Creative Economy Opportunities Challenges for Thailand (thai)

Page 1

เศรษฐกิจสรางสรรค โอกาสและอุปสรรคสําหรับประเทศไทย โดย ซีดาร ไรลลี่

หลายคนกลาววาในขณะนี้เราอยูในยุคเศรษฐกิจ ‘ขอมูล’ หรือเศรษฐกิจ ‘ความรู’ แตสิ่งที่เปนจริงยิ่งกวาคือเราอยูในเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยความคิดสรางสรรค ของมนุษย เพราะความคิดสรางสรรคเปนแหลงขอไดเปรียบในการแขงขัน แต ไมใชสินคา ความคิดสรางสรรคมาจากคน และนั่นหมายความวา คนเปน ทรัพยากรที่สําคัญยิ่งในยุคใหมนี้ ริชารด ฟลอริดา, “The Rise of the Creative Class”

1


บทนํา

ปริมาณมากอันมีแรงงานมนุษยเปนแหลงมูลคาหลัก ไปสูยุคสมัยใหมของ ‘การผลิตโดยมีนวัตกรรมเปนสื่อ’ ซึ่งมีความรูเปนองคประกอบหลักของ การสรางมูลคา การเพิ่มผลผลิต และความเติบโตของเศรษฐกิจ” เปนคํา กลาวของริชารด ฟลอริดา ในป 1993 ที่พิมพไวในบทความของวารสาร Futures – The Journal of Forecasting and Planning1] สิบหกปตอมา ความรูไดกลายมาเปนสินคา แรงงานคุณภาพสูงสามารถหา ไดดวยเพียงแคเศษตนทุนของสหรัฐอเมริกาในประเทศที่กําลังเติบโตอยาง บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน (ประเทศกลุม BRIC) บริษัทตางๆนําเอางาน ที่ตองอาศัยความรูอ อกจากอเมริกา ยุโรป และญี่ปุน โดยมาจัดจางประเทศ อื่น เพื่อใชประโยชนจากแรงงานราคาถูก เปนการลดตนทุนโดยรวมของ บริษัทรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา และอังกฤษตางก็เปนกังวลในเรื่องนี้ และ ไดดําเนินการเพื่อเสริมสรางความสามารถของกลุมแรงงานในประเทศของ ตน ในชวงตนยุค 1980 มูลคาตลาดของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหุนเปน มูลคาตามบัญชี อันหมายถึงสินทรัพยที่มีตัวตน 95% ยี่สิบปตอมา เพียง 23% ของมูลคาตลาดเทานั้นที่เปนมูลคาตามบัญชี แสดงใหเห็นถึงความ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญในวิธีที่ใชประเมินคาบริษัท สินทรัพยที่ไมมีตัวตน เปนสิ่งที่ทดแทนสวนตางนั้น และสาเหตุหลักอยางหนึ่งของมูลคาที่เพิ่มขึ้น นั้นเกิดจาก การที่บทบาทของความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมความคิด นั้นมีคามากกวาสิ่งที่ทําไดดวยมือหรือเครื่องจักร เปนความสามารถที่จะ สรางไอเดีย ผลิตภัณฑและบริการใหมไดอยางตอเนือ่ ง ซึ่งเปนสิ่งที่มีคุณคา ในเศรษฐกิจสรางสรรค ดังนั้นสําหรับประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมัน่ คง สิ่งที่สําคัญ ที่สุดคือความสามารถในการผลิตไอเดียไดอยางตอเนื่อง แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจสรางสรรคนี้เปนเรื่องที่คอนขางใหม และไดรับความ สนใจจากหลายฝาย เชน ผูออกนโยบาย นักคิด นักวิชาการ และนักวารสาร และทุกคนไดรวมกันถกเถียงเรื่องเศรษฐกิจสรางสรรค มีการอภิปราย พูดคุย ถกเถียงกันมากมาย แตความเขาใจที่เกิดขึ้นจริงนั้นนอยนิด [2] มีการตีความโมเดล และไอเดียมากมายในเรื่องเดียวกันนี้ บางคนใช แนวทางวัฒนธรรม บางคนใชแนวทางเทคโนโลยี บางคนใชแนวทาง ศิลปะและการออกแบบ ซึ่งลวนแตแสดงถึงหนทางใหมในการสรางความ มั่งคั่งในโลก ‘ใหม’

มีการสันนิษฐานวาการสรางนโยบายที่สนับสนุนแนวคิดใหมนี้ จะทําให พนจากปญหาทางเศรษฐกิจไดทั้งหมด เพิ่มการจางงาน และสรางความสุข ใหกับประเทศทั้งมวล มุมมองและขอสันนิษฐานเหลานี้องิ จากความเขาใจ ที่ตื้นเขินของแนวคิดนี้ ลักษณะที่แนชัดของเศรษฐกิจสรางสรรคนั้นยังไมมีการนิยามอยางชัดเจน ยังมีความสับสนในหนวยงานรัฐและเอกชนหลายหนวยทั่วโลก นิยามก็ ตางกันไปในแตละประเทศ แตสิ่งที่ทุกหนวยงานและรายงานทั้งหลายเห็นพองกันคือคําเปรียบเทียบ อยาง ยุคสรางสรรค (Creative Age) และเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) นั้นลวนแตพยายามจะอธิบายปรากฎการณเดียวกันที่ทั่วโลก กําลังเห็น นั่นคือมูลคาเพิ่มในโลกที่พัฒนาแลวไดเปลี่ยนจากเกษตรกรรม สู อุตสาหกรรม ความรู และความสรางสรรค ตามลําดับโลกกําลังพัฒนา สามารถตามใหทันไดคอนขางรวดเร็ว และสามารถหาประโยชนไดจาก ‘ระบบเศรษฐกิจใหม’ นี้ สิ่งสําคัญคือตองจําไววาความคิดสรางสรรคอยางเดียวนั้นไมทําใหเกิด มูลคา แตตองนําไปใชในบริบทธุรกิจที่ถูกตองและมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม เปนเครื่องมือชวย ในการที่จะสรางมูลคาได ตองอาศัยทักษะและวัฒนธรรมที่ผสนผสานกัน อยางลงตัว ความสามารถในดานความคิดของมนุษยเปนสิง่ ที่สําคัญยิ่ง สําหรับเศรษฐกิจสรางสรรค

เศรษฐกิจสรางสรรคในกลุมประเทศพัฒนาแลว เรากําลังอยูในยุคทีผ่ สมผสานระหวางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ขอมูล ความรู และความคิดสรางสรรค[fig1] Creative

Growth in social & economic sophistication

KnowledgeSolution

Value Add

“ระบบทุนนิยมกําลังอยูในชวงเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ จากระบบการผลิตใน

Information Industrial Agricultural

Maturing of various ages over time

All of these contributions are equally important for a nation to flourish.

present

Fig.1 : Evolution of the Global Economy

ประเทศสวนใหญที่พัฒนาแลว ซึ่งรวมถึงสหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก และญี่ปุน ไดพัฒนาไปเปนสังคมที่มคี วามรูและความคิดสรางสรรคเปนสิ่ง 2


หลักในอุตสาหกรรม ประเทศเหลานี้ไดพัฒนาไปเปน ‘กลุมประเทศ ความคิด’ ที่มีพลังอยางสรางสรรค ประเทศเหลานี้ไมจาํ เปนตองผลิตสินคาและบริการที่ตนสราง แตนําการ ผลิตสวนใหญออกไปดําเนินการยังประเทศกําลังพัฒนาทีถ่ ูกกวาในเอเชีย หรืออเมริกาใต ซึ่งยังคงติดอยูในยุคอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม ประเทศดอยพัฒนาเชนในแถบแอฟริกาเหนือและกลาง ยังไมมีความรูและ ทักษะที่จําเปนสําหรับการยกระดับจากเศรษฐกิจชนบทไปเปนเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม นี่อาจจะเปนการเหมาในภาพรวมทั่วโลก แตในความเปนจริงแลว ความ เจริญไมไดแผออกไปอยางเทาเทียมกันทั่วทวีป มีเพียงบางภูมิภาคหรือบาง เมืองในแตละประเทศเทานั้นที่พิสูจนแลววาขับเคลื่อนดวยความรู และมี สีสันทั้งในดานความคิดสรางสรรคและดานเศรษฐกิจ ตัวอยางเชน บางสวนในอเมริกาก็ยังคงติดอยูในยุคเกษตรกรรมหรือ อุตสาหกรรม และไดถดถอยลงไปในอยางมากในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจใน ปจจุบัน ในขณะที่จริงๆ แลวภูมิภาคที่เต็มไปดวยความคิดสรางสรรคนั้น เติบโตทามกลางเศรษฐกิจถดถอย งานวิจัยที่ริชารด ฟลอริดาทําเมื่อไมนานนี้พยายามที่จะทําความเขาใจความ ออนแอของเมืองเมือ่ ประสบสภาวะถดถอย และไดพบหลักฐานที่นาตกใจ ซึ่งสนับสนุนเศรษฐกิจสรางสรรค เมืองในอเมริกาที่มี ‘ดัชนีสรางสรรค’ ที่สูงกวาซึ่งหมายถึงมีการผลิตงาน ดานความรูและความคิดสรางสรรคไดมากกวานั้น กลับเติบโตตลอดเดือน ตุลาคม 2008 ในขณะที่เมืองซึ่งมีอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรมเปนหลัก และมีคะแนนดัชนีต่ํานั้นตกอยูในภาวะลําบาก ศูนยอุตสาหกรรมที่เกาแกอยางบัฟฟาโล ดีทรอยท เซนตหลุยส และคลีฟ แลนด หรือศูนยบริการ ศูนยสําหรับผูเกษียณอายุ หรือศูนยกลางการ ทองเที่ยว เชน ไมอามีและฟนิกซ ซึ่งมีคะแนน ‘ดัชนีสรางสรรค’ ณ จุด กลางอยูที่ 0.598 ตางอยูในภาวะถดถอยอยางหนักทั้งสิ้น มหานครอุตสาหกรรมและการแสดงสรางสรรคเชนซานดีเอโก และซาน ฟรานซิสโก ซึ่งมีคะแนนดัชนีสรางสรรค ณ จุดกลางอยูท่ี 0.698 อยูใน “กลุมเสี่ยง” มหานครซึ่งมีคะแนนดัชนีสรางสรรคในระดับสูงนั้นอยูในลําดับตนๆ ของ รายชื่อเมืองใหญที่ “กําลังขยายตัว” อันไดแก ซีแอตเติล ซานโฮเซ ออสติน วอชิงตัน ดีซี บอสตัน และรอลีห พรอมกับมหานครที่เต็มไปดวยทรัพยากร

Fig.2 : Industrial vs. Creative cities during recession in USA

ในเท็กซัสและโอกลาโฮมา คะแนนดัชนีสรางสรรค ณ จุดกึ่งกลาง สําหรับ มหานครเหลานี้คือ 0.750 เนื่องจากวัตถุดิบหลักของเศรษฐกิจสรางสรรคนั้นไมใชโครงสรางพื้นฐาน ทางกายภาพ เชน ถนน โรงงาน ไรนา หรือกระทั่งตนทุน กฎของเกมนี้จึง แตกตางออกไป เมื่อพิจารณาถึงรายงานและกรณีศึกษาทุกชิ้นของนโยบายที่มีอยูในปจจุบัน ของกลุมประเทศทีพ่ ัฒนาแลว และขอมูลที่หาได ทางเดียวที่จะกาวไป ขางหนาไดคือการปรับปรุงโมเดลการสรางความมั่งคั่งในปจจุบันอยางเปน ระบบครั้งใหญ แนวทางการแกไขอยางรวดเร็วอาจจะงายที่จะดําเนินการ แตไมทาํ ใหเกิดการฟนฟูเศรษฐกิจอยางที่คาดหวังไว 3


วิวัฒนาการของยุคสมัย (Evolution of Eras) Value Add

Growth in social & economic sophistication

Creative Knowledge No S.Korea Information

ยุคเกษตรกรรม (The Agricultural era.)

ในชวง

Industrial UK

Agricultural

Maturing of various ages over time

All of these contributions are equally important for a nation to flourish.

present

Fig.3: Current state of Thai Economy

เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมประเทศพัฒนาแลว ประเทศไทยยังคงเปนระบบ เศรษฐกิจที่มีเกษตรกรรมและการผลิตเปนหลัก แตตองการที่จะกาว กระโดดไปยังเศรษฐกิจสรางสรรคที่มีพื้นฐานบนความรู นี่เปนไอเดียที่เยีย่ มยอด แตอะไรคือปจจัยที่จะทําใหโมเดลใหมสําหรับ เศรษฐกิจสรางสรรคนี้ประสบความสําเร็จได สามารถนําไปทําซ้ําที่ใดใน โลกก็ไดหรือไม สามารถที่จะนําโมเดลที่ประสบความสําเร็จที่อื่น แลว “นําเขา” มาในประเทศเพื่อมาทําซ้ําในประเทศไทยไดหรือไม อะไรคือ เงื่อนไขที่ตองมีอยูก อนดําเนินการอันจําเปนสําหรับความสําเร็จ ประเทศ ไทยมีสวนผสมผสานขององคประกอบตางๆ ที่ลงตัวหรือไม อะไรคือ อุปสรรค และตองทําอะไรเพื่อใหไดประโยชนจากกระบวนทัศนที่กําลัง เบงบานนี้ รายงานชิ้นนี้คือความพยายามที่จะเขาใจแนวคิดบางอยางของคําถามเหลานี้ อยางมีวิจารณญาณ เพื่อใหเห็นวามีอุปสรรคใดรออยู รายงานนี้มีสมมติฐาน ที่วาหากประเทศไทยไมสามารถดําเนินการเพื่อแกไขอุปสรรคเหลานี้ได ก็ ยังคงจะเปนไดเพียงแคผูบริโภคไอเดียที่เกิดจากประเทศทีเ่ ต็มไปดวย ความคิดสรางสรรคซึ่งสามารถที่จะหาประโยชนเชิงพาณิชยจากไอเดีย เหลานี้ได รายงานนี้ใชแนวทางแบบ ‘นอกเขาใน’ โดยเปรียบเทียบประเทศไทยกับ ประเทศเพื่อนบานตางๆ ในเอเชีย เนื่องจากขาดขอมูลที่เชื่อถือไดและการวิจัยที่เหมาะสมเรื่องภาคสรางสรรค และแงมุมที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย จึงมีการที่แหลงอางอิงเพื่อการปรึกษาที่ หลากหลายในรายงาน

ราวหมื่นปกอน ความมั่งคั่งเกิดจาก ‘ขอไดเปรียบทางธรรมชาติ’ ของแตละ ประเทศ ที่ดินเปนแหลงความมั่งคั่งอันดับหนึ่ง การคาโลกนั้นเกิดจาก การคาผลิตผลทางธรรมชาติอยางเครื่องเทศ ธัญญาหาร หรือวัสดุแปรรูป เชน ผาฝายหรือผาไหม ใชเครื่องมืองายๆ ควบคูไ ปกับแรงงานมนุษยและ สัตวในการผลิตและขนสง โดยใชเทคนิคการบริหารเพียงเล็กนอย เปนการ รวมพลังของชุมชนซึ่งอยูรวมกัน

ยุคอุตสาหกรรม (The Industrial era.) ยุคนี้เริ่มตนขึ้นในอังกฤษราวชวงทศวรรษ 1860 ดวยการเริ่มใชแรงงาน เครื่องจักร วัสดุที่สกัดมาจากธรรมชาติ เชน ถานหิน เหล็ก น้ํามัน แรธาตุ และแรงงานราคาถูก เปนทรัพยากรหลัก แรงงานมนุษยและสัตวนั้น ทดแทนดวยเครื่องจักร ชวยเพิ่มปริมาณในการผลิตไดหลายเทา มนุษยเคลื่อนไหวและติดตอกันไดมากขึ้นจากการเริ่มใชโทรศัพท เรือกล รถไฟ และพาหนะเครื่องยนต เทคนิคและกระบวนการจัดการไดเกิดขึ้นเพื่อนํามาใชบริหารโรงงานที่มี แรงงานจํานวนมาก เพื่อใหไดปริมาณผลผลิตและกําไรที่ดี

ยุคขอมูล (The Information era.) ในป 1956 นักวิจัยในอเมริกาพบวาจํานวนผูคนที่มีงานนั่งโตะ เชน พนักงานรานคา พนักงานออฟฟศ ครู พยาบาลฯลฯ มีจํานวนเกินกวาผูใช แรงงาน อันเปนจุดจบของยุคอุตสาหกรรม โลกตะวันตกเริ่มเปลี่ยนไปเปน เศรษฐกิจที่มีการบริการเปนหลัก ในทศวรรษถัดมา มีการสรางไมโครคอมพิวเตอรขึ้น ธุรกิจและ อุตสาหกรรมหลายประเภทไดเปลีย่ นไปอยางมาก เครื่องจักรมี ‘สมอง’ และทดแทนมนุษยในการเพิ่มปริมาณผลผลิตของบริษัท ในเวลาตอมา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คอมพิวเตอร เครื่องจักรที่ดําเนินการ โดยคอมพิวเตอร ไฟเบอรออปติก ดาวเทียมสื่อสาร อินเตอรเน็ท ได กลายเปนสวนสําคัญของเศรษฐกิจโลก การสรางและจําหนายขอมูลนั้นไดกลายเปนแหลงความมัง่ คั่งแหงใหมใน ยุคนี้ บริษัทอเมริกา ยุโรป และญี่ปุนตางเริ่มใชประโยชนดวยการจัดจาง ประเทศอื่นที่มีคาแรงต่ําในการทํากระบวนการที่เนนแรงงานเปนหลักและ มีมูลคานอยในชวงทศวรรษที่ 1970 เริ่มมีการนํางานโรงงานหลายประเภท ออกมาจัดจางประเทศอื่นทํา สินคาประเภทเสือ้ ผา เหล็ก ของเลน โทรทัศน 4


และฮารดแวรและชิปคอมพิวเตอร รถยนต ถูกยายไปผลิตในประเทศที่มี แรงงานราคาถูกและฝมือต่ํา ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียสวนอื่นๆ ตางไดรับ ประโยชนดวยการเปดรับโอกาสเหลานี้ ทําใหเศรษฐกิจเบงบานตลอดสาม ทศวรรษ จนกระทั่งเกมเปลี่ยนอีกครั้ง ประเทศเหลานี้ไดเห็นผลกระทบ ของปรากฏการณยายแรงงานทั่วโลก ซึ่งเปนเหตุใหหลายโรงงานตองปด ตัวเพื่อยายไปยังประเทศที่มีแรงงานราคาต่ํากวา

ยุคความรู (Knowledge era.)

อเมริกา DOW ดั้งเดิมในป 1896 มีบริษัทอยู 12 แหง บริษัท GE (General Electric) เปนเพียงบริษัทเดียวที่ยังคงอยูใน DOW ในปจจุบัน สิ่งที่ GE แตกตางจากบริษัทอื่นใน DOW 12 คือบริษัทอื่นนั้นไมสามารถ เปลี่ยนแปลงตัวเองใหเรียนรูความสามารถใหมๆ แตกลับติดอยูกับที่ ทําให ตองปดตัวไปในเวลาตอมา บริษัทไทยหลายๆ แหงกําลังอยูในชวงนี้ จะมีแตบริษัทที่เรียนรูที่จะ เปลี่ยนตัวเองจากการมีความคิดแบบอุตสาหกรรมเปนแบบความรู/ความคิด สรางสรรคเทานั้นที่จะไปไดดีในยุคสรางสรรค

ชวงเปลี่ยนจากยุคความรูไปเปนยุคสรางสรรค เรากําลังเห็นยุคนี้กา วเขาสูจุดอิ่มตัว ในชวงสองทศวรรษที่ผานมา อุตสาหกรรมประเภทใหมๆ เชน ไมโครซอฟท แอปเปล อเมซอน อีเบย ล้ํา หนาบริษัทยุคอุตสาหกรรมในแงมูลคาตลาด และความสามารถในการ สรางความมั่งคั่ง บริษัทเหลานี้ขึ้นอยูกับความสามารถทางปญญาของผูเชี่ยวชาญในอาชีพที่มี ทักษะสูงเปนหลัก เชน นักเศรษฐศาสตร นักวิทยาศาสตร วิศวกร ซอฟตแวร นักเทคโนโลยีชีวภาพ นักการเงิน ฯลฯ ในชวงเปลี่ยนตอระหวางยุค ผูที่เพิ่มพูนทักษะตนเองจะไดรับการจางงาน และไตเตาไดเร็วกวาผูอื่น ความรูใหมนั้นเปนเรื่องสําคัญมากสําหรับ ความกาวหนา ตัวอยางเชน ในเมืองบังกาลอรซึ่งอยูทางใตของอินเดียนั้น แรงงานในสาขาเฉพาะทางที่ไมใชดานไอทีจํานวนมาก เชน แพทย นัก กฎหมาย นักออกแบบ นักธนาคาร ฯลฯ ตางลงทะเบียนเรียนการเขียน โปรแกรมซอฟตแวรชวงกลางทศวรรษ 90 บริษัทที่ตองการผูที่มี ‘ความรูในสาขาเฉพาะทาง’ ควบคูไปกับทักษะการ เขียนโปรแกรมไดตามตัวบุคคคลเหลานี้ เนื่องจากมีโอกาสใหมที่เกิดขึ้น จากการเขียนโปรแกรมซอฟตแวรสําหรับการบริหารจัดการโรงพยาบาล ธนาคาร กฎหมาย การออกแบบเว็บ ฯลฯ การใฝหาทักษะใหมนั้นเกิดขึ้นโดยรัฐบาลมิไดเขามาของเกี่ยว นักนโยบาย เพิ่งจะตระหนักถึงศักยภาพอยางเต็มทีห่ ลังจากที่อุตสาหกรรมซอฟตแวร เปนตัวทํารายไดในสัดสวนที่คอนขางใหญใหกับผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ ความรูและทักษะใหมๆ ก็เปนสิ่งสําคัญสําหรับบริษัทเชนกัน บริษัทที่ เรียนรูความสามารถใหมๆ และสามารถปรับตัวใหเขากับความ เปลี่ยนแปลงไดรวดเร็วกวานั้นจะยังคงทํากําไรไดดี ตัวอยางเชน ลองดูที่ DOW 30 ซึ่งเปนดัชนีที่สําคัญในการวัดสภาวะโดยรวมของตลาดหุน

ความรูกําลังคอยๆ กลายเปนสินคา มีการนํางานดานความรูจากประเทศ ตะวันตกมาจัดจางในประเทศบราซิล อินเดีย จีน และประเทศแถบยุโรป ตะวันออก อินเตอรเน็ทมีบทบาทที่สําคัญมาก การโทรคมนาคมความเร็วสูงทําให ผูคนสามารถทํางานหลายๆ อยางไดทใี่ ดก็ได แมกระทั่งในตางประเทศ บริษัทอเมริกาที่จัดจางประเทศอื่นเริ่มตนจากงานการจัดการเครือขาย คอมพิวเตอร แลวจึงตามดวยงานประเภท ‘สนับสนุน’ เชน การเรียกเก็บ เงิน การคียขอมูล บัญชี การสมัครกูเงิน การเรียกเก็บคาสินไหมประกัน การจายภาษี ซึ่งประเทศอื่นๆ ทั่วโลกมักจะมาจัดจางประเทศอื่นอยางเชน อินเดีย ในปจจุบัน การจัดจางบุคคลภายนอกสําหรับงานบริการที่มีความรูเปน พื้นฐานนั้นไดแผขยายไปถึงงานดานไฮเทคและงานที่ตองอาศัยความ เชี่ยวชาญในอาชีพ มีการจัดจางประเทศที่มีผูเชี่ยวชาญในอาชีพที่มีทักษะ สูงซึ่งมีคาแรงถูกกวาสําหรับงานการเขียนโปรแกรม งานของเสมียนทนาย การวิเคราะห X-Ray และ CAT scan การวิจัยดานการลงทุนทางการเงิน การวิจัยและทดลองยา การวิจัยและพัฒนารถยนต งานดานความรูก็ไดเคลื่อนที่ไปยังประเทศที่มีระดับไอคิวที่สูงดวย ตัวอยางเชน ชิป MP3 ที่ใชใน Apple iPod นั้นออกแบบในเมืองไฮเดอรา บัด ประเทศอินเดีย แตสวนประกอบอื่นๆ นั้นนํามาประกอบในจีน แรงานราคาถูกและระดับไอคิวไมใชปจ จัยเพียงอยางเดียว นักเขียน โปรแกรมซอฟตแวรชาวอินเดียเผชิญความเสี่ยงของการพายแพตอนัก โปรแกรมชาวบราซิล เพราะชาวบราซิลทํางานออกมาคุณภาพดีกวาและมี ‘วัฒนธรรมการทํางาน’ ที่ดีกวาและเนนเชิงรุกมากกวา

5


เราเริ่มจะเห็นแนวโนมที่คลายคลึงกันในภาคธุรกิจสรางสรรคที่เนนความรู เปนหลัก งานที่เนนแรงงานเปนหลักของอุตสาหกรรมสรางสรรค เชน การ ทําโมเดลคอมพิวเตอรสามมิติ การทําหนังการตูน การตัดตอและผลิต ภาพยนตร การถายภาพ การออกแบบบรรจุภัณฑ และการพิมพ ไดถูกนํา ออกจากประเทศตะวันตกเพื่อมาจัดจางประเทศที่มีแรงงานสรางสรรคที่ ราคาต่ํากวา

ยุคสรางสรรค (The Creative era) ยุคนี้เปนปรากฎการณที่ทั้งโลกกําลังเห็นอยูในขณะนี้ ในขณะที่ยคุ ความรู เริ่มเขาสูจุดอิ่มตัว กลุมประเทศพัฒนาแลวโดยมีสหรัฐอเมริกา ยุโรป ตะวันตก และญี่ปุนเปนผูนํา ไดเริ่มกาวเขาสูยคุ สรางสรรคโดยมีบราซิล รัสเซีย จีน และอินเดีย (กลุม BRIC) ตามหลังอยูไมไกล ในศตวรรษที่ 21 ประเทศที่จะเกิดความมั่งคั่งไดนั้นจะตองมี ‘ขอไดเปรียบ ทางความคิดสรางสรรค’ นั่นคือ ประเทศที่สามารถใชทักษะดานความคิด สรางสรรค เทคโนโลยี และธุรกิจในหนทางใหมๆ และสรางสรรคสิ่ง ใหมๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาประเทศอื่นๆ โมเดลการทําธุรกิจและวัฒนธรรมการทํางานในปจจุบัน ซึ่งยังคงติดอยูใน ยุคเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมนั้นเริ่มจะใชประโยชนไมไดแลว ในยุค ใหมของความคิดสรางสรรคนี้ ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอ งานวิจัยที่ กองทุนเพื่อการรพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะ (NESTA) แหงสหราชอาณาจักร เปนผูจัดทําแสดงใหเห็นวา ตั้งแตป 2009 – 2013 อุตสาหกรรมสรางสรรคซึ่งผลิตภาพยนตร ดนตรี แฟชั่น โทรทัศน และวิดีโอเกม จะเติบโตขึ้น 4% โดยเฉลี่ย ซึ่งมากกวาสองเทาของอัตรา เศรษฐกิจภาคอื่นๆ ภายในป 2013 คาดวาภาคเศรษฐกิจสรางสรรคจะจาง งานคนจํานวน 1.3 ลานคน ซึ่งมีแนวโนมที่จะมากกวาภาคการเงิน และคาด วาจะสรางมูลคาเพิม่ ไดถึง 85 พันลานปอนดใหกับสหราชอาณาจักร เพิ่มขึ้นจาก 57 พันลานปอนดในป 2006 สิ่งเหลานี้คงไมสามารถเกิดขึ้นไดเมื่อสองทศวรรษกอน ในวันที่ กระบวนการผลิตยังไมเหมาะสมเพียงพอ กระบวนการโลกาภิวัฒนและการ จัดจําหนายยังไมมคี วามซับซอนเพียงพอ กระบวนการธุรกิจก็ยังไมแข็งแรง พอ การปกปองทรัพยสินทางปญญา กฎหมาย เทคโนโลยี และปจจัยอีก หลายอยางลวนแตยังไมเพียพอตอการที่ภาคอุตสาหกรรมสรางสรรคจะ เติบโตไปได

อินเทอรเน็ตและการประมวลผลราคาถูกตางสงผลดีอยางใหญหลวงแก ภาคอุตสาหกรรมสรางสรรคซึ่งอาจทําใหเจริญเติบโตอยางมากและรวดเร็ว ได ความสัมพันธระหวางกระบวนทัศนเหลานี้ เมื่อกระบวนทัศนใหมเกิดขึ้นมา ก็มักจะเกิดผลกระทบขึน้ ทีละนอย ในชวงหลายปที่ผานมา ยุคที่เกิดใหมทุกยุคไดสรางประโยชนขึ้นมหาศาล ความรู ทักษะ และหนทางใหมๆ ไดคอยๆ คืบคลานเขาสูอ ุตสาหกรรมและ ภาคเศรษฐกิจที่ยังติดอยูในยุคเกา ยุคอุคสาหกรรมไดสรางใหเกิดความรวดเร็วและความสามารถในการผลิต ในปริมาณมากแกภาคเกษตรกรรม ในทางเดียวกัน การที่มีคอมพิวเตอรใชก็ทําใหสามารถกําหนดให เครื่องจักรทํางานเอง เกิดผลดีตออุตสาหกรรมตางๆ และแมกระทั่ง เกษตรกรรมก็ไดรับประโยชน ดังจะเห็นไดจากการปฏิวัติสิ่งแวดลอมของ อิสราเอล อิสราเอลใชนวัตกรรมไฮเทคและการวิจัยและพัฒนา จนทําให กลายปนผูนําการปฏิวัติดานเกษตรกรรมของโลก และไดกาวไปสูยุค ความรูแลว

ภาคเศรษฐกิจสรางสรรคที่เนนความรูและไมเนนความรู ภาคเศรษฐกิจสรางสรรคบางอยาง เชน การออกแบบ การโฆษณา สถาปตยกรรม สื่อ ซอฟตแวร ผลผลิตวัฒนธรม ตางเนนที่ความรูเปนหลัก และมีความเปนปจเจกนอย ซึ่งหมายความวาไมแสดงถึงตัวตนของผูสราง มีการใชเทคโนโลยีขั้นสูง และจัดอยูในประเภทภาคทีเ่ นนความรูเปนหลัก Knowledge Sectors Creative Sectors Non-knowledge intensive:

Knowledge intensive:

Art, Craft, Music, Fashion

Design, Advertising, Architecture, Media Software, Cultural

Professionals: Economists, Mathematicians, Scientists, Engineers, Psychologists Knowledge Services: Business, Financial, Communication, Computer

ภาคอื่นๆ เชน ศิลปะ แฟชั่น ดนตรี และงานฝมือขึ้นอยูกับความสามารถใน การสรางสรรคของผูทําทั้งหมด จัดอยูในประเภทภาคที่ไมเนนความรูเปน หลัก

