สูจิบัตรการประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์

Page 1


การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ ระดับชาติ ครัง ้ ที่ 1 เรื่อง

งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรม ในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน

จัดโดย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

วันพุ ธที่ 11 - วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องศักดิ์ ผาสุขนิรน ั ต์ หอประชุมพ่ อขุนรามคําแหงมหาราช มหาวิทยาลัยรามคําแหง หัวหมาก


2

สารจากคณบดี การประชุมวิชาการและเผยแพรผลงานสรางสรรค ครั้งที่ 1 ภายใตหัวขอ ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมการอยูรวมกันใน อาเซี ย น ดำเนิ น การโดยคณะศิ ล ปกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย รามคำแหง มี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่ อ เผยแพร ผ ลงานด า นสหวิ ท ยาการ งานสรางสรรคดนตรีและนาฏกรรมของอาจารย นักศึกษา และศิลปน อิสระ เสริมสรางเครือขายทางวิช าการศิลปะการแสดงดนตรี แ ละ นาฏกรรมให เข มแข็ ง ในระดั บชาติ โดยไดแ บ ง การนำเสนอผลงาน สรางสรรคออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมดนตรี และกลุมนาฏกรรม โดยจะนำเสนอในวันที่ 11-12 พฤษภาคม 2565 ตามลำดับ ณ หอง ศักดิ์ ผาสุขนิรันต หอประชุมพอขุนรามคำแหงมหาราช มหาวิทยาลัย รามคำแหง หัวหมาก กรุงเทพมหานคร การจัดงานครั้งนี้มีผูสนใจนำเสนอผลงานสรางสรรครวมทั้งสิ้น 13 ชิ้นงาน ซึ่งมาจากสถาบันการศึกษาที่ หลากหลาย อาทิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัย ราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ โรงเรียนเซนตคาเบรียล กรุงเทพมหานคร และมีการจัดการปาฐกถาพิเศษจากผูทรงคุณวุฒิรับเชิญทั้งในดานดนตรีและ นาฏกรรม ไดแก เรื่อง วิถีดนตรีมุสลิม จากมหาสมุทรอินเดียสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเรื่อง โนรา วิถีชุมชน นาฏกรรม นอกจากนี้ผลงานสรางสรรคที่ผานการคัดเลือกจะถูกนําเสนอตอหนาคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) และตีพิมพรายละเอียดผลงานในสูจิบัตรการจัดงาน (ในรูปแบบไฟล PDF) และไดรับเกียรติบัตรเมื่อผานการ นําเสนอผลงาน สุดทายนี้ ในนามของคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิปาฐกถารับเชิญ ผูทรงคุณวุฒิภายนอก ผูนำเสนอผลงาน ตลอดจนบุคลากรที่มีสวนเกี่ยวของทุกคน ที่เปนสวนสำคัญทำใหการประชุม วิชาการและเผยแพรผลงานสรางสรรคครั้งนี้เกิดขึ้น และหวังอยางยิ่งวาคณะศิลปกรรมศาสตร จะไดเปนสวนหนึ่งในการ ผลักดันผลงานสรางสรรคทางดานดนตรีและนาฏกรรมของประเทศไทยในโอกาสอื่น ๆ ตอไป

ขอขอบคุณ นางสาวอรอนงค อิงชำนิ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร


3

กําหนดการ การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ ระดับชาติ ครัง ้ ที่ 1 เรื่อง งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวฒ ั นธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน

11 - 12 พฤษภาคม 2565 ณ หองศักดิ์ ผาสุขนิรันต หอประชุมพอขุนรามคำแหงมหาราช มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก วันพุ ธที่ 11 พฤษภาคม 2565 9.30 น. - ลงทะเบียน 10.00 น. - ประธานในพิธีกลาวเปดการประชุมวิชาการและเผยแพรผลงานสรางสรรค ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสรางสรรคดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยูรวมกันใน อาเซียน” 10.15 น. - การแสดงในพิธีเปดการประชุม และพักรับประทานอาหารวาง 10.30 น. - ปาฐกถาพิเศษดานดนตรี เรื่อง “วิถีดนตรีมุสลิม จากมหาสมุทรอินเดียสูเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต” โดย 1. ศาสตราจารย ดร. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุรศักดิ์ จำนงคสาร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3. ครูนักชาย จิเมฆ (ครูยูโซฟ) ผูเชี่ยวชาญดานดนตรีมุสลิมในภาคกลางของประเทศไทย 12.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - ปาฐกถาพิเศษ (ตอ) 14.30 น. - อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง มอบของที่ระลึกใหกับองคปาฐกถาและ ผูทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณาผลงานสรางสรรค และรวมถายภาพเปนที่ระลึก - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร กลาวเปดการนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดานดนตรี


4

15.00 น.

16.00 น. 16.15 น. 17.00 น.

- การนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดานดนตรีในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ผูทรงคุณวุฒิ พิจารณาผลงานสรางสรรคทางดานดนตรี โดย 1. ศาสตราจารย ดร.วีรชาติ เปรมานนท 2. ศาสตราจารย ดร.ขำคม พรประสิทธิ์ 3. รองศาสตราจารย ดร.มานพ วิสุทธิแพทย 4. รองศาสตราจารย ดร.พรประพิตร เผาสวัสดิ์ 5. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร 6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อนรรฆ จรัณยานนท - พักรับประทานอาหารวาง - การนำเสนอผลงานสรางสรรค (ตอ) - พิธีมอบเกียรติบัตรใหกับผูเขารวมเสนอผลงาน


5

วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 8.30 น. - ลงทะเบียน 8.50 น. - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร กลาวเปดการประชุมวิชาการดานศิลปะการแสดง ใน หัวขอ “ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยูรวมกันในอาเซียน” 9.00 น. - ปาฐกถาพิเศษดานนาฏกรรม เรื่อง “โนรา วิถีชุมชนนาฏกรรม” โดย 1. ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร. สุรพล วิรุฬหรักษ นายกราชบัณฑิตยสภา 2. ศาสตราจารยพรรัตน ดำรุง ศาสตราจารยวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ผูชวยศาสตราจารยธรรมนิตย นิคมรัตน ศิลปนแหงชาติ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ 10.15 น. - พักรับประทานอาหารวาง 10.30 น. - ปาฐกถาพิเศษ (ตอ) 12.15 น. - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มอบของที่ระลึกใหกับองคปาฐกถาและผูทรงคุณวุฒิ ตรวจพิจารณาผลงานสรางสรรค - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร กลาวเปดการนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดาน นาฏกรรม - การนำเสนอผลงานสรางสรรคทางดานนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ผูทรงคุณวุฒิ พิจารณาผลงานสรางสรรคทางดานนาฏศิลป โดย 1. รองศาสตราจารยประภาศรี ศรีประดิษฐ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ผกามาศ จิรจารุภัทร 3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สรร ถวัลยวงศศรี 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธรากร จันทนะสาโร 14.30 น. - พักรับประทานอาหารวาง 14.45 น. - การนำเสนอผลงานสรางสรรค (ตอ) 16.30 น. - พิธีมอบเกียรติบัตรใหกับผูเขารวมเสนอผลงาน 17.00 น. - สิ้นสุดการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานสรางสรรค ------------------------------------------


6

ปาฐกถาพิ เศษด้านดนตรี เรื่อง

วิถีดนตรีมุสลิม จากมหาสมุทรอินเดียสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต


7

ผูทรงคุณวุฒิดานดนตรี ศาสตราจารย์ ดร. เฉลิมศักดิ์ พิ กุลศรี การศึกษา ค.บ. (ดนตรี) วิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา M.Mus. (Musicology) M.Phil. (Musicology) Ph.D. (Musicology) ประสบการณดานบริหาร คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา คณะกรรมการวิชาชีพ กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา (2560 - 2562) กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ (2560 - 2562) กรรมการบริหาร วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด (2564 - ปจจุบัน) กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน (2564 - ปจจุบัน) ผลงานทางวิชาการ หนังสือ – ตำรา 9 เรื่อง วิจัย 5 เรื่อง บทความวิชาการกวา 100 เรื่อง รางวัลเกียรติคุณ - อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธดีเดน สภาวิจัยแหงชาติ - อาจารยดีเดนสาขาศิลปกรรมศาสตร ที่ประชุมประธานสภาพนักงานมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย - อาจารยดีเดนกองทุนเอกิ้นเลาเกเซนอนุสรณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปจจุบัน : ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน


8

ผูทรงคุณวุฒิดานดนตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรศักดิ์ จํานงค์สาร สาขาวิชาดุริยางคศาสตรไทยและเอเชีย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัติการศึกษา กศ.บ. ดุริยางคศาสตรไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศป.ม. มานุษยดุริยางควิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Ph.D. Ethnomusicology, Indonesia Institute of the Arts, Yogyakarta, Indonesia การศึกษาดานดนตรีอินโดนีเซีย กาเมลันบาหลี (Balinese Gamelan) กับ Prof. I Wayan Dia, กาเมลั น ชวา (Javanese Gamelan) กั บ อาจารย Sudarmanto และ อาจารย Pardiman Djoyonegoro กาเมลันสุระการตา (Javanese Gamelan, Surakarta Style) กับ K.R.T. Widodo Nagara (Teguh) กาเมลั น ยอกยาการ ต า (Javanese Gamelan, Yogyakarta Style) กั บ K.R.T. Purbodiningrat (Raden Mas Soejamto) ประวัติการทำงาน 2542 – ปจจุบัน 2562 – ปจจุบัน 2552 – 2554 2543 – 2544

อาจารยประจำสาขาวิชาดุริยางคศาสตรไทยและเอเชีย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประธานบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาชาวิชาดุริยางคศาสตรไทยและเอเชีย หัวหนาสาขาวิชาดุริยางคศาสตรศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร อาจารยผูไดรับเชิญ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยแหงชาติอินโดนีเซีย (UI)


9

ผูทรงคุณวุฒิดานดนตรี ครูนักชาย จิเมฆ (ครูยูโซ้ฟ) ครูนักชาย จิเมฆ (ครูยูโซฟ, ครูโซบ) เปนผูบรรเลง กลองรำมะนาใหกับวงลำตัดของหวังเตะ ศิลปนแหงชาติ โดย ครูยูโซฟไดเริ่มหัดตีกลองตั้งแตอายุได 14 ป จนกลายเปนผูที่ เชี่ยวชาญดานการตีกลองรำมะนาและการทำกลองรำมะนา ครู ย ู โ ซ ฟ ได เ ล า ประวั ต ิ ช  ว งหนึ ่ ง ของท า นไว ว า “ผมหัดตีกลองรำมะนามาตั้งแตป พ.ศ.2520 เพราะที่บาน เลนกลองรำมะนา เลนมาตั้งแตสมัยทวด สมัยนั้นเขาเรียกวา ดิเกรเรียบ เปนภาษาอาหรับ ยังไมเรียกลำตัด เหมือนในสมัยนี้ เมื่อกอนสมัยเด็กหลังที่เรียนจบจากโรงเรียนสุเหราชั้น ป.4 ก็ไปเรียนตอที่จังหวัดนราธิวาส ดานศาสนา แตพอเกิดเหตุการณ 14 ตุลา 2516 เหตุการณบานเมืองไม ปกติ ก็กลับที่บาน เพราะฐานะเราไมคอยดี ชวงนั้นขาวยากหมากแพงก็เลยไปหัดรำมะนา” ปจจุบัน ครูยูโซฟเปนผูที่แตกฉานในศิลปะดนตรีที่ไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมมุสลิมที่ถายทอด กันในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย และยังไดถายทอดศิลปะการตีกลองรำมะนาใหกับศิษยผูที่สนใจ ทั่วไป รวมถึงเผยแพรความรูเปนสาธารณะผานทางเพจ “นักชาย จิเมฆ – ครูโซบ” เปนวิทยากรผูให ความรูแกนักวิชาการ นักวิจัย มีขอมูลเปนที่ยอมรับ ทั้งยังเปนชางผูผลิตกลองรำมะนาไดมีคุณภาพเสียง ชั้นดี


10

ปาฐกถาพิ เศษด้านนาฏกรรม เรื่อง

โนรา วิถีชุมชนนาฏกรรม


11

ผูทรงคุณวุฒิดานนาฏกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิต นายกราชบัณฑิตยสภา Doctor of Philosophy (Drama and Theatre) University of Hawai'i พ.ศ. 2523 Master of Arts (Drama and Theatre) University of Washington พ.ศ. 2515 Master of Architecture University of Washington พ.ศ. 2514 สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2509 ประสบการณดานงานบริหาร 1. รองอธิการบดีฝายศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. รองอธิการบดี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตั้งแตวันที่ 24 สิงหาคม 2531 23 สิงหาคม 2535 5. คณบดีคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 6. นายกสภาสถาบันกันตนา 7. กรรมการสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง 8. กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รางวัลที่ไดรับ รางวัลวิจัย 1. รางวัลผลงานวิจัยรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544 2. รางวัลผลงานวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2545 3. รางวัลนักวิจัยดีเดนแหงชาติ สาขาปรัชญา พ.ศ. 2546 4. รางวัลผลงานวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2550


12

รางวัลอื่น ๆ 1. ประกาศนียบัตรวิทยากร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 2. นักเรียนเกาดีเดน กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 3. นิสิตเกาดีเดน คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. บุคคลดีเดน กระทรวงศึกษาธิการ 5. นักวิชาการสื่อสารมวลชนยอดเยี่ยม สมาคมชางภาพสื่อมวลชนแหงประเทศไทย ผลงานทางวิชาการ บทความวิชาการ 1. สุรพล วิรุฬหรักษ. (2557). นาฏยทฤษฎี. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 39(3), 103-136 2. สุรพล วิรุฬหรักษ. (2557). การจัดการการดำเนินชีวิต. คณะสถาปตยกรรมศาสตรและ ศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยพะเยา, 9 มิถุนายน 2557. การนำเสนองานในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 1. Surapone Virulrak. (2017). The Current Transmission Status of Mask Culture and Necessity of the Archive Project in Thailand, a paper presented at the International Mask Art and Culture, IMACO International Conference on The Current Transmission Status of World Mask Culture and Necessity of the Archive Project, 31st October to 3rd November 2017, Vientiane, Lao PDR. 2. Surapone Virulrak. (2015). The Folk Performing Arts in ASEAN. Keynote Speech at the International Conference on “The Performing Arts in ASEAN”, Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre, Bangkok, Thailand, 4 September 2015. 3. Surapone Virulrak. (2014). Thai Culture. a special lecture presentation for international air force personals, Air Force Base, Don Muang, Bangkok, 16 May 2014. 4. Surapone Virulrak. Khon. ICH Courier Vol. 15, (Knowledge & Publication Section International Information and Networking Centre for Intangible Cultural Heritage in the Asia-Pacific Region under the auspices of UNESCO (ICHCAP), 5. Surapone Virulrak. (2014). Historical Perspective of Dance Education in Thailand. a paper presentation at the International Conference on Dance Education, University of Malaya, Kuala Lumpur, Malaysia. 13 August, 2014.


13

6. Surapone Virulrak. (2013). New Possibilities of the Classic. A KeyNote Presentation at the Opening of the International Conference on “The Research Forum and Festival of Thai/ASEAN Contemporary Theatre (Our Root Right Now)” at the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, Bangkok, 6 January, 2013. งานบริการวิชาการ 1. นายกราชบัณฑิตยสภา 2. ราชบัณฑิต สาขาวิชานาฏกรรม สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา 3. ที่ปรึกษา สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ 4. ที่ปรึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 5. ประธานคณะที่ปรึกษากรรมการบริหารสมาพันธนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย 6. ประธานกรรมการอำนวยการหอภาพถายโบราณลานนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม 7. ประธานกรรมการ World Dance Alliance (Thailand) 8. ประธานกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานาฏยศิลป ม. สงขลานครินทร 9. ผูทรงคุณวุฒิสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปตยกรรมศาสตรและศิลปกรรมศาสตร ม. พะเยา 10. ประธานกรรมการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยทางศิลปกรรมศาสตร ม. มหาสารคาม 11. ประธานกรรมการหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยทางศิลปกรรมศาสตร ม. มหาสารคาม 12. ประธานคณะกรรมการวิจัย กรมสงเสริมวัฒนธรรม 13. ผูอำนวยการโครงการศูนยพัฒนาบุคลากรดานแฟชั่น จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย BIFA 14. ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขานาฏยศิลปไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 15. ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานาฏยศิลปไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 16. ผูอำนวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 17. ประธานหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


14

18. ประธานกรรมการพิจารณาผลงานวิชาการประจำคณะนิเทศศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 19. ประธานกรรมการพิจารณาผลงานวิชาการประจำคณะศิลปกรรมศาสตรจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 20. ประธานเครือขายอุดมศึกษาอาเซียนและยุโรป ASEA-UNINET 21. ประธานคณะทำงานอาเซียนประเทศไทย ดานศิลปะการแสดง 22. ประธานกรรมการ World Dance Alliance (Thailand) 23. ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ 24. ผูอำนวยการสถาบันการเรียนรูและสรางสรรค สบร (TCDC) 25. ผูอำนวยการพิพิธภัณฑเพื่อการเรียนรูแหงชาติ สบร (MUSE) 26. ที่ปรึกษากระทรวงวัฒนธรรม 27. อนุญาโตตุลาการ กรมทรัพยสินทางปญญา 28. ผูเชี่ยวชาญ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 29. รักษาการนายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ฯลฯ งานวิชาการในองคกรวิชาชีพ 1. สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ 2. สมาคมนักออกแบบผังเมืองและชุมชน 3. East West Center Alumni ประเทศไทย 4. ราชบัณฑิตยสภา 5. Group Creative Director, McCann Ericson (Thailand) Co., Ltd. 6. Managing Director, Design Direction (Interior Design) Co., Ltd. 7. Board of Directors, Gold Master Co., Ltd. 7. Board of Directors, Body Glove Co., Ltd. 8. Board of Directors, Wisdom Co., Ltd


15

ผูทรงคุณวุฒิดานนาฏกรรม ศาสตราจารย์พรรัตน์ ดํารุง ภาคีสมาชิก สาขาวิชานาฏกรรม ประเภทวิชาวิจิตรศิลป สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา ประวัติการศึกษา - อั ก ษรศาสตรบั ณ ฑิ ต จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย (พ.ศ. 2519) - M. Ed Northwestern State University of Louisiana สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2521) - ประกาศนียบั ตร การจัดการทางศิลปะ จาก New York University สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2543) ประวัติการทำงานวิชาการ ศาสตราจารยวิจัย, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผลงานวิชาการ - วิจัยการแสดง : สรางสรรคงานวิจัยในสาขาศิลปการแสดงไทยรวมสมัย ทุนเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - งานวิจัยสรางสรรคทางศิลปะการแสดง : แนวคิดและกลวิธีวิจัยแบบปฏิบัติการ ทุนวิจัย คณะ อักษรศาสตร - ลังกาสิบโห : ขับขานคุณธรรมในรามเกียรติ์ไทลื้อ โครงการวิจัย กาวหนาจากรากแกว ทุน วิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย- กรายทา : การสราง งานรวมสมัยจากทารำโนรา ทุนวิจัยสำนัก ศิลปะรวมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - สีดา-ศรีราม โครงการวิจัย เรื่องเกาเลาใหม ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - ละครประยุกต : การใชละครเพื่อการพัฒนา - กลับบานเรา : ผูหญิงสองคนเขียนถึงสาวนอยที่ จากไป - การละครสำหรับเยาวชน - “ศิลปะการแสดง” ใน ดนตรีและศิลปะการแสดง หนังสือศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยใน ประเทศ ไทย. น. 123-129. พ.ศ. 2559


