E book เล่มฟ้า

Page 1

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

รายงานผลการดําเนินงาน

โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานผลการดําเนินงาน โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานผลการดําเนินงาน โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ ปที่พิมพ

พ.ศ. 2558

จํานวนพิมพ

1,500 เลม

ผูจัดพิมพ

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

พิมพที่

โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด 79 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผูพิมพผูโฆษณา


คํานํา รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อรายงาน ผลการดําเนินโครงการ การสังเคราะหผลงานการดําเนินโครงการ การนําเสนอเทคนิควิธีการที่ทําให การจัดการเรียนรูงานอาชีพตามโครงการประสบความสําเร็จ การศึกษาความพึงพอใจของผูเขารวม โครงการ และนําเสนอผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ระยะที่ 1 โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 จํานวน 84 โรงเรียน เกี่ยวกับที่มา แรงบันดาลใจ เปาหมายการพัฒนา นักเรียน ขอบเขตรายวิชา วิธีจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ผลที่เกิดจากการพัฒนาผูเรียน ครู โรงเรียน และชุมชน การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา การบรรลุ มาตรฐานตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับทักษะ ที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 แลวนําผลมาวิเคราะหโดยจัดกลุมขอมูล สังเคราะหผลการดําเนินงาน ตามโครงการเป น รายข อ การเลื อ กเทคนิ ค วิ ธี ก ารที่ ทํ า ให ก ารจั ด การเรี ย นรู ป ระสบความสํ า เร็ จ ความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ และคัดเลือกผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะกรรมการดําเนินโครงการ คณะกรรมการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานโครงการทุกทานที่ไดรวมกันจัดทําหนังสือไดสําเร็จ เรียบรอย และขอขอบคุณครูผูสอนทั้ง 84 โรงเรียน ที่ใหความรวมมืออยางดียิ่งในการใหขอมูล หวังเปนอยางยิ่งวา รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูบริหาร บุคลากรทางการศึกษา หนวยงาน และองคกรที่เกี่ยวของในการพัฒนางานไดบรรลุผล ตามวัตถุประสงคที่กําหนดตอไป สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ คําศัพทเฉพาะ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ นโยบายที่เกี่ยวของ และขอบขายภารกิจ โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค การจัดการเรียนรูและจัดประสบการณการเปนนักธุรกิจนอย ใหแกนักเรียน การจัดการเรียนรูงานอาชีพในโรงเรียน การวัดและประเมินผลงานอาชีพในโรงเรียน การสรางคุณธรรมของนักธุรกิจนอย เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสรางสรรค การพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ ทรัพยสินทางปญญา งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1 1 4 4 4 8 9 10 15 16 19 24 28 33 38 44


สารบัญ ((ตตตอ) เรื่อง หนา บทที่ 3 การดําเนินงาน 45 บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 79 ที่มา/แรงบันดาลใจ 79 เปาหมายการพัฒนานักเรียนของโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม 82 นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ขอบเขตรายวิชา 84 วิธีจัดการเรียนรู 87 การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู 90 การวัดและประเมินผล 92 ผลที่เกิดจากการพัฒนา 94 การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา 95 การบรรลุผลตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง 96 การศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 97 เทคนิค วิธีการที่ทําใหการจัดการเรียนรูประสบความสําเร็จ 98 ความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ 99 รายชื่อครูและโรงเรียนที่มีผลงานดีเดน 100 ผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 101


สารบัญ ((ตตตอ) เรื่อง บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผล อภิปรายผล ขอเสนอแนะ การพัฒนาตอยอดในอนาคต

หนา 121 121 128 139 142

บรรณานุกรม

145

ภาคผนวก ก รายชื่อโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ที่เก็บรวบรวมขอมูล ข เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลผลการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ ค ขอมูลการนําเสนอเทคนิควิธีการที่ทําใหการจัดการเรียนรูงานอาชีพตามโครงการ ประสบความสําเร็จ และความพึงพอใจในการดําเนินโครงการของผูเขารวม โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ง ขอมูลผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) จ คณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนา สูความสําเร็จ

147 149 155 161

169 207


บทที่ 1 ความเปนมาและความสําคัญ โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เปนโครงการที่สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) เห็นชอบใหสาํ นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.) ดําเนินการ โดยโครงการเริ่มจาก สพฐ. มอบหมายให สนก. คัดสรรผลิตภัณฑอาหาร อาหารแปรรูป และงานศิ ล ปหั ต ถกรรมฝ มื อ นั ก เรี ย นที่ มี คุ ณ ภาพ สามารถผลิ ต ได จํ า นวนมากเพี ย งพอนํ า มา จัดแสดงและจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ตั้งแตปการศึกษา 2550 ผลงานของ นักเรียนเปนทีน่ า พอใจในระดับหนึง่ ในปงบประมาณ 2553 สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ไดจัดเวทีเสวนาผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ นักธุรกิจ ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก ครู และนักเรียน จํานวน 35 คน เรื่องการสอนวิชาชีพแนวใหมในโรงเรียน ไดขอมูลสรุปตรงกันวา ควรเพิ่มเติมเนื้อหา และการจัดประสบการณใหนกั เรียนไดเรียนรูก ารเปนผูป ระกอบการ (Entrepreneur) โดยพัฒนาครู และนักเรียนใหสามารถผลิตผลงานไดอยางสรางสรรคตงั้ แตระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ใหนักเรียน “คิดเปน ทําได ขายเปน” ในลักษณะธุรกิจ เปนการตอยอดจากการจัดการเรียน การสอนงานอาชีพของโรงเรียนสวนใหญที่ครูจัดการเรียนรูใหนักเรียนผลิตผลงานไดตามรูปแบบ ที่ครูสอนดังปจจุบัน ตอมาในปเดียวกันสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาไดทดลองนํารองการอบรมครู จํานวน 90 โรงเรียนในการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค และนําขอมูลความเห็นของครูที่เขารับการอบรม ความเห็นของวิทยากร แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 สถานการณการจัดการศึกษา สภาพนักเรียนในชวงนัน้ ความตองการ การพัฒนานักเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคของกระทรวงศึกษาธิการใหสอดคลองกับโลก ในศตวรรษที่ 21 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว การคนควาขอมูล รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