6


ยังไมมีการตกลงรวมกันอยางชัดเจนวากลุมใดอยูในประเภท ‘ภาค เศรษฐกิจสรางสรรค’ โดยกวาง ตัวอยางเชน รัฐบาลอังกฤษจัดให อุตสาหกรรมซอฟตแวรอยูในภาคเศรษฐกิจสรางสรรค ในขณะที่สวีเดน รวมการทองเที่ยวใหเปนสวนหนึ่งของ ‘เศรษฐกิจประสบการณ’ ภายใต เศรษฐกิจสรางสรรค ประเทศไทยยังไมไดเริ่มกระบวนการวิจัยเพื่อทําความเขาใจภาคเศรษฐกิจ สรางสรรคใหดีขึ้น และยังไมไดจัดทําโมเดลเพื่อสนับสนุน การทํา โครงการโดยไมไดศึกษาใหถองแทกอนจะเกิดความเสี่ยง โดยโครงการอาจ กลายเปนเพียงนโยบายสั้นๆ งายๆ ที่ในระยะสั้นอาจทําใหสื่อสนใจเปน อยางมาก แตในระยะยาวแลวอาจไมไดเปนการตอบประเด็นและกาวขาม ผานอุปสรรคที่ประเทศไทยประสบ

โมเดล 3T ของฟลอริดา และอื่นๆ ริชารด ฟลอริดา ศาสตรจารยวิชาธุรกิจและความคิดสรางสรรค และ European Ambassador for Creativity & Innovation กลาววา “เมืองและ ประเทศที่จะประสบความสําเร็จในอนาคตคือพวกที่เห็นความสําคัญของ การพัฒนาเทคโนโลยี ดึงดูดบุคคลผูมคี วามสามารถ และสามารถรับความ หลากหลายและไอเดียใหมๆ ไดดีที่สุด” ซึ่งรวมออกมาเปนโมเดล 3T ของ การเติบโตทางเศรษฐกิจ Talent

Technolo gy

Toleranc e

Fig.5 : Florida’s 3T model - for Creative Economy

ความสามารถ (Talent) ผูมีทักษะความสามารถเปนกุญแจสําคัญสูความ เจริญเติบโตที่อยูเบื้องหลังกลยุทธดานเศรษฐกิจใดๆ ของบริษัท ชุมชน และแมกระทั่งประเทศ หนทางเดียวทีจ่ ะยังสามารถแขงขันกับผูอื่นไดคือ ตองมีจัดอบรมทักษะฝมือและการศึกษาที่จําเปนใหแกกลุมคนทํางานใน ปจจุบัน หรือคิดคนกลยุทธที่จะดึงดูดผูม ีความสามารถจากตางประเทศ ความสามารถในการดึงดูดและรักษาผูที่มีความสามารถมากที่สุดเปน ประเด็นที่สําคัญมากในยุคสรางสรรค เทคโนโลยี (Technology) เทคโนโลยีและนวัตกรรมเปนสิ่งที่จะชวย สงเสริมการเติบโตของเศรษฐกิจในระดับชุมชนหรือองคกร ในการที่จะ สําเร็จได จะตองมีชองทางสําหรับการถายทอดงานวิจัย ความคิด และ

นวัตกรรมใหกลายเปนผลิตภัณฑที่ขายไดและยั่งยืน มหาวิทยาลัยและศูนย การวิจัยและพัฒนาควรจัดเตรียมโครงสรางนวัตกรรมที่จําปนสําหรับ ความคิดสรางสรรคทางดานวัฒนธรรม การประกอบการ พลเมือง วิทยาศาสตร และศิลปะ และการถายทอดเทคโนโลยี การยอมรับผูอ ื่น (Tolerance) คือการเปดรับความคิดใหมๆ วัฒนธรรมที่ แตกตาง วิธีการทํางานที่แตกตาง และความหลากหลายในดานเชื้อชาติ เผาพันธุ และภูมิหลัง ชุมชนและองคกรที่เต็มใจรับการอพยพ วิธีการใช ชีวิตแบบทางเลือก และมุมมองใหมๆ ในแงของสถานะทางสังคม และ โครงสรางอํานาจ จะสามารถประสบความสําเร็จไดอยางงายดายใน เศรษฐกิจสรางสรรค ซึ่งเปนไปตามที่รชิ ารด ฟลอริดา ไดระบุไว นอกเหนือจากสามขอที่ไดกลาวไปแลว ยังมีอีกหลายปจจัยที่ตองพิจารณา เมื่อจัดทํานโยบายในระดับบริษัทหรือระดับประเทศ เชน นวัตกรรม ความคิดสรางสรรคอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ ไมวาจะเปน ดนตรี สถาปตยกรรม การออกแบบเกม ผลิตภัณฑเพื่อการบริโภค หรืองาน ฝมือ หากนํามาประกอบกับนวัตกรรมใหมลาสุดและการตลาดเชิงกลยุทธ แลว จะสามารถสรางมูลคาแกผูใชขั้นสุดทายได ความสําเร็จในเศรษฐกิจ สรางสรรคขึ้นอยูกับความสามารถของแตละบุคคลในการสรางนวัตกรรม ความสามารถในการซึมซับและสรางสรรคสิ่งใหม ความสามารถในการ ซึมซับคือความสามารถของชุมชน บริษัท มหาวิทยาลัย กลุม ภูมิภาค หรือ กระทั่งประเทศ ในการดึงความคิดใหมๆ ออกมาจากที่ใดสักแหง ทําความ เขาใจ ปรับเปลี่ยน และซึมซับความคิดนั้น เพื่อสรางมูลคาเศรษฐกิจภายใน พื้นที่ของตน ผูคนที่ความสามารถสูงที่อยูในสถานทํางานที่มีวัฒนธรรม การสรางนวัตกรรมที่มีชีวิตชีวา จะสามารถตอยอดไอเดียที่มีอยูแลว และ สรางนวัตกรรมใหมๆ ขึ้นมาได ขนาด เปนที่ทราบดีแลววาในการที่จะประสบความสําเร็จระดับสากล ความสําเร็จในตลาดภายในประเทศนัน้ เปนสิ่งสําคัญมาก การพยายาม ปรับปรุงผลิตภัณฑที่เปนนวัตกรรมใหมในตลาดภายในประเทศเปนเวลา หลายปนั้น ไดทําใหเกิดความเขาใจเบือ้ งลึกวาอะไรที่ไดผล และอะไรที่ ลมเหลว ซึ่งสามารถนํามาใชพัฒนาผลิตภัณฑสําหรับตลาดสากลได วัฒนธรรมการสรางนวัตกรรม มักจะเปนปจจัยที่ถูกมองขามเมื่อคํานึงถึง ปจจัยความสําเร็จของบริษัท บริษัทที่สงเสริมการสรรสรางนวัตกรรมนั้น กลาเสี่ยงและไมเกรงกลัวความผิดพลาด สงผลใหเกิดทรัพยากรมากมาย สําหรับการวิจัยเบื้องลึกและสงผลกวางไกล

7


สิ่งแวดลอมที่สงเสริมการติดตอสื่อสารและการรวมงานกัน ความไวเนือ้ เชื่อใจ ความเปดเผย สงเสริมใหเกิดการอภิปรายประเด็นอันนําไปสูไอเดียที่ หลากหลาย เราสามารถสนับสนุนความเปดเผย และเสรีภาพในการพูดได ดวยการใหรางวัลผูที่คิดนอกกรอบ สิ่งแวดลอมสําหรับผูประกอบการ รัฐบาลอาจสรางสิ่งแวดลอมที่สนับสนุน การกลาเสี่ยง การสํารวจหาความคิดใหมๆ ดวยการอภิปราย ถกเถียง และ การระดมความคิด และกอตั้งหนวยงานดานการเงินที่สนับสนุนการสรรหา ไอเดียใหมๆ คุณภาพ ประเด็นในดานความคิดและการกระทําในประเทศไทย มีการพูด ถึงเรื่องคุณภาพกันมากแตการนําไปปฏิบัติจริงนั้นมีอยูนอย ซึ่งคนมักมอง เปนเรื่องนารําคาญและมักจะหลีกเลี่ยงเพราะการผลักดันใหเกิดคุณภาพนั้น อาจทําใหเกิดความยุงยากในแงของแนวคิดและการปฏิบัติ การศึกษา ควรมีมาตรฐานการศึกษาที่สูงเพื่อใหมั่นใจไดวามีผูมีทักษะ ภายในประเทศ ความคิดสรางสรรคที่ไมสอดคลองกัน (Creative Dissonance) คือการ สนทนาอยางชาญฉลาดที่ทาทายสภาพที่เปนอยู พยายามรักษาความขัดแยง แทนที่จะหลีกเลี่ยง มีหลักฐานที่แสดงวาวัฒนธรรมที่ยินยอมใหเกิดความ ขัดแยงนั้นเปนวัฒนธรรมที่สรางสรรคและเกิดนวัตกรรมใหมๆ มากมาย ขบวนการเคลื่อนไหววัฒนธรรมยุค Renaissance ซึ่งมีผลกระทบตอวิถีชีวิต ของปญญาชนยุโรป เริ่มตนขึ้นในอิตาลีและขยายตอไปจนครอบคลุมทั้ง ยุโรปในชวงศตวรรษที่ 16 อิทธิพลของขบวนการนี้มีผลกระทบตอดาน วรรณกรรม ปรัชญา ศิลปะ การเมือง วิทยาศาสตร ศาสนา และดานอื่นๆ เชนเดียวกัน ขบวนการเคลื่อนไหว Bauhaus ซึ่งเกิดขึ้นในเยอรมนีหลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 ก็เปนแรงผลักดันที่สําคัญในการกําหนดแนวทาง การศึกษาและแนวคิดดานการออกแบบทั่วโลก ขบวนการนี้เกิดจากการ ทดลองศิลปะทุกแขนงอยางสุดโตง ซึง่ มีความไมสอดคลองกันในระดับสูง วัฒนธรรมระดับชาติหรือบริษัทใดก็ตามที่รักษาความสามัคคีไวโดยไม ยอมรับความคิดฝายตรงขามเลย ยอมไมใชสภาพแวดลอมที่อํานวยใหเกิด ความคิดสรางสรรคอยางแนนอน

3 T สําหรับประเทศไทย – ความทาทาย ความสามารถ (Talent)

ผูมีความสามารถนั้นเปนปจจัยผลักดันหลักสําหรับการสรางความมั่งคั่ง ใหกับประเทศในเศรษฐกิจความรูและสรางสรรค ซึ่งเกิดจากระบบ การศึกษาที่ดีเปนหลัก ในปจจุบันนี้ประเทศไทยลาหลังประเทศอื่นในเอเชียในแงระบบการศึกษา ซึ่งอาจเกิดจากปญหาหลายอยางดวยกัน เชน นักเรียนไมอยากแขงขันกัน โรงเรียนและมหาวิทยาลัยไมมีระดับมาตรฐานที่สูง ไมมีครูที่ดี นักเรียน ขาดความเขาใจถึงความสําคัญของการเรียนรู ไมใชเพียงแคตองการ Mathematics Achievement[15] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

Country Taiwan S Korea Singapore Hong Kong Japan England Russia USA Lithuania Czech Republic Slovenia TIMMS Scale Average Armenia Australia Sweden Malta Scotland Serbia Italy Malaysia Norway Cyprus Bulgaria Israel Ukraine Romania Bosnia & Herzegovina Lebanon Thailand Turkey Jordan

Score 598 597 593 572 570 513 512 508 506 504 510 500 499 496 491 488 487 486 480 474 469 465 464 463 462 461 456 499 441 432 427

Science Achievement[14] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

Country Singapore Taiwan Japan S. Korea England Hungary Czech Republic Slovenia Hong Kong Russia USA Lithuania Australia Sweden TIMMS Scale Average Scotland Italy Armenia Norway Ukraine Jordan Malaysia Thailand Serbia Bulgaria Israel Bahrain Bosnia & Herzegovina Romania Iran Malta

Score 567 561 554 553 542 539 539 538 530 520 520 519 515 511 500 496 495 488 487 485 482 471 471 470 470 468 467 466 462 459 457

Fig.6 : TIMMS 2007 Mathematics & Science Achievement

ปริญญา ผลสํารวจของ TIMMS 2007 ที่ International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA) เปนผูจัดทําขึ้นนั้น ชี้ใหเห็นวาเด็กนักเรียนชั้น ป.4 และ ม.2 ทําคะแนนไดคอนขางนอยเมือ่ เทียบกับประเทศเอเชียอื่นๆ (หมายเหตุ: จีนและอินเดียไมไดเขารวมการทํา แบบสํารวจนี้) ความสามารถในดานวิทยาศาสตรและระดับผลผลิตดานเศรษฐกิจของ ประเทศนั้นมีความเชื่อมโยงกันอยางมาก การศึกษาดานคณิตศาสตรและ 8


วิทยาศาสตรมีแนวโนมที่จะมีอิทธิพลตอความคิดและขยายขอบเขตความรู ไปยังสถานการณใหมๆ ซึ่งอาจรวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ ออกแบบ โมเดลธุรกิจใหมๆ หรือสรางบริการระดับโลก เห็นไดวานักเรียนทีท่ ําคะแนนไดสูงนัน้ มีความสามารถสูงในการสังเกต วิเคราะห และตีความขอมูล นํามาสรุปความ ทําการอนุมานไดอยางมี ตรรกะโดยอิงจากขอสันนิษฐานและกฎที่เฉพาะเจาะจง และสามารถแกไข ปญหาได

ความคิดเห็น: บริษัทตางชาติ (ที่มีออฟฟศอยูในประเทศไทย) มองหาสิ่งใดในตัว บัณฑิตไทย[17] “การสื่อสาร ประสบการณทางเทคนิคแบบประยุกต และทักษะการคิด

อยางมีวิจารณญาณ เปนสามสิ่งที่บัณฑิตไทยควรปรับปรุงการศึกษาใน ประเทศไทยเนนการเรียนการสอนจากตํารา Ford ตองการผูที่มี ประสบการณดานการปฏิบัติจริง และสามารถอธิบายไอเดียของตนได อยางมีประสิทธิภาพ” - ชัค โคลัมบัส รองประธานฝาย

HR ตลาดเอเชีย บริษัท Ford

เนด รัสเซล อางอิงคําพูดของ ชัค โคลัมบัส โดยเขียนไววา จุดดอยของ ระบบการศึกษาไทยคือการที่ไปพึ่งพาการจดจําและองคความรูมาก เกินไป ระบบการศึกษาไทยเนนที่การสั่งสอน โดยละเลยการให นักเรียนไดฝกทักษาการคิดอยางอิสระ ซึ่งจําเปนสําหรับการแขงขันใน เศรษฐกิจโลกในปจจุบัน นักเรียนจําเปนที่จะตองสามารถคิดไดทั้งใน แนวดิ่งและแนวขวางจึงจะสรางประโยชนแกสภาพแวดลอมแบบนี้ได ธุรกิจๆ ในประเทศไทยกําลังตองการผูที่มีทักษะดานเทคนิคประยุกต มากขึ้นเมื่อประเทศไทยกําลังจะกลายเปนศูนยกลางการผลิตรถยนต แต ขอจํากัดในเรื่องทักษะบางดานอาจทําใหประเทศไทยไมสามารถทํางาน ไดเต็มศักยภาพ ระบบการศึกษาไทยจะพัฒนาขึ้นถามีการปรับปรุงสามดานดังตอไปนี้ - ทักษะดานภาษาและการติดตอสือ่ สาร พนักานที่สามารถสื่อสาร ดวยภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในดานการพูดและ เขียน

