าว จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการตระหนักถึงภาระดังกล่าวนี้ ภาระผูกพันทางการคลังสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่

1. ภาระผูกพันแบบชัดแจ้ง (Explicit Contingent Liabilities)

เป็นภาระผูกพันตามที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติของกฎหมายหรือข้อกำหนดในสัญญา (ภาระผูกพันโดยนิตินัย) โดยเป็น ผลจากการดำเนินโครงการลงทุนที่ภาครัฐดำเนินนโยบายผ่านรัฐวิสาหกิจ โดยรัฐบาลเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้หรือเป็นผู้จัดหา เงินกู้และนำมาให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ (On lending) เพื่อดำเนินโครงการ และเมื่อรัฐวิสาหกิจดังกล่าวไม่สามารถชำระหนี้เงินกู้ ดังกล่าวได้ ส่งผลให้รัฐบาลในฐานะผู้ค้ำประกันจะต้องเป็นผู้รับภาระการชำระหนี้เงินกู้ดังกล่าวแทน


ดำเนิ น การได้ แ ละต้ อ งยกเลิ ก สั ญ ญาดำเนิ น โครงการ ก่อนกำหนด (Early Termination) ทำให้รฐั บาลอาจต้องเป็น ผู้เข้าไปดำเนินการต่อด้วยตัวเอง เพื่อให้โครงการสามารถ ให้ บ ริ ก ารสาธารณะต่ อ ไปได้ โ ดยไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ประชาชนผู้ใช้บริการ ก่อให้เกิดภาระผูกพันทางการคลัง ของรั ฐ บาล ซึ่ ง ภาระดั ง กล่ า วนี้ จึ ง เป็ น ภาระที่ ขึ้ น อยู่ กั บ ปัจจัยภายนอก เช่น การบริหารจัดการของภาคเอกชน หรือผลประกอบการจากการดำเนินโครงการ

2. ภาระผูกพันแบบกึ่งชัดแจ้ง (Semi-Explicit Contingent Liabilities)

เป็นภาระผูกพันที่เกิดจากการดำเนินนโยบายของรัฐ ผ่ า นรั ฐ วิ ส าหกิ จ หรื อ สถาบั น การเงิ น เฉพาะกิ จ ซึ่ ง รวมถึ ง การดำเนินนโยบายกึ่งการคลัง (Quasi Fiscal Policy) และ โครงการลงทุ น แบบ PPP ในส่ ว นการดำเนิ น การของ ภาคเอกชน ตัวอย่างเช่น การจัดตั้งองค์กรที่แยกออกจาก ภาครัฐ ซึ่งเป็นการดำเนินนโยบายกึ่งการคลังในรูปแบบหนึ่ง โดยการดำเนิ น นโยบายดั ง กล่ า วจะไม่ ป รากฏเป็ น ภาระ ทางการคลังในทันที แต่จะปรากฏก็ต่อเมื่อมีความเสียหาย เกิ ด ขึ้ น จากการดำเนิ น นโยบายนั้ น และมี ก ารเรี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลรั บ ภาระดั ง กล่ า ว โดยรั ฐ บาลจะมี น โยบายการให้ เงินอุดหนุนองค์กรของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ ในรูปแบบของการเพิ่มทุนภายใต้กฎหมายต่างๆ อย่างไรก็ดี ภาระที่เกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบายดังกล่าว จะถูกบันทึกเป็นภาระขององค์กร และรัฐบาลอาจต้องรับภาระ เมื่อโครงการที่ดำเนินการภายใต้นโยบายเกิดความเสียหาย นอกจากนี้ การดำเนิ น โครงการลงทุ น ขนาดใหญ่ ของภาครัฐในรูปแบบการลงทุนร่วมกันระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน (Public Private Partnership : PPP) ซึ่งเป็น การให้ ภ าคเอกชนเข้ า ร่ ว มลงทุ น ในโครงการพื้ น ฐาน ด้านสาธารณูปโภคของภาครัฐ เพื่อแบ่งเบาภาระการลงทุน ของรั ฐ บาลผ่ า นระบบงบประมาณ และให้ รั ฐ บาลสามารถ ดำเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การดำเนินโครงการ PPP ส่งผลให้เกิดความเสี่ยง ทางการคลังโดยภาครัฐอาจต้องเข้าไปรับความเสี่ยงบางส่วน จากภาคเอกชน เช่น การประกันรายได้ขั้นต่ำ (Revenue Guarantee) หรื อ ในบางกรณี ภ าคเอกชนอาจไม่ ส ามารถ

3. ภาระผูกพันโดยนัย (Implicit Contingent Liabilities)

เป็นภาระผูกพันที่รัฐบาลอาจให้ความช่วยเหลือตาม หลักศีลธรรมตามความคาดหวังของสังคมหรือแรงกดดัน ทางการเมือง โดยเป็นภาระที่เกิดขึ้นนอกเหนือขอบเขต บทบัญญัติกฎหมายและรัฐบาลเข้ารับผิดชอบโดยศีลธรรม ยกตัวอย่างกรณีที่รัฐบาลเข้าไปมีบทบาทให้ความช่วยเหลือ ในกองทุนนอกงบประมาณ ซึ่งมีประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) เป็นจำนวนมาก เช่น กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ หรือแม้แต่หน่วยงาน ในกำกับดูแลของรัฐที่เกิดขึ้นใหม่ เช่น สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ซึ่งแม้ กฎหมายจะห้ามไม่ให้รัฐบาล ต้ อ ง เ ข้ า ไ ป รั บ ภ า ร ะ ทางตรงหรือทางอ้อมของ สถาบั น นี้ แต่ อ ย่ า งไร ก็ ต า ม เ นื่ อ ง จ า ก ผ ล ก า ร ด ำ เ นิ น ก า ร ข อ ง อ ง ค์ ก ร ก ลุ่ ม นี้ ส่งผลกระทบต่อสังคม ใ น ว ง ก ว้ า ง จึ ง เ ป็ น ก า ร ย า ก ที่ รั ฐ บ า ล จ ะ หลีกเลี่ยงการให้เงินอุดหนุน หรื อ เข้ า มาสนั บ สนุ น เพื่ อ ให้องค์กรเหล่านี้สามารถ อยู่ ร อด และดำเนิ น ภารกิจ ของตนได้อย่าง ราบรื่น