1


จากเอกสารตางประเทศ ทั้งหมดมาประมวลจัดทําโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรคใหสมบูรณยิ่งขึ้น โดยสรุปหลักการ แนวคิดของโครงการที่จะใช วิธีการพัฒนาครู สูนักเรียนในเรื่องใหญๆ 4 เรื่อง ดังนี้ 1. การใหนักเรียนเรียนรูการเปนผูประกอบการหรือธุรกิจ 2. คุณธรรมสูค วามสําเร็จการเปนผูป ระกอบการ 5 ประการ คือ ความซือ่ สัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู 3. การพัฒนานักเรียนดานความคิดสรางสรรค เพื่อสรางผลผลิตที่มีคุณภาพ สามารถ จําหนายได 4. การใหความสําคัญเรือ่ งทรัพยสนิ ทางปญญา รูจ กั รักษาทรัพยสนิ ทางปญญาของตนเอง และไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาไดดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคอยางตอเนื่อง ในป พ.ศ. 2554 ไดสนับสนุนใหโรงเรียนในโครงการดําเนิน การพัฒนางานอาชีพ โดยใชกระบวนการวิจัยในการเรียนรูสูความสําเร็จนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ผลจากการวิจัยทุกงานวิจัย พบวา หากพัฒนานักเรียนตามแนวทาง โครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค บั ง เกิ ด ผลดี กั บ นั ก เรี ย นทั้ ง ด า น กระบวนการคิด กระบวนการทํางาน ทักษะชีวิต คุณธรรม และอื่นๆ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาไดสนับสนุนใหโรงเรียนทีไ่ ดรบั การพัฒนาจากโครงการ ไปนําเสนอผลงานในหลายเวทีทั้งระดับประเทศและระดับนานาชาติ ไดแก งานศิลปหัตถกรรม นั ก เรี ย นระดั บ ชาติ เมื่ อ วั น ที่ 25-27 มกราคม 2555 ณ ศู น ย แ สดงสิ น ค า และการประชุ ม เมืองทองธานี งานเปดบานนวัตกรรม เมื่อวันที่ 5-7 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมรามาการเดน กรุงเทพมหานคร นําเสนองานวิจัยโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ในงานการนําเสนอผลงานวิจัยแหงชาติ 2555 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2555 ณ ศูนยประชุมบางกอก คอนเวนชั่นเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพมหานคร การเผยแพรผลงานการสอนงานอาชีพ ในโรงเรียนโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เมื่อวันที่ 5-7 กันยายน 2555 ณ บริเวณถนนเลียบคลองผดุงกรุงเกษม กระทรวงศึกษาธิการ และไดรบั เชิญจากสภาหัตถกรรมโลก

2

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก นํ า เสนอหลั ก สู ต รและการจั ด การเรี ย นการสอนงานอาชี พ ในโรงเรี ย น รวมกับสถาบันอุดมศึกษาเมื่อป 2553 ณ ศูนยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ ไดรับเชิญจาก สภาหัตถกรรมโลกภูมิภาคเอเชียแปซิฟก นําเสนอเรื่อง “งานหัตถกรรมกับการจัดการศึกษา” พรอมรวมนําเสนอและจําหนายผลิตภัณฑของนักเรียน ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต เมื่อเดือน ตุลาคม 2554 และไดรับเชิญใหนําผลงานนักเรียนในโครงการรวมจําหนายในงาน International Innovation Crafts Fair 2012 ซึง่ ศูนยสง เสริมศิลปาชีพระหวางประเทศรวมมือกับกระทรวงพาณิชย และองคกรตางๆ จัดขึน้ ในระดับนานาชาติ ทีศ่ นู ยนทิ รรศการไบเทค บางนา เมือ่ วันที่ 16-18 มีนาคม 2555 จํานวน 16 โรงเรียน ปรากฏวาผลงานไดรับความสนใจจากผูซื้อผลิตภัณฑและจากผูเขารวมประชุม ทั้งในประเทศ ตางประเทศ และสื่อมวลชนเปนอยางมาก และสวนใหญมีความประสงคที่จะเรียนรู การพัฒนางานอาชีพตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ในป พ.ศ. 2556 สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ไดขยายการจัดการเรียนรู งานอาชีพตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ไปสูทองถิ่นใหแพรหลาย โดยให โรงเรี ย นที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ด า นการวิ จั ย และพั ฒ นาการจั ด การเรี ย นรู ง านอาชี พ ในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จํานวน 25 โรงเรียน และโรงเรียน ในโครงการที่ไดรับรางวัลกรุงไทย ยุววาณิช จํานวน 4 โรงเรียน ซึ่งเปนโรงเรียนที่มีความพรอม ในการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาโรงเรียนใหเปนศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เปนที่ปรึกษาใหคําแนะนําในการดําเนินงาน ตามโครงการ รวมทั้งการขยายเครือขายโรงเรียนในทองถิ่นใหเปนแหลงเรียนรูแกชุมชนควบคู ไปกับศูนยแกนนําฯ ตามศักยภาพ เพื่อใหศูนยแกนนําและโรงเรียนเครือขายสามารถดําเนินการ พัฒนางานอาชีพสูทองถิ่นอยางแพรหลาย โดยรวมกันอนุรักษและสรางสรรคงานอาชีพในทองถิ่น สูความเปนนักธุรกิจ เปนผูประกอบการที่มีคุณธรรมและมีคุณภาพ รักษาทรัพยสินทางปญญา ของชุมชน ทองถิ่นและประเทศชาติใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา จึงไดจัดทํารายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ เพื่อนําเสนอผลการดําเนินงาน ตามโครงการและเผยแพรใหโรงเรียน ผูเกี่ยวของและผูสนใจนําไปใชประโยชนในการพัฒนา และดําเนินงานดานอาชีพอยางแพรหลายตอไป รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

