Ee606 ศส ชม

Page 1

¶Í´º·àÃÕ¹¤ÇÒÁÊÓàÃ็¨¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ§Ò¹ÍÒªÕ¾

â¤Ã§¡Òùѡ¸ØáԨ¹ŒÍÂ

Áդس¸ÃÃÁ ¹ÓÊÙ‹àÈÃÉ°¡Ô¨ÊÌҧÊÃä : ¡Ã³ÕÈÖ¡ÉÒâçàÃÕ¹ÈÖ¡ÉÒʧà¤ÃÒÐË àªÕ§ãËÁ‹

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม

นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ จัดพิมพ์เผยแพร่ พิมพ์ครั้งที่ 1 จำ�นวนพิมพ์ ลิขสิทธิ์ พิมพ์ที่

สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำ�เนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร. 0-2288-5898 โทรสาร 0-2281-0828 พ.ศ. 2559 1,000 เล่ม สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด

79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา


คำ�นำ� สืบเนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายเน้นการสอนงานอาชีพให้แก่นักเรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ควบคู่ไปกับงานวิชาการ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาเห็นว่าสำ�นักพัฒนา นวัตกรรมการจัดการศึกษาได้ดำ�เนินการพัฒนาโรงเรียนเรื่องดังกล่าวในนามโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ (The young Entrepreneur Project) กับโรงเรียนทัว่ ทุกภาค จำ�นวน 400 โรงเรียน มาตัง้ แต่ ปี 2553 จนได้รูปแบบการสอนงานอาชีพที่เป็นตัวอย่างแก่โรงเรียนอื่นได้ และได้มีการคัดเลือกโรงเรียนที่มีศักยภาพสูง มีผลงานวิจยั ด้านหลักสูตรและการสอนเป็นทีน่ ่าเชือ่ ถือ ผลงานการสอนได้รบั รางวัลระดับประเทศจากหน่วยงาน ต้ น สั ง กั ด และหน่ ว ยงานภายนอก รวมถึ ง ได้ รั บ รางวั ล ระดั บ นานาชาติ จั ด ตั้ ง เป็ น โรงเรี ย นศู น ย์ แ กนนำ � ขยายเครือข่ายไปยังโรงเรียนใกล้เคียงที่สนใจ จำ�นวน 29 ศูนย์ ผลการปฏิบัติงานของแต่ละศูนย์เป็นที่น่าพอใจ จึงเห็นสมควรถอดบทเรียนความสำ�เร็จของการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพของศูนย์ให้เป็นตัวอย่างแก่โรงเรียนอื่น เพื่อเป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพที่มีประสิทธิภาพต่อไป โดยถอดบทเรียนของโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ทีส่ ามารถจัดการเรียนการสอนงานอาชีพแบบบูรณาการทัง้ ระบบได้เป็นอย่างดี ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น โรงเรียนสามารถปลูกฝังกระบวนการคิด กระบวนการทำ�งาน และทักษะชีวิตแก่นักเรียนได้อย่างแท้จริง การถอดบทเรียนการจัดการเรียนรูง้ านอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ จะเป็นการถอดบทเรียนทั้งระบบโรงเรียน คณะทำ�งานได้ไปเก็บข้อมูล และศึกษาในโรงเรียนเป็นเวลา 1 สัปดาห์ พร้อมทั้งสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน ครูผู้สอน ผู้แทนนักเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย บุคคลภายนอก และครูโรงเรียนเครือข่าย โดยกำ�หนดประเด็นสัมภาษณ์ คณะทำ�งานประชุมสรุป และจัดทำ�ต้นฉบับเพื่อจัดพิมพ์เผยแพร่จนเสร็จสิ้น สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ขอขอบคุณคณะทำ�งานการจัดทำ�หนังสือและผูใ้ ห้ขอ้ มูล ทุ ก ท่ า น และขอชมเชยผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นศึ ก ษาสงเคราะห์ เชี ย งใหม่ แ ละคณะครู ทุ ก ท่ า นที่ มี ส่ ว นในการ จัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ได้ประสบความสำ�เร็จ สามารถเป็นต้นแบบที่ดี เป็นบทเรียนให้ผู้อื่นได้เรียนรู้และนำ�ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของตนเอง ไว้ ณ ที่นี้

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


สารบัญ หน้า คำ�นำ� สารบัญ ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 3

เรียนรู้โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์................................ จากโครงการ...การจัดการเรียนรู้สู่เส้นทางอาชีพนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์................................................................................................... ความเป็นมาของโครงการ........................................................................................... วัตถุประสงค์.............................................................................................................. ความหมายและขอบข่าย............................................................................................ แนวดำ�เนินการ........................................................................................................... ภาพความสำ�เร็จของโครงการ..................................................................................... ทำ�ไมต้องถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่...................... ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่......................................... รู้จักโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่....................................................................... การก้าวเข้าสู่โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทั้งระบบโรงเรียน จากโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สู่หลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนและการนิเทศติดตามผล...................................................... กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สู่โลกกว้างทางธุรกิจ......................................................... บทบาทหน้าที่ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการส่งเสริมการเรียนรู้งานอาชีพในโรงเรียน และโรงเรียนเครือข่าย................................................................................................. สะท้อนคิดความสำ�เร็จ...............................................................................................

1 2 2 3 3 4 6 12 14 15 22 34 50 54

63 69


สารบัญ (ต่อ) หน้า ตอนที่ 4 ผลลัพธ์เชิงประจักษ์......................................................................................................... ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน............................................................................................... ผลที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน....................................................... ผลที่เกิดขึ้นกับโรงเรียน............................................................................................... ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครองและชุมชน........................................................................... ตอนที่ 5 บทเรียนและปัจจัยความสำ�เร็จ........................................................................................ ตอนที่ 6 ความคิดเห็นของครูต่อโครงการ และความภาคภูมิใจ..................................................... ความคิดเห็นของครูต่อโครงการ................................................................................. ความภาคภูมิใจ........................................................................................................... ตอนที่ 7 แนวทางการพัฒนาในอนาคต.......................................................................................... บรรณานุกรม........................................................................................................................................ ภาคผนวก............................................................................................................................................. ภาคผนวก ก....................................................................................................................... ภาคผนวก ข....................................................................................................................... ภาคผนวก ค....................................................................................................................... คณะผู้จัดทำ�. ........................................................................................................................................

75 76 77 77 78 79 83 84 85 86 92 93 94 101 114 117


ตอนที่ 1 เรียนรู้โครงการ นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์


จากโครงการ...การจัดการเรียนรู้สู่เส้นทางอาชีพนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ความเป็นมาของโครงการ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เกิดจากการที่สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัด การศึกษาได้จัดเก็บข้อมูลจากโรงเรียน และพิจารณาเห็นว่าโรงเรียนได้เปิดสอนงานอาชีพในโรงเรียนทุกโรงเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี บางโรงเรียนจัดทำ�เป็นรายวิชาเพิ่มเติม บางโรงเรียนสอนเป็น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บางโรงเรียนเป็นชุมนุมตามความสนใจของผู้เรียน บางโรงเรียนสอนบูรณาการกลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นต้น นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงานได้อย่างหลากหลาย โดยมีฐาน การผลิตจากแหล่งวัตถุดบิ และภูมปิ ญ ั ญาของท้องถิน่ มีโรงเรียนจำ�นวนไม่นอ้ ยทีน่ กั เรียนสามารถผลิตชิน้ งานได้จ�ำ นวนมาก สามารถสร้างรายได้ระหว่างเรียน และปลูกฝังคุณลักษณะทีด่ ใี ห้กบั นักเรียนตามจุดมุง่ หมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เป็นอย่างดี แต่คุณภาพผลงานนักเรียน วิธีคิดและการจัดการเรียนรู้ของครูให้กับ นักเรียนในเรือ่ งนีส้ มควรได้รบั การต่อยอด พัฒนาให้เหมาะกับสถานการณ์ของโลกและสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบัน และเพื่อให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่ให้ความสำ�คัญ กับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่มุ่งให้ประเทศมีการผลิตสินค้าและบริการอย่างสร้างสรรค์ เพิ่มมูลค่า สิ น ค้ า โดยใช้ น วั ต กรรมเข้ า มาช่ ว ยในการผลิ ต เพื่ อ สร้ า งความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ ซึ่ ง สอดคล้ อ ง กับการพัฒนาประเทศไทย 4.0 ในปัจจุบัน ดังนั้นการสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยอย่างเป็นรูปธรรม และยั่งยืนได้ ควรสร้างรากฐานที่เข้มแข็งโดยเริ่มที่การศึกษา ด้วยการบ่มเพาะปลูกฝังความสามารถด้านการคิด และเจตคติที่ดีในการทำ�งาน การสร้างสรรค์ การสั่งสมความรู้และทักษะที่จำ�เป็นในการทำ�งาน การรู้จักหาโอกาส และช่องทางทำ�มาหากิน และก้าวเข้าสู่โลกแห่งการทำ�งานให้นักเรียนตั้งแต่ยังเป็นเด็กให้สามารถนำ�ไปใช้ในอนาคต ดังนั้นสำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา จึงได้จัดทำ�โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ให้ นั ก เรี ย นเรี ย นรู้ ด้ า นธุ ร กิ จ หรื อ การเป็ น ผู้ ป ระกอบการตามความเหมาะสมกั บ วั ย ให้ นั ก เรี ย นมี ค วามสามารถ “คิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น” อย่างมีคุณธรรม มีการสร้างสรรค์ชิ้นงานใหม่ๆ และจดลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร เพือ่ ปลูกฝังการรักษาทรัพย์สนิ ทางปัญญาของตนเอง และการไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาของผู้อนื่ ประสบการณ์จาก กิจกรรมนี้จะทำ�ให้นักเรียนเกิดความมั่นใจในตนเอง มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพอิสระเป็นทางเลือกอาชีพหนึ่งในอนาคตได้ และเป็นการพัฒนาคุณภาพเด็กไทยยุคใหม่ที่สอดคล้องกับแนวคิดของการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การเตรียม เยาวชนในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและประเทศไทย 4.0 ได้เป็นอย่างดี โครงการได้เริ่มเก็บข้อมูลและดำ�เนินการ มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2553 ถึงปัจจุบัน 2

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


วัตถุประสงค์ 1. ต่ อ ยอดการจั ด การเรี ย นรู้ งานอาชี พ ของครู โดยการสร้ า งแนวคิ ด ใหม่ แ ละพั ฒ นารู ป แบบการสอน งานอาชีพในโรงเรียน ให้นักเรียนเรียนรู้การเป็นผู้ประกอบการ สามารถสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ ผลิตเองได้ สามารถขายได้อย่างครบวงจร 2. พัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถบ่มเพาะนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีประสบการณ์ ด้านอาชีพ ในเรื่องการดำ�เนินการด้านธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณธรรมเหมาะสมกับวัยดังข้อ 1 3. พัฒนาขีดความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานของครูและนักเรียน โดยความร่วมมือกับเครือข่าย ภาครัฐและเอกชน ในการสร้างทรัพย์สินทางปัญญาให้กับประเทศชาติ 4. ปลู ก ฝั ง ครู แ ละนั ก เรี ย นให้ รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาของตนเอง ของประเทศ และการไม่ ล ะเมิ ด ทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น

ความหมายและขอบข่าย ธุรกิจ หมายถึง กระบวนการที่ผู้ประกอบการดำ�เนินกิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่การคิด การผลิต การแลกเปลี่ยน จำ�หน่ายสินค้า โดยมุ่งหวังผลกำ�ไร ภายใต้เป้าหมายและกฎเกณฑ์ที่กำ�หนด นักธุรกิจน้อย หมายถึง นักเรียนที่ใช้กระบวนการทำ�ธุรกิจในการเป็นผู้ประกอบการโดยดำ�เนินกิจกรรม เริ่มต้นตั้งแต่การคิด การผลิต การแลกเปลี่ยน จำ�หน่ายสินค้า โดยมุ่งหวังผลกำ�ไร ภายใต้เป้าหมายและกฎเกณฑ์ ที่กำ�หนด คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี ประพฤติดี การทำ�ให้เกิดคุณงามความดี อุปนิสัยอันดีงาม ความดีที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งกาย วาจา ใจ เพื่อให้เกิดความสุขแก่ตนเองและผู้ร่วมงาน รวมถึงคนในสังคม คุณธรรมในความหมายของโครงการ คือ คุณธรรมที่ส่งผลในการประกอบอาชีพธุรกิจ ให้ประสบผลสำ�เร็จ ประกอบด้วยคุณธรรม 5 ประการ คือ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง บุคคลที่ไม่ต้องการเป็นลูกจ้าง แต่ต้องการมีธุรกิจเป็นของตนเอง ยอมรับความเสี่ยงที่มาจากการทำ�ธุรกิจ และผลกำ�ไรที่ได้จากการทำ�ธุรกิจ การขายสินค้าและบริการ ผู้ประกอบการ มีความเป็นผู้นำ�ทางธุรกิจและเป็นนักนวัตกรรมที่สามารถใช้ความคิดและกระบวนการทางธุรกิจใหม่ๆ ให้เป็นประโยชน์

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

3


เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) หมายถึง แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐาน การใช้ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) การใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) ที่ เชื่ อ มโยงพื้ น ฐานทางวั ฒ นธรรม การสั่ ง สมความรู้ ข องสั ง คม เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมสมั ย ใหม่ ในความหมายของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สินค้าและบริการ จึงเป็นสินค้าและบริการที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และมีการใช้ นวัตกรรมเป็นตัวพัฒนาและขับเคลื่อนในการผลิต เป็นการเพิ่มมูลค่า สร้างมูลค่าเพิ่ม

แนวดำ�เนินการ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีแนวดำ�เนินการดังนี้ ระดับสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. วิเคราะห์ สังเคราะห์รูปแบบและวิธีการการจัดการเรียนรู้ 2. จัดทำ�ระบบฐานข้อมูลการจัดการความรู้ของโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 3. ประชาสั ม พั น ธ์ สร้ า งความเข้ า ใจให้ โรงเรี ย นในโครงการ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งในการดำ � เนิ น งานโครงการ และผลการดำ�เนินงานในรูปแบบต่างๆ เช่น เว็บไซต์ หนังสือ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ 4. จัดทำ�เอกสารคู่มือการดำ�เนินการโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำ�หรับโรงเรียน 5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความรู้และสร้างความเข้าใจให้แก่ครู ผู้บริหารโรงเรียน ผู้รับผิดชอบ โครงการในระดับสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 6. พัฒนาขีดความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการใช้นวัตกรรม การเพิ่มมูลค่าผลงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างทรัพย์สินทางปัญญา 7. ส่งเสริมครูวิจัยเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 8. สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้ประกอบธุรกิจและชุมชน 9. จัดประกวดแข่งขันผลงานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์และการออกแบบผลิตภัณฑ์โครงการนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 10. สนับสนุนช่องทางการตลาดและงบประมาณให้สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนเพื่อขยายผล ตามความเหมาะสม 4

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


11. จัดการความรู้และเผยแพร่ 12. นิเทศ กำ�กับ ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการดำ�เนินโครงการ ระดับสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 1. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโครงการดำ�เนินงาน 2. สำ�รวจสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และรวบรวมผลงานของโรงเรียน 3. ให้ความร่วมมือกับ สพฐ. ในการขยายผล ส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนให้ปรับหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนรู้พัฒนาสู่เป้าหมายของโครงการ 4. ประสานองค์กรภาคีเครือข่ายเพื่อระดมความรู้และทรัพยากร เพื่อพัฒนาด้านการสอนงานอาชีพธุรกิจ คุณธรรมในโรงเรียน 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนเกิดแนวคิดในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน งานอาชีพให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ 6. จั ด ประกวดนวั ต กรรม ประกาศเกี ย รติ คุ ณ ยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ และเผยแพร่ ผ ลงานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ผ่านเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพ 7. ส่งเสริมสนับสนุนการนำ�ผลิตภัณฑ์ ไปสู่การพัฒนาเป็นอาชีพและทำ�เป็นเชิงธุรกิจ 8. นิเทศ กำ�กับ ติดตามช่วยเหลือ ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง 9. ประเมินผล สรุปผลการดำ�เนินงานและรายงานโครงการต่อ สพฐ. ระดับโรงเรียน 1. แต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบโครงการดำ�เนินงาน 2. ผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายวิชาการ ครูทุกคนในโรงเรียน ให้ความร่วมมือสนับสนุนครูผู้รับผิดชอบในการจัด การเรียนรู้ สนับสนุนทรัพยากร ให้โอกาสในการเรียนรู้ และอำ�นวยความสะดวกในการทำ�งานของครูผู้รับผิดชอบ 3. ขยายผลภายในโรงเรียนอย่างกว้างขวาง และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 4. สนับสนุนช่องทางการตลาดและการจัดจำ�หน่ายผลงานของนักเรียน เช่น ลงในเว็บไซต์ ร้านค้านักธุรกิจน้อย ในโรงเรียน และสนับสนุนโอกาสครูและนักเรียนให้มีประสบการณ์การขายทั้งในและนอกโรงเรียน 5. ยกย่องเชิดชูเกียรติ สร้างขวัญกำ�ลังใจให้กับนักเรียนและครูที่รับผิดชอบ โดยมอบประกาศเกียรติบัตร โล่รางวัล เป็นต้น 6. สรุปและรายงานผลการดำ�เนินการต่อสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา และเผยแพร่ให้กบั ครู นักเรียน ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

5


หน้าา6-8 6-8ใช้ใช้ไฟล์ ไฟล์ทที่สี่สงให้ ง่ ให้คคะ่ ะ่ ชืชื่อ่อไฟล์ ไฟล์: :  หน้

“ตอน11หน้หน้าา6-8” 6-8” “ตอน หน้าา9-11 9-11ให้ให้ใช้ใช้ไฟล์ ไฟล์ในหนั ในหนังสืงสืออเล่เล่มมสีสีส้สม้ ม  หน้ ทางอาชีพพนันักกธุธุรกิรกิจจน้น้ออยมียมี “เรี“เรียยนรูนรู้ ส้ สเู่ ส้เู่ ส้นนทางอาชี ธรรมนํนําสูาสูเ่ ศรษฐกิ เ่ ศรษฐกิจจสร้สร้างสรรค์ างสรรค์เล่เล่มม คุคุณณธรรม 9-11(ปี(ปีทีที่พ่พิมิมพ์พ์2558)หรื 2558)หรืออพิพิมมพ์พ์ 1”1”หน้หน้าา9-11 ใหม่คคะ่ ะ่ ใหม่ ้ ้ รบกวนออกแบบหน้ ้ รบกวนออกแบบหน้าา6-11 6-11ให้ให้ใหม่ ใหม่  ทัทังนี ้ งนี font/ขนาด /ขนาด วยค่ะะ(รู(รูปปแบบการจั แบบการจัดดวาง/ วาง/font ด้ด้วยค่ font)… )…ขอบคุ ขอบคุณณค่ค่ะะ font

ภาพความสําาเร็เร็จจของโครงการ ของโครงการ ภาพความสํ

ภาพความสําเร็ าเร็จจทีที่ เกิ่ เกิดดขึขึน้ น้ กักับบนันักกเรีเรียยนน ภาพความสํ วิสยั ยัทัทัศศน์น์  มีมีวิส

 คิคิดดเชิเชิงธุงธุรกิรกิจจได้ได้

วามคิดดสร้สร้างสรรค์ างสรรค์รู้จรู้จกั กัรักรักษาทรั ษาทรัพพย์ย์สสนิ นิ ทางปั ทางปัญญญาของตน/ประเทศ ญาของตน/ประเทศและไม่ และไม่ลละเมิ ะเมิดดทรัทรัพพย์ย์สสนิ นิ ทางปั ทางปัญญญาของผู ญาของผู้ อ้ อื่นื่น  มีมีคความคิ

วามรอบรู้ ด้ ดา้ นธุ านธุรกิรกิจจและงานที และงานที่ท่ทํา ํา  มีมีคความรอบรู

สารและมีบบคุ คุ ลิลิกกภาพที ภาพที่ด่ดี ี  รู้ จรู้ จกั กั สืสื่อ่อสารและมี สามารถบริหหารจั ารจัดดการได้ การได้  สามารถบริ

ุ ธรรม ธรรม  มีมีคคณ ุณ

6

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

7


บทบาทหน้ บทบาทหน้ าที่ขาองครู ที่ของครู   กําหนดกลุ กําหนดกลุ ม่ เป้าหมาย ม่ เป้าหมาย   คัดผู้คัมดีคผูวามมุ ้ มีความมุ ง่ มัน่ ง่ มัน่   บ่มเพาะนั บ่มเพาะนั กเรี ยกนให้ เรี ยมนให้ ีความรู มีความรู ้ ้ คุณธรรม คุณธรรม ทํางานเป็ ทํางานเป็ นทีมนทีม และมีและมี ความคิ ความคิ ดสร้ าดงสรรค์ สร้ างสรรค์   ส่งเสริส่งมเสริ ให้ นมกั ให้เรีนยกั นลงมื เรี ยนลงมื อปฏิอบปฏิ ตั ิ บตั ิ อย่างอิ อย่สาระ งอิสครูระเป็ครู นผูเป็้ เฝน้ าดู ผู้เฝกระตุ ้ าดู กระตุ ้น ้น ให้ คําให้ปรึคกําษา ปรึกและให้ ษา และให้ กําลังกใจ ําลั งใจ   ประเมิ ประเมิ นและพั นและพั ฒนานั ฒนานั กเรี ยกนเรี ยน   นํานันํกเรีานัยกนสู เรี ยโ่ ลกกว้ นสูโ่ ลกกว้ าง สูาค่ งวามเป็ สูค่ วามเป็ น น นักธุรนักิกจธุน้รกิอจยน้ อย

ทำ�ได้

คิดเป็น

นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์

ขายเป็น

นักเรีนัยกนเรี ยน สามารถคิ ดเป็ นดเป็ทํานได้ทําขายเป็ ได้ ขายเป็ น น ❖ สามารถคิ ตามวัตามวั ยอย่ายงครบวงจร อย่างครบวงจร

8

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ใช้กลยุทธ์สร้างทีมงาน ออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ รับผิดชอบต่อสังคม ค�ำนึงถึงความคุ้มค่า

รักษาทรัพย์สินทางปัญญา

หาช่องทางการจ�ำหน่าย

คิดอนุรักษ์และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น

คิดผลิตสินค้าให้ตรงกับตลาด

น�ำสิ่งใกล้ตัว/วัสดุท้องถิ่นมาใช้

คิดนอกกรอบ/อเนกประสงค์

คิดออกแบบอย่างสร้างสรรค์

ไม่เอาเปรียบลูกค้า

ต่อยอด/พัฒนา

คิดถึงคุณภาพชีวิต

คิดวางแผน/เป็นระบบ

วิธีการผลิตที่ปลอดภัย

ท�ำงานเป็นทีม/สร้างเครือข่าย (พันธมิตรการค้า)

คิดเป็น

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

คิดการจัดการ/บริหารจัดการ

คิดค�ำนวณต้นทุน ก�ำไร ขาดทุน

เห็นคุณค่าในตนเอง/คิดดี/มีคุณธรรม-ไม่โกง

คิดจินตนาการ

คิดเชิงบวก

คิดเชิงกลยุทธ์ คิดบนพื้นฐานความเป็นจริง คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม สร้างความเชื่อมั่นในสินค้า/บริการ

คิดแบ่งปัน คิดสร้างมูลค่าเพิ่ม คืนก�ำไรสู่สังคม

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

9


ผ่านการตรวจสอบ เพื่อรับรองคุณภาพ

สร้าง Story ของสินค้า

เลือกวัสดุอุปกรณ์สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ออกแบบผลิตภัณฑ์ได้แปลกใหม่ น่าสนใจ ดึงดูดลูกค้า

ผลิตได้จริง บริหารจัดการ/ ท�ำงานเป็นทีม

ท�ำผลิตภัณฑ์ได้อย่างมีคุณภาพ/ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค

สร้าง/หาเครือข่าย

วางแผนการท�ำธุรกิจเชิงรุก มุ่งสู่ความส�ำเร็จ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก

สร้างความเชื่อมั่นสินค้า

ใช้เทคโนโลยีในการผลิต

กล้าจ�ำหน่าย/ มั่นใจในตนเอง สร้างบุคลิกภาพพนักงานขาย วางยุทธศาสตร์การจ�ำหน่ายสินค้า การสร้างแบรนด์สินค้า ไม่เอาเปรียบลูกค้า คิดเจือจานสังคม ประเมินผลเพื่อการพัฒนา ผลิตได้ตรงกับความต้องการของตลาด การดูแลลูกค้า

10

ออกแบบการโฆษณา

ท�ำได้

จดทรัพย์สินทางปัญญา ท�ำธุรกิจอย่างมืออาชีพ มีทักษะกระบวนการผลิต ท�ำงานอย่างสร้างสรรค์ มีเทคนิคการน�ำเสนอสินค้า (สาธิต) ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู สร้างมูลค่าเพิ่ม

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตรวจสอบความพึงพอใจสินค้า กิจกรรมลูกค้าสัมพันธ์

มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า

สร้างจุดขาย

จริงใจต่อลูกค้า

มีศิลปะการพูด/โฆษณาเป็นที่เชื่อถือได้

มีฉลากสินค้าที่น่าสนใจ

ประชาสัมพันธ์สินค้า

การก�ำหนดราคาเป็น/ยุติธรรม

ขายได้ทุกกลุ่มเป้าหมาย

ขาย online

ประชาสัมพันธ์เชิงรุก (โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุท้องถิ่น)

ข้อมูลสารสนเทศลูกค้า

มีแผนการตลาด

ขายตรง

ขายได้มาก

ขายเป็น

ลูกค้าพึงพอใจ บริการหลังการขายที่รวดเร็ว เอาใจใส่

ช่องทางการขาย รู้จักตลาด/ลูกค้า มีเทคนิคการขาย

ท�ำข้อมูลประวัติของลูกค้า ความหลากหลายของสินค้า สินค้ามีการรับรองคุณภาพ มีชื่อสินค้าที่น่าสนใจ

ทดลองใช้ ลด แลก แจก แถม การตั้งราคาขาย

รู้จริง/อธิบายได้ บอกถึงประโยชน์ จัดบูธ/ร้าน/ป้ายสินค้า ให้น่าสนใจ รับฟังค�ำแนะน�ำของลูกค้า มีการสาธิตสินค้า

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

11


ตอนที่ 2 ทำ�ไมต้องถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


มีคำ�ถาม ว่าทำ�ไมต้องถอดบทเรียนความสำ�เร็จการสอนงานอาชีพ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ทั้งๆ ที่มีโรงเรียนในโครงการมากถึง 400 โรงเรียน และมีศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จำ�นวน 29 ศูนย์ กระจายอยู่ทั่วทุกภาค นี่คือคำ�ถามที่ทุกคนสงสัย คำ�ตอบ คือ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายของโครงการทีส่ ามารถ ขยายเครือข่ายได้มากที่สุดถึง 21 โรงเรียน มีการประสานงาน มีทีมนิเทศติดตามโรงเรียนเครือข่ายอย่างสมํ่าเสมอ ทั้งด้านหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาภายใน ของโรงเรียนเองมีผลงานเป็นที่น่าพอใจ ฝ่ายบริหารของโรงเรียน คือ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน รองผู้อำ�นวยการโรงเรียน ฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานหลักสูตร มีบทบาทโดดเด่นต่อความสำ�เร็จ และผู้รับผิดชอบโครงการมีบทบาทสำ�คัญ ที่สามารถขยายเครือข่ายไปยังครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีได้ทั้งระบบโรงเรียน ปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้งานอาชีพ และศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยฯ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้และสถานฝึกอบรมให้แก่โรงเรียนและหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกที่สนใจมาศึกษาดูงาน นอกจากนี้ยังมีผู้บริหารและผู้นำ�ระดับประเทศได้มาเยี่ยมชม ได้รับคำ�ชื่นชม และมีผลให้มีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาให้ การสนับสนุนเพิ่มขึ้นมากมาย ความสำ�เร็จของการจัดการศึกษางานอาชีพในรูปแบบของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ได้มีสื่อวิทยุหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น รายการโทรทัศน์ของช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 9 และช่องอื่นๆ มาถ่ายทำ�รายการ เผยแพร่ ค วามสำ � เร็ จ ไปทั่ ว ประเทศ เป็ น ที่ น่ า ชื่ น ชม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฝี มื อ นั ก เรี ย นที่ จำ � หน่ า ยอยู่ ใ นศู น ย์ แ กนนำ � ขยาย เครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยฯ มีจำ�นวนไม่ตํ่ากว่า 100 รายการ จำ�หน่ายได้ดี บางรายการได้รับการสั่งซื้อสั่งทำ� จำ�นวนมาก นักธุรกิจได้คัดเลือกนำ�ไปจำ�หน่ายในศูนย์การค้าใหญ่ของกรุงเทพมหานคร ผลิตภัณฑ์ผ้าปักชาวไทยภูเขา บางรายการได้รับการคัดเลือกให้นำ�ไปจำ�หน่ายในร้านภูฟ้าด้วย ยังความปลาบปลื้มเป็นกำ�ลังใจให้แก่คณะผู้บริหาร คณะครู และคณะนักเรียนเป็นล้นพ้น หาที่เปรียบมิได้ ประการสุดท้าย คือ สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ในฐานะเจ้าของโครงการ ซึ่งพัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบของโรงเรียนมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่โรงเรียนเริ่มเข้าโครงการ เมื่ อ ปี 2554 ได้ ดำ � เนิ น การติ ด ตามนิ เ ทศงานมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พบว่ า โรงเรี ย นมี พั ฒ นาการดี ขึ้ น ตามลำ � ดั บ ได้จัดการเรียนรู้โดยให้นักเรียนปฏิบัติจริง ความรู้ด้านวิชาการในรายวิชาที่เรียน นักเรียนสามารถตอบคำ�ถามได้ อย่างฉาดฉาน ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีตอบตรงกัน และมีหลักฐานชัดเจนว่าได้ มีการนำ�หลักการโครงการนักธุรกิจน้อยฯ 4 ประการ มาเติมเต็มในรายวิชาที่สอนอยู่ทุกรายวิชาอาชีพ เป็นการ ต่อยอดพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมให้จัดการเรียนรู้งานอาชีพได้อย่างครบวงจรยิ่งขึ้น สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัด การศึกษาได้ติดตามแล้วพบว่า ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนที่ผ่านหลักสูตรดังกล่าว นักเรียนสามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้ โดยไม่ตอ้ งห่วงใยว่านักเรียนจะเอาตัวไม่รอดในการดำ�รงชีวติ ในสังคม เพราะนักเรียนจะได้ทงั้ ความรูท้ างวิชาการในอาชีพ ที่ตนเรียน การใช้สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการคิด การประกอบอาชีพเชิงธุรกิจ อย่างมีคุณธรรม มีทักษะการสื่อสาร ทักษะกระบวนการทำ�งานร่วมกับผู้อื่น นักเรียนมีทักษะชีวิตสูงขึ้น และตระหนักถึง ความสำ�คัญของทรัพย์สนิ ทางปัญญา มีความมัน่ ใจในตนเอง เห็นคุณค่าของตนเอง รูจ้ กั ตัง้ เป้าหมายในชีวติ ฯลฯ จึงเป็นทีม่ า ของการถอดประสบการณ์ในครั้งนี้ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