ตัวอย่างโครงการที่ก่อให้เกิดภาระผูกพันทางการคลัง ประเภทภาระผูกพัน

ภาระผูกพันแบบชัดแจ้ง (Explicit Contingent Liabilities) ภาระผู ก พั น แบบ กึ่ ง ชั ด แจ้ ง (SemiExplicit Contingent Liabilities) ภาระผูกพันโดยนัย (Implicit Contingent Liabilities)

ลักษณะโครงการ โครงการที่รัฐบาลค้ำประกันเงินกู้หรือให้ เงินกู้ต่อแก่รัฐวิสาหกิจ โครงการที่ดำเนินนโยบายกึ่งการคลังที่ รัฐบาลดำเนินการผ่านสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ และการร่วมลงทุนระหว่าง รัฐวิสาหกิจกับภาคเอกชน โครงการของสถาบันประกันเงินฝากและ กองทุนนอกงบประมาณต่างๆ

ตัวอย่างโครงการ • โครงการก่อสร้างระบบขนส่งทางรถไฟ เชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • โครงการบ้านเอื้ออาทร • โครงการจำนำผลิตผล ปีการผลิต 2551/52 • โครงการประกันรายได้เกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2552/53 • โครงการลงทุนในรูปแบบ PPP (Public Private Partnership) : การร่วมลงทุนระหว่าง รัฐวิสาหกิจ (รฟม.) กับภาคเอกชน ในโครงการ ระบบรถไฟฟ้า : โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน และสายสีม่วง • กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา ระบบสถาบันการเงิน • สถาบันคุ้มครองเงินฝาก • กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)

ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (2554)

จากที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ภาระผู ก พั น ทางการคลั ง ดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความเสียหายทางการคลังได้ เนื่องจาก ไม่ ส ามารถรู้ ถึ ง ช่ ว งเวลาและผลกระทบของความเสี ย หาย ที่อาจเกิดขึ้น เพราะเป็นสิ่งที่นอกเหนือการบริหารจัดการ ซึ่ ง ความไม่ แ น่ น อนดั ง กล่ า วนั้ น เมื่ อ ประกอบเข้ า กั บ ความไม่ครอบคลุมทางกฎหมายของไทยที่ไม่ได้กำหนดให้มี การรายงานภาระผูกพันในทุกประเภทที่ภาครัฐดำเนินการ ภาระผูกพันเหล่านี้จึงไม่ปรากฏอยู่ในรายงานทางการเงินใดๆ ของรั ฐ บาล (Off Balance Sheet) ทำให้ ภ าครั ฐ ขาด การเตรียมการและไม่สามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อรองรับ ภาระที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ในที่ สุ ด จึ ง มี ค วามจำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งก่ อ หนี้

เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การดำเนินการในการบริหารหนี้สาธารณะ เป็ น ไปโดยยาก เนื่ อ งจากประมาณการหนี้ แ ละภาระหนี้ ขาดความแม่ น ยำ และความเสี่ ย งต่ อ การผิ ด นั ด ชำระหนี้ สูงขึ้น ดังนั้น รัฐบาลควรจะมีการประเมินภาพรวมของภาระ ทางการคลังทั้งในแบบภาระทางตรง (Direct Liabilities) และภาระผูกพันที่ซ่อนเร้น (Contingent Liabilities) ซึ่ง ไม่ได้บันทึกเป็นหนี้สาธารณะอย่างชัดแจ้ง เพื่อเป็นกรอบ และแนวทางในการกำหนดนโยบายการบริหารหนี้สาธารณะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อรักษาวินัยและความยั่งยืน ทางการคลังของรัฐบาลในอนาคต


ศิรี จงดี เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักนโยบายและแผน

ʶҹТͧ˹ÕéÊÒ¸ÒóР³ Çѹ·Õè 31 ÁÕ¹Ò¤Á 2554 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 หนี้สาธารณะคงคางมีจำนวนทั้งสิ้น 4,246.115 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 41.28 ของ GDP1 โดยสัดสวน หนี้ ส าธารณะคงค า งประกอบด ว ย 1. หนี้ ที่ รั ฐ บาลกู โ ดยตรง (Direct Government Debt) 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs Debt) 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงินที่รัฐบาลค้ำประกัน (SFIs Guaranteed Debt) 4. หนี้ ก องทุ น เพื่ อ การฟ น ฟู แ ละพั ฒ นาระบบ สถาบันการเงิน (FIDF) โดยมีวงเงินและสัดสวนของแตละรายการดังแสดง ในตาราง

ตารางแสดงสัดสวนหนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 รายการ 1. หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง (Direct Government Debt) 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (SOEs Debt) 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงินที่รัฐบาลค้ำประกัน (SFIs Guaranteed Debt) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (FIDF) รวม ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

