Dance and Arts

Page 1

นาฏศลิ ป์ และศลิ ปะ

Dance and Visual Arts


hello!

อาจารย์ ดร.ธรรมจักร พรหมพ้วย สาขาวิชานาฏรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง 2


Art is all around

3


How we relate with Arts? เราเกี่ยวข้องกับศิลปะอย่างไร


Visual Arts ทัศนศิลป์

Sculpture: La Pieta ประติมากรรม

Painting by Van Gogh จิตรกรรมสีนามัน โดย ฟาน กอกห์


Visual Arts

Photography ศิลปะภาพถ่าย

ทัศนศิลป์


Creative Arts

การออกแบบ

Graphic Arts เรขศิลป์


Creative Arts

Crafts หัตถศิลป์


Creative Arts Decorative Arts มัณฑณศิลป์ Exhibition Arts นิทรรศการศิลป์ Films ศิลปะภาพยนตร์


Visual Arts ทัศนศิลป์ ศิลปะที่มองเห็นได้ด้วยตา และทาให้เกิดความพึงพอใจ Sir Herbert Read

10


Arts

Architecture Painting

Sculpture Photography

สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพถ่าย สื่อผสม

Mix media

11


What is Art? Art is Man’s Creation. Art is Beauty

Art is Imitation.

Art is Expression. Art is the Transformation of Feeling into Form. Art is Intuition.

Art is the Language.


ARTS : ศิลปะคืออะไร ? • ศิลป-, ศิลป์ ๑, ศิลปะ [สินละปะ-, สิน, สินละปะ] • น. ฝีมือ ฝีมือทางการช่าง, การทาให้วิจิตรพิสดาร • น. การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทือนใจให้ประจักษ์ด้วยสื่อต่างๆ

อย่างเสียง เส้น สี ผิว รูปทรง เป็นต้น เช่น ศิลปะการดนตรี ศิลปะการวาดภาพ ศิลปะการละคร วิจิตรศิลป์ • (ส. ศิลปฺ ; ป. สิปฺป ว่า มีฝีมืออย่างยอดเยี่ยม) • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.๒๕๔๒


ศิลปะ Fine Arts = Art which concern with the creation of objects of imagination and taste for their own sake and without creation of utility of the object proceed

ศิลปะ หรือ ศิลป์ (สันสกฤต: शिल्प ศิลฺป) ทั่วๆ ไปแล้วจะ หมายถึงการกระทาหรือขันตอนของการสร้างชินงานศิลปะ ศิลปะ เป็นคาที่มีความหมายกว้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีความหมาย เกี่ยวกับการสร้างสรรค์, สุนทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณ์ต่างๆ งานศิลปะ จะรวมถึงชินงานหลายๆ ชนิดโดยผู้สร้างตังใจ สร้างชินงานเพื่อสื่อสาร, สื่ออารมณ์, หรือใช้สัญลักษณ์เพื่อให้ผชู้ ม ชินงานตีความ ผู้สร้างงานศิลปะ มักเรียกรวมๆ ว่า ศิลปิน ศิลปะอาจรวมไปถึงงานในรูปแบบต่างๆ เช่น งานเขียน บทกวี การเต้นรา การแสดง ดนตรี งานปฏิมากรรม ภาพวาดภาพเขียน หรือ อื่นๆ อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้วศิลปะจะหมายถึง งานทางทัศนศิลป์พวก ภาพวาด-ภาพเขียน งานประติมากรรม งานแกะสลัก รวมถึง conceptual art และ installation art (วิกพ ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี)


ประเภทของศิลปะ ▸ ศิลปะที่ไม่เน้นประโยชน์ใช้สอย (Fine arts) – วิจิตรศิลป์ ○ มุ่งเน้นไปในทางประดิษฐ์ เพื่อสร้างสรรค์ความงามมากกว่าเพื่อเกิด ประโยชน์ใช้สอย แสดงความสามารถและการสร้างสรรค์ของศิลปิน ▸ ศิลปะที่เน้นประโยชน์ใช้สอย (Applied arts) – ประยุกต์ศิลป์ ○ Useful art – สิ่งซึ่งเนื่องด้วยฝีมือ มุ่งหนักไปในทางประดิษฐ์ให้เกิด ประโยชน์แก่การใช้สอย

