Dmk mag vol02

Page 1

DMK-CUS NEWS ศูนย์บริการศุลกากรท่าอากาศยานดอนเมือง ฉบับที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗

“ศบด.” กับ น่านฟ้าเสรีอาเซียน

คุณทราบหรือไม่ ?? ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เป็นต้นไป สมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศก็จะหลอมรวม กลายเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ทั้ ง นี้ ค าดการณ์ ว ่ า การเดิ น ทางทางอากาศ จะมี ป ริ ม าณสู ง ขึ้ น ประเทศสมาชิ ก จึ ง ได้ ม ี ก ารเตรี ย ม ความพร้อมเพื่ อรองรับกิ จกรรมการคมนาคมทางอากาศ ข อ ง ป ระช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โด ยได ้ มี ก า ร ว า ง ก ร อ บ การเปิดเสรีการบินอาเซียน ซึ่งเป็นกรอบการตกลงพหุพาคี เพื่ อให้ ป ระเทศสมาชิ กอาเซี ยนสามารถขนส่งทางอากาศ ระหว่างกันโดยไม่จำกัดจำนวน ความจุ ความถี่ ส่งผลให้นา่ นฟ้า ของแต่ละประเทศสามารถเชื่อมรวมกันเป็นที่มาของคำว่า “น่านฟ้าเสรีอาเซียน” การเปิ ด เสรี ก ารบิ น อาเซี ย น มี ผ ลกั บ ศุ ล กากร อย่างไร จากสถิติในปี 2557 พบว่าสายการบินโลว์คอสต์ซึ่ง มีฐานการบินหลัก ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ได้มีการเพิ่ม จุ ด หมายปลายทางไปยั ง ประเทศอาเซี ย นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

ซึ่ ง เป็ น ประเทศที่ เ ป็ น คู ่ เ จรจาความตกลงว่ า ด้ ว ยการขนส่ ง ทางอากาศกั บ อาเซี ย นเพื่ อ รองรั บ การเปิ ด เสรี ก ารบิ น กว่า 12 เส้นทาง คาดการณ์ได้ว่าในอนาคตความหลากหลาย ทั้ ง ผู โ้ ดยสารและสิ น ค้ า จะต้ อ งเพิ่ ม ขึ้ นในขณะที่ ศุ ล กากรมี หน้ า ที่ ห ลั กในการอำนวยความสะดวกและรั ก ษาความ ปลอดภัยทางการค้า รวมทั้งการควบคุมการกระทำผิดทาง ศุลกากร จึงจำเป็นอย่างยิง่ ที่ ชาว ศบด. จะต้องเตรียมทัง้ กำลังกาย และพลังใจในการทำงานให้พร้อมเพือ่ รับมือกับอนาคตดังกล่าว แม้ว่าการพัฒนาระบบต่างๆเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ ผู ้ ป ระกอบการในการรองรั บ การเปิ ด เสรี ท างการบิ น และ การค้าของกรมฯจะยังไม่เสร็จสิ้น ช่วงเวลาระหว่างนี้ พวกเรา มาช่วยกันครับ ไม่ใช่เพื่อเตรียมรับอนาคตของ ศบด. เท่านั้น แต่ เ พื่ อ อนาคตของกรมศุ ล กากรอั น เป็ น ที่ ร ั ก ของพวกเรา ขณะนี้มีการฝึกอบรมหลายหลักสูตรทั้งภาษา คอมพิวเตอร์ และระบบงานต่าง ๆ ลองสมัครกันดูครับ ได้ใช้แน่นอน แล้วพบกัน ในวันอบรมครับ ^_^

ก.พ.ร. จับตา งานการส่งออกเพื่อลดช่องทางคอรัปชั่น สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชน ปรับปรุง ประสิทธิภาพ การบริการ ของภาครัฐ (service Level Agreement-SLA) โดยให้สว่ นราชการที่ให้บริการกับภาคธุรกิจและประชาชน เช่น งานการส่งออก ของกรมศุ ล กากร ต้ อ งประกาศขั้ น ตอนและหลั ก เกณฑ์ใ นการพิ จ ารณาเอกสารที่ ต ้ อ งใช้ ค ่ า ธรรมเนี ย มและค่ าใช้ จ ่ า ย ช่องทางการให้บริการ และ ประกาศระยะเวลาการให้บริการที่ชัดเจนเป็นมาตรฐาน ซึ่งส่วนราชการใดที่ไม่ให้ความร่วมมือ ก็จะมีผลต่อตัวชีว้ ดั และการประเมินของ ก.พ.ร.ทัง้ นี้ หากประสบความสำเร็จก็จะมีการขยายขอบข่ายงานไปสูง่ านบริการอืน ่ ๆ ต่อไป


