คู่มือติดต่อราชการสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบัง

Page 1

กรมศุลกากร วิสัยทัศน ศุลกากรมาตรฐานโลกเพื่อ เพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศและปกปอง สังคม พันธกิจ -

ใหบริการทางศุลกากรที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ไดมาตรฐานโลก สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและการแขงขันของประเทศดวยมาตรการทางศุลกากร เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมทางศุลกากรเพื่อปกปองสังคม จัดเก็บภาษีอยางมีประสิทธิภาพดวยความเปนธรรมและโปรงใส

-

พัฒนาระบบงานศุลกากรใหเปนมาตรฐานโลก พัฒนามาตรการทางศุลกากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศ พัฒนาศักยภาพการควบคุมทางศุลกากรดวยมาตรฐานสากล บริหารจัดการะบบจัดเก็บภาษีอากรโดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

ยุทธศาสตร

ภารกิจ -

จัดเก็บภาษีอากรจากการนําสินคาเขา และสงสินคาออก เสนอแนะเพื่อกําหนดนโยบายการจัดเก็บภาษีอากรตอกระทรวงการคลัง การปองกันและปราบปรามการกระทําผิดทางศุลกากร สงเสริมและสนับสนุนการผลิตและการสงออกตามกฎหมายวาดวย ศุลกากร กฎหมายวาดวยพิกดั อัตราศุลกากร และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวของ - อํานวยความสะดวกดานการคาระหวางประเทศแกผูนําเขาและผูสงออก และเพิ่ม ศักยภาพการแขงขันทางการคาของประเทศ


2

เอกสารที่ควรเตรียมไว ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)

ใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (ดูรายละเอียดการลงทะเบียนในภาคผนวก) บัญชีราคาสินคา (INVOICE) ใบตราสงสินคา (Bill of Lading ) บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบหอ (Packing List) ใบแจงยอดเบีย้ ประกัน (Insurance Premium Invoice) ใบแจงยอดคาขนสง( Freight Invoice) ใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองสําหรับสินคาควบคุมการนําเขา/สงออก (ถามี) ใบรับรองแหลงกําเนิดสินคา (Certificate of Origin) กรณีขอลดอัตราอากร เอกสารทางการคา เชน Catalogue, ภาพถายสินคา, คูมือ หรือเอกสารเกี่ยวกับ คุณลักษณะของสินคา (10) เอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือมอบอํานาจ เปนตน


3

แผนภูมิแสดงขั้นตอนการนําเขาสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ 1. ผูประกอบการ/ตัวแทนออก

2. บริษัทเรือ/ตัวแทน - เตรียมขอมูลรายงานเรือเขา/ บัญชีสินคาสําหรับเรือขาเขา - สงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส มายัง ระบบ computer ของกรมศุลกากร - รับเลขที่รายงานเรือเขา

- ติดตอสั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ - ตกลงราคา เงื่อนไขการสงมอบ, การชําระเงิน, การประกันภัย - ติดตอบริษัทเรือ/ตัวแทน เพื่อจองระวางเรือ - นัดหมาย วันเวลาเรือเขา/ออก กับบริษัทเรือ/ตัวแทน - ตรวจสอบเอกสาร B/L, Invoice, Packing list และเอกสารที่เกี่ยวของจาก ผูขาย/บริษัท/ตัวแทน เพื่อจัดทําขอมูลใบขนฯ

3. เมื่อเรือเขาเทียบทา - รับใบสั่งปลอยสินคา D/O กับ Agentเรือ - สงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส มายัง ระบบ computer ของกรมศุลกากร - รับเลขที่ใบขนสินคาและเลขที่ชําระอากร

4. ระบบคอมพิวเตอร กรมศุลกากร

ebxml

-

ตรวจสอบความถูกตอง กําหนดเลขที่ รับรายงานเรือเขา ออกเลขที่ใบขนสินคา รับชําระคาภาษีอากร* เลขที่ชําระอากร ตรวจสอบตัดบัญชีสินคา กําหนดการสั่งการตรวจ

* ผูประกอบการสามารถเลือกชําระที่สํานักงานศุลกากร หรือชําระผานธนาคารได


4

5. ผูประกอบการ/ตัวแทนออก - ผูประกอบการติดตอทาที่นําเขา เพื่อชําระคาเชาโรงพักสินคา พรอมแสดงใบสัง่ ปลอยสินคา(D/O) - ผูป ระกอบการเตรียมยานพาหนะเพื่อบรรทุกสินคา - ผูป ระกอบการดําเนินการตามสั่งการตรวจ * ยกเวนการตรวจ (GREEN LINE) * ใหเปดตรวจ (RED LINE)

ยกเวนการตรวจ*

ใหเปดตรวจ พบเจาหนาที่

- ติดตอหนวยงานตรวจปลอย - ดําเนินการตามสั่งการตรวจ

เปดตรวจ / X - ray

ปลอยของออกจากอารักขาศุลกากร * กรณีเปนของที่ตองมีเอกสารประกอบการนําเขาใหยนื่ เอกสารตอหนวยบริการศุลกากรเพื่อตรวจสอบ ความถูกตองกับขอมูลในระบบคอมพิวเตอร


5

ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) การผานพิธีการศุลกากรอิเล็กทรอนิกสดานการนําของเขา เปนการปรับปรุงกระบวนงาน ลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานใหสะดวก และมีการเชื่อมโยงขอมูลการสั่งปลอยสินคาไปยังโรงพักสินคา หรือทาเทียบเรือ เพื่อผูประกอบการสามารถออกของไดรวดเร็วยิ่งขึ้น การยื่นผานพิธีการศุลกากร การชําระคาภาษีอากร การตรวจปลอยสินคา เปนการใหบริการ เบ็ดเสร็จ โดยผูประกอบการ/ตัวแทนออกของสามารถจัดเตรียมใบขนสินคาที่สํานักงานของตนเอง แลว สงขอมูลใบขนสินคาผานผูใหบริการ (Van Provider) มายังระบบคอมพิวเตอรของกรมศุลกากร ระบบ คอมพิวเตอรกรมฯ จะตรวจสอบแฟมขอมูลอางอิง ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และตัดบัญชีสินคาสําหรับเรือ อัตโนมัติผานระบบคอมพิวเตอร ในสวนการตรวจปลอยสินคาจะนําระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) มาใชใน การสั่งการตรวจ ตามเงื่อนไขที่หนวยงานศุลกากรกําหนดไวในระบบ Profile เพื่อจัดกลุมใบขนสินคา เปน 2 กลุม คือใหเปดตรวจ (Red Line) หรือใหยกเวนการตรวจ (Green Line) เมื่อระบบตรวจสอบเสร็จ แลว จะกําหนดเลขที่ใบขนสินคา กําหนดการสั่งการตรวจใหอัตโนมัติ แลวแจงตอบกลับไปยังผูประกอบการ ทราบผานทางอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งแจงโรงพักสินคาหรือทาเทียบเรือทราบถึงผลการสั่งการตรวจจาก ศุลกากร - กรณียกเวนการตรวจ ผูประกอบการสามารถติดตอโรงพักสินคาหรือทําเนียบทาเรือ รับมอบสินคาไดทันที - กรณีใหเปดตรวจ ผูประกอบการติดตอโรงพักสินคา หรือทําเนียบทาเรือ เตรียมของ เพื่อตรวจ แลวติดตอเจาหนาที่ศุลกากร ทําการตรวจปลอยสินคา การชําระคาภาษีอากร ผูประกอบการสามารถเลือกชําระที่สํานักงานศุลกากร หรือชําระผานธนาคารได การตรวจปลอยสินคาขาเขา เปนการตรวจปลอย ณ ทา หรือ ที่ หรือสนามบินศุลกากรที่ระบุในบัญชีสินคาวามีชื่อ สงของถึง แตผูประกอบการสามารถแจงความประสงคขอขนยายสินคาไปตรวจปลอยนอกเขตทา หรือ สนามบินที่นําเขาได แตตองแจงลวงหนาในขั้นตอนจัดเตรียมใบขนสินคากอนสงมายังระบบคอมพิวเตอร ของกรมศุลกากร


6

แผนภูมิแสดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) บริษัทเรือ/ตัวแทนเรือ

c จัดเตรียมขอมูลยื่น รายงานเรือเขา/บัญชี สินคาสําหรับเรือ

ระบบคอมพิวเตอร กรมศุลกากร

หนวยงานทา/ ที่นําเขา

e

- ตรวจสอบรายงาน เรือเขา และบัญชี สินคา สําหรับเรือ - ออกเลขที่รับ รายงาน เรือเขา

- ผูประกอบการติดตอโรงพักสินคา - ดําเนินการตามสั่งการตรวจ GREEN LINE เพื่อรับมอบของ RED LINE ใหเตรียมของเพื่อตรวจ

GREEN LINE

RED LINE

ไมติดเงื่อนไข ติดเงื่อนไขเสี่ยงสูง ผูประกอบการ/ ตัวแทนออกของ

d

- จัดเตรียมขอมูล ใบขนสินคา ยื่นผานพิธกี าร ศุลกากร ทาง อิเล็กทรอนิกส

เลขที่ใบขนสินคา และ เลขที่ชําระอากร

ระบบคอมพิวเตอร กรมศุลกากร

ติดตอหนวยงานตรวจ ปลอยดําเนินการตาม สั่งการตรวจ เปด ตรวจหรือ X - Ray

- ตรวจสอบตัดบัญชีสินคา

สําหรับเรือ - ตรวจสอบระบบบริหาร ความเสี่ยง - กําหนดสั่งการตรวจ - ออกเลขที่ใบขนสินคา และชําระเงินผานธนาคาร

f ติดตอ ทาเรือ/ โรงพักสินคา สงมอบของจากอารักขาศลกากร บริ6/ษกระบวน... ัท / โรงงาน

Message


7

แผนภูมิแสดงขั้นตอนการสงออกสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ 1. ผูประกอบการ/ตัวแทนออกของ

2.ระบบคอมพิวเตอรกรมศุลกากร

- ติดตอรับ Order จาก ตางประเทศ - ตกลงเงื่อนไขการสงมอบ, การชําระเงิน , การประกันภัย - ติดตอบริษัทเรือ/ตัวแทน เพื่อ จองระวางเรือ - เตรียมขอมูลบัญชีราคาสินคา และใบขนสินคาขาออก - รับเลขที่ใบขนสินคา - รับเลขที่ชําระอากร

- ตอบกลับออกเลขที่ ใบขนสินคา - ออกเลขที่ชําระอากร

3.ธนาคาร รับขอมูล การตัด บัญชี ธนาคาร

5. สถานีรับบรรทุก ณ ทาที่สงออก บันทึกการตัดบัญชีใบกํากับการขนยาย และตรวจสอบเงื่อนไข ความเสี่ยง