3


วัตถุประสงค 1. เพื่ อ รายงานผลการดํ า เนิ น งานโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ 2. เพื่อสังเคราะหผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ 3. เพือ่ ศึกษาเทคนิค วิธกี ารทีท่ าํ ใหการจัดการเรียนรูง านอาชีพตามโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคประสบความสําเร็จ 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค 5. เพือ่ นําเสนอผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. บุคลากรทีเ่ กีย่ วของและหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบสามารถนําผลการดําเนินงานไปปรับใช ตามความเหมาะสม และพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงคที่กําหนด 2. ครูนําแนวการดําเนินงานและผลการดําเนินงานตามโครงการไปใชในการจัดกิจกรรม การเรียนรูแ ละพัฒนาการดําเนินงานตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ชุมชนมีความรูความเขาใจการดําเนินงานและใหการสนับสนุนการดําเนินโครงการ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เปนชุมชนที่เขมแข็งดานงานอาชีพในทองถิ่น

คําศัพทเฉพาะ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ มีคําศัพทเฉพาะที่ควรทราบ ดังนี้

4

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1. รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูค วามสําเร็จ หมายถึง การนําเสนอผลการดําเนินงาน โครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ในระยะที่ 1 ระหวางป พ.ศ. 2553-2556 จากโรงเรียนที่เขารวมโครงการ 84 โรงเรียน เกี่ยวกับ 1. ที่มา/แรงบันดาลใจ 2. เปาหมายการพัฒนานักเรียน 3. ขอบเขตรายวิชา 4. วิธีการจัดการเรียนรู 5. กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู 6. การวัดผลและประเมินผล 7. ผลที่เกิดจากการพัฒนา 8. การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา 9. การบรรลุ ผ ลตามตั ว ชี้ วั ด และมาตรฐานการเรี ย นรู ต ามหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 10. ผลการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 11. เทคนิค วิธีการที่ทาํ ใหการจัดการเรียนรูประสบความสําเร็จ 12. ความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ 13. ผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค 2. โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค หมายถึง โครงการ ที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ดําเนินการ โดยมุงพัฒนานักเรียน ครู และบุคคลในชุมชนใหมีสวนรวมในการพัฒนางานอาชีพ ที่สอดคลองกับทองถิ่นสูการเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม โดยเนนการผลิตอยางสรางสรรค และจําหนายสินคาเอง ใหนกั เรียนคิดเปน ทําได ขายเปน โดยการจัดการเรียนรูท ใี่ ชกระบวนการวิจยั และพัฒนาเพื่อใหผลงานมีคุณภาพมาตรฐาน ไดรับการรับรองมาตรฐานจากหนวยงานรับรอง คุณภาพ และใหความสําคัญกับเรื่องทรัพยสินทางปญญา รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

5


3. ศู น ย แ กนนํ า ขยายเครื อ ข า ยโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สรางสรรค หมายถึง โรงเรียนที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินการวิจัยและพัฒนางานอาชีพ ในทองถิ่น ตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ที่เปนศูนยกลาง การจัดการเรียนรู การพัฒนานักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและชุมชนดานงานอาชีพสูการเปน ผูประกอบการที่มีคุณธรรม ใหคําปรึกษาแนะนํา นิเทศ ติดตาม กํากับ ประเมินผลและรายงานผล ความกาวหนาของศูนยแกนนําและโรงเรียนเครือขายทุกระยะอยางตอเนื่อง รวมทั้งเปนศูนยกลาง การแลกเปลีย่ นเรียนรู พัฒนาตนเองในทองถิน่ อยางยัง่ ยืน สรางผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ ภาพในเชิงพาณิชย สูเวทีโลก 4. โรงเรี ย นเครื อ ข า ย หมายถึ ง โรงเรี ย นที่ มี ค วามพร อ มและสมั ค รใจเข า ร ว มเป น เครือขายการพัฒนาของศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค จัดการเรียนรู พัฒนานักเรียนและบุคลากรในชุมชนดานงานอาชีพตามหลักการ แนวทาง โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค รวมกับศูนยแกนนําฯ อยางตอเนื่อง 5. ธุรกิจ หมายถึง กระบวนการที่มีผูประกอบการ (Entrepreneur) ดําเนินกิจกรรม เริ่มตนตั้งแตการคิด การผลิต การแลกเปลี่ยน จําหนายสินคา โดยมุงหวังกําไรหรือผลตอบแทน ภายใตเปาหมายและกฎเกณฑที่กําหนด 6. นักธุรกิจนอย หมายถึง นักเรียนที่ใชกระบวนการทําธุรกิจในการเปนผูประกอบการ (Entrepreneur) โดยดําเนินกิจกรรมเริ่มตนตั้งแตการคิด การผลิต การแลกเปลี่ยน จําหนายสินคา โดยมุงหวังกําไรหรือผลตอบแทนภายใตเปาหมายและกฎเกณฑที่กําหนด 7. คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี ประพฤติดี การทําใหเกิดคุณงามความดี อุปนิสยั อันดีงาม ความดีทอี่ ยูใ นตัวบุคคลทัง้ กาย วาจา ใจ เพือ่ ใหเกิดความสุขแกตนเองและผูร ว มงาน รวมถึงคนในสังคมในการประกอบอาชีพดานธุรกิจในการเปนผูประกอบการ 8. คุณธรรมนักธุรกิจนอย หมายถึง สภาพคุณงามความดี ประพฤติดี สูความสําเร็จ ในการประกอบอาชีพดานธุรกิจ ในการเปนผูประกอบการ (Entrepreneur) ของนักเรียน 5 ประการ คือ ความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น และกตัญู