มูลค่าการนำเข้า

หน้าต่างข้อมูล มูลค่าการนำเข้า (บาท) 10,000,000,000" 9,000,000,000" 8,000,000,000" 7,000,000,000" 6,000,000,000" 5,000,000,000" 4,000,000,000" 3,000,000,000" 2,000,000,000" 1,000,000,000" 0"

2555"

1"

2"

3"

4"

5"

2556"

6"

7"

2555" 2556"

ฝ่ายบริการศ

ุลกากร

2557/6"

8"

9"

799,481,133" 705,231,003"

10"

11"

ฝบศ.ศบด.

12"

89,667,719" 4,125,278,661"2,306,713,932"

104,692,427" 4,166,204,696" 412,076,666" 1,946,379,032"2,291,273,658" 217,037,257" 138,788,409" 1,409,595,007" 147,012,282" 5,091,814,685"2,787,791,958"1,716,232,833"

2557/6" 1,760,306,924"1,515,064,131"3,938,158,991" 150,131,814" 1,992,741,603"9,472,707,277"

ตัง้ แต่เดือนส.ค.55-สิน้ เดือนมิ.ย.57 ของทีม ่ ม ี ลู ค่าการนำเข้าสูงสุดของฝบศ.คือ เครือ่ งบินตามพิกดั 8802, แผงวงจรอิเลกทรอนิกส์และส่วนประกอบตามพิกดั 8542 และเครือ่ งประมวลผลข้อมูลอัตโนมัตติ ามพิกดั 8471 ตามลำดับ มูลค่าการนำเข้าส่วนใหญ่ของ ฝบศ. เป็นเครือ่ งบินตามพิกดั 8802 จำนวน 35.575 พันล้านบาท คิดเป็น 93.81% ของมูลค่านำเข้าทัง้ หมด ซึง่ มูลค่าการนำเข้ากว่า 33 พันล้านบาทของมูลค่านำเข้าตามพิกดั 8802 เป็นของบริษัทไทยแอร์เอเชีย นกแอร์ และ ไ ทยแอร์เอเชียเอ๊กซ์ ตามลำดับ มีรายละเอียดดังนี้ ในปี 2555 มีมูลค่าการนำเข้าทั้งปีจำนวน 7.7 พันล้าน จาก 8 พันล้าน คิดเป็น 95.92% โดยอันดับหนึ่งเป็น บริษัท นกแอร์ รองลงมาคือ ไทยแอร์เอเชีย ในปี 2556 มีมูลค่าการนำเข้าทั้งปีจำนวน 18.9 พันล้าน จาก 20.4 พันล้าน คิดเป็น 93% โดยอันดับหนึ่งเป็น บริษัท ไทยแอร์เอเชีย รองลงมาคือ นกแอร์ ครึง่ ปีแรกของปี 2557 มีมลู ค่าการนำเข้าจำนวน 8.88 พันล้าน จาก 9.47 พันล้าน คิดเป็น 93.8% โดยอันดับหนึ่งเป็น บริษัทไ ทยแอร์เอเชียเอ๊กซ์ รองลงมาคือ ไทยแอร์เอเชีย

มูลค่าการนำเข้า (บาท)

2555"

2556"

ฝ่ายบริการผ

ู้โดยสาร

2557/6"

60,000,000"

ฝบผ.ศบด.

