นาฏกรรมอยุธยา

Page 1


อาจารย์ ดร.ธรรมจักร พรหมพ้วย สาขาว ิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาว ิทยาลัยรามคาแหง


ดู



นาฏศิลป์

นาฏยศิลป์

รา

นาฏกรรม

ละคร

ระบา 5

โขน


ชาวสยามมีการขับร้อง ฟ้อนรา ดนตร ี อยู่แล้วหรอไม่ ื ?

ร้อง รา ทาเพลง ระบา รา เต้น 6


มหรสพ ละคร

ละครรา – ละครนอก ละครใน ละครพันทาง ละครดึกดาบรรพ์

ละครพูด ละครพูดสลับลา ละครสังคีต ละครร้อง ละครปรดาลั ี ย

โขน

โขนกลางแปลง

หนัง

หนังใหญ่

หุ่น

หุ่นหลวง (หุ่นใหญ่)

การละเล่น

ระเบง โมงครุม ่ กุลาตีไม้ แทงว ิไสย กระอัว้ แทงควาย ญวนรา โคม

โขนโรงนอก โขนหน้าจอ โขนโรงใน โขนฉาก โขนพระราชทาน

หนังตะลุง หนังประโมทัย

หุ่นกรมพระราชวังบวรว ิไชยชาญ (หุ่นวังหน้า) หุ่นจีน หุ่นไหหลา หุ่นกระบอก หุ่นเล็ก ละครเล็ก (หุ่นละครเล็ก หุ่นโจหลุยส์)

ไม้สูง หกคะเมน เดินแพน ไต่ลวด


การกาหนดยุคสมัยในประวัติศาสตร์นาฏกรรม • แบ่งตามยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ • ก่อนประวัติศาสตร์ / บ้านเชียง ภาพเขียนสี • สมัยประวัติศาสตร์ / ลพบุร ี ทวาราวดี ศรวี ิชัย เชียงแสน สุโขทัย อยุธยา ธนบุร ี รัตนโกสินทร์ • แบ่งไปตามรัชกาลของกษัตรย์ิ • เพราะส่วนหนึง่ เป็นเรอื่ งราชสานัก เพราะศิลปะในยุค คลาสสิกต้องอาศัยระบบอุปถัมภ์ • หลวง / ราษฎร์


หลวง

ใน

เจ้า

ราษฎร์

นอก

ไพร่

วัฒนธรรมในนาฏกรรมไทย


กระบวนราและสามัญลักษณะในนาฏกรรมไทย • เพลงช้าเพลงเร็ว / ราเพลง • แม่บท พระ นาง • แม่ท่า ยักษ์ ลิง

• หน้าพาทย์พื้นฐาน / เชิด เสมอ รัว โอด

วง

เหลี่ยม

ยืด

ยุบ

• หน้าพาทย์ชน ั้ สูง

• ราอาวุธ / ราทวน รากรชิ ราง้าว ไม้รบ ไม้บู๊

• ราบท / ใช้บท ตีบท • การราบทเป็นปฏิภาณมากกว่าเป็นการสืบ กระบวนท่า • กระบวนราเฉพาะโขนละครตอนต่างๆ


ประวัติศาสตร์นาฏรรมไทย • • • • • •

ก่อนสยาม ก่อนไทย อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมจีน อารยธรรมขอม อาณาจักรน่านเจ้า ? การก่อรูปในรัฐสยาม

• • • • • • •

ลพบุร ี ทวารวดี ศรวี ิชัย สุโขทัย อยุธยา ธนบุร ี รัตนโกสินทร์


การพิจารณาประวัติศาสตร์นาฏกรรม กระบวนรา

ตัวบท

• ราเพลง

• บทละคร

• แม่บท

• วรรณคดี

• แม่ทา่

• จารกึ

• เพลงหน้าพาทย์

• จดหมายเหตุ

• ราบท

• พงศาวดาร

• หมายรับสัง ่ • จดหมายโต้ตอบ

หลักฐาน • จิตรกรรม • ประติมากรรม • สถาปัตยกรรม • ภาพถ่าย • การบันทึกเสียง ่ นไหว • ภาพเคลือ



ภาพยนตร์ • สุรโยทั ิ ย • สมเด็จพระนเรศวร ละคร • บุพเพสันนิวาส • ศรอโยธยา ี Animations • ก้านกล้วย

หนังสืออ้างอิง • พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ฉบับหลวงประเสรฐิ ฉบับบรติ​ิ ชมิวเซียม • ว ิวัฒนาการนาฏยศิลป์กรุงรัตนโกสินททร์, สุรพล ว ิรุฬห์รก ั ษ์. • จดหมายเหตุลาลูแบร์ • จดหมายเหตุความทรงจากรมหลวงนรนทรเทว ิ ี (เจ้าครอกวัดโพธิ)์ • โยเดียกับราชวงศ์พม่า, มิคกี้ ฮาร์ท • อยุธยาอาภรณณ์, สมภพ จันทรประภา

แต่ ละคร ไม่ใช่สารคดีประวัติศาสตร์


ความเสื่อมของอาณาจักรขอมทีเ่ มืองพระนคร

รัฐสุโขทัย พ.ศ. ๑๗๘๑ รัฐละโว้ (ลพบุร)ี

รัฐสุพรรณบุร ี

เมืองอโยธยา • • •

พระเจ้าพแนงเชิง พ.ศ. ๑๘๖๗ (ก่อนตัง ้ กรุง ๒๖ ปี) ซาปอกง / ตานานพระเจ้าสายน้าผึง้ พระพุทธไตรรัตนนายก

กรุงศรอยุ ี ธยา พ.ศ. ๑๘๙๓


แผนที่แสดงดินแดนของอาณาจักรขอม ราว พ.ศ.๑๔๔๓


ประดุจเกาะอสุรลงกา ี

แผนที่กรุงศรอยุ ี ธยาและเมืองสาคัญ


เสียกรุง ครัง้ ที่ ๑

พระเจ้าอูท ่ อง สถาปนากรุง

• ราชวงศ์สุโขทัย • ราชวงศ์ปราสาททอง • ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง

• ราชวงศ์อท ู่ อง (ละโว้-อโยธยา) • ราชวงศ์สุพรรณภูมิ

1893 • • • • • • • •

๒๑๙ ปี

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอูท ่ อง) สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (พระเชษฐาธิราช) สมเด็จพระไชยราชาธิราช ขุนวรวงศาธิราช สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเจ้าช้างเผือก) สมเด็จพระมหินทราธิราช

2112 • • • • • • • • •

๑๙๘ ปี

เสียกรุง ครัง้ ที่ ๒

2310

กรุงธนบุร ี กรุงรัตนโกสินทร์

สมเด็จพระนเรศวร สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (สรรเพ็ชญ์ที่ ๕) สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเพทราชา สมเด็จพระสรรเพ็ชญ์ที่ ๘ (พระเจ้าเสือ) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสุรยามร ิ นทร์ ิ (พระเจ้าเอกทัศน์)


นารายณ์อวตาร • อวตาร – ข้ามลงมา นารายณ์สิบปาง • รามาวตาร - รามเกียรติ์ • กฤษณาวตาร – อุณรุท • กูรมาวตาร • มัสยาวตาร • นรสิงหาวตาร • ฯลฯ