• Industrial art (ศิลปะอุตสาหกรรม) – สร้างความสุขทางกาย / ผลิตได้จานวนมากๆ • Crafts (หัตถกรรม) – ใช้งานฝีมือเป็นหลัก มุ่งประโยชน์เพื่อความ สวยงามและการนาไปใช้ประโยชน์ / ผสานงานศิลปะและงาน ช่างเข้าด้วยกัน


• • • • • • •

จิตรกรรม ประติมากรรม ดนตรี นาฏกรรม การละคร วรรณกรรม สถาปัตยกรรม

Arts • • • • • • • •

วิจิตรศิลป์

เรขศิลป์ หัตถศิลป์ นิทรรศการศิลป์ มัณฑนศิลป์ ภาพยนตร์ พาณิชยศิลป์ อุตสากรรมศิลป์ นิเทศศิลป์

ประยุกต์ศิลป์ 16


มีความงาม

มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน

มีความคิดสร้างสรรค์

ศิลปะ


ความงาม / สุนทรียะ / ศิลปะ ▸ ▸

Beauty - ความงาม Aesthetics- สุนทรียศาสตร์ ○ ○ ○

○ ○

ความงามมีอยู่จริงหรือไม่ ความงามมีคุณค่า (Value) ประสบการณ์ทางสุนทรียะ (Aesthetics experiences) การรับรู้สุนทรียะ (Aesthetics perception) การตัดสินทางสุนทรียะ (Aesthetics judgement) เกณฑ์ความงาม


ศิลปะ กับ ธรรมชาติ ▸

▸ ▸

Arts Nature ความงามทางศิลปะ ความงามตามธรรมชาติ มีความแตกต่างอย่างแท้จริงหรือไม่ ระหว่างความงามของภูมิประเทศที่เป็นจริง กับความงามที่แสดงอยู่ในภาพของจิตรกร

เจตนา


ศิลปะ / ความคิดสร้างสรรค์ ▸

Creativity – ความคิดสร้างสรรค์

▸ ความสามารถของสมองที่คิดได้กว้างไกลหลายแง่มุม ซึ่งทาให้เกิดความคิดแปลกใหม่แตกต่างไปจากเดิม เป็นความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธ์ต่างๆ รอบตัว เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ จนเกิดปฏิกิริยา ตอบสนองให้เกิดความคิดเชิงจินตนาการ ซึ่งเป็น ลักษณะสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ อันจะนาไปสู่ การประดิษฐ์หรือคิดค้นสิ่งแปลกใหม่หรือเพื่อแก้ไข ปัญหา ซึ่งจะต้องอาศัยบูรณาการจากประสบการณ์ และความรู้ทังหมดที่ผ่านมา

○ ความคิดริเริ่ม

(original) ○ ความคล่องแคล่ว (fluency) ○ ความยืดหยุ่น (flexibility) ○ ความละเอียดละออ (elaboration)


ศิลปะชันสูง / ศิลปะชันต่า รสนิยม : Taste Art for Art sake Art & Society Art for All


Art Elements Dance Elements

22


เอกภาพ

การเน้น

จังหวะลีลา

เส้น

สี

ศิลปะ

แสงสี

รูปร่างและ รูปทรง

แสงและ

สมดุล

เงา

สัดส่วน

พื้นผิว 23

• • • • • • • • • • •

Line Colour Spectrum (Radiation Energy) Shape & Form Light & Shade Texture Proportion Balance Rhythm Emphasis Unity


24

Flexibility

Energy/Power

Balance

Movement

Space

Time

Aesthetic Distance

Audiences

Texture

Colour

Physical law of nature

Unity

Form

Music

Meaning

Harmony


25


Stage Lighting

26


แสงสี

27


Stage lighting Design

28


Art History 29


Art History ประวัติศาสตร์ศิลปะ ▸ ศิลปะยุคกรีก – โรมัน ▸ ศิลปะยุคกลาง Middle Age (ยุคมืด Dark Age) Christian Arts ○ Byzantine, Romanesque, Gothic ▸ ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ Renaissance (1401-1600) ▸ ศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 17 (1601-1700) ○ Baroque (Italy, France, Dutch-Flemish) ▸ ศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 18 (1701-1800) Age of Enlightenment ○ Romanticism, Neo-Classicism, Rococo ▸ ศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 19 (1801-1900) ○ Romanticism, Realism, Pre-Raphaelite Brotherhood, Orientalism, Symbolism, Academicism, Classicism, Art Nouveau ▸ ศิลปะในคริสต์ศตวรรษที่ 20 (1901-2000) Modern Arts 30