13


ตอนที่ 3 ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


รู้จักโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ โรงเรี ย นศึ ก ษาสงเคราะห์ เชี ย งใหม่ เป็ น โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก บริ ห ารงานการศึ ก ษาพิ เ ศษ สำ � นั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึ ก ษาธิ การ ตั้ ง อยู่ ที่ 154 หมู่ 4 ตำ � บลดอนแก้ ว อำ � เภอแม่ ริ ม จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับอนุมัติให้เปิดทำ�การสอนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2519 เปิดทำ�การสอน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2520 โดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกในการรับเด็กเข้าเรียน คือ เพื่อความมั่นคง ของประเทศและแก้ปัญหาทางการเมืองจาก 3 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำ�พูน และ จังหวัดลำ�ปาง เขตพื้นที่บริการรับนักเรียนในเขตพื้นที่ 12 อำ�เภอ ได้แก่ อำ�เภอเมือง อำ�เภอแม่ออน อำ�เภอสันกำ�แพง อำ�เภอดอยสะเก็ด อำ�เภอแม่รมิ อำ�เภอแม่แตง อำ�เภอสะเมิง อำ�เภอสันทราย อำ�เภอสารภี อำ�เภอหางดง อำ�เภอสันป่าตอง และอำ�เภอแม่วาง ปัจจุบนั เปิดทำ�การสอนตัง้ แต่ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นโรงเรียนประเภท อยูป่ ระจำ�และไป-กลับ ตามนโยบายของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ทีใ่ ห้โอกาส สำ�หรับเด็กด้อยโอกาส 10 ประเภท ได้แก่ เด็กยากจนพิเศษ เด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด เด็กที่ถูกทอดทิ้ง เด็กที่ ถูกทำ�ร้ายทารุณ เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กชนกลุ่มน้อย เด็กเร่ร่อน เด็กที่ถูกบังคับให้ขายแรงงาน เด็กที่อยู่ในธุรกิจทางเพศ และเด็กที่อยู่ในสถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชน นักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) และเป็นชนเผ่าต่างๆ ได้แก่ ม้ง กะเหรี่ยง จีนฮ่อ ไทลื้อ ไทใหญ่ ปะหล่อง ลาหู่ อาข่า ลีซอ และพื้นราบ ซึ่งมาจากเขตพื้นที่บริการของโรงเรียน 12 อำ�เภอ ในจังหวัดเชียงใหม่ มีนักเรียน ทั้งหมด 871 คน มีครูทั้งหมด 75 คน สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะเป็นชุมชนเมืองขนาดเล็ก บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานราชการ ผูป้ กครองนักเรียนส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลักคือรับจ้างทัว่ ไป และเกษตรกรรม

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

15


ปรัชญาของโรงเรียน “ความรู้คู่คุณธรรม นำ�อาชีพ”

วิสัยทัศน์ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีทักษะการดำ�รงชีวิต พร้อมก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน เป้าหมาย เด็กด้อยโอกาสในเขตพื้นที่บริการทางการศึกษาได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม และดำ�รงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อัตตลักษณ์ ทำ�อาชีพเป็น เด่นการกีฬา เอกลักษณ์ของโรงเรียน อาชีพหลากหลาย สร้างรายได้ระหว่างเรียน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีแนวคิดและปรัชญาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความมั่นคงทั้งด้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สร้างผู้นำ�ในชุมชนท้องถิ่น ฝึกทักษะพื้นฐานงานอาชีพ และสร้างจิตสำ�นึก ในความจงรักภักดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ แก่เด็กด้อยโอกาสให้เป็นพลเมืองทีด่ ขี องสังคมในอนาคต โดยจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และให้ความสำ�คัญกับทักษะการดำ�รงชีวิตที่มีคุณภาพ การส่งเสริมอาชีพเพื่อให้นักเรียน มีรายได้ระหว่างเรียน มีทักษะพื้นฐานงานอาชีพ ตลอดจนมองเห็นแนวทางการประกอบอาชีพในอนาคตได้ การรับนักเรียนที่เป็นเด็กด้อยโอกาสทั้ง 10 ประเภทดังกล่าว นักเรียนจึงมีความแตกต่างและหลากหลาย ทางด้านวัฒนธรรม เชื้อชาติ ศาสนา และสังคม นักเรียนจำ�นวนหนึ่งเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางสังคม ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะจิตใจของเด็ก ทำ�ให้แสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ขาดความมั่นใจ ขาดแรงจูงใจ ในการเรียน ก้าวร้าว เห็นแก่ตัว หรือซึมเศร้า เป็นต้น โรงเรียนจึงจำ�เป็นต้องให้การช่วยเหลือ บำ�บัด ฟื้นฟู นักเรียนที่มี คุณลักษณะไม่พึงประสงค์ดังกล่าว ซึ่งถือเป็นภารกิจที่สำ�คัญของโรงเรียนจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ความจำ�เป็น ความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของนักเรียน ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาทักษะการดำ�รงชีวติ ให้เข้มแข็ง เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข สอดคล้องกับเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เป้าหมายการปฏิรปู การศึกษา และปรัชญาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ การดำ�เนินงานจัดกระบวนการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาทักษะการดำ�รงชีวติ เพือ่ ให้สอดคล้องปรัชญาของโรงเรียน บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรและการปฏิรูปการศึกษาดังกล่าว โรงเรียนได้พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ 4H Model เพื่อพัฒนานักเรียนให้เป็นพลเมืองของประเทศและของโลกที่สมบูรณ์ด้วยสติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม สุขภาพ และสุนทรียภาพ สามารถประกอบสัมมาชีพในสังคมอย่างมีความสุข โดยจัดการศึกษาตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ

16

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ปัญญา ผ่านพฤติกรรมการกิน อยู่ ดู ฟัง ตามแนวปรัชญาพุทธศาสนาการจัดการศึกษา 4 ส่วน คือ จริยศึกษา พุทธิศึกษา หัตถศึกษา พลศึกษา และการเรียนรูโ้ ดยการปฏิบตั จิ ริงของท่านพุทธทาสภิกขุ บูรณาการกับ 4H ได้แก่ Heart Head Hand and Health รวมทัง้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบ 4H Model ศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

กรอบแนวคิดพื้นฐานสำ�คัญของการจัดการศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนานักเรียนทุกคนซึ่งเป็นกำ�ลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำ�นึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำ�เป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เน้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ มุ่งพัฒนานักเรียน ให้เป็นคนดี มีปญ ั ญา มีความสุข ในการพัฒนานักเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มุง่ เน้นพัฒนานักเรียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำ�หนด (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 1-5) ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

17


แนวคิดปรัชญาพุทธศาสนา

การศึกษาถูกต้องจะต้องมีลักษณะต่างๆ คือ ต้องพัฒนาชีวิตให้มีความสมดุล ด้านความรู้ อาชีพ ปัญญา และคุณธรรม ต้องส่งเสริมให้นักเรียนมีปัญญาหยั่งรู้ เข้าใจโลกและตนเองอย่างถูกต้อง โดยมีแนวคิดในการจัดการศึกษา ได้แก่ 1. จัดตามหลักไตรสิกขา คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา 2. จัดให้มีพุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา 3. ควรเน้นการฝึกฝนหรือการปฏิบัติให้มากกว่าทฤษฎี 4. ให้รู้จักพุทธศาสตร์ ซึ่งจะทำ�ลายอุปสรรคของความเจริญและตัดความโง่เขลาของมนุษย์ สถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษาตามแนวพุ ท ธศาสนาเชื่ อ ว่ า นั ก เรี ย นทุ ก คนพร้ อ มที่ จ ะเป็ น คนเก่ ง คนดี และคนมีความสุข ทุกช่วงชีวิตทั้งในปัจจุบันและอนาคต (ท่องเที่ยวใต้สู่แดนธรรม, ระบบออนไลน์, 2555) 4H โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้แนวคิดมาจาก 4H Club ซึง่ เกิดขึน้ ครัง้ แรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็ น ชมรมของเยาวชนอเมริ กั น ที่ กำ � ลั ง เรี ย นภาวะการเป็ น ผู้ นำ � การเป็ น พลเมื อ งอเมริ กั น และทั ก ษะชี วิ ต ด้วยการทำ�งานร่วมกันในการดูแลคนชรา 4H เป็นชมรมที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าสามารถช่วยเยาวชน ในการพัฒนาทักษะชีวิต สร้างความสำ�เร็จ และพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ 4H ได้รับการพัฒนาบนความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ 4 ประการ คือ H-Heart ความรู้สึกที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม (Belonging) H-Hands ความรู้สึกที่ต้องการความเอื้ออาทร (Generosity) เยาวชนทุกคนต้องการให้ชีวิตมีความหมาย และมีเป้าหมายในชีวิต H-Head ความเป็นอิสระ (Independence) เป็นความต้องการของนักเรียนในการคิด การวางแผน และการใช้เหตุผลในการแสดงความสามารถของตนเอง H-Health ความสามารถ (Mastery) เป็นความสามารถในการประยุกต์ใช้ทักษะทีเ่ รียนรูเ้ พื่อสร้างแรงจูงใจ สร้างความชำ�นาญ และความสำ�เร็จ ในชมรม 4H เยาวชนได้เรียนรูด้ ว้ ยการทำ�โครงการ เช่น โครงการเกีย่ วกับอาหาร สิง่ แวดล้อม หิน และกระต่าย เป็นต้น ซึ่งได้รับการออกแบบให้เหมาะสมกับความจำ�เป็นและช่วงอายุของเยาวชน 4H ให้โอกาสเยาวชนทุกด้าน ในการสร้างประสบการณ์ให้กับชีวิต ฝึกและประยุกต์ใช้ประสบการณ์ 4H สอนให้เยาวชนได้ค้นพบความต้องการ ของตนเองในเชิงบวก 4H มีรูปแบบกิจกรรมมากมาย เช่น ค่าย ชมรม กิจกรรม 18

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


4H Model โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ หมายถึง รูปแบบในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียน ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ได้แก่ H-Head เป็ น การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ท างสติ ปั ญ ญา (พุ ท ธิ ศึ ก ษา) ในการเรี ย นการสอนรายวิ ช า ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง H-Heart เป็นกิจกรรมทักษะการดำ�รงชีวิต สร้างคุณธรรม จริยธรรม (จริยศึกษา) ได้แก่ กิจกรรมหลักไตรรงค์ ซึง่ เป็นกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ กิจกรรมวันสำ�คัญ กิจกรรมบำ�เพ็ญสาธารณประโยชน์ H-Hands กิจกรรมทักษะการดำ�รงชีวติ ให้มที กั ษะในงานอาชีพ งานศิลปะ (หัตถศึกษา) เป็นการพัฒนาศักยภาพ ของนักเรียนให้เรียนรูด้ ว้ ยการทำ�งานทัง้ รายบุคคลและร่วมกับกลุม่ มีจติ สำ�นึกความรับผิดชอบ ได้แก่ กิจกรรมสร้างเสริม ภาวะผู้นำ� กิจกรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น กิจกรรมสุนทรียภาพ H-Health เป็ น กิ จ กรรมทั ก ษะการดำ � รงชี วิ ต เพื่ อ สร้ า งสุ ข ภาพและสุ ข นิ สั ย (พลศึ ก ษา) สร้ า งนิ สั ย รั ก การออกกำ�ลังกายเป็นประจำ�ทุกวัน มีสขุ ภาพและสุขนิสยั ทีด่ ี สอดคล้องกับคำ�กล่าวทีว่ า ่ “จิตใจทีส่ ดใสย่อมอยูใ่ นร่างกาย ที่สมบูรณ์” และ “ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ” ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย กิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพ ทางกาย กิจกรรมหลักโภชนาการ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

19


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลางที่ชี้แนวทางการดำ�รงอยู่และปฏิบัติ ของประชาชนในทุกระดับให้ด�ำ เนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมทีจ่ ะจัดการต่อผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดำ�เนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดำ�เนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง ซึ่งประกอบด้วย “ความพอประมาณ มีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี” บนเงื่อนไข “ความรู้” และ “คุณธรรม” ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้และคุณธรรมเป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดำ�เนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวม และการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หน้า 236-240)

การบริหารงานโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

โรงเรี ย นศึ ก ษาสงเคราะห์ เชี ย งใหม่ บริ ห ารงานโรงเรี ย น โดยนายสุ ม นต์ มอนไข่ ใช้กระบวนการบริหารจัดการแบบ “SUMON Model” ประกอบด้วย S-Situation การวิเคราะห์สถานการณ์ โดยการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถานศึกษา กำ�หนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ และกลยุทธ์ U-Union การสร้างความร่วมมือ โดยการสร้างสัมพันธภาพของบุคคลภายในองค์กร การประชุม สัมมนา การศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา M-Management การบริ ห ารจั ด การโดยการสื่ อ สาร สร้ า งความเข้ า ใจด้ ว ย หลักธรรมาภิบาล เน้นการกระจายอำ�นาจ และการมีส่วนร่วมทุกมิติ O-Organization การพั ฒ นาองค์ ก ร โดยการจั ด โครงสร้ า งองค์ ก ร จั ด ทำ � คู่ มื อ การปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนา ประเมินความพึงพอใจของทุกฝ่าย 20

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


N - Network การสร้างเครือข่าย โดยการจัดทำ�บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน รายละเอียดดังภาพประกอบ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

21


การก้าวเข้าสู่โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทั้งระบบโรงเรียน สืบเนื่องจากสำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ได้รับมอบหมายจากสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ให้ทำ�หน้าที่คัดเลือกผลงานนักเรียนที่มีคุณภาพจากโรงเรียนทั่วประเทศมาจำ�หน่ายในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับชาติ ตั้งแต่ปี 2550 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่เป็นอีกหนึ่งโรงเรียนที่มีผลงานเด่น สวยงาม แปลกใหม่ จึงสัมภาษณ์ครูและผู้เกี่ยวข้องด้านการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนและผลสำ�เร็จ จัดตีพิมพ์ในหนังสือของสำ�นัก พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชื่อ “เก่งสร้างชาติ” และในปี 2554 สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ได้คัดเลือกโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่เข้าโครงการนักธุรกิจน้อยฯ เข้ารับการอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจในหลักการของโครงการ การสร้างแรงบันดาลใจเพื่อดำ�เนินการในโรงเรียน การนำ�หลักการของโครงการสู่หลักสูตรสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าให้จำ�หน่ายได้เชิงพาณิชย์ ในปีเดียวกันนั้นโรงเรียนได้สมัครเข้าทำ�การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน สู่ความสำ�เร็จนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามที่สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษากำ�หนด โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ครูพัฒนารายวิชาและการจัดการเรียนรู้งานอาชีพตามหลักการของโครงการ พิสูจน์ให้

22

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


เห็นผลกับนักเรียนเชิงประจักษ์และสร้างความเชื่อมั่นทางวิชาการให้แก่ครูอื่นๆ ในโรงเรียนด้วย สำ�นักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาได้สนับสนุนทุนวิจยั ให้ครู จำ�นวน 32 คน คนละ 20,000 บาท โดยมีผทู้ รงคุณวุฒดิ ้านงานวิจยั ให้ความรู้ และเป็ น พี่ เ ลี้ ย งให้ คำ � ปรึ ก ษาจนงานวิ จั ย เสร็ จ สิ้ น ผู้ เข้ า รั บ การอบรมของโรงเรี ย น ได้ แ ก่ นางชวนชม บุ ญ ศิ ริ รองผู้ อำ � นวยการฝ่ า ยวิ ช าการ และนายสมบั ติ ศรี ว รรณชั ย ครู ผู้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการ และได้ จั ด ทำ � วิ จั ย เรื่ อ ง ผลการใช้ ชุ ด กิ จ กรรม “นั ก ธุ ร กิ จ น้ อ ยมี คุ ณ ธรรม นำ � สู่ เ ศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ ด้ ว ยกระเบื้ อ งซี เ มนต์ ” วิ ช าธุ ร กิ จ ผลิตกระเบื้องซีเมนต์ รหัสวิชา ง 20294 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ใช้เวลาทำ�วิจัย 1 ปี เมื่อเสร็จสิ้นงานวิจัย นายสมบัติ ศรีวรรณชัย ได้นำ�เสนอผลการวิจัยโดยสรุปว่า เมื่อนำ�หลักการโครงการนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์เติมเต็มในรายวิชาเพิ่มเติมที่ตนจัดการเรียนรู้ ผลที่เกิดกับนักเรียนด้านงานอาชีพ ดีขึ้นเชิงประจักษ์ทุกด้าน เช่น ทักษะการคิด กระบวนการทำ�งาน ทักษะชีวิต คุณธรรม และการมีรายได้ระหว่างเรียน การดำ � เนิ น งานของโครงการในโรงเรี ย น ปี 2554-2555 จึ ง เป็ น ปี ที่ ร องผู้ อำ � นวยการฝ่ า ยวิ ช าการ และครูผู้รับผิดชอบโครงการ สร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาการโดยทำ�งานวิจัย ในขณะเดียวกันก็นำ�เสนอให้ผู้บริหาร และผู้ร่วมงานได้เห็นถึงความสำ�คัญและประโยชน์ของโครงการที่จะตกผลึกแก่นักเรียน อย่างไรก็ตามการจัดการเรียนรู้ และการดำ�เนินโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ระยะแรกยังคงอยู่ในวงแคบเฉพาะตัว ผู้รับผิดชอบโครงการที่พยายามพัฒนางานของตนเองให้ดีที่สุดตามเป้าหมายของโครงการ อันเป็นช่วงเวลาสำ�คัญที่ครู ผู้รับผิดชอบเองจะต้องพิสูจน์ให้ผู้อื่นได้เห็นผลความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพเชิงธุรกิจตามแนวทางดังกล่าว นายสมบัติ ศรีวรรณชัย ได้เล่าเรื่องการเข้าสู่โครงการของตนว่า “การเข้าร่วมโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ได้จุดประกายความคิดให้ผมในการจัดกระบวนการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ให้ผเู้ รียนบรรลุผลสูงสุด คือ สามารถใช้วชิ าชีพผลิตผลงานเพือ่ ขายและมีรายได้จริง เป็นการส่งเสริมทักษะในการปฏิบตั งิ าน และการบูรณาการทักษะและความรู้ในสาระการเรียนรู้อื่นมาใช้ประกอบอาชีพที่เสมือนจริง และเป็นการใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ เสริมสร้างนิสยั รักการทำ�งาน ซือ่ สัตย์ ขยัน อดทน มุง่ มัน่ กตัญญู ผลทีไ่ ด้จากการจัดการเรียนรูท้ �ำ ให้นกั เรียน สามารถสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์เด็กดอยได้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งเน้นการออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการ ของผู้บริโภคในยุคปัจจุบันแต่ยังคงกลิ่นอายของความเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่ ผลิตภัณฑ์หลากหลายซึ่งเกิดจาก การพัฒนาทักษะฝีมอื ของนักเรียนได้ออกสูท่ อ้ งตลาดอย่างต่อเนือ่ ง มีการจัดตัง้ บริษทั จำ�ลองกูเ้ งินมาลงทุนบริหารจัดการ กันเอง ทั้งด้านการออกแบบ การผลิต การตรวจสอบคุณภาพ รวมทั้งเรื่องของการตลาด ปัจจุบันโรงเรียนเรามีตราสินค้า ร่วมกันทั้งโรงเรียนภายใต้ชื่อผลิตภัณฑ์เด็กดอย...” อาจารย์สมบัติ ได้ให้รายละเอียดถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ รวมถึงขั้นตอนการดำ�เนินงานสร้างผลิตภัณฑ์ “เด็กดอย” ของตน ในรายวิชางานประดิษฐ์เบื้องต้น และรายวิชาการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ด้วยกระดาษว่าให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยกระบวนการ ดังต่อไปนี้ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

23


1. ศึกษารูปแบบของผลิตภัณฑ์อย่างหลากหลายตามสื่อต่างๆ เช่น สื่ออินเทอร์เน็ต เพื่อสร้างกระบวน ความคิดรวบยอดเชิงสร้างสรรค์ ให้จดจำ�จนสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในงานอาชีพได้ 2. ศึกษารูปแบบจากท้องตลาด แหล่งชุมชน ถนนคนเดิน แหล่งสินค้าภูมปิ ญ ั ญา พร้อมกับสำ�รวจตลาดประเภท ของสินค้าน่าสนใจขายดี 3. สำ�รวจแหล่งวัตถุดิบชุมชน 4. ออกแบบผลิตภัณฑ์จากการนำ�มาประยุกต์ใช้อย่างหลากหลาย - ออกแบบจากจินตนาการของตนเอง - ออกแบบโดยประยุกต์จากผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ - ปรับรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เปลี่ยนวัสดุเป็นวัสดุที่มีในท้องถิ่นที่มีความโดดเด่น 5. นำ�รูปแบบมาคัดเลือกปรับแต่งแก้ไขและนำ�เสนอครูที่ปรึกษา 6. ทดลองทำ�ต้นแบบและนำ�เสนอครูที่ปรึกษา 7. ปรับรูปแบบสัดส่วนองค์ประกอบอื่นๆ สวยงาม โดดเด่นสะดุดตา พึงใจต่อผู้พบเห็น 8. ครูที่ปรึกษาอนุมัติรูปแบบที่นักเรียนนำ�เสนอ 9. วางแผนการผลิต เช่น แยกส่วนการผลิตตามความถนัดของแต่ละบุคคล รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ 10. ปฏิบัติการผลิตชิ้นงานตามที่สมาชิกกำ�หนด 11. กำ�หนดราคาของผลิตภัณฑ์และการจัดทำ�บัญชี 12. วางแผนด้านการตลาดและการจัดจำ�หน่าย การจัดตั้งบริษัทจำ�ลอง 1. รวบรวมสมาชิก วางแผนปรึกษาหารือทิศทางการสร้างและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ การวางตัวตำ�แหน่งบุคคล ในตำ�แหน่งฐานะต่างๆ เช่น ประธาน รองประธาน ฝ่ายผลิต ฝ่ายตรวจสอบ บัญชี การตลาด ฯลฯ 2. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติเงินกู้จากโครงการ สอร. 3. สำ�รวจตลาด แหล่งวัตถุดิบ 4. ออกแบบ

24

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


5. วางแผนการดำ�เนินการ 6. ดำ�เนินการตามแผน 7. สรุปประเมินผล จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่า อาจารย์สมบัติได้นำ�หลักการแนวคิดโครงการสู่นักเรียนอย่างแท้จริง เริ่มตั้งแต่ให้ นักเรียนรู้จักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น แนวโน้มของการตลาดสินค้าในปัจจุบัน โดยให้นักเรียนรู้จักใช้ เทคโนโลยีไปสู่โลกกว้างของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้นักเรียนเกิดความคิดรวบยอดสามารถออกแบบต่อยอดผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยไม่ลอกเลียนแบบผู้ใดจนมาสู่การผลิตจริงและการจำ�หน่าย ทำ�ให้นักเรียนมีประสบการณ์ด้านธุรกิจ “คิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น” อย่างครบวงจร อาจารย์สมบัติ กล่าวว่า “...ด้วยการจัดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว มีผลให้นักเรียน สร้างสรรค์ผลงานใหม่ จำ�หน่ายได้ และสามารถนำ�ไปจดทรัพย์สินทางปัญญาด้านภูมิปัญญาได้อีกด้วย นับเป็นความภูมิใจ อย่างมาก...” ด้วยความตั้งใจของผู้รับผิดชอบโครงการ โดยมีรองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการสนับสนุนเต็มกำ�ลัง ผลงาน นักเรียนในโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ได้รับคำ�ชื่นชมจากหน่วยงานภายนอกและจำ�หน่ายได้เป็นอย่างดี ในปี 2556 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 29 โรงเรียน จากสำ�นัก พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา แต่งตั้งให้ทำ�หน้าที่เป็นศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยมุ่งหวังให้เป็นตัวแทนของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการทำ�หน้าที่ ขยายผลไปยังโรงเรียนใกล้เคียง ก่อนการจัดตั้งศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สำ � นั ก พั ฒ นานวั ต กรรมการจั ด การศึ ก ษา ได้ เชิ ญ รองผู้ อำ � นวยการสำ � นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ศึ ก ษานิ เ ทศก์ ที่ดูแลโครงการ ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้รับผิดชอบทั้ง 29 ศูนย์ (โรงเรียน) เข้าประชุม เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ โครงการ หลักการ แนวคิดการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน บทเรียนความสำ�เร็จของโรงเรียนในโครงการ บทบาทหน้าที่ แนวทางการดำ�เนินงานของศูนย์แกนนำ�ฯ เป็นการรับนโยบายเพื่อร่วมกันผลักดันให้ศูนย์สามารถดำ�เนินการได้อย่าง ราบรื่นสู่ความสำ�เร็จตามเป้าหมาย ในส่วนของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีผู้แทนสำ�นักบริหารงานการศึกษา พิเศษ นายสุมนต์ มอนไข่ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนคนใหม่ที่เพิ่งเข้ารับตำ�แหน่ง เมื่อปลายเดือนธันวาคม 2555 เข้าประชุม ด้วยตนเองพร้อมกับครูผู้รับผิดชอบ ในระหว่างการเข้าประชุม ผู้อำ�นวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีความสนใจและได้แสดง ความคิดเห็นหลายประการในวันประชุม โดยเห็นประโยชน์ของโครงการนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ หากได้มกี ารนำ�ไปปฏิบตั จิ ริง หลังการประชุมจึงได้น�ำ แนวดำ�เนินการศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

25


ไปสู่การปฏิบัติ โดยนำ�โครงการนักธุรกิจน้อยฯ บูรณาการกับโครงการการศึกษาเพื่อการมีงานทำ�บนพื้นฐานปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ตามนโยบายของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งโรงเรียนได้รับงบประมาณ ในเรื่องนี้จากสำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษมาจำ�นวนหนึ่ง ผอ.สุมนต์ เล่าว่า “...การที่จะนำ�โครงการนักธุรกิจน้อยฯ มาทำ�ในโรงเรียนทั้งระบบ จะไม่ใช้วิธีสั่งครูว่าต้องทำ�โครงการนักธุรกิจน้อยฯ เพราะธรรมชาติของครูจะต่อต้านแรงมาก ครูแต่ละคนในโรงเรียนมีความเก่งและมีความคิดของตนเอง ซึ่งทำ�กันมานาน อยู่ๆ จะมาเปลี่ยนเป็นเรื่องยาก ทางที่จะทำ�ได้คือ ค่อยเป็นค่อยไป โดยให้ครูจัดการเรียนรู้งานอาชีพแบบเดิม แต่เสริมเรื่องเชิงธุรกิจเข้าไปให้ครู แต่ ล ะรายวิ ช าทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษาบทเรี ย นแก่ นั ก เรี ย นให้ ส ร้ า งผลงานที่ มี คุ ณ ภาพและขายได้ โดยสนั บ สนุ น งบประมาณที่โรงเรียนได้รับจากนโยบายการศึกษาเพื่อการมีงานทำ� จากสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้แก่ครูผู้สอนในรายวิชาต่างๆ เพื่อสร้างความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ให้สมบูรณ์มากขึ้น ครูผู้สอนมีความพึงพอใจกับงบประมาณที่ได้รับ เมื่อดำ�เนินการเห็นผลดีที่เกิดขึ้นแล้ว จึงชี้ให้เห็นว่าคืออะไร...” ในขณะเดียวกัน ผอ.สุมนต์ ได้วางระบบที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกันคือเรื่องเงินทุนหมุนเวียนโครงการ ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระเพือ่ การมีรายได้ระหว่างเรียน (สอร.) โดยในปี 2556 ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการ สอร. ซึง่ เป็นกรรมการแหล่งเงินกูข้ องโรงเรียนได้เข้มงวดเรียกเงินกูย้ มื จากกลุม่ ต่างๆ คืนจนหมด ทำ�ให้มวี งเงินเริม่ ต้นให้นกั เรียน กู้เงินจากเงิน สอร. และเงินช่วยเหลือเด็กยากจน จำ�นวน 2.1 แสนบาท มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดูแลควบคุม พิจารณา วงเงินกู้ การคืนเงินกู้ เงินค่าสาธารณูปโภคคืนให้โรงเรียน มีการติดตามรายงานผลการดำ�เนินงานของบริษทั จำ�ลองต่างๆ วงเงินที่ให้กู้และหมุนเวียนให้ผู้อำ�นวยการโรงเรียนทราบทุกปีการศึกษา ซึ่งครูที่ปรึกษาบริษัทต่างๆ ต้องดำ�เนินการ ตามข้อตกลง เพื่อให้ สอร. มีทุนหมุนเวียนให้นักเรียนกู้เงินลงทุนอย่างต่อเนื่อง นางชวนชม บุญศิริ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียน เล่าถึงการก้าวเข้าสู่โครงการนักธุรกิจน้อยฯ ตามนโยบายของผู้อำ�นวยการโรงเรียนว่า “ในการนี้ได้จัดประชุมคณะครูเรื่องการใช้งบประมาณ ให้ครูทุกคนที่สอน งานอาชีพเขียนแผนการใช้งบประมาณเพือ่ จัดสรรตามความจำ�เป็น ซึง่ ครูทกุ คนมีความพึงพอใจในการได้รบั งบประมาณ เพื่อพัฒนางานของตนเอง และทุกคนได้มีข้อตกลงร่วมกันเมื่อสิ้นสุดโครงการแล้วทุกคนจะต้องสรุปผลการดำ�เนินงาน และสรุปการใช้งบประมาณเพือ่ ให้ทราบถึงความคุม้ ค่าของการใช้งบประมาณในการสร้างสรรค์ผลงาน โรงเรียนมีนโยบาย ให้การสนับสนุนเพื่อให้ผลงานออกสู่ชุมชน และให้นักเรียนมีรายได้จากการจำ�หน่าย และ 5% ของผลกำ�ไรที่ได้รับให้คืน เป็นค่าสาธารณูปโภคของโรงเรียน เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการดำ�เนินงานในปีต่อไป เพราะการสนับสนุนงบประมาณ คงจะไม่มีทุกปีการศึกษา หรือมีอาจจะน้อยไม่พอเพียงกับการดำ�เนินงาน”

26

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


“เมื่อดำ�เนินงานในโรงเรียนได้ผลเป็นที่ประจักษ์ ครูผู้สอนงานอาชีพทุกคนมีการปฏิบัติไปในแนวเดียวกัน ได้ให้ข้อคิดการดำ�เนินงานว่าตราสินค้า (Brand) เป็นสิ่งสำ�คัญที่ทำ�ให้ผลผลิตเป็นที่เชื่อถือ จากการได้รับความรู้จาก โครงการนักธุรกิจน้อยฯ เรื่องการสร้างตราสินค้า จึงได้จัดอบรมครูโดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ และให้ครูทุกคน ที่มีผลผลิตมารวมกลุ่มกันอยู่ภายใต้ตราสินค้าเดียวกัน เพื่อสร้างเอกลักษณ์ของผลผลิตที่เป็นของนักเรียนโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ และทำ�การพัฒนาผลงานออกสู่ชุมชน มีการจัดอบรมและเชิญชุมชน หน่วยงานราชการต่างๆ เข้ า มาชมผลงาน และนำ�ผลงานไปจัดแสดงในโอกาสต่ า งๆ ทั้ ง หน่ ว ยงานราชการและเอกชน จนทำ � ให้ ผลผลิ ต ของโรงเรียนเป็นที่รู้จักในชุมชนมากขึ้น” “...แรงบันดาลใจอีกประการหนึ่งที่รวมกลุ่มครูให้ทุกผลิตภัณฑ์อยู่ภายใต้ตราสินค้าเดียวกัน คือ ตัวอย่าง จากโครงการหลวง วันหนึ่งหลังจากที่มีการอบรมแล้ว คณะครูส่วนหนึ่งได้ไปรอต้อนรับแขกที่สนามบินเชียงใหม่ ได้เห็น ผลผลิตโครงการหลวงที่มีหลากหลายและอยู่ภายใต้ตราสินค้าเดียวกัน มีทั้งผักสด ผลไม้ นํ้าผลไม้ ผลไม้อบแห้ง ขนม จึงชักชวนให้ครูที่ร่วมคณะดูและชี้แจงถึงการรวมกลุ่มกัน ทำ�ให้เป็นที่น่าเชื่อถือ และได้สอบถามจากเจ้าหน้าที่ทำ�ให้ทราบว่า ผลผลิ ต ต่า งๆ ไม่ ไ ด้ มาจากที่ เ ดี ย วกั น แต่ มี การรวมกลุ่ ม กั น ครู ที่ ไ ปวั น นั้ น ได้ นำ � กลั บ มาเล่ า ในที่ ป ระชุ ม และสร้า ง ข้อตกลงร่วมกันในการนำ�ผลผลิตมาอยู่ภายใต้ตราสินค้าเดียวกันในชื่อ “เด็กดอย” (Dekdoi)”

ภาพตราสินค้า (Brand) เด็กดอยโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

ปัจจุบันโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่โดดเด่นภายใต้ตราสินค้าเด็กดอย ได้แก่ เด็กดอยรีสอร์ท เป็นแหล่งเรียนรู้วิชาการโรงแรม มีกิจกรรม 3 กิจกรรม ได้แก่ เด็กดอยสปา (Dekdoi Spa) มีกิจกรรมนวดแผนไทย เด็กดอยคอฟฟี่ (Dekdoi Coffee) มีการจำ�หน่ายกาแฟสด เด็กดอยโปรดักส์ (Dekdoi Product) เป็นกิจกรรมรวบรวมผลงานของนักเรียนภายใต้ตราสินค้า “เด็กดอย” เพื่อจัดจำ�หน่าย ได้แก่ งานหัตถกรรม ขนมไทย เบเกอรี่ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร งานตัดเย็บ งานเกษตรอินทรีย์ เป็นต้น ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

27


เด็กดอยรีสอร์ท

เด็กดอยสปา

เด็กดอยคอฟฟี่

เด็กดอยโปรดักส์

28

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


เด็กดอยโปรดักส์

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

29


ดังนี้

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

30

ในปี 2559 สินค้าและบริการภายใต้ตราสินค้า “เด็กดอย” ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีรายการ กล้วยกรอบชาวดอย กล้วยฝอยทรงเครื่อง กล่องใส่ของแบบต่างๆ กล้วยม้วนสมุนไพร ตะไคร้หยอง กล้วยฝอยสมุนไพร กล้วยฝอยปลากรอบ กล้วยอบกรอบบาบีคิว กล้วยฝอยบาบีคิว กล้วยตากพลังงานแสงอาทิตย์ กล้วยฝอยสมุนไพรตะไคร้หยอง กล้วยม้วนธัญพืช ทองม้วนรสนํ้าพริกเผา ทองม้วนกรอบ ทองจีบแครอท ทองจีบสมุนไพรและดอกจอกชาวดอย ขนมกลีบลำ�ดวน กะหรี่ปั๊บ ข้าวกล้องเด็กดอย ปลาดุกเด็กดอย ปลาทับทิมเด็กดอย กบเด็กดอย ผักปลอดสารพิษ

24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46

นํ้าเต้าหู้เด็กดอย เด็กดอยคอฟฟี่ เด็กดอยรีสอร์ท สปาเด็กดอย ลูกประคบเด็กดอย ถุงผ้าประคบร้อน สมุนไพรสูดดม ยาหม่องนํ้ามันไพร กากกาแฟดูดกลิ่น 3 รูปแบบ นํ้ายาทำ�ความสะอาดอเนกประสงค์ ที่ใส่ไม้จิ้มฟันแบรนด์ ชุดใส่เครื่องปรุง จักรยานลวดดัด ไม้กวาดจิ๋ว ที่ใส่ลวดเสียบกระดาษ ที่คั่นหนังสือ กรอบรูป 2 แบบ พวงกุญแจปิงปอง พวงกุญแจเม็ดมะค่าไหมพรม พวงกุญแจตะกร้อจิ๋วไหมญี่ปุ่น พวงกุญแจ 10 แบบ พวงกุญแจดอกไม้ลายชาวเขาไหมอินเดีย ตุ๊กตาไม้กลึงชนเผ่า

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71

ตุ๊กตาใยบวบ ตุ๊กตาเศษหนังที่แขวนโทรศัพท์-พวงกุญแจ เชิงเทียนบอล 3 ขนาด S M L แจกันไม้กลึงพันเชือกผักตบชวา โคมไฟทรงสูง โคมไฟทรงเตี้ย เชิงเทียนไม้กลึงพันเชือกผักตบชวา 3 ระดับ ผอบไม้กลึงพันเชือก แจกันเซรามิกพันเชือกคละรูปทรง เชิงเทียนแก้วครอบ กระเป๋าแฟ้มตัดมุมหุ้มกระดาษสา กระเป๋าแฟ้มเจาะหูหิ้วหุ้มกระดาษสา ถังขยะแห้งพับได้ ถังขยะแห้งพับได้มีฝา ชุดกระเช้าของขวัญเด็กดอย ชุดกล่องของขวัญเด็กดอย กล่องออมสิน ที่ใส่ทิชชู่ไม้กลึงทรงกระบอก ที่ใส่ทิชชู่ไม้เหลี่ยมปากกลมพันเชือกผักตบชวา กล่องทิชชู่หกเหลี่ยมกระดาษสาหุ้มผ้าปักชนเผ่าอาข่า ตุ๊กตาชาวเขาเผ่าต่างๆ สายรัดเอวชาวเขา กิ๊บติดผมดอกไม้จากผ้า เสื้อพื้นเมืองผ้าฝ้ายแต่งลายปักฉาบ เสื้อเขียนเทียนเผ่าม้งลายปักชาวเขา

72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

เสื้อพื้นเมืองใยกัญชง (บุรุษ) เสื้อคลุมแต่งกระเป๋าปะผ้าฝ้าย (สตรี) เสื้อพื้นเมืองผ้าฝ้ายแต่งลายปักกรอบปลายแขน กางเกงสะดอแต่งกระเป๋าผ้าปัก ผ้าถุงตกแต่งปักมือ ตุ๊กตาพวงกุญแจนกฮูก ตุ๊กตาพวงกุญแจปลาแฟนซี หมอนอิงม้งขาว หมอนอิงม้งลาย ที่เก็บกุญแจชนเผ่าม้ง ลายผ้าปักชนเผ่าต่างๆ โมบายโมเดอร์ชนเผ่า ผ้ามัดย้อม ผ้ารองลายผ้าเขียนเทียน สายสร้อยร้อยรัก เสื้อเขียนเทียนเผ่าม้งลายปักชาวเขา เสื้อยืดเด็กดอย ปิ่นปักผมชนเผ่า ยางรัดผมชนเผ่า กระเป๋าย่ามชนเผ่าพื้นนํ้าเงิน รองเท้าใยบวบ รูปเขียนสีนํ้า สมุดโน้ตทำ�มือ 2 แบบ กล่องของขวัญกระดาษสา Beauty Box Set กล่องหกเหลี่ยมสูง ไซส์ S M L

31


97 กล่องอเนกประสงค์ 8 เหลี่ยมกระดาษสา + ดอกไม้ผ้า 98 กล่องอเนกประสงค์ 8 เหลี่ยม พันเชือกผักตบชวา + ดอกเอื้องหมายนา 99 กล่องทิชชู่กระดาษสี่เหลี่ยมจัตุรัสปากรีพันเชือกผักตบชวา 100 กล่องทิชชู่กระดาษสี่เหลี่ยมจัตุรัสปากกลมพันเชือก 101 กล่องทิชชู่กระดาษหกเหลี่ยม กระดาษสาพันเชือกผักตบชวา 102 กล่องทิชชู่กระดาษสี่เหลี่ยมผืนผ้า กระดาษสาพันเชือกผักตบชวา

นางชวนชม บุญศิริ รองผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายวิชาการโรงเรียน ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมว่า “...ก่อนเข้าโครงการบางกลุม่ วิชา เช่น แผนกตัดเย็บเสื้อผ้า ได้ขอเบิกงบประมาณเพื่อซื้อวัสดุอุปกรณ์สำ�หรับจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเช่นเดียวกับ โรงเรียนทั่วไป ผลผลิตของนักเรียนจะตัดเย็บแบบง่ายๆ ใช้ในโรงเรียนหรือขายในราคาถูก ไม่ได้ให้ความสำ�คัญของ การลงทุน งบประมาณของโรงเรียนก็หมดไปไม่ได้คืน จึงพาครูคิดใหม่ ให้มีการตั้งเป้าหมายการสอนงานอาชีพเชิงธุรกิจ ให้คดิ คำ�นวณต้นทุน กำ�ไร การกำ�หนดราคาขายทีเ่ หมาะสม ผลผลิตของนักเรียนทำ�แล้วต้องมีคณ ุ ภาพและขายได้ มีก�ำ ไร แบ่งปันให้นักเรียนและมีสำ�รองไว้ใช้ต่อไป ดังเช่นงานของ อาจารย์สมบัติ ศรีวรรณชัย ผู้รับผิดชอบโครงการ ที่ทำ�แล้ว ขายได้ แผนกตัดเย็บเสื้อผ้าได้ทดลองทำ� มีการออกแบบการตัดเย็บผ้าใหม่เป็นสินค้าตกแต่งบ้าน เสื้อผ้าสำ�เร็จรูปแบบ พืน้ เมือง ประยุกต์ใช้ผา้ ฝ้าย ผ้าปักออกแบบให้ทนั สมัย ประณีต สวยงาม กำ�หนดราคาขาย โดยคิดต้นทุน (ค่าวัสดุอปุ กรณ์ ค่าแรง ค่าออกแบบ) บวกกำ�ไรไม่ตํ่ากว่า 30% ของราคาทุน ปรากฎว่าผลงานนักเรียนขายดี ได้รับการสั่งซื้อสินค้า อย่างต่อเนือ่ ง มีรายได้มากขึน้ มีการแบ่งปันรายได้ให้นกั เรียน ครูผสู้ อนเล่าว่า นักเรียนมีความภาคภูมใิ จทีผ่ ลิตงานออกมา แล้วขายได้ ทำ�ให้ครูผู้สอนรู้สึกมีความสุขกับความสำ�เร็จของนักเรียน...” ความเปลี่ยนแปลงการสอนงานอาชีพเชิงธุรกิจเริ่มขยายผลจาก 1 เป็น 2 ตามลำ�ดับ จนถึงจุดที่ครูหันหน้า มาคุยกันเห็นพ้องต้องกันที่จะปรับหลักสูตรของตนเอง

32

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ “เด็กดอย”

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

33


จากโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สู่หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ เปิดสอนรายวิชาอาชีพของโรงเรียนทำ�ในหลายรูปแบบภายใต้หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เริ่มตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยจัดทำ� เป็นรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมชุมนุม กิจกรรม สอร. กิจกรรมทักษะการดำ�รงชีวิต และกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ทัง้ นีท้ กุ รูปแบบโรงเรียนมีนโยบายให้บรู ณาการหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ลงในคำ�อธิบายรายวิชาในโครงสร้าง รายวิชาและในกิจกรรมการเรียนการสอน ผอ.สุมนต์ กล่าวว่า “...การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ�สำ�หรับนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ภายใต้โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีเป้าหมายเพื่อเตรียมนักเรียนให้ตระหนักรู้ เกี่ยวกับความถนัดและศักยภาพของตนเอง สามารถมองเห็นภาพอนาคตเกี่ยวกับอาชีพของตน นักเรียนจะได้รับการ จัดเตรียมอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเชื่อมต่อระดับอุดมศึกษา โดยปรับ การเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการสัมผัสประสบการณ์ในวิชาชีพต่างๆ อย่างหลากหลาย ฝึกทักษะที่จำ�เป็น และเตรียมคุณลักษณะที่ดี เพื่อการประกอบอาชีพได้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และศักยภาพของตนเอง โรงเรียนได้จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ�ให้กับนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ ห ลั ก สู ต รรายวิ ช าอาชี พ ของโรงเรี ย นที่ ส อดแทรกหลั ก การและแนวคิ ด โครงการนั ก ธุ ร กิ จ น้ อ ยมี คุ ณ ธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เติมเต็มเข้าไป...” และให้ข้อมูลการจัดการเรียนรู้งานอาชีพของแต่ละช่วงชั้นว่า

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

จัดให้นักเรียนได้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมพื้นฐานงานอาชีพ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะ เพื่อการทำ� อาชีพเบือ้ งต้น ได้แก่ มีวนิ ยั ความรับผิดชอบ อดทน สามารถคิดวิเคราะห์ กล้าเผชิญปัญหา คิดแก้ปญ ั หาอย่างสร้างสรรค์ และทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

จัดให้นักเรียนได้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมงานอาชีพ กิจกรรมชุมนุมที่เน้นงานอาชีพ กิจกรรม สอร. และกิจกรรม ทักษะการดำ�รงชีวติ การเรียนการสอนในระดับชัน้ นีเ้ ปิดโอกาสให้นกั เรียนรูจ้ กั ตนเองมากยิง่ ขึน้ จัดการเรียนการสอนเอือ้ ให้ ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จริงในการฝึกปฏิบัติการทำ�งานร่วมกับการประเมินหรือสำ�รวจตนเอง เน้นปลูกฝังคุณลักษณะ เพื่อการทำ�อาชีพเบื้องต้น ได้แก่ คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ตัดสินใจเลือกจัดระบบการทำ�งานร่วมผู้อื่น ได้อย่างสร้างสรรค์ 34

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

มุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนที่เป็นการเตรียมการด้านทฤษฎีและทักษะไปสู่การเตรียมอาชีพ เน้นปลูกฝัง คุณลักษณะเพื่อการทำ�อาชีพเบื้องต้น ได้แก่ การวิเคราะห์งานด้วยตนเองและทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้ ในระดับชั้นนี้ โรงเรียนได้จัดทำ�หลักสูตรมัธยมปฏิบัติการ 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร ปวช. และหลักสูตร ที่เน้นงานอาชีพของโรงเรียน หลักสูตร ปวช. ที่เปิดสอน เป็นหลักสูตรที่โรงเรียนได้ทำ� MOU กับวิทยาลัยเทคนิคสารภี ในระบบเทียบโอน 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการโรงแรม และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ทัง้ นีน้ กั เรียนจะเรียนตามหลักสูตรวิชาชีพจากวิทยาลัยเทคนิคสารภีและเรียนวิชาสามัญในโรงเรียนในลักษณะ การเที ย บโอนหน่ ว ยกิ ต แบบหลั ก สู ต รระยะสั้ น เมื่ อ สำ � เร็ จ การศึ ก ษาแล้ ว ได้ รั บ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษาจากโรงเรี ย น และวุฒิทางการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาลัยเทคนิคสารภี สำ�หรับหลักสูตรของโรงเรียน ได้เปิดสอนหลักสูตรที่เน้นด้านคหกรรม พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม ผอ.สุมนต์ กล่าวว่า “…จากการที่เติมเต็มหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ในรายวิชาอาชีพดังกล่าว โดยมีเป้าหมายการเรียนรู้อาชีพเชิงธุรกิจ ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนรายวิชาอาชีพของโรงเรียนมีความสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น สินค้า “เด็กดอย” สามารถจัดจำ�หน่ายนำ�ไปเผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ นักเรียนสามารถนำ�ความรู้ ไปใช้ ใ นการประกอบอาชี พ และสร้ า งรายได้ ร ะหว่ า งเรี ย น นั ก เรี ย นเห็ น คุ ณ ค่ า ของการทำ � งาน เห็ น ความสำ � คั ญ ของการประกอบอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ทักษะพื้นฐาน ทักษะเทคโนโลยี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ความคิด สร้างสรรค์ และรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเห็นแนวทางการประกอบอาชีพในอนาคตที่ส่งเสริมศักยภาพความเข้มแข็ง กับ ท้ อ งถิ่ น และประเทศ” พร้อมทั้งให้รายละเอี ย ดโครงสร้า งการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ การมี งานทำ � สำ � หรั บ นั ก เรี ย น โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ดังแผนภาพ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

35


ภาพที่ 1 ผังการบูรณาการโครงการนักธุรกิจน้อยฯ และหลักสูตรงานอาชีพในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

การบูรณาการโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สู่หลักสูตรสถานศึกษา

โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้น�ำ หลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4 ประการ เข้าไปบูรณาการรายวิชาอาชีพ ดังนี้ 1) การประกอบอาชีพธุรกิจ 2) คุณธรรมสู่ความสำ�เร็จการประกอบ อาชีพธุรกิจ (ความซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู) 3) ความคิดสร้างสรรค์ และ 4) การให้ความสำ�คัญด้านทรัพย์สิน ทางปัญญา การดำ�เนินการของโรงเรียนที่จะบูรณาการหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ สู่หลักสูตรสถานศึกษา โดยเฉพาะรายวิชาอาชีพ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ในรูปแบบ “SPIE Model” คือ การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis) การวางแผนการจัดการศึกษา (Planning) การจัดการเรียนการสอน (Implementation) และการประเมินผล (Evaluation) รายละเอียดดังภาพที่ 2

36

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ภาพที่ 2 ขั้นตอนการบูรณาการรายวิชาอาชีพและโครงการนักธุรกิจน้อยฯ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

รายละเอียดของแต่ละขั้นตอนอธิบายโดยย่อได้ดังนี้

1. ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis) โดยการศึกษาศักยภาพของชุมชน แนวโน้มในการ พัฒนาด้านตลาดแรงงานในจังหวัดเชียงใหม่ ศักยภาพของโรงเรียนในด้านข้อมูลข้าราชการครู งบประมาณสนับสนุน จุดเด่นของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ� ห้องปฏิบัติการงานอาชีพ แหล่งเรียนรูภ้ ายใน/ภายนอกโรงเรียน สถานประกอบการสำ�หรับฝึกประสบการณ์ ท้ายสุดคือ การสอบถามความต้องการ ของนักเรียน จากการวิเคราะห์สถานการณ์ดังกล่าวแล้ว ทำ�ให้โรงเรียนสามารถกำ�หนดรายวิชาอาชีพที่เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียน/ชุมชน/นักเรียนได้ ตัวอย่างเช่น การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อาหารไทย การแกะสลัก ผักและผลไม้ สปา การเลีย้ งกบ เครือ่ งดืม่ และการผสมเครือ่ งดืม่ การผลิตพันธ์ไุ ม้ ช่างเครือ่ งเสียง ช่างกระเบือ้ งซีเมนต์บล็อก การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ การจัดสวน ไม้เทียม หินเทียม ช่างดุนลาย การเลี้ยงไก่ ช่างเชื่อมโลหะ นาฏศิลป์พื้นเมือง งานซักรีด เป็นต้น 2. การวางแผนการจั ด การศึ ก ษา (Planning) โดยการประชุ ม คณะครู ผู้ ส อนรายวิ ช างานอาชี พ ชี้แจงนโยบายการจัดการเรียนการสอนด้านวิชาอาชีพ นำ�เสนอหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ต่อทีป่ ระชุม เพือ่ ให้ทราบรายละเอียดและสาระทีส่ �ำ คัญของหลักสูตร และให้ครูผสู้ อนได้มองเห็นว่า โครงการนักธุรกิจน้อยฯ เป็นส่วนหนึ่งที่มาเติมเต็มรายวิชาอาชีพของโรงเรียนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น หลังจากนั้น ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

37


จึงกำ�หนดรายวิชาอาชีพที่เปิดสอนและจัดทำ�คำ�อธิบ ายรายวิชาและโครงสร้ างรายวิชาที่บูรณาการหลักการของ โครงการนักธุรกิจน้อยฯ ต่อมาจึงดำ�เนินการพัฒนาครูให้มีความรู้ในรายวิชาอาชีพที่สอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่จำ�เป็นสำ�หรับการสอนรายวิชาอาชีพ และประสานแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสถานประกอบการ สำ�หรับ การจัดทำ�คำ�อธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาสามารถดำ�เนินการได้ 2 แนวทาง ได้แก่ แนวทางที่ 1 นำ�เอาหลักการ ของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกเข้าไปในคำ�อธิบายรายวิชาอาชีพ ที่มีอยู่แล้ว และแนวทางที่ 2 สร้างคำ�อธิบายรายวิชาอาชีพที่ต้องการใหม่ 3. การจัดการเรียนการสอน (Implementation) เมื่อครูผู้สอนมีคำ�อธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา สำ�หรับการจัดการเรียนรู้แล้ว การจัดการเรียนการสอนมีขั้นตอนในการดำ�เนินการโดยสรุปรายวิชาอาชีพที่เปิดสอน และประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนได้ทราบ หลังจากนั้นเปิดโอกาสให้นักเรียนลงทะเบียนเลือกรายวิชาตามความถนัด และความสนใจ และจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรูท้ มี่ เี ป้าหมายให้นกั เรียนทุกคน คิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น แล้วจึงดำ�เนินการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ 4. การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ เป็นการประเมินเพือ่ พัฒนาและหาจุดทีค่ วรพัฒนาในการจัดการศึกษาทีต่ อ้ งได้รบั การปรับปรุงแก้ไข นอกจากนีโ้ รงเรียน ยังได้จัดให้มีระบบการนิเทศภายในและการประเมินหลักสูตร

38

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


นางอรุณี สันติคุณากร หัวหน้างานหลักสูตรของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมยกตัวอย่างของการจัดทำ�รายวิชาเพิม่ เติมทีส่ อดคล้องกับโครงการนักธุรกิจน้อยฯ และการดำ�เนินการจัดทำ�รายวิชา อาชีพที่สอดคล้องกับหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นเนื้อหาและสาระสำ�คัญที่นำ�ไปสู่การมีอาชีพ การมีงานทำ� นำ�ไปสู่การ เป็นผูป้ ระกอบการ โดยนำ�เอาหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ และหลักสูตรนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจ สร้างสรรค์ ของอาจารย์ปราโมทย์ ธรรมรัตน์* นำ�มาบูรณาการกับหลักสูตรรายวิชาอาชีพทีใ่ ช้ในการจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียน เนื้อหาสาระสำ�คัญที่โรงเรียนนำ�มาใช้เป็นหลักในการบรูณ าการกับทุกรายวิช าอาชีพของโรงเรียน มีรายละเอียด ดังนี้ วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์ และมีคุณภาพโดยปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมควบคู่ไปกับการประกอบอาชีพ การทำ�ธุรกิจ และทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อส่งเสริมความสำ�เร็จ ในชีวิตของนักเรียน เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม สังคมอยู่ดีกินดี และมีความสงบสุข หลักการ 1. มุ่งพัฒนาขีดความสามารถให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงาน ผลิตภัณฑ์อาชีพ เป็นนักธุรกิจที่มีคุณธรรม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพอิสระ 2. มุง่ เน้นให้ผเู้ รียนนำ�ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์ ผสมผสานกับเทคโนโลยี โดยคำ�นึงถึงถึงคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. ส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนก้าวสู่ความเป็นนักธุรกิจ คิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น พัฒนาผลงานภายใต้กรอบ คุณธรรม จริยธรรมอย่างสร้างสรรค์ 4. รักษาทรัพย์สินทางปัญญาและไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น

* อาจารย์ปราโมทย์ ธรรมรัตน์ นักวิชาการอิสระ วิทยากรของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ได้นำ�หลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ไปวิเคราะห์และทดลองจัดทำ�เป็นหลักสูตรนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อเป็นตัวอย่างให้โรงเรียนที่เข้าอบรม รุ่นที่ 1 มีความชัดเจนดังวิสัยทัศน์ หลักการ จุดมุ่งหมายของโครงการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนที่เกิดขึ้น สาระการเรียนรู้ ที่ควรสอดแทรกในหลักสูตรสถานศึกษา ความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

39


จุดมุ่งหมาย 1. นักเรียนมีคุณธรรมสู่ความสำ�เร็จการประกอบอาชีพธุรกิจ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู สนใจงาน การแบ่ ง ปั น เห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเอง รั ก การทำ � งาน มี เจตคติ ที่ ดี ต่ อ อาชี พ สุ จ ริ ต สามารถดำ � รงชี วิ ต อยู่ ใ นสั ง คมได้ อย่างมีความสุข 2. นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์และให้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพโดยคำ�นึงถึงประโยชน์และความปลอดภัย ของผู้บริโภค 3. นำ�ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า ได้อย่างหลากหลาย 4. วางแผนการตลาด ขายผลิตภัณฑ์ บริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. ทำ�งานเป็นทีม สร้างเครือข่ายธุรกิจภาครัฐและภาคเอกชน 6. มีความซื่อสัตย์ ไม่เอาเปรียบลูกค้าหรือผู้รับบริการ ไม่ค้ากำ�ไรเกินควร 7. รู้คุณค่าของตนเอง และมีเป้าหมายในการมุ่งสู่ความสำ�เร็จในเชิงธุรกิจ 8. คิดต้นทุนผลผลิต กำ�ไรจากการทำ�ธุรกิจบนพื้นฐานของคุณธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค 9. นักเรียนรู้จักรักษาทรัพย์สินทางปัญญาและไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู 2. ใฝ่เรียนรู้ หมั่นฝึกฝน สนใจงาน 3. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพอิสระ 4. เห็นคุณค่าของตนเองและดำ�รงตนในสังคมอย่างมีความสุข สาระ มาตรฐานและตัวชี้วัด หลักสูตรนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 4 สาระ ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 ธุรกิจ สาระที่ 2 กระบวนการจัดการสินค้าและบริการ สาระที่ 3 การออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์ และสาระที่ 4 ทรัพย์สนิ ทางปัญญา เมือ่ นำ�มาเชือ่ มโยงกับหลักสูตรสถานศึกษากลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี พบว่า สอดคล้องกับมาตรฐานของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สำ�หรับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามหลักสูตรนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์

40

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


สาระที่ 1 ธุรกิจ

มาตรฐาน 1 รู้และเข้าใจความหมายและประเภทของนักธุรกิจ บอกคุณลักษณะ คุณธรรมของนักธุรกิจ ตามที่กำ�หนด ตัวชี้วัด 1. บอกความหมายและประเภทของธุรกิจ 2. อธิบาย วิเคราะห์คุณลักษณะของนักธุรกิจ 3. อธิบายคุณธรรมของนักธุรกิจ 4. มีกระบวนการพัฒนาตนเองสู่การเป็นนักธุรกิจน้อยที่ดี สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายและประเภทของธุรกิจ 2. คุณลักษณะของนักธุรกิจ 3. การโปรแกรมสมองให้เป็นคนดี บุคลิกภาพดี 4. การสร้างแรงบันดาลใจ 5. การตั้งเป้าหมายชีวิต 6. คุณธรรมของนักธุรกิจ 7. หลักธรรมศาสนา 8. ปรัชญาแนวคิด

สาระที่ 2 กระบวนการจัดการสินค้าและบริการ

มาตรฐาน 2.1 เข้าใจและวิเคราะห์การตลาด ความต้องการของตลาด การวางแผนสินค้า การส่งเสริม การขาย สถานที่จำ�หน่าย การกำ�หนดราคา มีประสบการณ์ทางการขายและการตลาด ตัวชี้วัด 1. อธิบาย วิเคราะห์ความต้องการของตลาด การวางแผนสินค้า การส่งเสริมการขาย สถานที่จำ�หน่าย และการกำ�หนดราคาสินค้า 2. มีประสบการณ์ การขาย การตลาด 3. การนำ�ข้อมูลการผลิต จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ มาทำ�การวิเคราะห์และปรับปรุง รู้จักเทคนิคที่จะสร้างโอกาส ทางการตลาด โอกาสของสินค้าและบริการประเภทต่างๆ โอกาสทางธุรกิจ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

41


สาระการเรียนรู้ การตลาด ความต้องการของตลาด การวางแผนสินค้า การส่งเสริมการขาย สถานที่จำ�หน่าย การกำ�หนดราคา การจัดประสบการณ์ การขาย การตลาด เทคนิคการสร้างโอกาสทางการตลาด โอกาสของสินค้าและบริการประเภทต่างๆ โอกาสทางธุรกิจ

มาตรฐาน 2.2 ระบุ อธิบาย วิเคราะห์ ศักยภาพผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต การเลือกวัตถุดิบ ภูมิปัญญา และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิต รู้จักสร้างความแตกต่างผลิตภัณฑ์ สร้างจุดเด่น จุดแข็งของสินค้า รู้จัก หลักการสร้างแบรนด์สินค้า ตัวชี้วัด 1. บอก อธิบาย และวิเคราะห์ศักยภาพผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต การเลือกวัตถุดิบที่ใช้สร้างผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ 2. สำ�รวจ ระบุ และเลือกสรรภูมิปัญญา เทคโนโลยีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ 3. รู้จักเทคนิคการสร้างความแตกต่างผลิตภัณฑ์และบริการ การสร้างจุดเด่น/จุดแข็งของสินค้า รู้จัก หลักการสร้างแบรนด์สินค้า สาระการเรียนรู้ 1. ศักยภาพผลิตภัณฑ์ โอกาสของสินค้า เทคนิคการเลือกชนิดสินค้าที่จะทำ�การผลิต หรือจำ�หน่าย หรือคัดเลือกมาให้บริการ 2. กระบวนการผลิต วัตถุดิบ ภูมิปัญญา เทคโนโลยี 3. การสร้างความแตกต่างผลิตภัณฑ์ สร้างจุดเด่น/จุดแข็งของสินค้า 4. ความสำ�คัญของแบรนด์ และหลักการสร้างแบรนด์สินค้า

42

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


มาตรฐาน 2.3 เข้าใจ วิเคราะห์ การจัดทำ�บัญชี รายรับ รายจ่าย กำ�ไร ภาษี และจัดทำ�เอกสารธุรกิจ ตัวชี้วัด 1. วิเคราะห์และจัดทำ�บัญชี รายรับ รายจ่าย กำ�ไร ภาษี และเอกสารธุรกิจ สาระการเรียนรู้ 1. การจัดทำ�บัญชี รายรับ รายจ่าย กำ�ไร ภาษี เอกสารธุรกิจ 2. การจัดประสบการณ์การจัดทำ�บัญชี รายรับ รายจ่าย กำ�ไร มาตรฐาน 2.4 วิเคราะห์และนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด 1. วิเคราะห์และนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจ สาระการเรียนรู้ 1. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ทางสายกลาง เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม

สาระที่ 3 การออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์

มาตรฐาน 3.1 เข้ า ใจ อธิ บ าย หลั ก การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ เลื อ กวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่นและเทคโนโลยี เพื่อการออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด 1. อธิบายหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ 2. วิเคราะห์/เลือกวัสดุ อุปกรณ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่น และเทคโนโลยี พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ 3. มีประสบการณ์ การผลิต และหรือการออกแบบ และหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ และหรือบรรจุภัณฑ์ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

43


สาระการเรียนรู้ 1. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ 2. วัสดุ อุปกรณ์ 3. ภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. เทคโนโลยี การผลิตและบรรจุภัณฑ์ 5. จัดประสบการณ์ การผลิต และหรือการออกแบบ และหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ และหรือบรรจุภัณฑ์

สาระที่ 4 ทรัพย์สินทางปัญญา

มาตรฐาน 4.1 รู้ เข้าใจ และบอกความหมาย ประเภท ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า และการต่อยอดสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา ตัวชี้วัด 1. อธิบายความหมาย ประเภท ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา 2. สืบค้นทรัพย์สินทางปัญญา 3. รู้จักเทคนิคการต่อยอดเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยและแตกต่าง สาระการเรียนรู้ 1. ความหมาย ประเภท ทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า 2. ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญา 3. การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 4. การต่อยอดเทคโนโลยีจากเอกสารสิทธิบัตรนานาชาติ เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทันสมัยและแตกต่าง การขับเคลื่อนหลักการและแนวคิดโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์สู่การจัด การเรียนการสอน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ได้ขับเคลื่อนหลักการและแนวคิดโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์สู่การจัดการเรียนการสอน โดยการจัดทำ�คำ�อธิบ ายรายวิชาอาชีพที่สอดแทรกสาระสำ�คัญ เรื่องนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ดังรายละเอียดข้างต้น ตามแนวทางการพัฒนาหลักสูตร 2 แนวทาง ได้แก่ แนวทางที่ 1 นำ�หลักการและแนวคิดโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และสาระสำ�คัญข้างต้น (หน้า 39-44) สอดแทรกเข้าไปในคำ�อธิบายรายวิชาอาชีพที่มีอยู่แล้ว และแนวทางที่ 2 สร้างคำ�อธิบายรายวิชาอาชีพที่ต้องการใหม่

44

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


แนวทางที่ 1 นำ�หลักการและแนวคิดโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์และ สาระสำ�คัญข้างต้น (หน้า 39-44) สอดแทรกเข้าไปในคำ�อธิบายรายวิชาอาชีพที่มีอยู่แล้ว มีขั้นตอนการดำ�เนินงานดังนี้ 1. ศึกษาหลักการและแนวคิดโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และหลักสูตร นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของอาจารย์ปราโมทย์ ธรรมรัตน์ ที่ได้จัดทำ�ขึ้น และศึกษาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. วิเคราะห์คำ�อธิบายรายวิชา 3. สอดแทรกสาระการเรียนรู้ตามหลักการเนื้อหาสาระนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ลงไปในคำ�อธิบายรายวิชา 4. จากการดำ�เนินการในขั้นที่ 1-3 ทำ�ให้ได้คำ�อธิบายรายวิชาที่สอดแทรกสาระสำ�คัญนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกำ�หนดผลการเรียนรู้ของรายวิชา 5. ปรับโครงสร้างรายวิชา 6. จัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ 7. จัดการเรียนรู้ 8. ประเมินหลักสูตร การดำ�เนินการดังกล่าวสรุปได้ดังภาพประกอบ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

45


ตัวอย่าง การนำ�หลักสูตรอาชีพสูก่ ารปฏิบตั ติ ามแนวทางที่ 1 ในรายวิชา ง 23201 ธุรกิจการเลีย้ งกบเชิงพาณิชย์ ทำ�ให้ได้คำ�อธิบายรายวิชาและผลการเรียนรู้ ดังนี้ (อักษรตัวหนาคือหลักการและสาระสำ�คัญนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่สอดแทรกเพิ่มขึ้นในรายวิชาเดิม เป็นรายวิชาธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์)

คำ�อธิบายรายวิชา ง 23201 ธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ จำ�นวน 2.0 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง ศึกษารูปแบบธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ ตลาด คุณสมบัติผู้ประกอบธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ การให้บริการ ความคิดสร้างสรรค์ในการทำ�งาน ประวัติ ความสำ�คัญและประโยชน์ของการเลี้ยงกบ ประเภทและชนิด การเพาะพันธ์ุ การอนุบาลลูกกบ วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ หลักการและวิธีการเลี้ยง กระบวนการจั ด การและขั้ น ตอนในการเลี้ ย งกบ โรค ศั ต รู แ ละการป้ อ งกั น กำ � จั ด การคิ ด ราคาต้ น ทุ น กำ � ไร การกำ�หนดราคาขาย การทำ�บัญชีธุรกิจ การเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ การแสวงหาโอกาสและการพัฒนาธุรกิจ การเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้า และทรัพย์สินทางปัญญา สำ � รวจและสรุ ป ความต้ อ งการของตลาดธุ ร กิ จ การเลี้ ย งกบในท้ อ งถิ่ น สำ � รวจตลาดวั ส ดุ อุ ป กรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ วางแผนธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ตามความต้องการของตลาด ออกแบบรูปแบบธุรกิจการเลีย้ งกบเชิงพาณิชย์ เลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมือทีเ่ หมาะสมในธุรกิจการเลีย้ งกบเชิงพาณิชย์ แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการเลี้ยงกบ คิดต้นทุนกำ�ไร กำ�หนดราคา ทำ�บัญชี จัดจำ�หน่ายผลผลิต ประกอบธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์อย่างซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู ประหยัดและรับผิดชอบ และน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำ�เนินธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม 1. ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู ใฝ่เรียนรู้ ประหยัดและความรับผิดชอบ ด้านความรู้และทักษะที่ต้องใช้ทำ�งาน 2. อธิบายความหมาย ความสำ�คัญ ประโยชน์ พันธ์ุ ลักษณะและประวัติของการเลี้ยงกบ 3. อธิบายปัจจัยการผลิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เลือกวัสดุและใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม 5. เลือกรูปแบบธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ ได้ตรงตามความต้องการของตลาดและการใช้งาน 46

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


6. ปฏิบัติการเลี้ยงกบตามกระบวนการทางธุรกิจ 7. คำ�นวณต้นทุน กำ�ไร กำ�หนดราคาขาย จัดจำ�หน่าย และทำ�บัญชีงบดุลได้ 8. อธิบาย/บรรยายเกี่ยวกับธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ได้ 9. เข้าใจความหมาย ประโยชน์ของทรัพย์สินทางปัญญา ด้านทักษะทางปัญญา 10. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา 11. ออกแบบรูปแบบการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ ให้มีความแปลกใหม่และน่าสนใจ 12. สำ�รวจ วิเคราะห์ความต้องการของตลาด 13. วางแผนพัฒนาการทำ�ธุรกิจการเลีย้ งกบเชิงพาณิชย์ เพือ่ สร้างความน่าเชือ่ ถือและความพึงพอใจในผลผลิต ได้อย่างน่าสนใจ ด้านความสัมพันธ์และรับผิดชอบ 14. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้อย่างราบรื่น 15. สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้าได้อย่างเหมาะสม 16. รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากเพื่อนร่วมงานและลูกค้าเพื่อนำ�มาพัฒนาสินค้าอยู่เสมอ ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และการนำ�ไปใช้ 17. ระบุอัตราการเลี้ยง การให้อาหาร การดูแล 18. เปรียบเทียบคุณภาพผลผลิตของตนเองกับที่พบในท้องตลาดเพื่อการพัฒนางานได้ รวมทั้งสิ้น 18 ผลการเรียนรู้

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

47


โครงสร้างรายวิชา ง 23201 ธุรกิจการเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด เวลา หน่วยที่ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำ�คัญ ของหลักสูตร (ชม.) นักธุรกิจน้อยฯ 1

ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับ การเลี้ยงกบ

2

การเลือกสถานที่ 1. การเลือกสถานที่ ในการเลี้ยงกบ เลี้ยงกบ 2. ปัจจัยที่สำ�คัญ ในการเลี้ยงกบ 3. การออกแบบ บ่อเลี้ยงกบ

3

การเลี้ยงกบ

48

1. ความหมาย 2. ความสำ�คัญ 3. ประโยชน์ 4. พันธ์ุ 5. ประวัติ 6. การเพาะพันธ์ุ 7. การอนุบาล 8. การคัดเลือกพันธ์ุ 9. คุณลักษณะ ของนักธุรกิจ

1, 2, 8, 12, 14, 15

1, 3, 4, 10

1. กระบวนการเลี้ยงกบ 1, 4, 5, 6, 7, โดยยึดหลักปรัชญา 11, 12, 13, 15, ของเศรษฐกิจพอเพียง 16, 18 มาประยุกต์ใช้ 2. วัสดุอุปกรณ์ 3. การคัดขนาดกบ 4. อาหารและการให้ อาหาร 5. หลักการจัดการ และการดูแลรักษา 6. โรคและการป้องกัน ศัตรูกบ 7. การคัดเลือกพันธ์ุ 8. การจัดจำ�หน่าย 9. กำ�หนดราคาขาย 10. การบันทึก การปฏิบัติงาน การทำ�บัญชีรายรับ รายจ่าย

คะแนน

สาระที่ 1 กบเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งนํ้าที่คนไทย มาตรฐาน 1 นิยมนำ�มาบริโภคเป็นอาหารมาช้านาน ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3 จัดได้ว่าเป็นอาหารประเภทเนื้อที่มีคุณค่า ทางอาหารสูงและมีรสชาติอร่อย การเพาะพันธ์ุ การคัดเลือกพันธ์ุกบ มาจากฟาร์มที่เชื่อถือได้ การนำ�มาเลี้ยง ในเชิงธุรกิจนั้นผู้เลี้ยงมีคุณสมบัติ เป็นผู้ประกอบธุรกิจ

10

20

สาระที่ 2 มาตรฐาน 2.4 ตัวชี้วัดที่ 1 สาระที่ 3 มาตรฐาน 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

การเลือกสถานที่เพื่อใช้เลี้ยงกบนั้น ควรจะมีการเลือกสถานที่ให้เหมาะสม กับการเลี้ยงกบโดยน้อมนำ�หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้

4

10

สาระที่ 2 มาตรฐาน 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1 มาตรฐาน 2.3 ตัวชี้วัดที่ 1

ผลผลิตที่ได้ตรงกับความต้องการ 20 ของตลาด มีคุณภาพ เพียงพอ การทำ�งานเป็นทีม การพัฒนางาน ให้เป็นที่ต้องการของตลาดอยู่เสมอ การมีบุคลากรที่ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู ทำ�ให้ผลผลิต มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ เป็นที่ต้องการ ของลูกค้า และธุรกิจประสบความสำ�เร็จ โดยนำ�ภูมิปัญญาท้องถิ่น และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาผลผลิต

60

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด เวลา หน่วยที่ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำ�คัญ ของหลักสูตร (ชม.) นักธุรกิจน้อยฯ 4

การตลาด

1. ความต้องการ 1, 5, 9, 13, ของตลาด 14, 15, 17 2. การจัดประสบการณ์ ขาย 3. ทรัพย์สินทางปัญญา

สาระที่ 2 มาตรฐาน 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

รวม

การบริการลูกค้าที่ดีและประทับใจ กลยุทธ์การตลาดที่มีประสิทธิภาพ การรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับลูกค้า การรับฟังความคิดเห็นของลูกค้า เพื่อพัฒนางาน การกำ�หนดราคาขาย การจัดทำ�บัญชีธุรกิจ สร้างเจตคติที่ดี และความไว้วางใจต่อธุรกิจ และนำ�ผลผลิตไปต่อยอดในเรื่องของ ทรัพย์สินทางปัญญา ทำ�ให้สินค้า ขายได้ง่าย และจัดการตามเงื่อนไข ได้เหมาะสม

คะแนน

6

10

40

100

แนวทางที่ 2 สร้างคำ�อธิบายรายวิชาอาชีพที่ต้องการใหม่ มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี สาระที่ 4 การงานอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกั ษะทีจ่ �ำ เป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์สถานการณ์ ความต้องการของตลาด ศึกษาศักยภาพของโรงเรียน เช่น กระบวนการ บริหารจัดการ ความพร้อมด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น ขั้นที่ 3 กำ�หนดรายวิชาอาชีพ จัดทำ�โครงสร้างรายวิชา ซึ่งมีรายละเอียดประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ ทีป่ ระกอบด้วย สาระการเรียนรู้ สาระมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ คุณธรรม (คุณธรรม 5 ประการ ได้แก่ ซือ่ สัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักการและแนวคิดโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สาระสำ�คัญ นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยเลือกให้เหมาะสมกับรายวิชานั้น จากนั้นนำ�เอารายละเอียด ดังกล่าวมาเขียนเป็นคำ�อธิบายรายวิชา

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

49


ที่มา : นางอรุณี สันติคุณากร หัวหน้างานหลักสูตรโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

การจัดการเรียนการสอนและการนิเทศติดตามผล การจัดการเรียนการสอนอาชีพในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ นักเรียนทุกคนตามกิจกรรมทักษะการดำ�รงชีวิตผ่านการงานและอาชีพ กิจกรรมและโครงการดังที่หลักสูตรกำ�หนด โดยกิจกรรมต่างๆ ต้องมีความสอดคล้องกัน ตัวอย่างเช่น งานอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้า คุณครูท่านหนึ่งซึ่งเป็นครูผู้สอน มีบทบาทหน้าที่ 3 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นครูผสู้ อนอาชีพตัดเย็บเสือ้ ผ้าตามหลักสูตรอาชีพของโรงเรียน 2) เป็นผูร้ บั ผิดชอบงาน โครงการอาชีพตัดเย็บ และ 3) เป็นผู้รับผิดชอบงานบริการ จึงต้องกำ�หนดงานทั้ง 3 ด้าน ให้มีความสอดคล้องร้อยรัดกัน โดยใช้การตัดเย็บเป็นเนื้อหาของงานทั้ง 3 ด้าน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และกระบวนการในการตัดเย็บเสื้อผ้า มีบริษัทจำ�ลองในการผลิตและจำ�หน่ายสินค้า มีรายได้เป็นอาชีพและธุรกิจในที่สุด รายละเอียดดังแผนภาพ

50

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ด้านการเรียนการสอน ครูเป็นผู้ให้ความรู้ด้านการออกแบบ การตัดเย็บเสื้อผ้า ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้การออกแบบ ตัดเย็บเสื้อผ้า และลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน ต่อมานักเรียนนำ�เสนอผลงาน พร้อมเอกสารประกอบการออกแบบ และตัดเย็บเสื้อผ้า สุดท้ายครูตรวจสอบและวัดผล ประเมินผลคุณภาพผลงาน การออกแบบ ในขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูผู้สอน และได้ชิ้นงานตามมาตรฐานและผลการเรียนรู้ ที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา ด้านโครงการ/งานพิเศษ ครูและนักเรียนร่วมกันทำ�โครงการตัดเย็บเสื้อผ้า โดยเริ่มจากการรับงาน จัดหา งบประมาณ สั่งซื้อวัตถุดิบ เช่น ผ้า เป็นต้น ออกแบบ ตัดเย็บสินค้า ตรวจสอบคุณภาพและจำ�นวนก่อนส่งสินค้า หลังจากนั้นจึงทำ�การส่งสินค้าและรับเงิน เมื่อเสร็จสิ้นแล้วจึงสรุปโครงการ ด้านงานบริการ ครูสนับสนุนให้นักเรียนร่วมกันจัดตั้งบริษัทจำ�ลองโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา โดยเริ่มจาก การรับงาน กำ�หนดราคาและกำ�หนดวันส่ง ออกแบบ ตัดเย็บและซ่อมแซมเสื้อผ้า ตรวจสอบคุณภาพงานก่อนส่ง สุดท้ายคือการส่งงานและรับเงิน ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

51


ดังนั้นการทำ�หน้าที่ของครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ไม่ได้ทำ�หน้าที่เพียงแค่การสอนในรายวิชา เท่านั้น แต่ต้องทำ�หน้าที่ในโครงการต่างๆ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาบริษัทจำ�ลองของนักเรียนด้วย การนิเทศติดตามผลความสำ�เร็จของการจัดการเรียนการสอน งานโครงการและงานบริการต่างๆ ภายในโรงเรียน ไม่ได้สำ�เร็จได้โดยง่าย ย่อมพบกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ นานา เช่นเดียวกับการทำ�งานโดยทั่วไป สำ�หรับโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ประสบความสำ�เร็จได้ด้วยองค์ประกอบหลายอย่าง แต่อย่างหนึ่งที่ทุกคนปฏิเสธไม่ได้นั่นคือ การนิเทศติดตามผลที่ควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอนและการดำ�เนินงานของทีมงาน “...โรงเรียนนี้ไม่มีศึกษานิเทศก์มานิเทศ เนื่องจากสำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ไม่มีศึกษานิเทศก์...” เป็นคำ�บอกเล่าของผู้บริหารโรงเรียน ดังนั้นการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ จึงเป็น การนิเทศภายในโรงเรียนที่ครูในโรงเรียนนิเทศกันเองอย่างไม่เป็นทางการแต่กลับได้ผลดี ทั้งเป็นการช่วยสะท้อนจุดเด่น จุดด้อย และพัฒนาการดำ�เนินงานในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสบผลสำ�เร็จ “...การนิเทศของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่เป็นไปอย่างไม่เป็นทางการ เพราะครูเรามีภาระงานมาก ถ้าใช้การนิเทศแบบมีระบบเป็นทางการมาก ทำ�ให้เกิดความเครียด ส่วนใหญ่เราก็พดู คุยกัน ถ้าพบว่าเพือ่ นครูเรามีปญ ั หา ก็จะช่วยกันคิด ช่วยกันทำ� จนสามารถแก้ปัญหาได้...” ครูท่านหนึ่งแสดงความคิดเห็นกับกระบวนการนิเทศติดตามผล ในส่วนของผู้บริหารโรงเรียน นายสุมนต์ มอนไข่ กล่าวถึงระบบการนิเทศแบบไม่เป็นทางการของโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่วา ่ “...ผมไม่ชอบไปนิเทศเป็นทางการ เมือ่ ก่อนเคยทำ� เข้าไปในห้อง สังเกตครู เกิดความเครียด เกร็งทัง้ ครูและนักเรียน ผมเองก็ตอ้ งเตรียมคำ�พูดสวยหรู จะพูดตรงๆ ก็เกรงว่าจะเสียนํา้ ใจ ก็เลยคิดว่าเป็นการเพิม่ ภาระ ไม่เป็นธรรมชาติ ตอนหลังๆ เวลาจะเดินไปคุยกับใคร ก็ไปนิเทศ แลกเปลี่ยนนอกระบบ ถือว่าเป็นโอกาสพูดคุยกัน และเป็ น โอกาสในการนำ � เสนอแนวคิ ด ใหม่ โดยไม่ มี ห ลั ก ฐานการนิ เ ทศอะไร ครู บ างท่ า นที่ ไ ด้ รั บ การนิ เ ทศ มีการจดบันทึกประเด็นที่เรานิเทศกัน พูดคุยกัน แล้วนำ�มาเสนอความคิดใหม่ๆ กับผมก็มี เป็นหลักฐาน เป็นการนิเทศ แบบเป็นทางการแล้ว...” สำ�หรับฝ่ายบริหารงานวิชาการได้กล่าวเสริมกระบวนการนิเทศติดตามผลว่า “...บางทีเห็นครูเขาทำ�งาน ก็จะเดินไปคุยกับเขา โดยใช้คำ�พูดที่ทำ�ให้มีกำ�ลังใจ เช่นถามว่า เป็นอย่างไรบ้าง มีอะไรให้ช่วยไหม ถามซํ้าๆ อยู่อย่างนี้ บ่อยๆ ครั้ง งานก็พัฒนาขึ้น ดีกว่าการนิเทศแบบเป็นทางการ มีเอกสารประกอบมากมาย แต่ไม่ได้ผล...” จากการบอกเล่าของบุคลากรในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ผนวกกับความสำ�เร็จเชิงประจักษ์ภายใน โรงเรียน ความสำ�เร็จทีพ่ บเห็นจากคุณลักษณะของนักเรียน สามารถสรุปแนวทางการนิเทศของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เชียงใหม่ได้ 5 ลักษณะ ดังนี้ 52

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


1. ฝากความปรารถนาดี การนิเทศติดตามที่เปี่ยมไปด้วยความปรารถนาดี แสดงออกด้วยคำ�ถามเชิงห่วงใย “เป็นอย่างไรบ้าง” เสมือนการใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้ ผนวกกับการนำ�เรื่องใหม่ๆ มาบอกเล่าสู่กันฟัง มิใช่การนำ�งานใหม่มาเพิ่มภาระให้ 2. รับฟังปัญหาทุกเรือ่ ง เมือ่ ผูน้ เิ ทศพบเห็นความอึดอัด คับข้องใจ ในสิง่ ทีไ่ ม่พงึ ปรารถนาของผูป้ ฏิบตั งิ าน ยินดีรบั ฟัง ปัญหาทุกเรือ่ ง คุยกันให้ผอ่ นคลาย บางปัญหาสามารถแก้ไขได้ทนั ทีดว้ ยความคิดของคนสองคน บางปัญหาต้องได้รบั ความร่วมมือ จากคนอื่นๆ ก็จะนำ�ปัญหานี้ไปปรึกษาผู้บริหารเพื่อหาทางแก้ไขต่อไป 3. ถามหาความก้าวหน้า การถามหาความก้าวหน้าเป็นการค้นหาข้อมูลในการพัฒนางาน เป็นหัวใจสำ�คัญหรือ กุญแจที่จะนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จในการปฏิบัติงาน การถามหาความก้าวหน้าอย่างเป็นมิตรและใส่ใจ ทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานมีกำ�ลังใจ และสะท้อนให้เห็นความสำ�เร็จของการบรรลุเป้าหมายอย่างชัดเจนตามลำ�ดับขั้นตอน 4. ให้กำ�ลังใจ การให้กำ�ลังใจเปรียบเสมือนการรดนํ้าให้ต้นไม้ที่กำ�ลังขาดนํ้าได้มีชีวิตชีวา ทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานที่กำ�ลัง หมดเรี่ยวแรงกลับมีแรงกายแรงใจทำ�ในสิ่งที่เป็นความฝันความปรารถนานั้นๆ ให้สำ�เร็จสมความตั้งใจ วิธีการให้กำ�ลังใจ มีหลายวิธี เช่น การยิ้มให้ การถามไถ่ การจำ� ของฝากเล็กๆ น้อยๆ คำ�ชื่นชม เป็นต้น 5. การมีสว่ นร่วมในความสำ�เร็จ การช่วยเหลือกันในเวลารีบเร่ง การให้ค�ำ ปรึกษาแนะนำ�ทีส่ ง่ ผลดีตอ่ งานการแบ่งปัน งานหนักหนาให้เบาบางลง แม้เป็นสิง่ เล็กน้อย แต่อาจทำ�ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านทีเ่ สมือนแบกของหนักไว้ได้ผอ่ นคลายความเหน็ดเหนือ่ ย ลงได้บ้าง รวมทั้งเป็นผู้ร่วมค้นพบความสำ�เร็จในการทำ�งาน ร่วมแสดงความยินดี ร่วมยิ้มให้กับความสำ�เร็จของทุกๆ คน ลักษณะการนิเทศทั้ง 5 ลักษณะ เขียนเป็นแผนผังได้ดังนี้

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

53


กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สู่ โลกกว้างทางธุรกิจ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้ใช้กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรูด้ ว้ ยกิจกรรมสำ�คัญคือ การฝึกประสบการณ์ อาชีพการทำ�ธุรกิจรูปแบบบริษัทจำ�ลองและกิจกรรมย่อยหลายประการ ดังนี้

รูปแบบบริษัทจำ�ลอง

โรงเรียนให้นักเรียนสร้างประสบการณ์ธุรกิจเสมือนจริง ส่วนใหญ่นักเรียนทำ�บริษัทที่สอดคล้องกับวิชาเรียน มีบางบริษัททำ�ตามความสนใจของตนเอง ซึ่งโรงเรียนได้วางแนวทางไว้อย่างเป็นระบบ ดังนี้

1. กลุ่มลงทุน

นักเรียนจะรวมกลุ่มกันไม่ตํ่ากว่า 3 คน ตั้งบริษัทจดทะเบียนกับโรงเรียนแต่ละปีมีจำ�นวนไม่เท่ ากัน มีตั้งแต่ 25-60 บริษัท กลุ่มบริษัทไม่จำ�เป็นต้องเป็นนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ทุกบริษัท จะต้องหาครูเป็นทีป่ รึกษา มีบริษทั นักเรียนระดับประถมศึกษาประมาณ 10 บริษทั ทีเ่ หลือเป็นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 บริษัทระดับประถมศึกษา มีผลิตภัณฑ์ประเภทพืช-ผัก การทำ�ขนมไทย เช่น ขนมกลีบลำ�ดวน เป็นต้น บริษัทระดับมัธยมศึกษา มีผลิตภัณฑ์หลากหลาย เช่น การเลี้ยงปลาดุก/ปลาทับทิมในกระชัง งานปักผ้า เสื้อผ้าสำ�เร็จรูป การทำ�กล้วยหลากรส นมถั่วเหลือง ร้านถ่ายเอกสาร กาแฟสด การแปรรูปอาหารต่างๆ งานอาหาร และโรงแรม งานประดิษฐ์ นอกเหนือจากการทำ�บริษัทจำ�ลองจดทะเบียนกับโรงเรียนแล้ว ยังมีนักเรียนกลุ่มอิสระทำ�ธุรกิจระยะสั้น เช่น นักเรียนรวมหุ้นกัน จัดตั้งกลุ่มกันเอง โดยนำ�วิชาความรู้ที่เรียนมา เช่น ทำ�อาหาร ขนม ฯลฯ นำ�มาขาย ในตลาดนัดพอเพียงของโรงเรียนทุกวันอาทิตย์ เป็นตลาดนัดที่โรงเรียนมีนโยบายจัดขึ้นเพื่อเป็นอีกหนึ่งประสบการณ์ ในการประกอบอาชีพ ทุกวันอาทิตย์จะเป็นวันทีโ่ รงเรียนงดการเลีย้ งอาหารมือ้ กลางวัน แต่จะแจกเป็นคูปองตามค่าอาหารรายหัว ให้นักเรียนซื้ออาหารรับประทานกันเอง ซึ่งนักเรียนจะได้ประสบการณ์ทั้งการผลิต การซื้อ การจำ�หน่ายสินค้า การเลือกตัดสินใจซื้ออาหารด้วยตนเอง

54

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตลาดนัดพอเพียง

2. เงินลงทุน มี 3 รูปแบบ คือ

1. บริษัทของนักเรียน ระดมหุ้นกันเองทั้งหมด 2. นักเรียนระดมหุ้นลงทุนเองเป็นบางส่วน หากเงินลงทุนไม่เพียงพอ 3. นักเรียนสามารถเขียนโครงการขอกู้เงินจากเงิน สอร. นั กเรียนกู้เงินจากเงินโครงการส่ง เสริ ม อาชี พ อิ ส ระเพื่ อ การมี รายได้ ร ะหว่า งเรี ย น (สอร.) ทั้ ง หมด เงินที่โรงเรียนจัดไว้สำ�หรับให้นักเรียนกู้ยืม คือ เงิน สอร. เป็นงบประมาณเงินทุนหมุนเวียน ซึ่งกรมสามัญศึกษาเดิม ได้จัดสรรให้โรงเรียนในสังกัดโรงเรียนละ 70,000 บาท เพื่อสร้างประสบการณ์อาชีพอิสระให้แก่นักเรียน บางโรงเรียน ก็ไม่สามารถดำ�เนินการตามเป้าหมายได้ เงินก้อนนี้จะหมดไป แต่โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ยังคงงบประมาณนี้ มาได้ถงึ ปัจจุบนั โดยใช้เป็นแหล่งเงินกูย้ มื การทำ�บริษทั จำ�ลองของนักเรียน โดยดำ�เนินการตามแนวทางการใช้เงินของ สอร. ซึ่งนับว่าเป็นการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพ และผนวกเงินช่วยเหลือเด็กยากจนเข้าด้วยกัน กับเงิน สอร. เป็นเงินหลักสำ�หรับให้นักเรียนกู้ยืมเงินลงทุนการสอนงานอาชีพในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งเรียกเงินกู้นี้ว่า เงิน สอร. ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

55


โครงสร้างคณะกรรมการ สอร. ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

3. ระบบการกู้เงิน

1. บริษัทต้องเขียนโครงการกู้เงินจาก สอร. ตามแบบฟอร์มที่กำ�หนด ดังภาคผนวก ก 2. โครงการจะต้องมีครูที่ปรึกษาสำ�หรับปรึกษาทางวิชาการและการดำ�เนินงาน และตรวจสอบบัญชี ส่งโรงเรียน แหล่งกู้เงินจะสอบถามข้อมูลและพิจารณาให้กู้ในวงเงินที่เห็นสมควรตามความเหมาะสม แล้วนำ�เรื่องเสนอ ให้ผู้อำ�นวยการโรงเรียนอนุมัติ 3. บริษัทนักเรียนจะต้องจดทะเบียนเพื่อให้ข้อมูลของบริษัทกับโรงเรียน 4. บริษัทนักเรียนจะต้องเปิดบัญชีกับธนาคารโรงเรียนสำ�หรับการฝากและถอน โดยผู้ถอนเงินได้คือ เหรัญญิกร่วมกับครูที่ปรึกษา 5. เมื่อบริษัทได้รับอนุมัติวงเงิน นักเรียนต้องนำ�โครงการไปทำ�หลักฐานยืมเงิน พร้อมลงนามรับรองกับ สอร. 56

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


6. สอร. จะทำ�ใบถอนเงินจากบัญชีของ สอร. และทำ�หลักฐานใบฝากเงินเข้าบัญชีของบริษัทที่ได้รับ การอนุมัติ 7. บริ ษั ท ใดได้ รั บ การอนุ มั ติ เ งิ น กู้ ต้ อ งส่ ง ตั ว แทนเข้า รั บ การอบรมการใช้ จ่ า ยเงิ น และการทำ � บั ญ ชี รายรับ-รายจ่าย เพื่อรายงานผลการดำ�เนินการด้วย 8. การรายงานผลสรุปรายงานครูที่ปรึกษาจะต้องเสนอความเห็นการดำ�เนินการของบริษัท ปัญหา และแนวทางแก้ ไขให้ ค ณะกรรมการ สอร. เพื่ อ สรุ ป รายงานให้ ผู้ อำ � นวยการโรงเรี ย นทราบการอนุ มั ติ ว งเงิ น กู้ กรรมการพิจารณาให้กู้จะพยายามให้นักเรียนลงหุ้นกันก่อน ถ้าไม่พอจึงเสนอขอกู้ตามความจำ�เป็น

4. ระยะเวลาการกู้-คืนเงิน

อาจกู้เป็นเวลา 1 ภาคเรียน หรือ 1 ปีการศึกษา คือ เมื่อดำ�เนินธุรกิจเสร็จสิ้น ต้องนำ�เงินที่กู้ไปมาคืน แหล่งเงินกู้ตามสัญญา