16

- “Cambodians Dancing beyond Borders: Three Contemporary Examples,” in Beyond the Apsara: Celebrating Dance in Cambodia. Stephanie Burridge and Fred Frumberg, eds. New Delhi: Routledge India. pp. 61-85. 2008. - “From Preserving National Forms to Reviving Traditions for the World: Some Recent Uses of Classical Dance from Mainland Southeast Asia,” in Urmimala Sarkar Munsi, ed. Dance: Transcending Borders. New Delhi: Tulika Books. pp. 20-35. 2008. - “Independent Dance Identities on the Loose: Some Mainland Southeast Asian Ways of Using Traditional Sources to Shape Distinctive Artistic Lives,” in Independence and Identity: Topics in Dance Studies edited by Mohd Anis Md. Nor & Joseph Gonzales. ASWARA. Kuala Lumpur, Malaysia. pp. 63-81 - “Translation and Making Meaning in Thai Khon Performance,” in Jennifer Lindsay, ed., Between Tongues: Translation and/of /in /Performance in Asia, National University of Singapore Press. - บทความ 16 เรื่องที่เกี่ยวของกับศิลปะการแสดงแบบประเพณี ใน Encyclopedia of Asian Theatre, Samuel L Leiter, ed. Greenwood Press เกียรติคุณที่ไดรับ - เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - อาจารยดีเดนสาขามนุษยศาสตรและศิลปกรรมศาสตร พ.ศ. 2558 ของประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย - ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปะการแสดง จากมหาวิทยาลัยบูรพา (พ.ศ. 2557)


17

ผูทรงคุณวุฒิดานนาฏกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์ ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (โนรา) พ.ศ. 2564 อาจารยประจำสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา การศึกษา พ.ศ.2531 การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ) ประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา พ.ศ.2540 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม) นาฏยศิลปไทย คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสบการณการทำงาน พ.ศ.2521 ครูโรงเรียน วัดใสประดู ที่จังหวัดพัทลุง พ.ศ.2525 ครูโรงเรียนบานกระทิง อำเภอนาทวี พ.ศ.2534 ครูโรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฏสงขลา พ.ศ.2540 อาจารยสาขานาฏศิลปและการละคร สถาบันราชภัฏสงขลา พ.ศ.2546 – ปจจุบัน อาจารยประจำสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ทักษิณ วิทยาเขตสงขลา เปนผูทรงคุณวุฒิและคณะทำงานจัดทำขอมูลโนรามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมเพื่อนำเสนอตอ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติหรือ ยูเนสโก(UNESCO) ตอมายูเนสโก ไดประกาศขึ้นทะเบียน โนรา เปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของมนุษยชาติในป พ.ศ. 2564 พัฒนาองคความรู สรางสรรคการแสดงโนราในรูปแบบใหม ๆ โดยเปนนักแสดง ผูประพันธ บทรอง ผูออกแบบและกำกับการแสดง นำไปเผยแพรในวาระสำคัญตาง ๆ ทั้งในและตางประเทศ เชน พ.ศ. 2556 การแสดงโนรารวมสมัย ชุด “ครู” ศิลปะการแสดงที่สรางสรรคขึ้นมาตามพระดำริ ของศาสตราจารย ดร.สมเด็จเจาฟาฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี กำกับการแสดงโดย


18

ภั ทราวดี มี ช ู ธ น ศิ ล ป น แห งชาติ ในงานสายสัมพัน ธส องแผน ดิน ไทย-จีน ครั้งที่ 6 ณ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน พ.ศ. 2556 การแสดงโนรารวมสมัย ชุดกรายทา “ชุดบิน” งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 14 ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ.2556 ร ว มแสดงงานเทศกาลเต น รำนานาชาติ Tari ’14 ครั ้ ง ที ่ 9 Sibu International Dance Festival 201 รัฐซาราวัก สหพันธรัฐมาเลเซีย พ.ศ.2558 การแสดงโนรารวมสมัย เรื่องสังขทอง ตอน รจนาเลือกคู งานมหกรรมการแสดงละคร ภาคใตครั้งที่ 3 พ.ศ.2559 การแสดงโนราเทิดพระเกียรติ งาน “ใตรมพระบารมี 234 ป กรุงรัตนโกสินทร” ครูผูสอนและวิทยากรผูถายทอดองคความรูดานโนราใหแกนักเรียน นิสิต นักศึกษา รวมถึงผูสนใจ ทั่วไป โดยเผยแพรองคความรูผานทางสื่อสังคมออนไลน เชน FACEBOOK ภายใตชื่อ “ศาสตรโนรา ครู ธรรมนิตย นิคมรัตน” ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2545 โนราแขก การปรับเปลี่ย นการแสดงเพื่ อวัฒนธรรมชุ มชน โดย สำนักศิลปะและ วัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสงขลา ที่ระลึกงานวัฒนธรรมสัมพันธ 45, ปที่พิมพ 11 สิงหาคม 2545 ผลิตผลงานทางวิชาการ บทความ งานวิจัย งานตีพิมพในวารสาร อยางตอเนื่อง รางวัลเกียรติคุณ ไดรับการเชิดชูเกียรติใหเปนบุคคลดีเดนทางดานศิลปวัฒนธรรม พ.ศ.2555 รางวัลราชมงคลสรรเสริญ พ.ศ.2559 รางวัลศิลปนดีเดนจังหวัดสงขลา พ.ศ.2560 รางวัลเพชรสยาม พ.ศ.2561 รางวัลปราชญไทยภาคใต พ.ศ.2562 รางวัลอนุสรณสงขลานครินทร ประเภทบุคคลอุทิศตนในการอนุรักษ และสืบสาน ศิลปะการแสดง โนราของภาคใต พ.ศ.2565 ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (โนรา) พุทธศักราช 2564


19

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานสร้างสรรค์ด้านดนตรี

ศาสตราจารย์ ดร.วีรชาติ เปรมานนท์ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ศาสตราจารย์ ดร.ขําคม พรประสิทธิ์ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.มานพ วิสุทธิแพทย์ ขาราชการบำนาญ

รองศาสตราจารย์ ดร.พรประพิ ตร์ เผ่าสวัสดิ์ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิภาส ภูธนัญนฤภัทร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนรรฆ จรัณยานนท์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล


20

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานสร้างสรรค์ด้านนาฏกรรม

รองศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผกามาศ จิรจารุภัทร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรร ถวัลย์วงศ์ศรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรากร จันทนะสาโร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


21

ผลงานสร้างสรรค์ด้านดนตรี


22

เพลงสุวรรณภูมิ ผลงานสรางสรรค โดย

ผูชวยศาสตราจารยนิรันดร แจมอรุณ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค รูปแบบการประพันธเพลงขึ้นใหม บทเพลง มี 2 ทอน สำเนียงเขมรปนลาว ในบันไดเสียงฟาของ วงปพาทยไมนวม อัตราจังหวะสองชั้นและชั้นเดียว แนวคิดในการสรางสรรค เพื่อสะทอนภาพของดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งเปนตนทางของ ชาวสยาม หรือคนไทย และประเทศ ไทย ผานทวงทำนองของบทเพลง และเพื่อประโยชนทางดานการศึกษา ตอยอดดานงานวิจัย เพื่อการฟง การขับกลอม และการประกอบระบำ รำ ฟอนกระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค


23


24


25

การสร้างสรรค์เพลงหนังตะลุง : เพลงดําเหนินในรูปแบบแซกโซโฟนดูเอท ผลงานสรางสรรค โดย

อาจารย ดร.ชุมชน สืบวงศ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค นำบทเพลงพื้นบานภาคใตที่ใชบรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุงชื่อเพลงดำเหนินมาเรียบเรียง และบรรเลงในรูปแบบแซกโซโฟนดูเอท (Creation of Pleng Nang Talung : Damneon in Saxophone Duet) แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค หนังตะลุงเปนศิลปะการแสดงพื้นบานภาคใต เปนการเลนเงาของรูปหนังไปพรอม ๆ กับเสียงขับ กลอนของนายหนังตะลุงที่ถายทอดเรื่องราว อารมณความรูสึกของตัวหนังผานหนาจอผาสีขาว พรอมกับมี ดนตรีที่ประโคมชวยเสริมใหเกิดความรูสึกคลอยตามทองเรื่อง เดิมการใชดนตรีประโคมหนังตะลุงมีที่มา แตโบราณ คือวงดนตรีประเภทเครื่องหา ประกอบดวย ทับ กลองตุก โหมง ฉิ่ง ป บทเพลงหนังตะลุงมี 3 รูปแบบ 1) เพลงโหมโรง 2) เพลงพิธีกรรม 3) เพลงประกอบการแสดง เพลงดำเหนินจัดเปนเพลงบรรเลงจัดอยูในเพลงประกอบการแสดงที่ใชในการดำเนินเรื่องตามเนื้อเรื่องของ หนังตะลุง เพลงดำเหนินเปนเพลงที่มีทว งทำนองและจังหวะที่นา ติดตามเปนอยางยิ่ง ผูสรางสรรคจึงมีความ สนใจสรางสรรคบทเพลงในรูปแบบดนตรีรวมสมัย ซึ่งเปนการนำบทเพลงพื้นบานภาคใตมาเรียบเรียงใน กระบวนแบบดนตรีตะวันตก ที่มีลีลาแซกโซโฟนดูเอท และการอิมโพรไวสในนรูปแบบดนตรีแจส ประกอบดวยเครื่องดนตรี ดังนี้ โซปราโน แซกโซโฟนและบาริโทน แซกโซโฟน โดยใชหลักการทางทฤษฎี ดนตรีตะวันตก การเคานเตอรพอยท และการอิมโพรไวสในดนตรีแจส


26

กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค การสรางสรรคเพลงหนังตะลุง : เพลงดำเหนินในรูปแบบแซกโซโฟนดูเอท 1. เก็บขอมูลทำนองเพลงดำเหนินจากดนตรีหนังตะลุงคณะพรอมนอยตะลุงสากล จังหวัดพัทลุง 2. ถอดโนตดนตรีสากล 3. เรียบเรียงบทเพลง 4. ฝกซอมการบรรเลง 5. นำเสนอผลงานสรางสรรคตอหนากรรมการผูทรงคุณวุฒิ องคประกอบของผลงานสรางสรรค นักดนตรี (นักแซกโซโฟน) จำนวน 2 ทาน อาจารย ดร.ชุมชน สืบวงศ (โซปราโน แซกโซโฟน) นายชวนินท สืบวงศ (บาริโทน แซกโซโฟน)


27


28


29


30


31


32


33


34

บทประพั นธ์เพลงเปลวเทียนนําทาง ครบรอบ 50 ป� มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในรูปแบบดนตรีสมัยนิยม ผลงานการสรางสรรค โดย

ผูชวยศาสตราจารยธนพัฒน เกิดผล 1 อาจารย ดร.อนุวัฒน เขียวปราง 2 คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง 0

1

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 เปนวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัยรามคำแหงครบรอบ 50 ป (นับตั้งแตกอตั้งในป พ.ศ.2514) ดวยมหาวิทยาลัยรามคำแหงนี้ถือวาเปนสถาบันทางการศึกษาที่มีบทบาท และความสำคัญตอการศึกษาทั้งในและตางประเทศมาอยางยาวนาน โดยเฉพาะการเสริมสรางความ เสมอภาคทางการศึกษาใหผูที่สนใจทุ กชวงวัย หรือผูที่สนใจแตอยูอาศัยในพื้น ที่หางไกลสามารถรั บ การศึกษาไดอยางทั่วถึงใหเกิดซึ่งความรูและคุณธรรมควบคูกันไปตามปณิธานของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จากความสำคั ญ ข า งตนผู สรางสรรคจ ึงขอเปน สว นหนึ่งในการรว มบรรยายความสำคั ญ ของ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ดวยการประพันธบทเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัย รามคำแหง) ซึ่งเปนผลงานสรางสรรคที่มีทวงทำนองที่ผูฟงสามารถจดจำไดสะดวก มีโครงสรางดนตรีที่มี การบงชี้อยางชัดเจน ตลอดจนเนื้อรองที่มีการใชฉันทลักษณการประพันธที่ยืดหยุนไปจากแบบแผน เพื่อใหสามารถตีความและจิน ตนาการตามไดงาย ผสมกับเสียงประสานในรูปแบบดนตรีแจสเพื ่ อให สอดคลองกับลีลาของบทเพลงในอุตสาหกรรมดนตรีสมัยนิยมยุคปจจุบันที่ไดรับความนิยมจากผูบริโภค อยางตอเนื่อง ดังนั้นผูสรางสรรคจึงเห็นถึงความสำคัญที่จะประพันธบทเพลงนี้ใหเปนบทเพลงที่ผู  ฟง สามารถเขาสุนทรียภาพของบทเพลงไดงายตามที่กลาวมา โดยสามารถอรรถาธิบายในแตละทอนได ดังนี้ 1) ทอน Introduction เปนทอนนำเขาบทเพลงโดยการใช Motif ของทำนองทอน Chorus มาเปนทำนองของทอนนี้ เพื่อใหเกิดความคุนเคยเมื่อทำนองนี้ไดปรากฏขึ้นอีกครัง้ ในทอน Chorus ซี่งมีการกำหนดจุดที่สรางความ นาสนใจของการดำเนินคอรดหลายที่ เชน การเคลื่อนที่ของทำนอง Motif ที่ 3 ไดใชการดำเนินคอรดที่ เนนการเคลื่อนที่ต่ำลงดวยระยะครึ่งเสียงของเสียงประสานทุกโนตในคอรดดังตัวอยางภาพประกอบที่ 1

1 2

รองคณบดีฝายวิชาการและวิจยั คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง อาจารยประจำวิชาเอกดนตรีศกึ ษา ครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


35

ตัวอยางภาพประกอบที่ 1: แสดงการดำเนินคอรดประคองทำนอง Motif ที่ 3 ทอน Introduction 2) ทอน Verse เปนทอนบรรยายถึงที่มาของการกอตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหงขึ้นเพื่อเสริมสรางความเสมอภาค ทางการศึกษาทุกชวงอายุ และทุกพื้นที่ในประเทศ ซึ่งการประพันธในทอนนี้ผูสรางสรรค ไดก ำหนด ออกเปนทอน verse จำนวน 3 ทอน ที่ใชทำนองเดิมแตปรับเปลี่ยนคำรอง โดยในแตละทอนจะใชฉันท ลักษณแบบคลายขนบนิยมในการประพันธ กลาวคือการใชสัมผัสคลายและไมเครงครัดเหมือนกับกลอน แปด จำนวนคำมีการยืดหยุนที่ 5-12 คำตอวรรค ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 2

ตัวอยางภาพประกอบที่ 2: แสดงการใชฉันทลักษณแบบคลายขนบนิยมในการประพันธคำรอง ทอน Verse 1 ทอน verse 3 ใชศิลปะการใชภาพพจน (อุปมาอุปไมย) คือ กลวิธีการพูดใหเห็นภาพ จะตองใช สำนวนโวหารและวิธีการอยางใดอยางหนึ่งมิใชวิธีการบอกเลาอยางตรงไปตรงมา 3 ที่วรรคที่ 1 และ 2 ดัง ประโยคที่กลาววา “เปนดั่งเสาเข็มยึดมาหาทศวรรษ เปนดั่งลมที่พัดพาความสำเร็จทุกแหงหน” นอกจากนี้ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Verse โดยใชการดำเนินคอรด II-V-I เปนหลัก มีการใชคอรดโดมินันทระดับสอง ไดแก คอรด V/II (A7-Dm7) ในหองที่ 15 มีการใชคอรดโคร มาติก ไดแก คอรด Ebmaj7 เพื่อรองรับกับทำนองในโนต Bb ในหองที่ 16-17 มีการใชคอรดโครมาติก ไดแก คอรด Db7 – Db˚7 – Fm(maj7)/C – Fm6 เพื่อตองการใหแนวเบสเคลื่อนลงครึ่งเสียงโดยใหแนว ทำนองยังคงเปนโนตในคอรด ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 3 2

3 กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2546). วรรณคดีวจิ ารณ. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: รามคำแหง.


36

ตัวอยางภาพประกอบที่ 3: แสดงการดำเนินคอรดในทอน Verse 3) ทอน Pre-Chorus เปนทอนเชื่อมโยงเพื่อเขาสูทอน Chorus ซึ่งบรรยายถึงสาเหตุของบทบาทที่มหาวิทยาลัยนั้นมีตอ สังคม โดยใชฉันทลักษณแบบคลายขนบนิยมในการประพันธเชนเดียวกับทอน Verse ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Pre-chorus ในหองที่ 36-37 ใชการดำเนินคอรด II-V-I ในกุญแจเสียงเมเจอร (Dm7-G7-Cmaj7) หองที่ 38-39 ใชการดำเนินคอรด II-V-I ในกุญแจเสียงไม เนอร (Bm7b5-E7#9-Am7b13) หองที่ 41-42 มีการใชคอร ดโดมินัน ทร ะดับสอง ไดแก คอรด V/II (A/C#-Dm) และคอรด V/V (D/F#-G) โดยใชในรูปพลิกกลับครั้งที่ 1 เพื่อใหแนวเบสมีการเคลื่อนที่ ไป ขางหนาอยางตอเนื่อง ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 4


37

ตัวอยางภาพประกอบที่ 4: แสดงการดำเนินคอรดในทอน Pre-Chorus 4) ทอน Chorus เปนทอนบรรยายถึงใจความสำคัญของเพลงที่แสดงถึงการเปนสถาบันการศึกษาที่อยูคูสังคมมา ยาวนานถึง 50 ป และแสดงถึงในมุงมั่นวาจะยังคงคุณคาแบบนี้ตอไปไมเปลี่ยนแปลง โดยในทอนนี ้ผู สรางสรรคไดใชฉันทลักษณพิเศษไมมีรูปแบบตายตัว กลาวคือกลอนที่มีจำนวนคำและสัมผัสที่ไมแนนอน ตลอดจนจำนวนวรรคภายในบทที่ไมแนนอนเชนกัน 4 โดยปกติหนึ่งบทจะมี 4 วรรค แตบทที่ 2 ของทอนนี้ มีกลอนจำนวน 3 วรรค ดังภาพประกอบที่ 5 3

ตัวอยางภาพประกอบที่ 5: แสดงการใช ใชฉันทลักษณพิเศษไมมีรูปแบบตายตัว ในทอน Chorus ทอน Chorus ยังใชศิลปะการใชภาพพจน (อุปลักษณ) คือ กลวิธีการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีก สิ่งหนึ่ง ที่วรรคที่ 2 ของบทที่ 2 “รามจะยังคงเปนเปลวเทียนสองแสงในหัวใจ” นอกจากนี้ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Chorus หองที่ 45-48 และหองที่ 5357 กำหนดคอรดโดยตองการใหแนวเบสเคลื่อนลงทีละขั้นเพื่อสวนทางกับแนวทำนองที่มีทิศทางเคลื่อนขึ้น หองที่ 48 และ 56 มีการใชคอรดโดมินันทระดับสอง ไดแก คอรด V/II (A7-Dm) และคอรด V/VI

4

กัษมาภรณ บุญศรี. (2563). รูปแบบการประพันธและการใชคำในวรรณกรรมเพลงของวงสาวสาวสาว. วารสารมนุษยศาสตร ฉบับบัณฑิตศึกษา ปที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563). มหาวิทยาลัยรามคำแหง


38

(E7b13/G#-Am) หองที่ 49 มีการใชคอรดโครมาติก คือ Fm6 ซึ่งเปนคอรด iv จากกุญแจเสียง C ไมเนอร ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 6