Classical Arts 31


Greek - Roman

32


Laocoon and His Sons 33


Renaissance 34


The Birth of Venus, 1483-1486 Sandro Botticelli 35


36

The Last Supper, 1495-1498 Leonardo da Vinci


Monalisa 37

Leonado da Vinci 1503-1506


David 1505-1504 Michelangelo


39

School of Athens 1509-1511 Raphael


Modern Arts 40


1850s Impressionism ▸ ศิลปินอิมเพรสชันนิสต์มุ่งนาเสนอชีวิตสมัยใหม่ โดยเฉพาะ

ภาพวิวทิวทัศน์ (Landscape) และภาพวิถีชีวิตทั่วๆ ไป (Genre painting) ผ่านการสังเกตอย่างตรงไปตรงมา พวกเขามักใช้ฝีแปรงสะบัดอย่างหยาบๆ ด้วยความเร็ว เพื่อจับชั่วขณะที่อยู่ตรงหน้าซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ทุก วินาที


Dance at le Moulin de la Galette

Pierre-Auguste Renoir, 1876 Oil on canvas, 131X175 cm Musee d’Orsey, Paris


Le Dejeuner sur L’Herbe, 1863

Luncheon on the Grass Oil on canvas, 2.14X2.79 cm. Musee d’Orsey, Paris

Edouard Manet, 1863


1875-1900 เหตุการณ์ร่วมสมัย 1879 โธมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ทดสอบดวงไฟดวงแรก 1889 Exposition Universelle กรุงปารีส เพื่อ เตรียมพร้อมงานแฟร์ระดับโลก วิศวกรชื่อกุสตาฟ ไอเฟิล (Gustave Eiffle 1832-1923) ถูกว่าจ้างให้ สร้างหอคอยเหล็กสาหรับเป็นซุ้มทางเข้างาน ไอเฟล ใช้เวลา 2 ปี ตังแต่ปี 1887-1889 จึงเสร็จสมบูรณ์และ เป็นอาคารที่สูงทีส่ ุดในโลก ณ ขณะนัน


1875-1900 1886 นิทรรศการอิมเพรสชันนิสม์ ครังที่ 8 (ครังสุดท้าย) ในนิทรรศการนี ศิลปินหนุม ่ จอร์จ เซอราด์ (Georges Seurat 1859-1891) นาผลงานขนาดใหญ่ชื่อ A Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte มาจัด แสดงด้วย

ผลงานของเขาแสดงให้เห็นถึงศิลปะแนวใหม่ที่ฉีกออก จากกลุ่มอิมเพรสชันนิสม์โดยเฉพาะเทคนิคจุดสี (Pointillism) ที่ถูกคิดค้นขึน ภาพแบบใหม่ไม่ได้ บันทึกความประทับใจที่แปรเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว หากแต่เป็นการทางานโดยอิงกับหลักวิทยาศาสตร์ และผ่านการไตร่ตรองอย่างละเอียดรอบคอบ ศิลปินที่ ทางานในแนวทางนีถูกเรียกว่ากลุม ่ “นีโอ อิมเพรสชัน นิสม์” (Neo-Impressionism)


A Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte

Georges Seurat, 1884-1886, Oil on canvas, 207.6X308 cm Art Institute of Chicago


1875 Post-Impressionism

▸ 1889 Starry Night ค่าคืนที่ดาวพร่างพราย ▸ ในปี 1888 Van Gogh (แวน โก๊ะห์) เดินทางออกจากปารีส

ไปยังเมืองอาร์ลส์ (Arles) ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส ที่นั่น เขาได้พัฒนาการใช้สีและฝีแปรงที่สื่ออารมณ์ที่เป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัว


Starry Night

Vincent van Gogh, 1889, Oil on canvas, 73.7X92.1 cm Museum of the Modern Art, New York