6

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


9. ผูป ระกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง บุคคลทีไ่ มตอ งการเปนลูกจาง แตตอ งการ มีธุรกิจของตนเอง ยอมรับความเสี่ยงที่มากับการทําธุรกิจและผลกําไรที่ไดจากการทําธุรกิจ ที่มา จากการขายสินคาและบริการ มีความเปนผูน าํ ทางธุรกิจ และเปนนักนวัตกรรมทีส่ ามารถใชความคิด และกระบวนการทางธุรกิจใหมๆ ใหเปนประโยชน 10. เศรษฐกิจสรางสรรค หมายถึง แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานการใช ความรู (Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสนิ ทางปญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงพื้นฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรูของสังคม เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม ในความหมายของเศรษฐกิจสรางสรรค สินคาและบริการ จึงเปนสินคาและบริการที่ใชความคิดสรางสรรค การใชนวัตกรรมเปนตัวพัฒนาและขับเคลื่อน ในการผลิต เปนการเพิ่มมูลคา สรางมูลคาเพิ่ม 11. ทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา หมายถึ ง ผลงานอั น เกิ ด จากการประดิ ษ ฐ คิ ด ค น หรื อ สรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความชํานาญ โดยไมคํานึงถึงชนิด ของการสรางสรรค หรือวิธีการในการแสดงออกทรัพยสินทางปญญา อาจแสดงออกในรูปแบบ ที่จับตองได เชน สินคาตางๆ หรือในรูปแบบของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการแนวคิดในการดําเนิน ธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตในอุตสาหกรรม เปนตน 12. ภาคี เ ครื อ ข า ยศู น ย แ กนนํ า ขยายเครื อ ข า ยโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยฯ หมายถึ ง หนวยงานตางๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนหรือภาคสวนอืน่ ของสังคมทัง้ บุคคลและกลุม บุคคลทีม่ บี ทบาท และมีสวนรวมในการสงเสริมสนับสนุนพัฒนาศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค และโรงเรียนเครือขาย ใหนักเรียนไดเรียนรูและใชกระบวนการ ทําธุรกิจในการเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม สามารถสรางผลิตภัณฑที่มีคุณภาพจําหนาย ในเชิงพาณิชยสูเวทีโลก และเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรูและพัฒนาตนเองในโรงเรียน ชุมชน และทองถิ่นอยางยั่งยืน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

7


บทที่ 2 โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคดําเนินการโดยสํานักพัฒนา นวัตกรรมการจัดการศึกษา ระหวางป 2553-2556 ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 1. แนวคิดโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ นโยบายที่ เ กี่ ย วข อ ง และขอบข า ยภารกิ จ โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 3. การจัดการเรียนรูและจัดประสบการณการเปนนักธุรกิจนอยใหแกนักเรียน 3.1 การจัดการเรียนรูงานอาชีพในโรงเรียน 3.2 การวัดและประเมินผลงานอาชีพในโรงเรียน 3.3 การสรางคุณธรรมของนักธุรกิจนอย 3.4 เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสรางสรรค 3.5 การพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ 3.6 ทรัพยสินทางปญญา 3.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

8

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1. แนวคิดโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดมีแนวคิดดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อสงเสริม ใหโรงเรียนจัดการเรียนการสอนวิชาชีพแนวใหม โดยจัดประสบการณใหนักเรียนไดเรียนรูการเปน ผูประกอบการ โดยพัฒนาครูและนักเรียนใหสามารถผลิตงานไดอยางสรางสรรคตั้งแตระดับ ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ใหนกั เรียนสามารถ “คิดเปน ทําได ขายเปน” ในลักษณะธุรกิจ เปนการตอยอดจากการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียนที่ทําอยูเดิม ที่ครูสวนใหญ สอนใหนักเรียนมีผลผลิตตามรูปแบบที่ครูออกแบบใหนักเรียนทําตาม และเก็บไวในหองเรียน ผลทีท่ าํ ใหผรู บั ผิดชอบโครงการสนใจงานนีม้ าจากการไดรบั มอบหมายจากสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานใหคดั เลือกผลงานนักเรียนมาจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมระดับชาติประจําป ตั้งแตป 2550 ทําใหไดรับทราบขอมูลปญหาและอุปสรรคการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ ในสถานศึกษา ประกอบกับผลสรุปความคิดเห็นจากเวทีเสวนาการสอนวิชาชีพแนวใหมในโรงเรียน สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาจึงไดทดลองสรางหลักสูตรอบรมครูเพื่อนํารอง จํานวน 90 โรงเรียน ครูที่เขารับการอบรมทั้งหมดมีความเห็นสอดคลองกับกลุมเสวนา และประสงคจะให สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดําเนินการ อยางจริงจังและตอเนื่องในการผลักดันหลักการ 4 ขอ ของโครงการนําลงสูการจัดการเรียนรู ในโรงเรียน คือ 1. การเปนผูประกอบการหรือการประกอบธุรกิจตามวัยของนักเรียน ใหนักเรียนคิดเปน ทําได ขายเปน 2. คุณธรรม 5 ประการ ของการประกอบอาชีพธุรกิจ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น และกตัญู (ตอลูกคา ไดกําไรแลวตองรูจักคืนกําไรสูสังคม) 3. การสอนเรื่องการพัฒนาความคิดสรางสรรค เปดโอกาสใหนักเรียนคิดสรางสรรค ชิ้นงานดวยตนเอง (ไมใชทําตามครูเพียงอยางเดียว) ที่สามารถขายได กาวทันความตองการใหมๆ ของตลาด 4. เมื่อคิดสรางสรรคผลิตภัณฑใหมๆ ไดแลว ตองตระหนักถึงความสําคัญของการ จดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา และการไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

9


2. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ นโยบายที่เกี่ยวของ และขอบขาย ภารกิจโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 4 ไดกาํ หนดความหมายของการศึกษาวาเปนกระบวนการ เรียนรู เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรู อันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูแ ละปจจัยเกือ้ หนุนใหบคุ คลเรียนรูอ ยางตอเนือ่ ง ตลอดชีวิต นโยบายการศึกษาของประเทศไทยซึง่ ปรากฏในแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) มีเจตนารมณเพื่อมุง 1. พัฒนาชีวิตใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและ คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 2. พัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมที่มีความเขมแข็งและมีดุลยภาพใน 3 ดาน คือ ดานสังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และสังคมสมานฉันทและเอื้ออาทรตอกัน และเพื่อใหบรรลุตามเจตนารมณของแผนการศึกษา จึงกําหนดวัตถุประสงค 3 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา 2) เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู 3) เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม เพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และสราง สังคมคุณธรรม ภูมปิ ญ  ญาและการเรียนรู ซึง่ มีความสอดคลองกับ Evans, Hoys & Mangum, 1973 ทีก่ ลาวไววา เปาหมายประการแรกของการศึกษาคือการเตรียมผูเ รียนเพือ่ ใชชวี ติ เตรียมความพรอม แหงการทํางาน และเตรียมพรอมสําหรับการเปนพลเมืองที่มีวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดศึกษาแนวทางการจัดการศึกษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพในโรงเรียนประถมศึกษา พบวาปญหาการจัด การศึกษา คือ