50,000,000" 40,000,000" 30,000,000" 20,000,000" 10,000,000" 0"

1"

2"

3"

4"

5"

6"

7"

8"

9"

2555" 2556"

2,204,762"

1,865,770"

9,483,990"

3,325,167"

15,446,310"

31,481,675"

2557/6" 12,691,054"

2,014,484"

2,475,182"

28,210,498"

3,252,089"

50,752,210"

1,115,351"

1,504,388"

6,504,781"

10"

11"

12"

3,466,686"

3,449,995"

330,164"

7,558,745"

9,633,343"

9,017,838"

มูลค่าการนำเข้าตามปกติของ ฝบผ. เป็นมูลค่าการนำเข้าของผู้โดยสารตามใบขนสินค้าปากระวาง โดยมีมูลค่าการนำเข้าอยู่ที่ 0-2 ล้านบาท ต่อเดือน สำหรับเดือนที่มีมูลค่าการนำเข้าสูงเกินปกติ ส่วนใหญ่ เป็นมูลค่าการนำเข้าสินค้าโดยใช้สิทธิสุทธินำกลับ ซึ่งเป็นของจำพวกเครื่องประดับตามพิกัด 7113 มูลค่ากว่า 30 ล้านบาท ใ นเดือนมิ.ย. ปี2556 และมูลค่ากว่า 9 และ 20.8 ล้านบาท ใ นเดือน ม.ค. และ เม.ย. ปี 2557 ตามลำดับ รวมมูลค่าการนำเข้าตั้งแต่เดือนตุลาคมปี 2555 ถึงสิ้นเดือนมิถุนายน 2557 กว่า 100 ล้านบาท นอกเหนือจากนี้ก็เป็นการนำเข้าตามปกติโดยเป็นของจำพวกเพชรเจียระไนแล้ว ตามพิกัด 7102 และพลอยเจียระไนแล้วตามพิกัด 7103 มีมูลค่าการนำเข้ารวมกว่า 16 และ 11 ล้านบาท ตามลำดับ หน้า ๒


มูลค่าการส่งออก

หน้าต่างข้อมูล

มูลค่าการส่งออก (บาท)

2555"

2556"

ฝ่ายบริการศ

ุลกากร

2557/6"

ฝบศ.ศบด.

3,000,000,000" 2,500,000,000" 2,000,000,000" 1,500,000,000" 1,000,000,000" 500,000,000" 0"

1"

2"

3"

4"

5"

6"

7"

2555" 2556"

8"

9"

150,898,579"

38,274,096"

10"

11"

12"

642,310,302" 614,326,817" 1,042,168,936"

745,235,821" 595,784,018" 802,663,272" 943,779,003" 1,398,609,841"1,244,982,660"1,556,708,645" 651,560,778" 1,028,325,176" 674,595,897" 1,558,555,806" 749,335,649"

2557/6" 433,115,579" 427,452,941" 962,463,821" 202,978,976" 389,207,792" 2,818,809,174"

มูลค่าการส่งออกส่วนใหญ่ของ ฝบศ. ตั้งแต่เดือนส.ค.55-สิ้นเดือนมิ.ย.57 เป็นของจำพวกส่วน ประกอบ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตามพิกดั 8543 และ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ตามพิกดั 8542 รวมมูลค่าการ ส่งออกกว่า 4.7 พันล้านบาท และ 4.6 พันล้านบาท ตามลำดับ ในปี 2555 ของตามพิกดั 8543 และพิกดั 8542 แต่ละพิกดั มีมลู ค่าการส่งออกกว่า 0.7 พันล้าน รองลง มาคือของตามพิกดั 6307(ส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ทว่ั ไปของกองทัพบกใช้สท ิ ธิภ ์ าค 4 ประเภท 13) มีมลู ค่าการส่งออกกว่า 150 ล้านบาท ในปี 2556 ของตามพิกัด 8543 และ 8542 มีมูลค่ากว่า 3.67 พันล้านบาท และ 2.86 พัน ล้านบาท ตามลำดับ รองลงมาคือของตามพิกัด 8802(เครื่องบิน) และ 6307 มีมูลค่าการส่ง ออกกว่า 1.41 พันล้านบาท และ 327 ล้านบาท ตามลำดับ ครึ่งปีแรกของปี 2557 ของตามพิกัด 8543 มีมูลค่าการส่งออกลดลงเหลือเพียง 200 กว่า ล้านบาท ทำให้ของตามพิกดั 8542 มีมลู ค่าการส่งออกสูงสุดในครึง่ แรกของปี 2557 กว่า 1.11 พัน ล้านบาท จาก 2.8 พันล้าน ในขณะที่ รองลงมาคือสินค้าตามพิกดั 6307 , 8533(ตัวต้านทานไฟฟ้า)