5. ข้อกำ�หนดการดำ�เนินการของบริษัท

1. ทุกบริษัทต้องทำ�บัญชีรายรับ-รายจ่าย ตามที่นักเรียนได้รับการอบรมจาก สอร. โดยครูผู้สอน พาณิชยกรรม 2. ดำ�เนินการเสร็จสิ้นแล้ว ก่อนปันผลกำ�ไร ให้หักเงินค่าเสื่อมสภาพของอุปกรณ์สำ�หรับไว้ดำ�เนินการ ต่อไป 20% 3. คืนเงินค่าสาธารณูปโภคให้โรงเรียน 5% 4. การกำ�หนดราคาขายชิ้นงาน/ผลผลิตของนักเรียนให้คิดกำ�ไรไม่ตํ่ากว่า 30% ของต้นทุน 5. ทำ�บัญชีรายรับ-รายจ่าย ให้มีหลักฐานใบเสร็จรับเงินเหมือนกับบริษัททั่วไป สามารถตรวจสอบ รายละเอียดได้ 6. บริ ษั ท ต้ อ งเปิ ด บั ญ ชี ธ นาคารสำ � หรั บ ฝาก-ถอน โดยเหรั ญ ญิ ก ร่ ว มกั บ ครู ที่ ป รึ ก ษาโครงการ เป็นผู้ลงนามถอนเงิน การตั้งกลุ่มบริษัทตามความสนใจ เช่น เป็นห้องเรียน เป็นเรือนนอน มีบางบริษัท (ส่วนน้อย) จะมีการ ซื้อมา-ขายไป

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

57


6. การดำ�เนินงานของบริษัทจำ�ลอง

เป็นการนำ�ความรู้สู่การปฏิบัติจริง ครูจะเน้นให้นักเรียนปฏิบัติด้วยตนเอง ครูเพียงทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษา เท่านั้น การดำ�เนินการของแต่ละบริษัทจะวางแผนการผลิต โดยมีเป้าหมายเชิงธุรกิจ สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ ขายได้ และทำ�กำ�ไร การทำ�กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้รับการฝึกประสบการณ์ด้วยการปฏิบัติจริง ดังนี้ 1. การคิดผลิตสินค้าเพื่อตอบสนองตลาดได้ราคาดี 2. การตั้งทีมทำ�งานในรูปบริษัท 3. การจดทะเบียนบริษัทกับโรงเรียน 4. การแบ่งหน้าที่ประธานกรรมการ ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย ฝ่ายบัญชี การเงิน ฝ่ายเลขานุการ เป็นต้น 5. การวางแผนการทำ�งานสู่ความสำ�เร็จตามเป้าหมาย 6. การแสวงหาทุนเพื่อดำ�เนินงาน 7. การเขียนโครงการเพื่อขอกู้เงิน ซึ่งต้องใช้ทักษะภาษาทั้งการพูดและการเขียน 8. การเรียนรู้แหล่งและราคาวัตถุดิบที่เป็นต้นทุน 9. การดำ�เนินงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ระมัดระวัง ตามความรู้ที่ได้เรียนมา และแสวงหา ความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลทั่วไปและเทคโนโลยี เพื่อประโยชน์ของค่าตอบแทนจากผลผลิตที่บริษัทดูแลบนพื้นฐาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 10. การควบคุมค่าใช้จ่าย การลงทุน การทำ�บัญชี รายรับ รายจ่าย 11. การคิดต้นทุน กำ�ไร การกำ�หนดราคาขาย 12. หาตลาด การนำ�เสนอซื้อขายด้วยตนเอง 13. การบันทึกการปฏิบัติงานของตนเอง 14. การแบ่งปันผลกำ�ไรให้สมาชิก หลังหักคืนค่าหุ้นให้สมาชิก ค่าสาธารณูปโภคให้โรงเรียนตามจำ�นวน ที่กำ�หนด การหักค่าเสื่อมสภาพอุปกรณ์เพื่อการดำ�เนินการครั้งต่อไป โดยไม่ต้องขอเบิกงบประมาณจากโรงเรียน 15. การรายงานผล สรุปผลการดำ�เนินการของบริษัทส่งโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วย รายรับ รายจ่าย ตามแบบรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานโครงการตามที่โรงเรียนกำ�หนด จะเห็นได้ว่านักเรียนได้ฝึกประสบการณ์ประกอบอาชีพเชิงธุรกิจจริงอย่างเป็นระบบไปพร้อมๆ กับ การปลูกฝังคุณธรรมสู่ความสำ�เร็จในการประกอบอาชีพ นักเรียนได้กระบวนการคิด กระบวนการทำ�งาน การบริหาร จัดการแบบมีส่วนร่วม มุ่งสู่การประกอบอาชีพอย่างมีเป้าหมายของความสำ�เร็จ

58

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


7. ระบบการรายงานผลและการแบ่งปันผลกำ�ไร

เมื่ อ สิ้ น สุ ด การกู้ เ งิ น โรงเรี ย นกำ � หนดให้ บ ริ ษั ท จำ � ลองแต่ ล ะบริ ษั ท สรุ ป โครงการ รายรั บ รายจ่ า ย ตามแบบบันทึก แสดงจำ�นวนสมาชิก จำ�นวนหุ้น รายรับ ประกอบด้วย เงินลงทุน ซึ่งอาจเป็นทุนของนักเรียนส่วนหนึ่ง ผนวกกับเงินกู้จากแหล่งทุน ในโรงเรียน รายได้จากการขาย รายจ่ า ย ประกอบด้ ว ย ค่ า ลงทุ น เช่ น ค่ า ลู ก ปลา อาหารปลา ค่ า อุ ป กรณ์ ค่ า อุ ป กรณ์ เ สี ย หาย ค่าดำ�เนินการประมาณ 20% ของอุปกรณ์เพื่อทดแทนของเดิมที่ชำ�รุด ค่าสาธารณูปโภคของโรงเรียนจำ�นวนเงิน ตามข้อกำ�หนดของโรงเรียน จ่ า ยเงิ น ปั น ผลคื น ตามหุ้ น และเฉลี่ ย เงิ น ให้ ส มาชิ ก จำ � นวนเท่ า ๆ กั น ลงชื่ อ นั ก เรี ย นของบริ ษั ท และครูที่ปรึกษา การกำ�หนดราคาขาย หลังจากคิดต้นทุน + แรงงาน แล้วจะคิดกำ�ไรสินค้าไม่ตํ่ากว่า 30% จะเห็นว่า โรงเรียนกำ�หนดระบบธุรกิจของบริษัทจำ�ลองไว้ชัดเจน เป็นระบบที่ทุกคนยอมรับปฏิบัติเช่นเดียวกัน การรายงานผล ของทุกบริษัท เป็นการรวบรวมผลการดำ�เนินการของบริษัททั้งหมดในแต่ละปีการศึกษา พบว่า การทำ�ธุรกิจของบริษัท ไม่ขาดทุน แตกต่างกันเพียงกำ�ไรมาก-น้อยเท่านั้น ข้อสังเกตของผู้บริหารและครูทุกคนให้ข้อมูลว่า เป็นเพราะเงินลงทุน เป็นของนักเรียนๆ จึงดูแลกิจการของตนเองด้วยความเอาใจใส่ เพราะความสำ�เร็จคือเงินกำ�ไรทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่เสียเวลาเปล่า นักเรียนรุ่นพี่จะคอยสอนน้องถึงประสบการณ์ ข้อควรระวังการทำ�งานในอาชีพเดียวกันให้น้อง ทำ�ให้การเรียนรู้เป็นไป อย่างมีคุณค่าและเป็นความรู้ที่คงทนติดตัวนักเรียนไปใช้ในอนาคต แต่มีอยู่ 1 ครั้งที่ขาดทุน บริษัทเพาะเห็ดของนักเรียนชั้น ม.6/2 กู้เงินไป 27,000 บาท ขาดทุนไป 4,000 บาท เนื่องจากเห็ดแห้ง แมลงกิน (แต่เขามีคุณธรรมไม่ฉีดสารเคมี) ผลผลิตเสียหาย นักเรียนมีคุณธรรม เรี่ยไรเงินในกลุ่มนำ�มาคืนแหล่งเงินกู้ นับเป็นการฝึกความรับผิดชอบที่ชัดเจนและน่าชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง จากข้อมูลมีนักเรียนบางกลุ่มที่ไม่ขยันทำ�มาหากิน ไม่ทำ�อย่างต่อเนื่องหรือมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ จะเป็นหน้าที่ของครูที่ต้องอบรมดูแลเป็นพิเศษ นอกเหนือจากกลุ่มงานอาชีพที่ตั้งเป็นบริษัทในการผลิตสร้างรายได้แล้ว ในโรงเรียนยังมีกลุ่มธุรกิจบริการ คือ กลุ่มงานธนาคารโรงเรียน ซึ่งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) เข้ามา ให้ความรู้และวางระบบธนาคารให้ ธนาคารนี้นักเรียนจะทำ�หน้าที่พนักงานธนาคารรับฝากเงิน โดยมีครูที่ปรึกษาดูแล และเป็นแหล่งทำ�ธุรการการเงินของนักเรียนในการกู้เงินอีกด้วย ซึ่งในส่วนนี้ครูผู้สอนสาขาพาณิชยกรรมจะสร้างความรู้ ด้านการทำ�ธุรกิจเสริมให้กับการทำ�งานของนักเรียนได้มาก จะเห็นว่าการฝึกประสบการณ์ธุรกิจให้นักเรียนเป็นไป อย่างครบวงจร ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

59


ตัวอย่างบริษัทจำ�ลอง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557

ชื่อบริษัท 1. เลี้ยงปลาดุกในกระชัง 2. นํ้าพริกตาแดงสูตรรสเด็ด 3. นํ้าพริกกะเหรี่ยง 4. แผ่นดินทองเอฟซี 5. โหระพาไร้สารพิษ 6. ผลไม้สด 7. เลี้ยงปลาทับทิม 302 8. นํ้าปั่นปันใจ 9. การขาย 6/2 10. ไข่นกกระทาอิ๊ลุ๊ 11. พวงผกาผักสด 12. สามปอยหลวง 13. สร้างรายได้ด้วยมือของเรา 14. ชามุข 304 15. ปลูกผัก 304 16. ก๋วยเตี๋ยวรัตนโกสินทร์ 17. หมูยอนึ่ง ม.5/6 18. ปลูกผักเลี้ยงปลา 19. ข้าวเหนียวหมูยอ 20. นมสดอนามัย 21. ข้าวไข่เจียวเพื่อนเรา 22. ร้านถ่ายเอกสาร 23. ติมปัง

60

จำ�นวนนักเรียน 4 20 10 3 14 6 37 4 6 4 50 58 40 37 37 60 32 4 7 15 40 6 5

ชื่อบริษัท 24. ลูกชิ้นปิ้งหอจันทร์ 25. เด็กดอยกาแฟ 26. การเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ 27. ธนาคารขยะ 28. กระเบื้องซีเมนต์คุณธรรม 29. เด็กดอยหัตถกรรม 30. เอ็นไก่ ไก่ไร้กระดูก 31. ภาพถ่ายสตูดิโอ 32. เด็กดอยคหกรรม 5/2 33. การเลี้ยงปลาดุกในกระชัง 34. ทรงบาดาลจำ�กัด 35. โฟโต้กราฟฟิก 36. รสเยี่ยม 37. EM 2/4 38. ปักษาสวรรค์ 2 39. ไก่โต้ง 40. ไก่จุงเบย 41. ปลาดุกคนครัว 42. แปรรูปผลผลิต 43. ถนอมอาหารคหกรรม 2/4 44. นํ้าเงี้ยวมหาราช 45. นมถั่วเหลือง

จำ�นวนนักเรียน 62 6 20 4 10 10 5 6 9 12 59 4 10 34 59 5 9 4 7 7 40 56

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตัวอย่างบริษัทจำ�ลอง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2558

ชื่อบริษัท 1. ปลูกผัก ปลา ไก่ 3/1 2. นํ้าพริกตาแดง 3. ผัดไทยมหาราช 4. นมถั่วเหลือง 5. ผัดหมี่ปักษา 1 6. ผัดหมี่ปักษา 2 7. หมูยอ 502 8. ส้มตำ� ม.6 9. อาหารสายโรงแรม ม.5/3 10. เลี้ยงปลาดุกคนครัว 11. 17 สหายสายศิลป์ 12. เลี้ยงปลาทับทิม ม.ปลาย 13. เลี้ยงปลาทับทิม ม.ต้น 14. ไก่เนื้อรวมใจ

จำ�นวนนักเรียน 37 10 57 57 58 58 13 5 16 4 17 11 10 5

ชื่อบริษัท 15. ยำ�ทรงบาดาล 16. ธนาคารขยะ 17. หัวใจม่วง 18. คอมแซนวิช 19. ต้นทานตะวันอ่อน 20. การเลี้ยงกบ 21. จิปาถะ 22. เด็กดอยกาแฟ 23. การผลิตกระเบื้อง 24. รัตนโกสินทร์ 25. เซเวนทีม 26. ร้านถ่ายเอกสาร 27. ไก่เนื้อพันธ์ุร๊อก

จำ�นวนนักเรียน 59 4 3 18 20 37 5 16 9 57 7 4 3

นอกเหนื อ จากการใช้ กิ จ กรรมบริ ษั ท จำ � ลอง ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ สู่ ค วามสำ � เร็ จ นั ก ธุ ร กิ จ น้ อ ยมี คุ ณ ธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์แล้ว โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ยังใช้วิธีการอีกหลายวิธี ดังนี้ 1. ให้นักเรียนไปฝึกประสบการณ์ตามความสนใจภายในจังหวัด เช่น การทำ�กระดาษสาหมู่บ้านต้นเปา การทำ� Packaging การต้องลาย โดยนักเรียนต้องทำ�รายงานส่งและนำ�กระบวนการที่ได้รับมาสอนน้องต่อ (พี่สอนน้อง) 2. มอบหมายให้นักเรียนดูงาน OTOP หมู่บ้าน นิทรรศการในโอกาสต่างๆ 3. สอนปฏิบัติจริง 4. การศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้นักเรียน 5. การศึกษาทางเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีโลกทัศน์และความรู้ที่กว้างขวางขึ้น

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

61


62

6. ให้นักเรียนฝึกงานในสถานประกอบการ 7. นำ�นักเรียนเผยแพร่ผลงานร่วมกับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ 8. มีการจัดจำ�หน่ายผลผลิตทั้งภายในและภายนอก 9. นักเรียนเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


บทบาทหน้าที่ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจ สร้างสรรค์กับการส่งเสริมการเรียนรู้งานอาชีพในโรงเรียนและโรงเรียนเครือข่าย ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2556 ตามการพิจารณาของสำ�นัก พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา เพื่อการขยายผลโครงการโดยความเห็นชอบ ของ สพฐ. โดยคัดเลือกจากโรงเรียนทีค่ รูในโรงเรียนมีผลงานวิจยั ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ และโรงเรียนที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ประสบความสำ�เร็จได้รับรางวัลระดับประเทศหรือต่างประเทศ ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีเป้าหมายเพื่อขยายแนวคิดของโครงการไปยังโรงเรียนอื่น ในการให้นกั เรียนมีเจตคติทดี่ ตี อ่ อาชีพอิสระ มีประสบการณ์การเป็นผูป้ ระกอบการ ตามวัยที่มีคุณธรรม สามารถคิดสร้างสรรค์ผลงานเชิงพาณิชย์ที่จำ�หน่ายได้ตาม สโลแกน “คิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น” โดยยึดมั่นคุณธรรม 5 ประการ ที่จะทำ�ให้ อาชีพการเป็นผู้ประกอบการหรือธุรกิจประสบความสำ�เร็จ คือ ความซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น และกตัญญู รู้จักรักษาทรัพย์สินทางปัญญาของตนเองและ ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น ซึ่งจะทำ�ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำ�คัญ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการบริหารจัดการและ การแก้ปญ ั หา ความสามารถในเรือ่ งทักษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นต้น ศูนย์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ สพฐ. คาดหวังให้มคี วามสามารถในด้านต่างๆ ได้แก่ สามารถสร้างศรัทธาแก่ผู้อื่น มีความรู้ความสามารถ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งฝึกปฏิบัติได้ และสามารถเชื่อมภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างความสำ�เร็จ และความเข้มแข็งของศูนย์อย่างต่อเนื่องยั่งยืนต่อไป

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

63


ในส่วนของศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่นั้น หลังจาก ผอ.สุมนต์ รับหลักการ และแนวทางดำ�เนินการจัดตัง้ ศูนย์ในทีป่ ระชุมแล้ว ได้กลับมาประชุมคณะครูเพือ่ หารือการทำ�งาน ในเบือ้ งต้นได้ปรับปรุง อาคารสถานที่ตั้งเป็นศูนย์เอกเทศเฉพาะสำ�หรับเป็นห้องแสดงผลงานทางวิชาการของโครงการและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ของโรงเรียน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาดูแลศูนย์แบบมีส่วนร่วม ดังผังโครงสร้าง

โครงสร้างการดำ�เนินงาน

ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

64

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตัวอย่างคำ�สั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการศูนย์แกนนำ�ฯ

คำ�สั่งโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ที่ 93/ 2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ....................................................................... ตามที่โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้รับคัดเลือกจากสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นโรงเรียนที่จัดตั้ง ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพือ่ ให้การดำ�เนินงาน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงขอแต่งตั้งบุคลากรดังรายชื่อต่อไปนี้เป็นคณะกรรมการ 1. นายสุมนต์ มอนไข่ ผู้อำ�นวยการ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ประธานศูนย์ 2. นายสมบัติ ศรีวรรณชัย ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ หัวหน้าศูนย์ 3. นางอุรี โยริยะ ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการ 4. นางชญานิศ กางนอก ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการ 5. นางอรุณี สันติคุณากร ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการ 6. นางนัยนา อุปกุล ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการ 7. นางสาวเอื้องไพร สุขพินิจ ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการ 8. นางสุภาณี ไชยศิริวงศ์สุข ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการ รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 กรรมการที่ปรึกษา 9. นายมงคล พุทธัง 10. นางศิรัญญา สุนทร เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว กรรมการที่ปรึกษา 11. นางเพลินพิศ ขันแก้ว ศึกษานิเทศก์ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 กรรมการที่ปรึกษา 12. นายศุภกร ศรีศักดา ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ กรรมการที่ปรึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงใหม่ 13. นางสุวรรณา ฉุยกลัด รองผู้อำ�นวยการ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการที่ปรึกษา 14. นางชวนชม บุญศิริ รองผู้อำ�นวยการ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการและเลขานุการ 15. นางชนันท์วิไล ธงเชื้อ ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 16. หัวหน้านักเรียนกลุ่มงานอาชีพในศูนย์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

สั่ง ณ วันที่ 25 เดือน พฤษภาคม 2559

ลงชื่อ (นายสุมนต์ มอนไข่) ผู้อำ�นวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

65


นายสมบัติ ศรีวรรณชัย ครูผู้รับผิดชอบโครงการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากโรงเรียนให้ทำ�หน้าที่หัวหน้าศูนย์ แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ของโรงเรียน เล่าว่า “...หลังจากการจัดตัง้ ศูนย์ฯ ภายในโรงเรียนเรียบร้อยแล้ว ผอ.สุมนต์ ในฐานะประธานศูนย์เครือข่ายของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ 17 จังหวัด ภาคเหนือ มีนโยบายให้ประชาสัมพันธ์และเปิดรับสมัครโรงเรียนเครือข่ายภาคเหนือดังกล่าวเข้าโครงการ ผอ.สุมนต์ ได้มอบหมายให้ผมนำ�เสนอข้อมูลโครงการให้ผู้บริหารในที่ประชุมได้รับทราบ ปรากฎว่าได้รับเสียงตอบรับจาก ผู้บริหารโรงเรียนจำ�นวนมาก มีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนเด็กพิการศรีสังวาลย์ โรงเรียนโสตอนุสารสุนทร โรงเรียนกาวิละอนุกูล ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนเด็กตาบอดภาคเหนือ สมัครเข้าเป็นเครือข่าย เพื่อรับการพัฒนาถึง 21 โรงเรียน ลำ�ดับต่อมา โรงเรียนจึงได้กำ�หนดแผนการเปิดศูนย์ฯ ในวันที่ 28 สิงหาคม 2556 พร้อมทัง้ เริม่ ทำ�หน้าทีศ่ นู ย์ฯ โดยการจัดอบรมให้ครูโรงเรียนเครือข่าย ทัง้ 21 โรงเรียน โรงเรียนละ 3 คน รวม 63 คน โดยแต่งตัง้ บุคลากรในโรงเรียนเป็นคณะทำ�งาน ได้มีการกำ�หนดเนื้อหาสาระการอบรม เริ่มต้นตั้งแต่การสร้างความรู้ ความเข้าใจ หลักการ แนวคิดการดำ�เนินงานโครงการ การนำ�หลักการโครงการสูห่ ลักสูตร การจัดการเรียนรูเ้ พือ่ ให้เกิดผลเชิงประจักษ์ แก่นักเรียน พร้อมทั้งสร้างแรงบันดาลใจให้กับครูผู้เข้ารับการอบรม และทำ�พิธีเปิดศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการ นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่อย่างเป็นทางการ โดยเชิญ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 เป็นประธานในพิธดี งั กล่าว ในปีตอ่ มาคือ ปี 2557 ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายฯ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้จัดอบรมโรงเรียนเครือข่ายเพิ่มเติม เรื่อง การพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์ โดยเชิญผูช้ �ำ นาญการภายนอกมาเป็นวิทยากร ปรากฎว่าครูให้ความสนใจมาก จากการติดตามผล การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ของโรงเรียนเครือข่ายพบว่า มีการพัฒนาดีขึ้นมาก...” จะเห็นได้ว่า ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายฯ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่เริ่มที่การพัฒนาโรงเรียน เครือข่ายภายนอกก่อน อาจารย์สมบัติ กล่าวว่า “...ในปี 2558 เมื่อครูที่สอนงานอาชีพในโรงเรียนเริ่มคิดตรงกัน จึงได้จัดอบรมให้แก่ ครูภายในโรงเรียน ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มทุกสาระวิชา หัวหน้าสายชั้นระดับประถมศึกษา เพื่อนำ�ไปขยายผลให้ครู ป.1-ป.6 ที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีดำ�เนินการต่อ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ม.ต้น-ม.ปลาย ทุกคนที่เข้าร่วมประชุมตกลงกันว่า ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้น ป.4-ม.6 ให้นำ�หลักการ เนื้อหา สาระสำ�คัญของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ เพิ่มเติมในรายวิชาของตนในช่วง การประชุมครั้งนั้น คนละ 1 รายวิชา และโรงเรียนมีนโยบายให้นำ�ไปปรับทุกรายวิชางานอาชีพที่ครูแต่ละคนรับผิดชอบ ผู้มีบทบาทสำ�คัญคือผู้อำ�นวยการโรงเรียน รองผู้อำ�นวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ คือ รองผู้อำ�นวยการชวนชม บุญศิริ และ อาจารย์อรุณี สันติคุณากร หัวหน้ากลุ่มหลักสูตร มีผมเป็นหลักในการให้ข้อมูลโครงการ การดำ�เนินการครั้งนี้ ทุกคนเข้าใจตรงกันว่า การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ เมือ่ ลงทุนไปแล้ว จะต้องได้ผลผลิตทีส่ ร้างรายได้ทงั้ หมด การประชุมครั้งนี้ได้มีการตีพิมพ์รายวิชา ม.ต้น ของโรงเรียนออกเผยแพร่ด้วย...” 66

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ในปี 2558 นี้ นอกจากมีการอบรมหลักการ แนวคิดโครงการ นักธุรกิจน้อยฯ เพื่อลงสู่หลักสูตรภายในโรงเรียนแล้ว ศูนย์ฯ ยังจัดการ อบรมเปิดฐานการเรียนรู้อาชีพในโรงเรียน 17 ฐาน โดยใช้วิทยากร ภู มิ ปั ญ ญา ที่ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ดี ใ นชุ ม ชนเข้ า มาช่ ว ยอบรมให้ ค รู แ ละ นั ก เรี ย น มี ก ารนิ เ ทศภายในแบบกั ล ยาณมิ ต ร พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ในโรงเรียน ทำ�เอกสาร แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ จัดทำ�โครงการ จิตอาสา ถ่ายทอดความรู้งานอาชีพให้โรงเรียนห่างไกลตามตะเข็บ ประชุมอบรมขยายผลในโรงเรียน ชายแดน เช่น โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดน เช่ น การทำ � กระเบื้ อ งซี เ มนต์ งานประดิ ษ ฐ์ การแปรรู ป ผลผลิ ต ทางการเกษตร เป็นต้น พร้อมทั้งพานักเรียนไปเพิ่มประสบการณ์ ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฝึกทักษะด้านธุรกิจ ตามสถานประกอบการต่างๆ ด้วยการดำ�เนินงานนำ�โครงการนักธุรกิจน้อยฯ ลงสูห่ ลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ทั้งระบบของโรงเรียน มีผลให้ครูทุกกลุ่มสาระ การเรียนรูแ้ ละครูผสู้ อนงานอาชีพ มีความรูค้ วามสามารถ เป็นวิทยากร ได้จำ�นวนมาก ในการนิเทศติดตามผลโรงเรียนเครือข่ายแต่ละครั้ง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่จึงมีการทำ�งาน เป็นทีม อาจารย์สมบัติ กล่าวว่า “...แต่กอ่ นเมือ่ เริม่ เข้าโครงการ บางครัง้ ท้อใจ ทำ�งานคนเดียว เพือ่ นร่วมงานไม่เข้าใจ เดีย๋ วนี้ มีความสุข เพราะทุกคนคุยในเรื่องเดียวกันได้ ไปนิเทศโรงเรียนเครือข่าย ก็ไปเป็นทีม ผู้อำ�นวยการโรงเรียนก็อนุเคราะห์ ให้ใช้รถไปทำ�งาน พอไปถึงโรงเรียน เราก็แบ่งหน้าทีก่ นั เช่น ฝ่ายนิเทศหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ก็แบ่งหน้าทีก่ นั ไป ตัวผมก็จะดูเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น...” การดำ � เนิ น งานของศู น ย์ แ กนนำ � ขยายเครื อ ข่ า ยฯ โรงเรี ย นศึ ก ษาสงเคราะห์ เชี ย งใหม่ อาจารย์ ส มบั ติ กล่าวเพิ่มเติมว่า “...ผมได้มีการจัดทำ�แผนปฏิบัติงานระยะ 5 ปี ในรูปแบบ Four Blocks ตามที่สำ�นักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษา สพฐ. ให้ความรู้ เป็นการเขียนแผนแบบง่ายๆ ซึ่งจะเห็นสภาพการทำ�งานของศูนย์ฯ ปัญหา อุปสรรค แผนการทำ�งาน และการกำ�หนดระยะเวลาการทำ�งาน ทำ�ให้ศูนย์ฯ สามารถดำ�เนินงานได้อย่างมีทิศทางมากขึ้น...” รายละเอียดดังภาคผนวก ข เมื่อพิจารณาถึงข้อมูลข้างต้น จะเห็นว่า ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้ทำ�หน้าที่ของตนเป็นอย่างดียิ่ง พร้อมทั้งเป็นส่วน สำ�คัญในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้งานอาชีพ ด้วยการฝึกประสบการณ์ทางธุรกิจให้นักเรียน เป็นสถานที่อบรม เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงานของหน่วยงานภายนอกที่สนใจ และทำ�หน้าที่ประชาสัมพันธ์ผลสำ�เร็จของโรงเรียน ได้เป็นอย่างดี ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

67


ประชุมอบรมขยายผลโรงเรียนเครือข่าย

68

นิเทศโรงเรียนเครือข่าย

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


สะท้อนคิดความสำ�เร็จ การขับเคลือ่ นหลักการโครงการนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เชียงใหม่ เป็นการหนุนเสริมด้วยกลิ่นไอของความเป็นผู้ให้โอกาสที่ดีกับนักเรียน ควบคู่กับการจัดการความรู้ ที่มุ่งให้ เห็นถึงการทำ�งานเป็นทีม เรียนรู้ไปด้วยกัน แบ่งปันความรู้ระหว่างกัน ยอมรับกัน นำ�มาซึ่งความสำ�เร็จที่หลากหลาย ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นความสำ�เร็จที่แตกต่างไปจากเดิม

การจัดการเรียนรู้

แต่เดิม ครูผู้สอนแต่ละรายวิชาต่างคนต่างสอนในรายวิชาของตนเอง เช่น กลุ่มเกษตรกรรมสอนเรื่อง การปลูกผักต่างๆ กลุ่มคหกรรมสอนเรื่องกระบวนการผลิต นักเรียนสามารถทำ�เป็น มีทักษะการปฏิบัติงานที่ดี แต่ไม่มีการสอนเรื่องการบัญชี การตลาด การคิดคำ�นวณต้นทุน กำ�ไร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ปัจจุบัน ครูผู้สอนแต่ละรายวิชาเพิ่มการพัฒนานักเรียนตามหลักการโครงการนักธุรกิจน้อยฯ 4 ประการ ลงในรายวิชาที่เปิดสอน ได้แก่ 1) การเป็นผู้ประกอบการหรือการทำ�ธุรกิจ (คิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น) 2) คุณธรรมสู่ ความสำ�เร็จการเป็นผู้ประกอบการ (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู) 3) ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้ขายได้เชิงพาณิชย์ และ 4) ทรัพย์สินทางปัญญา ทำ�ให้นักเรียนที่เรียนรายวิชาเพิ่มเติมต่างๆ มีทักษะที่จำ�เป็นในการ ประกอบอาชีพธุรกิจครบถ้วน การดำ�เนินงานตามหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ทำ�ให้ครูผสู้ อนเห็นภาพเป้าหมาย การจัดการเรียนการสอนงานอาชีพเชิงธุรกิจ ในรูปแบบของโครงการตลอดแนว ทำ�ให้มกี ารสอนเชิงบูรณาการ ปรับกิจกรรม การเรียนรูใ้ ห้สอดคล้องกับรายวิชาทีพ่ ฒ ั นาขึน้ โดยนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรับลงในการทำ�งานของนักเรียน มี ผ ลให้ นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะการคิ ด ทั ก ษะการทำ � งาน ทั ก ษะชี วิ ต มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต่ อ อาชี พ อิ ส ระ ที่ ส ามารถนำ � ไปใช้ ในชีวิตจริงได้มากขึ้น

การจัดการผลผลิต

ที่ผ่านมา การจัดจำ�หน่าย เป็นเพียงการดำ�เนินงานของครูผู้สอนเท่านั้น เช่น จำ�หน่ายให้แก่โรงเรียน ในเทศกาลสำ�คัญหรือปลูกผักส่งให้โรงอาหารของโรงเรียน เหลือก็แจกในโรงเรียน เมือ่ โรงเรียนไม่มคี วามต้องการ ผลผลิต จึงถูกทิ้งขว้างโดยไร้ประโยชน์ ผลผลิตไม่สร้างรายได้ให้นักเรียน ปัจจุบัน ทิศทางการจัดการเรียนการสอนเริ่มมุ่งเน้นให้เกิดรายได้มากขึ้น ครูพานักเรียนคิดเรื่องผลลัพธ์ การผลิตที่ตอบสนองตลาด ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีรูปแบบสร้างสรรค์ใหม่ๆ ไม่เหมือนงานในท้องตลาด สามารถขายได้ แล้วจึงจัดกระบวนการเรียนรู้สู่เป้าหมายตามหลักวิชาการและหลักคุณธรรม เช่น การสอนให้นักเรียนคิดเรื่องการเลี้ยง