10

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1. ผูบ ริหารโรงเรียนและคณะครูขาดความเขาใจในแนวคิดของการจัดการศึกษาทีช่ ดั เจน สงผลตอความตระหนักและการนําไปใชในการออกแบบหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 2. การสนับสนุนและการสรางเครือขายของโรงเรียนยังไมเพียงพอตอการสรางโอกาส ที่จะใชประโยชนแหลงวิทยาการเพื่อการเรียนรู สวนปญหาในการจัดการศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาส พบวา 1. การเสริมสรางคุณลักษณะทีด่ ใี หแกนกั เรียนโดยการสรางความตระหนัก แรงจูงใจ ดวยวิธีเปดโอกาสใหนักเรียนไดสํารวจ ทดลอง เรียนรูจากประสบการณจริงนอยลง 2. ชุมชนโดยรอบโรงเรียนมิไดนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม มาใชอยางเปนรูปธรรม 3. โรงเรียนมีขอจํากัดดานงบประมาณ บุคลากรและแหลงวิทยาการที่จะไดรับ การสนับสนุนจากเครือขาย ผูปกครองนิยมใหลูกหลานเรียนวิชาชีพตามคานิยมของสังคม เพื่อกาว เขาสูอาชีพตามคานิยมของสังคม ซึ่งไมใชอาชีพในทองถิ่นหรืออาชีพที่สืบทอดมาจากครอบครัว ในการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษามีปญหา คือ 1. การบริหารจัดการงบประมาณและทรัพยากรยังมีประสิทธิภาพไมเต็มที่และขาด ความตอเนื่อง 2. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนมุงเนนใหนักเรียนศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา มากกวาผานเกณฑการพิจารณาการประเมินคุณภาพ 3. โรงเรี ย นที่ มี ห ลั ก สู ต รที่ เ น น บู ร ณาการการศึ ก ษาต อ เพื่ อ การประกอบอาชี พ ยังขาดการสนับสนุนดานงบประมาณ บุคลากร และแหลงวิทยาการตางๆ สวนปญหาการจัดการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาที่จัดหลักสูตร ปวช. คือ 1. มีโรงเรียนเปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในสาขาที่ไมสอดคลองกับอาชีพ ทองถิ่น

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

11


2. โรงเรียนมีบุคลากรไมเพียงพอ ไมมีคุณวุฒิทางวิชาชีพโดยตรง ทําใหมีขอจํากัด ในการเปดสอนในสาขาวิชาที่เปนความตองการของทองถิ่น 3. ขาดความรวมมือของโรงเรียนมัธยมศึกษาทีจ่ ดั หลักสูตร ปวช. ในโรงเรียนดวยกัน ซึ่งจะชวยใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันได มนตรี ยานะกิจ (2547) ศึกษาปญหาการจัดการหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 3 ของสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในโรงเรียนแกนนําการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดกรมสามัญศึกษา พบวา 1. ปญหาการจัดหาผูเ ชีย่ วชาญใหความรูแ กครูผสู อนในกลุม สาระการเรียนรูก ารงาน อาชีพและเทคโนโลยี 2. ปญหาการสํารวจขอมูลจากผูเรียน ผูปกครองและชุมชนทองถิ่น เพื่อใชในการ จัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี 3. ปญหาการจัดหาสถานที่ฝกงาน 4. ปญหาการจัดกระบวนการการเรียนรูด ว ยการมีสว นรวมจากแหลงเรียนรูภ มู ปิ ญ  ญา ทองถิ่นเพื่อชวยเหลือบุคลากร สุ ช าติ พั น ธุ ช าติ (2546) ได ศึ ก ษาป ญ หาการสอนของครู วิ ช าการงานอาชี พ และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ในจังหวัดเพชรบุรี พบวา 1. เนือ้ หาสาระของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีมากเกินไป ทําใหตอ งปรับเนือ้ หา สาระ ในชวงดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา 2. ชุมชนไมมีแหลงเรียนรูที่เหมาะสมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. สื่อและอุปกรณไมเหมาะสมและไมเพียงพอกับเนื้อหาสาระวิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี 4. เครื่องมือวัดผลประเมินผลดานทัศนคติยังไมเหมาะสม

12

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การสัมภาษณผทู รงคุณวุฒเิ กีย่ วกับการวิจยั พัฒนาการศึกษา อมเรศ ศิลาออน (2552) ไดสะทอนถึงสภาพปจจุบนั ปญหาของการศึกษาวาการศึกษาสรางคนใหทาํ อะไรไมเปน (เชิงวิชาชีพ) ปญหาคุณภาพเด็ก เด็กไมรูวาตนเองถนัดอะไร ควรเรียนอะไร มีเด็กจํานวนมากเรียนในสิ่งที่ไมถนัด เด็กมีปญหาในการตัดสินใจ และเสนอแนวทางพัฒนาวาควรแบงกลุมเด็กตามความถนัด ตองวัด ความถนัดเด็กใหพบวาถนัดทางวิชาการหรือวิชาชีพ แลวพัฒนาตอยอด ทําโปรแกรมใหเด็ก ไดเลือกเรียน ทําในสิ่งที่เด็กถนัด ควรฝกใหรูจริง ฝกทําใหเปนและจากผลการวิจัยของกรมการ จัดหางาน (2552) พบวาคุณสมบัติพื้นฐานทั่วไปที่นายจางตองการ ไดแก เปนผูที่มีความรับผิดชอบ เปนผูที่มีความขยันหมั่นเพียร อดทน สูงาน และเปนผูที่มีระเบียบวินัยในตนเอง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดศึกษาแนวทางการจัดการศึกษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ สรุปไดวาควรเนนการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และวิธกี ารจัดการเรียนการสอน รวมทัง้ กิจกรรมพัฒนาผูเ รียนทีส่ ง เสริมใหผเู รียนไดมคี วามตระหนัก และมีประสบการณจริงในระหวางการศึกษา เพื่อใหเกิดการเชื่อมโยงและถายโยงความรูไปสู การปฏิบัติงานที่มีคุณภาพและการประกอบอาชีพที่เหมาะสมไดในอนาคต ตามหลักการของ การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ มีจุดประสงคเพื่อสงเสริมและสนับสนุนผูเรียนในเรื่อง ดังตอไปนี้ 1. มีความคิดที่เปนเหตุเปนผลในการทํางาน 2. สั่งสมความรูและทักษะที่จําเปนในการทํางาน 3. รูจักหาโอกาสและชองทางในการทํางาน 4. สํารวจและกาวเขาสูโลกแหงการทํางาน ตลอดเวลาของการศึกษาหาความรูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น นักเรียนจะตอง ไดรับการพัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติอันดีจากการศึกษา การฝกอบรม และการปฏิบัติงาน เพื่อชวยใหผูเรียนมีประสบการณที่จะตัดสินใจในการศึกษาตอ และการทํางานตอไปไดในอนาคต ตามยุทธศาสตร “รวมพลัง สานฝน ขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐานเขาสูอาชีพตลอดแนว” อีกทั้งไดเสนอแนวทางขับเคลื่อนใน 4 ระดับ คือ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