8

วงเงิน (พันลานบาท) 2,988.845 1,065.872 160.340

รอยละตอ หนี้สาธารณะคงคาง 70.39 25.10 3.78

31.057 4,246.115

0.73 100.00


ทำความรูจัก : หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง

เมื่อดูสัดสวนของหนี้สาธารณะแลวจะเห็นไดวา หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรงเปนองคประกอบสำคัญ และเมื่อพิจารณา ในรายละเอียดแลวพบวา หนี้รัฐบาลดังกลาวสามารถจำแนกเปนการกอหนี้เพื่อ 3 วัตถุประสงค ไดแก 1. เงินกูเพื่อชดเชย การขาดดุลเงินงบประมาณ 2. เงินกูชดเชยความเสียหายใหแกกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (FIDF) 3. เงินกูเพื่อการลงทุน ทั้งนี้ เงินกูใน 2 รายการแรกซึ่งนับรวมเปน 85% ของเงินกูรัฐบาลจะใชการกูเงินในประเทศทั้งหมด โดยมีเครื่องมือหลัก ในการกูเงิน ไดแก พันธบัตรและตั๋วสัญญาใชเงิน นอกจากนี้ สำหรับการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลเงินงบประมาณจะใช ตัว๋ เงินคลังกูเ งินระยะสัน้ เพือ่ บริหารเงินสดดวย ในสวนของเงินกูร ฐั บาลเพือ่ การลงทุนซึง่ คิดเปน 15% ของหนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ ดยตรง จะประกอบดวยทั้งเงินกูในประเทศและตางประเทศ โดยหนี้ในประเทศเกิดจากการกูเงินเพื่อการลงทุนภายใตโครงการเพื่อ ฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (ไทยเขมแข็งฯ) ซึ่งจะกูเงินจากธนาคารพาณิชยรวมถึงออกพันธบัตรและ ตั๋วสัญญาใชเงิน โดยในสวนของเงินกูตางประเทศจะเปนการกูเงินจากแหลงเงินกูทางการตางประเทศที่มีเงื่อนไขผอนปรนและ การออกตราสารหนี้ในตลาดการเงินตางประเทศ

แผนภูมิแสดงองคประกอบหนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554

Non Finacial SOEs Debt, 25.10%

SFIs Guarenteed Debt, 3.78% FIDF, 0.73%

Investment, 15.13%

Fiscalized FIDF Debt, 37.76% Budget Deficit, 47.10%

Direct Government Debt, 70.39%

ที่มา : สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

วิธีการคำนวณ GDP ในแตละเดือน เพื่อใหสัดสวน Debt/GDP สะทอนคาที่ใกลเคียงความเปนจริงที่สุด ซึ่งไดคำนวณ GDP ของเดือนมีนาคม 2554 ดังนี้ [(GDP ป 53/12)*9]+[(GDP ป 54/12)*3] เทากับ 10,287.375 พันลานบาท โดยประมาณการ GDP ป 2553 และป 2554 เทากับ 10,103.00 พันลานบาท และ 10,840.50 พันลานบาท ตามลำดับ (สศช. ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2554) 1

9


สารพันบันเทิง

อัลบั้ม Asia ศิลปน Lisa Ono Lisa Ono (ลิซา โอโนะ) นักรองสาวลูกครึ่งญี่ปุน-บราซิล เจาของฉายาราชินี เพลงบอสซาโนวา ไดสงผลงานเพลงชุดใหมที่ชื่อวา Asia (เอเชีย) ออกมาขับกลอม ให แ ฟนเพลงได สั ม ผั ส กั บ กลิ่ น อายของเอเชี ย ซึ่ ง รวมบทเพลงอั น ไพเราะระดั บ คลาสสิกจากหลายประเทศในเอเชีย โดยนำมาทำดนตรีใหมและการขับรองใหมใน สไตลบอสซาโนวา ดวยภาษาตางๆ ไมวาจะเปนภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเกาหลี รวมไปถึงภาษาอื่นๆ ในเอเชีย ภายใตคอนเซปตการเดินทางของดนตรี ซึ่งเพลง ที่ บ รรจุ ใ นอั ล บั้ ม ชุ ด นี้ เ ชื่ อ ว า ทุ ก คนต อ งรู จั ก กั น ดี อย า งเพลง “สายชล” เพลงเพราะสุ ด คลาสสิ ค ของประเทศไทย ผลงานประพันธของ คุณไชย ณ ศีลวันต และคุณจันทนีย อุนางกูล ที่มคี วามไพเราะ ไมแพตนฉบับเลย และอีกหลากหลายเพลงดัง เชน “เหอ ยื้อ จวิ้น ไจ ไหล” และ “เย ไหล เชียง” เพลงฮิตระดับตำนานของนักรองสาวจากประเทศจีน “เติ้งลี่จวิน” หรือ “อารีรัง” (เกาหลี) / Olu Pipila (ศรีลังกา) / Dahil Sa Iyo (ฟลิปปนส) / Rasa Sayang (มาเลเซีย) / Vande Mataram (อินเดีย) / Bengawan Solo (อินโดนีเชีย) / Buuvein Duu (มองโกล) ฯลฯ ลองหามาฟงกันไดในวันหยุดสบายๆ รับรองวาจะรูสึกผอนคลายไปกับเสียงรองของเธออยางไมรูเบื่อ