มูลค่าการส่งออก (บาท) 100,000,000" 90,000,000" 80,000,000" 70,000,000" 60,000,000" 50,000,000" 40,000,000" 30,000,000" 20,000,000" 10,000,000" 0"

1"

2555"

2"

3"

4"

5"

2556"

6"

ฝ่ายบริการผ

ู้โดยสาร

2557/6"

7"

8"

9"

2555" 2556"

8,998,946"

2,965,619"

33,948,030"

22,128,963" 1,835,098,876" 45,297,844"

2557/6"

9,230,344"

9,802,430"

2,746,627"

20,120,631"

4,877,618"

267,560,650"

1,170,105"

19,999,739"

ฝบผ.ศบด.

10"

11"

12"

13,919,270"

36,274,751"

2,039,609"

10,225,885"

4,436,993"

13,198,945"

70,639,957"

มูลค่าการส่งออกตามปกติของ ฝบผ. เป็นของตามพิกัด 7113 (เครื่องประดับ), 7102 (เพชรยังไม่ ประกอบตัวเรือน) และ 7103 (พลอยยังไม่ประกอบตัวเรือน) โ ดยตั้งแต่ปี 2555 จนถึงครึ่งปีแรกของปี 2557 มีมูลค่าการส่งออกรวม 126, 86, และ 64 ล้านบาท ตามลำดับ มูลค่าการส่งออก กว่า 70% ของ มูลค่าการส่งออกทั้งหมดของของตามพิกัด 7113 และกว่า 10% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของของ ตามพิกัด 7103 เป็นการส่งออกโดยใช้สิทธิสุทธินำกลับ ในปี 2556 มูลค่าการส่งออกรวมสูงเกินปกติ มีสาเหตุมาจากการส่งออกทองคำแท่งตามพิกัด 71081200 ไ ปยังประเทศอินโดนีเซีย ใ นเดือนพฤษภาคม 2556 มูลค่า 1.826 พันล้านบาท และเดือน กรกฎาคม 2556 มูลค่า 257 ล้านบาท รวมมูลค่ากว่า 2.083 พันล้านบาท คิดเป็น 91.96% ของมูลค่าการ ส่งออกรวมในปี 2556 หน้า ๓


ศุลกากร 360 ํ

*

5

หน้า ๔


นายณัฐพงษ์ บุญคง (หนุ่ย) (Mr.Nattapong Boonkong) วันเกิด : 14 กุมภาพันธ์ ตำแหน่ง : นักวิชาการศุลกากรชำนาญการ สังกัด : ฝ่ายควบคุมทางศุลกากร ศบด. ประวัตกิ ารศึกษา : ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 
 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิสัยทัศน์ : ต้องการเห็น ศบด.มีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม มีเกียรติและศักดิ์ศรี เป็นที่ยอมรับของ ผู้เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็ต้องการให้บุคลากรทำงาน อย่างมีความสุข ได้รบั การส่งเสริมตามความรูค้ วามสามารถ ที่ตนเองถนัด ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของกรมศุลกากรและ ประชาชนผู้รับบริการ คติประจำใจ : สิ่งทั้งปวง ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น จาก…หนุ่ย ถึง… ศบด. “ครั้งนี้เป็นการกลับมาปฏิบัติงานที่นี่เป็นครั้งที่สองตอนเข้า รั บ ราชการที่ ก รมศุ ล กากรใหม่ๆ ก็ บ รรจุ ที่ นี่ การได้ ก ลั บ มาอี ก ครั้ ง ก็รู้สึกดีมาก สนามบินดอนเมืองยังคง CLASSIC เหมือนเดิม ที่ ศบด. หัวหน้าและพี่ๆน้องๆ เพื่อนร่วมงานน่ารักมาก พี่รุ่นใหญ่ก็ถ่ายทอด ความรู้และประสบการณ์งานศุลกากรให้หลายอย่างครับ”