Art Nouveau 1895 ซิกฟรีด บิง (Siegfried Bing) นักธุรกิจชาวเยอรมนี เปิดร้านชื่อ La Maison de L’Art Nouveau เพื่อขายสินค้า ดีไซน์แปลกแหวกแนวที่ได้รับแรงบันดาลใจ จากตะวันออก อันเป็นที่มาของสไตล์ตกแต่ง แบบ อาร์ต นูโว (Art Nouveau) ซึ่งโดดเด่นที่ความอ่อนช้อยด้วยการใช้เส้น โค้งที่ดูมีชีวิต


Paris Metro


1907-1914 Cubism ▸ เป็นกระบวนการความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่เกิดขึนในช่วง 1907-1914 นาโดย ปาโบล ปิกัสโซ่ (Pablo Picasso 1881-1973) และจอร์จ บราคส์ (Georges Braque 1882-1963) ▸ พวกเขานาเสนอวิธีในการมองโลกแบบใหม่โดยมองโลกจากหลายมุม ด้วยวิธีนี แง่มุมต่างๆ ของวัตถุจะถูกถ่ายทอดออกมาพร้อมๆ กัน ผืนผ้าใบจึงไม่ใช่หน้าต่างที่ เปิดออกไปสู่โลกภายนอกอีกต่อไป หากแต่คือพืนที่ที่ศิลปินแต่งแต้มและ สร้างสรรค์โลกที่เขาเห็น ▸ แนวคิดเช่นนีเป็นการเปิดโลกทัศน์แบบใหมให้แก่ศิลปินรุ่นหลังและจะช่วยพลิกโฉม หน้าของศิลปะในยุคต่อมาไปสู่ความเป็นไปได้ที่กว้างไกล


Les Demoiselles d’Avignon

Pablo Picasso, 1907, Oil on canvas Museum of Modern Art, New York


1910-1915 1914 สงครามโลกครังที่ 1 ปะทุขึน เมื่อมกุฎราชกุมาร ฟรันซ์ แฟร์ดินานด์และพระชายาถูกลอบปลง พระชนม์ที่กรุงซาราเยโว เป็นชนวนให้ออสเตรีย-ฮังการีบุกเซอร์เบีย ตามมาด้วการบุกเบลเยี่ยมของ เยอรมนี ให้ชาติพันธมิตรอย่างอังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงคราม โดยมีสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย เข้ามาร่วมในภายหลัง เพื่อต่อสู้กับมหาอานาจของอาณาจักรออสเตรีย-ฮังการี เยอรมนี อิตาลี และ อาณาจักรออตโตมัน (ตุรกี)


1905-1930 Expressionism ▸ คือกระบวนการความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่มีอิทธิพลอย่างมากในเยอรมนีในช่วง ปี 1905-1930 โดยศิลปินมักบิดเบือนรูปทรงและการนาเสนออย่างเกินจริง เพื่อ สื่อถึงสภาวะอารมณ์ภายในที่เข้มข้น ▸ เอ็กเพรสชันนิสม์ในเยอรมนีแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ○ กลุ่มสะพาน (Die Brucke) นาโดย แอร์นสท์ ลุดวิก เคียร์ชเนอร์ (Ernst Ludwig Kirchner 1880-1938) ○ กลุ่มม้าสีนาเงิน (Der Blaue Reiter) นาโดย วาสสิลี คานดินสกี (Wassily Kandinsky 1866-1944) ผู้ถ่ายทอดอารมณ์ผ่านศิลปะการลดทอน (Abstraction) นาไปสู่ศิลปะ นามธรรม


The Scream

Edvard Munch, 1893 oil, tempera and pastel on cardboard 91 x 73 cm National Gallery of Norway 55


1909-14 Futurism ฟิวเจอริสม์ (Futurism) คือกระบวนการ ความเคลื่อนไหวทางด้านวรรณกรรม และศิลปะที่เกิดขึนในประเทศอิตาลีในป 1909 และสลายตัวลงในช่วง สงครามโลกครังที่ 1 สาเหตุหลักมาจาก ความรู้สึกอึดอัดคัดข้องใจที่เห็นประเทศ อิตาลีหยุดนิ่งอยู่กับที่ในขณะที่ประเทศ อื่นๆ พัฒนาไปข้างหน้า

กลุ่มฟิวเจอริสม์จึงต่อต้านศิลปะรูปแบบ เก่าทุกประเภทพวกเขาปฏิเสธอดีตและ มุ่งหาความงามรูปแบบใหม่ในโลก สมัยใหม่ ซึ่งก็คือ “ความงามแห่ง ความเร็ว” (Beauty of Speed) นั่นเอง