รามายณะ รามเกียรติ์ เมืองอโยธยา • เมืองของพระราม เมืองทวารวดี • เมืองของพระกฤษณะ

กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรัมย์ เหมือนด้วยนามสมเด็จพระรามนารายณ์อวตารอันผ่านกรุงศรีอยุธยาแต่กาลก่อน


นาฏกรรมอยุธยา • เป็นเครอื่ งเล่นบันเทิงธรณี • ใช้ในพระราชพิธี • พระราชพิธี ๑๒ เดือน เช่น พระราชพิธแ ี ห่สระสนานใหญ่ พระราชพิธจ ี องเปรยง ี • พระราชพิธจ ี ร เช่น กลบบัตรสุมเพลิง (พลีวง ั ) • พระราชพิธพ ี ิเศษ เช่น พระราชพิธอ ี น ิ ทราภิเษก พระราชพิธเี บญจาเพศ • ใช้เป็นมหรสพสมโภชในงานของหลวง • ฉลองพระอาราม • สมโภชช้างเผือก • สมโภชในงานพระเมรุ 20



สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ พระเจ้าอูท ่ อง

สถาปนากรุงศรอยุ ี ธยา พ.ศ. ๑๘๙๓ ราชวงศ์อู่ทอง


กฎมณเทิยรบาล พ.ศ.๑๙๐๑

(หลังตั้งกรุง ๘ ปี)


นาฏกรรมในพระราชพธีิ



พระราชพธีิ สนานใหญ่ แห่สระสนาน


พระราชพิธส ี นานใหญ่ • “เมื่อแรกเสดจ์ออกฬ่อช้าง ระแทะวัวชน กระบือชน ชุมพาชน ช้างชน คนชน ปรบไก่ คลีชลโคน ปล้​้ามวย ตีดั้ง ฟันแย้งเชีงแวงเล่นกลคลีม้า รุ่งแล้วนาฬิกาหนึ่ง ช้างเข้ายืนกระบวนในสนาม สองนาลิกาเอาช้างเข้ามาบราม ลูกขุนชุมตีมหรทึกลาหนึ่ง เอาช้างออกยืนทีเ่ บีกลุกขุนทังพระส้าอาง ๓ นาลิกาตีหรทึก ๒ ลา เสดจ์หอพระเบีก พระราชกุมารพระราชนัดดาเรียกพระราเชนทร ๔ นาลิกาตีหรทึก ๓ ลา เสดจ์ถึงพระธีน่ ั่ง พระอาลักษณขึ้น สนองพระโอษฐ ขุนราชหัวพันเข้าที่นั่งที่ชนกลอนสนามห้ามผู้คน เชีญเสดจ์พระพุทธเจ้าเดสจ์ที่นั่ง ตีห้าลา เสดจ์ ออกเบีกราชกุศลถวายบังคม ตี ๗ ลา เรียกม้าฬ่อช้าง ระเบงซ้ายขวา ร้าดาบซ้ายขวา ระบ้าออกหม่งครุ่ม พันพานน้าหม่งครุ่มหน้ากลองตีไม้พุ่งหอก เล่นแพนยิงธนูปลายไม้ลอดบ่วงใต่เชีอกหนังตีหรทึกเก้าลา ยกช้าง เลี้ยงหม่งครุม่ ชแม่แล้วคลีชงโคน ถ้ามีแขกเมืองเฝ้าแลเสดจ์ทรงคลีม้าไซ้สมเดจ์หน่อพระพุทธเจ้าสมเดจ์พระ พรรณเมศวรเจ้าพระราชกุมารนา ๑๐๐๐๐ โทนา ๕๐๐๐ หัวเมืองราชกุล ขุนม้าทัง ๔ ขุนราชชักโคน ถ้าทรงคลีเจ้าพญาชักโคนฯ จบการสนานใหญ่”


พระราชพิธอ ี าศยุช, อาสยุช • “เดือน ๑๑ การอาสยุชพิทธี มีหม่งครุ่มซ้ายขวา ระบ้าหรทึกอินทรเภรีดนตรี เช้าธรงพระมหามงกุฎราชา ประโภก กลางวันธรงพระสุพรรณมาลา เอย็นธรงพระมาลาสุกหร่้าสภักชมภู สมเดจ์พระอรรคมเหษี พระภรรยา ธรงพระสุวรรณมาลา นุ่งแพรลายทองธรงเสื้อ พระอรรคชายาธรงศิรเพศมวยธรงเสื้อ พระสนมใส่สนองเกล้า สภักสองบ่า สมรรถไชยเรือต้น สรมุกขเรือสมเดจ์พระอรรคมเหษี สมรรถไชยไกรสรมุกขนั้นเปนเรือเสี่ยงทาย ถ้าสมรรถไชยแพ้ไซ้ เข้าเหลือเกลืออิ่มศุกขเกษมเปรมประชา ถ้าสมรรถไชยช้านะไซ้จะมียุข”


โมงครุม่


พระราชพิธจ ี องเปรยง, ี ตองเปรยง ี • “เดือน ๑๒ การพิธีตองเปรียง ลดชุดลอยโคมลงน้​้า ตั้งระทาดอกไม้ในพระเมรุ์ ๔ ระทา หนัง ๒ โรง เสดจ์ลง เรือเบญจา ๕ ชั้น พระที่นั่งชั้น ๔ นั้น สมเดจ์พระอรรคมเหสีแม่หยั่วเจ้าเมืองชั้น ๓ ลูกเธอชั้น ๒ หลานเธอ ชั้นหนึ่ง พระสนมห่มชมภูใส่สุกหร่้าประธีปทัง ๕ ชั้น เรือปลาลูกขุนเฝ้าหน้าเรือเบญจา เรือตะเข้แนมทังสองข้าง ซ้ายดนตรีขวามโหรีตั้งเรือเอนเปนตั้งแพนโคมทุกล้า ถ้าเสดจ์ลงเป่าแตรโห่ ๓ ลา เล่นหนังระบ้า เลี้ยงลูกขุนแล ฝ่ายใน ครั้นเลี้ยงแล้วตัดถมอแก้เอน โห่ ๓ ลา เรือเอนตั้งแพนแห่ ตัดถมอลอยเรือพระธีน่ ั่งล่องลงไปส่งน้​้า ครั้น ถึงพุทไธสวรรคจุดดอกไม้เล่นหนัง เสดจ์ลงเรือสมรรถไชย กับสมเดจ์พระภรรยาเจ้าทั้ง ๔ ลูกเธอหลานเธอพระ สนมลงเรือประเทียบขึ้นมาข้างเกาะแก้ว”