Transformers 3 : Dark of the Moon

กลั บ มาสร า งกระแสฟ เ วอร ขึ้ น อี ก ครั้ ง กั บ อภิ ม หาภาพยนตร เ รื่ อ งเยี่ ย มที่ สุ ด ของความมั น กั บ มหาสงครามหุนยนตจักรกลที่ยิ่งใหญเหนือจินตนาการ เรื่อง ทรานสฟอรเมอรส ภาค 3 ที่มีชื่อวา ดารค ออฟ เดอะ มูน เพราะแคตัวอยางของหนังที่ออนไลนทาง เว็บไซตก็มียอดการดาวนโหลดภายใน 24 ชั่วโมงแรก สู ง กว า 6 ล า นครั้ ง ถื อ เป น สถิ ติ สู ง สุ ด เท า ที่ เ คยมี ม า จนนางเอกเซ็ ก ซี่ ห น า ใหม โรซี ฮั น ติ ง ตั น ไวท ลี ย กลายเปนสาวฮอตสุดของปนี้ ในภาคนี้นำเสนอเรื่องราวของ แซม วิทวิกกี (ไชอา ลาบัฟ) ที่กำลังจะยางเทา กาวแรกเขาสูความเปนผูใหญ พรอมๆ กับการรักษาสถานะการเปนมิตรของมนุษย กับออพติมัส ไพรม เอาไว โดยมีฉากหลังเปนการแขงขันทางอวกาศระหวางสหภาพ โซเวียตและสหรัฐอเมริกา ซึง่ บงบอกวาเหลาทรานสฟอรเมอรสมีบทบาททีซ่ อ นเรนอยู และนั่นก็คือหนึ่งในความลับที่อันตรายที่สุดของโลกและหนึ่งในหุนตัวรายของภาคนี้ คือ ช็อกเวฟ นอกจากนี้ ไมเคิล เบย ผูกำกับฯ ยังบอกวา ความพิเศษของภาพยนตร เรื่องนี้คือถายทำดวยกลองสามมิติแทๆ แบบเดียวกับ Avatar และทันสมัยกวาดวยซีจี ที่พัฒนาขึ้นมากกวาเดิม รวมทั้งหุนทรานสฟอรเมอรสที่มากขึ้นกวาเดิมดวย ซึ่งพรอม จะเปดฉากมหาสงครามครั้งยิ่งใหญที่สุดในประวัติการณแลว

10


ตะลอนทัวร

à¡ÒÐÊժѧ àÁ×ͧʧºã¡ÅŒ¡Ãا à·ÕèÂÇä´Œã¹Çѹà´ÕÂÇ “เกาะสีชัง” คือเกาะที่ตั้งอยูใกลกรุงเทพฯ มากที่สุด ใกลซะจนมักจะถูกลืมวา เกาะแหงนี้เปนตัวเลือกที่นาสนใจ สำหรั บ วั น หยุ ด อั น แสนสั้ น ของใครหลายคน เพื่ อ ใช เ ป น สถานที่เที่ยวและพักผอนซึ่งสามารถทำไดภายในเวลา 1 วัน แบบเชาไป-เย็นกลับอยางสบาย ๆ เกาะสีชังเปนเกาะใหญและเปนอำเภอหนึ่งของจังหวัด ชลบุรี ซึ่งมีการตั้งชุมชนมานานกวา 100 ป มีประชากรราว 6,000 คน ทุกคนรูจักกันหมดจึงไมมีขโมยหรือผูราย และยังมี สถานที่ทองเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตรรวมถึงปูชนียสถาน หลายแหง ซึ่งแตละจุดหางกันไมมากเพียง 5-10 นาทีก็ถึง โดยจุ ด แรกที่ เ รามาเที่ ย วคื อ ศาลเจ า พ อ เขาใหญ ตั้ ง อยู ทางดานเหนือของเกาะ เปนศาสนสถานที่มีสถาปตยกรรม แบบจี น ผสมกั บ ไทยบ า ง ตั ว ศาลเจ า พ อ เขาใหญ อ ยู ใ นถ้ ำ ดานบน ตองเดินขึ้นบันไดไปกวา 150 ขั้น ที่มีทางแยกไป ศาลรั ช กาลที่ 5 กรมหลวงชุ ม พรเขตอุ ด มศั ก ดิ์ และมี พระสังขจายน ศาลเจาแมกวนอิม เจาพอเหงเจีย ซึ่งเปน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวเกาะสีชังใหความเคารพนับถือมาก รวมทั้ง ชาวจี น ที่ จ ะมากราบไหว กั น อย า งเนื อ งแน น ในช ว งตรุ ษ จี น และยั ง มี ค วามเชื่ อ ว า หากใครมาไหว ติ ด ต อ กั น 3 ครั้ ง ภายใน 3 ป จะมีความเจริญและร่ำรวย สถานที่ ต อ มา ช อ งเขาขาด (ช อ งอิ ศ ริ ย าภรณ ) อยู ด า นหลั ง ของเกาะ มี หาดหินกลม เต็ ม ไปด ว ยหิ น กลม ขนาดต า ง ๆ มากมายจึ ง ลงเล น น้ ำ ไม ไ ด แต เ ราสามารถ เดินชมวิวสวย ๆ ราวกับแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ตได บนสะพานวชิราวุธซึ่งประดับดวยโคมไฟหงสไปจนสุดสาย และจุดตอไป พระจุฑาธุชราชฐาน พระราชวังที่ประทับใน ฤดู ร อ นของรั ช กาลที่ 5 ที่ ง ดงามด ว ยสถาป ต ยกรรมไม สไตล เ รื อ นขนมป ง ขิ ง ซึ่ ง มี สถานที่นาสนใจหลายแหงอยาง สะพานอัษฎางค เรือนไมสีขาวยื่นไปในทะเลเปนมุมที่ทุกคน