ตัวอยางภาพประกอบที่ 6: แสดงการดำเนินคอรด ในทอน Chorus 5) ทอน Bridge เปนทอนบรรยายถึงภาพรวมของอุปสรรคที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงไดประสบเจอมา แตสามารถ ที่รับมือและผานพนมาไดทุกครั้ง ซึ่งการเลาเรื่องที่มีจุดหักเหความรูสึกหรือความขัดแยง (Conflict) เปน ปญหาหลักที่ผลักดันเรื่องราว ซึ่งมักเปนเปาหมายหลักใหเกิดการกระทำและนำไปสูการบรรลุเปาหมาย หรือเอาชนะปญหา 5 ซึ่งนับวาเปนเสนหของการเขียนคำรองในรูปแบบบทเพลงสมัยนิยม นอกจากนี้ผูสรางสรรคยังไดกำหนดการดำเนินคอรดทอน Bridge ใชการดำเนินคอรด II-V-I เปน หลัก ไดแก หองที่ 72-73 เปนการดำเนินคอรด II-V (Dm7-G7) แลวใชคอรด III แทนที่คอรด I (คอรด Em7 แทน Cmaj7) และหองที่ 74-75 เปนการดำเนินคอรด II-bII(V)-I (Dm7-Db7(G7)-C6) โดยใชคอรด แทนขั้นคูทรัยโทน (Tritone substitution) (คอรด Db7 แทนที่คอรด G7) หองที่ 75 และ 77 มีการใช คอรดโดมินันทระดับสอง ไดแก คอรด V/IV (C7/Bb-Fmaj7) และ คอรด V/VI (E7/G#-Am) หองที่ 79 มี การใชคอรดโครมาติก ไดแก คอรด Bbmaj7 เพื่อรองรับกับทำนองในโนต D ดังตัวอยางภาพประกอบที่ 7 4

5

Docimo, K. & Lupiani, N. (2016). Plot Diagram and Narrative Arc.คนหาเมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2565, จาก http://www.storyboardthat.com/articles/e/plot-diagram


39

ตัวอยางภาพประกอบที่ 7: แสดงการดำเนินคอรด ในทอน Bridge แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค บทประพันธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ในรูปแบบดนตรี สมัยนิยม มีแนวคิดหรือทฤษฎีที่ใชในการสรางสรรค ดังนี้ 1) โครงสรางดนตรีสมัยนิยม 2) ทำนองดนตรีสมัยนิยม 3) การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจส 4) วรรณกรรมเพลง 1) โครงสรางดนตรีสมัยนิยม การกําหนดสวนตางๆ ในบทเพลงนิยมใชเปนตัวอักษรภาษาอังกฤษในการกําหนด เชน AABA เปนตน โดยตัวอักษรเปนตัวกำหนดทอนเพลงแตละทอนที่มีทำนองแตกตางกัน ในดนตรีปอปนิยมใชคําใน การกํ า หนดท อ นเพลง เช น verse, pre-chorus, chorus, bridge เป น ต น ซึ ่ ง ก็ ส ามารถใช ต ั ว อั ก ษร ภาษาอังกฤษ (ABCD…) ในการกําหนดทอนตางๆ เหลานี้ไดเชนกัน ทอนตางๆ ในบทเพลงปอปสวนใหญ สามารถจำแนกไดดังนี้ 1. ทอนนํา (intro) ทอนนี้อาจมีหรือไมมีก็ได สวนใหญจะเปนดนตรีบรรเลงเพื่อใช สรางอารมณ 2. ทอน verse เปนทอนที่มีความเขมขนนอยกวาทอนอื่นๆ ของเพลง สามารถใชตัวอักษร A ในการกําหนดสวนนี้ได 3. ทอน pre-chorus ใชขับเคลื่อนและ เสริมพลังในการไปยังทอน chorus 4. ทอน chorus เปนทอนที่มีพลังและความเขมขนมากที่สุด โดยทั่วไปทำนองในทอนนี้จะถูก นํามาซ้ำหลาย ครั้งเพื่อใหผูฟงเกิดความสนใจ เนื้อเพลงในทอนนี้คือใจความสำคัญของบทเพลงที่ตองการ สื่อสารซึ่งมักจะ สะทอนหรือเกี่ยวของกับชื่อของบทเพลง 5. ทอน bridge โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นหลังจากทอน chorus รอบ


40

ที่สอง เพื่อสรางความแตกตางออกไปแลวหลังจากนั้นจึงคอยยอนกลับไปทอน verse หรือ chorus 6. ทอนดนตรีบรรเลงหรือโซโล (instrumental section or solo) บทเพลงรองหลายเพลง มีการบรรจุทอน ดนตรีบรรเลงหรือโซโลเพื่อเปลี่ยนจุดสนใจหรือสรางความนาตื่นตาตื่นใจใหแกผูฟง 6 2) ทำนองดนตรีสมัยนิยม ทำนองที่ดีตองมีการเคลื่อนไหว ไมหยุดยิ่ง โดยการเคลื่อนไหวสามารถเคลื่อนที่ไดตามจังหวะที่ สะทอนผานความสั้น-ยาวของตัวโนต และเคลื่อนที่ไดตามโทนเสียงที่สะทอนผานความสูง-ต่ำ ของตัวโนต หรือที่เรียกวา “Melodic contour” นอกจากการเคลื่อนที่ของทำนองแลวทำนองที่ดี ตองมีการซ้ำ motif เพื่อใหทำนองมีความนาจดจำ เฉกเชนเดียวกับผูพูดที่ดีมักมีการเนนย้ำประเด็นสำคัญ 7 3) การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจส การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจสทำใหอารมณของเพลงที่สื่อออกมา เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมซึ่งเปนผล จาก 1) การเพิ่มเสียงกระดางเพื่อเพิ่มความตึงเครียดและผอนคลายดวยเสียงที่กลมกลืน โดยการแทนที่ดวยคอรดใหมและคอรดที่มีการเกลา 2) การเพิ่มจุดสนใจโดยใหความชัดเจนกับ เสียงที่อยูนอกบันไดเสียงโทนิก 3) การเพิ่มเติมการดำเนินคอรดใหมากขึ้น หรือในบางกรณีอาจตองลดการ เดินเนินคอรดลงตามความเหมาะสม 4) การปรับเปลี่ยนการดำเนินของแนวเบส 8 4) วรรณกรรมเพลง “วรรณกรรมเพลงเปนวรรณกรรมรูปแบบหนึ่งที่มีสาระประเภทหนึ่งของวรรณกรรมไทย เพราะ เพลงจะเขาถึงประชาชนไดดีกวาวรรณกรรมประเภทอื่น ยิ่งนับวันวรรณกรรมเพลงก็ยิ่งจะมีบทบาทยิ่งขึ้น เนื่องจากผูแตงเพลงพยายามหยิบยกปญหาชีวิตความเปนอยูของคนทุกระดับทางเศรษฐกิจ การเมือง การ ประกอบอาชีพ ตลอดจนในวงการธุรกิจ ฯลฯ ออกมาตีแผไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูฟงก็สามารถจดจำได งาย อาจเปนเพราะเสียงดนตรีประกอบใหเกิดความสนุกสนาน ไมเครงเครียดกับความเปนอยูจริงๆ ที่ ประสบในชี ว ิ ตประจำวั น และผู  เ ขีย นก็น ิย มใชภ าษางายๆ มักเปน รูป ธรรม”9 ผสมกับ การใชโ วหาร ภาพพจนดังนี้ ใชอุปมา อุปลักษณ บุคลาธิษฐาน อติพจน ปฏิปุจฉา ปฏิภาคพจนและ สัทพจน ซึ่งเพื่อเปน สื่อในการถายทอดอารมณ ความรูสึกนึกคิด และความฝนตางๆ ไปยังผูฟงหรือผูอาน 10 5

6

7

9

6

Harrison, Mark. (2009). All about Music Theory: A Fun and Simple Guide to Understanding Music. n.p.: Hal Leonard Michal Miller. (2005: 58-61). Music Composition. A member of penguin Group (USA). Alpha 8 Rochinski, Steve. Understanding Reharmonization. สืบคนเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2565 จาก www.amazonnaws.com/bm-marketingassets/handbooks/music-theory-handbook.pdf. 9 บุญยงค เกศเทศ. (2525: 47). วรรณกรรมวิเคราะห (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร 10 มัยลา ศรีโมรา. (2540). การวิเคราะหบทเพลงของสงา อารัมภีร. ปริญญานิพนธ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7


41

กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ผูสรางสรรคกำหนดวิธีการสรางสรรคเปน 5 กระบวนการดังนี้ 1. กำหนดปญหาเพื่อทำการสรางสรรค ผูสรางสรรคกำหนดปญหาของการสรางสรรคบทเพลง จากการพิจารณาถึงที่มาและความสำคัญของมหาวิทยาลัยรามคำแหงตั้งแตกอตั้งจนถึงปจจุบัน 2. ทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่ใชการสรางสรรคบทเพลง ผูสรางสรรคทบทวนแนวคิดและทฤษฎี ที่ใชการสรางสรรคบทเพลง ซึ่งประกอบไปดวย โครงสรางดนตรีสมัยนิยม ทำนองดนตรีสมัยนิยม การใช เสียงประสานแบบดนตรีแจส วรรณกรรมเพลง 3. กำหนดกรอบแนวคิดในการสรางสรรคบทเพลง

4. ดำเนิ น การสร า งสรรค บ ทเพลง ผูส รางสรรคดำเนินการประพัน ธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิ ทยาลั ย รามคำแหง) ในรูป แบบดนตรีส มั ย นิย ม โดยการประพั น ธ ทำนองใหมี ความรูสึกฟงงาย นาจดจำ พรอมทั้งเรียบเรียงเสียงประสานแบบดนตรีแจส เชน การใชคอรดโครมาติก การใชเสียงประสานหาแนว ตลอดจนการใชทางเดินคอรดแบบ ii - V ผสมผสานกับการดำเนินคอรดใน ไดอาโทนิก ทั้งนี้การใชเสียงประสานแบบดนตรีแจสในการประดับทำนองแบบดนตรีสมัยนิยมเปนการ สงเสริมใหทำนองที่ถูกสรางสรรคขึ้นเพื่อใหแคฟงงายและนาจดจำมีพื้นผิวที่มีคุณคาทางการศึกษาดนตรี ขั้นสูงในระดับสากล 5. นำเสนอผลงานสรางสรรค ผูสรางสรรคไดนำงานสรางสรรคเผยแพรนำเสนอ ดังนี้ 1) เผยแพรผานสื่อสังคมออนไลนเว็บไซต www.YouTube.com 2) ในการประชุมวิชาการและเผยแพรงานสรางสรรคระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสรางสรรค ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยูรวมกันในอาเซียน”


42

องคประกอบของผลงานสรางสรรค คำรอง บทประพันธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ในรูปแบบ ดนตรีสมัยนิยม เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เฝาคอยผลักดันและเคลื่อนไหว โอกาสทางการศึกษาใหทุกคนไดเขาถึง สงตอความรูส ูแดนไกล

จึงถูกสรรคสรางมาเพื่อวงการศึกษาไทย ใหไดเปนมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม ใหทุกคนไดพึ่งไดเรียนรูทุกชวงวัย ครอบคลุมไปทั่วทุกถิ่นทั่วแดนไทยกวางไกลไปถึงสากล


43

เปนดั่งเสาเข็มยึดมาหาทศวรรษ แกไขปญหาใหผานพน

เปนดั่งลงที่พัดพาความสำเร็จทุกแหงหน อยูคูทุกขสุขในสังคมสมดั่งคำรามคูฟา

เพราะสังคมตองการก็เพราะสังคมรออยู จะขอเปนทุกอยางทุกหนทางที่จะเติมเต็มพลัง

รอคนเคียงคูสูพรอมไปดวยกัน เติมแตงภาพแหงความสำเร็จ

*จากวันนั้นจนวันนี้หาสิบปยังเกริกไกร ความรูคูคณ ุ ธรรมรับใชสังคมใหครบครัน กี่พรุงนี้จะเปลี่ยนจะนานแคไหนยังคงไมเปลี่ยนแปลง เห็นเสนทางนำชัยสูวันที่งดงาม

และจะยังกาวตอไปดวยใจมั่นคง เพื่อคงความมุงมั่นตามคําปณิธาน รามจะยังคงเปนเปลวเทียนสองแสงในหัวใจ

Instrument Solo อุปสรรคทีเ่ ขามาจะกี่ปญหาผานพนไดทุกคราว แมวันนี้จะมีบทเรียนเรื่องใหมจะหนักแคไหนเราพรอมที่จะรับมัน (*)

และจะเปนบทเรียนเพื่อพัฒนาและกาว รวมพลังแลวผานพนไปดวยกันเพื่อวันที่สดใส


44

โนตบทประพันธเพลงเปลวเทียนนำทาง (ครบรอบ 50 ป มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ในรูปแบบ ดนตรีสมัยนิยม


45


46


47


48

ชเวดากอง จากระนาดไทยสู่ระนาดฝรัง ่ ผลงานสรางสรรค โดย

นายเลิศศักดิ์ รักสุจริต โรงเรียนเซนตคาเบรียล

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค การเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยบทเพลงชเวดากองสำหรับวงปพาทยไมแข็งเปนวงเครื่อง กระทบที่ประกอบไปดวยเครื่องตีกระทบที่มีระดับเสียงแนนอน (pitch percussion) ไดแก 1) กล็อคเคน สป ล (glockenspiel) 2) ไวบราโฟน (vibraphone) และ 3) มาริ ม บา (marimba) ซึ ่ ง ทั ้ ง สามชนิ ด มี ลักษณะของเสียงที่แตกตางกันออกไป และสรางบุคลิกแบบดนตรีตะวันตกไดเปนอยางดี มีความเปนสากล มากขึ้น โดยสามารถอธิบายในแตละทอนไดดังนี้ ทอนเปด (introduction) เปนรูปแบบวิธีการเริ่มบทเพลงแบบเดียวกันกับบทเพลงชเวดากอง เถาของครูบุญยงค เกตุคง และคงไวดวยลักษณะของการรับสงระหวางเครื่องดนตรีกับวง ผูสรางสรรคเลือกใชเครื่องไวบราโฟน และ มาริมบา ในการเลนทำนองในลักษณะของขั้นคู 8 เปนการพลิกกลับขั้นที่ 2 ของอารเปโจในบันไดเสียง C Major (ภาพประกอบที่ 1) สลับกับการพลิกกลับขั้นที่ 2 ของอารเปโจในบันไดเสียง D minor และคอย ๆ เพิ่มความกระชั้นของจังหวะไปเรื่อย ๆ กอนนำเขาสูแนวทำนองแรกของบทเพลง การรับสงระหวางการ เลนทำนองของไวบราโฟน และมาริมบาในทอนเปดนี้จะเปนการบรรเลงโดยมาริมบาเปนโมทีฟสั้น ๆ ใน กลุมโนตเขบ็ต 2 ชั้นกอน และจะถูกรับดวยการบรรเลงโมทีฟในแบบเดียวกันจากมาริมบาในอีกชวงเสียง หนึ ่ ง ซึ ่ งสำหรั บโมที ฟแรกที่ บรรเลงผูสรางสรรคป รับมาจากการใหส ัญ ญาณกลองจากเพลงตนฉบับ (ภาพประกอบที่ 2)

ภาพประกอบที่ 1 : ทำนองเปดในลักษณะของขั้นคู 8


49

ภาพประกอบที่ 2 : การรับสงของโมทีฟที่ปรับมาจากการใหสัญญาณกลองจากเพลงตนฉบับ

ตอเนื่องจากทอนเปด การประสานเสียงอยูบนบันไดเสียง C Major และ D minor โดยในทอนนี้ เปดดวยกลุมโนตโมทีฟที่บรรเลงขึ้นลงสลับไปมา (ภาพประกอบที่ 3) กอนที่จะนำเขาสูทอนตอไปโดยการ ใชกลุมโนตโครมาติกจาก C ลงมาเปน A เชื่อมเขาไปสูบันไดเสียง A minor (ภาพประกอบที่ 4) สำหรับ การประสานโมทีฟดังกลาวมีรูปแบบของจังหวะที่เลียนแบบมาจากจังหวะของกลองจากทำนองเพลง ตนฉบับเพื่อขับเคลื่อนเพลงในลักษณะเดียวกันกับวงปพาทยนั่นเอง (ภาพประกอบที่ 5) ภาพประกอบที่ 3a : โมทีฟทีบ่ รรเลงสลับไปมาระหวาง A และ G

ภาพประกอบที่ 3b : โมทีฟที่บรรเลงสลับไปมาระหวาง A และ G

ภาพประกอบที่ 4 : กลุมโนตโครมาติกจาก C – A เพื่อนำเขาสูบันไดเสียงใหม


50

ภาพประกอบที่ 5 : รูปแบบการประสานเสียง

เมื่อเขาสูบันไดเสียงไมเนอร ในชวงตอนนี้เปรียบเสมือนกับทอนเชื่อมในบันไดเสียงที่สัมพันธกัน (relative key) อย า ง C Major และ A minor เริ่มดว ยการบรรเลงอารเปโจในบัน ไดเสีย ง A minor แบบไลลงดวยโนตตัวดำโดยไวบราโฟน และสอดประสานดวยอารเปโจแบบไลขึ้นดวยกลุมโนตสามพยางค กอนที่จะเคลื่อนมาเปนกลุมโนตอารเปโจในคอรดที่ 5 ในบันไดเสียง C Major ซึ่งก็คือกลุมโนตในบันได เสียง G Major ที่จะสรางความหนักแนนใหกับการลงจบในบันไดเสียงหลักของเพลงอีกครั้ง ทอนทำนองหลัก (Theme) ชวงเริ่มตนของแนวทำนองหลักยังคงขับเคลื่อนอยูในบันไดเสียง C Major การดำเนินของแนวถูก เคลื่อนยายมาบรรเลงในแนวของมาริมบา บรรเลงในลักษณะของอารเปโจ กระทั่งถึงแนวทำนองหลักผู สรางสรรคไดยายมาบรรเลงในไวบราโฟนและมาริมบา สำหรับเสียงประสานเริ่มเพิ่มความเปนดนตรี ตะวันตกมากขึ้นจากการใชคอรดทบ 7 เพื่อสรางสีสันของบทเพลง (ภาพประกอบที่ 6)

ภาพประกอบที่ 6 : การประสานเสียงแบบตะวันตก

อีกทั้งยังเพิ่มการสอดประสานเแบบทำนองหลักและการแปรหลังจากที่เลนทำนองหลักไปแลว 1 รอบลงไปโดยทั้งทำนองหลักและทำนองแปรจะถูกบรรเลงพรอมกันดวย (ภาพประกอบที่ 7)

ภาพประกอบที่ 7 : การสอดประสานทำนองหลักและการแปรทำนอง

เขาสูทอนทำนองหลักที่สองซึ่งเปนทำนองที่รูจักกันจากบทเพลงพมาเขว หรือ เพลงชาง เปดดวย การนำเสนอทำนองหลั ก แบบเรี ย บง า ยก อ นที ่ จ ะแปรทำนองหลั ก ให ม ี ค วามกระชั ้ น มากยิ ่ ง ขึ้ น (ภาพประกอบที่ 8) โดยลักษณะของการเรียบเรียงหลังจากทอนทำนองหลักเปนตนไปจะมีรูปแบบที่


51

คลายคลึงกันจากขางตนจนถึงตอนจบของบทเพลงที่จะมีเรื่องของการแปรทำนองหลักใหมีความกระชั้น ขึ้นเหมือนกับการบรรเลงของวงปพาทยที่จะสรางการขับเคลื่อนบทเพลงใหมีความสนุกสนานมากยิ่งขึ้น