พระราชพิธจ ี องเปรยง ี จิตรกรรมวัดเสนาสนาราม จ.พระนครศรอยุ ี ธยา


พิธก ี ลบบัตรสุมเพลิง, พลีวง ั • แก้เสนียดจัญไร

• “อนึ่งวิวาทตบตีฟันแทงกัน ให้โลหิตตกในพระราชวังก็ดี แลหญิงสาวใช้ทาษไท ผู้ใดคลอดลูก แท้งลูกในพระราชวังก็ดี ท่านให้มันพลีวังท่าน ให้ตั้งโรงพิทธี ๔ ประตู ใบศรี ๔ ส้ารับ บัด ๕ ชั้น ๔ อัน ไก่ประตูละคู่ ให้วงด้าย วงคา รอบพระราชวัง นิมนพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ๓ วัน ให้หาชีพอ่ พราหมณ์ซึ่งรู้ พลีกรรมบ้าบวงตามธรรมเนียมให้มีระบ้าร้าเต้นพิณพาทฆ้องกลองดุริยดลตรี ประโคมทัง ๔ ประตู ครั้นเสรจ์การพิทธีแล้วจึ่งให้เอาไก่นั้นไปปล่อยเสียนอก เมือง ให้มันภาสะเดียดจัญไรไภยอุปทั ว ไปให้พ้นพระนครท่าน”


สมเด็จพระราเมศวร ราชวงศ์อท ู่ อง (แรกประทับ ณ ละโว้)


พระนครหลวง ขอม

สุพรรณบุร ี มอญ

เทครัว อยุธยา

ละโว้ ขอม

เชียงใหม่ พัทลุง สงขลา นครศรธรรมราช ี จันทบุร ี


"พระเจ้าอยู่หัวเสด็จเข้าเมืองพิษณุโลก นมัสการพระชินราช เปลื้องเครื่องต้น ท้าสักการะบูชาสมโภช ๗ วัน เสด็จลงมา พระนคร“ ปีระกา จุลศักราช ๗๕๕ พ.ศ. ๑๙๓๖ พระเจ้ากดมบอง ทรงราชย์อยู่ ณ พระนครหลวง พระเจ้ากรุงศรีอยุธยายกทัพ ไปกวาดต้อนครัวเขมร ๙๐,๐๐๐ เข้ามากรุงศรีอยุธยา


สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ เจ้าสามพระยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิ


เมืองพระนคร นครหลวง นครธม Angkor Thom สมเด็จเจ้าสามพระยา เสด็จตีใน พ.ศ. ๑๙๗๔ แล้วเทครัวลงมา



ศักราช ๗๙๓ กุนศก (พ.ศ. ๑๙๗๔) สมเด็จพระบรม ราชาเจ้า เสด็จไปเอาเมืองนครหลวงได้ แลท่านจึงให้พระราช กุมารท่าน พระนครอินทร์เจ้าเสวยราชสมบัติ ณ เมืองนคร หลวงนั้น ครั้งนั้นท่านจึงให้พระยาแก้ว พระยาไทย แลรูปภาพ ทั้งปวง มายังพระนครศรีอยุธยา


ปีฉลู จุลศักราช ๗๘๓ พ.ศ. ๑๙๖๔ เสด็จไปตีพระนครหลวงได้ "หนังสือทุกเรื่องรับถูกต้องกัน ว่าสมเด็จพระ บรมราชาธิราชได้พระนครหลวงครั้งนั้นกวาดครอบครัวเขมรมามาก หนังสือพระราชพงศาวดารว่า เอาพระยาแก้ว พระยาไทย กับทั้งรูปพระโค รูปสิงห์สัตว์ทั้งปวงมาด้วย พระยาแก้ว พระยาไทยนั้น เห็นจะเป็นเชื้อพระวงศ์กัมพูชา ต้าแหน่งพระยาแก้ว พระยาไทยนี้ชอบกล ต้นต้ารับเดิมจะมาแต่ไหนยังไม่ทราบ แต่ในเมืองไทยนี้ก็เหมือนเมืองเขมร เจ้าไทยๆ ที่ว่านั้น เป็นต้าแหน่งอย่างเดียวกับพระยาแก้ว พระยาไทยนั่นเอง ต้าแหน่งเจ้าแก้วเจ้าไทยยังมีอยู่ในกรุง ศรีอยุธยาต่อลงมาอีกนาน ปรากฏเรียกพระองค์แก้ว มีจนในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ แต่พระยาไทยนั้นเห็นจะ เปลี่ยนเป็นทองเมือ่ ภายหลังมีนามเรียกว่าพระองค์ทอง ปรากฏทั้งในแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรและแผ่นดินสมเด็จ พระนารายณ์ เข้าใจว่าเป็นชื่อต้าแหน่งคู่กับพระองค์แก้ว แต่รูปพระโคที่กล่าวในที่นี้ ข้าพเจ้าเข้าใจว่าจะเป็นรูป เดียวกับโคสัมฤทธิ์ที่อยู่ที่พระพุทธบาทเดี๋ยวนี้"


รชกาลสมเด็ จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ เจา้ สามพระยา ั • สมเด็จพระบรมราชาที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) ยกกองทัพไปตีพระนครหลวง (นครธม) กวาดต้อนชาวขอม ตลอดจนทรัพย์สมบัติ ศิลปวัตถุและผูท ้ รงความรูม ้ ายังกรุงศรอยุ ี ธยา เป็นจานวนมาก ซึ่งน่าจะรวมนักราของขอมมาด้วย - ศิลปการณี ิ (มีผส ู้ ันนิษฐานว่ามีเชลยชาวขอมมากถึง ๘๐,๐๐๐-๒๐๐,๐๐๐ คน)

• เชื่อกันว่ามีการถ่ายโอนรูปแบบนาฏศิลป์ของชนชาติขอมสู่อาณาจักรสยาม ในช่วงนี้เป็นครัง้ แรก

• นักว ิชาการตะวันตก (โดยเฉพาะชาวฝรัง่ เศส) มักกล่าวว่า สยามได้รบ ั อิทธิพลนาฏศิลป์ขอม ก็เพราะได้มก ี ารกวาดต้อนนักราไปจากเมืองพระนคร ซึ่งโดยแท้จรงแล้ ิ วสยามมีรป ู แบบของ การฟ้อนราและมหรสพประเภทต่างๆ ตั้งแต่ก่อนเข้าตีขอม ดังที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาล

• “แต่จากหลักฐานในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อู่ทอง) นั้นปรากฏชื่อหนังใหญ่และระบ้าก่อนตีขอมได้ถึงประมาณ ๗๓ ปี นอกจากนี้ หนังใหญ่และระบ้าควรจะได้รับการพัฒนามาก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เพราะระบ้ามีในสมัยสุโขทัยแน่นอน ส่วนหนัง ๘ โรงที่แสดงต่อเนื่องกัน ๑๕ วัน เมื่อ พ.ศ. ๑๙๐๑ หลังตั้งกรุงเพียง ๘ ปีนั้น คงไม่เกิดขึ้นด้วยปาฏิหาริย์ แต่ต้องมี วิวัฒนาการมาก่อนหน้านี้นานมาก” (สุรพล วิรุฬห์รักษ์, หน้า ๒๒)


รูปหล่อส้าริดรูปช้างเอราวัณ เดิมประดิษฐานอยู่ที่ปราสาทนาคพัน กัมพูชา สยามตีเมืองพระนครได้ เชิญมาไว้ที่วัดพระศรีสรรเพ็ชญ์ กรุงศรีอยุธยา พม่าตีสยามได้ เชิญไปไว้ที่เมืองหงสาวดี ยะไข่ตีหงสาวดีได้ จึงเชิญไปไว้ที่วัดพระมหามัยมุณี เมียนมาร์ ธรรมจักร พรหมพ้วย บันทึกภาพเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๖



สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ


ขึ้นเสวยราชสมบัติทรงพระนามสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถยกวังท้าเป็นวัดพระศรีสรรเพชญเสด็จมาอยู่ริมน้​้า จึงให้สร้าง พระที่นั่งเบญจรัตนมหาปราสาทองค์หนึ่ง สร้างพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทองค์หนึ่ง



พระนครบาลเมือง

เวย ี ง

วงั

คลงั

นา

พระโกษาธิบดี

พระธรรมาธิกรณ์

พระเกษตราธิบดี


ประเทศราชฝ่ายเหนือ

ประเทศราชฝ่ายใต้

เมืองพระยามหานคร

• เมืองนครหลวง

• เมืองอุยองตะหนะ

• เมืองพิษณุโลก

• เมืองศรสัี ตนาคนหุต

• เมืองมะละกา

• เมืองศรสัี ชนาลัย

• เมืองเชียงใหม่

• เมืองมลายู

• เมืองสุโขทัย

• เมืองตองอู

• เมืองวรวาร ี

• เมืองกาแพงเพชร

• เมืองเชียงไกร

• เมืองนครศรธรรมราช ี

• เมืองเชียงกราน

• เมืองนครราชสีมา

• เมืองเชียงแสน

• เมืองตะนาวศร ี

• เมืองเชียงรุง้

• เมืองทวาย

• เมืองเชียงราย • เมืองแสนหว ี • เมืองเขมราช • เมืองแพร่ • เมืองน่าน • เมืองใต้ทอง • เมืองโคตรบอง


พระไอยการตาแหน่งนาพลเรอน ื นาทหาร นาหัวเมือง พ.ศ.๑๙๙๘

49

ตาแหน่งละครและดนตรคูี ่กัน มีขอ ้ ห้ามเรอื่ งการดนตร ี เช่น สีซอเป่าขลุ่ยเมื่อผ่านเขตพระราชฐาน การเล่นเสภา - เล่านิทาน


ขุนสุวรรณวิจิตรจางวาง พนักงานปี่พาท ... ขุนไฉนไพเราะห์ นา นายวงสี่คน นาคล เลว นาคล ไม้ต่้าสูง... ขุนทหารวิเศศเหิน... หมื่นเหินเวลาเหาะ นาคล หมื่นเสนาะภูบาล เจ้ากรมขวา นาคล หมื่นโวหารพิรมย เจ้ากรมซ้าย นายโรง นา ยืนเครื่องรอง นาคล นางเอก ยืนเครื่องเลว นาคล นางเลว จ้าอวด นา

นา ๔๐๐ พนักงานหนัง ... ๒๐๐ ๕๐ ๓๐ ๒๐๐ ๔๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๘๐ ๕๐


มีคณะละครเกิดขึ้นแล้ว จ้าแนกบทบาท หน้าที่ในการแสดง มีค้าว่า โรงร้า และ ร้า เกิดขึ้นก่อนแล้ว



ศักราช ๘๔๔ ขาลศก (พ.ศ. ๒๐๒๕) ท่านให้เล่นการมหรสพ ๑๕ วัน ฉลองพระศรีรัตนมหาธาตุ แล้วจึงพระราชนิพนธ์มหาชาติ์ ค้าหลวงจบบริบูรณ์


พระศร ีสรรเพชญดาญาณ


ฉบับหลวงประเสริฐ ศักราช ๘๖๒ วอกศก (พ.ศ. ๒๐๔๓) สมเด็จพระรามาธิบดีเจ้า แรกให้หล่อพระพุทธเจ้าศรีสรรเพชญ์ แลแรกหล่อในวัน ๑๘๖ ค่้า ครั้นเถิงศักราช ๘๖๕ กุนศก (พ.ศ. ๒๐๔๖) วัน ๖๑๑๘ ค้่าฉลองพระพุทธเจ้าพระศรีสรรเพชญ์ คณนา พระพุทธเจ้านั้น แต่พระบาทเถิงยอดพระรัศมีนั้น สูงได้ ๘ วา พระพักตร์นั้นยาวได้ ๔ ศอก กว้างพระพักตร์นั้น ๓ ศอก แล พระอุระนั้นกว้าง ๑๑ ศอก แลทองหล่อพระพุทธเจ้านั้นหนัก ๕ หมึน่ ๓ พันชั่ง ทองค้าหุ้มนั้นหนักสองร้อยแปดสิบหกชั่ง ข้างหน้านั้นทองเนื้อ ๗ น้​้าสองขา ข้างหลังนั้นทองเนื้อ ๖ น้​้าสองขา ฉบับพระราชหัตถเลขา สร้างพระพุทธรูปศรีสรรเพชญ์ ปีมะแม จุลศักราช ๘๖๑ พ.ศ. ๒๐๔๒ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ทรงสร้างพระวิหาร หลวงในวัดพระศรีสรรเพชญ์ ถึงปีวอก จุลศักราช ๘๖๒ พ.ศ. ๒๐๔๓ ณ วันอาทิตย์ ขึ้น ๘ ค่้า เดือน ๖ ให้หล่อ พระพุทธรูปยืนขนาดใหญ่ไว้ในพระวิหารนี้พระองค์หนึ่งถวายพระนามว่า "พระศรีสรรเพชญ์" ขนาดพระพุทธรูปองค์นี้ บอกไว้ ในพระราชพงศาวดารว่า สูงถึง ๘ วา หล่อแล้วหุ้มทองค้า เป็นทองหนักถึง ๒๘๖ ชั่ง...เมื่อหล่อพระองค์นี้เห็นจะเลื่องลือ เป็นพระเกียรติยศมาก ท้าอยู่ ๓ ปีจึงแล้วได้ฉลองเมื่อวันศุกร์ ขึ้น ๑๑ ค่้า เดือน ๘ ปีกุน จุลศักราช (ตามฉบับหลวง ประเสริฐ) ๘๖๕ พ.ศ. ๒๐๔๑


สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ พระเชษฐาธิราช ราชวงศ์สุพรรณภูมิ


• ศักราช ๘๕๘ มะโรงศก (พ.ศ. ๒๐๓๙) ท่านประพฤติการเบญจาพิธพระองค์ท่าน แลให้เล่นการดึกด้าบรรพ์ • “แปลไม่ออกท้าอะไร ถ้าจะเดาตามความรู้ในเวลานี้น่าจะเดาว่าเมื่อสมเด็จพระรามาธิบดี พระชนมมายุครบ ๒๕ พรรษา ถ้าการพระราชพิธีอย่างเฉลิมพระชันษาและให้เล่นโขนเป็นทีแรกในคราวนั้น เพราะศักราชตาม หลวงประเสริฐว่า ท้าพิธีเบญจาพิศ เมื่อปีมะโรง จุลศักราช ๘๕๘ พ.ศ. ๒๐๓๙ ปี นั้น พระชันษาสมเด็จ พระรามาธิบดีได้ ๒๕ ปี...” (สมเด็จฯ กรมพระยาค้ารงราชานุภาพ)