13


1. ระดับกระทรวงศึกษาธิการใหจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ เปนวาระแหงชาติ จัดทํา school mapping ประเมินทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพ รวมทั้ง สงเสริมใหมีการพัฒนาครูประจําการ และครูภูมิปญญา 2. ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานควรสงเสริมความรวมมือ กับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กรมพัฒนาฝมือแรงงาน เปนพันธกิจบริการวิชาการ และการรวมพัฒนาเยาวชน 3. ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตองเปนองคกรกลางเชื่อมโยงการแสวงหา และสงเสริมความรวมมือระหวางสถานประกอบการองคกรตางๆ และองคกรพัฒนาเอกชนกับโรงเรียน ในการสรางโอกาสและแหลงเรียนรูเพื่อฝกประสบการณและการปฏิบัติการประกอบอาชีพจริง และการสรางความรวมมือกับหนวยงานวิชาการในและนอกพื้นที่ 4. ระดับโรงเรียนสํารวจทักษะอาชีพของครู ผูบริหาร ศิษยเกา และผูปกครอง เพือ่ จัดทํารายงานอาชีพทีม่ ผี สู อนและแหลงเรียนรูต า งๆ ในทองถิน่ ใหทกุ ภาคสวนสนับสนุนกิจกรรม การเรียนเพื่อสํารวจ ศึกษา เลือก และพัฒนาทักษะอาชีพ จัดระบบการเรียนรูและพัฒนาทักษะ วิชาชีพไปสูการเกิดรายได อาจเชื่อมโยงกับกลุมอาชีพตางๆ เชน กลุม OTOP กลุมสหกรณ เพื่อพัฒนาฝมือ ผลิตภัณฑ และการตลาด ทั้งนี้แนวทางในการขับเคลื่อนตองนอมนําพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ไดพระราชทานไวเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลักของแนวทางในการจัดการศึกษา หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานจะตองดําเนินการอยางรอบคอบ และครอบคลุมถึงจุดประสงคหลักของการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อใหผูเรียนไดตระหนักรู ในคุณคา และมีความคิดทีเ่ ปนเหตุเปนผลในการทํางาน สัง่ สมความรูแ ละทักษะทีจ่ าํ เปนในการทํางาน รูจ กั การหาโอกาสและชองทางในการทํางาน สํารวจและกาวเขาสูโ ลกแหงการทํางาน จากการศึกษา เอกสารและงานวิจยั พบวาสามารถจัดกลุม ของโครงสรางเนือ้ หาของการศึกษาเพือ่ การประกอบอาชีพ (Evans, Hoys & Mangum, 1973) ดังนี้ 1. โลกของการประกอบอาชีพ 2. คุณคาของการทํางาน

14

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3. นิสัยของการทํางาน 4. ความพึงพอใจและการปรับตัวในอาชีพ 5. การตัดสินใจเกี่ยวกับอาชีพ 6. การตัดสินใจในการประกอบอาชีพ สอดคลองกับการจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพจากรัฐควีนสแลนด ประเทศ ออสเตรเลีย ตามแนวคิดของ McCowan & Mckenzie (1997) ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมการเรียน ที่เอื้อใหผูเรียนไดตระหนักรูดวยตนเอง กิจกรรมการเรียนรูที่เอื้อใหผูเรียนไดคนพบและตระหนัก จากประสบการณของการทํางานจริง การเรียนรูจากการตัดสินใจ การเรียนรูตอสถานการณ ที่เปลี่ยนแปลง สถานศึกษาและครูตอ งใหความสําคัญกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท ชี่ ว ยเพิม่ โอกาสใหผูเรียนไดมี 1. การสรางแรงจูงใจ ความตระหนักในคุณคาและความสําคัญของการประกอบ อาชีพ 2. การสรางความเขาใจในอาชีพ 3. การสํารวจโลกแหงอาชีพในยุคปจจุบันและศักยภาพและความสนใจของตนเอง 4. การเตรียมสูเสนทางการประกอบอาชีพ (Dykemanet al, 2001)

3. การจัดการเรียนรูแ ละจัดประสบการณการเปนนักธุรกิจนอยใหแกนกั เรียน การจัดการเรียนรูและจัดประสบการณใหนักเรียนเปนนักธุรกิจนอย ใหนักเรียนพัฒนา ทักษะการเปนผูประกอบการที่เปยมดวยคุณธรรม 5 ประการ มีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐาน ที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาประยุกตใชในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรค เห็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคม ไดอยางพอเพียงและมีความสุข รูจ กั พัฒนาผลิตภัณฑ บรรจุภณ ั ฑ การเปนเจาของทรัพยสนิ ทางปญญา และแขงขันในสังคมไทยและสากลได