- การเรียนรูจากประสบการณ เชน การฝกงานซึ่งปฏิบัติกันอยาง แพรหลายในสหรัฐอเมริกา กวา 64% ของผูสําเร็จการศึกษาจาก สหรัฐอเมริกาในป 2006 ไดผานการฝกงานอยางนอยหนึง่ ครั้ง - การแกปญหาที่ซบั ซอน การออกแบบ ผลิต และทําการตลาดสําหรับ ยานพาหนะนั้นตองใชขบวนการคิดเชิงกลยุทธ การแกปญหาที่ซับซอน และการตัดสินใจและรวมงานกันของทีมงาน เนดสรุปวาประเทศไทยยังคงสามารถดึงดูดนักลงทุนตางชาติเพราะอยู ในตําแหนงที่ตั้งที่ดีและชีวิตเรียบงายของคนไทย อยางไรก็ตาม หาก ระบบการศึกษาประเทศไมเปนไปตามความตองการของระบบ เศรษฐกิจที่เนนทักษะเพิ่มขึ้นในปจจุบนั ประเทศไทยก็อาจไมสามารถ แขงขันกับประเทศเพื่อนบานได - ผูเขียน: เนด รัสเซล สําหรับหอการคาอเมริกา ประเทศไทย รายงานฉบับนี้ไดใหขอสรุปไววา “การที่ประสบความสําเร็จดาน คณิตศาสตรและวิทยาศาสตรจะสรางทัศนคติในเชิงบวก ความมั่นใจ และ คุณคาตอไปในภายภาคหนา” นี่เปนอุปสรรคใหญอยางแรกของผูออกนโยบาย ผูประกอบอาชีพในวงการ การศึกษา หรือวงการอุตสาหกรรม หากไรซึ่งแรงงานผูมีความสามารถและ ทักษะที่ดีเปนจํานวนมากแลว คงไมสามารถประสบความสําเร็จได เทาที่ควรในระบบเศรษฐกิจสรางสรรค สถาบันการศึกษาที่ผลิตผูมี ความสามารถระดับโลกนั้นเปน ‘โครงสราง’ หลักของเศรษฐกิจสรางสรรค สวนสิ่งที่สําคัญรองลงมาคือการที่บริษัทที่สามารถคงรักษาพนักงานของ ตนไวไดอยางตอเนือ่ ง

งานวิจัยระดับปริญญาเอก: เรื่องความรูและทักษะในบริษัท ไทย โดย ดร.มารติน เบอรเกอร ผูวิจัยนโยบายดานเทคโนโลยีและภูมิภาค แหง Joanneum Research สถาบันวิจัย(ที่ไมใชมหาวิทยาลัย)ที่ใหญที่สุด แหงหนึ่งในออสเตรีย ประเทศไทยเปนตัวอยางที่ดีของประเทศ ‘ธรรมดา’ ที่เปลี่ยนเปนระบบ อุตสาหกรรมชา ไมใชประเทศที่ประสบความสําเร็จดังเชนเกาหลีหรือ ไตหวัน และก็ไมไดเปนกรณีพิเศษ เชน ฮองกงหรือสิงคโปร

9


หลังจากที่เติบโตอยางมากในทศวรรษกอนที่จะเกิดวิกฤตการณใน เอเชียในป 1997 ประเทศไทยไมใชประเทศคาแรงต่ํา แตก็ไมใช เศรษฐกิจระบบความรูที่มีทักษะระดับสูงเชนกัน ความกดดันจาก ‘ดานลาง’ มีสูง หลายประเทศไดกาวเขามาสูเวที ตลาดโลก เชน จีนและอินเดีย ที่มีตลาดทองถิ่นขนาดใหญ คาแรง ต่ํา และแรงงานและโครงสรางพื้นฐานที่กําลังพัฒนาอยางรวดเร็ว ดังนั้น ประเทศไทยจะตองพัฒนาอยางรวดเร็ว เพื่อใหรักษาระดับ การเติบโต และปรับปรุงความสามารถดานการแขงขันใหกาวหนา ขึ้นอีก หากไมสามารถพัฒนาทักษะมนุษย ความสามารถดานเทคโนโลยี ของบริษัททองถิ่นและบริษัทขามชาติ และโครงสรางพื้นฐานได อีกไมนานจะตองเกิดมหันตภัยทางเศรษฐกิจที่รายแรง อันเกิดจาก การที่บริษัทขามชาติถอนเงินลงทุนจํานวนมหาศาล ทําใหสวน แบงในตลาดโลกของไทยลดลง อัตราการเติบโตและการบรรเทา ความยากจนลดลง นี่เปนอุปสรรคที่ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ที่เปลี่ยนเปนระบบอุตสาหกรรมชามีเหมือนกัน เชนเดียวกับประเทศที่เปลี่ยนเปนระบบอุตสาหกรรมชา บริษัทที่มี ฐานอยูในประเทศไทย ไมเนนดานเทคโนโลยีดวยการคิดคน ผลิตภัณฑและกระบวนการที่ ‘แปลกใหมในโลก’ สวนใหญแลว พยายามเพิ่มความสามารถดานการแขงขันดวยการตามใหทัน บริษัทชั้นนําในประเทศที่พัฒนาแลว ดวยการรับเทคโนโลยีที่มีอยู แลวจากประเทศที่พัฒนาแลวมาใช และพยายามพัฒนาใหดีขึ้น

นอกจากนี้ จํานวนและคุณภาพของนักศึกษาจบใหม โดยเฉพาะในดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนั้นไมเพียงพอ การขาดแรงงานที่มีความา สามารถ ทําใหความสามารถในการซึมซับของบริษัททองถิ่นในการซัม ซับเทคโนโลยีใหมๆ และโอกาสใสการดําเนินกิจกรรมสรางสรรค นวัตกรรม มีอยางจํากัด ในทางหนึ่ง บริษัทตางชาติซึมซับแรงงานที่มีความสามารถสูงซึ่งหา ไมไดงาย ดวยการจางบุคคลากรที่มีการศึกษาสูง ในทางตรงกันขาม บางบริษัทพยายามพัฒนาและขยายฐานทักษะมนุษยดวยการจัดอบรม พนักงานของตน และมีสวนรวมในโปรแกรมการศึกษาในมหาวิทยาลัย

ปรากฎการณราชินีแดง (The Red Queen Effect) เราอาจเรียกการที่ตองตามโลกใหทันอยางรวดเร็ววา ปรากฎการณราชินี แดง ในโลกแหงโลกาภิวัฒนที่มีการแขงขันสูง ทุกอยางเราเรียนรูในขณะนี้ อาจจะตกยุคไปแลวในอีกประมาณหาป! ดังนั้นการที่จะมีชีวิตรอดในยุค ความรูและสรางสรรคนี้ใหไดมีอยูทางเดียวเทานั้น นั่นคือ ตองเรียนรูอยู ตลอดเวลา

ในขณะที่บริษัททั่วโลกพยายามคงความสามารถในการแขงขัน ดวยการพัฒนาจนเอง กลาวคือ ผลิตสินคาที่ดีขึ้น ผลิตอยางมี ประสิทธิภาพมากขึน้ หรือเนนไปที่กิจกรรมที่เนนทักษะมากขึ้น บริษัทที่พัฒนาชากวา ตองพัฒนาตัวเองและเรียนรูใหเร็วยิ่งกวา บริษัทในประเทศที่พัฒนาแลว เพื่อลดชองวางและตามใหทัน หลายบริษัทขาดความสามารถในการพัฒนาสินคา การวิจัยและ พัฒนา การออกแบบและวิศวกรรม ในการเปรียบเทียบกับสถาบัน สากล สถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัย ไมไดนําเสนอผลงานดาน วิทยาศาสตรที่แข็งแกรง และผลวิจัยที่ไดออกมานั้นก็ไมตรงกับ ความตองการของอุตสาหกรรม

Alice & the Red Queen. Image source: http://www.lealandeve.com

ลักษณะเฉพาะของเศรษฐกิจความรูคือการที่ความรูตกยุคไดอยางรวดเร็ว และหากตองการจะสามารถแขงขันกับผูอื่นได เราตองเรียนรูใหเร็วขึ้น

10


คําวาปรากฎการณราชินีแดงนั้นนํามาจากนิทานของลูอิส แครอล เรื่อง Through the Looking Glass ซึ่งสรุปความไดดังนี้ “ราชินีแดงพาอลิซวิ่งไปอยางรวดเร็วจนกระทั่งรูสึกเหมือนเทาไมได เหยียบพื้นเลย ในทีส่ ุดทั้งสองก็หยุดในขณะที่อลิซกําลังเหนื่อยพอดี อลิซพบวาทั้งสองอยูที่เดิมโดยไมไดเคลื่อนที่ไปไหนเลย จึงถามราชินีดวย ความแปลกใจวาในโลกของอลิซ ถาวิ่งเร็วขนาดนี้ก็ตองไปถึงที่อื่นแลว ทําไมอยูที่นี่ถึงไมไปไหนเลย ราชินีตอบวา โลกของอลิซนั้นเคลื่อนที่ชาเสีย จริง ในโลกแหงนี้ ตองวิ่งแบบที่วิ่งไปแลวจึงจะอยูที่เดิมได ถาตองการจะ ไปที่อื่น ก็ตองวิ่งใหเร็วเปนสองเทา” ทุกประเทศกําลังเผชิญกับปรากฎการณราชินีแดงนี้ ซึ่งสวนหนึ่งเกิดจาก แรงกดดันจากคูแขงตนทุนต่ําความสามารถสูงที่กําลังเพิ่มมากขึ้นทั้งใน ประเทศและตางประเทศ บริษัททั้งหลายตางกําลังเนนเรื่องสรางนวัตกรรม แตละเลยการตามโลกใหทัน ถาบริษัท (หรือประเทศ) ใดที่วิ่งชากวาคูแขง ก็จะลาหลังไปอยางเงียบๆ

ดัชนีบงชี้ความเกงระดับโลก (Global Talent Index) ป2012 ดัชนีบงชี้ความเกงระดับโลกป (Global Talent Index: GTI) จัดทําโดย Heidrick & Struggles รวมกับ Economist Intelligence Unit ประเมินระดับ ความสามารถใน 30 ประเทศโดยวิเคราะหปจจัยผันแปรเจ็ดประการ ไดแก สถิติประชากร คุณภาพของระบบการศึกษาภาคบังคับ คุณภาพของ มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาดานธุรกิจ คุณภาพของสภาพแวดลอมที่ ฟูมฟกทักษะความสามารถ ความเปดกวางและการเคลื่อนไหวของ ตลาดแรงงาน แนวโนมการลงทุนโดยตรงจากตางชาติ และแนวโนมที่จะ ดึงดูดผูมีความสามารถ ประเทศไทยอยูในอันดับที่ 22 ของโลก สามปจจัยหลักที่มีคะแนนต่ําลง ตั้งแตป 2007 ถึง 2012 คือคุณภาพของสภาพแวดลอมที่ฟูมฟกทักษะ ความสามารถ ความเปดกวางและการเคลื่อนไหวของตลาดแรงงาน และ แนวโนมการลงทุนโดยตรงจากตางชาติ

Analysis

Fig.9 : LBottom

Fig.13 : Globa

Quality of Environment to nurture talent • Increase percentage of Higher Education graduates in Social Sciences, Business & Law • Percentage of tertiary grads in the Sciences • Researchers & Technicians in R&D (% per m pop) • Increase R&D as % of GDP • Reduce the degree of restrictiveness of Labour Laws • Quality of workforce to be enhanced through consistent training. • Local managers retrained • Protection of IP • Protection of Private property • Meritocratic remuneration - (job and salary based on merit) Mobility & relative openess of labour market • Number of students studying overseas • Number of foreign students as a % in domestic educational establishments • Language skills of labour force • Hiring of foreign nationals to add diversity to its workforce • Openness to other cultures • Openness to trade (exports + imports % of GDP)

Fig.8 : Break up of the GTI rankings for Thailand

ตอไปนี้คือปจจัยทีก่ ารนํามาพิจารณาเมื่อวางแผนงานวิจัย ซึ่งอาจเปนขอมูล ที่นําไปกําหนดนโยบายในประเทศไทย

แรงงานทักษะและความรู บริษัทใหคําปรึกษาดานการบริหารจัดการ A.T. Kearney ไดจัดลําดับ สถานที่ที่ไดรับความนิยมในการจัดจางงานดานธุรกิจ ซึ่งประเทศไทยอยูใน ลําดับที่สี่ของสถานที่ที่ดีที่สุดในโลกสําหรับงานบริการ ปจจัยที่สงผลดีใหแกประเทศไทยคือดานการเงิน (แรงงานราคาถูก คา สาธารณูปโภคและภาษีต่ํา) และสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่ดี อยางไรก็ตาม สิ่งที่รั้งอันดับของประเทศไทยคือคุณภาพของทักษะฝมอื ของกลุมแรงงาน ที่มีในประเทศ รายงานนี้เนนถึงความสําคัญของคุณภาพแรงงานแลว โดย กลาววา “ถึงแมวาตนทุนยังเปนปจจัยทีส่ ําคัญในการตัดสินใจวาจะจัดจาง

Fig.7 : Where will the hottest talent be in 2012 Source: Heidrick & Struggles & The Economist - 2007

11


ประเทศใด คุณภาพของกลุมแรงงาน (หรือแรงงานความรู) ก็เปนสิ่งที่มี ความสําคัญเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ”lobal T

ความสามารถในประเทศใหสามารถแขงขันกับผูอื่นไดในเศรษฐกิจ สรางสรรค

นี่เปนหลักฐานวาสาธารณูปโภคทางกายภาพนั้นไมมีคา มากเทาไหรใน เศรษฐกิจความรูและสรางสรรค ent Index - 2012

เทคโนโลยี ปจจัยที่สําคัญเปนอันดับสองของโมเดลของฟลอริดาคือ ความพรอมดาน เทคโนโลยีของบริษัท เมือง หรือประเทศ เทคโนโลยี: เทคโนโลยีและนวัตกรรมเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหเศรษฐกิจ ของชุมชุนหรือองคกรเติบโต ในการที่จะสําเร็จได จะตองมีชองทาง สําหรับการถายทอดงานวิจัย ความคิด และนวัตกรรมใหกลายเปน ผลิตภัณฑที่ขายไดและยั่งยืน มหาวิทยาลัยและศูนยการวิจยั และพัฒนาควร จัดเตรียมโครงสรางนวัตกรรมที่จําเปนสําหรับความคิดสรางสรรคทางดาน วัฒนธรรม การประกอบการ พลเมือง วิทยาศาสตร และศิลปะ และการ ถายทอดเทคโนโลยี

Fig.9 : Location of talent for offshoring of knowledge work. Source: A.T. Kearney - 2009

The Global Talent Index (GTI), developed by Heidrick & [6] Struggles with the Economist Intelligence Unit, assesses

รายงาน Global Information Technology Report 2008-2009 จาก World Economic Forum กลาววา

มหาวิทยาลัยเปนแหลงผลิตความสามารถ

Fig.10 : Number of world class universities Source: BusinessWeek - 2009

BusinessWeek จัดอันดับโปรแกรมการศึกษาดาน MBA การออกแบบ และ การบริหารการออกแบบและนวัตกรรม โดยที่ไมมีมหาวิทยาลัยจาก ประเทศไทยติดอันดับเลย และไดระบุไวอยางชัดเจนวาการศึกษาที่ไดรับ จากมหาวิทยาลัยไทยในแงคุณภาพและความลึกซึ้งนั้นไมถึงระดับ มาตรฐานสากล นี่หมายความวาตองมีการปรังปรุงคุณภาพของผูมี 12


“เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and communication technologies: ICT) กําลังกลายเปนกลยุทธหลักสําหรับการแขงขัน ระดับชาติของประเทศตางๆ ทั่วโลก ขอมูลดานเศรษฐกิจเมื่อไมนานมานี้ แสดงใหเห็นวา ในขณะที่ประเทศที่พฒ ั นาแลวกําลังกาวสูการเปนแนวหนา ดานเทคโนโลยี ICT เปนสิ่งจําเปนในการสรางสรรคนวัตกรรมใน กระบวนการและผลิตภัณฑ และรักษาขอไดเปรียบในการแขงขัน”

ในการที่ประเทศไทยจะเลื่อนลําดับดานเทคโนโลยีใหสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ ประเทศในเอเชียอืน่ ๆ นั้นเปนเรื่องที่ยากในหลายดานดวยกัน ดานที่สําคัญ ที่สุดไดแก เทคโนโลยีลาสุดที่เกิดขึ้นในประเทศ คุณภาพของวิศวกรรม การศึกษาดานบริหารและออกแบบ นักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่มีอยูใน ประเทศ การที่มหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรมไมเชื่อมโยงกันอยางแข็งแรง และความสามารถในการสรางนวัตกรรม

เห็นไดชัดวาประเทศไทยขาดแคลนผูมที ักษะดานเทคโนโลยีเปนอยางมาก ซึ่งมีผลโดยตรงตอความพรอมดานเทคโนโลยีของประเทศไทยในการเก็บ เกี่ยวผลประโยชนของเศรษฐกิจสรางสรรค ในอีกดานหนึ่ง รายงาน Creative Economy Report 2008 จัดทําโดย UNCTAD ไดจัดอันดับใหประเทศไทยอยูในอันดับที่ 17 ในดานการ สงออกสินคาดานวัฒนธรรม ซึ่งสวนใหญแลวไมไดใชเทคโนโลยีในการ ผลิต และเปนสิ่งประดิษฐดวยมือเปนหลัก จากที่เห็นหลักฐานจากเศรษฐกิจที่พัฒนาแลว สินคาไฮเทคกอใหเกิดมูล คาที่สูง ดังนั้นหากจะกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโดยอิงจากรายงาน UNCTAD ทั้งหมดนั้น อาจทําใหเกิดความเสี่ยงสําหรับประเทศไทยใน ระยะยาว ในการที่ประเทศไทยจะเลื่อนลําดับดานเทคโนโลยีใหสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ ประเทศในเอเชียอืน่ ๆ นั้นเปนเรื่องที่ยากในหลายดานดวยกัน ดานที่สําคัญ ที่สุดไดแก เทคโนโลยีลาสุดที่เกิดขึ้นในประเทศ คุณภาพของวิศวกรรม การศึกษาดานบริหารและออกแบบ นักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่มีอยูใน ประเทศ การที่มหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรมไมเชื่อมโยงกันอยางแข็งแรง และความสามารถในการสรางนวัตกรรม

Ra nk

Exporter

Value (M $)

1

China

61,360

2

Italy

28,008

3

Hong Kong

27,677

4

USA

25,544

5

Germany

24,763

6

UK

19,030

7

France

17,706

8

Canada

11,377

9

Belgium

9,343

10

Spain

9,138

11

India

8,155

12

Netherlands

7,250

13

Switzerland

6,053

14

Japan

5,547

15

Turkey

5,081

16

Austria

4,883

17

Thailand

4,323

18

Mexico

4,271

19

Poland

4,215

20

Denmark

3,449

Goods Design (Jewellery, Interior, Fashion, Toys & Graphic Design) Interior Toys Art & Craft Visual Arts Painting Sculpture Glassware Celebration Books New Media Wicker ware Video Games Audiovisuals Film Digital records Paper ware All Goods

Value (f o b M $)

Rank

3,673

5

1,809 1,137 359 199 107 301 189 94 93 61 58 36 15 11 10 8 8 5 2 4,323

4 6 9 5 7 8 6 2 6 5 4 9 8 5 7 4 4 8 5 5

Fig.12 : Creative Goods, top 20 exporters &Thailands share. Source: Creative Economy Report 2008-UNCTAD

ซึ่งมีผลโดยตรงตอความพรอมดานเทคโนโลยีของประเทศไทยในการเก็บ เกี่ยวผลประโยชนของเศรษฐกิจสรางสรรค ในอีกดานหนึ่ง รายงาน Creative Economy Report 2008 จัดทําโดย UNCTAD ไดจัดอันดับใหประเทศไทยอยูในอันดับที่ 17 ในดานการ สงออกสินคาดานวัฒนธรรม ซึ่งสวนใหญแลวไมไดใชเทคโนโลยีในการ ผลิต และเปนสิ่งประดิษฐดวยมือเปนหลัก จากที่เห็นหลักฐานจากเศรษฐกิจที่พัฒนาแลว สินคาไฮเทคกอใหเกิดมูล คาที่สูง ดังนั้นหากจะกําหนดนโยบายเศรษฐกิจโดยอิงจากรายงาน UNCTAD ทั้งหมดนั้น อาจทําใหเกิดความเสี่ยงสําหรับประเทศไทยใน ระยะยาว 13


กระแสเงินที่ใชในการวิจัยและพัฒนาระดับโลก

Fig.13 : Global flow of R&D money.

Source: Booz & Company analysis

Global Innovation 1000 ซึ่งเปนงานวิจยั คาใชจายในการวิจัยและพัฒนา ประจําปที่ไดรับรางวัลของ Booz & Company เปนการประเมินอิทธิพล ของการวิจัยและพัฒนาที่มีตอผลการดําเนินงานของบริษัทที่ครบถวน สมบูรณที่สุด เนื่องจากกิจการตางๆ เริ่มกลายเปนบริษัทระดับโลกมากขึ้นทุกที คาใชจาย ที่บริษัทใชในการวิจัยและพัฒนาก็ไดเพิ่มสูงขึ้น บริษัทที่ลงทุนใน นวัตกรรมขามชาติอยางชาญฉลาดไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนดาน การวิจัยและพัฒนาที่ดีกวาบริษัทที่ปฏิบัติงานแตในหองทดลองในบาน ตัวเองเทานั้น บริษัทที่ติดอับดับ Global Innovation 1000 ใชเงินดานนวัตกรรม 55% นอก ประเทศของตน ซึ่งสะทอนใหเห็นความตองการที่จะประสบความสําเร็จ ในเศรษฐกิจระดับโลก เพื่อแขงขันกับผูประกอบการทั้งนอกและใน ประเทศที่มีความคลองแคลวและเติบโตอยางรวดเร็ว เพือ่ ครอบครองสวน แบงในตลาดใหมๆ ที่ไมคุนเคย เพือ่ เขาใจลูกคาในตลาดเหลานั้น เพื่อจาง นักวิทยาศาสตรและวิศวกรที่มีความสามารถ และเพื่อจับจองไอเดียที่ดีทสี่ ุด จากทั่วโลก มีหลายเหตุผลดวยกันที่บริษัทขามชาติควรยายสวนงานวิจัยและพัฒนาไป

นอกประเทศ ซึ่งไดแก ตนทุน ตนทุนที่ต่ําเปนสิ่งแรกที่กระตุนใหจัดทําการวิจัยในตางประเทศ เพื่อใหใชเงินนอยทีส่ ุด แตไมใชเหตุผลที่สําคัญที่สุดแลวในปจจุบันนี้ อันที่ จริงแลวมีความสําคัญนอยลงดวยซ้ําไป การเขาถึงผูมีความสามารถ ในขณะทีข่ อดีของแรงงานราคาถูกลด ความสําคัญลง เหตุผลอื่นๆ ในการลงทุนวิจัยและพัฒนาระดับนานาชาติก็ เพิ่มความสําคัญมากขึ้น บริษัทหลายแหงกําลังตั้งศูนยวิจัยและพัฒนาใน ประเทศอื่นๆ เพื่อหาทางเขาถึงวิศวกรและนักวิทยาศาสตรผูมีความสามารถ ที่กําลังเพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยๆ และเขาถึงความคิดที่พวกเขามี ความใกลชิดและความเขาใจตลาด เนื่องจากบริษัทขายผลิตภัณฑและ บริการในตลาดทั่วโลก จึงเห็นความสําคัญในการตั้งศูนยวิจัยและพัฒนาให ใกลกับตลาดที่กําลังเติบโตขึ้น จากรูป 13 แสดงใหเห็นจํานวนเงินที่ลงในการวิจัยและพัฒนาในประเทศ ไทย เห็นไดวานอยกวามาเลเซีย สิงคโปร และไตหวันอยางเห็นไดชัด ซึ่ง เหตุผลหลักคือขาดผูมีความสามารถที่มีคุณภาพ 14


เทคโนโลยีและผูมีความสามารถมีความเชื่อมโยงกัน ผูมีความสามารถสูง จะชวยเพิ่มความสามารถในการซึมซับของบริษัทใหมากขึ้น ดวยการชวย ทําใหบริษัทเห็นคุณคา ยอมรับ และนําความรูใหมมาประยุกตใช อยางไรก็ตาม รายงานไดเตือนไววา การทําตามอยางตางประเทศในดาน วิจัยและพัฒนานั้น ไมใชการประกันวาผลการดําเนินงานจะดีขึ้นเสมอไป ในการที่ประสบความสําเร็จนั้น บริษัทตองกําหนดกลยุทธดานวิจัยและ พัฒนาที่เปนไปในทางเดียวกับกลยุทธของบริษทั โดยรวม และตอง เหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่ดําเนินงานอยูดวย

การยอมรับผูอื่น (Tolerance) การยอมรับผูอื่นเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในโมเดล 3T ของริชารด ฟลอริดา ซึ่ง ประเทศไทยนาจะไดในคะแนนสูงในขอนี้ ถึงแมวาจะไมมีขอมูลมา สนับสนุน แตดวยความที่คนไทยมีน้ําใจดีและยอมรับผูที่เปนเกยหรือผูที่มี วิถีชีวิตแปลกแยกจากขนบสังคม และวัฒนธรรมอื่นๆ อีกทั้งยังมีทัศนคติ แบบไมนิยมแซกแซงวิถีความเปนอยูข องผูอื่น ประเทศไทยจึงเปนจุดหมาย การทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมมากทีส่ ุดแหงหนึ่งในเอเชีย ทําใหสามารถ กลายเปนแหลงที่จะเกื้อใหเศรษฐกิจสรางสรรครุงเรืองขึ้นได อยางไรก็ตาม ศ.อัลเลน เจ สก็อต แหงมหาวิทยาลัย UCLA เตือนไววา “โดยตองขออภัยริชารด ฟลอริดาไว ณ ที่นี้ แตความคิดสรางสรรคนั้น ไมใชสิ่งที่สามารถนําเขามาในเมืองโดยนักเลนสเก็ตบอรด เกย หรือผูมีวิถี ชีวิตแปลกแยก แตเปนสิ่งที่ตองพัฒนาขึ้นผานการเชื่อมโยงรอยเรียงอัน ซับซอนระหวางความสัมพันธของการผลิต การทํางาน และชีวิตทาง สังคม” การสรางสังคมที่ยอมรับผูอื่นนั้นเปนงานที่ยาก และไมมที างออกแบบงายๆ จะตองอาศัยความมุง มั่นพยายามของผูวางนโยบาย และการที่เหลา สาธารณชนตระหนักวาการเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้เปนสิ่งจําเปน ชุมชนปดที่ตอตานการเปลี่ยนแปลง จะไมไดรับฟงความคิดใหมและ วิธีการใหมในการทํางาน และในที่สุดจะคอยๆ กลายเปนผูตามที่ไมคิดทํา อะไรเอง และเปนเพียงผูที่ลอกเลียนแบบความคิดที่ดี จากประเทศอื่น พุดดิ้งอรอยหรือไม ตัดสินไดจากการกิน ในโลกที่การแขงขันสูง ผลลัพธคือสิ่งที่เปนตัววัด โดยตลาดโลกนั้นไรซึ่ง ความปราณี ผลิตภัณฑที่ไมเปนไปตามความตองการของผูบริโภคซึ่ง

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ก็จะคางอยูที่ชนั้ วางของ และหายไปจากตลาดใน ที่สุด คุณภาพและมูลคาสกุลดอลลารของสินคาเปนตัววัดที่แทจริงถึง ความกาวหนาและความซับซอนของภาคธุรกิจสรางสรรคในประเทศไทย การสงออกทางวัฒนธรรมของไทยในขณะนี้ สวนใหญเปนผลจากทักษะที่ ต่ํา และเทคโนโยลีที่ต่ํา ผลิตภัณฑที่ออกมาไมไดมีความกาวหนาทาง เทคโนโลยี ประเทศจีน เวียดนาม หรือเศรษฐกิจทุนต่ําอื่นๆ สามารถทําซ้ํา ไดโดยไมยากลําบาก ผูออกนโยบายรัฐ อุตสาหกรรม และเหลาคนทํางานดานความคิด สรางสรรคของไทย ยังไมเขาใจอยางแทจริงถึงความสําคัญสิ่งที่จะทําให ประเทศกลายเปน ‘ประเทศแหงความคิด’ มิติวัฒนธรรมของ Geert Hofstede Gerard Hendrik Hofstede นักจิตวิทยาชาวดัตชที่มีความสําคัญคนหนึ่ง ได ศึกษาปฏิสัมพันธระหวางวัฒนธรรมชาติและวัฒนธรรมองคกร และได นําเสนอวามีการแบงกลุมทางวัฒนธรรมระดับชาติและระดับภูมิภาคที่มี ผลกระทบตอสังคมและองคกร ซึ่งคงอยูเปนเวลานาน ดัชนีความเหลื่อมล้าํ ของอํานาจ (Power Distance Index: PDI) คือระดับ การยอมรับและความคาดหวังของสมาชิกในองคกรหรือสถาบัน (เชน ครอบครัว) ที่มีอํานาจนอยตอความเหลื่อมล้ําของอํานาจ แสดงถึงความไม เทาเทียม (มีอํานาจมากกวา vs มีอํานาจนอยกวา) ซึ่งดูจากผูมีอํานาจนอย กวา เปนการบงบอกวาความไมเทาเทียมกันของระดับอํานาจในสังคมนั้น นับจากผูตามในระดับที่เดียวกับผูนํา อํานาจและความเหลื่อมล้ําจึงเปน ขอเท็จจริงพื้นฐานของทุกสังคม ซึ่งคนที่เคยมีประสบการณในตางประเทศ จะทราบดีวา ‘ทุกสังคมนั้นไมเทาเทียมกัน แตบางสังคมไมเทาเทียมกัน มากกวาสังคมอื่น’ ปจเจกนิยม (Individualism: IDV) และแนวคิดตรงขามนัน่ คือคติรวมหมู (Collectivism) ซึ่งหมายถึงระดับการที่ปจเจกบุคคลรวมตนเองเขากับกลุม เราจะพบปจเจกนิยมในสังคมที่ความเชื่อมโยงระหวางบุคคลตางๆ ใน สังคมนั้นไมแนนแฟน ทุกคนตางดูแลเฉพาะตนเองและพอแมพี่นองของ ตน ในขณะที่เราจะพบคติรวมหมูไดในสังคมที่ผูคนในสังคมรวมตัวเอง เขาไปในกลุม เชน ครอบครัวใหญ (รวมถึงลุง ปา และปู ยา ตา ยาย) อยาง แนนแฟนตั้งแตแรกเกิด ซึ่งลวนตางคุม ครองบุคคลนั้น โดยที่บุคคลนั้นก็ให ความจงรักภักดีโดยไมมีขอแมเปนการตอบแทน คําวา ‘คติรวมหมู’ ในแงนี้ นั้นไมมีความหมายที่เกี่ยวของกับการเมือง หมายถึงกลุม มิใชรัฐ ประเด็น 15