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

69


ปลาดุก ปลาทับทิม ครูจะให้นักเรียนสังเกตตลาดว่าช่วงใดปลาขายได้ราคาดี แล้วจะมีวิธีการใดที่จะทำ�ได้ในจุดนั้น แล้วให้ความรู้ทางทฤษฎี ลงสู่การปฏิบัติจริง ทั้งมีการให้รุ่นพี่ที่มีประสบการณ์สอนน้องต่อกันเป็นรุ่นๆ ในการ ดำ�เนินการผลิต มีการรวมกลุ่มกันทำ�ในรูปแบบธุรกิจบริษัทจำ�ลอง ฝึกประสบการณ์ให้นักเรียนเลี้ยงปลาเชิงพาณิชย์ งานประดิษฐ์ ครูจะตัง้ เป้าหมาย โดยให้นกั เรียนพัฒนาชิน้ งานให้แปลกใหม่อยูเ่ สมอ ให้เป็นทีส่ นใจของลูกค้า แล้วจัดระบบ กระบวนการเรียนรู้สู่เป้าหมาย แผนกตัดเย็บ ครูจะเน้นการฝึกทักษะนักเรียนให้ปฏิบัติจริงจนเกิดความชำ�นาญ มีฝีมือ ประณีต ออกแบบ พัฒนาให้ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มวัยต่างๆ ให้สามารถจำ�หน่ายได้

ทิศทางการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ

เมื่อก่อน จัดการเรียนการสอนแบบแยกส่วน ครูทำ�โครงการของบประมาณจากโรงเรียนเป็นรายปี เปิดสอน เฉพาะวิชาที่ตนเองเรียนจบมาเท่านั้น ปัจจุบัน แนวทางในการจัดการเรียนรู้งานอาชีพของครูเปลี่ยนไป จากการสอนงานอาชีพธรรมดา มุ่งเน้นให้ นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจในการประกอบอาชีพ เป็นการสอนงานอาชีพเชิงธุรกิจ มุง่ เน้นให้นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจ ทัง้ ระบบ และสามารถฝึกประสบการณ์การประกอบอาชีพธุรกิจได้จริง เช่น โครงการเลีย้ งกบเปลีย่ นเป็นโครงการเลีย้ งกบ เชิงพาณิชย์ เป็นต้น

ทิศทางการผลิตสินค้า

ที่ผ่านมา ครูผู้สอนมีผลผลิตที่ต่างคนต่างทำ� มีตราสินค้าต่างๆ นานา บรรจุภัณฑ์หลายรูปแบบ ปัจจุบัน นำ�สินค้าที่มีความหลากหลายเหล่านั้นมารวมเป็นตราสินค้าเดียวกัน ในชื่อ “เด็กดอย (Dekdoi Product)” ทำ�ให้เป็นองค์กรทางธุรกิจที่มีบริษัทจำ�ลอง นักเรียนเรียนรู้เรื่องการจดทะเบียนตามกระบวนการทางธุรกิจ โรงเรียนมีการจดทะเบียนบริษัทจำ�ลองมากกว่า 60 บริษัท ผลิตสินค้าได้นับร้อยรายการ ทำ�ให้นักเรียนได้เรียนรู้ ระบบธุรกิจที่ลดความเสี่ยงต่อการขาดทุน มีการพัฒนาคุณภาพสินค้าให้มีคุณภาพและตรงกับความต้องการของตลาด ทำ�ให้จำ�หน่ายได้ราคาดี ให้ความสำ�คัญกับบรรจุภัณฑ์ การเขียนเรื่องราวสินค้าเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า การขายทาง E-Commerce

คุณธรรมและคุณลักษณะนิสัยของนักเรียน

เมื่อก่อน โรงเรียนเน้นให้นักเรียนมีคุณลักษณะนิสัยที่ดีในการทำ�งาน ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบ ในการทำ�งาน ปัจจุบัน นำ�หลักการโครงการนักธุรกิจน้อยฯ มาใช้ นักเรียนมีคุณลักษณะนิสัยที่ดีในการทำ�งานและเน้น คุณธรรมสู่ความสำ�เร็จในการประกอบอาชีพธุรกิจ 5 ประการ ได้แก่ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่น กตัญญู เป็นคุณธรรม ที่ ทำ � ให้ นั ก เรี ย นประสบผลสำ � เร็ จ ในการประกอบอาชี พ ธุ ร กิ จ รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาสิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น ใหม่ และไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น 70

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ระบบเงินทุนหมุนเวียน

เมื่อก่อน มีการกู้ยืมเงิน สอร. ไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน แต่ไม่สามารถนำ�เงินทุนมาคืนได้ ทำ�ให้เงิน สอร. ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน เงินทุนหมุนเวียนของ สอร. เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีระบบการรายงานโครงการ การนิเทศ ติดตาม การควบคุมการผลิต ลดความเสี่ยง มีข้อตกลงในการคืนต้นทุน การลงทุน และการแบ่งปันผลกำ�ไรที่ยอมรับได้ นอกจากนี้ยังมีการระดมทุนอื่นๆ อีก

บทบาทของครูผู้สอน

ในอดีต ครูมีความเป็นอิสระทางการสอนแบบต่างคนต่างทำ� ต่างคนต่างสอน ครูมีหน้าที่สอนให้เสร็จสิ้น ตามเป้าหมายในรายวิชา แต่ไม่ได้คำ�นึงว่านักเรียนจะนำ�ความรู้ที่ครูสอนไปใช้ทำ�อะไรได้บ้าง ปัจจุบัน ครูยังคงมีความอิสระ แต่มีเป้าหมายที่ชัดเจน ยึดเป้าหมายที่เกิดกับผู้เรียนเป็นหลัก ครูปรับเปลี่ยน บทบาทจากผู้สอน เพิ่มบทบาทเป็นที่ปรึกษาโครงการอาชีพของนักเรียน โดยให้นักเรียนเป็นผู้กำ�หนดความต้องการ เรียนรู้ด้วยตนเอง นักเรียนเปลี่ยนบทบาทจากผู้ปฏิบัติตามเป็นผู้นำ�ทางความคิด และลงมือสร้างผลิตภัณฑ์ด้วยตนเอง ร้อยละ 99 ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด มีบริษัทจำ�ลองที่เป็นการสร้างประสบการณ์ทางธุรกิจของตนเอง

แนวคิดของผู้ปกครอง

ผู้ปกครองคนที่ 1 กล่าวว่า “ลูกสาวผมมีแนวคิดว่า ถ้าจบ ม.6 จะไม่เรียนต่อ แต่จะไปทำ�ธุรกิจ Home Stay ที่หมู่บ้านและจำ�หน่ายผลผลิตของครอบครัว การที่โรงเรียนสอนลูกสาวผมให้เรียนรู้การประกอบอาชีพ ทำ�ให้เขา มองเห็นแนวทางการประกอบอาชีพ และสามารถกำ�หนดเป้าหมายชีวิตของเขาได้” ผู้ปกครองคนที่ 2 กล่าวว่า “บ้านผมอยู่อำ�เภอแม่วาง ประกอบอาชีพการเกษตร ผมชื่นชมและดีใจ ที่โรงเรียนสอนให้ลูกผมรู้จักการประกอบอาชีพ ลูกสาวผมเรียนวิชาการโรงแรมจบแล้ว ได้วุฒิ ปวช. กับ ม.6 ลูกสาวผม บอกว่าถ้าเขาเรียนจบ เขาจะมาทำ�ร้านอาหาร และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่บ้าน เพราะแม่วางเป็นแหล่งท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวเข้ามาชมธรรมชาติจำ�นวนมาก” ผูป้ กครองคนที่ 3 กล่าวว่า “ผมมีความพึงพอใจทีล่ กู สาวได้เรียนสาขาวิชาการโรงแรม เพราะได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับอาชีพ มากขึน้ ก่อนจะออกไปทำ�งาน ในการเรียนด้านงานอาชีพทำ�ให้ลกู สาวผมมีความรู้ มีประสบการณ์ สามารถประกอบอาชีพ เลี้ยงตัวเองได้ นอกจากนี้ลูกยังได้นำ�ความรู้ที่ได้ไปช่วยเหลือผู้อื่น มีนํ้าใจแบ่งปัน และมีรายได้ระหว่างเรียน”

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

71


ความคิดเห็นและความรู้สึกของนักเรียน

จากปณิธานอันแรงกล้าของครูในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ที่ทุ่มเทกำ�ลังกายและภูมิความรู้ที่สั่งสม มาถ่ายทอดสู่เด็กน้อยที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร ผ่านโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส่งผลให้ พวกเขามีองค์ความรู้ สามารถหารายได้ระหว่างเรียน และนำ�ไปสูก่ ารประกอบอาชีพในอนาคต และจากนีค้ อื ประมวลคำ� ข้อความ หรือประโยค ที่กลั่นออกมาจากความรู้สึกของเด็กน้อย ที่ไม่ด้อยโอกาสทางการศึกษาอีกต่อไป “หนูเป็นตัวแทนนักเรียนไปอบรมเกี่ยวกับโครงการนักธุรกิจน้อยฯ เขาสอนให้เรารู้จักคิดเป็น ท�ำได้ ขายเป็น และไม่เน้นก�ำไร ยังสอนให้เรารู้จักการออกแบบสินค้าจากที่มีอยู่แล้ว โดยน�ำมาดัดแปลงให้สินค้าดูแปลกใหม่ และน่าสนใจมากขึ้น ท�ำให้หนูมีวิชาติดตัวไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และสินค้าที่ผลิตมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของท้องตลาด และสามารถขายสินค้าทางระบบออนไลน์ได้ มุมมองการเป็นนักธุรกิจของหนู จะพัฒนาสินค้าทีเ่ ราผลิตให้ดขี นึ้ และต้อง ไม่หยุดการพัฒนาสินค้า เพื่อจะได้มีสินค้าแปลกใหม่อยู่เสมอ ส�ำรวจดูว่าตามท้องตลาดนิยมหรือไม่ มีสินค้าอะไร เราก็จะผลิตสินค้าที่มีคุณภาพออกจ�ำหน่าย สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว” และกล่าวต่อว่า “หนู มี วิ ช าชี พ ติ ด ตั ว ไปตลอดชี วิ ต และได้ มี วิ ช าชี พ เป็ น นายของตั ว เอง ไม่ ต ้ อ งไปเป็ น ลู ก จ้า งของใคร สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว ไม่ต้องเป็นหนี้สิน ถึงอาชีพค้าขายเหมือนหาเช้ากินค�่ำ หรือดูว่าจะได้เงินยากล�ำบาก กว่าจะได้เงินทองมาแต่ละบาท แต่อาชีพค้าขายก็เป็นอาชีพที่สร้างรายได้ ท�ำให้ครอบครัวมีความสุขได้ แม้ต้องเหนื่อย ก็ตาม” (น.ส.ปวีณา เมอแหล่) “หนูได้เข้ามาเรียนที่โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ทำ�งานอาชีพ คือ การนวดสปา และได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ซึ่งหนูมีความหวังว่า หนูคงจะได้ความรู้จากโครงการนี้ ไม่มากก็น้อย หนูท่องอยู่เสมอว่า “ไม่ได้เงินก็ได้ความรู้ ไม่ได้ความรู้ก็ได้ประสบการณ์ ไม่ได้ประสบการณ์ก็ได้แนวคิด” หนูคิดว่ามันสามารถนำ�มาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันเราได้ การที่ได้ทำ�งานหรือเรียนรู้ในโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ทำ�ให้หนู มีการพัฒนาตนเองด้านความคิด คือ มีความคิดที่เป็นผู้ใหญ่ หรือเรียกสั้นๆ ง่ายๆ ว่า คิดเป็น คำ�ว่า “คิดเป็น” ในที่นี้ หมายถึง เรามีความคิดที่ไม่ใช่เด็ก มีความคิดที่ก้าวไกล มองอนาคตข้างหน้า รู้จักการวางแผนชีวิต โครงการนี้ไม่ได้สอน ให้คิดเป็นอย่างเดียว แต่ยังสอนให้ทำ�เป็นด้วย คนเราถึงแม้จะมีความคิดดีแค่ไหน หากได้แต่คิดแล้วไม่ลงมือปฏิบัติ ความฝันหรือจุดมุ่งหมายก็ไม่เป็นจริง ไม่ประสบความสำ�เร็จในชีวิต เพราะฉะนั้นคนที่ประสบความสำ�เร็จในชีวิตได้นั้น ต้องคิดเป็น ทำ�เป็น กล้าเผชิญปัญหา ทำ�อะไรด้วยใจ มองโลกในแง่บวกเสมอ หนูวางแผนอนาคตว่า ถ้าหนูเรียนจบแล้ว ไม่มีงานทำ� หนูจะกลับไปปลูกผักขายที่บ้าน โดยจะไม่ขายให้พ่อค้าคนกลางเพราะเราจะเสียเปรียบ หนูจะผลิต พืชผักปลอดสารพิษบรรจุใส่บรรจุภัณฑ์ที่น่ารัก สวยงาม ลงมาขายในเมือง โดยการขายแบบนี้เป็นการยกระดับ คุณภาพสินค้าให้มีราคาสูงขึ้น ในอนาคตข้างหน้า ถ้าหนูมีงบประมาณมากพอ หนูจะทำ�ธุรกิจส่วนตัว คือ ทำ�รีสอร์ท เชิงอนุรักษ์ ไม่ตัดไม้ทำ�ลายป่า อนุรักษ์ต้นนํ้า ธรรมชาติในหมู่บ้าน หนูจะฝึกให้ลูกน้องนวดสปาเป็น เพื่อให้บริการ แก่ลูกค้าค่ะ” (ด.ญ.กัญญาวีร์ ลาเซอร์)

72

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


“วิธีการพัฒนาตนเองของหนู ก็คือการผลิตขนมกลีบลำ�ดวน แล้วหนูก็จะนำ�ไปให้คนอื่นๆ ชิม แล้วถามเขาว่า หนูทำ�ขนมอร่อยไหม ต้องปรับปรุงแก้ไขอะไรบ้าง อย่างไร แล้วหนูก็นำ�คำ�แนะนำ�ที่ได้ไปพัฒนาตนเอง หนูวางแผน อนาคตไว้ว่า หนูอยากเป็นนักธุรกิจและมีกิจการเป็นของตนเอง ไม่ต้องพึ่งใคร และอีกอย่างหนึ่ง คือ มันเป็นอาชีพสุจริต ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัว และเป็นการรักษาวัฒนธรรมไทยด้วยค่ะ เพราะขนมกลีบลำ�ดวนเป็นขนมไทย” (ด.ญ.อรเพชร โชคธัญพัฒน์) “ในความคิดของผม งานอาชีพที่ผมได้เรียนรู้ลงมือทำ�จริง ทำ�ให้ผมรู้สึกมีความสุขกับงาน รู้สึกว่าเป็นผู้ใหญ่ และทำ�ให้ผมทำ�งานอย่างเป็นระบบ มีสติปัญญา รู้จักความสามัคคี ทำ�งานร่วมกับผู้อื่น รับฟังความคิดเห็นผู้ใหญ่ และเสียงส่วนมากในการทำ�งาน ไม่ทอ้ ไม่ถอย สูง้ าน ไม่เห็นแก่ตวั ไม่ยดึ หลักของตน รูจ้ กั ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ในการทำ�งานร่วมกัน ซึ่งทำ�ให้ผมได้เรียนรู้การทำ�งานต่างๆ ไม่ดูถูกงานอาชีพของตนว่าไม่ดี ซึ่งงานอาชีพเรานั้นจะเป็นผลดีต่อสังคม คือ สังคมนั้นยอมรับอาชีพสุจริตของเราได้ และเราไม่ได้เป็นภาระของบุคคลอื่นและสังคมในประเทศ ผมเรียนอยู่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และได้เข้าร่วมโครงการเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง การเลี้ยงปลาทับทิมในครั้งนี้ ต้องเป็นคน ที่มีประสบการณ์เลี้ยงปลาดุกในกระชังมาก่อน ซึ่งผมก็มีประสบการณ์ดังกล่าว ผมจึงสนใจที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยง ปลาทับทิมในกระชัง โดยรวมกลุ่มกับเพื่อนและรุ่นพี่ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเขียนโครงการกู้เงินของโครงการ สอร. จากธนาคารโรงเรียน เพือ่ นำ�ไปซือ้ พันธ์ปุ ลา อาหารปลา และวัสดุ อุปกรณ์ทจี่ �ำ เป็น ผมลงหุน้ ของบริษทั เลีย้ งปลาในกระชัง จำ�นวน 1,000 บาท ผมมีความหวังว่า เมื่อเราเลี้ยงปลา 6 เดือน เราต้องได้กำ�ไรมากกว่า 60,000 บาท ซึ่งมันก็เป็นจริง เมื่อเราเลี้ยงปลาครบ 6 เดือน ปรากฎว่า เราทะลุเป้าหมายของกลุ่มเลี้ยงปลาทับทิม ผมดีใจมากที่ผมประสบความสำ�เร็จ คงเป็นเพราะความรับผิดชอบในการทำ�งาน เราแบ่งหน้าทีก่ นั ดูแลปลาทับทิมระหว่างรุน่ พีก่ บั รุน่ น้องกันคนละหนึง่ เดือน และการเรียนรูใ้ นธรรมชาติของปลาทับทิมว่าพืน้ ทีบ่ อ่ ต้องเป็นพืน้ ทีท่ รี่ ะบายนํา้ ได้ตลอดเวลา และนํา้ ในบ่อต้องมีคา ่ ph7 ไม่เป็นกรด-เบส จนเกินไป ทำ�ให้ผมได้พัฒนาในด้านต่างๆ เช่น ด้านความคิด กระบวนการทำ�งานที่เป็นระบบ ผมมีความรู้ในการจัดการต้นทุน กำ�ไร ได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งเราสามารถนำ�กระบวนการเรียนรู้งานอาชีพของโครงการ นักธุรกิจน้อยฯ ในโรงเรียนไปประกอบอาชีพของตนได้ในอนาคต นำ�ไปสูก่ ารมีรายได้ของครอบครัว และจะเป็นแรงผลักดัน ด้านเศรษฐกิจของสังคม และยังทำ�ให้บุคคลอื่นๆ ในสังคมยอมรับในตัวเรา อีกอาชีพหนึ่งที่ผมได้เข้าร่วม คือ การปักผ้า ชาวเขา ผู้คนส่วนใหญ่มักพูดว่าเป็นงานของผู้หญิงเท่านั้น แต่มันไม่ใช่เลยที่ผู้หญิงจะปักผ้าเป็นเพียงฝ่ายเดียว ผู้ชาย ก็สามารถปักผ้าได้ งานนี้ฝึกให้เรามีสติในการทำ�งานมากขึ้น และงานนี้ก็เป็นพื้นฐานในการซ่อมแซมเสื้อผ้าของเรา ผมรู้สึกภูมิใจมากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ผลิตภัณฑ์ และได้รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่ อ คราวเสด็ จ เยี่ ย มโรงเรี ย นของเรา และท่ า นได้ นำ � ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชิ้ น งานต่ า งๆ ของโรงเรี ย น ส่ ง เข้ า ร้ า นภู ฟ้ า ” (ด.ช.พงษ์ศักดิ์ เส่งหล้า) ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

73


“ตั้งแต่ได้เข้าโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ทำ�ให้หนูได้เรียนรู้ ได้ลงมือปฏิบัติ มีความอดทนและกล้าแสดงออก มากขึ้น สามารถเอาความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพที่สุจริต ไม่คดโกงใคร ทำ�ให้สังคมไม่เดือดร้อน รู้จักแบ่งเวลา มีการวางแผนอนาคต สามารถบริหารงาน บริหารการเงินของตัวเอง และบริหารทรัพยากรได้” (น.ส.ขวัญจิรา ยังชีพสุจริต) “หนูมั่นใจว่าโครงการนักธุรกิจน้อยฯ จะทำ�ให้หนูมีความกล้าคิด กล้าผลิตสินค้าที่เป็นของตนเองออกมา นำ�ไปจดลิขสิทธิ์ เป็นของตนเอง และสามารถทำ�ธุรกิจส่วนตัว เพื่อแบ่งเบาภาระของครอบครัว” (น.ส.ชลดา สงศิลาวัต) “หนู มี มุ ม มองการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ของตนเอง มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ทั น สมั ย แตกต่ า งจากสิ น ค้ า เดิ ม ให้ดูมีราคามากขึ้น จึงอยากให้โครงการนี้ดำ�เนินต่อไป เพื่อรุ่นหลังได้ศึกษาและต่อยอดจากรุ่นก่อน ในการพัฒนาสินค้า แปลกๆ ใหม่ๆ ขึ้นมา ทำ�ให้ทุกคนรู้จักคิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น จะได้นำ�ไปใช้ในอนาคตข้างหน้าหลังจากจบการศึกษา” (น.ส.ชลดา สงศิลาวัต) “ตอนเริ่มต้นที่เข้าโครงการนักธุรกิจน้อยฯ หนูหวังว่าต้องได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำ�ธุรกิจ การขายของ การบริหารงาน การทำ�อาชีพที่สุจริตเป็นของตัวเอง และมีความกล้าแสดงออก ได้ทำ�ตามที่ตั้งใจไว้ ตั้งแต่เข้ามา ในโครงการ หนูรู้สึกว่าตัวเองมีการพัฒนาในการทำ�งาน เช่น เมื่อก่อนทำ�ขนมไม่เป็น ทำ�งานไม่เป็น ไม่มีความรับผิดชอบ โครงการนี้ทำ�ให้หนูเปลี่ยนแปลงตัวเอง มีความรับผิดชอบมากขึ้น เรียนรู้งาน ได้ทำ�ในสิ่งที่ไม่เคยทำ� มีความคิด รู้จักการ วางแผนงานในอนาคต คือ หนูฝันว่าอยากมีร้านกาแฟและร้านขนมเล็กๆ เป็นการวางแผนในการใช้ชีวิตในวันข้างหน้า” (ด.ญ.ณิชญาดา ธิมาเรือง) “หนูได้เข้ากลุม่ อาชีพเด็กดอยสปา ซึง่ เริม่ ต้นมีครูจากโรงเรียน International Thai Massage มาสอนพวกหนู 3 เดือน จะมา 1 ครั้ง ในวันเสาร์และอาทิตย์ หนูมีความตั้งใจในการเรียนอย่างมาก ถึงจะสื่อสารกันไม่ค่อยเข้าใจ แต่ ห นู ก็ มี ค วามพยายาม เมื่ อ เรี ย นแล้ ว หนู ก็ จ ะมาฝึ ก นวดที่ ห้ อ งเด็ ก ดอยสปาทุ ก ๆ วั น หลั ง เลิ ก เรี ย นตอนเย็ น เพือ่ เตรียมความพร้อมในการสอบและรับใบประกาศนียบัตร ใบประกอบวิชาชีพตามหลักสูตรกำ�หนด คือ การนวดฝ่าเท้า 80 ชั่วโมง และการนวดตัว 120 ชั่วโมง ส่วนเรื่องสมุนไพร คุณครูสุภาวดี ชุมสวัสดิ์ เป็นผู้สอนในโครงการนักธุรกิจน้อยฯ สมุนไพรที่หนูผลิตขึ้นมา ก็ได้แก่ สมุนไพรดับกลิ่น สมุนไพรสูดดม ลูกประคบอบแห้ง ซึ่งหนูได้ประยุกต์มาจาก ลูกประคบสด เพราะลูกประคบสดจะอยู่ได้ไม่นาน เมื่ออบแห้งแล้วจะอยู่ได้ประมาณ 2-3 เดือน พออยู่ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 หนูได้รับคัดเลือกให้เป็นหัวหน้ากลุ่มงานอาชีพเด็กดอยสปา หัวหน้านักเรียนทุนโครงการหลวง และได้นำ�เสนอ เกี่ยวกับกลุ่มงานอาชีพเด็กดอยสปาและเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หนูได้รับคัดเลือกเป็นประธาน โครงการตามรอยพระยุคลบาท เพือ่ เรียนรูง้ านโครงการหลวง ส่งผลให้ได้รบั คัดเลือกเป็นเยาวชนดีเด่นด้านเศรษฐกิจพอเพียง และการออม ในงานสัมมนาโครงการหลวง และที่เป็นความฝันอันสูงสุดของหนูตั้งแต่เด็ก ก็คือการเป็นแพทย์แผนไทย ที่บางคนมองว่าเป็นอาชีพที่ต้อยตํ่า แต่ในความเป็นจริงเป็นอาชีพที่สุจริต ไม่เบียดเบียนใคร และตอนนี้หนูก็ประสบ ความสำ�เร็จเบือ้ งต้นตามความฝันของหนู คือ หนูสอบเข้าเรียนต่อคณะแพทย์แผนไทย ทีม่ หาวิทยาราชภัฏเชียงราย ได้แล้ว เป็นความภาคภูมิใจที่สุดอีกครั้งหนึ่งของหนูค่ะ” (น.ส.ศิรดา แซ่ย้าง) 74

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตอนที่ 4 ผลลัพธ์เชิงประจักษ์


ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

1. ได้เรียนรู้และได้ประสบการณ์การทำ�ธุรกิจอย่างถูกต้อง ได้เรียนรู้การทำ�ธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ การเงิน การบัญชี การตลาด การประกอบอาชีพธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณ 2. มีความเข้าใจการประกอบอาชีพธุรกิจบนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. รู้และเข้าใจเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งเป็นเรื่องที่สำ�คัญในสังคมโลกปัจจุบัน 5. เกิดทักษะการคิด ได้กระบวนการทำ�งานอย่างเป็นระบบ มีทักษะชีวิตที่นำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้ 6. มี คุ ณ ลั ก ษณะนิ สั ย ที่ พึ ง ประสงค์ ความซื่ อ สั ต ย์ ขยั น อดทน มุ่ ง มั่ น กตั ญ ญู มี วิ นั ย การทำ � งาน การช่วยเหลือผู้อื่น มีความรับผิดชอบเพื่อความสำ�เร็จของงาน 7. ได้เรียนรู้โลกของการทำ�งานเชิงธุรกิจที่ต้องบูรณาการทั้งศาสตร์และศิลป์ ทุกกลุ่มสาระวิชา แบบสหวิชา ทั้ง 8 กลุ่มสาระเข้าด้วยกัน 8. ได้เรียนรู้การวางแผนการทำ�งานทั้งระบบ ตั้งแต่การตั้งเป้าหมาย คิด ผลิตสินค้า วิธีการแสวงหาทุน การวางแผนการทำ�งาน การหาทีมทำ�งาน การลงหุ้นเปิดบริษัทจำ�ลอง หาที่ปรึกษา การจดทะเบียนบริษัทกับโรงเรียน การลงมือทำ�งานให้ประสบความสำ�เร็จที่ได้กำ�ไรอย่างมีคุณธรรม การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า การสร้างข้อตกลง การทำ�งาน การกำ�หนดราคาขาย การคำ�นวณค่าใช้จ่าย การทำ�บัญชีรายรับ รายจ่าย การแบ่งปันผลกำ�ไร การคืนเงินกู้ และแบ่งปันกำ�ไรเพื่อค่าสาธารณูปโภคของโรงเรียน การแบ่งเงินกำ�ไรเพื่อเก็บไว้ปรับปรุงค่าเสื่อมอุปกรณ์ เพื่อการลงทุน ครั้งต่อไป ตลอดจนความสามารถในการใช้ภาษาในการนำ�เสนอขายสินค้า การบันทึกการทำ�งาน และสรุปรายงานผล การดำ�เนินงาน ผลของบริษัทต่อโรงเรียน ความรับผิดชอบต่อการคืนเงินกู้แก่แหล่งเงินกู้ของโรงเรียน เป็นต้น 9. เรียนรู้การทำ�งานร่วมกัน การยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 10. ได้ประสบการณ์ที่เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพอิสระและนำ�ไปใช้ได้จริง 11. มีรายได้ระหว่างเรียน ช่วยและลดภาระครอบครัว มีเงินทุนสำ�หรับศึกษาต่อหรือเป็นทุนประกอบอาชีพ ของตนเองได้ในอนาคต 12. ไม่กลัวที่จะพึ่งตนเอง หากไม่มีโอกาสศึกษาต่อ 13. นักเรียนภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเอง รู้จักตั้งเป้าหมายชีวิต 14. นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ทำ�งานร่วมกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก 15. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 16. รู้ จั ก ตั้ ง เป้ า หมายคุ ณ ภาพการผลิ ต มี ก ารพั ฒ นาอาหารให้ มี คุ ณ ภาพเข้ า สู่ ต ลาดได้ ทำ � กำ � ไรให้ แ ก่ นักเรียนเป็นแนวทางประกอบอาชีพแก่นักเรียนได้จริง 76

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ผลที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน 1. ครูได้ความรู้ใหม่ แนวคิดการสอนงานอาชีพเชิงธุรกิจ ทรัพย์สินทางปัญญาที่ครูไม่เคยทราบมาก่อน ว่าผลงานนักเรียนสามารถจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาได้ 2. ได้พัฒนาหลักสูตรและสามารถจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลถึงนักเรียนได้อย่างมีทิศทาง 3. รู้จักวางแผนดำ�เนินงานอย่างเป็นระบบ มีการสรุปผลการดำ�เนินงาน ทำ�ให้ครูเห็นภาพผลการดำ�เนินงาน เป็นแนวทางในการพัฒนางานต่อไป 4. ครูได้แนวทางการสอนงานอาชีพแนวใหม่ไปเผยแพร่ให้กบั เพือ่ นครูทไี่ ม่มโี อกาสได้เรียนรู้ ไปใช้กบั นักเรียน 5. มีประสบการณ์การพัฒนาตนเองจนได้แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นระบบ สามารถนำ�ไปใช้ พัฒนางานอื่นได้ 6. มีทัศนคติที่ดีต่อกิจกรรมการสอนงานอาชีพ 7. เกิดความภาคภูมิใจในความสำ�เร็จ ครูได้รับการยอมรับในความสามารถที่สามารถสอนนักเรียนให้มี คุณภาพเชิงประจักษ์ 8. ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูผสู้ อนได้รบั รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. ระดับชาติ ครัง้ ที่ 5 ประจำ�ปีการศึกษา 2558 (OBEC AWARDS) ด้านบริหารจัดการ รางวัลครูสอนดี ครูในดวงใจ ฯลฯ 9. มีผลงานเลื่อนวิทยฐานะ 10. ผู้บริหารสถานศึกษากล่าวว่า “โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สามารถ ตอบโจทย์การศึกษาเพื่อการมีงานทำ�ได้อย่างดียิ่ง”

ผลที่เกิดขึ้นกับโรงเรียน

1. 2.

มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของชุมชนและองค์กรภายนอก การที่โรงเรียนมีผลงานเด่น ส่งผลให้ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนจากชุมชุนและองค์กรอื่น เช่น - สำ�นักพัฒนาและส่งเสริมการเกษตรของเขต 6 เชียงใหม่ - สำ�นักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่/สำ�นักงานเกษตรอำ�เภอเมืองเชียงใหม่ - สำ�นักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่ - มูลนิธิ Y.M.C.A. เพื่อการพัฒนาภาคเหนือ - สมาคม Y.M.C.A. เชียงใหม่

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

77


- สมาพันธ์ครูภาคเหนือแห่งประเทศไทย - สสวท. - สถาบันอุดมศึกษา - หน่วยงานเอกชน เป็นต้น 3. โรงเรียนได้รับการยอมรับ เป็นต้นแบบในการดำ�เนินการสอนงานอาชีพและเป็นวิทยากรให้แก่โรงเรียน จำ�นวนมาก 4. โรงเรี ย นได้ ผ ลิ ต นั ก เรี ย นได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพ มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ให้ นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ และประสบการณ์มที กั ษะอาชีพนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้จริง ครูกล่าวว่า ผลงานนักเรียนคือผลการประเมินตนเองของโรงเรียน SAR มาตรฐานที่ 6 ของโรงเรียนเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำ�หนด 5. เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน มีการจัดฐานการเรียนรู้งานอาชีพถึง 23 ฐาน ที่มีการบูรณาการโครงการ นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสะเต็มศึกษาเข้าด้วยกัน 6. ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS)

ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครองและชุมชน

78

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผู้ปกครองมั่นใจในการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพของโรงเรียน สนับสนุนงบประมาณและวัตถุดิบในการฝึกอาชีพให้นักเรียน นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนในการประกอบอาชีพอิสระของตนเอง ช่วยลดภาระครอบครัว ช่วยลดปัญหาครอบครัว สังคม ชุมชน ได้แนวทางประกอบอาชีพอิสระในอนาคต ชุมชนได้ความรู้เพื่อประกอบอาชีพ โดยนักเรียนและครูเป็นวิทยากรให้ความรู้ เป็นแหล่งศึกษาดูงานของโรงเรียน หน่วยงานภายในและภายนอก

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตอนที่ 5 บทเรียนและปัจจัยความสำ�เร็จ


บทเรียนและปัจจัยความสำ�เร็จ 1. ผู้อำ�นวยการสถานศึกษาเป็นผู้นำ�แห่งการเปลี่ยนแปลง โดยให้เวลาในการศึกษาข้อมูลในงานที่ทำ� อย่างชัดเจน และมีความสามารถอันชาญฉลาดในการนำ�นโยบายสู่การปฏิบัติแบบบูรณาการ เป็นบุคคลที่มีวิสัยทัศน์ เปิดใจกว้าง ยอมรับความคิดใหม่ๆ คิดพัฒนางานอยู่ตลอดเวลา มีความสามารถในการสร้างเครือข่าย โดยใช้หลักการ ประสานงานให้บุคลากรทุกฝ่ายของโรงเรียนได้ทำ�งานร่วมกันโดยมุ่งเน้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ มีความสามารถในการใช้ หลักบริห ารให้ครูยอมรับสิ่งใหม่ๆ ดังกรณีที่สามารถทำ�ให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ปรับหลักสูตรรายวิชาอาชีพเดิมทีส่ อนอยู่ โดยเติมเต็มหลักการโครงการนักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�สูเ่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย กระบวนการเรียนรู้ทำ�ให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียนอย่างสูง 2. มีรองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการและรองผู้อำ�นวยการฝ่ายต่างๆ ที่มีความสามารถรองรับลงสู่การปฏิบัติ ได้ทุกสถานการณ์ 3. โรงเรียนมีหัวหน้ากลุ่มหลักสูตรการสอนที่มีคุณภาพ เมื่อผู้บริหารสามารถทำ�ให้ครูยอมรับการเปลี่ยนแปลง ในการนำ � หลั ก การของโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น้ อ ยมี คุ ณ ธรรม นำ � สู่ เ ศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ บรรจุ เ พิ่ ม เติ ม ในหลั ก สู ต ร หัวหน้ากลุ่มหลักสูตรได้ศึกษา ทำ�ความเข้าใจสาระการเรียนรู้สำ�คัญของโครงการจากผู้รับผิดชอบโครงการและ รองผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายวิชาการทีเ่ ข้ารับการอบรมมาโดยตลอด แล้วประชุมทำ�ความเข้าใจกับครูทกุ คนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปรับปรุงรายวิชาอาชีพที่สอนอยู่เดิมได้สำ�เร็จเรียบร้อย คณะครูได้พร้อมใจปรับเปลี่ยน วิธีการจัดการเรียนรู้มีเป้าหมายเป็นอาชีพเชิงธุรกิจ เพื่อผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพจำ�หน่ายได้ เกิดประโยชน์ แก่นักเรียนสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่างดี 4. ตัวครูผู้สอน ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถในวิชาที่สอน และมีความทุ่มเท มุ่งมั่นต่อการสอนที่เน้นการปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในงานอาชีพ มีการปรับเปลี่ยนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร ครูเป็นบุคคลใฝ่รู้ ใฝ่เรียนในรายวิชาที่ได้รับมอบหมายให้สอน บางคนไม่มีความรู้ในรายวิชาที่สอน แต่ได้ไปศึกษาให้มีความรู้ลึก สามารถปฏิบัติได้จริง แล้วนำ�มาจัดการเรียนรู้ให้นักเรียน เช่น การสอนเด็กดอยสปา ครูจะเริม่ ต้นด้วยตนเองโดยการไปเรียนแพทย์แผนไทยกับสาธารณสุขจังหวัด 1 ปี อบรมการนวดหน้า สอบใบประกาศนียบัตร อบรมการนวดฝ่าเท้า อบรมการจัดการสปา สอบผู้จัดการสปาของกระทรวงสาธารณสุข พร้อมทั้งแสวงหาเครือข่าย แหล่งเรียนรู้ วิทยากร เข้ามาสอนให้ความรูแ้ ก่นกั เรียน จนนักเรียนมีทกั ษะความชำ�นาญสามารถสอบใบประกาศนียบัตรได้ แล้วฝึกทักษะนักเรียนอย่ างต่อเนื่อง หลังเวลาเรียนและเสาร์-อาทิตย์ ช่วงเวลาปิดเทอมได้ส่งนักเรียนไปฝึกงาน

80

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ที่สถานประกอบการในจังหวัดเชียงใหม่ โดยโรงเรียนบริการรถรับ-ส่งนักเรียนทั้งไปและกลับ นักเรียนจะใช้เวลาเรียน 1 ปีครึ่ง จึงจบหลักสูตรสามารถปฏิบัติได้อย่างมืออาชีพ ได้รับคำ�ชมจากผู้มารับบริการ ครูบางคน เช่น ครูอุรี โยริยะ จบสาขานาฏศิลป์ แต่รักการสอนงานอาชีพ ได้ศึกษาหาประสบการณ์ ให้ตนเองจนสามารถสอนได้เหมือนครูสอนอาชีพ ผลิตภัณฑ์นักเรียนได้รับ อย. ถึง 15 รายการ และกำ�ลังอยู่ในระหว่าง การขอ อย. อีก 5 รายการ ได้รับรางวัล OBEC AWARDS ด้านการบริหารจัดการ ได้รับเชิญให้พานักเรียนไปนำ�เสนองาน ร่วมกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกประเทศ ได้เผยแพร่ผลงาน สร้างงาน สร้างอาชีพให้แก่อำ�เภอ จังหวัด และระดับประเทศเป็นที่น่าชื่นชม เช่น การทำ�ขนมจากกล้วย ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรประจำ�ของมูลนิธิและองค์กร Y.M.C.A. อบรมให้แก่บุคลากรต่างประเทศในระดับ ASEAN เป็นต้น 5. โรงเรียนมีความพร้อมด้านบุคลากร งบประมาณ ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรู้ สิ่งอำ�นวยความสะดวก ต่างๆ 6. ครูสามารถร่วมกันทำ�งานเป็นทีมได้อย่างเข้มแข็ง สามารถออกนิเทศโรงเรียนเครือข่ายและเป็นวิทยากร เรื่ อ งโครงการนั กธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิ จสร้า งสรรค์ ได้ อย่า งน่า ชื่ น ชม โดยแยกกั น นิ เ ทศหลั ก สู ต ร การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น 7. มีระบบการนิเทศภายในโรงเรียนลักษณะกัลยาณมิตร 8. นักเรียนมีความตั้งใจ กระตือรือร้นที่จะเรียนรู้งานอาชีพนั้นๆ อย่างแท้จริง 9. ผู้บริหารและครูเป็นผู้เปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ สามารถสร้างเครือข่ายในการพัฒนา ส่งผลให้การสอนงานอาชีพ ของโรงเรียนพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง 10. ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากหน่วยงานเครือข่าย ได้แก่ วิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและการบริหารธุรกิจ โครงการความร่วมมือการวัดแววความถนัดทางอาชีพ สำ�นักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหม่ วัดและแปรผลแบบทดสอบความพร้อมทางอาชีพ วิทยาลัยเทคนิคสารภี - ฝึกอาชีพหลักสูตรระยะสั้น - จัดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. พัฒนาองค์ความรู้การสอนงานอาชีพแนวใหม่โครงการ นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ นิเทศ ติดตาม และพัฒนา สำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โครงการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ�สนับสนุนงบประมาณ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

81


สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 11. มีเครือข่ายฝึกประสบการณ์อาชีพให้นักเรียนหลายแห่ง มีผลให้การเรียนรู้อาชีพของนักเรียนมีทักษะ อาชีพสูง แหล่งฝึกประสบการณ์ ได้แก่ ศูนย์นวัตกรรมและการจัดความรู้วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงแรมเพชรงาม จังหวัดเชียงใหม่ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานประชาสัมพันธ์ จังหวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ศูนย์การศึกษาพิเศษเขต 8 จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียน ITM นวดแผนไทยโบราณจังหวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น 12. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มี วั ฒ นธรรมการทำ � งานที่ ดี ในการดำ � รงรั ก ษาและปฏิ บั ติ สิ่ ง ดี ๆ ของโครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระเพือ่ การมีรายได้ระหว่างเรียน ตามนโยบายของท่านอธิบดีโกวิท วรพิพฒ ั น์ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ซึง่ ท่านได้วางพืน้ ฐานงานอาชีพไว้ให้แก่โรงเรียนมัธยมศึกษาและการศึกษาพิเศษไว้อย่างดียงิ่ (ปัจจุบันท่านล่วงลับไปแล้ว) ทำ�ให้โรงเรียนมีประสบการณ์ มีฐานการสอนงานอาชีพที่ดี และโรงเรียนยังคงรักษา งบประมาณเงินทุนหมุนเวียน ซึง่ กรมสามัญศึกษามอบไว้ให้โรงเรียนเมือ่ 10 กว่าปีทแี่ ล้วไว้ได้ อย่างครบถ้วน ทำ�ให้โครงการ นักธุรกิจน้อยมีคณ ุ ธรรม นำ�ส่เู ศรษฐกิจสร้างสรรค์สามารถพัฒนาต่อยอดการสอนงานอาชีพของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เชียงใหม่ได้โดยไม่ยากนัก

82

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ตอนที่ 6 ความคิดเห็นของครูต่อโครงการ และความภาคภูมิใจ


ความคิดเห็นของครูต่อโครงการ 1. โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นศูนย์รวมทำ�ให้เกิดการทำ�งานร่วมกัน เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน ทำ�ให้เกิดความสนิทสนมกัน ร่วมมือกันทำ�งานจนกระทั่งโรงเรียนเป็นชุมชนการเรียนรู้ 2. โครงการนักธุรกิจน้อยฯ เป็นโครงการที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพที่ดี ด้วยมีหลักการ ที่ชัดเจน หากปฏิบัติได้จริง ผลที่เกิดขึ้นจะมีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างแท้จริง 3. เป็นโครงการที่ดี ครูผู้สอนสามารถนำ�ไปเติมเต็มให้กับหลักสูตรของโรงเรียนในรายวิชาต่างๆ ให้สมบูรณ์ มากขึ้น 4. นักเรียนมีทักษะอาชีพ จบ ม.6 สามารถเข้าทำ�งานได้ในสถานประกอบการที่มีชื่อเสียงและได้เงินเดือน สูงมาก เช่น นักเรียนบางคนจบ ม.6 ได้รับเงินเดือนเกือบสองหมื่นบาท 5. การสอนตามหลั ก การโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น้ อ ยฯ ไม่ ไ ด้ ส ร้ า งความยุ่ ง ยากแต่ ป ระการใดกั บ ครู ผู้ ส อน แต่เป็นการเติมเต็มหลักสูตรให้สมบูรณ์ และครูได้จัดการเรียนการสอนโดยมีผลลัพธ์อย่างมีทิศทาง เกิดประโยชน์ กับนักเรียนสูงขึ้น 6. เป็นโครงการฝึกฝนให้นักเรียนได้คิด ปฏิบัติ ฝึกทักษะการทำ�งานได้ด้วยตนเอง โดยปฏิบัติจริง ได้รับ ประสบการณ์ด้านการค้าขายด้วยตนเองอย่างจริงจังและมีคุณภาพ นักเรียนพัฒนาผลงานเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป นักเรียนมีพื้นฐานอาชีพอย่างแท้จริง 7. มีประโยชน์โดยตรงกับผู้เรียนจริง 8. เป็นโครงการที่ดี นำ�มาพัฒนาหลักสูตรจัดการเรียนรู้แล้วนักเรียนสามารถคิดเป็น ทำ�ได้ ขายเป็น 9. ครูสามารถนำ�ความรู้ที่มีเป็นวิทยากรให้กับวิสาหกิจชุมชน การเป็นวิทยากรได้ทำ�ให้ตนเองค้นคว้า หาความรู้ในสิ่งที่ตนถนัด ทำ�ให้มีความรู้กว้างขวาง เป็นวิทยากรที่เก่งขึ้น ได้รับการยอมรับทั้งในและนอกโรงเรียน ทำ�ให้ครูเกิดความภาคภูมิใจในตนเองและมีความสุขในการทำ�งานมากขึ้น ครูกล่าวว่า “การทำ�งานต้องเริ่มจากตัวเอง เมื่อมีคนชื่นชมก็มีกำ�ลังใจ ขณะนี้กำ�ลังจะทำ� MOU กับ อบต. ดอนแก้ว พัฒนาผลิตภัณฑ์” อีกด้วย 10. การสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มุ่ ง ให้ จำ � หน่ า ยได้ มี ผ ลให้ นั ก เรี ย นนำ � วิ ช าอื่ น แบบสหวิ ช า มาบู ร ณาการกั บ การทำ�งานดังกล่าวได้ประสบความสำ�เร็จ 11. การนำ�หลักการโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ลงสู่การปฏิบัติ ได้สร้างกระบวนการคิด กระบวนการทำ�งาน ทักษะชีวิต ให้นักเรียนนำ�ไปใช้ได้จริง

84

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ความภาคภูมิใจ 1. ฝ่ายบริหารเห็นว่า จากการที่ได้เข้าร่วมโครงการนักธุรกิจน้อยฯ ได้รับความรู้อันเป็นประโยชน์ ที่โครงการ ได้มีการจัดอบรม ทำ�ให้มีความรู้นำ�มาดำ�เนินการพัฒนางาน จากการทำ�งานของครูที่ต่างคนต่างทำ� ไม่มีการวางแผน การทำ�งาน แต่ปัจจุบันนี้สามารถรวมกลุ่ม และมีการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับแก่ผู้พบเห็น 2. ความภาคภู มิ ใจของครู ผู้ ส อนทุ ก คน คื อ การผลิ ต นั ก เรี ย นออกมาอย่ า งมี คุ ณ ภาพ ทั้ ง ด้ า นความรู้ การปฏิบัติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และมีทักษะชีวิต เป็นคนดีของสังคม 3. ครูผู้สอนภาคภูมิใจผลงานของผู้เรียน ที่มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับของลูกค้า สินค้าเด็กดอยเป็นที่รู้จัก ของคนทั่วไป สร้างรายได้ให้นักเรียนและสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน 4. ได้เห็นนักเรียนเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ ผลงานนักเรียนเป็นที่ยอมรับของบุคคลภายนอก อย่างหลากหลาย โดยครูผู้สอนเป็นคนหนึ่งในการขับเคลื่อน 5. นักเรียนให้ความสำ�คัญกับการทำ�อาชีพ ขอคำ�ปรึกษานอกเวลาเรียน เพื่อนำ�ความรู้ไปใช้ในโรงเรียน และที่บ้าน 6. มีความสุขกับการสัมผัสว่านักเรียนเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง นักเรียนมีแนวทางการประกอบสัมมาชีพ และนักเรียนคิดพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 7. ผลงานนักเรียนเด็กดอยเป็นที่ศึกษาเรียนรู้จากผู้สนใจทั้งชาวไทยและต่างประเทศ และรวมถึงผู้นำ� ระดับประเทศเข้าเยี่ยมชมผลิตภัณฑ์ดังกล่าว มีผลให้ผู้บริหาร ครู และนักเรียนภาคภูมิใจมาก 8. ผลความสำ�เร็จที่เกิดในตัวนักเรียน โรงเรียน ส่งผลให้ผู้บริหารและครูได้รับรางวัลระดับประเทศ 9. ภาคภูมิใจที่ได้รับการคัดเลือกให้ โรงเรี ย นเป็ น ศู น ย์ แ กนนำ � ขยายเครื อ ข่า ยโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น้ อ ยฯ ให้กับโรงเรียนที่สนใจ 10. ผลงานของนักเรียนได้รับคัดเลือกจำ�หน่ายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติทุกปี และได้รับ การคัดเลือกจำ�หน่ายในศูนย์การค้าอัมรินทร์พลาซ่า กรุงเทพมหานคร งานตลาดคลองผดุงกรุงเกษม : การศึกษาสร้างชาติ ตลาดคลองผดุงฯ สร้ างสุข สินค้ามีคุณภาพได้รับการรับรองจากสำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ถึง 15 รายการ และได้จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา 11. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเยี่ยมชมการสอนงานอาชีพของโรงเรียน ทรงสั่งสินค้าเข้าจำ�หน่ายในร้านภูฟ้าของพระองค์ เป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่โรงเรียนอย่างหาที่สุดมิได้ 12. โรงเรียนได้สร้างทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ มีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา ให้แก่สังคมและชุมชน

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

85


ตอนที่ 7 แนวทางการพัฒนาในอนาคต


แนวทางการพัฒนาในอนาคต ผู้อำ�นวยการโรงเรียน นายสุมนต์ มอนไข่ ได้ให้ข้อมูลว่า โรงเรียนได้มีโครงการสร้างเสริมประสิทธิภาพ การจัดการศึกษางานอาชีพของโรงเรียนในอนาคตหลายประการ ดังนี้

1. การเพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินการตามแผนพัฒนาทักษะอาชีพให้แก่นักเรียน

1.1 ด้านวิชาการ ร่วมเป็นเครือข่ายการให้ความรู้แก่ชุมชนและนำ�ภูมิปัญญาในชุมชนเข้ามาสอนทักษะ งานอาชีพให้แก่นักเรียน โดยประสานกับองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว ในการประสานความร่วมมือ 1.2 ด้านงบประมาณ โรงเรียนได้ทำ�โครงการขอสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด เชียงใหม่ในการพัฒนาต่อยอดโครงการสัมมาชีพ ซึง่ ทีผ่ า่ นมามีกรอบการดำ�เนินงานการสอนวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นต่อไปจะขยายไปสู่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1.3 ด้านการพัฒนาบุคลากร ได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรร่วมกับชุมชนในตำ�บลดอนแก้ว โดยทำ�โครงการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว จัดอบรมบุคลากรพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนและชุมชน ในการสร้างผลิตภัณฑ์ และให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ การพัฒนาบุคลากรให้มที กั ษะการทำ�งานให้ได้มาตรฐาน เป็นทีย่ อมรับของหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ และเอกชน โรงเรียนได้สง่ บุคลากรเข้ารับการอบรมการพัฒนาการสอนทักษะวิชาชีพการโรงแรม ร่วมกับหน่วยงานส่งเสริม การท่องเที่ยวนำ�กลับมาสอนนักเรียน สนับสนุนให้บุคลากรได้เรียนรู้ศึกษาดูงานการจัดการงานอาชีพและการสร้าง ผลิตภัณฑ์ ก้าวต่อไป โรงเรียนจะดำ�เนินการส่งเสริมบุคลากรนอกเหนือจากกลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ และเทคโนโลยีมาร่วมงานและจัดการเรียนการสอนงานอาชีพเพิ่มขึ้น ในลักษณะการสอนงานอาชีพตามกลุ่มสนใจ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 1.4 จัดทำ�โครงการวิจัยร่วมกับชุมชน สำ�รวจพืชพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชนที่สามารถนำ�มาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ในการจัดทำ�งานอาชีพ โดยให้นักเรียนสำ�รวจจากภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน 1.5 ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนวิชาชีพกับสถาบันฝึกอาชีพระยะสั้น โรงเรียนมีโครงการให้นักเรียนได้ เรียนรูแ้ ละฝึกงานอาชีพระยะสัน้ กับสถาบันการสอนอาชีพในชุมชน ซึง่ โรงเรียนมีโครงการส่งนักเรียนไปเรียนรูท้ กั ษะงาน อาชีพกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสถานประกอบการ โดยส่งนักเรียนไปฝึกประสบการณ์ในช่วงปิดภาคเรียน อาทิ โอเอซิสสปา ศูนย์ราชการ บริษัท ห้างร้าน และโรงแรมที่มีมาตรฐานในจังหวัดเชียงใหม่ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

87


1.6 ด้านสถานที่ ร่วมกันกับชุมชนในการจัดแสดงผลผลิตของศูนย์และเครือข่าย ทีผ่ า่ นมาโรงเรียนได้รบั การอนุเคราะห์ จากองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว ในการให้นำ�ผลิตภัณฑ์ไปจำ�หน่ายในกรณีที่มีผู้มาศึกษาดูงาน แต่โรงเรียน ไม่มีโอกาสไปร่วมทุกครั้งที่ได้รับการประสานเนื่องจากเวลาตรงกับภาระงานของโรงเรียน ก้าวต่อไป โรงเรียนมีแผนการจัดบุคลากรเพือ่ ประสานสัมพันธ์กบั ชุมชน ในการนำ�เสนอผลงาน และการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนี้มีแผนการดำ�เนินงานการจัดกิจกรรมแสดงผลงานร่วมกับเครือข่ายและชุมชนใน โอกาสต่างๆ รวมถึงให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดำ�เนินงาน

2. การใช้กระบวนการสร้างชุมชนการเรียนรู้ (PLC) ในโรงเรียน

กิจกรรมนี้มีเป้าหมายเพื่อการสร้างชุมชนทางการเรียนรู้ให้เกิดกับครูทุกกลุ่มงาน ได้แก่ งานวิชาการ งานอาชีพ และงานทักษะการดำ�รงชีวติ โดยฝึกฝนครูให้ใช้วธิ กี ารอย่างหลากหลาย เช่น การทำ� Swot การจับคู่ (Buddy) การใช้เรือ่ งเล่า (Storytelling) การสะท้อนคิด (Reflection) การชีแ้ นะ (Coaching) ระบบพีเ่ ลีย้ ง (Mentoring) เป็นต้น สำ�หรับ กลุ่มงานอาชีพได้ใช้กระบวนการการชี้แนะ (Coaching) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) และการใช้เรื่องเล่า (Storytelling) ให้มีการจับคู่ครูที่มีประสบการณ์ในการบริหารจัดการงานอาชีพในโรงเรียนกับครูที่อายุน้อย ยังมีประสบการณ์น้อย เป็นการสะท้อนประสบการณ์เพื่อพัฒนางาน ซึ่งได้ผลดีในแง่ครูมีกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน เช่น การวางแผน ครูมกี ารกำ�หนดเป้าหมาย ผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน มีการวางแผนบทเรียน เลือกบทเรียน วางแผนการเรียนร่วมกัน ซึง่ เป็นผล มาจากการทีค่ รูมกี ารสะท้อนความคิด การทำ�งาน ปัญหา แนวทางแก้ไข ด้วยการสือ่ สารทางบวก ทำ�ให้เกิดการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ มีการสรุปข้อเรียนรู้ นำ�ไปปรับปรุงแก้ไขบทเรียน เพื่อนำ�ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป โรงเรี ย นศึ ก ษาสงเคราะห์ เชี ย งใหม่ ค าดหวั ง ว่ า กระบวนการสร้ า งชุ ม ชนการเรี ย นรู้ ดั ง กล่ า วส่ ง ผล ต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะเปิดโอกาสให้ฝ่ายบริหารของโรงเรียน ครูแต่ละกลุ่มงาน ได้ทำ�งานร่วมกันมากขึ้น ได้มีโอกาสสื่อสารสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น ส่งผลให้นโยบายของโรงเรียนสามารถ ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างสมบูรณ์ในอนาคต

3. สะเต็มศึกษากับการพัฒนาการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM) เป็นแนวทาง การจัดการศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ที่มุ่งแก้ไขปัญหาที่พบเห็น ในชีวิตจริง เพื่อสร้างประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนในการ 88

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ปฏิบัติงานที่ต้องใช้องค์ความรู้ และทักษะกระบวนการด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี รวมทั้งนำ�ไปสู่การ สร้างนวัตกรรมในอนาคต การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำ�ทฤษฎีหรือกฎทาง วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริง ควบคู่กับการ พัฒนาทักษะการคิด ตั้งคำ�ถาม แก้ปัญหา การหาข้อมูล และวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ๆ พร้อมทั้งสามารถนำ�ข้อค้นพบนั้น ไปใช้หรือบูรณาการกับชีวิตประจำ�วันได้ ดั ง นั้ น การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ แ บบสะเต็ ม ศึ ก ษา จึ ง เป็ น การเรี ย นรู้ ผ่ า นกิ จ กรรมหรื อ โครงการ ทีบ่ รู ณาการการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ผนวกกับแนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยนักเรียน จะได้ ทำ � กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาความรู้ ค วามเข้ า ใจ และฝึ ก ทั ก ษะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิ ต ศาสตร์ และได้น�ำ ความรูม้ าออกแบบชิน้ งานหรือวิธกี าร เพือ่ ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปญ ั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ ประจำ�วัน เพื่อให้ได้เทคโนโลยีซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม การจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ที่ผ่านมาครูผู้สอนได้ออกแบบ การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา โดยจัดกิจกรรมสะเต็มแบบบูรณาการด้วยการสอดแทรกไปตามเนื้อหาที่ เกีย่ วข้องของแต่ละรายวิชาภายในคาบเรียน แต่ไม่ได้รวบรวมเป็นองค์ความรูอ้ ย่างเป็นหมวดหมูแ่ ละถูกต้องตามหลักการ ในปีการศึกษา 2559 โรงเรียนมีนโยบายให้ครูผู้สอนงานอาชีพนำ�กิจกรรมสะเต็มแบบบูรณาการมาใช้ใน การจัดการเรียนการสอนรายวิชาอาชีพอย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ ต้องใช้องค์ความรู้และทักษะกระบวนการด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมีเป้าหมายคือ นักเรียนสามารถสร้างชิ้นงานหรือผลิตภัณฑ์ที่สามารถ พั ฒ นาเป็ น อาชี พ เชิ ง พาณิ ช ย์ ก่ อ ให้ เ กิ ด มู ล ค่า ต่ อ ทั้ ง ตั ว นั ก เรี ย น โรงเรี ย น และชุ ม ชน ส่ ง ผลให้ นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะ ในการทำ�ธุรกิจเพื่อประกอบอาชีพในอนาคตได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงเรียนจึงได้กำ�หนดแนวการจัดการเรียนการสอน งานอาชีพ ดังต่อไปนี้ (1) จัดการเรียนการสอนที่เน้นกิจกรรมสะเต็มแบบบูรณาการ (2) จัดกิจกรรมทีช่ ว่ ยนักเรียนสร้างความเชือ่ มโยงระหว่างด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี กับการสร้างชิ้นงานหรือผลิตภัณฑ์ (3) จัดกิจกรรมที่เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 (4) จัดกิจกรรมที่ท้าทายความคิดของนักเรียน (5) จัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า คิดค้น และแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยมีครูผู้สอน เป็นผู้ให้คำ�ปรึกษา ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

89


ทั้งนี้ครูผู้สอนจะต้องดำ�เนินกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยกระบวนการกิจกรรมสะเต็มแบบบูรณาการ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น งานอาชีพการเลีย้ งปลาในกระชัง เริม่ จากการทำ�กระชัง นักเรียนจะต้องใช้ความรูด้ า้ นคณิตศาสตร์ (M : Mathematics) ในการคำ�นวณการทำ�กระชัง การตัดตาข่ายให้มีขนาดพอดีกับจำ�นวนปลาที่จะปล่อยในกระชัง การคำ�นวณพื้นที่ในการเลี้ยงว่าในพื้นที่ขนาดที่มีอยู่จะใช้กระชังกี่กระชัง รวมถึงการบันทึกการเจริญเติบโตของปลา การวัดความยาว การชั่งนํ้าหนัก เพื่อคิดคำ�นวณระยะเวลาการเลี้ยงจนถึงจำ�หน่าย ใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์ (E : Engineering) ในเรื่องของเครื่องมือที่ใช้เย็บกระชังให้เป็นรูปร่ างตามที่ต้องการ ใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยี (T : Technology) ในการคิดใช้อุปกรณ์ในการทำ�ทุ่นให้กระชังไม่จมลงไปในก้นบ่อ และเทคนิควิธีการวางกระชังให้มี ความพอดี เหมาะสมกับพื้นที่ และใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (S : Science) ในการศึกษาลักษณะของนํ้า การวัด ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของนํ้า การใช้สารเคมีในการปรับค่านํ้า ปริมาณของยาเมื่อเกิดความผิดปกติของปลา ในกระชัง เป็นต้น ทั้งนี้นักเรียนจะต้องมีการศึกษาและปฏิบัติจริง มีการบันทึกสรุปรายงานผลการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ซึ่ ง จะเป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย นรั ก และเห็ น คุ ณ ค่ า ของการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ ศ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และเห็นว่าองค์ความรู้ทั้ง 4 ด้านนี้ สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้กับงานอาชีพได้ จากแนวทางการดำ�เนินการดังกล่าวในปีการศึกษา 2559 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่จึงได้รับ การคัดเลือกจาก สสวท. ให้เข้าร่วมโครงการสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเชิงพาณิชย์สำ�หรับเยาวชนไทย (STEM Education for Development of Youth Entrepreneurship) จึงนับว่าเป็นอีกก้าวหนึ่งของการพัฒนาด้านการจัด การเรียนการสอนงานอาชีพของโรงเรียน ซึง่ จะช่วยให้นกั เรียนได้พฒ ั นาทักษะการคิด ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการสื่อสาร ซึ่งทักษะดังกล่าวเป็นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่นักเรียนพึงมี นอกจากนั้นนักเรียนยังได้ความรู้แบบองค์รวมที่สามารถนำ�ไปเชื่อมโยงหรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วันได้

4. การใช้ E-Commerce กับการพัฒนาตลาดสินค้า ภายใต้แบรนด์เด็กดอย (Dekdoi Product)