พระราชพิธอ ี น ิ ทราภิเษก

• “การพระราชพิทธีอินทราภิเษกตั้งพระสุเมรุ์สูงเส้น ๕ วา ในกลางสนามนั้น พระอินโทรนั่งบนพระสุเมรุ์ อิสินธรยุคุนธรสูงเส้นหนึ่งกรวิกสูง ๑๕ วา เขาไกรลาศสูง ๑๐ วา ฉัตรทองชั้นในฉัตรนาคชั้นกลาง ฉัตรเงีนชั้นนอก แลนอกนั้นราชวัตฉัตรเบญจรง ใต้ฉัตรรูปเทพดายืน นอกฉัตรราชวัตรรั้วไก่ ฉัตรกระดาดรูปยักษคนธรรภ รากษษยืนตีนพระสุเมรุ์ รูปคชสีหราชสีห สิงโต กิเลน เยียงผา ช้าง โค กระบือ แล เสือหมี มีรูปเทพดานั่งทุกเขาไกร ลาศ รูปพระอิศวรเปนเจ้าแลนางอุมาภควดี ยอดพระสุเมรูรูปพระอินทรรูปอสูรอยู่กลางพระสุเมรุ์ รูปพระนารายณ์บันทมสิน ในตีนพระสุเมรุ์ นาค ๑ ศีศะเกี้ยวพระสุเมรุ์นอกสนามอสูรยืนนอกก้าแพง โรงร้าระทาดอกไม้มหาดไทบ้าเรอห์ สนองพระโอษฐด้ารวจเลกเปนรูปอสูร ๑๐๐ มหาดเลก เปนเทพ ดา ๑๐๐ เปนพาลี สุครีพ มหาชมภูแลบริวารพานร ๑๐๓ ชักนาคดึกด้าบรร อสูรชักหัวเทพดาชักหาง พานรอยู่ปลายหาง พระสุเมรุ์เหลี่ยมหนึ่งทอง เหลี่ยมหนึ่งนาค เหลี่ยมหนึ่งแก้ว เหลี่ยมหนึ่งเงีน เขายุคุนธรทอง อิสินธรนาค กรวิกเงีน ไกรลาศเงีน รอบสนามข้างนอกตั้งช้างม้าจัตุรงพล นา ๑๐, ๐๐๐ ใส่ศิรเพศห่มเสื้อนุ่งแพรเคารพ นา ๕,๐๐๐ ใส่หมวกทองห่มเสื้อนุ่งแพรจ้ารวจ นา ๓,๐๐๐ หมวกแพร เทศ ห่มเสื้อนุ่งแพร นา ๒,๔๐๐ ลง มาถึง นา ๑,๒๐๐ ถือดอกไม้เงีนดอกไม้ทองตามต้าแหน่ง เข้าตอกดอกไม้ถวายบังคมพราหมณาจารย โยคีโภคีอาดาลตบศิวนั่งในราชวัต วันแรกการ อธิภาศในวัน ๒ ราบอันก่อวัน ๓ สรางอันก่อวัน ๔ จบสมิทวัน ๕ ชักดึกด้าบรรวัน ๖ ตั้งน้​้าสุรามฤตย ๓ ตุ่ม ตั้งช้าง ๓ ศิศ ม้าเผือก อุศุภราช ครุทธราชนางดาราหน้าฉาน ตั้งเครื่องสรรพยุทธเครื่องช้างแลเชือกบาศ หอกไชย ตั้งโตมรของ้าว ชุบน้​้าสุรามฤตย เทพดาผู้ดึกด้าบรรร้อยรูป พระ อิศวรพระนารายน์ พระอินทพระพิศวกรรม์ถือเครื่องส้ารับตามท้าเนียมเข้ามาถวายพระพรวันค้ารพ ๗ พราหมณาจารยถวายพระพรวันค้ารพ ๘ ท้าว พญาถวาย วันค้ารพ ๙ ถวายช้างม้าจัตุรงค วันค้ารพ ๑๐ ถวาย ๑๒ พระคลังวัน ๑๑ ถวายส่วยสัตพัทยากรวัน ๑๒ ถวายเมือง ๑๓ ถือน้​้าสุรา มฤตยวัน ๑๔ ยกบ้านานเทพดาวัน ๑๕ ยกรางวันท้าวพญา วัน ๑๖ ยกรางวันลูกขุนหมื่นวัน ๑๗ พระราชทานแก่พราหมณาจารยวัน ๑๘ ซัด กรรมพฤกษวัน ๑๙ วัน ๒๐ วัน ๒๑ สามวัน ปรายเงีนทองสามวัน เล่นการมโหรสพเดือนหนึ่ง ตั้งรูปกุมภกรรณท์ตรงฉานสูงเส้นหนึ่ง มหาดเลก เปนพานร ลอดออกแต่ใน หู ตา จมูก ปาก } ครั้นเสรจ์การเสดจ์ด้วยพระราชรถให้ทานรอบเมือง จบการอินทราภิเษก”



กวนเกษยรสมุ ทร ี ชักนาคดึกดาบรรพ์

ตึก – น้า กระบัน – ตา : กุรมาวตาร



ฉากลายรดน้า พระที่นงั่ ดุสิตมหาปราสาท รูปพระราชพิธอ ี น ิ ทราภิเษก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉาย


เรม ่ ิ มีพระราชไมตรกัี บฝรัง่ คือ โปรตุเกส เมื่อปีขาล จุลศักราช ๘๘๐ พ.ศ. ๒๐๖๑ ตรงกับ ค.ศ. ๑๕๑๘


• พ.ศ. ๒๐๓๙ รัชกาลพระเจ้ามานูเอลแห่งโปรตุเกส วาสโกดากามา แล่นเรือมาถึงอินเดีย / ถึงปีขาล จุง ศักราช ๘๘๐ พ.ศ. ๒๐๖๑ พระเจ้ามานูเอล โปรดให้ดวดเต โคเอลโล เป็นราชทูตเข้ามาขอท้าสัญญาทางพระ ราชไมตรีกับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาทรงยินดีรับเป็นไมตรีกับโปรตุเกส พระราชทานให้ ตั้งห้าง ไปมาค้าขายที่กรุงศรีอยุธยาและที่เมืองปัตตานีได้ตามประสงค์ ... แต่มาปรากฏว่าโปรตุเกสได้รับอนุญาต ให้ไปตั้งห้างค้าขายที่เมืองนครศรีธรรมราช และเมืองมะริดอีกสองเมือง (หน้า ๒๕๔) • การที่โปรตุเกสมาเป็นไมตรีกับไทยก็ดี กับมอญก็ดี ไม่มาเกะกะวุ่นวายเหมือนกับเมืองแขกในอินเดีย เพราะสอง ประเทศนี้นับถือพุทธศาสนา ไม่มีสาเหตุที่จะวิวาทกันด้วยเรื่องลัทธิศาสนาประการ ๑ อีกประการหนึ่ง ทั้งสอง ประเทศเป็นประเทศใหญ่ ที่มีอ้านาจปกครองบ้านเมืองได้สิทธิ์ขาด โปรตุเกสจะท้าร้ายไม่ได้เหมือนในอินเดีย จึง มาค้าขายอยู่แต่โดยดี ใช่แต่เท่านั้น ยังมีพวกฝรั่งโปรตุเกสที่คิดหาสินค้าโดยล้าพังตัว พากันเข้ามาอยู่ในบ้านเมือง มารับจ้างเป็นทหารท้าการรบพุ่งให้ทั้งไทยและมอญ... (หน้า ๒๕๕)