นี้ที่มิติกลาวถึงก็เปนขอเท็จจริงพื้นฐานสําหรับสังคมทุกแหงในโลกอีก เชนกัน ความเปนเพศชาย (Masculinity) และแนวคิดตรงกันขามนั่นคือ ความเปน เพศหญิง (Femininity) หมายถึงการแบงบทบาทหนาที่ระหวางสองเพศ ซึ่ง ไดผลลัพธออกมาหลายอยาง ผลวิจัยกลาวไววา (ก) คานิยมของผูหญิง แตกตางกันระหวางสังคมตางๆ นอยกวาคานิยมของผูชาย (ข) คานิยมของ ผูชายในประเททศตางๆ ประกอบไปดวยมิติจากขั้วหนึ่งซึ่งมีความแนวแน ชอบแขงขัน และแตกตางจากคานิมของผูหญิงอยางมาก ไปจนถึงอีกขั้ว หนึ่งซึ่งมีความออนนอมถอมตนและเอาใจใส คลายคลึงกับคานิยมของ ผูหญิง ขั้วนี่มีความแนวแนเรียกวา ‘ความเปนชาย’ สวนขัว้ ที่ออนนอมและ เอาใจใสเรียกวา ‘ความเปนหญิง’ ผูหญิงในประเทศที่มีความเปนหญิงมี ความออนนอมถอมตนและเอาใจใสผูอื่นเทาเทียมกับผูชาย สวนใน ประเทศที่มีความเปนชาย ผูหญิงจะมีความแนวแนและชอบแขงขัน แตไม มากเทากับผูชายในประเทศ ดังนั้นจึงเกิดชองวางระหวาคานิยมของผูหญิง และคานิยมของผูชายในประเทศเหลานี้ ดัชนีการหลีกเลี่ยงความไมแนนอน (Uncertainty Avoidance Index: UAI) คือการที่สังคมยอมรับความไมแนนอนและความกํากวม ซึ่งในที่สุดแลว หมายถึงการคนหาความจริงของคน บงชี้ถึงระดับที่วัฒนธรรมกําหนดให สมาชิกรูสึกสบายใจหรือไมสบายใจในสถานการณที่ไมมีกําหนดกฎเกณฑ อันหมายถึงสถานการณที่ใหม ไมมีใครรูรายละเอียด นาแปลกใจ และ แตกตางไปจากสถานการณปกติ วัฒนธรรมที่หลีกเลี่ยงความไมแนนอน พยายามที่จะเปดโอกาสใหเกิดสถานการณดังกลาวนอยทีส่ ุด โดยการตั้ง กฎหมาย กฎเกณฑและมาตรการรักษาปลอดภัยที่เขมงวด และในแงของ ศาสนา โดยการเชื่อในปรมัตถสัจจะ หรือความจริงสูงสุด (Absolute Truth) ‘ความจริงมีอยูเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งเรามีอยูแลว’ ประชากรในประเทศที่ หลีกเลี่ยงความไมแนนอนจะใชแสดงอารมณสูง และกระตุนโดยพลังงาน จากขางใน ในประเภทตรงกันขาม นั่นคือวัฒนธรรมที่ยอมรับความไม แนนอน ผูคนจะยอมรับความคิดเห็นทีแ่ ตกตางไปจากสิ่งที่คุนเคยไดมก กวา มีกฎเกณฑมากําหนดใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได และในแงศาสนา ยอมรับแนวคิดตางๆอยางเทาเทียม คนในวัฒนธรรมนี้จะสงบนิ่งและ ครุนคิด และไมถูกคาดหวังใหแสดงอารมณออกมา การมุงเนนเปาหมายระยะยาว (Long-term Orientation: LTO) และแนวคิด ตรงกันขาม นั่นคือ การมุงเนนเปาหมายระยะสั้น (Short-term Orientation) เปนมิติที่หาที่เกี่ยวกับคุณธรรม คานิยมของการมุงเนนเปาหมายระยะยาว คือความประหยัดมัธยัสถ และความมุมานะ สวนคานิยมของการมุงเนน เปาหมายระยะสั้นคือ การเคารพประเพณี ปฏิบัติหนาที่ทางสังคม การรักษา

‘หนา’ คานิยมทั้งในทางบวกและทางลบเหลานี้สามารถพบไดในคําสอน ของขงจื้อ นักปราชญจีนผูมีชื่อเสียง มีชีวิตในชวง 500 ปกอนคริสตศักราช อยางไรก็ตาม มิตินี้ก็ใชไดกับประเทศที่ไมมีมรดกคําสอนของขงจื้อ

China

Japan S.Korea Thailand

UK

Fig.14 : Geert Hofstede Cultural Dimentions

ระดับที่ประเทศไทยไดสูงที่สุดในมิติของ Hofstede คือ ดัชนีความเหลื่อม ล้ําของอํานาจ (PDI) และดัชนีการหลีกเลี่ยงความไมแนนอน (UAI) โดย ไดคะแนนเทากันที่ 64 คะแนนดัชนีความเหลื่อมล้ําของอํานาจที่สูงเปนเครื่องบงชี้วามีความไมเทา เทียมกันของอํานาจและความร่ํารวยในสังคมในระดับสูง ซึ่งไมไดเปนการ บังคับใหประชากรยอมรับ แตสังคมเปนฝายยอมรับเองในฐานะที่เปนสวน หนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรม คะแนนที่ 64 นอยกวาคะแนนโดยเฉลี่ยของ ประเทศเอเชียซึ่งอยูที่ 71 สวนดัชนีการหลีกเลี่ยงความไมแนนอน (UAI) ซึ่งไดคะแนนสูงเทากันบงชี้ วาสังคมมีระดับการยอมรับความไมแนนอนต่ํา เพื่อที่จะลดระดับความไม แนนอนใหต่ําที่สุดเทาที่จะเปนไปได จึงมีการกําหนดกฎเกณฑ กฎหมาย นโยบาย และระเบียบขอบังคับทีเ่ ขมงวด เปาหมายของประชากรคือการ ควบคุมใหทุกอยางอยูในระเบียบเพื่อกําจัดหรือหลีกเลี่ยงสิ่งไมคาดฝน ดวยเหตุที่มีลักษณะการหลีกเลี่ยงความไมแนนอนระดับสูง สังคมจึไม พรอมรับความเปลีย่ นแปลง และไมกลาเสี่ยง ระดับคะแนน 64 ของ ประเทศไทยสูงกวาคาเฉลีย่ ของประเทศในเอเชีย ซึ่งอยูที่ 58 มิติที่ประเทศไทยไดคะแนนต่ําที่สุดคือปจเจกนิยม (Individualism: IDV) ไดเพียง 20 คะแนน ซึ่งบงชี้วาเปนสังคมที่เนนคติรวมหมู มากกวาการเปน ปจเจกบุคคล ซึ่งเปนจริงสําหรับความสัมพันธระยะยาวและใกลชิดกับ ‘กลุม’ ซึ่งหมายถึง ครอบครัว ครอบครัวใหญที่รวมญาติอื่นๆ ดวย ความ 16


จงรักภักดีในวัฒนธรรมคติรวมหมูนั้นมหาศาล ซึ่งอยูเหนือกฎระเบียบอื่นๆ ของสังคม สังคมแบบนี้เกื้อหนุนใหเกิดความสัมพันธที่แข็งแกรง ซึ่งทุก คนตองรับผิดชอบสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุมดวย

ความสามารถทางความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมที่มีอยูใน ‘คน ธรรมดา’ บริษัทบางแหงใชนวัตกรรม ‘จากภายนอก’ ในการทํางานถึง 50%

ประเทศไทยมีคะแนนความเปนเพศชายที่ต่ําที่สุดในประเทศเอเชีย ซึ่งได 34 คะแนน เมื่อเทียบกับคะแนนเฉลีย่ ของประเทศเอเชียที่ 53 และคะแนน เฉลี่ยของโลกที่ 50 ระดับคะแนนที่ต่ําบงชี้วาสังคมมีความแนวแนและ ความชอบในการแขงขันนอย และประชากรยังคงมีบทบาทที่แบงใหกบั เพศชายและหญิงตามแบบแผนดั้งเดิม

ทักษะความสรางสรรคมีสามระดับ ไดแก ระดับปฏิบัติ (operative) ยุทธวิธี (tactical) และกลยุทธ (strategic) คุณสมบติบนกระดาษนั้นเพียงแคสราง อํานาจใหแกผูที่มีทักษะระดับปฏิบัติ ซึ่งทักษะในระดับนี้ก็ถูกมองวาเปน เรื่องธรรมดามากขึ้นทุกทีในปจจุบัน สวนระดับที่เหลือนั้นสามารถเรียนรู ไดจากการทํางาน หรือการเรียนรูทักษะใหม ผูที่มีความคิดสราสรรคมักจะ มีสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้

ความเชื่อ (ที่ทําใหเกิดความเขาใจที่ไมสมบูรณเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สรางสรรค) ความเชื่อที1่ : กระบวนทัศนเศรษฐกิจสรางสรรคจะแทนที่โมเดลการสราง ความมั่งคั่งที่ออกมากอนหนาทั้งหมด ซึ่งมีบางสวนที่จริง แตกระบวนทัศนกอนหนานี้ก็ยังคงจะสรางความมั่งคั่ง ใหเกิดตอไปได สวนความสรางสรรคนั้นจะเปนแหลงการชุบชีวิตภาค เศรษฐกิจตางๆ อยางไรก็ตามตองจําไววา แคเพียงความคิดสรางสรรคอยางเดียวนั้นไมมี ประโยชนอันใด! ความรูที่เฉพาะทางในเชิงกลยุทธในการถายทอดความคิด สรางสรรคเปนสิ่งจําเปนยิ่ง ความรูในการประเมินโอกาสทางการตลาดทั่ว โลก การคิดคนหานวัตกรรมและรักษาวัฒนธรรมการสรางนวัตกรรมใหคง อยู ก็เปนเรื่องสําคัญเทาเทียมกัน ความเชื่อที่ 2: ทุกคนสามารถเปนสวนหนึ่งของเศรษฐกิจสรางสรรคได ซึ่งมีบางสวนที่จริง ในการที่จะใชประโยชนจากโอกาสที่มี ตองอาศัยทักษะ เฉพาะทางอันสามารถเรียนรูได การเรียนรูอยางตอเนื่องเปนดั่งคําสวดมนต ในยุคสมัยใหม คนทํางานถูกลดทักษะการทํางาน และจะถูกมองวาเปนสิ่ง ซ้ําซากในที่ทํางานหากไมเรียนรูทักษะใหมอยูเรื่อยๆ ความเชื่อที่ 3: การมีคุณสมบัติ (จากตางประเทศ) ในสาขาความสรางสรรค ใดๆ ก็เพียงพอแลว ในกระบวนทัศนใหมนี้ เกิดขอสงสัยในความเชื่อ (หรือตํานาน) นี้อยางมาก คนที่มีไอเดียที่ฉลาดหลักแหลมมีโอกาสมากกวาคนที่มีปริญญาสูง บริษัทอยาง BMW, Proctor & Gamble, Muji, Nesle, Starbucks, Lego, Nintendo และอีกหลายๆ แหง ตางตระหนักถึงความสําคัญของ

-

ระดับปฏิบัติ เปนสิ่งที่เรียนในมหาวิทยาลัย การวาด การราง ทฤษฎีสี การลงสี การสื่อสาร ฯลฯ

-

ระดับยุทธวิธี คือการบริหารโครงการไดอยางสําเร็จในเวลา งบประมาณ และเงือ่ นไขตลาดที่กําหนด

-

ระดับกลยุทธ คือทักษะ ‘วิสัยทัศนและการคิด’ การแกปญหา การทําความเขาใจความตองการและความปรารถนาของผูใช กระแสตลาด และการตีความขอมูลเพือ่ สรางนวัตกรรมใหมขึ้น

ความเชื่อที่ 4: การสรางเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคเปนหนาที่ของรัฐบาล ในทุกยุคสมัย ตั้งแตยุคเกษตรกรรมจนถึงยุคสรางสรรค สิ่งที่เพิ่มองค ความรูคือการรวมมือกันอยางหลักแหลมและสรางสรรคของประชาชน ซิลิคอน วัลเลย อันเปนที่ที่ความคิดสรางสรรคเกิดขึ้นมากมาย ก็มิไดเปน ผลจากแผนยิ่งใหญของฝายรัฐ แตเริ่มตนจากตั้งแตยุค Great Depression เมื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยสแตนฟอรดสองคน ไดแก เดฟ แพ็คการด และ บิล ฮิวเล็ท เริ่มแกะโนนซอมนี่อยูในโรงรถของแพ็คการดในพาโล อัลโต ควรสังเกตอีกอยางวาไมเคยมีโครงสรางที่แนชัดมาเชื่อมโยงจุดตางๆ ใน ซิลิคอน วัลเลย อันที่จริงแลว ระบบนิเวศนนี้ไดทําใหจุดตางๆ เชื่อมโยง กันเอง ผานทางเครือขายการทํางานหรือเครือขายสวนตัวที่เชื่อมโยงกันอยู ถาหากคนเหลานี้ไมหลักแหลมพอหรือไมตองการเพิ่มพูนความรูและ ทักษะอยางตอเนื่อง เงินลงทุนมหาศาลหรือนโยบายจากเบื้องบนก็ไม สามารถทําใหคนเหลานี้เปนผูประกอบการสรางสรรคขึ้นมาได รัฐบาล สามารถชวยไดเพียงทําใหเกิดสิ่งแวดลอมที่เอื้ออํานวยเทานั้น ความเชื่อที่ 5: การมี ‘ประวัติ’ ที่ดีเปนสิ่งสําคัญในความสําเร็จ 17


นาแปลกมากที่ตํานานนี้ไดรับการโฆษณาในประเทศไทยจนกลายเปนกาว สําคัญสําหรับความสําเร็จ เห็นไดชัดวาเปนสิ่งที่หลงเหลือมาจากระเบียบ สังคมในสมัยศตวรรษที่แลว ซึ่งวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรมใหคุณคากับ สถานะทางสังคมมากกวาความสามารถ ในเศรษฐกิจระบบใหมนี้ แนวคิดนี้ ไมเปนจริงอีกแลว ปรัชญาเบื้องหลังเศรษฐกิจสรางสรรคคือ ทุกคน สามารถสรางสรรคไดไมวาจะมีประวัติมาอยางไร ความเชื่อที่ 6: รูอะไรไมสําคัญ ในประเทศไทยสิง่ สําคัญคือคุณรูจักใคร ตางหาก เรื่องนี้เชื่อมโยงมาจากตํานานเรื่องกอนหนานี้ ในสังคมที่วัดจากควม สามารถ แนวคิดนี้ไมเปนความจริง ความรูเปนสิ่งจําเปนยิ่งตอความเจริญ สังคมที่ไมใหคุณคาแกความสามารถจะไมสามารถพัฒนาไปเปนเศรษฐกิจ สรางสรรคได ไมมีที่สําหรับแนวปฏิบัติและความรูที่ลาหลังในเศรษฐกิจ สมัยใหม อันเปนทีท่ ี่ตลาดโลกไรความปราณีและผูมีความสามารถคือผู ชนะ ตํานานสองเรื่องสุดทายนี้เปนอุปสรรคที่ใหญที่สุดของประเทศไทยทีจ่ ะ กาวเขาสูเศรษฐกิจความรูและสรางสรรค ประเทศจะกาวหนาไดก็ตอเมื่อ เอาชนะอุปสรรคเหลานี้อยางเปนระบบ และนําวิธีคิดและวิธีทําใหมๆ มาใช ในระดับประเทศ