ต อ ง ม า ถ า ย รู ป กั น หาดท า วั ง ซึ่ ง เล น น้ ำ ไมไดเชนกัน แตมีเกาอี้ ให นั่ ง รั บ ลมชมวิ ว ทะเล ส ว ย ง า ม ไ ด ส ว น อาคารไมสีเขียวที่เห็นคือ เรื อ นไม ท ะเล ข า งใน แสดงนิ ท รรศการข อ มู ล เกาะสีชังและมีเครื่องดื่มกับของวางขายดวย ใกล ๆ กันเปน เรือนวัฒนา ตัวอาคารทำจากปูนใชเปนที่แสดงนิทรรศการ เหตุ ก ารณ ส ำคั ญ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บนเกาะสี ชั ง ในสมั ย รั ช กาลที่ 5 จากนั้ น เราเดิ น ไปชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ช ลทั ศ นสถาน สถานที่ แสดงสัตวน้ำตาง ๆ อาทิ ปลาดาว ปู หอย เมนทะเล ปะการัง แลวเราก็มายังจุดสุดทายที่ หาดถ้ำเขาพัง อยูทาง ดานตะวันตกของเกาะ มีหาดทรายขาวยาวเหยียดเปนรูป พระจั น ทร น้ ำ ทะเลใสมากและเป น ชายหาดแห ง เดี ย วที่ เลนน้ำได ซึ่งมีทั้งอาหาร เครื่องดื่ม เกาอี้และเตียงผาใบไว บริ ก าร รวมทั้ ง มี กิ จ กรรมให ท ำ อาทิ บริ ก ารเช า ห ว งยาง เลนน้ำ เรือกลวย พายเรือคายัค เรานั่งชื่นชมบรรยากาศ ธรรมชาติอันเงียบสงบของที่นี่อยูพักหนึ่งก็เตรียมตัวกลับไป ขึ้นเรือใหทันเที่ยวสุดทาย 6 โมงเย็น หากใครต อ งการอยู ค นเดี ย วเงี ย บ ๆ สั ก พั ก ในที่ ที่ ไ ม มี ร า นกาแฟสวยเก ห รื อ แหล ง ท อ งเที่ ย วยามค่ ำ คื น เวลาไปไหนไม ต อ งระวั ง ตั ว มากเพราะมี ค วามปลอดภั ย สู ง ก็ไมควรลืม “เกาะสีชัง” กันนะ

แหลงขอมูลเพิ่มเติม 1. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ภาคกลางเขต 3 โทรศัพท 0 3842 7667, 0 3842 8750 2. สำนักงานจังหวัดชลบุรี www.chonburi.go.th

11


มณฑาทิพย ชุมทอง นิติกรปฏิบัติการ กลุมกฎหมาย

“¤ÓÈѾ· ¹‹ÒÃÙŒ”

ในวารสารหนี้สาธารณะฉบับกอนๆ ไดมีการอธิบายความหมายของคำตางๆ ที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติการบริหาร หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เชน หนี้สาธารณะ1 ตราสารหนี้ พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใชเงิน ฯลฯ และเมื่อทราบแลววา หนี้สาธารณะคืออะไร สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ในฐานะที่เปนหนวยงานที่มีหนาที่โดยตรงในการบริหารและ จัดการหนี้สาธารณะ จะมีวิธีการหรือแนวทางอยางไรเพื่อใชในการบริหารจัดการหนี้ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด โดยวิธีการที่ สบน. สามารถดำเนินการไดนั้นเปนไปตามที่กำหนดไวในมาตรา 142 เชน กูเงินรายใหมเพื่อชำระหนี้เดิม แปลงหนี้ ชำระหนีก้ อ นถึงกำหนดชำระ ขยายหรือยนระยะเวลาชำระหนี้ ตออายุ ซือ้ คืน หรือไถถอนตราสารหนีข้ องรัฐบาล ฯลฯ ดังนั้น เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยการบริหารหนี้สาธารณะมากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงขออธิบาย ความหมายของคำที่เกี่ยวของกับการบริหารและจัดการหนี้สาธารณะ ดังนี้ การบริหารหนี้สาธารณะ (Public Debt Management)

การกอหนี้โดยการกูหรือการค้ำประกัน การชำระหนี้ การปรับโครงสรางหนี้ และการดำเนินการอื่น ที่เกี่ยวของกับหนี้สาธารณะ

การกอหนี้ (Incurring of Debt)

การกูเงินของกระทรวงการคลัง หนวยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจจากแหลงเงินในประเทศและ ตางประเทศ ทั้งที่รัฐบาลค้ำประกันและไมค้ำประกัน

การปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring)

การจัดการโครงสรางหนี้สาธารณะโดยใชเครื่องมือทางการเงินและโอกาสที่ภาวะตลาดการเงิน เอื้ออำนวยในการทำ Refinance Swap Prepayment และ Roll Over โดยมีวัตถุประสงค เพื่อลดตนทุนการกูเงินภายใตกรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม

การกูเงินจากแหลงใหม (Refinance)

การกูเงินจากแหลงใหมที่มีเงื่อนไขเงินกูดีกวาแหลงเดิมเพื่อนำไปใชคืนแหลงเงินกูเดิม ซึ่งเปนการลดตนทุนการกูเงิน

การแปลงหนี้ (Swap)

การแปลงหนี้โดยทั่วไปสามารถดำเนินการได 2 วิธี คือ 1) การแปลงสกุลเงินหนึ่งไปอีกสกุลเงินหนึ่ง (Cross Currency Swap) อาทิ การแปลงหนี้จากสกุล เงินเยนเปนเงินบาท 2) การแปลงอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) อาทิ การแปลงอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวเปน อัตราดอกเบี้ยแบบคงที่