สมเด็จพระไชยราชาธิราช ราชวงศ์สุพรรณภูมิ


ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรอยุ ี ธยาและหัวเมืองฝ่ายใต้ เช่น นครศรธรรมราช ี • พระอรรคมเหสีของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระราชธิดาของกษัตรย์ิ แห่งนครศรธรรมราช ี • สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระราชทานพระราชบุตรองค์ ี หนึง่ ให้ขุนอินทรเทพ



สมเด็จพระมหาจกั รพรรกิ พระเจ้าช้างเผือก ราชวงศ์สุพรรณภูมิ



สมโภชช้าง

• ตาราพระคชลักษณ์ ตาราคชกรรม ตาราคชศาสตร์ • ช้างสาคัญ ช้างเผือก ช้างต้น

• “เมื่อพบแล้วจะชักน้าให้ท้าพิธี ๗ วัน แล้วจึ่งเอาด้ายตีบาศทางบาศ เมื่อ คล้องติดหนัง ๘ โรง ร้า ๘ โรงสมโพท ๗ วัน เหล้นมหรรสพ ๑๕ วัน จึ่งเอาลงขนานเหล้นหนังร้ารวดมาถึงพระนคร แลเมื่อถึงพระนครแล้ว เหล้นมหรรสพสมโพท ๑๕ วัน” สมโภชนอก สมโภชในเมื่อยืนโรง


เสียกรุงศรอยุ ี ธยา ครัง้ ที่ ๑ พ.ศ. ๒๑๑๒


พระเจ้าบุเรงนอง แห่งพม่า พระเจ้าสิบทิศ

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ แห่งสยาม พระเจ้าช้างเผือก


Break Section


สมเด็จพระมหาธรรมราชา

ราชวงศ์พระร่วง


สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๕ พระเจ้าปราสาททอง ราชวงศ์ปราสาททอง


76

การรับเอาอิทธิพลวัฒนธรรมขอม • สมัยสมเด็จพระราเมศวร • สมัยสมเด็จเจ้าสามพระยา • สมัยพระเจ้าปราสาททอง




รชกาลสมเด็ จพระเจา้ ปราสาททอง ั

สร้างวัดไชยวัฒนาราม สร้างปราสาทนครหลวง (นครธมจาลอง) สร้างพระที่นงั่ จักรวรรดิไพชยนต์มหาปราสาท สร้างวัดชุมพุลนิกายาราม สร้างพระปรางค์วด ั มหาธาตุ แทนของเก่าที่ถก ู ทาลาย เสด็จโดยกระบวนพยุหยาตรานมัสการพระพุทธบาท มีการ มหรสพสมโภช ๗ วัน • พระราชพิธล ี บศักราช • พระราชพิธอ ี น ิ ทราภิเษก • • • • • •


สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๓ พระนารายณ์มหาราช ราชวงศ์ปราสาททอง


รชกาลสมเด็ จพรารายณ์ ั • พระราชพิธเี บญจาเพส • ราชทูตแห่งพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ฝรัง่ เศส มาเจรญสั ิ มพันธไมตร ี • ส่งราชทูตสยามไปเจรญสั ิ มพันธไมตรที​ี ่ฝรัง่ เศส




“เภรียสทาลสเท่อนสนามฆ่องชั่ย แตร้สงงต่ร่ฆงงเส่ยศัย่ ปี่แกว ปี่ยไฉนย บรรดาส่เนาะด่ลตริ่ย ม่โหริ่ยพิ่ภกเส่ยงสัย่ ร่บ้าก่จะปิ่ย พิณทับแลขับเภล้ง เภรงเภราะส่เนาะวงงเวงรับรองตองเภลง ส้าเหนิย่ งเส่ยงคฤเภล้งสวัล ไหเหล้นม่รโหร่ส่พเจ้ดวัรร นา ๆ ทุก สรร สนรรสเทิ่นเกลิ่อลกลอน ลอดบวงไตยหนังนังนอน ห่กตุงบล ปลายใมร้า หุนโขนไทยช่วาถิ๊บปล้า ถอดกริดงาร้า ก้ท้าเปรเภด นา ๆ ทัวลวรคลาลช้ลนักณ้าตาง ๆ ภาสา ภัรรนาแต่ภ่อใดมิ่ย” เนมิราชกลอนสวด


๏ ประดับด้วยพระสนม ร่ายร้าลบองลอง

อันหนุ่มหน้าคือแว่นทอง คณคีตดนตรี สมุทโฆษค้าฉันท์


ครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระบรมนาถบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว เสด็จทรงพระราชด้าเนินขึ้นไป นมัสการพระพุทธบาททุกปี ๆ มิได้ขาด และเสด็จ ประทับอยู่ ณ พระราชนิเวศน์ธารเกษม ทรงพระ กรุณาให้เล่นการมหรสพถวายพุทธสมโภชสามวัน ตามบุราณราชประเพณีแล้ว ก็เสด็จกลับยังเมือง ลพบุรี


จดหมายเหตุลาลูแบร์ รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช • Du Royaume de Siam 1687 • พ.ศ. ๒๒๓๐ โดยซีมง เดอ ลา ลูแบร์ อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่ง ฝรัง่ เศส ซึ่งเข้ามาจาทูลพระราชสาส์น ณ กรุง สยาม • ได้เห็น โขน ละคร ระบา เพลง ดนตร ี ของชาว สยาม

87


จดหมายเหตุลาลูแบร์

บทที่ ๖ ว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอืน ่ ของชาวสยาม

• ว ิธีจบ ั ช้างเถื่อน • ชาวสยามคิดเห็นช้างเป็นอย่างไร • ชาวสยามลาช้างสารเชือกที่พระเจ้ากรุงสยามพระราชทานไปส่งเมืองฝรัง่ เศส อย่างไร • ช้างเป็นสัตว์ที่น่ากลัวอันตรายมาก • การชนช้าง • การชนไก่ • ละครจีน (ง้วิ ) • การแสดงหุ่นกระบอก • นักไต่ลวดและการเล่นไม้สูงอีกหลายแบบที่นบ ั ถือดีมาก • พระเจ้ากรุงสยามโปรดการแสดงไม้สูงมาก • งูเลี้ยงจนเชือ ่ ง • งานมหรสพทางศาสนา ตามไฟ ในน้า, บนบก และในพระบรมมหาราชวัง • ดอกไม้เพลิงที่งดงามมาก • ว่าวกระดาษ • มหรสพสามอย่างของชาวสยาม • มวยปล้าและมวยชก • การวง ่ ิ งัว • การแข่งเรอื • การรักที่จะเล่นการพนันเหลือเกิน • ชาวสยามชอบสูบยาเส้น • การใช้ชวี ิตตามปกติของชาวสยาม