4. ผูรับผิดชอบการบรรจุ Green Line

บรรจุสินคาเขาตูคอนเทนเนอร

เตรียมขอมูลใบกํากับ การขนยายสินคา

พิมพใบกํากับฯ และเคลื่อนยาย ตคอนเทนเนอรไปยังทาที่สงออก

ตอบกลับ เลขที่ใบกํากับ การขนยาย สินคา

Red Line

- ทําการ X-ray - เปดตรวจ 6. หนวยควบคุมเรือออก -รับรายงานเรือออกและ

บันทึกวันที่เรือออกจริง ประมวลผลการรับบรรทุก/รับรองการ สงออก


8

ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส(e-Export) เมื่อผูสงออกติดตอหรือรับใบสั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ และไดตกลงในเงื่อนไขการ สงมอบสินคา การชําระเงิน การจัดทําประกันภัย การติดตอบริษัทเรือ/ตัวแทนเรือ เพือ่ จองระวางเรือ และ รายละเอียดตาง ๆ ในการสงมอบสินคาเสร็จแลว จะตองเตรียมขอมูลบัญชีราคาสินคา(INVOICE) เพื่อ จัดทําขอมูลใบขนสินคาขาออกตามมาตรฐานที่ศุลกากรกําหนด การจัดสงขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากร โดยจัดสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสพรอมลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (Digital Signature) ของเจาของลายมือชื่อ ผานบุคคลที่เปนสื่อกลางผูใหบริการรับสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (VANS) เขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกสตามมาตรฐานทีศ่ ุลกากรกําหนด (ebXML) แทน การจัดทํา ยืน่ สง รับเอกสาร และการลงลายมือชื่อในกระดาษ ระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรจะ ตรวจสอบความถูกตองเบื้องตน หากตรวจสอบพบความผิดพลาดจะตอบรหัสขอผิดพลาดทุกขอกลับไปให ผูสงขอมูล หากไมพบขอผิดพลาดจะกําหนดเลขที่ใบขนสินคา ออกเลขที่ชําระอากร(ถามี) และตอบ กลับไป เมื่อผูสงออกตอบรับแลวก็สามารถยื่นชําระอากรที่สํานักงานศุลกากรหรือ ผานธนาคารตาง ๆ ที่ กรมศุลกากรไดระบุไว เพื่อทําการรับขอมูลและตัดบัญชีธนาคารตอไป การบรรจุสินคาและการจัดทําใบกํากับการขนยายสินคา - ผูสงออกรายเดียว (FCL) ไมวาจะมีใบขนสินคาขาออกฉบับเดียวหรือหลายฉบับก็ตาม ใหทําการบรรจุสินคานอกเขตอารักขาของศุลกากรได - ผูสงออกหลายราย (LCL) บรรจุสินคาภายในเขตอารักขาศุลกากร เวนแตผูสงออกตอง มีความจําเปนในการบรรจุของในตูคอนเทนเนอรเดียวกัน ผูรับผิดชอบการบรรจุตองเตรียมขอมูลใบกํากับการขนยายสินคาตามมาตรฐานที่ ศุลกากรกําหนด และเปนผูสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสเขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากร เมื่อผูสง ขอมูลไดรับการตอบกลับมาพรอมเลขที่ใบกํากับการขนยายสินคาแลว ใหเคลื่อนยายตูไปยังทาที่จะทํา การสงออก การขนยายสินคาผานสถานีรับบรรทุก ณ ทาที่สงออก เมื่อขนสงสินคามาถึงสถานีรับบรรทุกใหผูขนสงทําการแจงเลขที่ใบกํากับการขนยาย สินคาพรอมแนบใบตรวจรับสภาพตู หรือใบชั่งสินคาของทาที่สงออก (EIR) เจาหนาที่จะตรวจสอบเลขที่ ตูคอนเทนเนอร ระบบคอมพิวเตอรจะตัดบัญชีใบกํากับการขนยายสินคาและตรวจสอบเงื่อนไขความเสี่ยง ถาไมติดเงื่อนไข (Green line) ระบบจะทําการประมวลผลเปนสถานะพรอมรับบรรทุกโดยอัตโนมัติ แตถาติดเงื่อนไข (Red line) จะตองไปพบเจาหนาที่เพื่อตรวจของ หรือ สงตูสินคาไปทําการเอกซเรย


9

การรับบรรทุกของสงออก ระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรจะทําการประมวลผลการรับบรรทุกโดยอัตโนมัติเพื่อ รับรายงานเรือออกและบันทึกวันที่เรือออกจริง และจะตอบกลับขอมูลที่ทําการประมวลผลการรับ บรรทุกไปใหผูสงขอมูลใบขนสินคาขาออก ขอความ Goods Loaded เพื่อใหทราบถึงสถานะ การรับ บรรทุกสงออกไปนอกราชอาณาจักร หากผูสงขอมูลใบขนสินคาขาออกไมไดรับขอมูลตอบกลับสถานะ การรับบรรทุกภายใน เวลาอันควร ใหตรวจสอบขอมูลกับบุคคลที่เปนสื่อกลางผูใหบริการรับสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (Value Added Network Services: VANS)


10

แผนภูมิแสดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส (e-Export) ผูสงออกสงขอมูล - ใบขนสินคา, Invoice

ชําระคาภาษีอากร(ถามี) ผานการตัดบัญชีธนาคาร

ระบบ Computer ของกรมศุลกากร

*** ขอมูล ถูกตอง ไดรับเลขที่ใบขนฯ

ผูรับผิดชอบการบรรจุ จัดทําใบกํากับการขนยาย

ผานสถานีรับบรรทุก

*** ขอมูลถูกตองไดรับเลขที่ใบกํากับการขนยายสินคา Green Line

Red Line พบเจาหนาที่เพื่อ ตรวจของ / X-ray

รับบรรทุกโดยอัตโนมัติและแจงผลการ รับบรรทุกกลับบริษัทฯ ทางอิเล็กทรอนิกส


11

พิธีการการนําเขาของใชสวนตัวและของใชในบานเรือน ของใชสวนตัว หมายถึงของสวนตัวทีเ่ จาของนําเขามาพรอมกับตน สําหรับใชเองหรือใชในวิชาชีพ และมี จํานวนพอสมควรแกฐานะ ไดรับยกเวนอากร เวนแต รถยนต อาวุธปน กระสุนปน และเสบียง แตสุรา หรือ บุหรี่ หรือ ซิการ หรือยาเสน ซึ่งเปนของสวนตัวที่เดินทางนําเขามาพรอมกับตนนั้น อธิบดีกรม ศุลกากรอาจออกขอยกเวนอากรใหไดตามที่เห็นสมควรเปนแหง ๆ ไป แตตองไมเกินปริมาณ ดังนี้ 1. บุหรี่ จํานวน 200 มวน หรือ ซิการ หรือยาเสน อยางละ 250 กรัม หรือ หลาย ชนิดรวมกันมีน้ําหนัก ทั้งหมดรวม 250 กรัม 2. สุรา จํานวน 1 ลิตร หมายเหตุ นําเขาพรอมกับตน ใหหมายความรวมถึง การนําเขามาถึงประเทศไทยไมเกิน 1 เดือน กอน ผูนําของเขามาถึง หรือไมเกิน 6 เดือนนับแตวนั ที่ผูนําของเขาเขามาถึง บุคคลซึ่งจะไดรับการพิจารณายกเวนอากรของใชสวนตัว บุคคลซึ่งจะไดรับยกเวนคาอากรตามภาค 4 ประเภทที่ 5 แหงพระราชกําหนดพิกัดฯ ไดแก คนตางดาว หรือคนไทยที่เดินทางไปมาระหวางประเทศไมวาจะเปนการชั่วคราว หรือเปนการยาย ภูมิลําเนา แตสงิ่ ของนั้นจะตองมีจํานวนพอสมควรแกฐานะของบุคคลนั้น ๆ

ของใชในบานเรือน หมายถึง ทรัพยสินอื่น ๆ ที่ไมใชของใชสวนตัวซึ่งผูเดินทางเขามาในหรือออกไปนอก ราชอาณาจักร นําติดตัวเขามาในหรือออกไปพรอมกับตน และเปนของที่ผูนําเขาใชสอยตามปกติระหวาง อยูตางประเทศ โดยผูนําเขาของใชในบานเรือนตองมีกรรมสิทธิ์ในของนั้น ๆ อยูกอนการยายภูมิลําเนา เชน โทรทัศน ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องประดับ ฯลฯ ของใชในบานเรือนที่ใชแลวดังกลาวเจาของตอง นําเขามาพรอมกับตน เนื่องจากในการยายภูมิลําเนา และมีจํานวนพอสมควรแกฐานะ จะไดรับสิทธิ ยกเวน อากร 1. หลักเกณฑการพิจารณายกเวนอากรของใชในบานเรือนที่ใชแลว ของใชในบานเรือนที่จะไดรบั การยกเวนอากรขาเขาไดผนู ําเขาจะตองเปนบุคคลที่ไดยาย ภูมิลําเนาเขามาตั้งในประเทศไทย ไมวาเปนคนไทยหรือชาวตางประเทศ และจํานวนของใชในบานเรือน ที่จะยกเวนอากรใหได จะพิจารณาเทาที่เปนจํานวนพอสมควรที่พึงมีพงึ ใชตามปกติวสิ ัย และผานการใช งานแลว โดยตองเปนของที่นาํ เขามาจากประเทศซึ่งผูนําเขามีภูมิลําเนาอยูกอนทีจ่ ะยายเขามามีภูมลิ ําเนาใน