ภาพประกอบที่ 8 : การสอดประสานทำนองหลักและการแปรทำนอง

แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค ผลงานสรางสรรค “ชเวดากอง” เปนผลงานการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงไทยสำหรับวงเครื่อง กระทบ (percussion ensemble) บทเพลงชเวดากองชั้ น เดีย วซึ่ งเปน เพลงทำนองเก าสำเนี ย งพม า ประเภทหนาทับมี 2 ทอน ทอนละ 8 จังหวะ มีชื่อวาเพลงพมาเขว โดยในภายหลังครูบุญยงค เกตุคงไดนำ ทำนองมาประพันธขยายเปนอัตราจังหวะสองชั้น และสามชั้น เรียบเรียงเปนเพลงเถา และเรียกชื่อใหมวา ชเวดากอง การเรียบเรียงบทเพลงผูสรางสรรคไดศึกษาเทคนิคการเรียบเรียงบทเพลงชเวดากองที่ถูกนำมา เรียบเรียงผสมผสานกับดนตรีตะวันตกของนักดนตรีชาวอเมริกันผูเชื่อมโยงดนตรีไทยสูสากล อาจารยบรูซ แกสตัน ศิลปนศิลปาธรกิตติคุณ สาขาคีตศิลป ประจำปพุทธศักราช 2552 การสรางสรรคบทเพลง ชเวดากองใชเทคนิคการประพันธและเรียบเรียงเสียงประสานบทเพลงตะวันตก อยูภายใตขอบเขตที่สำคัญ คือการรักษาแนวทำนองดนตรีไทยไวใหครบถวน มีแนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรคดังนี้ การรักษาแนวทำนองหลัก ในการเรียบเรียงบทเพลงชเวดากอง ผูสรางสรรคจะคงไวซึ่งการดำเนินของแนวทำนองหลักที่ครู บุญยงค เกตุคงไดประพันธไวอยางงดงาม เพียงแตจะมีการปรับลักษณะของจังหวะบางชวงบางตอนตาม แนววิธีการบันทึกโนตแบบดนตรีตะวันตก หรือการแปรทำนองแบบดนตรีตะวันตกเองซึ่งผูสรางสรรคกไ็ ด เรียบเรียงใหยังฟงเหมือนกับบทเพลงตนฉบับ


52

การประสานเสียงแบบดนตรีตะวันตก การประสานเสียงแบบตะวันตก รวมถึงการใสโนตสอดประสานแบบตะวันตกผูสรางสรรคไดนำ ทั้งแนวคิดของบทประพันธเพลงคลาสสิกสำหรับวงเครื่องกระทบ และบทเพลงประเภททำนองหลักและ การแปรมาใชเปนแนวทางในการตีความและสรางเปนแนวทางในการเรียบเรียงเสียงประสานใหกับบท เพลงชเวดากอง กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ในการสรางสรรคผลงานเรียบเรียงบทเพลงชเวดากอง สำหรับวงเครื่องกระทบ ผูสรางสรรคได กำหนดวิธีการสรางสรรคเปนกระบวนการดังนี้ 1. พิจารณาเลือกบทเพลง ผูสรางสรรคเลือกบทเพลงที่มีความงายในดานของแนวทำนองเพื่อ นำมาสรางสรรคใหมีความนาสนใจในแงของการประสานเสียงมากยิ่งขึ้นโดยทำนองของบทเพลงจะตองไม ผิดเพี้ยนไปจากตนฉบับแตอยางใด 2. ทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการสรางสรรคบทเพลง รวมถึงศึกษาบทเพลงชเวดากองที่ ถูกเรียบเรียงขึ้นโดยอาจารยบรูซ แกสตัน ศิลปนศิลปาธรกิตติคุณ สาขาคีตศิลป ประจำปพุทธศักราช 2552 ผูซึ่งใกลชิดกับครูบุญยงค เกตุคงและสรางสรรคบทเพลง ชเวดากองตั้งแตแรกเริ่ม สำหรับแนวคิด และทฤษฎีประกอบดวย โครงสรางของบทเพลงตะวันตก การเรียบเรียงเสียงประสาน และประวัติความ เปนมา รูปแบบวงของบทเพลงชเวดากอง เถา 3. กำหนดกรอบแนวคิดในการสรางสรรคบทเพลง 4. ดำเนินการสรางสรรคบทเพลง ผูสรางสรรคเรียบเรียงบทเพลงชเวดากองในรูปแบบวงเครื่อง กระทบสากล โดยยังคงไวซึ่งโครงสรางหลักของบทเพลง แนวทำนองหลักของบทเพลง แตเรียบเรียงเสียง ประสานใหเปนไปในทางดนตรีตะวันตก การดำเนินคอรดในไดอาโทนิกเพิ่มความนาสนใจใหกับบทเพลง และผสานสองวัฒนธรรมดนตรีไทยและดนตรีตะวันตกเขาดวยกันไดอยางลงตัว 5. นำเสนอผลงานสรางสรรค


53

องคประกอบของผลงานสรางสรรค


54


55


56

เพลงกัญชาไทย ผลงานสรางสรรค โดย

อาจารยวรพงศ อุยยก คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค ผลงานสรางสรรคครั้งนี้ เปนรูปแบบเพลงดนตรี ที่มีลักษณะเปนเพลงที่มีการขับรอง ประพันธ ทำนอง คำรอง และเรียบเรียงดนตรีขึ้นมาใหมทั้งหมดชื่อเพลง “กัญชาไทย” โดยไดแรงบันดาลใจมาจาก การที่ผูสรางสรรค ไดรับเชิญใหไปแสดงดนตรีในงานการบรรยายเรื่อง “กัญชากับการรักษามะเร็ ง” ณ ศูนยประชุมเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว อำเภอแมสอด จังหวัดตาก วันที่ 20 กรกฎาคม 2562 จึงเกิดแรง บันดาลใจในการสรางสรรคผลงานเพลง เพื่อเปนตัวแทนประชาชนเปนการขอบคุณ วิทยากร บุคลากรทาง การแพทย ตลอดจนคณะกรรมการจัดงาน ที่มามอบความรูใหแกประชาชนผูเขารวมงาน โดยผูสรางสรรค ผลงาน มีความตั้งใจอยากบอกเลาถึงความหวังของผูปวยโรคนี้สามารถหายจากโรครายดวยการใชน้ำมัน กัญชาเพื่อรักษาโรค และความหวังของประชาชนที่จะไดรับความรูและสิทธิ์ในการปลูกกัญชาที่เปนพืช เศรษฐกิจอยางถูกกฎหมาย รู ป แบบผลงานสร างสรรค ช ิ ้ น นี ้ ได ว างกรอบแนวคิด ให ม ี ร ู ป แบบ เป น แบบเพลงสมั ย นิย ม (Popular Song) เพื่องายตอการเขาถึงบทเพลง โดยมีความยาว 3.59 นาที ทำนองเพลง ไดรับแรงบันดาล ใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลงพื้นบานทางภาคเหนือ โดยจะเปนการขับรองเลาเรื่องราวของชาว ลานนาโดยใชเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือ มีลักษณะภาษาคำรองเปนภาษาทองถิ่นทางภาคเหนือ ในสวนของการเลือกใชเครื่องดนตรี ผูสรางสรรคไดกำหนดกรอบแนวคิดในการเรียบเรียงเสียง ประสาน โดยผูสรรคสรางเลือกใชเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีพื้นบานทาง ภาคเหนื อ เพื ่ อเป น การบรรยายบรรยากาศของบทเพลงนี้ใหเหมาะกับ คำรองและทำนองมากที่สุด สามารถเสนอรูปแบบผลงานเพลง “กัญชาไทย” ไดดังนี้


57

เพลง “กัญชาไทย” ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใจเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง


58


59

สรุปเปนแผนผังเพื่อใหดูงาย ขึ้นดังนี้ Introduction (Interlude) มีความยาว 4 หองเพลง Verse. 1 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 2 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 3 มีความยาว 8 หองเพลง Interlude (Music) มีความยาว 8 หองเพลง Verse. 4 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 5 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 1 หองเพลง Verse. 6 มีความยาว 8 หองเพลง Refrain มีความยาว 8 หองเพลง Ending มีความยาว 4 หองเพลง ความยาวโดยรวมประมาณ 3.59 นาที

แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค ผูสรางสรรคมีแนวคิดในการสรางสรรคผลงานครั้งนี้สามารถนำเสนอไดดังนี้ 1. แนวคิดภาพรวม ผูสรางสรรคมีความตั้งใจใหผลงานชิ้นนี้มีความเปนเอกลักษณ เชน ทำนอง คำรอง ดนตรี เครื่อง ดนตรี และผูขับรอง ใหองคประกอบทั้งหลายมีความกลมกลืนกันมากที่สุด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคกำหนดแนวคิดในการนำไดรับ แรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลง พื้นบานทางภาคเหนือ โดยจะเปนการขับรองเลาเรื่องราวไปกับเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือ โดยใช ภาษาคำรองเปนภาษาทองถิ่นทางภาคเหนือ โดยความตั้งใจที่จะบอกเลาถึง ความหวังของผูปวยที่จะหาย จากการเจ็บปวยจากโรครายโดยใชน้ำมันกัญชาเพื่อรักษาโรค และความหวังของประชาชนที่จะไดรับ ความรูและสิทธิ์ในการปลูกกัญชาที่เปนพืชเศรษฐกิจอยางถูกกฎหมาย 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคกำหนดแนวคิดในการนำไดรับ แรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลง พื้นบานทางภาคเหนือ แตมิไดใชทำนองเดียวกันแตอยางใดเปนการสรางทำนองขึ้นมาใหม โดยใหมีกลิ่น อายความเปนทำนองทางภาคเหนือ


60

4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี กำหนดแนวคิดในการเลือกใชเครื่องดนตรีเครื่องดนตรี ไดกำหนดกรอบแนวคิดในการเรียบเรียง เสียงประสาน โดยผูสรรคสรางไดใชเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีพื้นบานทาง ภาคเหนือ เพื่อเปนการบรรยายบรรยากาศของบทเพลงนี้ใหเหมาะกับคำรองและทำนองมากที่สุด 5. แนวคิดดานการขับรอง ผูประพันธคำรองและผูขับรองโดย นางสาวเมญาณี เทียบเทียม ซึ่งเปนผูที่กำเนิดและอาศัยอยู ในทางภาคเหนือ ทำใหมีความคุนชินในการใชภาษาและการออกเสียงภาษาเหนืออยางดี จึงงายตอการ สื่อสาร ใหเพลงนี้ สงผานถึงผูฟงไดอยางดีตามวัตถุประสงคของผูสรางสรรค กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ในการการสรางสรรคผลงานครังนี้ ผูสรางสรรคขอนำเสนอกระบวนการทางความคิด และเทคนิค ที่ใชในการสรางสรรคโดยขยายรายละเอียด ไดดังนี้ 1. ดานภาพรวม ยังคงพยายามสรางสรรคงานใหไดตามวัตถุประสงคตามกระบวนการที่วางไวทั้งหมด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคมีการใชแนวคิดที่ไดรับแรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลงพื้นบาน ทางภาคเหนือ โดยจะเปนการขับรองเลาเรื่องราวไปกับเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือ โดยใชภาษาคำ รองเปนภาษาทองถิ่นทางภาคเหนือ โดยใชหลักการของกลอนแปด ซึ่งในแตละวรรคจะมี 7 คำ หรือ 8 หรือ 9 คำก็อนุโลม ซึ่งเปนที่ยอมรับในแบบแผนในความเปนมาตรฐาน โดยมายึดหลักของความสั้นยาว ของตัวโนต เพื่อใหเกิดความเหมาะสมดังตัวอยางขางลางนี้ Verse.1 วันนี้ดีใจ ไดมาพบกั๋น ปอแมปนอง เฮาบคอยสบาย

วันนี้เบิกบาน จึงไดมาพรอมใจ ปูยาตายาย เฮาตุกใจเหลือเกิน

Verse.2 ขาววามี คนจะมาจวยเฮา ขาววามี คนดีเขามา

ขาววามี คนมาจวยฮักษา หมอเทวดา จะมาจวยเฮา


61

Verse. 3 จะเอาความฮู ตี้ดีมาฝาก จะเอาวิชา มาสอนฮื้อเฮา

จะเอาความยากจนไปจากเฮา หมดจากความเศรา ดวยน้ำมันกัญชา

คำรองใน 3 ทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตละวรรคมี 7-9 คำตามแบบแผน โดยใน Verse.2 นอกเหนือจากสัมผัสแลว ยังมีการเลนคำดวยโดยในวรรคที่ 1,2 และ 3 จะขึ้นตนดวยคำ วา “ขาววามี” Verse.3 นอกเหนือจากสัมผัสแลว ยังมีการเลนคำดวยโดยในวรรคที่ 1,2และ3 จะขึ้นตน ดวยคำวา “จะเอา” เพื่อใหเกิดความไพเราะและการเนนย้ำเนื้อหาใหเปนที่จดจำ Verse. 4 กัญชาเขาวาบดี แตมาวันนี้ มันจวยฮักษา

ถูกสอนอยางนี้ แตโบราณนานมา โรคตางๆนาๆ ตี้วารายแรง

คำรองใน Verse. 4 ทอนนี้ มีการประพันธใหเปนแบบกลอนแปด แตละวรรคที่ 1 มีเพิยง 6 คำ เพื่อใหเกิดความแตกตาง เปรียบเสมือนเปนทอน Hook โดยใหจำนวนพยาคของคำรองไมเทากันเกินไป มี ผลทำใหทอนนี้มีความแตกตางจากทอนอื่นๆ แตยังคงความสมมาตรทางดนตรี ที่มีความยาวของหองเพลง ที่มีความสมมาตรกัน Verse. 5 อยากใจ หื้อมันถูกตอง หมูเฮา ทุกคนนั้นหนา

อยากใจ เอามาเปนยา ก็หวังพึ่งพา ตั๋วแทนคนไทย

คำรองในทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตในวรรคที่ 1,2และ3 ใชเพียง 6 คำ เพื่อใหเกิดความแตกตางจากแบบแผนเดิมในทอนกอนหนากอนหนาโดยใน Verse.2 นอกเหนือจากสัมผัส แลว ยังมีการเลนคำดวยโดยในวรรคที่ 1และ2 จะขึ้นตนดวยคำวา “อยากใจ” เพื่อใหเกิดความไพเราะ และการเนนย้ำเนื้อหาใหเปนที่จดจำ Verse. 6 ชาวประชา นั้นมีความหวัง มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข

คนปวยก็ยัง คงมีมากมาย มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก


62

คำรองใน Verse. 6 ทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตละวรรคมี 7-9 คำตาม แบบแผน Refrain มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข มาจวยฮักษา

มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก ดวยกัญชาไทย

คำรองใน Refrain ทอนนี้ เปนการนำเนื้อหาจากทอน Verse. 6 มาซ้ำเพื่อเนนย้ำถึงเนื้อหาที่ผู สรางสรรคอยากจะสื่อใหผูฟง เห็นถึงความสำคัญของเนื้อหาของบทเพลงโดยมาสรุปปดทาย ดวยคำ 3คำ สุดทายวา “กัญชาไทย” ซึ่งเปนชื่อเพลงนั่นเอง 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคไดมีตั้งใจใหบทประพันธนี้ที่ไดรับแรงบันดาลใจมาจากการ “ซอ” ซึ่งเปนบทเพลง พื้นบานทางภาคเหนือ แตมิไดใชทำนองเดียวกันแตอยางใดเปนการสรางทำนองขึ้นมาใหม โดยใหมีกลิ่น อายความเปนทำนองทางภาคเหนือ จนไดขอสรุปวา บันไดเสียง Pentatonic ดูจะเหมาะสมที่สุด จึงได เริ่มเขียนเพลงนี้ โดยมีขั้นตอนพอสรุปไดดังนี้ 3.1 ศึกษาวิเคราะห ขอมูลเนื้อหาตางๆที่จะนำมาใช แตงเปนบทเพลงนี้ จนไดคำจำกัดความที่จะ ตั้งชื่อบทเพลงวา “กัญชาไทย” เปนตัวตั้ง 3.2 เลือกบันไดเสียงเพื่อใชประพันธทำนอง โดยใชบันไดเสียง Pentatonic ดูจะมีความเหมาะสม มีกลิ่นอายดนตรีทางภาคเหนือมากที่สุด และนาจะดูกลมกลืนกับคำรอง และใชคอรดงายๆ ในสไตลเพลง โฟลคซองเพื่อรองรับทำนองใหกลมกลืนที่สุด 3.3 สราง Motive ในวรรคแรกของ Verse. 1 และใน Verse. ตอๆไป นั้นจะใชปรับเปลี่ยนจาก เดิมใน Verse. 1 เพื่อใหเกิดความไพเราะและเหมาะสมกับคำในบทเพลง แตยังใชโครงสรางเดียวกัน โดย ที่จะเปนโครงสราง 8 บวก 1 เสมอ คือจะมีคำรอง 8 หองเพลง และจะตอดวยดนตรีอีก 1 หองเพลงเสมอ เพื่อใหผูฟงไมรูสึกเบื่อ เปนการสงตอไปหาทอนเพลงถัดไป และเพื่อใหผูฟงจดจำไดงายดังตัวอยางขางลางนี้ Verse. 1


63

Verse. 2

Verse. 3

Verse. 4

Verse. 5

Verse. 6


64

ใน Verse. 3 จริงๆก็ยังมีโครงสรางแบบ 8 หองเพลงบวก 1 หองเพลงอยู เพียงแตวาหองเพลงที่ ตอทายทอนนี้ จะเขาทอนบรรเลงดนตรี และในสวน Verse. 6 จะไมมี ดนตรีหนึ่งหองนั้นเพราะจะนำพา เขาไปทอน Refrain เลยนั้นเพื่อความกระชับและสรุปความไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยผูสรางสรรค ตองการใหทำนองในการขับรองเปนแบบสำเนียงทางภาคเหนือมาที่สุด 4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี มีการพิจารณาเลือกเครื่องดนตรีที่เปนเอกลักษณ สีสันของเพลงทางภาคเหนือ เชน สะลอ ซึง และผสมผสานกับ Violin Guitar เพื่อใหมีความเปนแบบเพลงสมัยนิยม (Popular Song) เพื่องายตอการ เข าถึ งบทเพลง และใชคอร ดขั ้ นพื้นฐานที่ส ามารถกลมกลืนกับ ทำนอง จากนั้น จึงคิดทำนองในสวน Introduction โดยจงใจสรางทำนองสวนนี้ใหลักษณะเปน Interlude ที่ไดประโยคเพลงใน Verse. 1 มา ขยายเพื่อเปนการย้ำเตือนผูฟงใหเคยชิน และจดจำไดดังตัวอยางขางลางนี้ Introduction

ในสวนทอน Interlude (Music) และทอน Ending ก็ไดใชวิธีการเดียวกัน Interlude (Music)

Ending


65

5. แนวคิดดานการขับรอง ในหัวขอนี้ผูประพันธคำรองและผูขับรองเปนทานเดียวกันคือ นางสาวเมญาณี เทียบเทียม ซึ่งเปน ผูที่กำเนิดและอาศัยอยูในทางภาคเหนือ ดวยมีภูมิลำเนาเปนชาว จ. ตากทำใหมีความคุนชินในการใช ภาษาและการออกเสียงภาษาเหนืออยางดี จึงงายตอการสื่อสารใหเพลงนี้ สงผานถึงผูฟงไดอยางดีตาม วัตถุประสงคของผูสรางสรรค สงผลทำใหบทเพลงนี้มีเอกลักษณสำเนียงและภาษาทางภาคเหนือได กลมกลืน องคประกอบของผลงานสรางสรรค ผูรวมงานสรางสรรคคผลงานเพลงนี้ ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม ขับรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใบเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง บันทึกเสียง อ.มารค ใบเตย


66

เพลง “กัญชาไทย” ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใจเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง


67


68

เพลง “กัญชาไทย” ทำนอง เมญาณี เทียบเทียม , อ.วรพงศ อุยยก คำรอง เมญาณี เทียบเทียม เรียบเรียง อ.มารค ใจเตย , อ.วรพงศ อุยยก ไวโอลิน อ.วรพงศ อุยยก เครื่องดนตรีพื้นเมือง อ.ภานุทัต อภิชนาธง

Verse.1 วันนี้ดีใจ ไดมาพบกั๋น ปอแมปนอง เฮาบคอยสบาย Verse.2 ขาววามี คนจะมาจวยเฮา ขาววามี คนดีเขามา Verse. 3 จะเอาความฮู ตี้ดีมาฝาก จะเอาวิชา มาสอนฮื้อเฮา Verse. 4 กัญชาเขาวาบดี แตมาวันนี้ มันจวยฮักษา Verse. 5 อยากใจ หื้อมันถูกตอง หมูเฮา ทุกคนนั้นหนา Verse. 6 ชาวประชา นั้นมีความหวัง มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข Refrain มาจวยฮักษา หื้อหายปวยไข มาจวยฮักษา