สาย สมร เอย

เลี้ยว ประคอง สร เสื้อ

ขอแนบ เนื้อ ฉอ้อน

ข่วน เดี๋ยว เหนื่อย

เพลง นี้ ขอ เจ้า

เพลง ระบา หรอื ไฉน เจ้า ไถ่

เพลง นี้ ขอ เจ้า

เพลง สาว น้อย

เผย หวัง แล เชย ข้อง ของ

นาง ช่าง เฉลียว ระ เดิร เอย


หนังกลางวัน หนังกลางคืน หนังจับระบ้า



ชาวสยามมีมหรสพประเภทเล่นอยู่ในโรงอยู่ ๓ อย่าง อย่างที่ชาวสยามเรียกว่า โขน (Cone) นั้น เป็นการร่ายร้าเข้าๆ ออกๆ หลายค้ารบตามจังหวะซอและเครื่อง ดนตรีอย่างอื่นอีก. ผู้แสดงนั้นสวมหน้ากาก (หัวโขน) และถืออาวุธ แสดงบทหนักไป ในทางสู้รบกันมากกว่าจะเป็นการร่ายร้า และมาตรว่าการแสดงส่วนใหญ่จะหนักไปทาง โลดเต้นเผ่นโผนโจนทะยานและวางท่าอย่างเกินสมควรแล้ว นานๆ ก็จะหยุดเจรจา ออกมาสักค้าสองค้า หน้ากาก (หัวโขน) ส่วนใหญ่นั้นน่าเกลียด เป็นหน้าสัตว์ที่มี รูปพรรณวิตถาร (ลิง) หรือไม่ก็เป็นหน้าปิศาจ (ยักษ์).


กลางวันโขนละคอนโสภา ประดับด้วยเครื่องเรืองไร ราตรีอัคคีแจ่มใส จึงเห็นวิจิตรลวดลาย

หุ่นเห็นแจ่มตา หนังส่องแสงไฟ

เครื่องเล่นโขนละคอนหุ่นประชัน เชิดชูกลางวัน ด้วยวิจิตรเครื่องแต่งกาย ราตรีรัศมีเพลิงพราย หนังงามลวดลาย กระหนกกระหนาบภาพหาญ


ละคร (Lacone) นั้นเป็นบทกวีนิพนธ์สดุดีความกล้าหาญแกมนาฏศิลป์ ใช้เวลาแสดงถึง ๓ วัน ตั้งแต่ ๘ โมงเช้าถึง ๗ โมงเย็น ตัวเรื่องนั้นเป็นค้ากลอนแสดงให้เห็นเป็นจริงจัง และตัวแสดงที่อยู่ในฉากนั้นหลายคนจะผลัดกันร้องเมื่อถึงบทของตัว ตัวละครตัวหนึ่งขับร้อง ในบทของตัวชื่อเรื่อง และตัวแสดงอื่นๆ ก็ขับร้องตามบทของบุคคลที่เรื่องนั้นกล่าวพาดพิง ไปถึง ตัวละครผู้ชายเท่านั้นที่ขับร้อง ตัวละครผู้หญิงไม่ขับร้องเลย.


ส่วนระบ้า (Rabam) นั้นเป็นการฟ้อนร้าร่วมกัน ทั้งชายและหญิง ไม่มีบทรบราฆ่าฟัน แต่มีเชิง โอ้โลมปฏิโลมกันเท่านั้น และเขาจัดการมหรสพ ชนิดนี้ให้เราชมพร้อมๆ กันไปกับชนิดข้างต้นที่ ข้าพเจ้าได้กล่าวถึงมาแล้ว นักระบ้าชายหญิง เหล่านี้สวมเล็บปลอมยาวมาก ท้าด้วยทองเหลือง เขาร้องไปพลางร้าไปพลาง และท้า (ทั้งสอง ประการพร้อม ๆ กันได้) โดยไม่เหน็ดเหนื่อยอะไร นัก เพราะวิธีการร่ายร้าของเขานั้นก็เป็นเพียง การวนเป็นรูปวงกลมอย่างเดียวเท่านั้นเอง มิได้ โลดเต้นเผ่นโผนโจนทะยาน มีแต่บัวตัวกับแขนมาก หน่อยเท่านั้น ไม่ต้องประคองกันแต่ประการใด.


โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ

ฝรัง่

เปอร์เซีย

อินเดีย

กรมท่าขวา

ล้านนา

ล้านช้าง

อยุธยา

ลังกา

ญี่ปุ่น

จีน

ขอม

จามปา

กรมท่าซ้าย


97


อยุธยา : เมืองท่าแห่งอุษาคเนย์


สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๓

สมเด็จพระมหาบุรุษ พระเพทราชา

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง



รัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ.๒๒๓๑-๒๒๔๖ • ต้นราชวงศ์บ้านพลูหลวง (จากเมืองสุพรรณบุร)ี • เรม ่ ิ เสด็จไปสมโภชพระพุทธบาท เมืองสระบุร ี • มีราพัดชา ราพระแสงของ้าวถวายเป็นพุทธบูชา เป็นธรรมเนียมสาหรับกษัตรย์ิ สืบมาจนถึงรัชกาลที่ ๕ กรุงรัตนโกสินทร์


ครั้นพระบรมศพถึงหน้าพระที่นั่งจักรวรรดิ จึงทรงพระ กรุณาให้ตีสัญญาให้หยุดกระบวนแห่ทั้งปวงหน้าหลัง แล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงพัชนีฝักมะขามโบก สามทีให้ทิ้งทาน ข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้ประจ้าต้น กัลปพฤกษ์ถวายบังคมสามลาแล้วก็ทิ้งทาน ครั้นทิ้ง ทานแล้วก็ให้ตีฆ้องสัญญาให้ยาตรากระบวนแห่ทั้งปวง ไปถึงพระเมรุมาศ จึงเชิญพระบรมโกศเข้าประดิษฐาน ในพระเมรุทอง ทรงพระกรุณาให้มีการมหรสพสมโภช และดอกไม้เพลิงต่าง ๆ แล้วทรงสดัปกรณ์พระสงฆ์ หมื่นหนึ่ง ค้ารบ ๗ วันแล้วถวายพระเพลิง


พระเมรุมาศสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ.๒๒๔๗



สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๘ พระเจ้าเสือ ราชวงศ์บ้านพลูหลวง


พระพุทธบาท เมืองสระบุร ี


...แล้วหยุดประทับร้อน ณ ราชนิเวศน์พระนครหลวง แล้วเสวยพระกระยาหารส้าราญพระอารมณ์ เสด็จเข้าพระ บรรทมในที่นั้น ครั้นชายแล้ว ๓ นาฬิกา จึงให้ออกเรือพระที่นั่งไปตามล้าดับตราบเท่าถึงที่ประทับพระต้าหนักเจ้า สนุก แล้วเสด็จทรงช้างพระที่นั่งพังสกลเกษ ที่นั่งรองพังบวรประทุม ชุมนุมราชพิริยโยธาพลากรพฤนท์พร้อมพรั่ง ตั้งตามกระบวนพยุหบาตราสถลมารคสรรพเสร็จ ก็เสด็จยกพยุหแสนยากรทวยหาญไปโดยล้าดับสถลมารควิถี ถึง เขาสุวรรณบรรพต จึงหยุหพระคชาธารทรงร้าพระแสงขอเหนือตระพองช้างต้น สิ้นวารสามนัด บูชาพระพุทธบาท ตามอย่างพระราชประเพณีเสร็จแล้ว ก็บ่ายพระคชาธารไปเข้าที่ประทับ ณ พระราชนิเวศน์ธารเกษม แล้วเสด็จมา นมัสการพระพุทธบาททุกเพลาเช้าเย็น ให้เล่นการมหรสพถวายเป็นการบูชาพุทธสมโภช ถ้วนค้ารบ ๓ วัน ครั้น ค่้าให้จุดดอกไม้เพลิงต่าง ๆ ระทาใหญ่ ๘ ระทาบูชาพระพุทธบาท เป็นมโหฬารยิ่งนัก



สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ ราชวงศ์บ้านพลูหลวง


รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พ.ศ.๒๒๗๕-๒๓๐๑ • • • •

ยุคทองแห่งศิลปวัฒนธรรม ฉลองวัดหันตรา ฉลองช้างเผือกจากเขมร บุณโณวาทคาฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย อิเหนา ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ • อิเหนาใหญ่ ของเจ้าฟ้ากุณฑล (มาเป็น ดาหลัง ในรัชกาลที่ ๑) • อิเหนาเล็ก ของเจ้าฟ้ามงกุฎ (มาเป็น อิเหนา ในรัชกาลที่ ๒)


๏ บัดการมโหรสพ กลองโขนตระโพนดัง ๏ ฤๅษีเสมอลา เสวตรานิลาดู ๏ ตระบัดก็เบิกไพถวายดวงธิดาพงา ๏ ละครก็ฟ้อนร้อง ฉับฉ่้าที่ด้านาน ๏ ฝ่ายฟ้อนละครใน โรงริมคิรมี ี ๏ ล้วนสรรสกรรจ์นาง ใครยลบอยากวาย ๏ ร้องเรื่องระเด่นโดย พักพาคุหาบรร-

-พก็โห่ขึ้นประนัง ก็ตั้งตระด้าเนินครู กรบิลพาลสองสู สัประยุทธพันธนา จิตรสูรอสูรา อมเรศเฉลิมงาน สุรศัพทกลับขาน อนิรุทธกินรี บริรักษจักรี กลลับบแลชาย อรอ่อนลอออาย จิตรจงมเมอฝัน บุษบาตุนาหงัน พตร่วมฤดีโลม


112


จิตรกรรมวัดเกาะ จังหวัดเพชรบุร ี ศิลปะอยุธยา พ.ศ. ๒๒๗๗


กินนรรา





สมเด็จพระบรมราชาที่ ๓ พระที่นงั่ สุรยามร ิ นทร์ ิ พระเจ้าเอกทัศน์ ราชวงศ์บ้านพลูหลวง



เสียกรุงศรอยุ ี ธยา ครัง้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐



พระมเหสี โอรส ธิดา และพระวงศานุวงศ์ของพระเจ้าเอกทัศน์ ที่อาศัยอยู่ ณ กรุงอังวะ (พงศาวดารพม่า ฉบับหอแก้ว • พระขนิษฐา

• • • • • • • • • • • • • •

เจ้าฟ้าบรม เจ้าฟ้าสุริยาบุรพา เจ้าฟ้าอินทสุดาวดี เจ้าฟ้ามงกุฎ เจ้าฟ้ากุณฑล เจ้าฟ้ากระอ้วน เจ้าฟ้ากระออด พระองค์เจ้าล้าภู เจ้าฟ้าประภาวดี เจ้าฟ้ากรมกุณ เจ้าฟ้าส้าอัง เจ้าฟ้าทรงแก้ว เจ้าฟ้าอิ่ม เจ้าฟ้าเกสร


เจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์ได้เสด็จมาประทับ ณ กรุงอังวะพร้อมกับเหล่าวงศานุวงศ์เช่นกัน และพระเจ้าอังวะก็พระราชทาน ต้าหนักให้ ครั้นพระองค์เจ้าประทีป พระธิดาองค์โตในพระเจ้าเอกทัศ ซึ่งเคยเป็นพระมเหสีของพระเจ้าอังวะ ได้ขอพระราชทาน พระราชานุญาตจัดการแสดงนาฏศิลป์จากกรุงศรีอยุธยาถวาย พระเจ้าอังวะทรงอนุญาต จึงโปรดให้เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ เข้าเฝ้า เพื่อเตรียมจัดการแสดงนาฏศิลป์ เรื่องแรกที่เจ้าฟ้าทั้งสองทรงจัดแสดงคือรามายะนะชาดก เรื่องที่สองคือละครอิเหนา พระเจ้าอยู่หัวโปรดมาก แม้ว่าไม่ทรง เข้าพระทัยเนื้อเพลงเนื่องจากเป็นภาษาไทย จึงมีรับสั่งให้พระเจ้าเบญจัยซึ่งเป็นพระอนุชา กับนายจะซึ่งเป็นเจ้าเมืองอมรวดี (เมียวดีใน ปัจจุบัน) ซึ่งเป็นอัครศิลปินในพม่าเวลานั้น ศึกษาวิชานาฏศิลป์สยามกับเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ ซึ่งทั้งสองพระองค์ก็ทรง เมตตาถ่ายทอดวิชาให้อย่างไม่เสียดาย แม้ว่าทั้งสองจะเป็นชนชาติอื่นหรือเป็นศัตรูก็ตาม ทรงสอนทุกอย่างตั้งแต่พื้นฐานไปจนถึง ชั้นสูง


การบันทึกต้าราเรียนหลวงฉบับมหาคีตะ (รวมฉบับ ๑-๒-๓) ซึ่งพิมพ์โดยกรมนาฏศิลป์และละครของกระทรวง วัฒนธรรม ประเทศพม่า กล่าวไว้ว่าเพลงโยทยามี ๑๒ ประเภทแต่โบราณ คือ ๑. เพลงเสมอ ๒. เพลงพราหมณ์แต่ง ๓. เพลงช้า ๔. เพลงตระหนก ๕. เพลงฉุยฉาย ๖. เพลงกระบี่ ๗. เพลงทบทวน ๘. เพลงขมึง ๙. เพลงหงุดหงิด (ยุหงิด?) ๑๐. เพลงจดจ้า ๑๑. เพลงเขตเมือง ๑๒. เพลงมโหรี ...เพลงไทยส่วนใหญ่ในพม่า เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงแสดงกิริยาอาการของตัวละครในรามายะนะกับอิเหนาทั้งนั้น ฉะนั้น อาจจะเป็นไปได้ว่าเป็นเพลงกิริยาบท หรือเพลงหน้าพาทย์ ...ทางพม่าก็แปลเนื้อเพลงภาษาไทยให้เป็นภาษาพม่าได้ส้าเร็จ พระเจ้าเบญจัยเป็นผู้แปลรามายะนะชาดก ส่วนเจ้าเมือง อมรวดีเป็นผู้แปลละครอิเหนา จึงถือเป็นจุดก้าเนิดการแสดงรามายะนะชาดกและละครอิเหนาภาคภาษาพม่าจวบจนปัจจุบัน ถือได้ว่า ดนตรี เพลง นาฏศิลป์จากกรุงศรีอยุธยา แม้แต่ลายกนกอยุธยา ก็กลายเป็นแม่แบบศิลปะประเภทหนึ่งในงานศิลป์พม่าไปแล้ว มิคกี้ ฮาร์ท


ตัวละครพม่า เล่นเรอื่ งอินอง หรอื อิเหนา


Yama Zatkyi Yama Zatpwe




ขอขอบใจ


Thummachuk Prompuay thummachuk.p@rumail.ru.ac.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.