Berlin Street Scene

Emst Ludwig Krichner 1913

Oil on canvas, 200X150 cm Brucke Museum, Berlin


Composition VII, 1913

Wassily Kadinsky, 1913, Oil on canvas, 200X300 cm Tretyakov Gallery, Moscow


1914 Constructivism ▸ คือกระบวนการความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่ก่อตัวขึนในรัสเซียในปี 1914 โดย วลาดิมีร์ ทัทลิน (Vladimir Tatlin 1885-1953) ทัทลินมีโอกาสได้เห็น ประติมากรรมเชิงโครงสร้างของปิกัสโซ รวมถึงแนวคิดของกลุ่มฟิวเจอริสม์ที่ ปฏิเสธการใช้กระบวนการคิดแบบเดิมๆ ในงานประติมากรรม ไม่ว่าจะเป็นการปั้น หรือการแกะสลัก ▸ งานส่วนใหญ่ของกลุ่มคอนสตรัคทิวิสม์นาเสนอศิลปะนามธรรมผ่านประติมากรรม โครงสร้างซึ่งประกอบขึนจากวัสดุอุตสาหกรรม ▸ หลังการปฏิวัติรัสเซียในปี 1917 ศิลปินจานวนมากหันไปสร้างงานเพื่อรับใช้สังคม ตามแนวคิดทางการเมืองแบบสังคมนิยมของรัฐโซเวียตใหม่


The Third International

The Third International


1916 DADA ถือกาเนิดในปี 1916 โดยกลุ่มศิลปินที่ลีภัย อยู่ในสวิตเซอร์แลนด์ ชาวดาดารู้สึกว่า เหตุผล ตรรกะ และการมุ่งพัฒนาไป ข้างหน้าของโลกตะวันตก เป็นตัวการที่ นาไปสู่ความหายนะ โดยเฉพาะใน สงครามโลกครังที่ 1

งานของดาดาจึงละทิงตรรกะและเหตุผล ทังมวล ไปสู่โลกแห่งสัญชาตญาณ ความ บังเอิญ ความเป็นอิสระ และความ เหลวไหลไร้สาระ เพื่อที่จะกระตุกกระตุ้น ให้คิดในมุมมองใหม่ๆ


Fountain

Marcel Duchamp, 1917


1919 Bauhaus คือ โรงเรียนสอนศิลปะและการ ออกแบบ ซึ่งก่อตังขึนที่ไวมาร์ (Weimar) ในปี 1919 โดยวาลเทอร์ โกรปิอุส (Walter Gropius) จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อลดช่องว่าง ระหว่างงานวิจิตรศิลป์และงาน ออกแบบให้ขึนมาทัดเทียมกับงานศิลปะ ประเภทอื่นๆ


1920s-1930s Surrealism ▸ คือกระบวนการเคลื่อนไหวทางศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1920s และ 1930s จุด กาเนิดของเซอเรียลิสม์อยู่ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อกวีและนักเขียน อังเดร เบรอตง (Andre Breton) ออกแถลงการณ์เซอเรียลิสม์ฉบับแรก (Manifeste du Surrealisme) ในปี 1924 ▸ แนวคิดที่สาคัญของกลุ่มคือ การปลดปล่อยพลังสร้างสรรค์และแรงปรารถนาของ จิตไร้สานึก (unconscious mind) โดยนาแนวคิดพืนฐานมาจากทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) ของซิกมุนท์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ด้วยเหตุนีผลงานของ ศิลปินเซอเรียลิสม์จึงมักดูหลุดโลก ปราศจากเหตุผล เสนอโลกแห่งจินตนาการและ ความฝัน รวมทังสภาวะของจิตภายใน


The Persistence of Memory, 1931

Salvador Dali, 1931


1920-1940 1937 รัฐบาลนาซีเปิดนิทรรศการ “ศิลปะ เสื่อมทราม” (Degenerate Art) ขึนที่ เมืองมิวนิค โดยส่วนใหญ่เป็นผลงาน ของศิลปินสมัยใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มเอ็ก เพรสชันนิสม์