12

ประเทศไทย สําหรับของใชในบานเรือนทีเ่ ปนเครื่องใชไฟฟา เชน “วิทยุ” ถามีการนําเขามาก็จะยกเวนให เพียง 1 เครื่อง ถามีมากกวา 1 เครื่อง จะยกเวนอากรใหเพียง 1 เครื่องเทานั้น ยกเวนการยายภูมลิ ําเนา ทั้งครอบครัว ใหไดรับยกเวนอากรไดอยางละ 2 เครื่อง และเครื่องที่ยกเวนคาอากรใหนนั้ ตองเปนเครื่อง ที่มีคาอากรต่ําสุด นอกจากวิทยุแลวอาจมีตเู ย็น เครื่องรับโทรทัศน ฯลฯ ใหถือเกณฑเดียวกับวิทยุ ของใช ในบานเรือนดังกลาว จะตองนําเขามาถึงประเทศไทยไมเกิน 1 เดือน กอนผูนําของเขามาถึง หรือไมเกิน 6 เดือนนับแตวันที่ผูนําของเขาเขามาถึง อธิบดีกรมศุลกากรมีอํานาจขยายกําหนดเวลาที่กลาวขางตนได เมื่อเห็นวามีพฤติการณพิเศษ การยายภูมิลําเนานั้น ใหถอื เกณฑการพิจารณา ดังตอไปนี้ 1.1 ชาวตางประเทศ (1) ชาวตางประเทศที่ยายภูมิลําเนาเขามาอยูในราชอาณาจักร ตองเปนผูไดรับโควตาเขา เมืองตามที่ปรากฏในหนังสือเดินทางหรือใบประจําตัวคนตางดาว หรือ (2) ชาวตางประเทศไดรับอนุญาต ใหเขามาประกอบอาชีพในราชอาณาจักร จะไดรับ การอนุโลมใหถือวายายภูมิลาํ เนาตองไดรบั อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมือง วาบุคคลผูนจี้ ะใหอยูไ ดไมต่ํากวา 1 ป กรณีที่ยงั ไมไดรบั อนุญาตแตเปนเรื่องรีบดวน ตองยื่นเอกสารอยางใดอยางหนึ่งประกอบการพิจารณา คือ - หนังสือสํานักงานตรวจคนเขาเมืองรับรองวาจะไดรับอนุญาตใหอยูชั่วคราวเปนป ๆไป - หนังสืออนุญาตของกรมแรงงานวา ไดรับอนุญาตใหประกอบอาชีพในประเทศแลว ไมนอยกวา 1 ป (3) ชาวตางประเทศทีเ่ ขามาในฐานะผูเชีย่ วชาญ ผูชํานาญการพิเศษ หรือภายใตสัญญาจาง ของหนวยราชการ ตองมีหนังสือหนวยราชการนัน้ ๆ รับรองวาบุคคลผูนั้นไดรับ อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมืองใหอยูในประเทศในประเภท NON IMMIGRANT แลว และจะอยูปฏิบัติงานไมนอยกวา 1 ป (4) กรณีชาวตางประเทศ ตาม (2) และ (3) มีสามีหรือภรรยาของตนติดตามมาดวย และ ไดรับอนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมืองใหอยูใ นประเทศไทยไดครัง้ แรก 90 วัน ก็ ใหถือวาผูติดตามนั้นยายภูมิลาํ เนาเขามาอยูใ นประเทศไทย หมายเหตุ ชาวตางประเทศที่เดินทางเขามาในราชอาณาจักรประเภท NON IMMIGRANT ที่เขามาใชชวี ติ บั้นปลาย หรือติดตามภรรยาชาวไทยเขามาไมอยูใ นหลักเกณฑตาม (1) 1.2 ชาวไทย (1) ชาวไทยหรือขาราชการไทยที่ไปทํางาน หรือดํารงตําแหนงหรือดูงานใน ตางประเทศ ตองอยูประจะเปนเวลาไมนอยกวา 1 ป กรณีที่ตองเดินทางกลับกอน กําหนด 1 ป ตองมีหลักฐานมาแสดงวาไดเดินทางกลับเนื่องจากสิ้นสุดสัญญาการ จาง หรือไดรบั คําสั่งใหยายกลับมาปฏิบัติหนาที่ในราชอาณาจักร หรือเสร็จสิ้นการ ดูงานกอนกําหนด


13

(2) ชาวไทยที่ไปอยูประจําในตางประเทศในกรณีอนื่ เปนระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป ตองใหคํารับรองตอพนักงานเจาหนาที่วาจะกลับเขามามีภูมิลําเนาในประเทศไทย (3) นักเรียนไทย หรือขาราชการไทยที่ไปศึกษาวิชาหรือดูงานในตางประเทศ และคน ไทยที่ออกไปอยูตางประเทศ ใหไดรับยกเวนอากรของใชในบานเรือนได ในกรณี ที่มีกรรมสิทธิ์ในของนั้น และไดใชสอยอยูใ นตางประเทศตามปกติกอนจะเขามา ในประเทศไทย และของนัน้ จะตองมีจํานวนเทาที่พอสมควรตามฐานะของบุคคล นั้น ๆ และตองมีหลักฐานแสดงวาไดไปอยูในตางประเทศไมต่ําวา 1 ป 2. เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนําเขาของใชในบานเรือน และ/หรือ ของใชสวนตัว 2.1 ใบขนสินคาขาเขา กศก. 99/1 2.2 หนังสือเดินทาง (Passport) 2.3 กรณีเปนชาวตางประเทศทีย่ ายภูมิลําเนามาอยูในประเทศไทยตองมีหลักฐานอยางใดอยาง หนึ่ง ดังตอไปนี้ - หนังสือสํานักงานตรวจคนเขาเมืองรับรองวาจะไดรับอนุญาตใหอยูช ั่วคราวเปนป ๆไป - หนังสืออนุญาตของกรมการจัดหางานวาไดรับอนุญาตใหประกอบอาชีพในประเทศไทย แลวไมนอยกวา 1 ป - ชาวตางประเทศที่เขามาในฐานะผูเชี่ยวชาญ ผูชํานาญการพิเศษ หรือภายใตสัญญาจาง ของหนวยราชการ ตองมี่หนังสือของหนวยราชการนั้น ๆ รับรองวาบุคคลผูนั้นไดรับ อนุญาตจากสํานักงานตรวจคนเขาเมือง ใหอยูในประเทศไทย ในประเภท NON IMIGRANT แลว และจะอยูปฏิบัติงานไมนอยกวา 1 ป 2.4 กรณีชาวไทยตองแสดงหลักฐานแสดงวามีการยายภูมิลาํ เนา เชน ใบรับรองจบการศึกษา คําสั่งยาย หนังสือสัญญาสิ้นสุดการจาง 2.5 ใบตราสงสินคา (Bill of Lading) 2.6 บัญชีราคาสินคา (Invoice) (ถามี) 2.7 ใบสั่งปลอยสินคา (Delivery Order) 2.8 บัญชีรายการสิ่งของ (Packing List) หรือเอกสารซื้อขาย (ถามี) 2.9 ใบอนุญาต กรณีเปนสินคาควบคุมการนําเขา 2.10 แบบคํารองขอยกเวนอากร 2.11 เอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือมอบอํานาจ เปนตน 3. ขั้นตอนการปฏิบัตพิ ิธีการนําเขาของใชในบานเรือน และ/หรือ ของใชสวนตัว ผูนําเขาหรือตัวแทนยื่นคํารองขอยกเวนอากร ใบขนสินคาและเอกสารประกอบตอฝายพิธีการ กลาง สวนบริการกลาง หรือดานศุลกากรทีน่ ําเขา เพื่อตรวจสอบและอนุมัติการไดรบั สิทธิยกเวนอากร


14

พิธีการนําเขายานพาหนะสวนบุคคล 1. การนําเขายานพาหนะสวนบุคคลชั่วคราว รถยนต รถจักรยานยนต เรือสําราญและกีฬา หรือเรือประมงที่เจาของนําเขามาพรอมกับตนเปน การชั่วคราวและจะสงกลับออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน 6 เดือน จะไดรับการยกเวนอากรขาเขา โดย ผูที่ประสงคจะนํายานพาหนะสวนบุคคลประเภทรถยนต รถจักรยานยนต เรือสําราญ และกีฬา หรือ เรือประมง เขามาพรอมกับตนเองเปนการชั่วคราวตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่กรมศุลกากร กําหนดไวใหครบถวน 1.1 เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนําเขายานพาหนะสวนบุคคลชั่วคราว (1) ใบขนสินคาขาเขาพิเศษ และมีสําเนา 5 ฉบับ (2) ทะเบียนยานพาหนะ (3) บัตรประจําตัวและหนังสือเดินทางของผูควบคุมยานพาหนะ (4) หนังสือมอบอํานาจ กรณีผูควบคุมยานพาหนะมิใชเจาของ (5) คํารองขอนํายานพาหนะสวนบุคคลเขามาเพื่อการทองเที่ยวเปนการชั่วคราว (6) หลักฐานการซื้อขาย เชน Performa Invoice, Invoice (7) สําเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล (8) สัญญาประกันการสงกลับ (9) เอกสารแจงเรือเขา(แบบที่ 186 และใบแนบ 1) และเอกสารเกีย่ วกับเรือ รูปพรรณเรือ (กรณีเปนเรือสําราญและกีฬา) (10) เอกสารอื่น ๆ (ถามี) 1.2 ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนําเขาชั่วคราวยานพาหนะสวนบุคคล (1) ผูนําเขาหรือตัวแทนยื่นใบขนสินคาพรอมเอกสารประกอบตอฝายพิธีการกลาง สวนบริการกลาง กรณีมีสิ่งของอื่นหรือผูโดยสารและสิง่ ของติดตัวผูโดยสารเขามา พรอมกับยานพาหนะ ผูนําเขาหรือตัวแทนตองแจงกรมศุลกากรดวย (2) กรมศุลกากรตรวจสอบขอมูลในใบขนสินคาและเอกสารประกอบ หากเอกสาร ถูกตองครบถวนแลว จะออกเลขที่ใบขนสินคา และกําหนดวงเงินค้ําประกันสําหรับ การนําเขานั้น ๆ (3) ผูนําเขาหรือตัวแทนนําหลักประกัน (เงินสดหรือธนาคารค้ําประกัน) ไปชําระที่ฝาย บัญชีและอากร (4) ผูนําเขาหรือตัวแทน นําหลักฐานการวางประกันมาแสดงตอเจาหนาที่ศลุ กากร


15

(5) กรมศุลกากรจะตรวจยานพาหนะและสิ่งของติดตัวผูโดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแลว จะ มอบสําเนาใบขนสินคาขาเขาพิเศษใหผูนําเขาไว 1 ฉบับ เพื่อใชกํากับยานพาหนะ และแสดงตอเจาหนาที่ศุลกากรเมื่อนํายานพาหนะออกไปนอกประเทศไทย 1.3 ขั้นตอนการปฏิบัตพิ ิธีการสงออกยานพาหนะสวนบุคคล (1) ผูสงออกยื่นใบขนสินคาขาเขาพิเศษที่กรมศุลกากรออกใหขณะนําเขาและสําเนา 1 ฉบับ ตอเจาหนาที่ศุลกากร (2) กรมศุลกากรจะตรวจยานพาหนะและสิ่งของติดตัวผูโดยสาร เมื่อเสร็จสิ้นแลวจะ ถอนประกันทัณฑบนที่ผูนําเขาทําไวกับกรมศุลกากรขณะนําเขา 1.4 ขอควรทราบในการนําเขาชั่วคราวยานพาหนะสวนบุคคล (1) หากผูนําเขาไมนํารถกลับออกไปในระยะเวลาที่กําหนดไวในสัญญาประกันทัณฑ บน กรมศุลกากรจะบังคับสัญญาทัณฑบนเต็มจํานวนที่กาํ หนดไว โดยไมมีการ ลดหยอนทั้งสิน้ (2) กรณีผูนําเขาตองการขอขยายเวลาการนํารถออกนอกประเทศไทยตามทีร่ ะบุไวใน สัญญาประกันทัณฑบน ก็สามารถขอขยายเวลากับกรมศุลกากรไดอกี แตไมเกิน 6 เดือน เวนแตในกรณีทจี่ ําเปน เชน เครื่องยนตเสีย หรือรถยนตถูกชนตองเสียเวลา ในการซอม ก็อาจขยายเวลาออกไปใหเกินกวา 6 เดือนได แตรวมแลวตองไมเกิน 8 เดือน นับแตวันนําเขา (3) การประกันและการค้ําประกัน - ผูนําเขาสามารถวางประกันดวยเงินสด หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคาร แต สําหรับรถจักรยานยนตที่นกั ทองเที่ยวชาวตางประเทศนําเขาทางสํานักงาน ศุลกากรทาเรือกรุงเทพ สํานักงานศุลกากรกรุงเทพ สํานักงานศุลกากรทาอากาศ ยานกรุงเทพ ใหค้ําประกันตนเองได - ในกรณีที่ผนู ําเขาไมสามารถจะวางประกันดวยเงินสด หรือหนังสือค้ําประกัน ของธนาคารไดจริง ๆ กรมศุลกากรก็อาจพิจารณาอนุมตั ิใหผูนําเขาค้าํ ประกัน ตนเองได - การกําหนดเงินประกันและเงินค้ําประกัน กรมศุลกากรจะกําหนดโดยถือตาม ราคาบวกคาภาษีอากรทุกประเภทของรถทีน่ ําเขาเปนยอดเงินประกัน (4) การบังคับตามสัญญาประกัน