ชารลส แลนดรีย นักทฤษฎีและนักปฏิบัติดานชุมชนเมือง เตือนถึงอันตราย ของหลักการใชเหตุผลที่ใชในการออกนโยบายวา “ผูออกนโยบายพบวาการคิดในแงของคาใชจายสําหรับแผนพัฒนาทาง กายภาพ ทางดวน ลานจอดรถ นั้นงายกวาที่จะคิดถึงระบบโครงสรางที่ ไมใชกายภาพ เชน การอบรมการพัฒนาทักษะ ทุนที่ใหแกองคกรอาสาใน การพัฒนาเครือขายสังคม หรือดึงอํานาจจากสวนกลางมาเพื่อเสริมสราง ความสามารถในระดับทองถิ่น และสนับสนุนใหประชาชนมีสวนไดเสียใน การบริหารชุมชนของตน” แลนดรียเสริมวาหนึ่งในอาการที่แสดงถึงความคิดที่แคบของนักนโยบาย คือการไมยอมเนนที่ความปรารถนามากกวาความตองการ ความตองการเปนเหมือนวัตถุชนิดหนึ่ง ดังเชน โคมไฟ รถเมล ศูนยศิลปะ และวัฒนธรรม หรือพื้นที่ทางกายภาพทั่วไป ในทางตรงกันขาม ความปรารถนาเชื่อมโยงกับจิตใตสํานึก ความฝน ความรูสึก บรรยากาศของสถานที่ ความมั่นใจวามีความรูที่นําไปใช ประโยชนได

นี่อาจจะฟงดูแปลก แตเปนความจริงสําหรับสิ่งที่แตกตางอยางเชน การ วางแผนสําหรับพัฒนาความสามารถดานสรางสรรคของทั้งประเทศ

หลายโครงการที่สนับสนุนเศรษฐกิจสรางสรรคทั่วโลกก็ประสบกับ สถานการณเชนนี้ รัฐบาลและนักนโยบายทั้งหลายหันไปจัดงาน การแสดง งานออกราน แผนจัดหาเงินทุน และโครงการ ‘เร็วเฉพาะหนา’ โดยหวังวา จะสรางแรงบันดาลใจใหผูคนสรรสรางสิ่งตางๆ ไดโดยไมยอมหันมาดูที่ แกนแทของปญหา ซึ่งอาจเปนการขาดแนวทางธุรกิจที่สงเสริม ผูประกอบการรายยอย ขาดความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ ขาด วัฒนธรรมการสรางนวัตกรรม มีระดับความสามารถการเปน ผูประกอบการที่ต่ํา ระบบการศึกษาไมสงเสริมใหคิดเชิงวิจารณญาณ และ อีกหลายประเด็นดวยกัน

แนวทางที่ใชการแกปญหาเปนหลัก มีความเสี่ยงที่จะใชโมเดล “ลูกปน วิเศษ” ในการแกปญหา เปนการทํา ‘เฉพาะกิจ’ และไมใชกลยุทธเปนหลัก พยายามที่จะหาคําตอบกอนที่ตอบคําถามไดอยางแทจริง

งานออกราน งานเทศกาล และแผนเร็วเฉพาะหนามากมายแคไหน ก็ไม สามารถสรางกําลังใหแกชุมชนหรือประเทศชาติได เปนเพียงการ สนับสนุน ไมใชการเปลี่ยนแปลง

ในแนวทางการออกนโยบายและแนวปฏิบัติโดยทั่วไป เนนใหแกปญหา โดยเร็วและมีเรื่องการเมืองเปนเครื่องกระตุน มากกวาจะมองไปที่รากเหงา ของตัวปญหาเอง

สิ่งเหลานี้ไมสามารถเปลี่ยนใหตัวเองกลายเปนสังคมได แตก็ไมเปนจริง สําหรับประเทศไทย คนไทยชอบเลือกแนวทางที่มองเห็นไดชัด สรางการ โหมประชาสัมพันธ และโอกาสที่จะ ‘ดัง’ ได

คําพูดของอัลเบิรท ไอนสไตน ไดสรุปเอาไวสั้นๆ วา “เราไมสามารถ แกปญหาโดยใชวิธีคิดเดียวกับตอนทีเ่ ราสรางปญหาขึ้นมา” การแกปญหาไมใชคําตอบของปญหา!

Problem

Solution Research

Analysis

Fig.15 : Quick-fix ‘solutionism’

ในทางตรงกันขาม นโยบายที่สรางการเปลี่ยนแปลงนั้นมีแนวทางที่ผลักดัน โดยปญหา และมองบริบทโดยรวมของเวลา ประเด็นสังคมและวัฒนธรรม และปฏิสัมพันธระหวางสวนตางๆ ของโครงการ และในภาพรวม กอนที่จะ เริ่มตนวางแผน กําหนดมุมมองและแนวคิด 18


นโยบายประเภทนี้เริ่มตนจากการถามคําถามที่เหมาะสม และใชการวิจัย เพื่อวิเคราะหปญหา ตามดวยการกําหนดวัตถุประสงคทั้งระยะยาวและ ระยะสั้นที่วัดเพื่อประเมินได ซึ่งจะชวยใหสามารถตัดสินใจไดโดยมีขอมูล ครบถวน การที่ปญหาและทางออกไมเชื่อมโยงนัน้ ทวีความรุนแรงขึ้นอีกสําหรับ แนวคิดที่ไมไดรับการกําหนดอยางชัดเจน เชน เศรษฐกิจสรางสรรค ซึ่งไม มีโมเดลสากลใหนํามาทําซ้ํา หรือไมมีโมเดลที่นาเชื่อถือใหนํามา ลอกเลียนแบบโดยงาย สิ่งที่ประเทศอังกฤษหรือออสเตรเลียใชแลวดี อาจจะไมดีเมือ่ นํามาใชในประเทศไทยก็ได มีเงื่อนไขเบื้องตนหลายอยางในการสรางใหเศรษฐกิจสรางสรรคเติบโตใน ประเทศ ซึ่งหนวยงานในประเทศตองทําความเขาใจเงื่อนไขเหลานี้อยาง ถองแทกอนที่จะ ‘นําเขา’ หนวยงานจากตางประเทศมเพือ่ สรางความ นาเชื่อถือใหกับโครงการ แนวทางเชนนี้สามารถทําไดเพียงทําใหโครงการแลวเสร็จ แตไมประสบ ความสําเร็จในการตอบโจทยปญหา ในยุคเกาเชนในยุคอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม แนวทางดังกลาวนี้สราง ผลประโยชนใหไดในระดับหนึ่ง แตสําหรับยุคสรางสรรคและยุคความรู แลว แนวทางเหลานี้อาจใชไมได เนื่องจากเราไมไดทํางานกับโครงสราง พื้นฐานอยางถนน อาคาร หรือสินคาที่จับตองได เชน ฝาย น้ํามัน หรือรถ แทรกเตอร แตเรากําลังทํางานกับสิ่งที่จับตองไมไดอยางความสามารถของ มนุษยในการคิดไอเดียที่สามารถนําไปคาขายเชิงพาณิชย และขายใน ตลาดโลกได โครงสรางพื้นฐานของเศรษฐกิจสรางสรรคคือทักษะความสามารถของ เหลาคนทํางานในการคิดคนหนทางใหมๆ แนวทางธุรกิจที่สงเสริมการกลา เสี่ยงและกลาลมเหลว สภาวะแวดลอมสําหรับผูประกอบการที่ประกอบไป ดวยความเชื่อใจและการแบงปน และสังคมที่เต็มไปดวยไอเดีย ในกระบวนทัศนเศรษฐกิจแบบใหมนี้ จะตองมาทบทวนแนวทางการ ทํางาน การแขงขัน การวัดความสําเร็จและความลมเหลว รวมถึงทักษะและ ความสามารถในปจจุบันใหมทั้งหมด ซึ่งเปนสิ่งที่ผูเชี่ยวชาญเรียกวา ‘การ เปลี่ยนจากการคิดดวยสมองดานซายเปนการคิดดวยสมองทั้งสองดาน’ เราไมสามารถเปลี่ยนแนวปฏิบัตทิ ี่ทําตอเนื่องมาหลายรอยปไดทั้งหมด ภายในเวลาไมกี่ป สิ่งที่ทําไดในระยะเวลาอันสั้นคือการเสริมสรางความ มั่นใจและสรางแรงบันดาลใจผานทางการออกนโยบายที่เหมาะสมซึ่งผาน การวิจัยมาแลวเปนอยางดี

หากชุมชนไรซึ่งความแข็งแกรงดานการคิดเชิงวิจารณญาณ นวัตกรรม และ ความคิดสรางสรรคแลว ไมวาจะมีเงินหรือแรงบันดาลใจมากแคไหนก็ไม สามารถชวยได ทางเดียวที่จะชวยไดคือการสรางทักษะขึ้นใหม แตคําถามตอมาก็คือทักษะ อะไร และจะสรางอยางไร ในการที่จะไดมาซึ่งคําตอบของคําถามพื้นฐานเชนนี้ จะตองทําการวิจัย ความตองการ ความปรารถนา และความสามารถที่ผูคนมีอยูในปจจุบัน อยางครบถวน และตอยอดความสามารถเหลานี้เพื่อพัฒนาทักษะ ซึ่งอาจ เปนทางภาพ ภาษา การวิเคราะห กระบวนการคิด (กลาวคือ ความสามารถ ในการเขาใจและแปลความหมายภาษาทางภาพที่ซับซอนออกมาได)

โอกาส เมื่อพิจารณาถึงอุปสรรคพื้นฐานทั้งหลายที่มีตอการสรางเศรษฐกิจ สรางสรรคแลว สิ่งแรกที่ควรทําคือการทําวิจัยโดยละเอียดในเรื่องลักษณะ และอุปสรรคที่ภาคธุรกิจสรางสรรคทุก 14 ภาคตองประสบ หากไมไดทําการวิจัย จะเปนเรื่องที่เสีย่ งมาก เพราะถาไมมีการวิจัยโดย ละเอียดแลว จะไมสามารถดําเนินการตัดสินใจโดยมีขอมูลครบถวนได ทํา ใหไมสามารถวางแผนที่มีประสิทธิภาพได การเนนหาทางออกโดยไมมี ความรูอยางแนชัดวาควรทําอะไร และจะวัดผลเมื่อสิ้นสุดโครงการอยางไร รังแตจะนําไปสูแผนและโปรแกรมที่ทําเฉพาะหนา ซึ่งไมไดเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจไทยใหกลายเปนเศรษฐกิจสรางสรรค ลองดูตัวอยางกรณีดังตอไปนี้ อุปสรรคที่บริษัทตองเจอสะทอนใหเห็นถึง อุปสรรคที่ทั้งประเทศตองเจอ กรณีที่พบไดบอยในประเทศไทย เมื่อไมนานมานี้ เราไดเขาเยี่ยมชมสถานทํางานของ ‘ผูรับจางผลิต’ ที่ ใหญที่สุดในประเทศไทยที่ผลิตใหกับแบรนดสากลหลายๆ แบรนดที่ ติดอันดับท็อป 50 ตามการจัดลําดับของ Interbrand ที่นี่มีทุกอยางที่จําเปน ทั้งศูนยวิจัยและพัฒนา แผนกการออกแบบ วิศวกรรม แผนกขายและการตลาด การไปตางประเทศเพือ่ เขารวมงาน และการจัดแสดงเทรนดลาสุด แตผลิตภัณฑของพวกเขาเองก็ยังขายได ในราคาที่ต่ํากวาหนึ่งในสิบของราคาผลิตภัณฑที่เปนแบรนดสากล ทั้งๆ ที่ผลิตในโรงงานเดียวกัน!

19


ในชวงที่ทําการสัมภาษณ ผูบริหารระดับสูงของบริษัทนี้ก็ยอมรับวาพวก เขาไมรูวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑขายดีที่เปนแบรนดของตนเอง เห็นไดวา 30 ปแหงการเปน OEM (original equipment manufacturer) ใหกับบริษัทชั้นนําของโลกนั้น ไมไดสงผลใหเกิดการสงผานความรูจาก บริษัทสากลในดานการสรางผลิตภัณฑขายดีเลย สิ่งที่รูคือวิธีทํา ผลิตภัณฑจํานวนมากในราคาที่ต่ําใหเปนไปตามคําสั่งของลูกคาเทานั้น เอง สิ่งเหลานี้หายไปหมดเมื่อแบรนดสากลนั้นตัดสินใจยายฐานดําเนินการ ไปยังประเทศที่ถูกกวา สิ่งที่อาจจะสงผลตอการตัดสินใจก็คือการที่ ประเทศอื่นนั้นมีผมู ีความสามารถในดานการออกแบบ และเทคนิคดาน การวิจัยและพัฒนาซึ่งมีคาแรงต่ํากวาประเทศไทย อันทําให ความสัมพันธนาน 30 ปนี้จบลง กรณีดานบนนี้แสดงใหเห็นวา คําถามหลักไมใชการถามวาควรทําอะไร แต เปนการถามวา ทําอยางไร และตองทําใหไดเร็วอีกดวย จะตองสราง นวัตกรรมใหล้ําหนาคูแขง ไมอยางนั้นๆ จะคอยๆ กลายเปนบริษัทที่ไม กาวหนา

2.

3.

4.

5.

ปญหาหนักที่สุดสําหรับบริษัทสวนใหญคือ ไมมีความสามารถดาน ความคิดเชิงกลยุทธและวิสัยทัศนที่กวางไกลในการที่จะนําพาบริษทั ไปสู การเปลี่ยนแปลง

โอกาสในการระดมทุนเพื่อพัฒนา รายการดานลางนี้อาจไมละเอียด แตกําลังคอยเปนคอยไป ซึ่งตองอาศัยการ วิจัยขอมูลเพิ่มเติม 1.

การเพิ่มทักษะและความสามารถ ตองจัดโปรแกรมเพิ่มทักษะ ในหลายระดับ ทั้งชุมชน บริษัท ผูประกอบการ รัฐบาล และ มหาวิทยาลั เพื่อพัฒนาทักษะของแรงงานไทยและเตรียมพรอม สําหรับการทํางานในระบบเศรษฐกิจสรางสรรค นี่เปนสิ่งที่ ตองอาศัยแรงผลักดันและเงินทุนอยางมาก ทุกคนทราบดีวา ความคิดสรางสรรคและการออกแบบนั้นสามารถทําใหบริษัท สรางนวัตกรรมขึ้นมาได แตประเด็นคือเราจะพัฒนาทักษะและ ความสามารถดานเทคโนโลยีของแรงงานไดอยางไร นี่เปน ประเด็นสําคัญที่ตองไดรับการแกไขโดยเร็ว เราไมสามารถ นําเขาผูมีความสามารถจากที่อื่นดังที่ ริชารด ฟลอริดา กลาวไว ได เราตองพัฒนาคนในประเทศเราเอง

6.

7.