การชำระคืนหนี้กอนครบกำหนด (Prepayment)

การชำระคืนหนี้กอนครบกำหนดอายุโดยการนำงบประมาณของรัฐบาลหรือรายไดของรัฐวิสาหกิจ มาชำระคืน เพื่อลดยอดหนี้สาธารณะและลดภาระดอกเบี้ยในอนาคต

การขยายระยะเวลาชำระหนี้ (Extended Repayment Period)

การขยายระยะเวลาเงินกูออกไปอีกหลังจากที่เงินกูนั้นไดครบกำหนดชำระคืน ทั้งนี้ ตองดำเนินการ ขอขยายระยะเวลาชำระหนี้กับแหลงเงินกูเดิม

การตออายุ (Roll Over)

การขยายกำหนดเวลาเงินกูออกไปอีกหลังจากที่เงินกูนั้นไดครบกำหนดชำระคืน โดยอาจตออายุเงินกูกับแหลงเงินกูเดิมหรือแหลงใหมก็ได

นอกจากนีย้ งั มีธรุ กรรมทางการเงินอืน่ ทีเ่ ปนประโยชนตอ การปรับโครงสรางหนี3้ อาทิ การทำธุรกรรม เกี่ยวกับอนุพันธหรือเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ เพื่อใชในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ของอัตราดอกเบี้ยหรืออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เชน สัญญาซื้อขายเงินตราลวงหนา (Foreign Exchange Forward Contract) สัญญาซื้อขายอัตราดอกเบี้ยลวงหนา (Forward Rate Agreement) สัญญาซื้อขายเงินตราหรือ อัตราดอกเบี้ยลวงหนาในตลาดซื้อขายลวงหนา (Futures Contract) ฯลฯ

12

1 หนี้สาธารณะ (Public Debt) คือ หนี้ที่กระทรวงการคลัง หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู หรือหนี้ที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน แตไมรวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจ ที่ทำธุรกิจใหกูยืมเงินโดยกระทรวงการคลังมิไดค้ำประกัน 2 พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 มาตรา 14 บัญญัติวา “ใหกระทรวงการคลังมีอำนาจปรับโครงสรางหนี้สาธารณะ โดยการกูเงินรายใหมเพื่อ ชำระหนี้เดิม แปลงหนี้ ชำระหนี้กอนถึงกำหนดชำระ ขยายหรือยนระยะเวลาชำระหนี้ ตออายุ ซื้อคืน หรือไถถอนตราสารหนี้ของรัฐบาล หรือทำธุรกรรมทางการเงินอื่นที่เปน ประโยชนตอการปรับโครงสรางหนี้สาธารณะตามที่กำหนดในกฎกระทรวง” 3 กฎกระทรวงวาดวยการทำธุรกรรมทางการเงินอื่นที่เปนประโยชนตอการปรับโครงสรางหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2549


มุมสุขภาพ ในภาวะเครี ย ด ร า งกายจะสลายไขมั น และน้ ำ ตาล ออกมาเพื่อผลิตพลังงานเพิ่มขึ้น ยิ่งเครียดมากเทาไร รางกาย จะยิ่งดึงสารอาหารออกมาใชมากขึ้น จึงทำใหเรารูสึกเพลีย ออนแรง หงุดหงิด นอนไมหลับ

à¤ÃÕ´áÅŒÇá¡‹ ¡Ô¹μŒÒ¹à¤ÃÕ´…

¤×¹ÇÑÂÇѹÍѹʴãÊ เครี ย ด...หน า นิ่ ว คิ้ ว ขมวด เป น เรื่ อ งปกติ ข องคน ยุคใหม เพราะสารพัดปญหามากมายในชีวิตประจำวันที่ขยัน ผานมาใหขบคิด ทั้งเรื่องงาน เรื่องครอบครัว เรื่องหนี้สิน รวมไปถึงปญหาอีกรอยแปดประการทีเ่ ขามาสรางความกดดัน ใหเกิดความเครียด บางคนก็รูตัววาเครียด บางคนก็เครียด แบบสะสมซึ่ ง มั ก ไม ค อ ยรู ตั ว ว า เครี ย ด ไม ว า จะเป น ความเครียดรูปแบบใดลวนสงผลตอการทำงานของรางกาย สงผลตอภาวะของอารมณและจิตใจ อาการที่พบบอยๆ เชน มึ น งง ปวดศี ร ษะ นอนไม ห ลั บ ระบบขั บ ถ า ยแปรปรวน หายใจไมอิ่ม คลื่นไสอาเจียน วิตกกังวล หงุดหงิด ซึมเศรา นอนไมหลับ เปนตน นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลต อ พฤติ ก รรมการบริ โ ภคที่ เปลี่ยนไป บางคนเครียดแลวกินจนควบคุมไมได หุนที่เคย เพรียวลมสมสวนก็ตุยนุยขึ้นพรวดชนิดยั้งไมอยู ที่สำคัญคือ จะกลับมาลดใหผอมก็ยากเย็นแสนเข็ญ สวนพวกที่มีอาการ ซึ ม เศร า เหงาหงอย เบื่ อ อาหาร ยิ่ ง ไม กิ น ร า งกายจะขาด น้ ำ ตาล ความหงุ ด หงิ ด อ อ นเพลี ย หมดแรงพลั ง ก็ เ ข า มา แทนที่ จะคิ ด ทำการใดๆ ก็ ไ ร เ รี่ ย วแรง ผลที่ ต ามมาคื อ เกิดความวิตกกังวล อันเปนวงจรซ้ำซากของความเครียด ที่เกิดกับคนในสังคมสวนใหญ

เคล็ ด การกิ น ต า นเครี ย ดนั้ น สำหรับคนนอนไมหลับแนะนำวา อาหาร มื้อค่ำควรกินแบบเบาๆ ไมอิ่มมาก สวนคนที่ชอบ ดื่ ม ชา กาแฟ เพื่ อ กระตุ น ร า งกายจากอาการมึ น งง งวงเหงา ถาดื่มนอยๆ ก็อาจรูสึกวาดี ชวยใหสมองแจมใส แตถาดื่มมากเกินไปกลับเปนผลลบ เพราะกาเฟอีนมีฤทธิ์เปน สารกระตุ น และเพิ่ ม การหลั่ ง ของกรดในกระเพาะและฤทธิ์ ในการขั บ ป ส สาวะ ทำให ไ ตทำงานหนั ก ขึ้ น เพิ่มความเครียดในการทำงานของรางกาย ดั ง ที่ เ ราเห็ น กั น ว า ทำไมบางคนที่ ติ ด กาแฟหรื อ ดื่ ม กาแฟมากๆ ถึงดูแกกวาวัย

สำหรับอาหารที่ตานเครียดควรเลือกกินอาหารที่ให ไขมั น ต่ ำ มี ก ากใยอาหารสู ง เช น ผั ก ผลไม ห ลากชนิ ด นอกจากนี้ การกิ น วิ ต ามิ น บี ซึ่ ง มี ม ากในข า วกล อ ง ถั่ ว ธัญพืชตางๆ และสารอาหารประเภทแอนติออกซิแดนตหรือ สารต า นอนุ มู ล อิ ส ระอย า งวิ ต ามิ น ซี มี ม ากในผั ก และผลไม อยางสม มะละกอ แครอต บรอกโคลี กะหล่ำปลี มะเขือเทศ เป น ต น ก็ จ ะช ว ยให ร า งกายมี ร ะบบภู มิ คุ ม กั น และทนต อ ความเครี ย ดในสภาวะต า งๆ ได ดี ขึ้ น การกิ น วิ ต ามิ น ซี นอกจากชวยตานความเครียดแลว ยังมีประโยชนมากมายที่ สาวๆ ชอบกันมาก คือชวยเสริมสรางคอลลาเจน ทำใหผิวเปลงปลั่ง สดใส และชวยตานหวัด

นอกจากนี้ การมองโลกในแง ดี นอนพั ก ผ อ นให เพี ย งพอวั น ละ 6-8 ชั่ ว โมง ดื่ ม น้ ำ วั น ละ 8 แก ว และ ออกกำลั ง กายสม่ ำ เสมอก็ ท ำให เ รื่ อ งเครี ย ดเป น ป ญ หาที่ เ รา สามารถจัดการไดไมยากนัก ยิ่งขจัดความเครียดไดมากและ บอยเทาใด เทากับเปนการคืนกำไรใหแกชีวิต พรอมคืนวัย วันอันสดใสใหเราไดมีแรงตอสูกับปญหาตางๆ ไปไดอีกนาน

13


ขาวประชาสัมพันธ จาก สบน.

สุเนตรา เล็กอุทัย เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายและแผน

¢‹ÒÇ¡Ô¨¡ÃÃÁ 1. เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2554 สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะไดจัดสัมมนาเพื่อเผยแพรผลงานวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง “ภาระผูกพันทางการคลังของรัฐบาล : หนี้สาธารณะที่ซอนเรน” (Contingent Liability : The Hidden Public Debt) โดยมีผูแทนจากสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินตางๆ เขารวมรับฟง การสัมมนา ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ

2. เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะใหการตอนรับคณาจารย และนักศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 40 คน ในการเขาเยี่ยมชมองคกร และรับฟงการบรรยายเกี่ยวกับการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ

14


3. เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤษภาคม 2554 สำนั ก งานบริ ห าร หนี้ ส าธารณะจั ด กิ จ กรรมสื่ อ มวลชนสั ม พั น ธ ร ะหว า งผู บ ริ ห าร สบน. กับสื่อมวลชนสายเศรษฐกิจ ประจำกระทรวงการคลัง โดย นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะไดใหสัมภาษณพิเศษในประเด็น “ความพรอม และกำหนดในการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราผลตอบแทนผันแปรตามการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟอ (Inflation Linked Bond)”

4. สำนั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ จั ด จำหน า ยพั น ธบั ต รออมทรั พ ย ก ระทรวง การคลั ง ในงานมหกรรมทางการเงิ น และ การลงทุ น Money Expo 2011 ระหว า ง วั น ที่ 12-15 พฤษภาคม 2554 ณ อาคาร ชาเลนเจอร อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ ในโอกาสนี้ ผู อ ำนวยการสำนั ก งานบริ ห าร หนี้ ส าธารณะได ร ว มตอบคำถามเกี่ ย วกั บ การลงทุนในตราสารหนี้ภาครัฐและนำเสนอ หัวขอ “ออม-ลงทุนอยางไร ในยุคเงินเฟอพุงของแพง-คาแรงถูก” ใหแกผูเขารวมงาน

15


ธรรมะกับการงาน

“เหนื่อยกับการ ที่ตองเปนคน

Perfectionist

หรือเปลา…ทำทุกอยางตอง

Perfect”