16

- เมื่อครบกําหนดตามที่ระบุไวในสัญญาประกัน หรือผูนําของเขาไดแสดงความ จํานงกอนครบกําหนดดังกลาววาไมประสงคจะนํารถกลับออกไป กรมศุลกากรจะ บังคับสัญญาประกันเต็มตามจํานวนที่กําหนดไว โดยไมมีการลดหยอนใด ๆ ทั้งสิ้น - ในกรณีที่มีผูนํารถยนต หรือรถจักรยานยนตเขามาในประเทศทางเขตแดนทาง บกเปนการชัว่ คราว และจะนํากลับออกไป แตนํากลับออกไปไมทันภายในเวลาที่ กําหนดตามทีร่ ะบุไวในสัญญาประกัน โดยไมมีเจตนาฝาฝนการปฏิบัติตามสัญญา ประกันนัน้ ผูน ําเขาจะตองชําระคาปรับวันละ 100 บาท นับจากวันที่ครบกําหนด ในสัญญาประกัน แตไมเกิน 1,000 บาท - ในกรณีที่ผูนําเรือเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราว และจะนํากลับออกไป แตนํากลับออกไปไมทันภายในเวลาที่กําหนดตามที่ระบุไวในสัญญาประกัน โดย ไมมีเจตนาฝาฝนการปฏิบัติตามสัญญาประกันนั้น ผูนําเขาจะตองชําระคาปรับวัน ละ 500 บาท นับจากวันที่ครบกําหนดในสัญญาประกัน แตไมเกิน 5,000 บาท (5) คําวา “เรือสําราญและกีฬา” หมายถึง เรือที่ใชสําหรับหาความสําราญ หรือเรือที่ ใชเพื่อการเลนกีฬาโดยเฉพาะ และไมไดใชเพื่อการคา การทหาร หรือการคนควา ทางวิทยาศาสตร เรือสําราญและกีฬา หรือเรือประมงที่เขามาจากตางประเทศนั้น นายเรือจะตองมารายงานเรือเขาเชนเดียวกับเรือทั้งหลายที่มาจากตางประเทศ สวนเรือสําราญและกีฬาหรือเรือประมงที่เดินทางไปตางประเทศจะตองยื่นใบ สําแดงรายงานเรือออก และขอรับใบปลอยเรือขาออกจากกรมศุลกากรดวย 2. การนําเขายานพาหนะสวนบุคคลแบบถาวร การนําเขารถยนตสวนบุคคลหากในลักษณะนี้ผูนําเขาจะตองชําระคาภาษีอากรตามปกติ หาก เปนรถยนตใหมก็ใหปฏิบัติพธิ ีการนําเขาเชนเดียวกับการนําเขาสินคาอื่น ๆ แตหากเปนรถยนตนั่งเกาใช แลว จะถือเปนสินคาควบคุมการนําเขามาในประเทศไทย ในหลักการไมอนุญาตใหนําเขา เวนแตเปนการ นําเขาชั่วคราวหรือการนําเขาเฉพาะตัวที่เปนไปตามหลักเกณฑทกี่ ระทรวงพาณิชยกําหนดไวเทานัน้ รถยนตนงั่ ใหมทุกประเภท ที่ยังไมไดจดทะเบียนใชงานในตางประเทศ สามารถนําเขาไดโดยไมตองขอ อนุญาตจากกระทรวงพาณิชย และไมจํากัดจํานวน ยกเวนรถที่มีน้ําหนักไมเกิน 3,500 กก. ผูนาํ เขาตองขอ ใบอนุญาตนําเขาจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ (สมอ.) รถยนตนงั่ ใชแลว ตองขออนุญาตกอนการนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย และถารถ มีน้ําหนักไมเกิน 3,500 กก. ตองขอใบอนุญาตนําเขาจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ (สมอ.) ดวย


17

คําเตือน รถยนตนั่งใชแลวจะตองไดรับใบอนุญาตการนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวง พาณิชย กอนวันเรือเขา มิฉะนั้นจะถูกปรับรอยละ 10 ของราคาของ ไมนอยกวา 1,000 บาท แตไมเกิน 20,000 บาท 2.1 หลักเกณฑการนําเขารถยนตนงั่ เกาใชแลวแบบถาวร (1) นําเขามาใชไดเองเพียงคนละ 1 คัน (2) กรณีเปนชาวตางประเทศจะตองเปนผูที่จะเขามาอยูในประเทศไทยไมต่ํากวา 1 ป โดยมีหนังสืออนุญาตการเขาเมืองจากกองตรวจคนเขาเมือง สํานักงานตํารวจแหงชาติ และใบอนุญาตทํางานของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมมาแสดงในการนําเขา ดวย (3) กรณีชาวไทยมีคูสมรสเปนชาวตางประเทศ จะตองมีหลักฐานแสดงวาเปนคูสมรสและ นํารถยนตเขามาเพื่อมีภูมิลําเนาในประเทศไทย รวมทั้งผูน ําเขาตองถือกรรมสิทธิ์หรือ ครอบครองรถยนตคันนั้น ระหวางอยูใ นตางประเทศไมนอยกวา 1 ป 6 เดือน นับตั้งแต วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ จนถึงวันที่เดินทางเขามาอยูในประเทศไทย (4) กรณีเปนชาวไทย ตองเปนชาวไทยที่ไปอยูตางประเทศติดตอกันเปนเวลาเกินกวา 1 ป 6 เดือน แลวเดินทางกลับมามีภูมิลําเนาในประเทศไทย และถือกรรมสิทธิ์ครอบครอง รถยนตคันนั้นอยู ในระหวางอยูตางประเทศไมนอยกวา 1 ป 6 เดือน และมีใบอนุญาต ขับขี่รถยนต 2.2 เอกสารที่ควรจัดเตรียมการนําเขารถยนตแบบถาวร (1) เอกสารทั่วไป - ใบขนสินคาขาเขา กศก.99/1 ประกอบดวยตนฉบับและสําเนา 1 ฉบับ(สงขอมูล ระบบอิเลคทรอนิกส) - ใบตราสงสินคา (Bill of Lading) - เอกสารการซื้อขายรถยนต (ถามี) - ใบแจงยอดเบีย้ ประกัน (Insurance Premium Invoice) - เอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือมอบอํานาจ (2) เอกสารเพิ่มเติมกรณีเปนรถยนตเกาใชแลว - ทะเบียนบานและบัตรประจําตัวประชาชน - หนังสือเดินทางกรณียายภูมิลําเนา - ทะเบียนรถยนตทจี่ ดทะเบียนการใชงานที่ตางประเทศมาแลว - ใบอนุญาตการนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย


18

2.3 ขั้นตอนปฏิบัติพิธีการ *** (ปฏิบัติพิธีการเชนเดียวกับการนําของเขาตามปกติ)

ตารางแสดงอัตราภาษีอากรรถยนตนั่ง/ รถจักรยานยนต ประเภท

รถยนตนั่ง

(พิกัด 87.03)

รถจักรยานยนต (พิกดั 87011) รถจักรยานยนตไฟฟา รถจักรยานไฟฟา

ขนาดเครื่องยนต

ไมเกิน 2,000 CC ไมเกิน 220 แรงมา 2,001 CC ไมเกิน 2,500CC “ 2,501 CC ไมเกิน 3,000 CC “ 3,001 CC ขึ้นไป เกิน 220 แรงมา

อากรศุลกากร อัตราภาษีอากรรวม (รอยละ) ประมาณ (รอยละ) 80 80 80 80 60 60 60

188 213 244 328 77.04 72 72

หมายเหตุ (1) อัตราภาษีอากรรวมของรถยนต และรถจักรยานยนต หมายถึง อากรศุลกากร + ภาษี สรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย + ภาษีมลู คาเพิ่ม 7 % (2) อัตราภาษีอากรรวมของรถจักรยานยนตไฟฟา รถจักรยานไฟฟา หมายถึงอากรศุลกากร + ภาษีมูลคาเพิ่ม 7 % (3) รถยนตนั่ง และรถจักรยานยนตใชแลว ตองไดรับใบอนุญาตนําเขาจากกรมการคา ตางประเทศ กอนการนําเขา


19

การชําระคาภาษีอากร การชําระคาภาษีอากร สามารถชําระได 2 วิธี 1 ผูประกอบการนําเขา-สงออกและตัวแทนออกของ สามารถมาชําระไดที่ ฝายบัญชีอากร ของสํานักงานศุลกากร หรือดานศุลกากรทีน่ ําเขา โดยสามารถชําระดวย เงินสด เช็คของธนาคารและบัตร ภาษี 2 กรมศุลกากรรวมมือกับธนาคารพาณิชยตาง ๆ พัฒนาบริการรับชําระภาษีอากรนําเขา และสงออก ผานทางอิเล็กทรอนิกส โดยการใหบริการชําระคาภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส ผานระบบหัก บัญชีอัตโนมัติของธนาคาร (e – Payment) การรับชําระเงินเปนเช็ค 1 การรับชําระเงินเปนเช็ค 1.1 1.2 1.3 1.4

ใชเช็คของธนาคารแหงประเทศไทย ใชเช็คที่มีธนาคารค้ําประกัน ใชเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย ใชเช็คที่ผูมีหนาที่ชําระเงินผลประโยชนเปนผูเซ็นสั่งจายและใชชําระ โดยตรงโดยทํา สัญญาประกันกับกรมศุลกากร

2 เช็คตองมีลักษณะดังนี้ 2.1 มีรายการถูกตองตามมาตรา 988 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 2.2 เปนเช็คทีล่ งวันที่ที่ใชเช็คนั้นชําระตอเจาหนาที่ หรือกอนวันชําระตอเจาหนาทีไ่ มเกิน 30วัน สําหรับเช็คประเภทที่ 1.1, 1.2 และ 1.3 หรือกอนวันชําระไมเกิน 15 วัน สําหรับเช็คประเภทที่ 1.4 หากเกิน 30 วัน หรือ 15 วัน ตามลําดับ แตไมเกิน กําหนดเวลาตามกฎหมาย ก็ใหเปนอํานาจและความรับผิดชอบของหัวหนาฝายบัญชี อากร หรือผูทําการแทนที่จะพิจารณาเปนแตละรายไป มิใหรับเช็คลงวันที่ลวงหนา 2.3 เปนเช็คขีดครอมและขีดฆาคําวาหรือผูถือออก โดยสั่งจายใหแก กรมศุลกากร (พักรายได) โดยบริษัท..........ชื่อผูนาํ เขาหรือสงออก.......... 3 การใชเช็คชําระเปนเงินผลประโยชนตอ กรมศุลกากรนั้น จะใชชําระเงินผลประโยชนประเภทใดก็ได แตหามมิใหใชเช็คฉบับเดียวชําระเงินผลประโยชนหลายประเภทรวมกัน เวนแตในกรณีที่มีระเบียบ ของกรมศุลกากรใหใชใบเสร็จฉบับเดียวรับเงินผลประโยชนรวมกันไดหลายประเภท ก็ผอนผันใหได


20

ในกรณีทชี่ ําระเงินเปนเช็คตอกรมศุลกากร เช็คดังกลาวเรียกเก็บเงินไมได ไมวาในกรณีใดๆ เปนเหตุใหธนาคารตองคืนเช็คใหแกกรมศุลกากร ในกรณีเชนนี้ใหฝายบัญชีอากรเรียกเก็บคาภาษี อากรที่ตองชําระหรือชําระเพิ่มนั้น ใหครบถวนพรอมเงินเพิ่มตามกฎหมายศุลกากรรอยละ 1 ตอเดือน และตามประมวลรัษฎากรรอยละ 1.5 ตอเดือน ของคาภาษีอากรทีน่ ํามาชําระโดยไมคิดทบตน เศษ ของเดือนใหถือเปน 1 เดือน ทั้งนี้ นับแตวนั ที่ไดสงมอบหรือสงของออกจนถึงวันที่นําเงินมาชําระ และใหเรียกเก็บเบี้ยปรับรอยละ20 ของจํานวนคาภาษีอากรที่ตองชําระหรือชําระเพิ่มตามกฎหมาย หาก ผูชําระเงินเปนเช็คตอกรมศุลกากร ดังกลาว ไมนําเงินไปชําระภายใน 15 วัน นับแตวันที่ธนาคารปฏิเสธ การชําระเงินตามเช็ค ก็ใหสงงานคดีดําเนินการตอไป 4 ในกรณีที่บริษัท หาง รานนําเช็คมาชําระเงินผลประโยชนใหกับกรมศุลกากร แตจาํ นวนเงินในเช็คฉบับ ดังกลาวนัน้ มีจํานวนสูงกวาที่จะตองชําระจริงแลว ใหฝายบัญชีอากรรับเช็คฉบับดังกลาวนัน้ ไดใน เงื่อนไขตอไปนี้ คือ 4.1 บริษัท หางราน ที่เปนเจาของเช็ค และที่ไดนําเช็คฉบับนัน้ มาใชชําระแกฝายบัญชีอากร ไดสละสิทธิ์ทจี่ ะขอรับเงินสวนเกินคืนและยินยอมยกเงินสวนเกินนัน้ ใหแกกรมศุลกากร 4.2 การสละสิทธิ์และการยินยอมยกเงินสวนเกินนั้น ใหกับกรมศุลกากร ผูจัดการบริษัท หางรานหรือตัวแทนทีไ่ ดรับมอบอํานาจของบริษัท จะตองทําเปนหนังสือแจงการสละ สิทธิ์และยกเงินสวนเกินนัน้ ใหกับกรมศุลกากร ยื่นตอหัวหนาฝายบัญชีอากร หรือผูที่ ไดรับมอบหมายกอน และใหเปนอํานาจหนาที่ของผูอํานวยการสํานักงานศุลกากรหรือ ผูที่ไดรับมอบหมายที่จะสั่งการอนุมัติและใหถือวาเช็คฉบับนั้นมีผลใชชําระเงินคาอากร และเงินรายไดเบ็ดเตล็ด 4.3 เงินสวนเกินดังกลาวนั้นใหฝายบัญชีอากรรับเปนรายไดเบ็ดเตล็ด การรับชําระเงินคาภาษีอากรดวยบัตรภาษี บัตรภาษีที่จะนํามาชําระเปนคาภาษีอากรแทนเงินสดหรือเช็คนั้น ตองมีลักษณะดังนี้ 1 เปนบัตรภาษีทยี่ ังไมหมดอายุในวันที่นําบัตรมาใช หรือถามีการตออายุตองมีคําสั่ง อนุมัติที่ดานหลังบัตรภาษี โดยผูมีอํานาจลงลายมือชื่อในบัตรภาษี ลงลายมือชื่อกํากับ 2 เปนบัตรภาษีที่ระบุใหใชชําระคาภาษีอากร ณ กรมศุลกากร กรมสรรพากร และกรม สรรพสามิต 3 ผูมีอํานาจลงลายมือชื่อในบัตรภาษีถูกตองตามตัวอยางลายเซ็นที่กรมศุลกากร มอบหมาย


21

4 ชื่อที่ระบุไวในบัตรภาษีตรงกับชื่อผูนําของเขา หรือชื่อผูสงของออกในใบขนสินคาขา เขาหรือขาออก และตองไมเปนบัตรภาษีทฝี่ ายชดเชยอากร สวนคืนอากร ไดมีหนังสือ แจงมาวา เปนบัตรภาษีชํารุด สูญหาย หรือถูกทําลาย 5 ไมรับบัตรภาษี กรณีที่บตั รภาษีจํานวนเงินมากกวาเงินคาภาษีอากรที่ตองชําระ

การจัดเก็บคาธรรมเนียมของกรมศุลกากร คาธรรมเนียมที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติพิธีการศุลกากรที่สําคัญ ไดแก 1 คาธรรมเนียมศุลกากร 2 คาธรรมเนียมใบรับรองการนําเขา 3 คาธรรมเนียมใบรับรองการขนขึ้นบก 4 คาธรรมเนียมจําลองใบเสร็จรับเงิน 5 คาธรรมเนียมจําลองใบขนสินคา 6 คาธรรมเนียมออกเช็คใหม 7 คาธรรมเนียมโรงพักสินคาขาออก 8 คาธรรมเนียมคลังสินคาทัณฑบน 9 คาธรรมเนียมโรงพักสินคาเพื่อบรรจุเขาคอนเทนเนอร เพื่อการสงออก 10 คาธรรมเนียมโรงพักสินคาขาเขา 11 คาธรรมเนียมตออายุใบอนุญาตตาง ๆ 12 คาธรรมเนียมขนถายเกิน 21 วัน 13 คาธรรมเนียมรับรองเอกสาร 14 คาธรรมเนียมวิเคราะหตัวอยางสินคา 15 คาธรรมเนียมรับรองใบขน 16 คาธรรมเนียมรับของไปกอน 17 คาธรรมเนียมใบสุทธินาํ กลับ 18 คาธรรมเนียมประภาคาร 19 คาธรรมเนียมปลอยเรือ 20 คาธรรมเนียมคุมเฝา 21 คาธรรมเนียมประจําการนอกเขตที่ทําการศุลกากร 22 คามัดลวดประทับตรา กศก. 23 คาซีลแถบเหล็ก ฯลฯ


22

การขออนุญาตทําการลวงเวลา กรมศุลกากร เปนหนวยงานที่ใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง ไมเวนวันหยุดราชการ เพื่อ อํานวยความสะดวกแกผูประกอบการนําเขาและสงออก โดยมีการจัดเก็บคาลวงเวลา ในการทําการ ลวงเวลาหลังเวลาราชการ 16.30 น. และในวันหยุดราชการ โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 1 การขออนุญาตทําการในวันหยุดราชการ ใหยนื่ คําขอตอพนักงานศุลกากรภายใน เวลาราชการ ในวันกอนวันที่ประสงคจะทําการหนึ่งวัน สวนการขออนุญาตทําการ กอนหรือหลังเวลาราชการใหยื่นคําขอภายในเวลาราชการ 2 ถามิไดดําเนินการตามใบอนุญาต ใหคืนคาธรรมเนียมที่ไดชําระแลวกึ่งหนึ่ง 3 คําขออนุญาตใหยนื่ โดยมีสาํ เนา 1 ฉบับ


23

ภาคผนวก - คําศัพท, คํานิยามทางการคาระหวางประเทศ - เขตการคาเสรี (Free Trade Area : FTA) - การคํานวณภาษีศุลกากร - การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร (Paperless) - แผนภูมิโครงสรางสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง - ที่ตั้งสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังและพื้นที่รับผิดชอบ - หมายเลขโทรศัพท ผูประกอบการทาเรือแหลมฉบังและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ - การติดตองานราชการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง


24

คํานิยามทางการคาระหวางประเทศ Purchase Order (P/O) : คําสั่งซื้อหรือสัญญาทางการคา Invoice : ใบกํากับราคาสินคา Packing List : ใบกํากับหีบหอสินคา / ใบกําหนดรายละเอียดของสินคา Bill of Lading (B/L) : ใบตราสงสินคา เชน การสงสินคาทางอากาศ เรียก Air Way Bill , ทางรถไฟ เรียกวา Rail Way Bill, ทางรถบรรทุก เรียกวา Truck Way Bill และทางเรือ เรียกวา Bill of Lading Delivery order (D/O) : ใบสงมอบสินคา Certificate of Origin (C/O) : หนังสือรับรองแหลงกําเนิดสินคา - C/O Form A : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมี การสงออกไปยังประเทศผูใหสิทธิพิเศษ GSP เชน สหภาพยุโรป สวิตเซอรแลนด ญี่ปุน แคนาดา นอรเวย เปนตน - C/O Form D : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมี การสงออกไปยังกลุมประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ที่มีขอตกลงทางอัตราภาษีศลุ กากร พิเศษรวมกัน ไดแก ไทย พมา ลาว เวียดนาม ฟลิปปนส กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร บรูไน และอินโดนีเซีย - C/O Form E : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมี การสงออกไปยังจีน ตามขอตกลงวาดวยเขตการคาเสรีอาเซียน – จีน - C/O Form GSTP : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการที่ไดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมื่อมีการสงออกไปยังประเทศกําลังพัฒนารวม 40 ประเทศที่มีการแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษ ทางการคารวมกัน เชน แอลจีเรีย อารเจนตินา บังกลาเทศ เบนิน โบลิเวีย บราซิล แคเมอรูน ซิลี คิวบา เกาหลีเหนือ เปนตน - C/O Form FTA : ใชสําหรับสินคาที่อยูในรายการทีไ่ ดรับสิทธิลดหยอนภาษีนําเขา เมือ่ มีการสงออกไปยังประเทศทีม่ ีขอตกลงวาดวยเขตการคาเสรีกับไทย ซึ่งในปจจุบนั มี 4 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด อินเดีย และจีน INCOTERMS (International Commercial TERMS) : เปนกฎขอตกลงทางการคาที่กลาวในเรื่องสิทธิ และความรับผิดชอบของระหวางผูซื้อ และผูขาย ในกระบวนการคาระหวางประเทศที่เกีย่ วกับการสง มอบสินคาจาก ผูขาย ไปใหผูซื้อวาแตละฝายตองรับผิดชอบมีภาระหนาที่ตองกระทําอะไรบางในการสง