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

15


3.1 การจัดการเรียนรูงานอาชีพในโรงเรียน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวม เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถ มี ทั ก ษะในการทํ า งาน เห็ น แนวทางในการประกอบอาชี พ และการศึกษาตอไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ สาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัวเปนสาระเกีย่ วกับการทํางานในชีวติ ประจําวัน ชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพื่อใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยีเปนสาระเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถ ของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี สรางสิ่งของเครื่องใช วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนสาระเกี่ยวกับกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศการติดตอสือ่ สาร การคนหาขอมูล การใชขอ มูลและสารสนเทศ การแกปญ  หา หรือการสรางงาน คุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาระที่ 4 การอาชีพเปนสาระเกี่ยวกับทักษะที่จําเปนตออาชีพ เห็นความสําคัญ ของคุณธรรม จริยธรรมและเจตคติที่ดีตออาชีพ ใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม เห็นคุณคาของอาชีพ สุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รูปแบบการจัดการเรียนรู มีดังนี้ 1. การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง เปนการเรียนรูที่มุงเนนใหผูเรียนไดลงมือทํางานจริงๆ 2. การเรียนรูจากการคนควา เปนการเรียนรูที่เปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาคนควา ในเรื่องที่สนใจจากแหลงความรูตางๆ จนสามารถสนองแรงจูงใจใฝรูของตนเอง 3. การเรียนรูจากประสบการณ เปนการเรียนรูที่ครูผูสอนสรางกิจกรรม โดยที่ กิจกรรมนัน้ อาจจะเชือ่ มโยงกับสถานการณของผูเ รียน หรือเปนกิจกรรมใหม หรือเปนประสบการณ ในชีวิตประจําวันก็ได

16

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


4. การเรียนรูจ ากการทํางานกลุม เปนการเรียนรูท เี่ ปดโอกาสใหมกี ารใชกระบวนการกลุม กระบวนการแกปญหา กระบวนการสรางคานิยม กระบวนการสรางความคิดรวบยอด กระบวนการ ทํางานรวมกับผูอื่น ฯลฯ ในการจัดการเรียนรูกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ผูเรียนผูสอนสามารถ ศึกษาหาความรู หรือเรียนรูจากแหลงความรูที่มีอยู ดังนี้ 1. ภูมิปญญาทองถิ่นหรือปราชญชาวบานที่มีความรูความสามารถ มีประสบการณ ประสบความสําเร็จในงานหรืออาชีพที่มีอยูในชุมชนทองถิ่น ผูนําชุมชน ฯลฯ 2. แหลงวิทยาการ ไดแก สถาบัน องคกร หนวยงาน หองสมุด ศูนยวิชาการ ทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งใหบริการความรูในเรื่องตางๆ 3. สถานประกอบการ สถานประกอบวิชาชีพอิสระ โรงงานอุตสาหกรรม หนวยงานวิจัย ในทองถิ่น ซึ่งใหบริการความรู ฝกอบรมเกี่ยวกับงาน และวิชาชีพตางๆ ที่มีอยูในชุมชนทองถิ่น 4. สื่อสิ่งพิมพตางๆ เชน แผนพับ วารสาร หนังสืออางอิง หนังสือพิมพ ฯลฯ 5. สื่ออิเล็กทรอนิกส เชน อินเทอรเน็ต ซีดี-รอม วีดิทัศน คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) ฯลฯ การแกปญหากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาชีพ มีดังนี้ 1. กรณีที่เนื้อหาสาระของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีมากเกินไป ผูสอน อาจปรับเนื้อหาสาระของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีใหเหมาะสมกับสถานศึกษา หรือ ปรับเนื้อหาสาระตอนดําเนินการทําหลักสูตรสถานศึกษาก็ได 2. กรณีที่ชุมชนไมมีแหลงเรียนรูที่เหมาะสมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อาจนําภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมากที่สุด 3. กรณีสอื่ และอุปกรณวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยีไมเพียงพอ ควรใหนกั เรียน นําวัสดุในทองถิ่นจากบานมาใชเปนสื่อ ถาหากสื่อชํารุดควรซอมปรับปรุงแกไขใหใชได ถาสื่อ ไมทันสมัยควรดัดแปลงแกไขใหทันสมัย

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

17


4. กรณีมีปญหาในการสรางเครื่องมือวัดผลประเมินผลดานทัศนคติ ควรศึกษา การวัดผลประเมินผลดานทัศนคติจากนักวิชาการ เพื่อสรางแบบวัดผลประเมินผลดานทัศนคติ และทําการวัดผลประเมินผลดวยการสังเกตพฤติกรรมสามารถวัดผลประเมินผลดานทัศนคติได 5. กรณีที่ผูบริหารและผูสอนมีประเด็นปญหาเกี่ยวกับปญหาการจัดผูเชี่ยวชาญ ใหความรูแ กครูผสู อนในกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีนนั้ สถานศึกษาควรจัดหา ผูเชี่ยวชาญใหความรูโดยเฉพาะเพื่อสรางความชัดเจนในหลักสูตรแกครูผูสอน ในระยะเวลา ที่เหมาะสม สวนปญหาการจัดสํารวจขอมูลจากผูเรียน ผูปกครอง และชุมชนทองถิ่นเพื่อใชในการ จัดทําหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีนั้น ควรสํารวจขอมูลผูเรียน ผูปกครอง และชุมชนทองถิ่นตามสภาพจริง และควรจัดประชุมเพื่อประชาสัมพันธหลักสูตร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีใหแกผูเรียน ผูปกครอง และชุมชนทองถิ่น 6. กรณีผบู ริหารและผูส อนมีปญ  หาเกีย่ วกับปญหาการจัดหาสถานทีโ่ รงฝกงานใหแก ผูเ รียนทีส่ นองตอกระบวนการจัดการทางอาชีพกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีนนั้ ควรใหความสําคัญและจัดสรรงบประมาณในการสรางสถานที่โรงฝกงานทางอาชีพใหแกผูเรียน ที่ทัดเทียมและสนองตอกระบวนการเรียนรู ที่มีประสิทธิภาพ สวนปญหาการจัดกระบวนการ การเรียนรูด ว ยการมีสว นรวมจากแหลงเรียนรูภ มู ปิ ญ  ญาทองถิน่ ทีม่ คี วามรูค วามชํานาญในอาชีพเฉพาะ มาเปนวิทยากรอยางเปนระบบนั้น ควรจัดระบบการประสานและเปดโอกาสใหองคกรทองถิ่น เขามารวมมีบทบาทในการจัดกระบวนการเรียนรูและเปนวิทยากรในสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง 7. กรณี ผู บ ริ ห ารและผู ส อนมี ป ญ หาการนํ า วิ ท ยากรท อ งถิ่ น มาร ว มให ค วามรู และชวยเหลือบุคลากรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีนั้น ควรมีระบบประสานงาน และสงเสริมความรวมมือกับองคกรทองถิน่ ใหเขามารวมเปนวิทยากรใหความรูแ ละชวยเหลือบุคลากร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