1937 เยอรมนีเข้าไปมีส่วนร่วมใน การระเบิดถล่มเมืองแกร์นิกาใน แคว้นบาสก์ของประเทศสเปน ความ สะเทือนใจจากเหตุการณ์ครังนันทา ให้ปิกัสโซ วาดภาพ “แกร์นิกา” (Guernica) อันโด่งดัง เพื่อสื่อถึง ข้อความต่อต้านสงคราม


Guernica, 1937

Pablo Picasso


1940 Abstract Expressionism ▸ หรืออีกชื่อหนึ่งคือ “สานักนิวยอร์ก” (The New York School) คือกระบวนการ ความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่เริ่มก่อตัวขึนในช่วงต้นทศวรรษที่ 1940 โดยมี ศูนย์กลางอยู่ที่นิวยอร์ก ▸ ศิลปินนาเสนอศิลปะแนวใหม่ที่ไม่ขึนกับกฎเกณฑ์ใดๆ พวกเขาสร้างผลงาน นามธรรมที่สะท้อนสภาวะภายในของปัจเจก โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 แนวทางหลักๆ ได้แก่ ○ จิตรกรรมการแสดง (Action painting) เช่นในงานของแจ็คสัน พอลล็อค และวิลเลม เดอ คูนนิง ○ จิตรกรรมนามสี (Colour of field painting) เช่นในงานของเบอร์เน็ตต์ นิวแมน และ มาร์ค รอธโก


Number 1: Lavender Mist, 1950

Jackson Pollock


just what is it that makes today's homes so different, so appealing?

Richard Hamilton, 1956


1960s Minimal Art กระบวนการลัทธิมินิมัล ลิสม์ (Minimalism) เริ่มก่อตัวขึนใน นิวยอร์กโดยเกี่ยวเนื่อง กับทังด้านศิลปะและ การออกแบบ

ศิลปะแบบมินิมัลมุ่ง ลดทอนรูปทรงให้เหลือ เพียงรูปลักษณ์สามัญที่ เรียบง่ายที่สุด เป็น รูปทรงบริสุทธิ์ (Pure Form) ที่ไม่ต้องการสิ่ง อ้างอิงใดๆ

ถือเป็นปฏิกิริยาที่ ต่อต้านกลุ่ม แอ็บสแตร็คเอ็กเพรส ชันนิสม์ที่เต็มไปด้วย อารมณ์และความเป็น ปัจเจก


Equivalent VIII

Carl Andre 1966


1960s Conceptual Art ▸ กระบวนการความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่เกิดขึนในช่วงทศวรรษ 1960 โดยมุ่ง นาเสนอแนวคิด (idea) เป็นหลัก งานค็อนเซ็ปชวลส่วนใหญ่จึงไม่ใช่งานที่จับต้อง ได้ (artefact) หากแต่มันอยู่ในรูปแบบของการบันทึกกระบวนการความคิด (documentation) ▸ ศิลปะค็อนเซ็ปชวลเชื่อมโยงใกล้ชิดกับศิลปะแขนงอื่นๆ เช่น ศิลปะการแสดงสด (performance) ศิลปะบนพืนดิน (Land art) ศิลปะร่างกาย (Body art) รวมทัง กลุ่มอาร์เต โพเวรา (Arte Povera) ▸ ซึ่งทังหมดล้วนเป็นปฏิกิริยาต่อต้านแนวคิดรูปแบบนิยม (formalism) และการ มุ่งหาประโยชน์ทางการค้า (commercialism) ของกลุ่มมินิมัลลิสม์


1950s-1960s Pop Art ▸ คือความเคลื่อนไหวทางศิลปะทีเ่ กิดขึนในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1950 และเบ่งบานสูงสุดในช่วงทศวรรษ 1960 ศูนย์กลางอยู่ทอี่ เมริกาและอังกฤษ ▸ ในอเมริกา ป๊อปอาร์ตถือเป็นปฏิกิริยาต่อต้านกลุม ่ แอ็บสแตร็คเอ็กเพรสชันนิสม์ ด้วยวิธีการเสียดสี และรูปแบบในการนาเสนอเกีย่ วกับกฎเกณฑ์ใดๆ ทาให้หลายคนมองว่า ป๊อปอาร์ตคือทายาทของกลุม ่ ดาดานั่นเอง (Neo-DADA)