25

มอบ ตลอดจนถึงคาใชจายในการขนสงตาง ๆ ดังกลาวหากเกิดขึ้น

และความรับผิดชอบในเรื่องความเสียหายของสินคา

EXW – Ex works (...named place) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะสิ้นสุดภาระการสงมอบสินคา เมื่อ ผูขายไดเตรียมสินคาไวพรอมสําหรับสงมอบใหกับผูซื้อ ณ สถานที่ของผูขายเอง โดยผูซื้อจะตอง รับผิดชอบคาใชจายตาง ๆ ในการขนสงสินคาไปยังคลังสินคาของผูซื้อเอง FOB – Free ON Board (...named port of shipment) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะสิ้นสุดภาระการ สงมอบสินคา เมื่อผูขายไดสงมอบสินคาขามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสินคา ณ ทาเรือตนทางที่ระบุไว ผูขาย เปนผูรับผิดชอบการทําพิธีการสงออกดวย สวนคาใชจา ยในการขนสงสินคา และคาใชจายอืน่ ๆ รวมทั้ง ความเสี่ยงภัยในการขนสงสินคาเปนภาระของผูซื้อในทันทีที่ของผานกาบระวางเรือไปแลว C&F - Cost And Freight (...named port of destination) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะสิ้นสุด ภาระการสงมอบสินคาเมื่อ ผูขายไดสง มอบสินคาขามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสินคา ผูขายเปนผูรบั ผิดชอบ ในการทําพิธีการสงออก และจายคาระวางขนสงสินคา สวนคาใชจายอื่น ๆ รวมทัง้ ความเสี่ยงภัยในการ ขนสงสินคาเปนภาระของผูซอื้ ในทันทีที่ของผานกาบระวางเรือไปแลว CIF – Cost Insurance and Freight (... named port of destination) : เงื่อนไขการสงมอบนี้ ผูขายจะ สิ้นสุดภาระการสงมอบสินคาเมื่อ ผูขายไดสงมอบสินคาขามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสินคา ผูขายเปน ผูรับผิดชอบในการทําพิธีการสงออกจายคาระวางเรือ และคาประกันภัยขนสงสินคาเพื่อคุมครองความ เสี่ยงภัยในการขนสงสินคาจนถึงมือผูซื้อใหแกผูซื้อดวย NOTIFY PARTY หมายถึง ผูรับสินคา หรือผูรับโอนสิทธิ์ในสินคาจาก Consignee


26

เขตการคาเสรี (Free Trade Area : FTA) เขตการคาเสรี (FTA) คืออะไร? FTA เปนความตกลงระหวาง 2 ประเทศขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจะลดอุปสรรคทางการคา ระหวางกันใหเหลือนอยที่สดุ เพื่อใหเกิดการคาเสรีระหวางกัน และปจจุบันประเทศตางๆ ก็ไดขยาย ขอบเขตของ FTA ใหครอบคลุมการคาดานบริการ อาทิ บริการทองเที่ยว การรักษาพยาบาล การสื่อสาร การขนสง ฯลฯ พรอมกับความรวมมือในดานตางๆ เชน การลงทุน การคุมครองทรัพยสินทางปญญา และการอํานวยความสะดวกทางการคาดวย วัตถุประสงคของ FTA FTA สะทอนแนวคิดสําคัญทางเศรษฐศาสตรที่วา "ประโยชนจากการคาระหวางประเทศจะ เกิดขึ้นสูงสุดเมื่อประเทศตางๆ ผลิตสินคาที่ตนมีตนทุนในการผลิตต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ อื่นๆ แลวนําสินคาเหลานั้นมาคาขายแลกเปลี่ยนกัน" ซึ่งในโลกแหงความเปนจริงนัน้ ประโยชนสูงสุด ดังกลาวจะไมเกิดขึ้น หากยังมีการเก็บภาษีขาเขาและมีการใชมาตรการกีดกันทางการคาตางๆ ซึ่งสงผล บิดเบือนราคาที่แทจริงของสินคา และทําใหการคาขายไมเปนไปอยางเสรีและมีประสิทธิภาพ พรอมกันนี้ FTA ถือเปนเครื่องมือทางการคาสําคัญที่ประเทศตางๆ สามารถใชเพื่อขยายโอกาสในการคา สราง พันธมิตรทางเศรษฐกิจพรอมๆกับเพิ่มความสามารถในการแขงขันดานราคาใหแกสินคาของตน เนือ่ งจาก สินคาที่ผลิตใน FTA จะถูกเก็บภาษีขาเขาในอัตราที่ต่ํากวาสินคาที่ผลิตในประเทศอื่นๆ ที่ไมใชสมาชิก FTA จึงทําใหสินคาที่ผลิตภายในกลุมได เปรียบในดานราคากวาสินคาจากประเทศนอกกลุม ลักษณะสําคัญของ FTA FTA จะมีรูปแบบเปนอยางไรนั้นก็ขึ้นอยูก ับประเทศคูส ัญญา FTA จะตกลงกัน ไมมีกฎเกณฑ กําหนดตายตัววา FTA จะตองมีลักษณะอยางไร แตถงึ กระนั้นก็ดี ทุก FTA จะมีลักษณะพื้นฐานที่ เหมือนกันอยู 3 ประการ คือ - มีวัตถุประสงคเพื่ออํานวยความสะดวกทางการคา และไมสรางอุปสรรคทางการคาเพิ่มตอ ประเทศอื่นๆ ที่ไมใชสมาชิก (No fortress effects) - ครอบคลุมการคาระหวางประเทศมากพอ (Substantial coverage) ซึ่งเปนกติกาที่ WTO กําหนดไวเพื่อปกปองและปองกันผลกระทบของ FTA ที่จะมีตอประเทศอื่นๆ ที่ไมใชสมาชิก ของ FTA นั้นๆ - มีตารางการลดภาษีหรือเปดเสรีที่ประเทศคูสัญญา FTA เจรจากันวาจะลดภาษีใหแกกันใน สินคาใดบาง จะลดอยางไร และจะใชระยะเวลายาวนานเทาไรในการลด

ขอมูลจาก

www.thaifta.com , www.dtn.moc.go.th


27

เขตการคาเสรีกับการใชสิทธิพิเศษทางศุลกากร เพื่อเปนการปฏิบัติตามความตกลงที่ประเทศไทยไดลงนามกับประเทศภาคี กรมศุลกากร จึง ไดมีประกาศกรมฯ เพื่อกําหนดระเบียบปฏิบัติในการใชสิทธิลดหยอนหรือยกเวนอากร โดยในที่นี้จะ กลาวถึงเฉพาะความตกลงที่สําคัญ ดังนี้ 1 ขอตกลงองคการการคาโลก (WTO) สําหรับของตามภาค 2 แหงพระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ.2530 ยกเวนสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 118/2549 1.2 เอกสารที่ตองยื่นกอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามพันธกรณีฯ สําหรับภาษี ในโควตา (แบบ ร.2) หรือภาษีนอกโควตา (แบบ ร.4) ที่ออกโดยกรมการคา ตางประเทศ หรือแสดงหนังสือรับรองที่ออกโดยกรมสรรพสามิต สําหรับใบยาสูบ - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา ในรูปแบบบัญชีราคาสินคาหรือเอกสารอื่นใด 2 ขอตกลงองคการการคาโลก (WTO) สําหรับสินคาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 119/2549 2.2 เอกสารที่ตองยื่นกอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา ในรูปแบบบัญชีราคาสินคาหรือเอกสารอื่นใด - เอกสารทางการคา เชน แคตตาล็อก คูมือ หรือเอกสารเกี่ยวกับคุณลักษณะของ สินคา 3 เขตการคาเสรีอาเซียน AFTA 3.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 61/2551 3.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form D) - เอกสารทางการคา เชน แคตตาล็อก คูมือ หรือเอกสารเกี่ยวกับคุณลักษณะของ สินคา 4 เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน 4.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 122/2549 4.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form E)


28

5 ไทย-จีน 5.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 125/2549 5.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form E) 6 ไทย-อินเดีย 6.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 126/2549 6.2เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (Form FTA India – Thailand) 7 ไทย- ออสเตรเลีย 7.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 127/2549 7.2 เอกสารที่ตองยื่นกอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารรับรองถิ่นกําเนิดสินคา - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามความตกลงฯ สําหรับภาษี ในหรือนอกโควตา จากกรมการคาตางประเทศ 8 ไทย-นิวซีแลนด 8.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 128/2549 8.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา ในรูปแบบบัญชีราคาสินคาหรือเอกสารอื่นใด - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามความตกลงฯ สําหรับภาษี ในหรือนอกโควตา จากกรมการคาตางประเทศ 9 ไทย-ญี่ปุน 9.1 หลักการทั่วไป ตองปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกําหนดไวตาม ประกาศกรมศุลกากร ที่ 83/2550 9.2 เอกสารที่ตองยืน่ กอนการนําของออกจากอารักขาของศุลกากร - เอกสารแสดงถิ่นกําเนิดสินคา - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีตามความตกลงฯ สําหรับภาษี ในหรือนอกโควตา จากกรมการคาตางประเทศ หรือ - หนังสือรับรองแสดงการไดรับสิทธิชําระภาษีฯ จากกระทรวงอุตสาหกรรม

ขอมูลจาก www.thaifta.com , www.dtn.moc.go.th


29

การคํานวณภาษีศุลกากร ภาษีศุลกากร ราคา CIF อัตราภาษีอากร พิกัดอัตราภาษีอากร

=

ราคา CIF

x

อัตราภาษีอากร

ราคาสินคา + คาประกันภัย + คาขนสง คํานวณเปนเงินบาท (ใชอัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของกรมศุลกากร) ตามที่กําหนดในภาค 2 แหงพระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 การแบงกลุมสินคาทั้งหมดทีม่ ีการซื้อขายหรือมีการนําเขาสงออกระหวาง ประเทศ ออกเปนประเภทยอย โดยใชรหัสกํากับ และกําหนด อัตราคาอากรศุลกากรของแตละประเภทยอยนั้นไว ระบบ Harmonized

ภาษีอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ภาษีมูลคาเพิ่ม

ภาษีมูลคาเพิ่ม (Value Added Tax : VAT) หมายถึง ภาษีที่จัดเก็บจากมูลคาของ สินคาหรือบริการที่เพิ่มขึ้นในแตละขั้นตอนของการผลิตและการจําหนายสินคา หรือบริการนัน้ ๆ ฐานภาษีสําหรับการนําเขามูลคาของสินคานําเขาโดยใหใช ราคา C.I.F. ของสินคาบวกดวยอากรขาเขา ภาษีสรรพสามิตตามที่กําหนด คาธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน และภาษีหรือ คาธรรมเนียมอื่นที่กฎหมายจะกําหนด

ภาษีสรรพสามิต

ภาษีตามกฎหมายวาดวยภาษีสรรพสามิตซึ่งเรียกเก็บตามพิกัดอัตราทาย พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พระราชบัญญัติสุรา พระราชบัญญัติ ยาสูบ และพระราชบัญญัติไพ