วันนี้เบิกบาน จึงไดมาพรอมใจ ปูยาตายาย เฮาตุกใจเหลือเกิน ขาววามี คนมาจวยฮักษา หมอเทวดา จะมาจวยเฮา จะเอาความยากจนไปจากเฮา หมดจากความเศรา ดวยน้ำมันกัญชา ถูกสอนอยางนี้ แตโบราณนานมา โรคตางๆนาๆ ตี้วารายแรง อยากใจ เอามาเปนยา ก็หวังพึ่งพา ตั๋วแทนคนไทย คนปวยก็ยัง คงมีมากมาย มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก มาจวยคนไทย หื้อหายลำบาก ดวยกัญชาไทย


69

เพลงลับแลไม่แลลับ ผลงานสรางสรรค โดย

อาจารยมนตรี นุชดอนไผ และอาจารยอมรรัตน กานตธัญลักษณ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค ผลงานสรางสรรคครั้งนี้ มีรูปแบบเพลงดนตรีมีลักษณะเปนเพลงมีการขับรอง ประพันธทำนอง คำรอง และเรียบเรียงดนตรีขึ้นมาใหมทั้งหมด ชื่อเพลง “ลับแลไมแลลับ” เพื่อใชในพิธีเปดพิพิธภัณฑเมือง ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2557 โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากเทศบาลเมือง ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ รูปแบบงานสรางสรรคชิ้นนี้ วางกรอบแนวคิดใหมีรูปแบบเปนแบบเพลงสมัยนิยม (Popular song) เพื่องายตอการเขาถึงของคนหมูมาก ความยาวประมาณ 4 นาที เลือกใชทำนองที่มีสำเนียงแบบ ลานนา ใชภาษาของคำรองภาษาไทย ผสมผสานกับภาษาลานนาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเมืองลับแล โดย นำเสนอความโดดเดนของเมืองลับแล ในสวนของการเลือกใชเครื่องดนตรี ไดกำหนดกรอบแนวคิดใหเปน เอกลักษณทางภาคเหนือ ในการขับรองไดสรรหาผูขับรองที่มีภูมิลำเนาเปนคนภาคเหนือ เพื่อการถายทอด สำเนียงภาษาของเสียงการขับรองที่เปนธรรมชาติใหกลมกลืนกับผลงานครั้งนี้ใหมากที่สุด สามารถเสนอ รูปแบบผลงานเพลง “ลับแลไมแลลับ” ไดดังนี้


70


71


72

สรุปเปนแผนผังเพื่อใหดูงายขึ้นดังนี้ Introduction (Interlude) มีความยาว 4 หองเพลง Verse. 1 มีความยาว 8 หองเพลง Extension 2 หองเพลง Verse. 2 มีความยาว 8 หองเพลง Hook. มีความยาว 8 หองเพลง Verse. 3 มีความยาว 8 หองเพลง Interlude (Music) มีความยาว 4 หองเพลง Verse. 2 มีความยาว 8 หองเพลง Hook. มีความยาว 8 หองเพลง Verse. 3 มีความยาว 8 หองเพลง Refrain (Ending) มีความยาว 2 หองเพลง ความยาวโดยรวม ประมาณ 4 นาที แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค ผูสรางสรรคมีแนวคิดในการสรางสรรคผลงานครั้งนี้สามารถนำเสนอไดดังนี้ 1. แนวคิดภาพรวม งานสรางสรรคควรตองมีภาพชัดเจน ใหเห็นถึงความเปนอัตลักษณของงานชิ้นนี้ เชน ทำนอง คำรอง ดนตรี เครื่องดนตรี และผูขับรอง ใหองคประกอบทั้งหลายมีความกลมกลืนกันมากที่สุด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคกำหนดแนวคิดในการนำบทการนำบทกลอนของอาจารยอมรรัตน กาตธัญลักษณ มาใสทำทำนองใหเกิดเปนเพลงสรางสรรค ดวยอาจารยอมรรัตนเปนผูที่ถือกำเนิดที่เมืองลับแล ไดชนะเลิศ จากประกวดแตงกลอนบทนี้มีเนื้อหาเมืองลับแล ในระดับชาติ ผูสรางสรรคจึงเกิดแนวคิดในการนำบท กลอนนี้มาประพันธทำนอง และบันทึกเสียงเพื่อเผยแพร โดยนำบทกลอนนี้มาใชเปนแนวคิ ดในการ สรางสรรคดานคำรองในครั้งนี้ 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคมีแนวคิดวาบทเพลงนี้ควรเลือกใชบันไดเสียงที่สามารถบงบอกถึงลักษณะดนตรี ลานนาทางภาคเหนือ สรางสรรคใหเพลงมีเอกลักษณ


73

4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี กำหนดแนวคิดในการเลือกใชเครื่องดนตรีพื้นบานทางภาคเหนือเปนสวนใหญบรรเลงรวมกับ เครื่องดนตรีตะวันตกบางสวน เพื่อใหมีความรวมสมัย 5. แนวคิดดานการขับรอง เรื่องแนวคิดนี้นับวามีความสำคัญไมนอยกวาที่กลาวมา เพราะเปนบทบาทหนาที่เรื่องการสื่อสาร งานสรางสรรคเพลงสูผูฟง สูสังคม จึงไดสรรหาผูขับรองบทเพลงนี้ที่ควรตองมีความสามารถในระดับ มาตรฐาน มี ค ุ ณ สมบั ต ิ ท ี ่ ม ี ภ ู ม ิ ล ำเนาเป น คนแถบภาคเหนื อ เพื ่ อ สามารถขั บ ร อ งบทเพลงนี ้ ไ ด ต าม วัตถุประสงคของผูสรางสรรค กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ในการการสรางสรรคผลงานครังนี้ ผูสรางสรรคขอนำเสนอกระบวนการทางความคิด และเทคนิค ที่ใชในการสรางสรรคโดยขยายรายละเอียด ไดดังนี้ 1. ดานภาพรวม ยังคงพยายามสรางสรรคงานใหไดตามวัตถุประสงคตามกระบวนการที่วางไวทั้งหมด 2. แนวคิดดานคำรอง ผูสรางสรรคมีการใชแนวคิดที่จะสลายความสมดุลของบทกลอนที่มักนำมาทำเปนเพลงเปน สมมาตรของกลอนแปด ใหเกิดความไมสมดุล เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่แตกตางเชน กลอนแปด มีวรรคละ 8 คำ หรือ 7 หรือ 9 คำก็อนุโลม ซึ่งเปนที่ยอมรับในแบบแผนในความ เปนมาตรฐาน ผูสรางสรรคเพียงขอนำเสนอโดยการเปลี่ยนแปลงเรื่องควาวสมมาตรของพยางคทางภาษาใน บทกลอนใหไมเทากัน (การทำลายสมมาตร) โดยมายึดหลักของความสั้นยาวของตัวโนตที่อาจสามารถ สรางสมมาตรทางดนตรีที่มีความงามไดอีกทางหนึ่ง ของความไมเทากัน ดังตัวอยางขางลางนี้ Verse.1 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล เมืองลับแล เฮานี้มีสารพัน Verse.2 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล สาวลับแล บขี้จุไขละกัน

มาเตอะหนา มาแอวเมืองในฝน หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล มาไขประแจเขาสูเมืองเมืองสวรรค หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล


74

คำรองใน 2 ทอนนี้ มีแบบแผนการประพันธแบบกลอนแปด แตละวรรคมี 8-9 คำตามแบบแผน ดังนี้ Hook. พระศรีพนมาศ พระแทนศิลาอาสน คือทุเรียน เลื่องชื่อลือระบิล

แหลงไมกวาดตองกง อีกหลงหลิน อรอยลิ้นลางสาดรสชาติดี

คำรองในทอนนี้ วรรคที่ 1 มี 10 พยางค วรรคที่ 2, 3, และ 4 มีวรรคละ 8 พยางค แสดงใหเห็นถึงการทำลายสมมาตรของโครงสรางบทกลอนเพื่อตองการไมใหจำนวนพยางคของคำรอง เทากันเกินไป มีผลทำใหทอน Hook มีความแตกตางจากทอนอื่น ๆ แตยังคงความสมมาตรทางดนตรี ที่มี ความยาวของหองเพลงที่มีความสมมาตรกัน 3. แนวคิดดานทำนอง ผูสรางสรรคไดมีการลองผิดลองถูกในเรื่องการเลือกใชบันไดเสียงกับเพลงนี้ใหเหมาะสมหลาย ตอหลายครั้ง จนไดขอสรุปวา บันไดเสียง Pentatonic ดูจะเหมาะสมที่สุด จึงไดเริ่มเขียนเพลงนี้จากบท กลอนใหเปนบทเพลง “ลับแลไมแลลับ” โดยมีขั้นตอนพอสรุปไดดังนี้ 3.1 ศึกษาวิเคราะหบทกลอนเพื่อปรับบทกลอนใหเปนเพลง แบบเพลงสมับนิยม จากนั้น ตั้งชื่อเพลงใหเกิดแนวคิดรวบยอด โดยมีกลอนวรรคหนึ่งวา “...หากอายมาเมืองลับแลอยาแลลับ...” เปน วรรคที่ดลใจใหผูสรางสรรคคิดไดชื่อเพลงขึ้นมาไดวา “ลับแลไมแลลับ” 3.2 เลือกบันไดเสียงเพื่อใชประพันธทำนอง โดยการทดลองกับ บันไดเสียง Major บันได เสียง Natural Minor และบันไดเสียง Pentatonic จนไดขอสรุปเปนบันไดเสียง Pentatonic ดูจะมีความ เปนลานนามากกวา และนาจะดูกลมกลืนกับคำรอง 3.3 สราง Motive ในวรรคแรก ๆ ของ Verse 1 และ Verse 2 ใหมีความละมายคลาย หรือเหมือนกัน เพื่อใหผูฟงจดจำไดงายดังตัวอยางขางลางนี้


75

ในทอน Hook นอกจากคำรองมีการทำใหไมสมมาตรแลว ยังมีการสรางทำนองใหแตกตางจาก ทอน Verse เพื่อใหมีความโดดเดน ดังตัวอยางขางลางนี้

3.4 สรางทำนองการขับรองใหมีสำเนียงแบบเพลงทางภาคเหนือมากที่สุด โดยใชเทคนิคการรอง แบบเอื้อนเสียงนำเอาเครื่องหมาย Slur มาชวย และ Triplet note (Three-Note Groupings) มาชวย ตรงคำวา “ตองกง” “หลงหลิน” และคำวา “คือทุเรียน” ดังตัวอยางขางลางนี้

ผูสรางสรรคตองการใหทำนองในการขับรองเปนแบบสำเนียงทางภาคเหนือมากที่สุด 4. แนวคิดทางดนตรี และเครื่องดนตรี มีการพิจารณาเลือกเครื่องดนตรีที่เปนเอกลักษณ สีสันของเพลงลานนา เชน ซึง ขลุย ป รวมกับ คลาสสิกกีตาร เบส เครื่องหนัง มีการนำเอาเสียงกลองสะบัดชัยมาใชในชวง Introductionเปนตน และใชคอรดขั้นพื้นฐานที่สามารถกลมกลืนกับทำนอง จากนั้นจึงคิดทำนองในสวน Introductionโดยจงใจ สรางทำนองสวนนี้ใหลักษณะเปน Interlude ที่ลักษณะทำนองที่เปนลานนาและนำมาใชซ้ำอีก เพื่อเปน การย้ำเตือนผูฟงใหเคยชิน และจดจำไดดังตัวอยางขางลางนี้


76

5. แนวคิดดานการขับรอง ผูสรางสรรคพยายามสรรหาผูขับรองเพลงนี้ใหไดตามแนวคิดของผูสรางสรรค ดวยการลองผิด ลองถูกหลายคน จนไดตัดสินใจเลือกนักศึกษาชั้นปที่ 2 (พ.ศ. 2557) ชื่อ น.ส.เมญาณี เทียบเทียม เรียน วิชาเอกขับรอง ภาควิชาดนตรีสากล คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง เปนผูขับรองเพลงนี้ ดวยมีภูมิลำเนาเปนชาว จ. ตากไดมาขับรอง สงผลทำใหบทเพลงนี้มีเอกลักษณสำเนียงและภาษาทาง ภาคเหนือไดกลมกลืน องคประกอบของผลงานสรางสรรค ผูรวมงานสรางสรรคคผลงานเพลงนี้ ทำนองโดย มนตรี นุชดอนไผ คำรองโดย อมรรัตน กานตธัญลักษณ เรียบเรียงดนตรีโดย ธนาคม นวลนิรันดร / มนตรี นุชดอนไผ ขับรองโดย เมญาณี เทียบเทียม กีตารโดย มนตรี นุชดอนไผ ขลุย ป และซึงโดย อรัญ แสงเมือง ผสมเสียงโดย ธนาคม นวลนิรนั ดร บันทึกเสียง อมรสตูดิโอ


77

โนตเพลง เนื้อเพลง


78


79

ลับแลไมแลลับ คำรอง : อมรรัตน กานตธัญลักษณ ทำนอง : มนตรี นุชดอนไผ ดนตรี : ธนาคม นวลนิรันดร/มนตรี นุชดอนไผ ขับรอง : เมญาณี เทียบเทียม Verse.1 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล มาเตอะหนา มาแอวเมืองในฝน เมืองลับแล เฮานี้มีสารพัน หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล Verse.2 มาเตอะอาย มาแอวเมืองลับแล เมืองลานนาเปนดั่งเมืองเมืองสวรรค สาวลับแล บขี้จุไขละกัน หากอายหัน อาจบอยากจากลับแล Hook. พระศรีพนมาศ พระแทนศิลาอาสน เมืองทุเรียน เลื่องชื่อลือระบิล

แหลงไมกวาดตองกง อีกหลงหลิน อรอยลิ้นลางสาดรสชาติดี

Verse.3 หากอายมา เมืองลับแลอยาแลลับ สาวลับแล บเคยลืมอายหนามน Refrain. หมูเฮาทุกคน รอฮับอายสูลับแล ลิงกผลงานสรางสรรค https://youtu.be/dL58Acwv2Ac

ขอหื้อกลับ มาเยือนอีกหน หมูเฮาทุกคน รออายมาแอวลับแล


80

เพลงอาเซียนสามัคคี ผลงานสรางสรรค โดย

ผูชวยศาสตราจารยภาณุภัค โมกขศักดิ์ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค รูปแบบการประพันธและเรียบเรียง เพลงไทยประเภทเพลงตับ ออกสำเนียงภาษาในภูมิภาค อาเซียน มี 10 สำเนียงภาษาหรื อ 10ประเทศในกลุ มอาเซี ยน คือ 1.สำเนียงลาว 2 .สำเนียงกัมพูช า 3. สำเนียงมาเลเซีย 4. สำเนียงพมา 5. สำเนียงอินโดนีเซีย 6.สำเนียงเนียงสิงคโปร 7. สำเนียงฟลิปปนส 8. สำเนียงบรูไน 9. สำเนียงเวียดนาม และสำเนียงไทย มีอัตราจังหวะสองชั้นและชั้นเดียว แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค การประพันธเพลงเพื่อการฟง จากบทเพลงที่ไดรับความนิยมกันอยางกวางขวางของแตละชาติใน กลุมอาเซียน 10 ประเทศ ทำมาประพันธรอยเรียงเปนเพลงประเภทเพลงตับ เพื่อใชบรรเลงดวยวงดนตรี ไทยและเครื่องดนตรีไทยระดับเสียงปกติ กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค 1. การคัดเลือกบทเพลงที่ไดรับความนิยมของชาติตาง ๆ ในกลุมประเทศอาเซียน 10 ประเทศ 2. นำเพลงที่ไดคัดเลือกมาศึกษาและถอดทำนองที่โดดเดนมาใชในการประพันธเพลง 3. ทำการเรียบเรียงทำนองเพลงที่คัดเลือกมาของแตละชาติที่มารองเรียนในระดับเสียงเดียวกัน และเรียบเรียงใหทำนองสะดวกแกเครื่องดนตรีไทยบรรเลง 4. แตงทำนองเชื่อมเพลงใหรอยเรียงกับเปนตับและแตงทำนองทางเปลี่ยนออกไป 10 สำเนียง ตามชาติในอาเซียน 5. ทดลองบรรเลงแกไขบทเพลงที่ไดเรียบเรียง และแสดงเผยแพร


81

องคประกอบของผลงานสรางสรรค

ลิงกการบรรเลงเพลงอาเซียนสามัคคี https://www.youtube.com/watch?v=-wRfTYzrL3c https://www.youtube.com/watch?v=CzEiFxabRJ


82


83


84


85


86


87


88


89

ผลงานสร้างสรรค์ด้านนาฏกรรม


90

ฟ�อนสาวม่านจกไก ผลงานสรางสรรค โดย

ผูชวยศาสตราจารย ดร.รัสวรรณ อดิศัยภารดี นายทีปกร จิตตอารีย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง

แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค แรงบันดาลใจ “ลานนา” นั้นเปนราชอาณาจักรของชาวยวนในอดีต ตั้งอยูบริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศ ไทย ตลอดจนดินแดนสิบสองปนนา ครอบคลุมแปดจังหวัดในปจจุบัน ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา แพร นาน และแมฮองสอน (สรัสวดี อองสกุล. 2544) ซึ่งในสังคมลานนาแตล ะ จังหวัดก็มีอีกหลากหลายกลุมชาติพันธุอาศัยอยูรวมกันนอกจากชาวยวนหรือคนพื้นเมืองดั้งเดิม เชน ชาวไทลื้อ ไทใหญ ไทเขิน ที่ไดมีการอพยพโยกยายมาจากที่ตางๆ อาทิเชน จากดินแดนสิบสองปนนาทาง ใตสุดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ลาว รวมไปถึง เมืองชาน(พมา), ฉาน กลุมชนชาวไทใหญในพมา เปน ตน ซึ่งกลุมชนชาติพันธุเหลานี้เมื่อไดเขามาอาศัยสรางครอบครัวทำมาหากินในดินแดนลานนาก็มักจะ นำเอาศิลปวัฒนธรรมของกลุมชนชาติตนเองมาดวยทำใหดินแดนลานนานั้นเกิดความหลากหลายและ ความแตกตางทั้งทางดานภาษา วัฒนธรรม ประเพณี การแตงกาย ภูมิศาสตร รวมไปถึงวัฒนธรรมทางดาน อาหารการกิน ไกหรือสาหรายน้ำจืดถือไดวาเปนอาหารประจำฤดูหนาวและเปนที่นิยมของชาวบานในเขตอำเภอ ปว ทาวังผา เชียงกลาง ทุงชาง โดยจากการสังเกตเห็นถึงวิถีชีวิตชาวบานที่ไปเก็บไกตามริมน้ำมาตากไว ตามลานบาน ตลอดไปจนนำมาประกอบเปนอาหาร ซึ่งนับเปนตัวอยางวิถีชีวิตของชาวบานในภาคเหนือ ของประเทศไทย การดำรงชีวิตในภูมิประเทศที่เต็มไปดวยความสมบูรณของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ตางๆในเขตอาเซียน ผูสรางสรรคจึงเกิดแรงบันดาลใจ สรางสรรคผลงานการแสดงชุดนี้ขึ้นมาสอดรับกับ วิถีของ “ชาวนาน” กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค การแสดงสรางสรรคขึ้นเพื่อเปนการอนุรักษและสืบทอด นำเสนอวิถีชีวิตของชาวไทยลื้อในจังหวัด นาน โดยเฉพาะวิธีการทำไกยี โดยสื่อออกมาโดยการแสดงฟอนแบบพื้นเมืองรวมสมัย ในการแสดง มีการ ผสมผสานทารำลานนาแบบดั้งเดิมและการประดิษฐคิดทาใหม โดยการประดิษฐทารำสวนหนึ่งนั้น ไดนำ