¸ÃÃÁÐÊÓËÃѺ¡Ò÷ӧҹã¹áºº

Perfectionist

...อุ ป นิ สั ย การทำงานในแบบ Perfectionist (สมบู ร ณ แ บบนิ ย ม) ในลั ก ษณะ “เก็บทุกเม็ด” ราวกับมีบรรพบุรุษเปน “คุณยาละเมียด คุณแมละไม คุณนายละเอียด” นั้น มีทั้งขอดีและขอเสีย ขอดี ก็คือ จะทำใหเปนคนทำงานคุณภาพชนิด “จำหลักไวในใจชน” ไมวาจะจับ ทำอะไรก็ตาม ก็จะทำใหไดงานคุณภาพทั้งหมด และคนประเภทนี้หลังจากสรางงานแลว งานจะยอนกลับมาสรางคน เหมือนผูกำกับหนังชื่อกองโลกอยางจางอี้โหมวหรือสตีเวน สปลเบิรก พลันที่ปลอยงานชิ้นหนึ่งหลุดมือออกไปสูสาธารณชนแลว งานก็ไดสรางชื่อเสียง ใหเขามากมาย และทำใหเขาไมเคยตกงานอีกเลยตลอดชีวิต ขอเสีย ก็คือ จะทำใหเปนคนที่แบกความเครียดสูง สุขภาพจิตเสื่อม สุขภาพกาย อ อ นแอ ไม มี เ วลาให แ ก ตั ว เอง ครอบครั ว หรื อ สิ่ ง สุ น ทรี ย ใ นชี วิ ต อาทิ การท อ งเที่ ย ว การเดิ น ทาง การชื่ น ชมธรรมชาติ การดู ห นั ง ฟ ง เพลง การอ า นหนั ง สื อ หรื อ แม แ ต การคบเพื่อน หรือที่หนักหนอยก็กลายเปนคนที่ปวยหนักหนาสาหัสเพราะการทำงาน ทางแก ส ำหรั บ คนสมบู ร ณ แ บบนิ ย ม ก็ คื อ ควรถื อ หลั ก ของนั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ว า “ทำเหตุใหมาก ปลอยวางในผล” หมายความวา เวลาทำงานจงทำใหเต็มที่ ทำใหดีที่สุด แตเมื่อทำแลวตองปลอยวางเปน ไมตองคาดหวังสูงสุดจนนำเอางานเขามารวมกับลมหายใจ หรือเก็บไปฝนจนไมเปนอันกินอันนอน เมื่อทำงานในสวนของตนอยางดีที่สุดแลว ครั้นสงงานใหคนอื่นหรือแผนกอื่นแลว หากงานนั้นไมเปนไปตามความคาดหวังก็ควรเรียนรูที่จะยอมรับดวยความเขาใจวา ในโลกนี้ ไมมีใครไดทุกอยางดังใจหวัง และไมมีใครพลาดหวังทุกอยางไป ถาเราทำในสวนของเรา อยางดีที่สุดแลว แมผลออกมาจะไมเปนไปอยางที่หวัง ก็ไมควรเสียใจ…

16

แหลงอางอิงขอมูล สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดกาญจนบุรี www.kri.onab.go.th


คำคม

“You get the best out of others when you give the best of yourself.” - - Harvey Firestone - -

“คุณจะไดรับสิ่งที่ดีที่สุดของคนอื่น เมื่อคุณไดใหสิ่งที่ดีที่สุดของคุณไป” 4. การชำระคืนหนี้ 1. ยอดหนี้สาธารณะ กอนครบกำหนด คงคาง ณ สิ้นเดือน ทำเพือ่ ประโยชนอะไร มีนาคม 2554 กรุณาสงคำตอบมาที่ E-mail Address : pr@pdmo.go.th และใชเงิน คิดเปนรอยละเทาไร 3. การรวมทุน หรือทางไปรษณีย ที่อยูสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ จากแหลงใด ระหวางภาครัฐและ ของ GDP กระทรวงการคลัง ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 ภาคเอกชน (PPP) ภายในเดือนกรกฎาคม 2554 พรอมระบุ ชือ่ -ทีอ่ ยูต ดิ ตอกลับใหชดั เจน ถือเปนหนี้สาธารณะ 2. รูปแบบ 5. วั ต ถุ ป ระสงค (วงเล็บมุมซองวาตอบคำถามรวมสนุก) หรือไม การระดมทุนในประเทศ ของการกอหนี้ ผูที่ตอบถูก 10 ทานแรกเทานั้น จะไดรับรางวัลจาก (Domestic Financing) ประกอบไปดวย สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ จำแนกไดกี่รูปแบบ อะไรบาง อะไรบาง

ตอบคำถามชิงรางวัล

รองเรียน/รองทุกข แจงเบาะแสการทุจริต ประพฤติมิชอบ ของบุคลากรสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ

1. ทางโทรศัพท หมายเลข 02-2658050 ตอ 5128, 5105

4. เว็บไซต www.pdmo.mof.go.th (หัวขอ “ศูนยรบั เรือ่ ง รองเรียน”)

3. ทางไปรษณีย 6. หรือมาดวยตนเองที่ ถึงคณะกรรมการบริหาร สบน. อาคารสำนักงาน ศูนยรบั เรือ่ งรองเรียน สบน. เศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ทีอ่ ยู ถนน ผานทาง ชัน้ 4 ทีอ่ ยู ถนนพระรามที่ 6 พระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. เขตพญาไท 10400 5. กลองแสดงความคิดเห็น กทม. 10400 2. ทางโทรสาร ณ ศูนยขอ มูลขาวสาร หมายเลข 02-2739147 สบน.

17



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.