ขอสามคำย้ำความเป็น “หนุ่ย” : โบ ราณ แมน

นางสาวกรวิกา คชโกษัย (เชอรี)่ (Miss Kornwika Kotchakosai) วันเกิด : 3 มีนาคม ตำแหน่ง : นักวิชาการศุลกากรชำนาญการ สังกัด : ฝ่ายบริการศุลกากร ศบด. ประวัติการศึกษา: เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต 
 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วิสัยทัศน์ : ตั้งใจมุ่งมั่นและเรียนรู้ในงาน เมื่อผิดพลาดจงคิดไตร่ตรองทบทวนแก้ไข ไม่มีใครฉลาดโดยที่ไม่ผิดพลาดมาก่อน คติประจำใจ : Happiness is something to be created จาก.. เชอรี่ ถึง.. ศบด. “จุดเริ่มต้นของการทำงานที่นี่เมื่อปี 2548 วันนี้ภาพทุกอย่าง ดูเปลีย่ นไปโดยสิน้ เชิง ไม่มแ ี ม่คา้ ขายข้าวเหนียวหมูปง้ิ หรือทอดไข่เจียว กันหน้าคลังอีกต่อไป คงเทียบไม่ได้กบั ปัจจุบนั ทีค่ ลังเปลีย่ นไปเยอะมาก แต่ถึงงานจะไม่เยอะนัก บรรยากาศของชิปปิ้งไม่วุ่นวายเท่าเมื่อก่อน แต่สิ่งหนึ่งที่รู้สึกได้คือชาว ศบด. พวกเรามีความเป็นเพื่อน พี่ น้อง ที่ร่วมกันทำงาน ช่วยเหลือและแบ่งปันประสบการณ์การทำงาน ทำให้งานสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี”

สามคำ ถึงเธอ “เชอรี่” : สาว หน้า เด็ก

หน้า ๕


จานอร่อยรอบบ้าน เดิมร้านนี้เป็นร้านถ่ายรูป แต่ปัจจุบันเจ้าของเปลี่ยนมาเปิดเป็น ร้านส้มตำ ไก่ย่าง อาหารอีสาน ห้องแอร์ บรรยากาศภายในร้ านโปร่ ง สบาย สะอาด น่านั่งทาน ซุ้มส้มตำสะอาด ตอนเที ่ ย งลู ก ค้ า ค่ อ นข้ า งมาก เมนู ส ้ ม ตำมี ใ ห้ เ ลื อ กหลาก หลาย แต่สำหรับลูกค้าที่นำ รถยนต์ มาเองทางร้ านไม่ มี ที ่ สำหรับจอดรถยนต์ ต้องจอดไว้ริมถนน

แม่ศรีส้ม ตำไก่ย่าง ตำรับเขาส วนกวาง

แนะนำความอร่อย “ไก่ย่างรสเด็ด”

า ตามสูตรด้งั เดิมตำรับเข กไก่ สวนกวาง ทางร้านเลือ นัง ที่ขนาดกำลังดีย่างจนห กรอบ เรียกได้ว่า

“กรอบนอกนุ่มใน”

“ตำแนวแม่ศรี”

ด เมนูเด็ดที่พลาดไม่ได้ จั ็นที่ วางมาในถาดซึ่งกำลังเป นิยมของลูกค้ารสชาติความ บ อร่อยแซ่บ จัดจ้าน สำหรั ลูกค้าที่ใส่ใจ สุขภาพ สามารถเลือกสั่งได้

“ตำข้าวโพด ไข่เค็ม แฮม”

้น ตำผลไม้ ตำทะเล ตำเส ร แก้วกุ้งสด ตำไทยดอกขจ รือ ตำแครอท ตำมะม่วง ห จะสั่งตำสัปปะรดสูตร “แม่ศรี” ก็มีให้เลือกสั่ง อย่างจุใจ

ร้านแม่ศรี ส้มตำ ไก่ย่าง ตั้งอยู่ ย่านดอนเมือง ระหว่างซอยสรงประภา 10 และ 12 ติดทีโอที เลขที่ 311/26 ถนนสรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02 566 3326 เปิดบริการตั้งแต่10.00 – 22.00 น. หยุดวันอังคารที่ 1 และ 3 ของเดือน หน้า ๖

นอกจากนี้ยังมีเมนูต้มยำ ทำแกง เมนูย่าง ๆ ทอด ๆ อาหารจานเดียว และ ้เผ็ด ของหวาน ๆ เย็น ๆ แก

“ต้อง ลอง”