พัฒนาความเชือ่ มโยงระหวางมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสวนใหญนั้นไมมีวาระการวิจัยและพัฒนาที่เดนชัด ในอีกดานหนึ่ง อุตสาหกรรมก็มักจะติดตอเฉพาะผูผลิตและ คนทํางานในภาคทีใ่ ชทักษะในระดับต่ํา เชน งานฝมือหรือ สินคาวัฒนธรรม หากมีการจัดหาเงินทุนเพื่อใหมหาวิทยาลัย และอุตสาหกรรมรวมมือกันดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนา ก็ จะชวยเผยโฉมผูมีความสามารถที่อาจซุกซอนอยูในประเทศได เนนสิ่งแวดลอม แหลงพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและมี ประสิทธิภาพที่ดีนนั้ ไมใชเปนเพียงแคแฟชั่น แตเปนความเปน จริงที่โลกตองเผชิญ และยังเปนโอกาสใหองคกรและ ผูประกอบการดานวิจัยและพัฒนาคิดคนทางออกใหมอีกดวย เนนเทคโนโลยี หากประเทศไทยเนนผลักดันในดานนี้ จะไดรับ ผลตอบแทนมหาศาล หากหันมาลงทุนในดานเทคโนโลยีและ การออกแบบ หรือเทคโนโลยีและโครงการความรวมมือ ระหวางภาคธุรกิจสรางสรรค อาจสงผลใหความคิดสรางสรรค ที่เคยซุกซอนอยูโดดเดนขึ้นมา ยิ่งถาองคกรวิจัยและพัฒนาใน ประเทศไดรับความรวมมือจากองคกรตางประเทศ ก็จะยิง่ ชวย ใหพัฒนาความสามาถในการซึมซับของประเทศไทยไดอกี ดวย สรางวัฒนธรรมความคิด ไอเดียดีๆ มิไดเกิดในบริบทการ ทํางาน หรือสังคมที่เรียกรองใหผูคนดําเนินชีวิตเหมือนกันหมด ความเชื่อใจ อิสรภาพ การโตเถียงอยางเปดเผย การยอมรับความ ลมเหลว การกลาเสี่ยง การยอมรับความกํากวม ลวนแตเปน สวนประกอบที่สําคัญที่สังคมควรมี ควรลงทุนจัดตั้งแคมปและ การแขงขันดานความคิด โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยและ ผูประกอบการรุนเยาว รวมทั้งการจัดประชุมเครือขายและ สัมมนากับผูลงทุน การเพิ่มทวีคูณ สรางระบบใหแบงปนและเผยแพรความคิด ใช การทํางานแบบ โอเพนซอรซ เพื่อแบงปนความสามารถ ความรู และกระบวนการตางๆ ใหรางวัลกับการคิด อันเชื่อมโยงกับขอดานบนอยางมาก เรา ตองใหเครดิตแกการคิดซึ่งเปนสวนที่จาํ เปนมากในการสราง เศรษฐกิจสรางสรรค ชุมชนที่สงเสริมใหคนคิดเปนแหลงผลิต ไอเดียทีเ่ ปลี่ยนโลกมานับไมถวนแลว ตัวอยางเชน The Lunar Society ในประเทศอังกฤษ เปนการพบปะเพื่อรับประทาน อาหารอยางเปนกันเองของเหลานักอุตสาหกรรม นักปรัชญา และปญญาชนผูมีชื่อเสียง ซึ่งจะพบกันเปนประจําใน เบอรมิงแฮม ในชวยศตวรรษที่ 18 และ 19 สมาชิกรวมถึง Matthew Boulton, Erasmus Darwin, Samuel Galton Junior, James Keir, Joseph Priestley, Jonathan Stokes, Josiah 20


Wedgwood, James Watt, John Whitehurst และ William Withering สมาชิกในกลุมนี้มีสวนทําใหเกิดการปฏิวัติ อุตสาหกรรมซึ่งทําใหเกิดการไอเดียที่เปลี่ยนโลกขึ้น UAE ไดตระหนักถึงความสําคัญของวัฒนธรรมการคิด ใน เดือนพฤศจิกายน ป 2009 ไดมีการจัดเทศกาลนักคิดครั้งที่ 3 (3rd Festival of Thinkers) ขึ้นในอาบู ดาบี โดยหวังจะรวบรวม ผูไดรับรางวัลโนเบล นักวิชาการ ปญญาชน นักเรียน นักศึกษา จาก UAE และประเทศขางเคียง เพื่อเฉลิมฉลอง “พลังและ ความสําคัญของการคิด” งานนี้มีประเด็นหลักอยูเกาขอ ซึง่ เปน กุญแจสูการกําหนดอนาคตของตะวันออกกลางและชุมชนโลก เชน “ผานวิกฤตโลก” “จินตนาการถึงการพัฒนาแบบยั่งยืน” และ “สงเสริมวิทยาศาสตรและภาษา” นอกจากนั้นยังมี สุขอนามัยโลก โลกาภิวัฒนดานวัฒนธรรมและภาษา การ พัฒนาเศรษฐกิจและบรรเทาความยากจน การใชจายของ กองทัพ การวิจัยและนวัตกรรม ฯลฯ (http://festivalofthinkers.hct.ac.ae/index.asp) งานแบบนี้สงผลใหเกิดนโยบายที่ดีที่มผี ลอยางกวางขวาง เราไม อาจมองวาการอภิปราย โตเถียง และการคิดดูสวยหรูใน ความคิด แตหลีกเลี่ยงที่จะทํา ทั้งหมดนี้เปนสิ่งจําเปนใน เศรษฐกิจสมัยใหม 8.

9.

ทางการจากหนวยงานรัฐ หรือสํานักงานใหญขององคกรขนาด ใหญ) และนโยบายนวัตกรรมที่เกิดจากสถาบัน (เชน สถาบันวิจัยและพัฒนาที่เปนทางการ มหาวิทยาลัย) ใชแนวทาง ‘บนลงลาง’ เปนหลัก Policy Makers Trickle Down Disconnect Local Community Knowledge & Creativity

Sweet Spot

Institutional R&D Disconnect

Bottom Up Informal ‘Grasroots’ Movements

ในความเปนจริงแลว SME ชุมชนทองถิ่น และผูประกอบรายยอย เปนผูที่ สรางประโยชนใหแกเศรษฐกิจสรางสรรคอยางมาก มากกวานวัตกรรมที่ เกิดจากบริษัทใหญๆ ริชารด ฟลอริดา กลาวไวในบริบทของเศรษฐกิจสรางสรรควา “การพัฒนา เศรษฐกิจที่แทจริงควรตองเนนที่ประชาชน และชุมชนทองถิ่น ถึงแมวา นโยบายบางอยางอาจชวยกระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค แตอีกหลายๆ นโยบายเปนการทําลายความคิดสรางสรรค การพัฒนาสภาวะแวดลอมไม อาจจะวางแผนจากระดับบนได”

เนนจัดงานที่เชื่อมโยงกัน ไมใชจัดแยกกัน งานที่เชื่อมโยงกัน นั้นมีโอกาสที่จะสรางผลกระทบที่ดีกวา ทั้งในดานตนทุน ขอบเขต และประสิทธิภาพ ควรเชื่อมโยงผูมีสวนไดเสีย คนทํางานดานความคิดสรางสรรค ผูระดมเงินทุน และบริษัท เทคโนโลยีทั้งหมด เพื่อสรางภาคธุรกิจสรางสรรคใหดีขึ้น ตัวอยางเชน งาน CoFesta (Japan International Contents Festival) เปนเทศกาลดานเนื้อหาที่ครบถวนและใหญที่สุดใน โลก เปดโอกาสใหเกิดความรวมมือกันระหวางธุรกิจนานาชาติ และแลกเปลี่ยนเนือ้ หา แบงปนความคิดระหวางคนที่ทํางาน ดานเนื้อหาดิจิทัล แอนิแมชัน และเกม สรางพลังใหแกกลุม ภูมิภาคขนาดเล็ก ในยุคความรูและ สรางสรรค นวัตกรรมเกิดจากลางขึ้นบน นั่นคือจากคน (เชน ความคิดสรางสรรคอยางไมเปนทางการที่อาจมีอคติสวนตัวที่ เกิดจากบริษัท SME ผูประกอบการ และกลุมชุมชนตางๆ) ในขณะที่นักนโยบาย (เชน การกําหนดกลยุทธอยางเปน 21


Glossary

Community, or Creative Community (Source: Quick, L.,2004) in its broadest possible interpretation covers a group of people who are linked together in a network and participating in or sharing the same locality, interests, practices, organisation, or culture. They apply their knowledge and creativity to inspire people, to share information, ply their creativity, create and exchange ideas, and solve problems and create opportunity within their, and other’s communities – in order to bring into existence a thing, or people in a way that will develop and advantage their community. In doing so, a Creative Community may take on many different forms. They may be a Creative Community based on: Location: San Francisco, Melbourne, Oxford, Brunswick, Rhode Island. Practice: Doctors, artists, engineers, economic development Interests: Politics, history, astronomy Cultural group: Italian community, Buddhist community Organisation: Corporation, school, agency, small to medium business, department, unit. Cluster: A group of interdependent organizations acting together for their common good. Deskilling is the process by which skilled labour within an industry or economy is eliminated by the introduction of technologies operated by semiskilled or unskilled workers. Work is fragmented, and individuals lose the integrated skills and comprehensive knowledge of the crafts persons. Examples include CNC machine tools replacing machinists and assembly line workers replacing artisans and craftsmen. Dissonance (n): Lack of agreement. In this case it is referred to as maintaining a Creative Tension at work. Is based on the idea that dissonance between where we are and where we want to be motivates creative action. Data, Information, Knowledge: We can distinguish between information, data and knowledge. Data comes through research and collection. Information is organised data. Knowledge is built upon information. Data and information are easily transferrable; knowledge built by a person is rather difficult to transfer to another. Global labor arbitrage is an economic phenomenon where, as a result of the removal of or disintegration of barriers to international trade, jobs move to nations where labor is inexpensive and/or impoverished labor moves to nations with higher paying jobs. Skills (National Center for O*NET Development, - U.S. Department of Labor, Employment and Training Administration (USDOL/ETA)’s definition of Skills). Source: http://online.onetcenter.org/skills/, Accessed on 17th June 2009 1. Basic Skills: Developed capacities that facilitate learning or the more rapid acquisition of knowledge Active Learning: Understanding the implications of new information for both current and future problem-solving and decision-making. Active Listening: Giving full attention to what other people are saying, taking time to understand the points being made, asking questions as appropriate, and not interrupting at inappropriate times. Critical Thinking: Using logic and reasoning to identify the strengths and weaknesses of alternative solutions, conclusions or approaches to problems. Learning Strategies: Selecting and using training / instructional methods and procedures appropriate for the situation when learning or teaching new things.

Mathematics: Using mathematics to solve problems. Monitoring: Monitoring/Assessing performance of yourself, other individuals, or organizations to make improvements or take corrective action. Reading Comprehension: Understanding written sentences and paragraphs in work related documents. Science: Using scientific rules and methods to solve problems. Speaking: Talking to others to convey information effectively. Writing: Communicating effectively in writing as appropriate for the needs of the audience. 2. Complex Problem Solving Skills: Developed capacities used to solve novel, ill-defined problems in complex, real-world settings Complex Problem Solving — Identifying complex problems and reviewing related information to develop and evaluate options and implement solutions. 3. Resource Management Skills: Developed capacities used to allocate resources efficiently Management of Financial Resources — Determining how money will be spent to get the work done, and accounting for these expenditures. Management of Material Resources — Obtaining and seeing to the appropriate use of equipment, facilities, and materials needed to do certain work. Management of Personnel Resources — Motivating, developing, and directing people as they work, identifying the best people for the job. Time Management — Managing one's own time and the time of others. 4. Social Skills: Developed capacities used to work with people to achieve goals Coordination — Adjusting actions in relation to others' actions. Instructing — Teaching others how to do something. Negotiation — Bringing others together and trying to reconcile differences. Persuasion — Persuading others to change their minds or behavior. Service Orientation — Actively looking for ways to help people. Social Perceptiveness — Being aware of others' reactions and understanding why they react as they do. 5. Systems Skills: Developed capacities used to understand, monitor, and improve socio-technical systems Judgment and Decision Making — Considering the relative costs and benefits of potential actions to choose the most appropriate one. Systems Analysis — Determining how a system should work and how changes in conditions, operations, and the environment will affect outcomes. Systems Evaluation — Identifying measures or indicators of system performance and the actions needed to improve or correct performance, relative to the goals of the system. 6. Technical Skills: Developed capacities used to design, set-up, operate, and correct malfunctions involving application of machines or technological systems Equipment Maintenance — Performing routine maintenance on equipment and determining when and what kind of maintenance is needed. Equipment Selection — Determining the kind of tools and equipment needed to do a job. Installation — Installing equipment, machines, wiring, or programs to meet specifications. Operation and Control — Controlling operations of equipment or systems. Operation Monitoring — Watching gauges, dials, or other indicators to make sure a machine is working properly. Operations Analysis — Analyzing needs and product requirements to create a design. Programming — Writing computer programs for various purposes. Quality Control Analysis — Conducting tests and inspections of products, services, or processes to evaluate quality or performance. Repairing — Repairing machines or systems using the needed tools. Technology Design — Generating or adapting equipment and technology to serve user needs. Troubleshooting — Determining causes of operating errors and deciding what to do about it. 22


References 1.Richard Florida, M.K., The New Age of Capitalism: Innovation-Mediated Production. Futures, The Journal of Forecasting and Planning, 1993. July-August 1993: p. 637. 2.McKinney, P., The Creative Economy. 2008, Business Alliance Bootcamp for Growing Companies and Entrepreneurs-Tysons Corner, Virginia. 3.Florida, R. Resilience & Recession. 2008 3rd July 2009]; Available from: http://www.creativeclass.com/creative_class/2008/10/09/resilience-andrecession/. 4.Wikipedia, Global Labour Arbitrage, in Wikipedia. 2009. 5.Friedman, T.L. MNC Software Companies Are In India For IQ Suck. 2005 October 17, 2005 [cited 2009; Available from: http://www.outlookindia.com/article.aspx?228948. 6.Struggles, H., Mapping Global Talent, Essays and Insights. 2007, The Economist Intelligence Unit Ltd and Heidrick & Struggles International Inc. . 7.Kearney, A.T., The Shifting Geography of Offshoring. 2009. 8.Creative Economy Report 2008. 2008, UNCTAD: Geneva. p. 357. 9.Absorptive capacity. Available from: http://en.wikipedia.org/wiki/Absorptive_capacity. 10. Scott, A.J., Creative Cities: Conceptual issues and policy questions. Journal of Urban Affairs, 2006. 11. Hofstede, G. Geert Hofstede™ Cultural Dimensions. 2009 [cited 2009 20th October 2009]; Available from: http://www.geerthofstede.com/hofstede_dimensions.php. 12. Dobbins, M., Urban Design And People. 2009, New Jersey: John Wiley & Sons. 13. Charles Landry, F.B., The Creative City. 1995, Demos: London. 14. Martin, M.O., Mullis, I.V.S., & Foy, P., TIMSS 2007 International Science Report. 2008, TIMSS & PIRLS International Study Center, Boston College.: Chestnut Hill, MA. 15. Mullis, I.V.S., Martin, M.O., & Foy, P, TIMSS 2007 International Mathematics Report. 2008, TIMSS & PIRLS International Study Center, Boston College.: Chestnut Hill, MA. 16. Berger, M., Upgrading the System of Innovation in Late-Industrialising Countries – The Role of Transnational Corporations in Thailand’s Manufacturing Sector, in Faculty of Mathematics and Natural Sciences. 2005, Christian-Albrechts-Universität: Kiel. 17. Russel, N., What Foreign Companies Want from Thai Schools, in ThaiAmerican Business. 2007: Bnagkok. 18. Quick, L., Creating 21 st Century Capable Innovation Systems, Unleashing Creativity through Open Platform Innovation. 2004, New Commons. 19. Interbrand. Best Global Brands. 2009 [cited 2009 25th September]; Available from: http://www.interbrand.com/best_global_brands.aspx.

23


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.