E-Commerce หรือ “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์” คือ การดำ�เนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การผลิต การกระจายสินค้า การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฝ่ายบริหารของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ เล่าว่า จากการศึกษาเรื่อง E-Commerce ทำ�ให้ ทราบว่า E-Commerce ได้แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะของการค้า คือ ผูป้ ระกอบการกับผูบ้ ริโภค คือ การค้าระหว่างผูค้ า้ โดยตรงถึงลูกค้า ซึง่ ก็คอื ผูบ้ ริโภค เช่น การขายหนังสือ ขายวีดิโอ ขายซีดีเพลง เป็นต้น

90

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ผู้ประกอบการกับผู้ประกอบการ คือ การค้าระหว่างผู้ค้ากับลูกค้าเช่นเดียวกัน แต่ในที่นี้ลูกค้าจะเป็นใน รูปแบบของผู้ประกอบการ ในที่นี้จะครอบคลุมถึงเรื่องการขายส่ง การทำ�การสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain Management) เป็นต้น ซึ่งจะมีความซับซ้อนในระดับต่างๆ กันไป ผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภค คือ การติดต่อระหว่างผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภคนัน้ มีหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่น เพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในกลุ่มคนที่มีการบริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทำ�การแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสอง เป็นต้น ผู้ประกอบการกับภาครัฐ คือ การประกอบธุรกิจระหว่ างภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใช้กันมากก็คือ เรื่องการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น รัฐบาลจะทำ�การจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การประกาศจัดจ้างของภาครัฐในเว็บไซต์ ภาครัฐกับประชาชน ในที่นี้คงไม่ใช่วัตถุประสงค์เพื่อการค้า แต่จะเป็นเรื่องการบริการของภาครัฐ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยเองก็มีให้บริการแล้วหลายหน่วยงาน เช่น การคำ�นวณและเสียภาษี ผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต การให้ บ ริ ก ารข้ อ มู ล ประชาชนผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต เช่ น ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ การทำ � ทะเบี ย นต่า งๆ ของกระทรวงมหาดไทย ประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้างในการทำ�เรือ่ งนัน้ ๆ และสามารถ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบนเว็บไซต์ได้ด้วย ในการดำ�เนินงานการจำ�หน่ายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ทีผ่ า่ นมา ได้ใช้วิธีการหลายวิธี เช่น การประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ เอกสาร โบรชัวร์ การจัดนิทรรศ การออกร้าน จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ การประชาสัมพันธ์ทางเว็บไซต์ของโรงเรียน รวมถึงการบอกต่อ ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ของโรงเรียน ภายใต้ แบรนด์เด็กดอยเป็นที่รู้จักพอสมควร และมีผู้มาซื้อสำ�หรับใช้ในกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเภทของที่ระลึก ของตกแต่งบ้านหรือตามสถานทีต่ า่ งๆ อาทิ โรงแรม สำ�นักงาน เป็นต้น แต่การเข้าถึงผูบ้ ริโภคยังไม่กว้างขวางพอ โดยเฉพาะ ผู้บริโภคที่เป็นชาวต่างชาติ ดังนั้นโรงเรียนจึงมีนโยบายให้จัดทำ�ตลาดทางธุรกิจ หรืออาชีพเชิงพาณิชย์ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเผยแพร่ผลงานของโรงเรียนให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางและเข้าถึงผู้บริโภคทุกกลุ่ม เพื่อเป็นการ เพิ่มโอกาสทางการขายให้มากขึ้น อีกทั้งเป็นการขยายช่องทางการตลาดออนไลน์ รวมถึงเป็นการฝึกให้นักเรียนรู้จัก การทำ�ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์สำ�หรับเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพต่อไป การพัฒนาระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ โรงเรียนได้รบั ความอนุเคราะห์จากวิทยากรมาให้ความรูแ้ ก่นกั เรียน และครูในการดำ�เนินงานการจัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้นักเรียนเป็นผู้ดำ�เนินการ ดำ�เนินการในรูปแบบคณะกรรมการ แบ่งหน้าทีต่ ามความถนัดของแต่ละบุคคล มีครูเป็นทีป่ รึกษา ก้าวต่อไปโรงเรียนจะได้น�ำ E-Commerce มาเป็นกิจกรรม การเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ปฏิบัติในโลกของการทำ�ธุรกิจจริงตามกฎหมาย ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

91


บรรณานุกรม กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : สำ�นักพัฒนากิจกรรมนักเรียน นักศึกษาและกิจการพิเศษ. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่. (2556). สรุปการอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์”. เชียงใหม่ : โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่. (2557). สรุปการอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการนักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์”. เชียงใหม่ : โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่. สุมน อมรวิวฒ ั น์. (2555). แนวคิดการศึกษาแนวพุทธ. (online). Available : http://www.roongaroon. ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=144&itemid=1. ค้นเมือ่ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556. Barry A. Grast and Jeremy Johnson. (2005). Adolescent Leadership Skill Development Trough Resident Camp counseling, Journal of Extention. Vol. 43 No. 5 (online). Available : http://www.Joe.org/joe/2005october/rb5.php. Retrieved on 12 march, 2012.

92

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก แบบฟอร์มต่างๆ ของโรงเรียน


ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

95


96

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

97


98

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

99


สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา......................

100

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ภาคผนวก ข แผนการปฏิบัติงานราย 5 ปี รูปแบบ 4 Blocks


แผนการปฏิบัติงานราย 5 ปี รูปแบบ 4 Blocks วิเคราะห์สภาพความก้าวหน้าและก้าวต่อไปการดำ�เนินงาน โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ สำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. มีสถานที่สำ�หรับจัดตั้งศูนย์ที่มีความพร้อมและจัดหา วัสดุอุปกรณ์สำ�หรับศูนย์ 2. เปิดศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 3. จัดตั้งคณะดำ�เนินงานศูนย์ 4. อบรมความรู้ครู นักเรียน และโรงเรียนเครือข่าย เรื่องหลักการของโครงการนักธุรกิจน้อยฯ 5. ผู้บริหาร ครูให้ความร่วมมือ และได้รวบรวมผลงาน ของครูในโรงเรียนเข้าร่วมในโครงการนักธุรกิจน้อยฯ และอยู่ภายในตราสินค้าเดียวกัน คือ ตราเด็กดอย 6. ขยายเครือข่าย 21 โรงเรียน 7. ผลิตภัณฑ์ของโรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐาน อาหารและยา (อย.) 14 รายการ 8. จัดอบรมเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทรัพย์สินทางปัญญา 9. จัดทำ�หลักสูตรงานอาชีพโดยครูผู้สอน 10 หลักสูตร และงานวิจัยโครงการนักธุรกิจน้อยฯ 10. นิเทศติดตามผลการดำ�เนินงานเครือข่ายภายใน และภายนอก

102

การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step 1. จัดตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงานโดยมีผู้อำ�นวยการ เป็นประธานการดำ�เนินงานและให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการ 2. ประชุมสร้างความเข้าใจให้แก่บุคลากรของโรงเรียน 3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการนักธุรกิจน้อยฯ และให้นำ�สู่การจัดการเรียนการสอน 4. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การจดสิทธิบัตร การขอเครื่องหมาย อย. 5. ส่งเสริมให้บุคลากรประสบผลสำ�เร็จในงานที่ทำ� 6. รวบรวมผลผลิตของบุคลากรเข้าอยู่ภายใต้ตราสินค้า เดียวกัน 7. จัดทำ�หลักสูตรนักธุรกิจน้อยฯ โดยแทรกในหลักสูตร ของโรงเรียน 8. วางแผนนิเทศ กำ�กับ ติดตามการดำ�เนินงานผู้บริหาร คณะกรรมการดำ�เนินงานโครงการ 9. ประชาสัมพันธ์การเปิดสถานที่บริการของศูนย์สู่ชุมชน 10. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน 11. ประเมินโครงการเพื่อปรับปรุงพัฒนา

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers 1. ปัญหาด้านบุคลากรที่ไม่เข้าใจการร่วมโครงการ 2. สถานที่ตั้งศูนย์อยู่ภายในโรงเรียน ผู้รับบริการที่เป็น บุคคลทั่วไปยังไม่หลากหลาย 3. ยังไม่ได้ผนวกสาระสำ�คัญโครงการนักธุรกิจน้อยฯ สู่หลักสูตรของโรงเรียน

ระยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. จัดตั้งศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่าย และเปิดศูนย์ 2. จัดตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงานศูนย์ 3. ขยายเครือข่ายภายใน รวบรวมงานต่างๆ เข้าอยู่ใน โครงการนักธุรกิจน้อยฯ และขยายเครือข่ายภายนอก 3 โรงเรียน 4. อบรมเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทรัพย์สินทางปัญญา และหลักการของนักธุรกิจน้อยฯ สู่การเรียนการสอน แก่เครือข่ายและโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาภาคเหนือ โรงเรียน การศึกษาพิเศษ 4 โรงเรียน และโรงเรียนสังกัด สพม. 34 โรงเรียน 5. จัดทำ�หลักสูตรงานอาชีพและจัดสอนในสาระเพิ่มเติม 6. นิเทศติดตามการดำ�เนินงานเครือข่าย 7. วิจัยการเรียนการสอนงานอาชีพ ปีการศึกษา 2557 1. ขยายเครือข่ายให้ครอบคลุมโรงเรียนกลุ่มส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่มภาคเหนือครบทั้ง 17 โรงเรียน 2. จัดอบรมเครือข่ายเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่อาเซียน การสร้างตราสินค้า การเขียนเรื่องราวสินค้า การสร้างบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ 3. นำ�หลักสูตรนักธุรกิจน้อยฯ สู่หลักสูตรสถานศึกษา โดยแทรกในกลุ่มสาระ และจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาเพิ่มเติมและกลุ่มสนใจ 4. นิเทศการดำ�เนินงานเครือข่าย 5. ทำ�วิจัยการดำ�เนินการจัดการศึกษางานอาชีพในโรงเรียน

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

103


ปีการศึกษา 2558 1. จัดอบรมเพื่อทบทวนและพัฒนาครูให้มีความรู้ใหม่ๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2. ขยายเครือข่ายในโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยมี เป้าหมายกับนักเรียนที่เรียนช้า 3. จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการเรียนการสอน งานอาชีพตามโครงการนักธุรกิจน้อยฯ กับโรงเรียน เครือข่าย 4. เป็นเครือข่ายกับชุมชน นำ�ภูมิปัญญาเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ และให้บริการ ชุมชนเรื่องงานอาชีพ ปีการศึกษา 2559 1. เป็นเครือข่ายกับชุมชนเรื่องสถานที่จำ�หน่ายผลผลิต ของโรงเรียนและของชุมชน 2. วิจัยร่วมกับชุมชน ปีการศึกษา 2560 1. จัดตั้งศูนย์จัดแสดงผลผลิตของโรงเรียนร่วมกับชุมชน 2. ติดตามผลการดำ�เนินงานร่วมกับชุมชนเรื่องการพัฒนา อาชีพในโรงเรียนและชุมชน

104

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


1. ด้านการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้ ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. จัดทำ�หลักสูตรงานอาชีพโดยครูผู้สอน 10 หลักสูตร คือ การเลี้ยงปลาในกระชัง การปลูกผักแบบผสมผสาน การทำ�กล้วยฝอย ตะไคร้หยอง การเลี้ยงไก่ การทำ� นํ้าพริกอ่อง การปักผ้าลายปักชาวเขา การทำ�กระเบื้อง ซีเมนต์ การเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ เครื่องดื่มกาแฟ การเย็บตุ๊กตานกฮูกจากผ้าเขียนเทียนเผ่าม้ง 2. นำ�สู่การเรียนการสอนในรายวิชาเพิ่มเติม และกลุ่มสนใจ

การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step 1. อบรมครูเรื่องการสร้างหลักสูตร 2. นำ�เนื้อหา สาระสำ�คัญนักธุรกิจน้อยฯ สู่หลักสูตร สถานศึกษา โดยแทรกในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3. นิเทศติดตามการดำ�เนินงานตามโครงการ นักธุรกิจน้อยฯ 4 . จัดทำ�โครงการเพื่อขออนุมัติการให้บุคลากรศึกษาดูงาน ด้านการเรียนการสอนและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่

ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers 1. ครูผู้สอนไม่เข้าใจการสร้างหลักสูตร 2. การจัดการเรียนการสอนของครูยังยึดตามแนวเดิม

ร ะยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. อบรมการสร้างหลักสูตร 2. นำ�หลักสูตรสู่การเรียนการสอน ปีการศึกษา 2557 นำ�สาระสำ�คัญนักธุรกิจน้อยฯ สู่หลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนโดยแทรกทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2558 สร้างหลักสูตรงานอาชีพตามรายวิชาที่จัดสอน ในสาระเพิ่มเติมอย่างน้อย 5 หลักสูตร ปีการศึกษา 2559 1. ประชาสัมพันธ์โครงการสู่ท้องถิ่น 2. ร่วมกับภูมิปัญญาในชุมชนทำ�หลักสูตรท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560 จัดหางบประมาณเพื่อพัฒนาหลักสูตรงานอาชีพท้องถิ่น ร่วมกับภูมิปัญญาในชุมชน

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

105


1.1 ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ ความคืบหน้าของโครงการ Project progress ครูนำ�หลักสูตรนักธุรกิจน้อยฯ สู่การจัดการเรียนการสอน โดยบูรณาการในรายวิชาที่สอน

การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step จัดการเรียนการสอนนอกเวลาโดยเฉพาะการฝึกทักษะ

ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers เวลาเรียนงานอาชีพตามโครงสร้างหลักสูตรมีน้อย แต่งานอาชีพจะต้องอาศัยความชำ�นาญและใช้เวลา ในการฝึกทักษะเพื่อให้เกิดความชำ�นาญ

ระยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. จัดการเรียนการสอนนอกเวลา 2. จัดตั้งบริษัทจำ�ลองให้สอดรับกับรายวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2557 1. เปิดรายวิชาอาชีพกลุ่มสนใจ 2. เพิ่มช่องทางเลือกรายวิชาอาชีพโดยเปิดสอน ในรายวิชาเพิ่มเติมตามความสนใจ ปีการศึกษา 2558 1. ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนวิชาชีพกับสถาบันฝึกอาชีพ ระยะสั้น 2. ทำ�ความตกลงร่วมมือกับสถานประกอบการให้นักเรียน ฝึกอาชีพในช่วงปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2559 1. ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนวิชาชีพกับสถาบันฝึกอาชีพ ระยะสั้น 2. ทำ�ความตกลงร่วมมือกับสถานประกอบการให้นักเรียน ฝึกอาชีพในช่วงปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2560 1. ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนวิชาชีพกับสถาบันฝึกอาชีพ ระยะสั้น 2. ทำ�ความตกลงร่วมมือกับสถานประกอบการให้นักเรียน ฝึกอาชีพในช่วงปิดภาคเรียน

106

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


2. ด้านบุคคล ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. สร้างความตระหนัก ความเข้าใจ เห็นประโยชน์ ของการรวมกลุ่มทำ�กิจกรรม 2. อบรมให้ความรู้เรื่องหลักการของนักธุรกิจน้อยฯ

การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step 1. ประชุม สัมมนาบุคลากรในโรงเรียนและเครือข่าย 2. ให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการดำ�เนินงาน

ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers ความคิดเห็นที่แตกต่างของบุคลากร

ระยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. ประชุมสร้างความตระหนักและความเข้าใจให้แก่ บุคลากร เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงานมีผู้อำ�นวยการ เป็นประธาน และให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 3. อบรมบุคลากรและเครือข่ายเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทรัพย์สินทางปัญญา การรวมกลุ่มเพื่อดำ�เนินธุรกิจ ปีการศึกษา 2557 1. พัฒนาบุคลากรเรื่องการสร้างหลักสูตรและการนำ� หลักสูตรนักธุรกิจน้อยฯ สู่การเรียนการสอน 2. อบรมบุคลากรเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่อาเซียน การออกแบบตราสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การเขียนเรื่องราวสินค้า 3. ประชุมสัมมนาบุคลากรภายในเรื่องการนิเทศ การฝึกประสบการณ์ และนิเทศการดำ�เนินงาน 4. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการทำ�งานให้ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ปีการศึกษา 2558 1. จัดสัมมนาและศึกษาดูงานด้านอาชีพให้แก่บุคลากร ภายในโรงเรียน 2. ส่งเสริมให้บุคลากรได้เรียนรู้งานอาชีพใหม่จากที่มีอยู่ ตามความสนใจ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

107


ปีการศึกษา 2559 1. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการทำ�งานให้ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 2. ส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงานให้มาร่วมงาน และจัดการเรียนการสอนงานอาชีพเพิ่มขึ้น ปีการศึกษา 2560 1. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการทำ�งานให้ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 2. ส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงานมาร่วมงาน และจัดการเรียนการสอนงานอาชีพเพิ่มขึ้น 3. ส่งเสริมให้บุคลากรด้านอาชีพทำ�งานควบคู่กับการวิจัย 3. ด้านสถานที่ ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. จัดตั้งศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่ายโครงการ นักธุรกิจน้อยฯ 2. ปรับสภาพแวดล้อมให้มีความสวยงาม ร่มรื่น เหมาะสมกับการใช้งานทั้งภายในและภายนอก

การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step 1. ซ่อมแซมปรับปรุงอาคารที่มีอยู่เดิมให้เหมาะสม กับสภาพของศูนย์ฯ 2. จัดสภาพแวดล้อมให้มีสภาพการใช้งานให้เกิดประโยชน์ สูงสุดทั้งภายในและภายนอกอาคาร 3. จัดหางบประมาณสนับสนุนโครงการพัฒนาศูนย์ฯ ให้มีมาตรฐาน

ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers งบประมาณในการพัฒนาศูนย์ให้มีมาตรฐานไม่เพียงพอ

ระยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. ปรับปรุงอาคารสถานที่จัดตั้งศูนย์ฯ ทั้งภายในอาคาร และสภาพแวดล้อมให้มีความเหมาะสม สวยงาม 2. เปิดศูนย์การดำ�เนินงาน ปีการศึกษา 2557 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของศูนย์ฯ และดูแลรักษา อย่างต่อเนื่อง

108

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


ปีการศึกษา 2558 1. จัดหางบประมาณในการพัฒนาศูนย์ฯ เพื่อให้มี ความเหมาะสม รองรับการศึกษาดูงานของผู้สนใจ 2. พัฒนาปรับปรุงศูนย์ฯ ให้มีความทันสมัย สวยงาม เป็นปัจจุบัน รองรับการศึกษาดูงาน ปีการศึกษา 2559 1. จัดหางบประมาณจัดซื้ออุปกรณ์ตกแต่งศูนย์ฯ เพื่อรองรับผลผลิตของครูที่ขยายตัวขึ้น 2. ประสานกับชุมชนในการขยายสถานที่เพื่อจัดแสดง ผลผลิตในชุมชน 3. จัดหาสถานที่จัดแสดงผลผลิตร่วมกับชุมชน ปีการศึกษา 2560 1. จัดแสดงผลผลิตร่วมกับชุมชน 2. ประเมินการใช้สถานที่ร่วมกับชุมชน 4. ด้านความสัมพันธ์ชุมชน ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. ประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็นที่รู้จักแก่บุคลากร ทั้งภายในและภายนอก 2. จัดตั้งเครือข่ายภายในและภายนอก 3. จัดอบรมเครือข่าย 4. นิเทศติดตามการดำ�เนินงานของเครือข่าย

การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step 1. ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับฝ่ายบริหารโรงเรียน เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มภาคเหนือ 2. จัดอบรมเครือข่าย 3. ประชาสัมพันธ์ผลงานของโครงการให้กับหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน 4. ขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกในการพัฒนา โครงการนักธุรกิจน้อยฯ และศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่าย ของโครงการ 5. นิเทศติดตามผลการดำ�เนินงาน 6. จัดแสดงผลงานร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 7. ทำ�โครงการเสนอต่อชุมชนเพื่อจัดหางบประมาณ สนับสนุนโครงการ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

109


ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอกับปริมาณงาน ที่ได้รับมอบหมาย

110

ระยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. ประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็นที่รู้จักทั่วไป 2. จัดแสดงผลงานร่วมกับชุมชนในโอกาสต่างๆ ปีการศึกษา 2557 1. ขยายเครือข่ายโรงเรียนเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ การจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงานการศึกษา พิเศษ กลุ่มภาคเหนือ ครอบคลุม 17 โรงเรียน 2. ประชาสัมพันธ์งานของศูนย์ฯ ให้เป็นที่รู้จักกว้างขึ้น 3. จัดแสดงผลผลิตและผลงานของศูนย์ฯ แก่ชุมชน และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 4. นิเทศติดตามผลการดำ�เนินงาน 5. ทำ�ความตกลงร่วมมือกับชุมชน สถานประกอบการ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกประสบการณ์ ปีการศึกษา 2558 1. จัดทำ�โครงการพัฒนาและสร้างผลิตภัณฑ์ร่วมกับชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. ร่วมกับชุมชนในการจัดแสดงผลผลิตของศูนย์ฯ และเครือข่าย 3. ส่งนักเรียนฝึกประสบการณ์กับสถานประกอบการ ปีการศึกษา 2559 1. ร่วมกับชุมชนในการจัดแสดงผลผลิตของศูนย์ฯ และเครือข่าย 2. ส่งนักเรียนฝึกประสบการณ์กับสถานประกอบการ 3. ร่วมกับชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย ปีการศึกษา 2560 1. ร่วมกับชุมชนในการจัดแสดงผลผลิตของศูนย์ฯ และเครือข่าย 2. ส่งนักเรียนฝึกประสบการณ์กับสถานประกอบการ 3. จัดกิจกรรมแสดงผลงานร่วมกับเครือข่ายและชุมชน 4. ประเมินผลการดำ�เนินงานร่วมกับชุมชน ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


5. ด้านบริหารจัดการ การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินการตามกรอบโครงสร้าง 1. กำ�หนดตัวบุคลากรโดยให้ผู้บริหารเป็นผู้นำ� และให้ผู้บริหารเป็นผู้สั่งการ การบริหารงานศูนย์แกนนำ�ขยายเครือข่าย 2. กำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกันของทุกฝ่าย 2. จัดประชุมคณะกรรมการบริหารงานศูนย์ฯ โดยเชิญ บุคลากรที่เป็นที่ยอมรับมาบรรยายถึงประโยชน์ ของโครงการ และการที่จะได้รับการสนับสนุนต่อไป ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers 1. เนื่องจากเป็นโครงการใหม่คณะกรรมการยังไม่รู้จัก ถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. ความร่วมมือในการดำ�เนินงานยังมีน้อย

ระยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานศูนย์ฯ และให้ทุกฝ่าย มีความร่วมมือรับผิดชอบในการบริหารงาน 2. ประชุมคณะกรรมการบริหารงานศูนย์ฯ เพื่อสร้าง ความตระหนัก ความเข้าใจในการดำ�เนินงานศูนย์ฯ และให้ทราบถึงประโยชน์อันพึงได้รับจากการจัดตั้งศูนย์ฯ 3. คณะกรรมการบริหารงานศูนย์ฯ มีการประชุมวางแผน การดำ�เนินงานร่วมกัน ปีการศึกษา 2557 คณะกรรมการศูนย์ฯ วางแผนและดำ�เนินงานตามแผน ที่วางไว้ - ร่วมกันดำ�เนินงานในการพัฒนาเครือข่าย - ร่วมกันดำ�เนินงานให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ร่วมผลักดันให้เกิดการรวมผลผลิตของบุคลากร ให้อยู่ภายใต้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน ปีการศึกษา 2558 1. อบรมพัฒนาบุคลากรที่เป็นคณะกรรมการบริหาร ให้มีความรู้เพื่อเป็นที่ปรึกษาในการพัฒนางาน 2. คณะกรรมการร่วมนิเทศและตรวจประเมินผลงาน 3. จัดให้มีสารสนเทศของศูนย์ฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ การดำ�เนินงาน

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

111


ปีการศึกษา 2559 1. ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทักษะงานอาชีพ ให้มีความหลากหลาย 2. พัฒนาและขยายศูนย์ฯ สู่ชุมชน 3. จัดให้มีสารสนเทศของศูนย์ฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ การดำ�เนินงาน ปีการศึกษา 2560 รวบรวมผลการดำ�เนินงานศูนย์ฯ 6. การขยายผลและสร้างเครือข่าย การดำ�เนินงานขั้นต่อไป Next step ความคืบหน้าของโครงการ Project progress 1. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อขยายเครือข่ายให้กับ 1. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเครือข่ายส่งเสริม ผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงาน การจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ การศึกษาพิเศษ กลุ่มภาคเหนือ กลุ่มภาคเหนือ 2. สร้างเครือข่าย 2. จัดหางบประมาณเพื่ออบรมความรู้โครงการ นักธุรกิจน้อยฯ ตามวัตถุประสงค์ 3. จัดอบรมเครือข่าย ปัญหาหรืออุปสรรค Issues or Barriers งบประมาณไม่เพียงพอเนื่องจากเครือข่ายไม่อยู่ ในพื้นที่เดียวกัน

112

ร ะยะเวลาการดำ�เนินงาน Timeline ปีการศึกษา 2556 1. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อขยายเครือข่ายให้กับ ผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ การจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มภาคเหนือ 2. จัดหางบประมาณเพื่ออบรมความรู้โครงการ นักธุรกิจน้อยฯ ตามวัตถุประสงค์ 3. จัดตั้งเครือข่ายภายในและเครือข่ายภายนอก 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่ ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 และโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 4. จัดอบรมเครือข่ายและโรงเรียนกลุ่มเครือข่าย ส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่มภาคเหนือ เรื่องการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ทรัพย์สินทางปัญญา หลักการนักธุรกิจน้อยฯ สู่หลักสูตรการเรียนการสอน 5. นิเทศติดตามการดำ�เนินงานเครือข่าย 3 โรงเรียน ปีการศึกษา 2557 1. จัดหางบประมาณ การอบรมและนิเทศติดตาม ผลการดำ�เนินงาน 2. ขยายเครือข่ายภายในและเครือข่ายภายนอก คือ โรงเรียนกลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา กลุ่มภาคเหนือ ครอบคลุม 17 โรงเรียน 3. จัดอบรมเครือข่ายและโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา สังกัดสำ�นักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ กลุ่มภาคเหนือ เรื่องการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ทรัพย์สินทางปัญญา หลักการนักธุรกิจน้อยฯ สู่หลักสูตรการเรียนการสอน 4. นิเทศติดตามการดำ�เนินงานเครือข่าย ปีการศึกษา 2558 1. ขยายเครือข่ายภายในและเครือข่ายภายนอก 3 โรงเรียน เครือข่ายบริเวณใกล้เคียง เนื่องจากงบประมาณ มีไม่เพียงพอ 2. นิเทศติดตามการดำ�เนินงานเครือข่าย ปีการศึกษา 2559 ขยายเครือข่ายโดยความร่วมมือกับชุมชนทางด้าน งบประมาณและภูมิปัญญา ปีการศึกษา 2560 ประเมินการดำ�เนินงานของเครือข่าย สรุปเป็นรายงาน

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

113


ภาคผนวก ค รายชื่อผู้ ให้ข้อมูล


รายชื่อผู้ ให้ข้อมูล ฝ่ายบริหารของโรงเรียน

1. นายสุมนต์ มอนไข่ 2. นางชวนชม บุญศิริ 3. นางอรุณี สันติคุณากร 4. นางนัยนา อุปกุล 5. นางสาวอรัญญา โพธิ์แก้ว 6. นายสมบัติ ศรีวรรณชัย

ผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ ครูชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน ครูชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้างานมัธยมศึกษา ครูชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ครูชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้าโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์

ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

นางบุปผา ปานพันธ์โพธิ์ นางอุรี โยริยะ นางสุภาณี ไชยศิริวงค์สุข นายสมบัติ ศรีวรรณชัย นางชนันท์วิไล ธงเชื้อ นายเสถียน กัลยาณกุล นายสมชาติ สมบูรณ์ นายประเสริฐ สุภา นางสุภาวดี ชุมสวัสดิ์ นางเกศรินทร์ สิทธิมงคล นายจุล สุระอาษา นางศุภลักษณ์ อภัยใจ นางสาวละมัย รอนยุทธ นายประพันธ์ นาบุญ นางสาวแสงจันทร์ เตชะ นายสมมาด ชุมสวัสดิ์

ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

งานแม่บ้านโรงแรม การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การนำ�เสนอข้อมูล สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขา การปลูกกล้วย การเลี้ยงปลาในกระชัง ข้าวไทย พืชผักพื้นบ้านและสมุนไพร โครงงาน ดุลโลหะ เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำ�เสนอข้อมูล การสร้างงานมัลติมีเดีย การพัสดุโรงแรม การบัญชีเบื้องต้น 2 115


17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24.

นางวรางคณา ประสงค์ นางลัดดา ภัทรพันธ์โกศล นางสาวอรัญญา โพธิ์แก้ว นางพรฤทัย มณีวรรณ นางชญานิศ กางนอก นายประกิร วงค์ชรัตน์ นายสุรพล กสิกุล นายพศุตม์ จันทร์โม

ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครูชำ�นาญการ ครูชำ�นาญการ ครูชำ�นาญการ ครูชำ�นาญการ ครูอัตราจ้าง

การขายเบื้องต้น การใช้เครื่องใช้สำ�นักงาน การเลี้ยงกบเชิงพาณิชย์ การจัดการธุรกิจเบื้องต้น ตัดเย็บกางเกงกระโปรง ช่างซ่อมประกอบคอม การงานอาชีพ งานช่างเชื่อมโลหะ

นักเรียน

ประธานกรรมการสถานศึกษา

116

1. นางสาวปวีณา เมอแหล่ 2. เด็กหญิงกัญญาวีร์ ลาเซอร์ 3. เด็กหญิงอรเพชร โชคธัญพัฒน์ 4. เด็กชายพงษ์ศักดิ์ เส่งหล้า 5. นางสาวขวัญจิรา ยังชีพสุจริต 6. นางสาวชลดา สงศิลาวัต 7. เด็กหญิงณิชญาดา ธิมาเรือง 8. นางสาวศิรดา แซ่ย้าง

นายประหยัด ทรงคำ�

ผู้แทนชุมชนตำ�บลดอนแก้ว

นางศิรัญญา สุนทร

ผู้ปกครอง

1. นายชัชวาล การมั่งมี 2. นายซอดี พรศิริโสภา 3. นางมณี พงศ์พัฒนสุข

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา นายการุณ สกุลประดิษฐ์ นายพะโยม ชิณวงศ์ นายพิธาน พื้นทอง นางพนิดา วิชัยดิษฐ

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตำ�แหน่งที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบเครือข่าย และการมีส่วนร่วม สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำ�นวยการกลุ่มโครงการพิเศษ สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คณะทำ�งาน

นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต นางสาวชิตยาภรณ์ หงษ์ทอง นางนงค์นุช อุทัยศรี นางรุ่งอรุณ หัสชู นางชวนชม บุญศิริ นางอรุณี สันติคุณากร นายสมบัติ ศรีวรรณชัย

ข้าราชการบำ�นาญ สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักวิชาการศึกษา สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำ�นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 ศึกษานิเทศก์ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 รองผู้อำ�นวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

บรรณาธิการกิจ

นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต นางสาวชิตยาภรณ์ หงษ์ทอง

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

117


118

ถอดบทเรียนความสำ�เร็จการจัดการเรียนรู้งานอาชีพโครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำ�สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.