91

รูปแบบมาจากแนวคิดทารำของอาจารย อริน พูนเกษม อาจารยกฤษณา กาญจนสุรกิจ และนำทารำของ นาฏศิลปพื้นเมืองลานนามาผสมผสานในการออกแบบทารำ โดยออกแบบการแสดงออกเปนสามชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 ลองนานลำนำ สื่อถึงวิถีชีวิตของผูหญิงชาวไทยลื้อเมืองนาน ที่มีความผูกพันกับสายน้ำ ความอุดมสมบูรณของ ลำน้ำนาน โดยเริ่มตั้งแตตื่นมาแตงกายหวีเกลามวยผม นุงซิ่น พันหัวหรือเคียนหัวและเหน็บดอกไมหอม เพื่อจะไปเก็บไก ชวงที่ 2 วัฒนธรรมไทยลื้อ สื่อถึงกรรมวิธีการเก็บไกตั้งแตการลงน้ำ การตาวเอาหางไกนำมาสะบัด การปนไกเปนกอนจนถึง ขั้นตอนของการตากไก ชวงที่ 3 มวนใจ วิถีนันทบุรี จุมเย็น เลาถึงความสนุกสนานของหญิงสาวชาวนานหลังจากการเก็บไปเสร็จสิ้น องคประกอบของผลงานสรางสรรค นักแสดง ผูสรางสรรคใชนักแสดง จำนวน 5-6 คน 1. ชลลดา คงดี 2. อินทิรา อินทรโสภา 3. ชวพร สุภาพบุรุษ 4. ทีปกร จิตตอารีย 5. พัชรี เสารพูน ดนตรีประกอบการแสดง ดนตรีประกอบการแสดงงานสรางสรรคครั้งนี้มีการสรางสรรคบทเพลงขึ้นใหมโดยผูเชี่ยวชาญ ทางดานดนตรีไทย คือ อาจารยธีรวัฒน หมื่นทา อาจารยประจำสาขาดนตรีศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป เชียงใหม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม


92

ชวงที่ 1 ลองนานลำนำ - ซ.- รํ - - - รํ - ซ. - ซํ ---ซ

- ม - รํ ----ล-ซ ----

- ซ.- รํ ---- ซ. - ซํ ----

รัวนานลำ - ม - รํ - ซ.- รํ ---- ล - ซ - ซ. - ซํ ----

- ม – รํ

- ซ.- รํ

- ม - รํ

-ล-ซ

- ซ. - ซํ

-ล-ซ

จอยตั้งนาน สาย แมน้ำนาน มนตขับขาน เย็นใส นองเฮย จาวไตลื้อเครือใย ฮวมจกไก นานน้ำ สะหรี๋ เมืองนาน แต เนอ ชวงที่ 2 วัฒนธรรมไทลื้อ จกไก วรรคเชื่อม (เสียงกะโลก แทนเสียงน้ำ , เสียงกลอง และเสียงอุย แทนเสียงซัดสาดของน้ำ) -------

- - - ปอก - - - ปอก

- - - ปอก - - - ปอก - - ปะลอก - ปอก-ปอก

ทอน 1 ---- - ล ดํ ---ล --ดร

รํ ดํ ล ดํ --ลซ ซลมซ มรดล

- ล ดํ รํ -ฟลซ -มรด ซมซล

ดํ ม ร ด ฟ ซ ล ดํ ซ ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ

---- ล รํ ดํ -มซล -มซล

รํ ดํ ล ดํ - ล รํ ดํ ซมซร ซมซร

- ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ -มซล มรดล

ดํ ท ล ซ ดํ ท ล ซ ซมซร ดํ รํ ล ดํ

ทอน 2 ------- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ

- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ล - ดํ รํ ล

- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ

- ดํ รํ ล - ดํ รํ ล

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ปอก -ปอก

- ดํ รํ ซ

- ดํ รํ ล - ดํ รํ ซ

- ปอก -ปอก

- ดํ รํ ดํ

- ดํ รํ ดํ - ดํ รํ ดํ

-รมร

ดํ ล - ดํ

ชวงที่ 3 มวนใจ วิถี นันทบุรี จุมเย็น

- - - - - - - ปอก - - ปะลอก - ปอก-ปอก

- - ปะลอก - ปอก-ปอก ตึ่งตึ่งตึ่งตึ่ง - ปอก-อุย


93

วรรคเชื่อมเพลง ---ด ---ม ---ซ -ม-ซ ทอน 1 -มซล -มซล ทอน 2 - ซํ - ซํ - ซํ - ซํ

-ล-ซ -ม-ซ

---ซ -ม-ร

-ม-ซ ----

-ม-ซ ----

-ม-ร มรดร

----ด -ดดด กลับตน

ซ ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ

-มดร -มดร

มรดล มรดล

ซมซล ซมซล

ซ ล ดํ รํ ซ ล ดํ รํ

ด ม ด รํ ด ม ด รํ

ดํ ล รํ ดํ ดํ ล รํ ดํ

-ลมซ -ลมซ

-ดมร -ดมร

-มดร -มดร

ล ดํ ล รํ ล ดํ ล รํ

- ดํ - ซ - ดํ - ซ

มรมซ มรมซ

- ล - ดํ - ล - ดํ

- จบการแสดง – เครื่องแตงกาย การแตงกายของการแสดงชุดสาวมานจกไก ไดนำรูปแบบการแต งกายของชาวไทลื้ อในเขต อำเภอปว-ทาวังผา แบบดั้งเดิม มาดัดแปลงใหมีสีสันสดใสมากขึ้น จากเดิมชาวไทลื้อมักจะนิยมสวมใส เสื้อผาที่ยอมสีครามไปจนถึงสีดำ ทางผูสรางสรรคผลงานจึงมีแนวคิดปรับเปลี่ยนสีของเสื้อผาใหดูเหมาะ สำหรับการแสดงแตยังคงรูปแบบและความเปนเอกลักษณของชาวของชาวไทลื้อในเขตอำเภอปว-ทาวังผา เอาไว การแสดงชุดสาวมานจกไก เครื่องแตงกายประกอบดวย 1. เสื้อปดผากำมะหยี่ชมพูอมมวง 2. ผาซิ่นมานกาน 3. ผาพันหัวผาฝายดิบสีขาว ผาพันหัวลูกไมสีมวง 4. ถุงยามสีแดงเลือดหมู 5. ลานหู 6. ปนปกผมทองเหลือง 7. ดอกไมประดับผม 8. เข็มขัดทอง 9. เสนไหมสังเคราะหสีเขียว


94


95

นาฏรังสรรค์ ชุด เจินป�๋ ขี่ม้าทรง ผลงานสรางสรรค โดย

นายขรรคชัย หอมจันทร นายจีรศักดิ์ ศรีนวลสด นายวิศรุต คำถนอม นายอัยการ รุณเกตุ นายวีรกาญจณ บุบผา นางสาวแสงศิลป ฉ่ำเจริญ นางสาวพิมผกา ทวยดี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค นาฏรังสรรคชุด เจินปขี่มาทรง ไดรับแรงบันดาลใจมากจาก ประเพณีฟอนผีมด ตำบลตนธงชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง การแสดงสื่อถึงการบูชากราบไหว และการเขาทรงในพิธีประเพณีฟอน ผีมดของมาทรง ซึ่งในพิธี จะมีการรับขันและพรมน้ำขมิ้นสมปอย เพื่อปะพรมใหผีเขาสิงสูมาทรง และวิ่ง เขาปะรำพิธี รวมกันฟอนรำกันอยางสนุกสนาน จึงไดรังสรรคทารำจากทารำของมาทรงในพิธี และ ใชผาสี แดงเปนตัวแทนเลือดเนื้อของบรรพบุรุษ ซึ่งการแสดง จะแบงเปน 3 ชวง ชวงที่ 1 สื่อถึง การกราบไหว บูชาบรรพบุรุษ ชวงที่ 2 สื่อถึงการเขาทรงของผีมดในปะรำพิธี และชวงที่3 สื่อถึงวิญญาณผีบรรพบุรุษ ออกจากมาทรง แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค แนวคิดในการสรางสรรคผลงานนาฏศิลปที่มาจากประเพณีฟอนผีมด ตำบลตนธงชัย อำเภอเมือง ลำปาง จังหวัดลำปาง มารังสรรคผลงานทางดานนาฏศิลปโดยใชกระบวนทาทางการเขาทรงของผี มด ความเชื่อในปะรำพิธี และวัฒนธรรมการแตงกายพิธีฟอนผีมด ตลอดจนดนตรีที่บรรเลงในพิธี มาวิเคราะห สังเคราะห จนมาเปน นาฏรังสรรคชุด เจินปขี่มาทรง


96

กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค คณะผูสรางสรรคไดจัดทำตามกระบวนการและขั้นตอนของงานวิจัย โดยมีการรวบรวมขอมูลและ ประวัติความเปนมาการเขาทรงของผีมดในปะรำพิธี มีการออกแบบเครื่องแตงกาย ออกแบบทำนองเพลง และรังสรรคทารำขึ้นมาใหม มีการนำเสนอตออาจารยที่ปรึกษางานวิจัยและแกไขตามคำแนะนำ

องคประกอบของผลงานสรางสรรค รูปแบบการแสดง คณะผูสรางสรรคไดสรางสรรคการแสดงเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 การกราบไหวบูชาบรรพบุรุษ สื่อถึง การกราบไหวบูชาบรรพบุรุษ ชวงที่ 2 การเขาทรง สื่อถึงการเขาทรงของผีมดและฟอนรำในปะรำพิธี ชวงที่ 3 การออกจากทรง สื่อถึงวิญญาณผีบรรพบุรุษออกจากมาทรง


97

นักแสดง

ผูสรางสรรคใชนักแสดงผูหญิงทั้งหมด 7 คน โดยคํานึงถึงทักษะความสามารถทางนาฏศิลป ไทย และเลข 7 เปนตัวเลขมงคลความเชื่อของชาวลานนา ในพิธีฟอนผีมดของชาวตําบลตนธงชัย อําเภอเมือง ลําปาง จังหวัดลําปาง ใชผหู ญิงฟอนยึดตามพิธีในสมัยโบราณ ลีลาทารํา

ไดนําลักษณะลีลาทาทางการเขาทรงของผีมดในปะรําพิธี ประเพณีฟอนผีมดของมาทรง ตําบล ตนธงชัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง เพื่อเปนการสืบสานและอนุรักษประเพณีฟอนผีมด ของชาว บาน ตําบลตนธงชัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง จึงไดนําทาทางการเขาทรงในประเพณี ฟอนผีมด มารังสรรคเปนทารําในการแสดง ทํานองเพลงไดแนวคิดมาจากดนตรีที่นิยมบรรเลงในงาน พิธีประเพณี


98

ฟอนผีมดของชาวบาน ดนตรี

ดนตรีที่ใชในการแสดงจะมี 3 ชวง จังหวะกลาง จังหวะเร็ว และจังหวะชา ดนตรีที่ใชประกอบการ แสดง เปนการใชเครื่องดนตรีของวงปพาทยลานนา ที่เปนดนตรีพื้นเมืองของชาวลานนา ซึ่งจังหวะกลาง จะสื่อใหเห็นถึง มนตขลังของวิญญาณผีบรรพบุรุษที่คอยปกปกดูแลลูกหลาน จังหวะเร็ว จะสื่อใหเห็นถึง การเขาทรงของมาทรง มีการรายรําในพิธีเปนจังหวะที่มีความสนุกสนานของการฟอนรํา และจังหวะชา จะ สื่อใหเห็นถึงความนากลัวของการฟอนผีปนการรําที่มีความดุดันและแฝงไปดวยความนากลัวเนื่องดวยเปน การฟอนที่เกี่ยวกับผี เวลาที่ใชในการแสดง 6 นาที


99

เครื่องแตงกาย

คณะผูสรางสรรคไดนําการแตงกายของชาวลานนาเชียงแสนมารังสรรครวมกับเครื่องแตงกาย ของมาทรงในปะรําพิธี เพื่อใหมีความสวยงามและรวมสมัยมากยิ่งขึ้น การแตงกายประกอบไปดวย ผาพัน อก เสื้อผาอกแขนกระบอกสั้น ผาคลองคอ ผาพันศีรษะ ผาซิ่น และผาปาดเกิ่งตุมเกิ่ง ทรงผมรวบตึงสูง กลางศีรษะดานบนสวนเครื่องประดับมีลวดลายที่เปนเอกลักษณและลักษณะที่เปนดอกไมเพื่อสื่อถึงความ สวยงามของหญิงสาว และเปนดอกไมที่มีความหมายสื่อถึงความบริสุทธิ์และเปนดอกไมที่ทรงคุณคา


100


101

นาฏรังสรรค์ ชุด ท๊ะแท กระเหรีย ่ งโปว์ ผลงานสรางสรรค โดย

นางสาวชไมพร จันทรวิบูลย นางสาวสุพัตรตรา โพธิ์พรหม นางสาวปลายฟา เสมอสุข นายธนภัทร แผนจบก นางสาวสุจิตรา วรรณบวร นางสาวนิสายชล แสวงสุข นางสาวภัทรธิดา จารุกำเนิดกุล นายนุชัย นามอุษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

เนื้อหาของผลงานสรางสรรค ผลงานนาฏรังสรรค ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตและ ประเพณีกะเหรี่ยงโปวหมูบานหวยบง ตำบลนาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม 2) เพื่อศึกษาประวัติ และกระบวนการทาทาง ขั้นตอนการทอผา ลวดลายบนผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปวหมูบานหวยบง ตำบล นาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม 3) เพื่อรังสรรคผลงานทางดานนาฏรังสรรคจากการทอผาทอมือ กี่เอวกะเหรี่ยงโปว ดนตรีทองถิ่น การแตงกาย ทรงผม และเครื่องประดับของชาวกะเหรี่ยงโปว หมูบาน หวยบง ตำบลนาเกียน อำเภออมก อย จังหวัดเชียงใหม ประกอบการแสดงนาฏรังสรรค ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว วิถีชีวิตหลัก ๆ ของชาวกะเหรี่ยงโปว คือ การทอผาทอมือกี่เอวจะมีการเตรียมอุปกรณ ที่จะนำไป ทอ คือ ฝาย เริ่มจากการเก็บฝายแลวนำมาดีดเพื่อเอาเมล็ดออกจากนั้นนำมาตีเพื่อใหฝายฟู เพื่องายตอ การนำเอามาปนเปนเสนดาย เมื่อไดเสนดายตามที่ตองการแลวจึงนำมานวดกับน้ำขาวสุกแลวเอามาตาก ใหแหง จึงสามารถนำดายมากรอ เพื่อใหเกิดลวดลายตามที่ตองการ ตอมาขึ้นดาย หรือเรียกวาขึ้นเครื่อง ทอกี่เอว เปนการนำเอาเสนดายมาเรียงตอกันอยางมีระเบียบตามแนวนอน โดยพันรอบกับสวนประกอบ ของเครื่องทอ และเริ่มการทอ จนถึงวิธีการจกลายผา จนไดเปนผาผืนแลวนำมาประกบกันเปนชุด ไมมี เครื่องดนตรีประกอบจังหวะ การรังสรรคทารำ ทำนองเพลง เครื่องแตงกาย ทรงผม และเครื่องประดับประกอบการแสดง ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว คณะผูสรางสรรคไดรังสรรคทารำโดยใชลักษณะทาทางการเคลื่อนไหวของวิธี และกระบวนการทอผา ของชาวกะเหรี่ยงโปว เนื่องจากไมมีทาทางที่ตายตัว คณะผูสรางสรรคจึงนำเอา


102

ทาทาง ของการทอผามาดัดแปลงเปนทาเพื่อความสวยงามและความเหมาะสมมากขึ้น ทำนองเพลงได แนวคิด มาจากดนตรีของชาวกะเหรี่ยงโปวที่มีอยูในชีวิตประจำวัน การบรรเลงดนตรีประกอบการแสดง จะใชจังหวะ 3 ชวง คือ ในชวงแรกจะเปนจังหวะปานกลาง ชวงกลางจะเปนจังหวะที่ชาลง และชวง สุดทายของเพลง ก็จะเปนจังหวะที่เร็วขึ้นจากตอนกลางเพลง ใชเวลาในการแสดง 6.30 นาที การแตงกาย ในการแสดง ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว ในการแสดงจะใชผูแสดงเปนผูหญิงทั้งหมด เครื่องแตงกายจะมี 2 สี โดยแบงเปน ชุดที่ยังไมไดแตงงานเปนลักษณะชุดทรงกระสอบสีขาว สวนชุดที่แตงงานแลวจะมี 2 สวน คือ เสื้อและผาซิ่น ทรงผม รวบตึงตั้งโกะครอบเน็ตคลุมผมที่รังสรรคขึ้น และมีหนามาโพกศีรษะดวยผาที่มี สีสัน เครื่องประดับประกอบไปดวย ปนปกผม ตางหู สรอยคอ กำไลขอมือ กำไลตนแขนและขาหรือ เรียกวาคันไข สวมปอกขาและแขน แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค คณะผูสรางสรรคมีแนวคิดและแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานทางดานนาฏศิลป มาจาก การทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของชาวกะเหรี่ยงโปว และเพื่อศึกษาประวัติและ กระบวนการทาทางการทอผา รวมไปถึงเพื่อรังสรรคผลงานทางนาฏรังสรรคจากการดำเนินชีวิตและ ทาทางการทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว ตำบลนาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค คณะผูสรางสรรคไดจัดทำตามกระบวนการและขั้นตอนของงานวิจัย โดยมีการรวบรวมขอมูล และประวัติความเปนมาการทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว มีการออกแบบเครื่องแตงกาย ออกแบบ ทำนองเพลงและรังสรรคทารำขึ้นมาใหม มีการนำเสนอตออาจารยที่ปรึกษางานวิจัย และแกไขตาม คำแนะนำ


103


104

องคประกอบของผลงานสรางสรรค รูปแบบการแสดง คณะผูสรางสรรคไดสรางสรรคการแสดงเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 สื่อถึงการเตรียมขั้นตอนการทอผาและวิธีการทอผา ชวงที่ 2 ไดออกมาเปนผาทอและโออวดลวดลายผาทอ สื่อถึงความงดงามของผืนผา ชวงที่ 3 สื่อถึงการนำไปใช บงบอกถึงสถานะแตละชวงวัยและออกไปเฉลิมฉลองอวด ความงามของลายผาและผสมผสานลีลาการกระทบไม นักแสดง นาฏรังสรรค ชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว ใชนักแสดงผูหญิงทั้งหมด 8 คน โดยแยกเปนผูหญิงที่ แตงงานแลว 4 คน และผูหญิงที่ยังไมไดแตงงาน 4 คน เพื่อสื่อใหเห็นถึงสถานะชวงวัยตามสีชุด


105

ลีลาทารำ คณะผูสรางสรรคศึกษาและเก็บขอมูลเกี่ยวกับทาทางการเก็บฝายและการทอผาทอมือกี่เอว กะเหรี่ยง โปว ตำบลนาเกียน อำเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม พบวาทาทางการทอผานั้นเปนทาทางใน แบบแผนการทอ ผา เปนการเคลื่อนไหวทาทางตามธรรมชาติ ซึ่งมีทาทางตั้งแตการเก็บฝาย การทอผาทอ มือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว โดยผานกระบวนการทอผาแตละขั้นตอนจนเปนผืนผาที่สวมใส

ดนตรี เพลงประกอบการแสดงชุด ทะแท กะเหรี่ยงโปว เปนเพลงที่เรียบเรียงโดยวาที่รอยตรีวีรพร จุมใจ ไดแนวคิดมาจากการทอผาทอมือกี่เอวกะเหรี่ยงโปว จังหวัดเชียงใหม เปนการนำเอาเครื่องดนตรีพื้นบาน ของชาวกะเหรี่ยงมาผสมผสานกับเครื่องดนตรีสากล ใชเครื่องดนตรีประกอบดังนี้ คือ กลองกนยาว พิณ แตรอีกทั้งยังไดนำเอาเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ มารวมบรรเลงดนตรีในการแสดงการทอผาทอมือกี่เอว กะเหรี่ยงโปว การแตงกาย จากการศึกษาการแตงกายและทรงผมของชาวกะเหรี่ยงโปว ประกอบการแสดง ชุ ด ท ะแท กะเหรี ่ ย งโปว คณะผู  ส รางสรรคมีแนวคิดและรูป แบบการแตงกายและทรงผมของหญิ ง ชาวกะเหรี่ยงโปว พบวาการแตงกายของชาวกะเหรี่ยงโปว ในสมัยกอนนั้น เนื่องจากชาวกะเหรี่ยงโปว พบวาจะปลูกฝายในไรขาว และจะเก็บเกี่ยวดอกฝายที่แก เพื่อที่จะนำเอามาทอเสื้อผาเพื่อใชในการสวมใส และเสื้อผาจะมีเพียงคนละ 1-2 ชุด สลับใสในแตละวัน เนื่องดวยการจัดหาฝายสมัยนั้นหาไดยากเพราะมี ปริมาณนุนนอยทำใหระยะเวลาผลผลิตนุนมาทอเสื้อใสได 1 ผืน ตองใชระยะเวลานานเพราะตองเก็บ สะสมฝายที่เก็บเกี่ยวในแตละป เพื่อที่จะมีฝายเยอะเพียงพอที่จะนำมาทอเสื้อได1 ผืน เสื้อผาที่สวมใสจะ บงบอกสถานะของหญิงสาว และหญิงแมเรือน เชนเดียวกัน คือหญิงทุกวัยที่ยังไมไดแตงงานตองสวมชุด ยาวสีขาว แขนกุด ทรงกระสอบ (ไณ แอว ) ในตัวเสื้อจะมีลวดลายเล็กนอยตรงบริเวณอกและชวงเทา เมื่อ


106

แตงงานแลว จะตองเปลี่ยนมาสวมใสเสื้อพื้นสีดำผาหนาแคบ แขนกุด ตัวเสื้อครึ่งลางจะปกลวดลายเปน เสนตรงแนวนอนเปนชวง ๆ เปนทรงสีเหลี่ยม และใสซิ่นยาวถึงขอเทา มีการใสปอกขา ปอกแขน และใช ผาโพกศีรษะที่มีสีสันหลากหลายทั้ง 3 ชิ้นจะใสตลอดเวลาเพื่อปองกันแดด ฝน และแมลง ถาไมไดใสจะ รูสึกไมสบายตัวและรูสึกเหมือนขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนรางกายไปเพราะเปนชิ้นสวนหนึ่งของรางกายชนิดหนึ่ง ไปแลว


107


108

นาฏรังสรรค์ ชุด อันซอมโฎนตา ผลงานการสรางสรรค โดย

นายกันตพัฒน จุติพรพูติวัฒน นายภาณุพันธ กันหาทอง นายประสพโชค อุทุมภา นายบุญไพศาล หลักสิน นางสาวสิริวรรณ พุมสุวรรณ นางสาวสรินยา พันธสายออ นางสาวน้ำฟา บัวทิน นางสาวธันวาพร ดงไร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค นาฏรังสรรคชุด อันซอมโฎนตา คณะผูสรางสรรค ไดรับแรงบันดาลใจจาก การทำขาวตมมัดใน ประเพณีแซนโฎนตาของชาวบาน ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว ที่มีความโดนเดน ในการใชใบมะพราวหอขาวตมมัด เนื่องจากในปจจุบันการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว ของชาวบานพื้นที่ ดังกลาว ลดนอยลง ทางคณะผูสรางสรรคจึงอยากจะสงเสริมการอนุรักษการทำขาวตมมัดดวยใบมะพราว ใหคงอยู คณะผูสรางสรรคจึงไดนำเอาขั้นตอนการทำขาวตมมัดในประเพณีแซนโฎนตา โดยนำขั้นตอน การทำขาวตมมัดมาใชเปนทาทางในการแสดง แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค คณะผูสรางสรรคมีแนวคิดและแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานทางดานนาฏศิลป มาจาก พิธีแซนโฎนตาและการทำขาวตมมัดที่จะนำมารวมงานพิธีแซนโฎนตาของชาวบาน ตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว เพื่อศึกษาประเพณีแซนโฎนตาและขั้นตอนการทำขาวตมมัด และเพื่อ ศึกษาเครื่ องแต งกายเครื่ องประดับ และดนตรีในประเพณีแซนโฎนตา รวมไปถึงเพื่อรังสรรคผ ลงาน ทางดานนาฏรังสรรค เปนชุดการแสดงอันซอมโฎนตา


109

กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค คณะผูสรางสรรคไดจัดทำตามกระบวนการและขั้นตอนของงานวิจัย โดยมีการรวบรวมขอมูลและ ประวัติความเปนมากรรมวิธีการทำขาวตมมัด มีการออกแบบเครื่องแตงกาย ออกแบบทำนองเพลงและ รังสรรคทารำขึ้นใหม มีการนำเสนอตออาจารยที่ปรึกษางานวิจัยและแกไขตามคำแนะนำ


110

รูปแบบการแสดง คณะผูสรางสรรคไดรังสรรคการแสดงเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 เปนการแสดงถึงเตรียมวัตถุดิบอุปกรณในการทำขาวตมมัด ชวงที่ 2 เปนการเเสดงถึงการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว ชวงที่ 3 เปนการเเสดงเฉลิมฉลองหลังจากทำขาวตมมัดเสร็จ นักแสดง

ผูสรางสรรคใชนักแสดงทั้งหมด 8 คน โดยคำนึงถึงทักษะความสามารถทางนาฏศิลปไทย


111

ลีลาทารำ

คณะผูรังสรรคไดนำลีลาทารำเรือมกันตรึม ลักษณะของการทำขาวตมมัด และพิธีแซนโฎนตา ของตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว เพื่ออนุรักษการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว ของชาวบานในตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว ดนตรี

ดนตรีที่ใชในการแสดงจะมี 3 ชวง จังหวะชา จังหวะกลาง และจังหวะเร็ว ดนตรีที่ใชประกอบการ แสดง ใชวงดนตรีมโหรีปางลาง และวงกันตรึม จังหวะชาสื่อถึง ลีลาการเตรียมวัตถุดิบ อุปกรณ ในการ ทำขาวตมมัด จังหวะกลาง จะสื่อใหเห็นถึง ขั้นตอนการหอขาวตมมัดดวยใบมะพราว จังหวะเร็ว สื่อใหเห็น ถึงการเฉลิมฉลองหลังการทำขาวตมมัดเสร็จ เวลาที่ใชในการแสดง 6.06 นาที


112

เครื่องแตงกาย

คณะผูสรางสรรคไดนำเครื่องแตงกายของชาวเขมรถิ่นไทยมารังสรรคเปนเครื่องแตงกายของ นักแสดง เครื่องประดับคณะผูสรางสรรคไดนำรูปแบบของขาวตมมัดมารังสรรคเปนเครื่องประดับชิ้น ตาง ๆ เชน สรอยคอ เข็มขัด กำไล สังวาลย ตางหู และดอกไมทัดเปนดอกแกว ซึ่งดอกแกวเปนดอกไม ประจำจังหวัดสระแกว


113


114

นังสําเพ็ ง ผลงานสรางสรรค โดย

นางสาวนภาพรรณ สำเร็จ นางสาวภัทราภรณ เลี้ยงรักษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.กชกร ชิตทวม มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค “นังสำเพ็ง” เปนผลงานสรางสรรคที่นำเสนอในรูปแบบนาฏยศิลปไทยรวมสมัย โดยมีการผนวก ทาทางการเคลื่อนไหวแบบนาฏยศิลปไทยเขากับทาทางในชีวิตประจำวันผสมผสานกันไปตลอดทั้งการ แสดง โดยเนื้อหากลาวถึงความงาม ความเปนอยู และความรูสึกที่ตกอยูในสภาวะจำยอมของหญิงโสเภณี ยานสำเพ็ง ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค “โสเภณี” เปนอาชีพที่เกาแกอาชีพหนึ่ง ความเปนมาของโสเภณีในอดีต เชื่อกันวาเริ่มตนจาก การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชน สังคมอินเดียในอดีต ผูหญิงจะตองเสียสละพรหมจรรยเพื่อบูชา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อีกทั้งในสังคมกรีกโรมันโบราณ ไดกลาวถึงโสเภณีที่อุทิศชีวิตและรางกายใหแกการบวงสรวง เทพเจาและไดรับการตอบแทนจากขายบริการเพื่อใหไดรับเงินมาเขาวิหารเทานั้น นอกจากนี้ในสังคมจีน โบราณ ผูหญิงที่มีอาชีพโสเภณีจะตองมีทักษะที่มากกวาแคการขายบริการทางเพศ พวกเธอจะตองเปน นักดนตรีและนักเตนระบำที่ไดรับการฝกมาอยางดีเพื่อมอบความสุขแกผูมาใชบริการ ซึ่งแมแตในประเทศ ไทยก็ไดมีการกลาวถึงโสเภณีตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตน โรงโลกีย (สถานขายบริการทางเพศ) ในสมัยนั้น ตั้งอยูที่ตลาดบานจีนถึง 4 โรงดวยกันโดยมีพอคาชาวจีนเปนเจาของ ตอมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีการ จัดระเบียบตาง ๆ ยายชาวจีนไปอยูยานสำเพ็งทำใหยานนี้เปนยานชาวจีน ทำธุรกิจการคาขาย นอกจาก สำเพ็งจะมีธุรกิจรานคา โรงน้ำชา หรือรานอาหารภัตตาคารแลว ยังมีชื่อเสียงโดงดังในเรื่อง “โรงโลกีย” อีกดวย มีโรงโลกียขึ้นชื่อมากมาย และเปนสถานที่เดียวที่มีโรงโลกีย จนถึงขั้นขึ้นชื่อวาเปนยานเที่ยว กลางคืนที่โดงดังมากที่สุดในสมัยนั้น เริ่มมีการจดทะเบียนหญิงนครโสเภณีขึ้นเปนครั้งแรก พรอมกับมีการ เก็บภาษีการคาประเวณีตามธรรมเนียม เรียกวา “ภาษีบำรุงถนน” เพื่อนำเงินไปตัดถนน สะทอนใหเห็น ถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมของไทยในอดีตวาอาชีพการคาขายบริการทางเพศในสังคมไทยมีมาเนิ่นนาน ตั้งแตสมัยอดีต


115

จากที่กลาวมาขางตนผูสรางสรรคผลงาน ไดนำวิถีชีวิตความเปนอยู ความงาม และความรูสึกของ หญิงโสเภณียานสำเพ็งในอดีตมาผนวกเขากับองคความรูทางดานการออกแบบสรางสรรคผลงานนาฏศิลป ในชื่อชุดการแสดง “นังสำเพ็ง” กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค ผูส รางสรรคไดกำหนดแนวคิดในการสรางสรรคผลงาน โดยนำเสนอในรูปแบบนาฏยศิลปไทย รวมสมัย โดยมีการผนวกทาทางการเคลื่อนไหวแบบนาฏยศิลปไทยเขากับทาทางในชีวิตประจำวัน ผสมผสานกันไปตลอดทั้งการแสดง การแสดงแบงออกเปน 2 ชวง ดังนี้ ชวงที่ 1 ความเปนอยูและความงามของหญิงโสเภณี การแสดงสื่อถึงหญิงโสเภณีกำลังแตงหนาและแตงกายใหตนเองเกิดความสวยงามเพื่อเตรียมตัว ออกมาพบเหลาบุรุษเพศ มีการออกแบบกระบวนทาทางการเคลื่อนไหวสื่อใหเห็นถึงการยั่วยวน สรางความดึงดูดสายตาบุรุษเพศและผูที่เขาใชบริการ ชวงที่ 2 ความงามที่แฝงไปดวยความเศรา การแสดงสื่อถึงหญิงโสเภณีคนหนึ่งที่ตกอยูสภาวะตองจำยอม โดยลักษณะทางกายภาพมีความ สวยงาม แตภายในจิตใจนั้นมีความทุกขทรมาน ทาทางการเคลื่อนไหวนั้นผูสรางสรรคไดออกแบบทาจาก การตีความอารมณความรูสึกเจ็บปวดจากการถูกกระทำ โดยมีการนำผาสไบหรือผาพาดไหลมาผูกมัดตัว นักแสดง องคประกอบของผลงานสรางสรรค นักแสดง ใชนักแสดงหญิง จำนวน 5 คน โดยเปนผูที่มีความสามารถทางดานนาฏยศิลปไทย มีรูปรางที่ สมสวน และสามารถแสดงความรูสึกผานสีหนาไดเปนอยางดี ประกอบดวย 1. นางสาวนภาพรรณ สำเร็จ 2. นางสาวอริสรา ชวนจิต 3. นางสาววรรณนิสา นอยสังวาลย 4. นางสาวธันยธรณ ทากันแกว 5. นางสาวณัฐกานต นิวงษา


116

ทาทาง มีการผนวกทาทางการเคลื่อนไหวแบบนาฏยศิลปไทยเขากับทาทางในชีวิตประจำวันผสมผสาน กันไปตลอดทั้งการแสดง เครื่องแตงกาย มีการออกแบบโดยศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการแตงกายและอางอิงข อมูลจากภาพถายของหญิ ง โสเภณียานสำเพ็งในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ประกอบดวย นุงโจงกระเบน พันผาพันอก ผาสไบ (ใชหมสไบ คลองคอ หรือคลองแขน) โดยใชผาสีฉูดฉาด ใชดอกไมทัดหรือปกปนแบบจีน และใสกำไลหยก ดนตรี/เพลง เปนเพลงที่ไดเรียบเรียงขึ้นใหมโดยใชดนตรีสังเคราะหผนวกเขากับเครื่องดนตรีจีนและไทย มีรายละเอียดดังนี้ ชวงที่ 1 ทำนองดนตรีใชเสียงฟลุต จังหวะปานกลางไมชาไปหรือเร็วไป เปนตัวเปดชวงแรก จากนั้นเปลี่ยนมาใชเครื่องดนตรีจีนอยางกูเจิง กรับไทย ผสมเขากับเสียงกระดิ่ง สื่อถึงความรูสึกชวนให หลงใหลในความงาม ชวงที่ 2 มีการใชเครื่องดนตรีจีนและไทย โดยใชเสียงกูเจิงและเสียงฉิ่ง สื่อถึงความรูสึกสน วุนวาย และความทนทุกขทรมาน ในตอนทายของชวงที่ 2 ใชเสียงเครื่องคียบอรด กูเจิง และฉาบจีน มาบรรเลง ทำนองเพลงใหคลายกับชวงแรกแตลดคียเพลงต่ำลงเพื่อสื่อถึงอารมณเศรามากยิ่งขึ้น


117


118


119

ระบําเชียงงาม ผลงงานสรางสรรค โดย

ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาลินี อาชายุทธการ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงานสรางสรรค รู ป แบบนาฏยศิ ล ป ไ ทยผสมผสานพื ้ น เมื อ งน า นที ่ ส ะท อ นความงดงามของเมื อ งเชี ย งงาม ความเจริญรุงเรื องของบ านเมื อง รวมถึงความเจริญ ทางโลกและทางธรรมของชาวเชียงามนครน าน เฉกเชนสายน้ำนานที่ยังไหลไมขาดสาย แนวคิดหรือทฤษฎีในการสรางสรรค การออกแบบระบำเชียงงามนี้ แนวคิดในการสรางระบำไดแก ทฤษฎีนาฏยศาสตรเกี่ยวกับ ภาวะและรส ทฤษฎีการสรางจินตภาพของฮอโรวิส (Horowitz) ที่อธิบายความสัมพันธระหวางการสราง จินตภาพและรูปแบบของความคิด และทฤษฎีทัศนศิลป (The Theory of Visual Art) เกี่ยวกับการจัด องคประกอบ การจัดวางเพื่อใหเกิดความงามและนาสนใจ กระบวนการและ/หรือเทคนิคที่ใชในงานสรางสรรค การออกแบบระบำเชียงงาม มีกระบวนการในการสรางระบำโดยเริ่มจากการแตงบทรอง โดย อาจารยสมเจตน วิมลเกษม ประพันธเพลงขึ้นมาใหมโดย ศาสตราภิชาญ ปกรณ รอดชางเผื่อน จากนั้นจึง เปนการออกแบบระบำโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาลินี อาชายุทธการ ดังนั้นการออกแบบระบำจึงใช หลักการเดียวกับการแตงเพลงระบำ คือ เริ่มดวยเกริ่นนำเปนการเปดตัวระบำออกมา ตามดวยเพลงหลัก จะใชการตีบทตามควาหมายของเนื้อรองดวยทานาฏยศิลปไทยผสมผสานลักษณะบางประการของการ ฟอนนาน สวนทอนรับจะใชการเลนผาและการแปรแถวใหเกิดความนาสนใจดวยเพลงระบำใชการรองซ้ำ และรับถึง 2 เที่ยว ผูออกแบบระบำจึงนำเทคนิคการใชผามาสรางภาพจับกลุมใหสวยงาม สรางความ แตกตางจากเที่ยวแรก สุดทายเรงจังหวะเปนเพลงเร็วและจบลงดวยการทอดเพลงจับกลุม องคประกอบของผลงานสรางสรรค เครื่องแตงกาย แบบพื้นเมืองเหนือ(ซิ่นนาน) ใชผาคลองคอเปนอุปกรณประกอบการแสดง ผูแสดง จำนวน 8 คน


120

รายชื่อผูแสดงระบำเชียงงาม 1. นางสาวสกุลหญิง เฝากระโทก 2. นางสาววารินทิพย ศรีทา 3. นางสาวตีรณา โพธิสกุล 4. นางสาววรลักษณ ดีเเวน 5. นางสาวมัญชุสา เเกวผลึก 6. นางสาวธิยากร เรียนวงศา 7. นางสาวนัทรีญา วงศทรงศักดิ์ 8. นางสาวณัฐธันยา ฮาดิ คณะทำงาน 1. นายธัญวุฒิ พยายาม 2. นายธนาธิป บริพันธ 3. นางสาวกัญญณณัฐ สงากอง 4. นางสาวรินรดา เดชะดิลก 5. นางสาวณิชารัสมิ์ โนหลักหมื่น 6. นายอดิเทพ เดชพรหม 7. นางสาวปานวาด ขอเจริญ 8. นางสาวรมิดา เราอุปถัมภ 9. นางสาวจุธารัตน เกิดบานกอก


