สานคนฝกฝนศิลปกับศิลปนแหงชาติดานลิเก ธรรมจักร พรหมพวย๑
ศิลปะการแสดงของไทยแขนงหนึ่งที่ยังคงอยู"ไดอย"างดงามในวิถีชีวิตและสังคมไทย คือ "ลิเก" ดวยรูปแบบที่มีการปรับเปลี่ยน ผ"อนปรน ไปตามกระแสความเปลีย่ นแปลง ไม"หยุดยั้ง ในการพัฒนา เพราะ "กรอบ" ที่กําหนดรูปแบบลิเกนัน้ มีนอย และดวยเหตุทเี่ ป0น ศิลปะการแสดงอย"างใหม"ของชาวสยามทีเ่ กิดในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีพื้นเพอยู"หลังป2อมมหากาฬ เกิดมี "วิกลิเก" ที่มีชื่อเสียงโด"งดัง คือ วิกลิเกพระยาเพ็ชรปาณี ซึ่งไดสถาปนารูปแบบ การละเล"นนี้ใหถูกอกถูกใจ "ชาวบาน" จนทําใหลิเกโด"งดังและเผยแพร"แสดงทั่วไปหลายคณะ ทั้งในกรุงเทพฯ ไปจนถึงหัวเมือง เช"น เขมร ลาว ทั้งยังทําใหศิลปะการแสดงรูปแบบอื่นๆ ก็ พลอยไดรับอิทธิพลการแสดงของลิเกไปดวย ดังเช"น "บันทึกของนายแกว" บทพระราชนิพนธ: วิจารณ:ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยู"หัว ทรงใชนามปากกาว"า "นายแกว" ทรง วิพากษ:วิจารณ:การแสดงหนังตะลุงซึ่งจัดมารับเสด็จฯ ว"าใชเรื่องราวและบทพากย:อย"างลิเก ของชาวบางกอก โดยทรงพระราชนิพนธ:ไวว"า "โรคนี้ดูออกจะกําเริบมาก" แสดงใหเห็นว"า ความแพร"หลายของรูปแบบการละเล"นลิเกไดแพร"หลายไปอย"างกวางขวางมากในสมัยรัชกาลที่ ๖ และยังดําเนินมาจนถึงป>จจุบัน
๑
อาจารย:ประจําสาขาวิชานาฏกรรมไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง