ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 เดือนมีนาคม 2558
สภาการหนังสือพิมพ์แต่งตัง้ นายกสภาทนายความ
เป็นรองประธานฯ คนที่ 2 และผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย .
เมือ ่ วันที่ 6 มีนาคม 2558 ได้มก ี ารประชุมคณะกรรมการสภา การหนังสือพิมพ์แห่งชาติ สมัยที่ 8 ครั้งที่ 1/2558 เพื่อเลือกตั้ง ประธาน รองประธาน เลขาธิการ และกรรมการอื่นๆ ที่จำ�เป็นของ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ โดย นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ ได้รับแต่งตั้งเป็น รองประธาน คณะกรรมการสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ คนที่ 2 และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย อีกหนึ่งตำ�แหน่ง สื่อ คือ ฐานันดรที่สี่ ซึ่งมีผลโดยตรงต่อสังคม คณะกรรมการสภาการหนังสือพิมพ์ชุดนี้ ต้องทำ�หน้าที่ ภายใต้ความรับผิดชอบในภาวะทีย่ ากลำ�บากเพราะต้องยอมรับสถานการณ์ทเี่ ป็นจริงว่า สังคมกำ�ลังไม่พอใจกับ บทบาทของสื่อ สื่อเองก็มีความเห็นต่าง ความพร้อมเพรียงในวิชาชีพไม่เหมือนเมื่อก่อน และกำ�ลังมีการ เปลี่ยนแปลงระดับโครงสร้างของสังคมในรัฐธรรมนูญและกฎหมายลูก อย่างไรก็ตาม ไม่ว่ารัฐธรรมนูญหรือ กฎหมายจะออกมาอย่างไร สิง่ เร่งด่วนคือ ต้องปรับให้ “การกำ�กับดูแลกันเอง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่พอยอมรับได้ของทุกฝ่าย” แนวความคิดในเรื่องนี้มีองค์ประกอบ 2 ด้าน คือ 1.การกำ�กับดูแล 2.การส่งเสริม สองอย่างนี้ต้องควบคู่กันไป การกำ�กับดูแลกันเอง คงต้องปรับความเข้าใจ สมาชิกต้องเข้าใจว่า ถึงสภาการหนังสือพิมพ์ฯ ไม่ทำ� แต่สังคมไม่รอ ยุคนี้สังคมโดยโซเชียลมีเดียก็ตรวจสอบจะหนักกว่าสภาการหนังสือพิมพ์ฯ อยู่แล้ว สภาการหนังสือพิมพ์ฯ น่าจะเป็นกลไกช่วยเหลือมากกว่าซ้ำ�เติม ส่วนกระบวนการร้องทุกข์ กฎเกณฑ์ต่างๆ ยัง รัดกุมเหมาะสมดีอยู่ แต่นา่ จะใช้ยทุ ธศาสตร์ “ทำ�เชิงรุกและเชือ่ มโยงกับภาคประชาชนมากขึน้ ” รูปธรรม ก็เช่น ร่วมกับองค์กรผู้บริโภค จัดตั้ง “กรรมการคุ้มครองผู้บริโภคสื่อ” ทำ�หน้าที่เป็นปากเสียงให้ประชาชน และเป็นมือไม้ให้คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ เป็นต้น ในด้านการส่งเสริมเป็นหน้าทีต่ ามวัตถุประสงค์การจัดตัง้ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ ฉะนัน้ ควรมี ทีมทำ�งานด้านนี้โดยเฉพาะ ทำ�แบบมีแผนงานและทั่วถึง ให้สื่อได้ปรับตัวเข้าสู่ดิจิทัลได้อย่างสง่าผ่าเผย โดยให้ มีการแลกเปลี่ยนความรู้ การเปลี่ยนแปลงธุรกิจและจริยธรรม.
เด่นในฉบับ
4 เหยื่อ“แม่เมาะ” 5 ทนายความไทย ข่าวเด่น :
ผลกระทบโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์
12 ปี ที่รอคอยการเยียวยา
ถึงเวลาเวลาทีร่ ฐั ต้องทบทวน THE WINNER :
คว้ า แชมป์ ฟ ต ุ บอล Asian Football Cup for
Lawyers 2015 : 2nd ASIALAWYERS in Pattaya-Thailand
International Women’s Day โดย คณะอนุกรรมการด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ สภาทนายความ
เนื่องในโอกาส 8 มีนาคม วันสตรีสากล เวียนมาบรรจบ ทุกๆ ประเทศทั่วโลก องค์กรด้านสตรี องค์กรด้านแรงงานหญิง รวมทั้งกลไก ด้านการพัฒนาสตรี ของภาครัฐและเอกชน ต่างจากกิจกรรมเพื่อเฉลิม ฉลอง รำ�ลึก ฉายภาพสิทธิสตรีให้สังคมได้รับรู้เพื่อย้ำ�หลักประกันและ พันธกรณี ความเสมอภาคสิทธิสตรีคือสิทธิมนุษยชน
ประเทศไทยได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) ได้มีการ จัดกลไกระดับนโยบายว่าด้วยสตรี คือ สำ�นักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว เพื่อจัดทำ�นโยบายและเผยแพร่ พันธกรณีของรัฐในการทำ�แผนนโยบายให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ตามพันธกรณี และนอกจากนัน้ ได้ท�ำ งานกับกลไก ด้านสตรีและองค์กรระหว่างประเทศ โดยเฉพาะ UN Women มีการพัฒนาสตรีโดยยึดถือตามแผนปฏิบัติการปักกิ่ง เพื่อความก้าวหน้าของสตรี เพื่อให้เกิดบรรทัดฐานที่มีความเสมอภาคซึ่งปัจจุบันครบกำ�หนด 20 ปี ของปฏิบัติการ ตามพันธกรณี พบว่า แม้จะมีการดำ�เนินการเผยแพร่และจัดกิจกรรมต่างๆ ด้านสิทธิสตรีแต่ยังพบว่า มีสถานการณ์ ปัญหาด้านการละเมิดสิทธิสตรีโดยเฉพาะความรุนแรงต่อผู้หญิง เด็กหญิง และ สถานการณ์ อ่านต่อหน้า 4 ปัญหาการค้ามนุษย์ ซึ่งมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น