ภาษีเพื่อมหาดไทย

ภาษีที่เก็บเพิ่มตามพระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสรรพสามิตและ พระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสุรา เพื่อนําไปจัดสรรใหแกกรุงเทพมหานคร และราชการสวนทองถิ่นซึ่งผูนําของเขาจะแสดง โดยคํานวณในอัตรา 10% ของยอดภาษีสรรพสามิต

คาธรรมเนียม ภาษีอื่น คาธรรมเนียมหรือภาษีอื่นที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนด ซึ่งจะตองนํามารวม เปนฐานภาษีในการคํานวณภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลคาเพิ่ม


30

ตัวอยางการคํานวณคาภาษีอากร บริษัท ก จํากัด นําเขาสินคามายังประเทศไทย ราคาสินคา และอัตราภาษีอากรศุลกากรและภาษี อื่น ๆ ตามรายละเอียดดังนี้ • ราคา CIF = 200 • อัตราภาษีอากร = 60 % • ภาษีสรรพสามิต = 30 % • ภาษีเพื่อมหาดไทย = 10 % • ภาษีมูลคาเพิม่ = 7 % วิธีการคํานวณภาษีอากร 1 ภาษีศุลกากร = (ราคา CIF x อัตราภาษีอากร) = (200 x 0.6) = 120 (หมายเหตุ : มูลคา 120 จะถูกนํามาใชในการคํานวณคาภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลคาเพิ่ม) 2 ภาษีสรรพสามิต = (ราคา CIF + ภาษีอากร) x

อัตราภาษีสรรสามิต 1-(1.1x อัตราภาษีสรรพสามิต)

= (200+120) x

0.3 1-(1.1x0.3) = 320 x 0.4477612 = 143 3 ภาษีเพื่อมหาดไทย = ภาษีสรรพสามิต x อัตราภาษีเพื่อมหาดไทย = 143 x 0.1 = 14 4 ฐานภาษีมูลคาเพิ่ม = ราคา CIF + ภาษีศุลกากร + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย = 200 + 120 + 143 + 14 = 477 5 ภาษีมูลคาเพิ่ม = ฐานภาษีมูลคาเพิ่ม x อัตราภาษีมูลคาเพิ่ม = 477 x 0.07 = 34 อัตราภาษีอากรทุกประเภท รวม ( 1 + 2 + 3 + 5 ) 120 + 143 + 14 + 34 = 311


31

การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร(Paperless) ผูประกอบการสามารถกรอกแบบฟอรมการลงทะเบียนจากเว็บไซตของกรมศุลกากร ตามขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้ 1 Download http://www.customs.go.th 2 เลือกหัวขอ “การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากร” 3 เลือกกรอกแบบฟอรมตามประเภทของการลงทะเบียน ตามแบบแนบทายหมายเลข 1 ถึง แบบแนบทายหมายเลข 6 4 แนบสําเนาหลักฐานประกอบการลงทะเบียนตามที่ระบุไวทายแบบคําขอลงทะเบียน 5 ยื่นแบบคําขอลงทะเบียนฝายบริหารงานทัว่ ไป สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 6 เจาหนาทีต่ รวจสอบแบบคําขอลงทะเบียนและเอกสารหลักฐาน ดังนี้ 6.1 เอกสารหลักฐานครบถวน/ถูกตอง - เจาหนาที่ออกใบตอบรับการลงทะเบียน - เจาหนาที่บันทึกขอมูลลงทะเบียน - อนุมัติใหผูลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการใน กระบวนการ ทางศุลกากร ระยะเวลาแลวเสร็จภายใน 30 นาที 6.2 เอกสารหลักฐานไมครบถวน/ไมถูกตอง - สงคืนเพื่อดําเนินการแกไขใหถูกตอง อนึ่ง กรณีการขอเปลี่ยนแปลงขอมูลทะเบียนผูผานพิธีการศุลกากร หรือดําเนินการใน กระบวนการทางศุลกากร (Paperless) ผูประกอบการ สามารถดําเนินการตามขั้นตอนดังกลาวได ยกเวน ในขอ 3 กรณีการขอเปลี่ยนแปลง/เพิ่มเติมตามประเภทของการลงทะเบียน ใหเลือกแบบแนบทายหมายเลข 7 และตามเลขทีห่ นาของแบบแนบทายประเภทของการลงทะเบียน ผูประกอบการ (ผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร) หมายถึง 1. ผูผานพิธีการศุลกากร (ผูนําเขา – ผูสงออก) 2. ตัวแทนออกของ 3. ผูรับผิดชอบการบรรจุ 4. ตัวแทนผูรายงานยานพาหนะเขา – ออก 5. ธนาคารศุลกากร (Customs Bank) 6. เคานเตอรบริการ


32

การเขาสูระบบ e-Customs (Paperless) ผูประกอบการลําดับที่ 1- 5 ที่จะเขาสูระบบ e-Customs สามารถเลือกวิธีการรับ-สงขอมูลไดดังนี้ 1 ผูประกอบการมีความประสงคจะรับ – สงขอมูลและลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส ตอง ดําเนินการจัดหา Software, Vans และใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส และทดลองการ รับ – สงขอมูลพรอมจัดสงรายงานตามแบบที่สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กําหนด เมื่อผานการทดสอบแลว จะไดรบั รหัส(USER) สําหรับใชในการรับ – สงขอมูลเขา สูระบบ e-Customs 2 ผูประกอบการไมประสงคจะรับ – สงขอมูลเอง แตเลือกใชบริการของตัวแทนออกของ ซึ่ง เลือกปฏิบัติได 2 แนวทาง 2.1 ผูประกอบการลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกสเอง และตองจัดหาใบรับรอง ลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส 2.2 ผูประกอบการมอบอํานาจใหตัวแทนออกของเปนผูลงลายมือชื่อทาง อิเล็กทรอนิกส แทน โดยตองกรอกแบบ “คําขอลงทะเบียนผูผานพิธีการ ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกสแบบ ไรเอกสาร” 3 ผูประกอบการที่ตองลงทะเบียนตามประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550 ใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ไดแก

แตไมตองจัดหา

3.1 กรณีมอบอํานาจใหตวั แทนออกของเปนผูรับ–สงขอมูลและลงลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกสแทน 3.2 กรณีใชเคานเตอรบริการ ผูประกอบการตองนําขอมูลใบขนสินคา และเอกสารที่ เกี่ยวของกับการนําเขาทั้งหมดมาใหเคานเตอรบริการบันทึกขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอร ของ กรมศุลกากร และจะทําการพิมพใบขนสินคาใหผูประกอบการลงลายมือชื่อ 3.3 กรณีเปนผูรับโอนบัตรภาษี


33

ขั้นตอนแนวทางการลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 1. Download www.customs.go.th

2.

ลงทะเบียน

3. กรอกแบบฟอรม ตามประเภท 4. แนบสําเนา หลักฐาน 5. ยื่นแบบคําขอ ลงทะเบียน

6. ตรวจสอบ แบบคําขอ


34

โครงสรางสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ฝายบริหารงานทั่วไป สวนบริการกลาง

สวนบริการศุลกากร

สวนควบคุมทางศุลกากร

ฝายพิธีการกลาง

ฝายสืบสวนและปราบปราม

ฝายบัญชีอากร

ฝายทบทวนและตรวจสอบ

ฝายวิเคราะหสินคา ฝายบริการศุลกากรที่ 1 (Ao, B1, B2, B3) ฝายบริการศุลกากรที่ 2 (B4 , B5, C3) ฝายบริการศุลกากรที่ 3 (A1, A2, A3, A4, A,5) คลังสินคาอันตราย, ทาเรือเอกชน ฝายบริการศุลกากรที่ 4 (Co, C1, C2)

ฝายคดี ฝายของกลางและของตกคาง ฝายบริการศุลกากรที่ 5 (ปโตรเลียม/เคมีภัณฑ) ฝายบริการศุลกากรที่ 6(นิคมฯ/เขตปลอดอากร/ทัณฑบน) ศูนยเอ็กซเรยและเทคโนโลยีทางศุลกากร


35

สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ใน พ.ศ. 2525 รัฐบาลมีนโยบายโครงการสรางทาเรือน้ําลึกคือ ทาเรือพาณิชยแหลมฉบัง เพื่อพัฒนาพืน้ ที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกรวมทั้งรองรับความแออัดของทาเรือกรุงเทพ กรมศุลกากร จึง ไดเริ่มใหบริการดานพิธีการศุลกากรตั้งแตวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2534 ตอมากระทรวงการคลังไดออก กฎกระทรวงฉบับที่ 89 (พ.ศ. 2534) ลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2534 กําหนดใหทาเรือแหลมฉบัง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เปนเขตศุลกากร และเปนทาเรือทีส่ ําหรับการนําเขาหรือสงออกของทุก ประเภท กรมศุลกากรจึงจัดตั้งดานศุลกากรขึ้น ใหชื่อวา “ดานศุลกากรแหลมฉบัง” หลังจากการปฏิรูประบบราชการ ดานศุลกากรแหลมฉบัง ไดรับการยกฐานะใหเปน สํานักงานศุลกากรแหลมฉบัง ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2545 ลงวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตอมากรมศุลกากรโดยยกเลิกการใชระบบEDI และใหสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลม ฉบังเปนหนวยงานนํารองบริการผานพิธีการสงออกทางอิเล็กทรอนิกสแบบไรเอกสาร(e-Export) สําหรับ ใบขนสินคาขาออกที่สําแดงทารับบรรทุกทั้งหมด อยางเต็มรูปแบบ ตั้งแตวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2550 และ เริ่มใชระบบผานพิธีการนําเขาทางอีกเล็กทรอนิกสแบบไรเอกสาร (e-Import) ตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ผูประกอบการที่จะติดตอราชการ จะตองยืน่ คํารองขอทําการลงทะเบียนผานพิธีการศุลกากร หรือดําเนินการในกระบวนงานทางศุลกากร โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการในการขอลงทะเบียน ตามที่กําหนดไวในแบบคําขอลงทะเบียนแนบทายประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550 เขตพื้นที่รับผิดชอบ สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตั้งอยู ณ เลขที่ 919 ต.ทุงสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 02230 ในทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี รับผิดชอบในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี ยกเวนอําเภอสัตหีบ มี ผูประกอบการทาเรือ (Terminal) ทาเรือเอกชน, คลังสินคาอันตราย, เขตปลอดอากร, เขตประกอบการเสรี (เขตอุตสาหกรรมสงออก), คลังสินคาทัณฑบน, คลังสินคาอันตราย, คลังอูซอมสรางเรือ, ที่ทอดเรือ ภายนอก ที่อยูใ นความดูแลและรับผิดชอบ ดังนี้ 1 ผูประกอบการทาเรือ (Terminal) และทาเรือเอกชน (1.1) ทาเทียบเรือ A0 บริษัทแอล ซี เอ็ม ที จํากัด (1.2) ทาเทียบเรือ A1 บริษัทแหลมฉบัง ครูซ เซ็นเตอร จํากัด (1.3) ทาเทียบเรือ A2 บริษัทไทยแหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.4) ทาเทียบเรือ A3 บริษัทฮัทชิสัน แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.5) ทาเทียบเรือ A4 บริษัทอาวไทยคลังสินคา จํากัด (1.6) ทาเทียบเรือ A5 บริษัทนามยง เทอรมนิ ัล จํากัด (1.7) ทาเทียบเรือ B1 บริษัทแอล ซี บี คอนเทนเนอร เทอรมินัล จํากัด