Happy Club ออกกำลังกาย เช้า หรือ เย็น ดีกว่ากัน ?? สมมุติว่าตัวเราเป็นรถยนต์ เครื่องยนต์ของเราคือกล้ามเนื้อ แขน ขา ที่จะทำให้เราเคลื่อนไหวไปไหนมาไหนได้ รถยนต์ต้องการน้ำมันเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงาน คนเราก็ต้องการอาหารเป็นพลังงานให้ร่างกาย เคลื่อนไหวไปไหน มาไหนได้ รถยนต์ต่างกับร่างกายตรงที่พอเติมน้ำมันเต็มถังแล้ว สามารถขับรถไปได้ทันที แต่คนเราหลังกินอาหาร อิ่มเต็มที่ยังไปออกกำลังกายไม่ได้ เพราะหลังกินอาหาร 2 ช.ม. จะมีเลือดมารอรับอาหารที่จะถูกย่อยที่กระเพาะ และลำไส้เป็นจำนวนมาก เลือดจะพาสารอาหารแจกจ่ายไปยังอวัยวะต่างๆของร่างกาย ถ้าออกกำลังหนักๆตอนนี้ ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ หน้ามืดเป็นลม หรือทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ เท่ากับกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เป็นสาเหตุให้กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ถึงเสียชีวิตได้ จึงห้ามเด็ดขาด ห้ามออกกำลังหลังกินอาหาร 2 ช.ม.

คนตืน่ นอนตอนเช้าแล้วมาออกกำลัง เพราะอากาศ สดชื่น มลพิษก็น้อย อากาศเย็น ร่างกายยังสดชื่น เพราะได้พักมาทั้งคืน แต่คนออกกำลังตอนเช้าโดย ไม่กน ิ อาหารก่อน เพราะเชือ่ ว่าตอนเย็นกินอาหารเสร็จ เข้านอนไม่ได้ใช้พลังงานขณะทีน ่ อนหลับ แต่ชว่ งนอน หลับนั้นตับจะเปลี่ยนเป็นสารอาหารแล้วนำไปเก็บไว้ ในอวัยวะต่าง ๆ เมื่อตื่นนอนจึงไม่มีพลังงานเหลืออยู่ ในเลือด เท่ากับรถยนต์นำ้ มันแห้งถัง สภาพนีค้ นออก กำลังได้โดยตับจะดึงสารอาหารที่เปลี่ยนไปเก็บไว้ใน ที่ ต ่ า งๆตอนนอนหลั บให้ ก ลั บ เป็ น สารพลั ง งาน ในเลือดใหม่ จึงสามารถออกกำลังกายได้ คิดดูตอนนอน ตับทำงานหนักเพื่อนำสารอาหารไปเก็บ ตื่นตอนเช้า ไปออกกำลังกาย ตับต้องดึงสารอาหารทีเ่ อาไปเก็บไว้เมือ่ คืน ออกมาใช้ใหม่ ทำอย่างนีบ ้ อ่ ยๆ ทุกวันๆ ตั บ จะต้ อ ง ทำงานหนักแค่ไหน เพราะไม่ได้พักเลย

เรากิน อาหารเช้ า กลางวั น ตกเย็น รั บ รองว่ า พลั ง งานเหลื อ เฟื อ ขณะทำงานใช้ไ ปไม่ ห มด สามารถออกกำลั ง กายได้ เ ลย เหมือ นกั บ รถยนต์ น้ำมั น ยั งไม่ แ ห้ ง ถั ง ข้ อ สำคั ญ เมื่อ ออกกำลั ง ตอน เย็น เสร็จ แล้ วให้ ดื่ม น้ำโดยค่ อ ยๆ ดื่ม จนรู้ สึก อิ่ม กลั บ ถึ ง บ้ า นก็ จะไม่ รู ้ สึ ก หิ วไม่ อ ยากกิ น อะไรอี ก หลั ง ออกกำลั ง กายตอนเย็น นี้แ ล้ ว เมื่อ ถึง เวลา เข้านอน จะเหลือสารอาหารน้อยที่สุด ตับไม่ต้อง ทำงานมาก สารอาหารไม่ มีไ ปเก็ บ ตามที่ ต ่ า งๆ ของร่ า งกาย จึ งไม่ ทำให้ อ ้ ว น และไม่ มี ส าร อาหารเหลื อ ค้ า งในหลอดเลื อ ดโดยเฉพาะไขมั น จึ ง เป็ น วิ ธี ที่ จะลดไขมั นในเลื อ ดได้ ดี ที่ สุ ดโดยไม่ ต้ อ งกิน ยา