121


โครงการประชุมวิชาการและเผยแพร่งานสร้างสรรค์ ระดับชาติ ครั้งที่ ๑ เรื่อง “งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน” ๑.หน่วยงานที่รับผิดชอบ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ ๒. สถานภาพโครงการ :  โครงการเดิม  โครงการใหม่  โครงการต่อเนื่อง ๓. แผนงาน : จัดการศึกษาอุดมศึกษา ๔. กิจกรรม :  กิจกรรมหลัก  กิจกรรมรอง  กิจกรรมสนับสนุน  กิจกรรมบูรณาการ  กิจกรรม (โครงการจังหวัด) ๕. หลักการและเหตุผล : ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ได้จัดทำยุทธศาสตร์อุ ดมศึกษาไทย ในการเตรียมความ พร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน โดยให้ความสำคัญต่อการจัดการอุดมศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็นการเปิดเสรีการค้า บริการด้านการศึกษา องค์ความรู้ ภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกัน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้มีการกำหนด แผนเพื่อส่งเสริมการเป็นประชาคมอาเซียน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มีหน้าที่จัดการ เรียนการสอนให้กับนักศึกษาทั้งภาคทฤษฎี ปฏิบัติ การทำวิจัยและการผลิตผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรี และ นาฏศิลป์เพื่อมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่เป็ นเลิศ ส่งเสริมสนับสนุนให้คนไทยได้เรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถปรับตนให้เข้ากับสังคมปัจจุบัน วิชาการทางดนตรีและ นาฏศิลป์ มีบริบทหลายด้านที่สัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับ ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี วิถีความเชื่อ ศาสนา บริบท ทางสังคมรอบด้าน ดนตรีและนาฏศิลป์มีบทบาทที่สำคัญในการกล่อมเกลาจิตใจของมนุษย์ให้มีจิตใจสูงอีกทั้ง ช่วยสร้างสังคมให้เป็นสังคมที่ดีงาม การศึกษาด้านดนตรีและนาฏศิลป์ในปัจจุบันยังขาดเวทีการนำเสนอผลงาน การศึกษา ค้นคว้า วิจัย และงานสร้างสรรค์ทางดนตรีและนาฏศิลป์ เพื่อเป็นเวทีในการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน ความรู ้ ท างด้ า นดนตรี แ ละนาฏศิ ล ป์ ใ นระดั บ ชาติ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เผยแพร่ ส ู ่ ผ ู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ สถาบันการศึกษาทางด้านดนตรีและห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศอันจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม ในวงกว้าง สร้างเครือข่ายทางวิชาการดนตรีและนาฏศิลป์ ในระดับชาติ อีกทั้งเป็นการสะท้อนอัตลักษณ์ในด้านสังคมของมหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรม มีนักศึกษาจากทั่วทุกภูมิภาคเข้ามาศึกษาร่วมกัน และมีแบบแผนทางวัฒนธรรมที่ เกี่ยวข้องและ เชื่อมโยงในประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มอาเซียน ศิลปะการแสดงทั้งดนตรีและนาฏกรรมบางประเภทมีลักษณะเป็น วัฒนธรรมร่วมอันสมควรที่จะได้เรียนรู้และสร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อสร้างสันติภาพทางวัฒนธรรมในระดับ อาเซียน ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้จ ะเป็น การนำเสนอในรูปแบบผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ ด้ าน ศิลปะการแสดงที่มาจากแนวคิดวิถีวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในอาเซียนได้อย่างยั่งยืน

คณะศิลปกรรมศาสตร์


๒ ๖. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของโครงการ คณะศิลปกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัย

พันธกิจ (Mission) : พันธกิจที่ ๕ สนับสนุนและพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ (Strategy) : ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมขีดความสามารถ ในภูมิภาคอาเซียน เป้าประสงค์ (Goal) : เป้าประสงที่ ๑ เสริมสร้าง และพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถและความร่วมมือในประชาคม อาเซียน

พันธกิจ (Mission) : พันธกิจที่ ๕ สนับสนุนและพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ (Strategy) : ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมขีดความสามารถ ในภูมิภาคอาเซียน เป้าประสงค์ (Goal) : เป้าประสงที่ ๑ เสริมสร้าง และพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถและความร่วมมือในประชาคม อาเซียน

๗. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๗.๑ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการด้านสหวิทยาการ งานสร้างสรรค์ทางด้านดนตรีและนาฏกรรม จากผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการภายนอก และบุคลากรคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ๗.๒ เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการศิลปะการแสดงดนตรีและนาฏกรรมให้เข้มแข็งในระดับชาติ ๗.๓ เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ให้เป็นที่รู้จักในฐานะ องค์กรสำคัญที่มีบทบาทในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ผลงานสร้างสรรค์ ทางด้านดนตรีและนาฏกรรมของชาติ ๘. ระยะเวลาดำเนินการ: ระยะเวลา ๑๑-๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ๙. สถานที่ดำเนินโครงการ : ชั้น ๓ อาคารสุโขทัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก ๑๐. วิธีดำเนินการ : ๑๐.๑ กำหนดคณะกรรมการดำเนินงาน ๑๐.๒ ประสานงานการประชุมวิชาการและการแสดงสร้างสรรค์ ๑๐.๓ เตรียมการแสดง ๑๐.๔ จัดการแสดง ๑๐.๕ สรุปและประเมินผลการปฏิบัติงาน ๑๑. วิทยากร : วิทยากรภายนอก (Keynote speaker) จำนวน ๖ ท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจผลงาน จำนวน ๑๐ ท่าน


๓ ๑๒. ผู้เข้าร่วมโครงการ : นักวิชาการ นักประพันธ์เพลง ครู อาจารย์ นิสิตนักศึกษา และผู้สนใจ จำนวน ๑๕๐ คน ๑๓. กิจกรรมย่อยของโครงการ ระยะเวลา รายละเอียดกิจกรรมย่อย (ปีงบประมาณ) ๑๓.๑ การประชุมวิชาการ ๑๓.๒ การแสดงผลงานสร้างสรรค์ จำนวน ๑๐ ชุด พ.ศ.๒๕๖๓ ๑๓.๓ การแสดงในพิธีเปิดการประชุมนานาชาติฯ กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินโครงการ ม.ค.-ก.พ. ๒๕๖๕ มี.ค.-เม.ย. ๖๕ พ.ค. ๒๕๖๕

๑.จัดเตรียมโครงการและประชุม แจกแจง งาน ๒.ดำเนินการขออนุมัติโครงการและ ค่าใช้จ่าย ๓.ประสานงานวิทยากร ๔.จัดทำเอกสาร จดหมายต่าง ๆ ๕.จัดทำเอกสารประกอบการประชุม วิชาการ ๖.เตรียมความพร้อมของสถานที่จัด โครงการ ๗.จัดโครงการ ๘.สรุปประเมินผลโครงการ ๑๔. งบประมาณ : ๑๔.๑ แหล่งงบประมาณ  งบคลัง  งบรายได้  งบอื่น ๆ ๑๔.๒ กองทุน:  กองทุนทั่วไป  กองทุนเพื่อการศึกษา  กองทุนวิจัย  กองทุนบริการวิชาการ  กองทุนกิจการนักศึกษา  กองทุนสินทรัพย์ถาวร  กองทุนพัฒนาบุคลากร  กองทุนบริการสุขภาพ  กองทุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม  กองทุนสำรอง  โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน


๕ ๑๗. ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต ๑. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ต่อ การจัดโครงการ ๒. จำนวนผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์ ที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติ ๓. การแสดงในพิธีเปิดการประชุมนานาชาติฯ ผลลัพธ์ ๑. เผยแพร่ชื่อเสียงของคณะศิลปกรรมศาสตร์

ตัวชี้วัด ๑. ค่าเฉลี่ยระดับความ พึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการ ๒. จำนวนผลงานที่ นำเสนอในงานประชุม ๓. การแสดง ข่าวที่ปรากฏในสื่อต่าง ๆ

ค่าเป้าหมาย

ระยะเวลา (ปีงบประมาณ)

ระดับ ๓.๕๑ ๑๐ ชิ้น ๑ ชุด ๓ สื่อขึ้นไป

ปีงบประมาณ ๒๕๖๓


หลักเกณฑ์การเสนอผลงานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการและเผยแพร่งานสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน” 1. คุณสมบัติและประเภทของผลงาน 1.1 รับผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีหรือนาฏกรรมจากอาจารย์ นักศึกษา และศิลปินอิสระ 1.2 ผลงานสร้างสรรค์จะนำเสนอต่อหน้าคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) ในแต่ละสาขา 1.3 เป็นผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีหรือนาฏกรรมที่มีการอธิบายกระบวนการสร้างผลงานและ องค์ประกอบต่าง ๆ ครบถ้วน 1.4 ต้องไม่เป็นผลงานสร้างสรรค์ที่เคยนำเสนอหรือเผยแพร่ที่ใดมาก่อน 1.5 เสนอผลงานพร้อมเอกสารประกอบ 1.6 ไม่เสียค่าลงทะเบียนในการนำเสนอ 1.7 ผู้เข้าร่วมนำเสนอผลงานจะได้ลงพิมพ์รายละเอียดผลงานในสูจิบัตรการจัดงาน (ในรูปแบบ pdf) และได้รับเกียรติบัตรเมื่อผ่านการนำเสนอผลงาน 2. รูปแบบการเขียนเอกสารประกอบผลงาน พิมพ์เป็นภาษาไทยด้วยแบบอักษร TH Sarabun PSK ขนาด 16 พอยต์ความยาวไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วย 2.1 ชื่อผลงาน เป็นภาษาไทย 2.2 ชื่อ นามสกุล สถานที่ทำงานหรือที่อยู่ ของเจ้าของผลงาน 2.3 แนวคิดหรือทฤษฎีในการสร้างสรรค์ 2.4 กระบวนการและ/หรือเทคนิค 2.5 รูปแบบหรือเนื้อหาของผลงาน 2.6 ความยาวของผลงาน ไม่เกิน 10 นาที 2.7 องค์ประกอบของผลงาน (เช่น โน้ตเพลง การออกแบบเครื่องแต่งกาย ฯลฯ) โปรดระบุจำนวน นักดนตรี นักแสดงหรือคณะทำงานที่จะเข้าร่วมในวันนำเสนอผลงาน


-2– เอกสารนี้นำส่งพร้อมสื่อตัวอย่างหรือบันทึกการแสดง ดังนี้ ด้านดนตรี - ไฟล์เสียง ในรูปแบบ *.wave, *.mp3, *.mp4 หรือ - ลิงก์วิดีทัศน์ผลงานหรือการฝึกซ้อม (เช่นจาก youtube หรือแหล่งอื่น) ด้านนาฏกรรม - ไฟล์ภาพผลงานการแสดง ในรูปแบบ *.jpeg จำนวน 3 ภาพ (ความละเอียดไม่ต่ำกว่า 300 dpi) และ - ลิงก์วิดีทัศน์ผลงานหรือการฝึกซ้อม (เช่นจาก youtube หรือแหล่งอื่น) 3. กำหนดการ - กำหนดส่งเอกสารประกอบผลงานภายในวันเสาร์ที่ 30 เมษายน 2565 เวลา 24.00 น. มาที่ email: arjaree_s@rumail.ru.ac.th - กำหนดการเสนอผลงาน ด้านดนตรี วันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2565 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ด้านนาฏกรรม วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป สถานทีน่ ำเสนอผลงาน อาคารสุโขทัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก 4. ประสานงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาจารี สัมภวะผล โทร. 092-459-6358 อาจารย์อมรินทร์ หมอกอ่อน โทร. 082-018-5552 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โทร. 02-3108291 -----------------------------------------------




w b~e) s'.l ................. '/Je)eJ'Uir~~Vl':i -:ir1ru1ru~'11'H1.Jl~a-:i1u?1{1-:J?1':i':iA n7':ith~'Vl-ll'V1f11':i bba~ b~t.J bb vd~a-:J7'U?l{1-:J?l':i':iA 't ......... 'U· · · ······· .... q........ q .... ............. . . .. . .......... q.. .

.,

'

':i~\il'U'Vl~ fl{-:Jvi

®

M<D\i1-:J7'Uf11':ith~'Vl-ll'V7 n7':i bba~ b~ tJ bb vd ' "-:J1'U?l{1-:J?l':i':iA\i1'U\i1~ bba~'Ul!)n':i':il-l1'U1~1\ll.J'U6':i':iWl'\Jf11';j

\911 t.Jfl ru~l'i ffU m':il-l 1'17?1 \i11 lJVl71 Vlt.J7~tJ ':i7lJA7 bb Vl-:J ~a-:J7'U?l{1-:J?l':i':iA ';j~\il'U'Vl~ r1f-:i~

'9)

b~ e)-:J

eJ~11l-lfl'U1'UeJ1b'lit.J'U" zj-:J~f11Vl'U\i11~~\i1t'U1'U·fo~

®® -

®Iv

'W~~Jllfll-l lvcfbcf

b~ eJ ~f11 ':i~ 1 b'W 'U-:J l'U btl'U U\911 tJ fl11l-l b~ t.J'U{ eJ tJ bba ~~ tJ':i ~ ~Vl Jll'W

1

1

6

,Yu

~ -:J'V eJ eJ'Ui!~trVl':i-:J fl ru1 ru q

1

~'11':i ru1~ a-:Jl'U?I {1-:i ?l':i':i A'Vll-:J\911'U\i1'U\i1~ bba~'Ul!) ~au \il-:J~';j 1 t.J'Ull-l ~e) tJ-d ~vi':i-:ir1ru1ru~'11':iru1~a-:i1u?1{1-:i?1':i':iAvi1-:i\911u\i1u~~ 'IJ

'

'

®.

1'11?1\i111'11':itJ \i1':i.1':i'V1~ btJ':im'U'Uvi

h

1'11?1~':il\!1':itJ \i1':i.'V1fll-l 'W':itJ':i~~vii

.n.

':ieJ-:Jl'11?1\i1':i1'11':itJ \i1':i.m'U'W 1?1V15bb'WV1tJ

er'.

':ieJ-:Jl'11?1\i1':i1'11':itJ \i1':i.'W':itJ':i~~\i11 b~1?11?1~

ct.

~'ti1tJl'17?1\i1':i7'17':itJ \i1':i. i~m?I JJtit!C\J'U~Jl'Vl':i

b.

~'U1tJl'11?1\i1':i1'11':itJ \i1':i. eJ'U':i':i'J.J \!{rut.Jl'U'Uvi 'IJ

'

~Vl':i-:Jr) ru1ru~'17':iru 1 ~ a-:Jl'U?I { 1-:J ?I ':i':i AV11-:J(1)1'U'U1!) ~ au '91.

.

';je)-:Jl'11?1\i1':i1'11':itJtJ':i~Jl11'1~ r'l~tJ':i~~~~

iv. ~-d11.Jl'17?1\i1':i7'17':itJ \i1':i.~mml'1 ~':i\17':iJl'Vl':i 'IJ 'U

' •

'

Q,J

'

'

,c:,j

.n.

~'V1t.Jl'11?1\i1':i1'11':it.J \i1':i.?l':i':i mat.J1-:Jl'11'1':i 'IJ

er'.

~'U1tJl'11?1\i1':i1'11':itJ (i)';j 6':iln':i ~'UV1'U1?11b 'IJ

~

-

('U1t.J(5 ';j ';jlj~f1';j 'W':iVIUWltJ) ':i e:i-:ir1ru~~11.Ju~V11':i r1ru~~atJm':il-l1'17?1\i11

<u,~.,,1i1,il\Hfll e~,J,i'.l> I

"N\J~fl\N~~"tln,,1.1,i1t,fl1

'V

q

q


ลำดับการแสดงผลงานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการและเผยแพร่งานสร้างสรรค์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง “งานสร้างสรรค์ดนตรีและนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมกับการอยู่ร่วมกันในอาเซียน” วันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องศักดิ์ ผาสุขนิรันต์ หอประชุมพ่อขุนรามคำแหงมหาราช งานสร้างสรรค์ทางด้านดนตรี การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทางด้านดนตรีในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ลำดับ 1.

เวลา

ชื่อผลงาน

เจ้าของผลงาน/

หน่วยงาน/สังกัด

ผลงานสร้างสรรค์ เพลงสุวรรณภูมิ

ผู้ประสานงาน ผศ.นิรันดร์ แจ่มอรุณ 099-411-7228

รูปแบบการ นำแสนอ

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลิปบันทึก การแสดง

อ.ดร.ชุมชน สืบวงศ์ 096-687-1791

มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา

( 4 นาที)

การสร้างสรรค์เพลงหนังตะลุง : เพลงดำเหนินในรูปแบบแซกโซโฟน

แสดงสด นักแซกโซโฟน 2 คน

15.01 – 15.15 น.

บทประพันธ์เพลง เปลวเทียนนำทาง

อ.ดร.อนุวัฒน์ เขียวปรางและ ผศ.ธนพัฒน์ เกิดผล 089-167-9167

มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต และมหาวิทยาลัยรามคำแหง

แสดงสด นักร้อง 3 คน

14.30 – 14.45 น. (6.05 นาที)

2.

3.

14.46 – 15.00 น.

(4.48 นาที)


ลำดับ 4.

เวลา 15.16 – 15.30 น.

ชื่อผลงาน

เจ้าของผลงาน/

หน่วยงาน/สังกัด

“ชเวดากอง" จากระนาดไทยสู่ระนาดฝรั่ง

ผู้ประสานงาน นายเลิศศักดิ์ รักสุจริต 088– 556 - 6935

รูปแบบการ นำแสนอ

โรงเรียนเซนต์คาเบรียล กรุงเทพฯ

คลิปบันทึก การแสดง แสดงสด นักร้อง 1 คน +กีตาร์ แสดงสด นักร้อง 1 คน +กีตาร์ คลิปบันทึก การแสดง

(7.15 นาที) 5.

15.31 – 15.45 น.

ผลงานสร้างสรรค์เพลง “กัญชาไทย”

อ.วรพงศ์ อุ่ยยก 095-5542628

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

งานสร้างสรรค์เพลง “ลับแลไม่แลลับ”

อ.มนตรี นุชดอนไผ่ 081-629-0420

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผลงานสร้างสรรค์บทเพลง “อาเซียนสามัคคี”

ผศ.ภาณุภัค โมกขศักดิ์ 095-224-4631

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

(3.59 นาที) 6.

15.46 – 16.00 น. (3.54 นาที)

7.

16.01 – 16.20 น. (19.31 นาที)

*ลำดับสุดท้าย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินำเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะโดยภาพรวม และเวลา 16.30 น. พิธมี อบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมเสนอผลงานทุกชุดการแสดง


วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องศักดิ์ ผาสุขนิรันต์ หอประชุมพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏกรรม - การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏกรรมในวิถีวัฒนธรรมอาเซียน ลำดับ 1.

เวลา 13.00 – 13.20 น.

ชื่อผลงาน ฟ้อนสาวม่านจกไก

(การแสดง 8.00 นาที) 2.

13.21 – 13.41 น.

นาฎรังสรรค์ ชุด เจินปี๋ขี่ม้าทรง

(การแสดง 6.20 นาที) 3.

13.41 – 14.00 น.

นาฏรังสรรค์ ชุด ท๊ะแท กะเหรี่ยงโปว์

(การแสดง 8.48 นาที) 4.

14.01 – 14.20 น. (การแสดง 6.05 นาที)

นาฎรังสรรค์ ชุด อันซอมโฎนตา

เจ้าของผลงาน/ ผู้ประสานงาน ผศ.ดร.รัสวรรณ อดิศัยภารดี นายทีปกร จิตต์อารีย์ 064-963-9095 นายขรรค์ชัย หอมจันทร์ และคณะฯ 062-867-6336 นางสาวชไมพร จันทรวิบูลย์และ คณะฯ 062-471-1919 นายกันตพัฒน์ จุติพรพูติวัฒน์และ คณะฯ 083-555-4666

หน่วยงาน/สังกัด

รูปแบบการ นำแสนอ

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

แสดงสด นักแสดง จำนวน 5 คน แสดงสด นักแสดง จำนวน 7 คน

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

แสดงสด นักแสดง จำนวน 8 คน แสดงสด นักแสดง จำนวน 8 คน


ลำดับ 5.

เวลา 14.21 – 14.41 น.

ชื่อผลงาน

เจ้าของผลงาน/

นังสำเพ็ง

ผู้ประสานงาน น.ส.นภาพรรณ สําเร็จ

(6.26 นาที)

น.ส.ภัทราภรณ์ เลี้ยงรักษา

หน่วยงาน/สังกัด

รูปแบบการ นำแสนอ

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา

แสดงสด นักแสดง จำนวน 5 คน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แสดงสด นักแสดง จำนวน 8 คน

ผศ.ดร.กชกร ชิตท้วม 6.

15.01 – 15.20 น. (7.16 นาที)

ระบำเชียงงาม

061-9144519 ผศ.ดร.มาลินี อาชายุทธการ 081-616-2250

*ลำดับสุดท้าย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินำเสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะโดยภาพรวม และ 16.30 น. พิธีมอบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วมเสนอผลงานทุกชุดการแสดง





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.