36

2 3

4

5 6

7

(1.8) ทาเทียบเรือ B2 บริษัทเอเวอรกรีน คอนเทนเนอร เทอรมินัล (1.9) ทาเทียบเรือ B3 บริษัทอิสเทิรน ซี แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.10) ทาเทียบเรือ B4 บริษัททีไอ พี เอส จํากัด (1.11) ทาเทียบเรือ B5,C3 บริษัทแหลมฉบัง อินเตอรเนชั่นแนล เทอรมินลั จํากัด (1.12) ทาเทียบเรือC0 บริษัทฮัทชิสัน โร-โรเทอรมินัล(ประเทศไทย) จํากัด (1.13) ทาเทียบเรือ C1, C2 บริษัทฮัทชิสัน แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด (1.14) ทาเรือเอกชน บริษัทเคอรรี่ สยามซีพอรต จํากัด (1.15) ทาเรือเอกชน บริษัทศรีราชา ฮาเบอร จํากัด (มหาชน) คลังสินคาอันตราย - บริษัท เจ ดับเบิ้ลยู ดี อินโฟโลจิสติกส จํากัด เขตปลอดอากร 7 แหง (3.1) เขตปลอดอากรอมตะนคร (3.2) เขตปลอดอากรเจดับเบิ้ลยูดี แหลมฉบัง (3.3) เขตปลอดอากรไทยพับลิคพอรต เกาะสีชัง (3.4) เขตปลอดอากรบริษัทมิตซูบิชิ มอเตอร (3.5) เขตปลอดอากร ปตท. จํากัด(มหาชน) (3.6) เขตปลอดอากรนามยง เทอรมนิ อล (3.7) เขตปลอดอากร เคอรรี่ โลจิสติกส เขตประกอบการเสรี 2 แหง (4.1) เขตประกอบการเสรี นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (4.2) เขตประกอบการเสรี นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี คลังสินคาทัณฑบน(ทัว่ ไป, โรงผลิตสินคาและนิทรรศการ) 11 บริษัท 13 คลังฯ คลังสินคาทัณฑบนสําหรับอูซอมหรือสรางเรือ (6.1) บริษัท ชีโบต จํากัด (6.2) บริษัท ยูนไิ ทย ชิปยารด แอนด เอนจิเนียริ่ง จํากัด ที่ทอดเรือภายนอกเกาะสีชัง


37

หมายเลขโทรศัพท ผูประกอบการทาเรือแหลมฉบังและหนวยงานที่เกี่ยวของ ลําดับ 1 2 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

บริษัท ทาเรือแหลมฉบัง (Laem Chabang Port)

ทาเรือ

โทรศัพท

โทรสาร

A0 A-1 A-2 A-3 A-4 A-5 B-1

(038)490000 (038)491200 (038)401620 (038)408700 (038)408700 (038)401640 (038)401062-4 (038)491200

(038)490146 (038)491209 (038)401635 (038)408714-5 (038)408714-5 (038)401644 (038)401061 (038)491209

บริษัท แอล ซี เอ็ม ที จํากัด บริษัท แหลมฉบัง ครูซ เซ็นเตอร บริษัท ไทยแหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด บริษัท ฮัทชิสนั แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด บริษัท อาวไทยคลังสินคา บริษัท นามยง เทอรมินัล จํากัด บริษัท แอล ซีบี คอนเทนเนอร เทอรมินัล 1 จํากัด บริษัท เอเวอรกรีน คอนเทนเนอร เทอรมินัล B-2 (038)490052 (038)490070 (ประเทศไทย) จํากัด B-3 (038)491255 (038)490081 บริษัท อีสเทิรนซี แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด B-4 (038)490111 (038)490182 บริษัท ที ไอ พี เอส จํากัด บริษัท แหลมฉบัง อินเตอรเนชั่นแนล เทอรมินัล B-5 , C-3 (038)408200 (038)408281 จํากัด (038)773069-80 (038)773082,312630 บริษัท ศรีราชาฮารเบอร (มหาชน) จํากัด (038)352325-9 (038)352340 บริษัท เคอรี่สยาม ซีพอรต จํากัด บริษัท ฮัทชิสนั โร-โร เทอรมินัล (ประเทศไทย) จํากัด C0 (038) 408900 (038) 408900 บริษัท ฮัทชิสนั แหลมฉบัง เทอรมินัล จํากัด C1&C2 (038) 408900 (038) 408900 สํานักงานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (038) 490425 (038) 490940 ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 4 (038) 491820 (038)490479 คลังฯ บริษัท เจดับเบิ้ลยู ดี อินโฟโลจิสติกส จํากัด อันตราย (038) 492492 (038)409324


38

การติดตอราชการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง การใหบริการที่ สทบ. 1 เคานเตอรประชาสัมพันธใหขอมูล ขาวสารเบื้องตน 2 การคืนอากรทัว่ ไป 3 เก็บภาษีที่ฝายบัญชี และการเงิน 4 ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการสงออกที่ศูนยบริการนําเขา และสงออก 5 ใหบริการรับรายงานเรือเขา, ไปรษณีย, งานควบคุมการเติมน้ํามันสําหรับเรือที่เดินทางไป ตางประเทศ ที่ฝายรับเรือ ชั้น 2 6 มีเจาหนาที่ประจําเพื่อทําการตรวจปลอยสินคาในแตละทา 7 บริการตรวจสินคาดวยเครื่อง X-ray จํานวน 2 ศูนย หนวยงานที่ตงั้ อยูภายในอาคาร ติดตอผูบริหาร : - ผูอํานวยการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ติดตอ ชั้น 4 - ผูอํานวยการสวนบริการกลาง ติดตอ ชั้น 1 - ผูอํานวยการสวนบริการศุลกากร ติดตอ ชั้น 2 - ผูอํานวยการสวนควบคุมทางศุลกากร ติดตอ ชั้น 3 ติดตองานพิธกี ารศุลกากร * ชั้น 1 - ฝายพิธีการกลาง (งานพิธีการ 1,2, 3) หองประชุม - ฝายบัญชีอากร - ฝายบริการศุลกากรที่ 1 (สินคาขาเขา) - ฝายบริการศุลกากรที่ 2 (สินคาขาเขา) - เคานเตอรประชาสัมพันธ * ชั้น 2 - ฝายพิธีการกลาง (งานตรวจรับเรือ, งานไปรษณีย, งานควบคุมการเติมน้ํามัน สําหรับเรือที่เดินทางไปตางประเทศ) - ฝายบริการศุลกากรที่ 3 (สินคาขาเขา) - ฝายบริการศุลกากรที่ 4 (สินคาขาออก) - ฝายบริการศุลกากรที่ 5 (ปโตรเลียมเคมีภณ ั ฑ) - ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข


39

การติดตอหนวยงานที่ตองการทราบ เรื่องงานทีต่ องการติดตอ

หนวยงานที่รับผิดชอบ

หมายเลขโทรศัพท

สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง

งานประชาสัมพันธ

ติดตามหนังสือ รับ-สงเอกสาร การลงทะเบียน Paperless งานรับเรือ งานไปรษณีย งานควบคุมการเติมน้ํามันสําหรับเรือฯ การชําระคาภาษีอากร, ขออนุญาตทําลวงเวลา การวิเคราะหและทดสอบตัวอยางสินคา งานที่ทอดเรือภายนอกเกาะสีชัง การปฏิบัติพิธีการศุลกากร - พิจารณาและอนุมัติคําขอยกเวน/ลดหยอนอากร - ควบคุมและขนถาย/ตรวจปลอยสินคา - การตรวจสอบ รับรองและนําสงใบอนุญาต ทําหนาที่เชนเดียวกับฝายบริการศุลกากรที่ 1-3 - เช็คสถานะใบขนฯ ตรวจสอบขอมูลขาออก ทําหนาที่เชนเดียวกับฝายบริการศุลกากรที่ 1- 3 - ควบคุมการขนถายผลิตภัณฑปโตรเลียม ทําหนาที่เชนเดียวกับฝายบริการศุลกากรที่ 1 – 5 เกี่ยวกับคลังสินคาทัณฑบน/เขตปลอดอากร ตรวจสอบสินคาดวยเครื่องเอกซเรย การกระทําผิดตามกฎหมายศุลกากร การทบทวนขอมูลเอกสารหลังผานพิธีการ งานคดี / การขอเบิกจายเงินสินบนรางวัล การจําหนายของกลางและของตกคาง

ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายพิธีการกลาง ฝายพิธีการกลาง ฝายพิธีการกลาง ฝายบัญชีอากร ฝายวิเคราะหสินคา ฝายพิธีการกลาง ฝายบริการศุลกากรที่ 1 ฝายบริการศุลกากรที่ 2 ฝายบริการศุลกากรที่ 3

038 – 407777 www.lcbcustoms.net 038 - 407717 038 - 407716 038 - 407820 038 - 407827 038 - 407824 038 - 407885 038 - 407726 038 - 216175 038 - 407829 038 - 407855 038 - 407769

ฝายบริการศุลกากรที่ 4

038 - 407723

ฝายบริการศุลกากรที่ 5

038 - 407803

ฝายบริการศุลกากรที่ 6

038 - 400189

ศูนยเอกซเรยฯ ฝายสืบสวน ฯ ฝายทบทวนฯ ฝายคดี ฝายของกลาง ฯ

038 - 407894 038 - 407891 038 - 407746 038 - 407743 038 - 407889


40

สารบัญ หนา กรมศุลกากร : วิสัยทัศน, พันธกิจ, ยุทธศาสตร, ภารกิจ พิธีการศุลกากร : เอกสารที่ควรเตรียมไว ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร พิธีการนําเขา แผนภูมแิ สดงขั้นตอนการนําเขาสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) แผนภูมแิ สดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรนําเขาทางอิเล็กทรอนิกส (e-Import) พิธีการสงออก แผนภูมแิ สดงขั้นตอนการสงออกสินคาทางเรือทั้งกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส(e-Export) แผนภูมแิ สดงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสงออกทางอิเล็กทรอนิกส (e-Export) พิธีการศุลกากรอื่น ๆ : พิธีการการนําเขาของใชสวนตัวและของใชในบานเรือน พิธีการนําเขายานพาหนะสวนบุคคล การชําระคาภาษีอากร การจัดเก็บคาธรรมเนียมศุลกากร การขออนุญาตทําการลวงเวลา ภาคผนวก : คํานิยามทางการคาระหวางประเทศ เขตการคาเสรี (Free Trade Area : FTA) การคํานวณภาษีศุลกากร การลงทะเบียนเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินการในกระบวนการทางศุลกากร(Paperless) โครงสรางสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง หมายเลขโทรศัพท ผูประกอบการทาเรือแหลมฉบังและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ การติดตองานราชการสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.