ถ้าพิจารณาตรงนี้ ออกกำลังกายตอนเช้าหรือตอนเย็นจะเป็นการออกกำลังทีท ่ ำให้สขุ ภาพทัว่ ๆ ไ ปดีทง้ั คู่ แต่การออกกำลังกายตอนเย็นโดยไม่ไปกินอาหารภายหลัง ยังจะช่วยให้สารอาหารที่เหลือจากการกินตอนเช้า และเที่ยงน้อยลงจนไม่สามารถทำร้ายร่างกายได้ด้วย การออกกำลังกายตอนเย็นจึงได้ 2 ต่อ สรุปมาถึงแค่นี้ เพื่อนๆ ก็คงทราบแล้วว่า ออกกำลังกายตอนเย็นดีกว่าตอนเช้านะคะ หน้า ๗


Bye Bye ท้ายเล่ม ! การพัฒนา ทดม. ระยะที่ ๑ (๒๕๕๕) * งานฟื้นฟู อาคารสถานที่ ภายหลัง เหตุอุทกภัย ปี 2554 * อาคารผู้โดยสาร อาคาร 1 * อาคารคลังสินค้า 1

! 2 ปี แล้วกับการกลับมาทีด่ อนเมือง ชาว ศบด. ทราบหรือไม่วา่ ปีทผี่ า่ นมา ท่าอากาศยานดอนเมือง มีเทีย่ วบินประมาณ 135,000 เทีย่ วบินและ ผูโ้ ดยสาร ประมาณ 15.5 ล้านคน มาใช้บริการ โดยใช้อาคารผูโ้ ดยสารอาคาร 1 และอาคาร เทียบเครือ่ งบินหมายเลข 2 ,3 และ 4 รองรับเทีย่ วบินและ ผูโ้ ดยสารทัง้ จาก ภายในประเทศและระหว่างประเทศจากปัจจัยการเปิดเสรีทางการบินและ การก้าวสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 คาดการณ์ได้วา่ ปริมาณเทีย่ วบิน และผูโ้ ดยสารทีจ่ ะมาใช้บริการ จะมีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ ด้วยเหตุนท ี้ า่ อากาศยาน ดอนเมืองจึงมีโครงการปรับปรุงและพัฒนา ท่าอากาศยานอย่างต่อเนื่อง โครงการเหล่านี้มีอะไรบ้าง ชาว ศบด. มาติดตามแล้วลุ้นไปด้วยกันค่ะ

สถิติที่น่าสนใจของท่าอากาศยานดอนเมือง

การพัฒนา ทดม. ระยะที่ ๒ (๒๕๕๗) * ปรับปรุงอาคารผู้โดยสาร อาคาร 2 * ปรับปรุงอาคารเทียบเครื่องบิน หมายเลข 5 (Pier 5) * ปรับปรุงอาคารทางเดินเชื่อมด้าน ทิศใต้ (South Corridor)

!

การพัฒนา ทดม. ระยะที่ ๓ (๒๕๕๙) * ปรับปรุงอาคารผูโ้ ดยสาร อาคาร 1 * ปรับปรุงอาคารคลังสินค้า 1 และ 2 * ปรับปรุงอาคารเทียบเครื่องบิน หมายเลข 2 , 3 และ 4 * ก่อสร้างอาคาร General Aviation

!!

การพัฒนา ทดม. ระยะที่ ๔ (๒๕๖๐) * เชื่อมต่อระบบขนส่งทางราง และโครงสร้างพื้นฐานรอบ ท่าอากาศยานดอนเมือง

เตรียมรับนักท่องเที่ยวจีน คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ แก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ(กรอ.) ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช.เป็นประธาน เห็นชอบให้ ยกเว้นค่าธรรมเนียมวีซา่ ให้กบ ั นักท่องเทีย่ วจีนและไต้หวัน เป็นเวลา 3 เดือน เริม ่ ตัง้ แต่ 1 ส.ค.- 31 ต.ค. ๒๕๕๗ คาดว่าจะทำให้นกั ท่องเทีย่ วจีนเพิม ่ มากขึน ้ ชาวศบด.เตรียมพร้อมเสมออยู่แล้ว... สู้ๆจ้า ^_^


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.