เนือหาส่วนใหญ่อิงอยู่กับลัทธิ บริโภคนิยม (consumerism) และวัฒนธรรมมวลชน (poplar culture) โดยใช้ภาพ ที่เห็นในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะ เป็นการ์ตูน โปสเตอร์ หีบห่อ บรรจุภัณฑ์ ภาพดาราหรือภาพ โฆษณา


Campbell ‘s Soup Cans, 1962

Andy Warhol


ศิลปะไทย กับ นาฏศิลป์ 76


ช่าง

ศิลปะ

ช่างสิปป์หมู่ ช่าง เขียน

ช่างหุ่น

ช่างปั้น

ช่างกลึง

วิจิตรศิลป์ ดนตรี

77

นาฏศิลป์

ทัศนศิลป์

ประยุกต์ศิลป์

ออกแบบ

ผลิต


ทฤษฎีหน้าบัน



“ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.เจตนา นาควัชระ


ดูของสวย ๆ งาม ๆ แบบไทย ได้ที่ไหน ▸

วัง ▸ ▸ ▸ ▸ ▸

หลวง : ราชสานัก ประณีต ละเอียด แบบแผน หลักการ ขนบ ธรรมเนียม ฐานานุศักดิ์ ฝีมือช่างหลวง

วัด ▸ หลวง ▸ ราษฎร์ ○ เลียนแบบหลวง ○ ศรัทธา ○ ฝีมือช่างชาวบ้าน


น้อน

“นาอีฟ อาร์ต” (Naïve art) หรือศิลปะที่สร้างขึนอย่างเรียบง่าย ไร้มารยา ไม่ซับซ้อน ทาไปตามจินตนาการ แม้ไม่ถูกต้องตามทฤษฎี แต่ก็แสดงถึงพลังศรัทธา ในพระพุทธศาสนา โดยเราจะพบเห็นผลงานนาอีฟ อาร์ตของช่างพืนบ้านเหล่านีได้มากตามวัดในภาคอีสานและภาคเหนือ


สิง่ ทีเ่ ราได้เรียนรูจ้ ากการ “ดู” ▸ ▸ ▸ ▸ ▸ ▸

ยุคสมัย ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัสดุ แหล่งที่มาของวัสดุ ความคิด แนวคิด ในการสร้าง ตานาน เรื่องเล่า “ข้างหลังภาพ” เทคนิค เชิงช่าง ความยาก-ง่าย คุณค่าทางสุนทรียะ ความงาม


สถาปัตยกรรมไทย



บ้าน

วัด

วัง

เครื่องผูก

อุโบสถ

พระราชวัง

วิหาร เครื่องสับ

เจดีย์ ปรางค์

เครื่องก่อ

กุฏิ

วัง ตาหนัก คุ้ม


เรือนไทย


เรือนไทยภาคกลาง ▸ เรือนเดี่ยว ▸ เรือนหมู่ ▸ เรือนหมู่ (ขุนนาง คหบดี) ▸ เรือนแพ



ฝาเรือน


การปลูกเรือน ปรุงเรือน



วัด


วัดพระศรีสรรเพ็ชญ์ กรุงศรีอยุธยา

ผังและความเชื่อ วัดพระนอน กาแพงเพชร


วัดมหาธาตุ กรุงศรีอยุธยา ตอนต้น

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส กรุงรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๑)


องค์ประกอบสถาปัตยกรรม



เจติยสถาน


วัง


วัง ▸ ▸ ▸ ▸ ▸ ▸

วังหลวง : พระบรมมหาราชวัง พระราชวัง วังหน้า : พระบวรราชวัง พระราชวังบวรสถานมงคล วังหลัง : พระราชวังบวรสถานภิมุข วังเจ้าฟ้า วังเจ้านายชันพระอนุวงศ์ : พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า พระตาหนัก ตาหนัก


วังหลวง

พระบรมมหาราชวัง


พระราชวังบวรสถานมงคล พระบวรราชวัง วังหน้า


พระที่นั่งเวหาศจารูญ

พระที่นง ั่ อนันตสมาคม


วังบางขุนพรหม ของสมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพั นธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพิ นิต



จิตรกรรมในสมุดไท


“ จิตรกรรมฝาผนัง



ปฏิมากรรม

พระพุทธรูป


เทวรูป


หัตถศิลป์




Thanks!

any questions ?

You can find me at thummachuk.p@rumail.ac.th 114


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.