18

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3.2 การวัดและประเมินผลงานอาชีพในโรงเรียน เพือ่ แสดงวานักเรียนเขาใจกระบวนการทํางานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ใชกระบวนการกลุม ในการทํางาน มีทักษะการแสวงหาความรู ทักษะกระบวนการแกปญหา และทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทํางานที่มีคุณธรรม ตัดสินใจอยางมีเหตุผลและถูกตอง และมีจิตสํานึกในการใช ทรัพยากร และสิ่งแวดลอมอยางประหยัดและคุมคาเขาใจแนวทางการเลือกอาชีพ มีเจตคติที่ดี และเห็นความสําคัญของการประกอบอาชีพ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีส่ อดคลองกับ ความรู ความถนัด และความสนใจ ผูวัดผลจะตองวัดและประเมินผลตามสภาพจริงของกลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยเนนการวัดพฤติกรรมและความสามารถ ใชเครื่องมือ การวัดที่หลากหลาย ควรมีแนวทางดังตอไปนี้ 1. ตองวัดและประเมินผลทัง้ ความรู ความคิด ความสามารถ ทักษะและกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม คานิยมและเจตคติในการเรียนรูของผูเรียน 2. วิธีการวัดและประเมินผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว 3. ต อ งเก็ บ ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการวั ด และประเมิ น ผลตามความเป น จริ ง และต อ ง ประเมินผลภายใตขอมูลที่มีอยู 4. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองนําผลการวัดและประเมินผล ของผูเรียนไปแปลผลและหาขอสรุป 5. การวัดตองมีความเที่ยงตรงและเปนธรรม ทั้งในดานของการวัดและโอกาส ในการประเมิน การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment) จะตองผานกิจกรรม การเรียนรูที่หลากหลาย เชน กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมการปฏิบัติ กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคนควา กิจกรรมศึกษาปญหาพิเศษ หรือโครงงาน ฯลฯ โดยตองคํานึงวา ผูเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน ผูเรียนแตละคน จึงอาจทํางานชิน้ เดียวกันไดเสร็จในเวลาทีแ่ ตกตางกัน แลวตองเก็บรวบรวมผลงาน (รายงาน ชิน้ งาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตางๆ เจตคติ ความรัก ความซาบซึ้งกิจกรรมที่ผูเรียนไดทํา) มาประเมิน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

19


ลักษณะสําคัญของการวัดและประเมินผลจากสภาพจริง 1. ใชวิธีการประเมินกระบวนการคิดที่ซับซอน ความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของผูเรียนในดานของผูผลิตและกระบวนการที่ไดผลผลิตมากกวาการประเมินวาผูเรียน สามารถจดจําอะไรไดบาง 2. เปนการประเมินเพื่อวินิจฉัยผูเรียนในสวนที่ควรสงเสริมและสวนที่ควรจะแกไข ปรับปรุง เพือ่ ใหผเู รียนไดพฒ ั นาอยางเต็มศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความตองการ ของแตละบุคคล 3. เปนการประเมินที่ผูเรียนไดมีสวนรวมประเมินผลงานของทั้งตนเองและของ เพื่อนรวมหอง เพื่อสงเสริมใหผูเรียนรูจักตัวเอง เชื่อมั่นในตนเอง สามารถพัฒนาตนเองได 4. ประเมินความสามารถของผูเรียนในการถายโอนการเรียนรูไปสูชีวิตจริงได 5. ประเมินดานตางๆ ดวยวิธที ี่หลากหลายในสถานการณตางๆ อยางตอเนื่อง 6. ผลจากการประเมินสะทอนถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผนการสอน ของผูสอนวาสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจ และความตองการของผูเรียนแตละ บุคคลไดหรือไม การวัดและประเมินผลดานความสามารถ (Performance Assessment) ประเมินไดจากการแสดงออกโดยตรงจากการทํางานตางๆ ตามสถานการณทกี่ าํ หนดให อาจเปนของจริงหรือใกลเคียงกับสภาพจริง และเปดโอกาสใหผูเรียนไดแกปญหาหรือปฏิบัติงาน ไดจริง โดยประเมินจากกระบวนการทํางาน กระบวนการคิด โดยเฉพาะความคิดขัน้ สูงและผลงานทีไ่ ด ลักษณะสําคัญของการประเมินความสามารถ คือ กําหนดวัตถุประสงคของงาน วิธีการทํางาน ผลสําเร็จของงาน มีคําสั่งควบคุมสถานการณในการปฏิบัติงาน และมีเกณฑการใหคะแนนที่ชัดเจน การประเมินความสามารถทีแ่ สดงออกของผูเ รียน ทําไดหลายแนวทางตางๆ กัน ขึน้ อยูก บั สภาพแวดลอม สภาวการณ และความสนใจของผูเรียน ดังตัวอยางตอไปนี้

20

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1. มอบหมายงานใหทํา งานที่มอบใหทําตองมีความหมาย มีความสําคัญ มีความ สัมพันธกับหลักสูตร เนื้อหาวิชา และชีวิตจริงของผูเรียน ผูเรียนตองใชความรูหลายดานในการ ปฏิบัติงาน ที่สามารถสะทอนใหเห็นถึงกระบวนการทํางาน และการใชความคิดอยางลึกซึ้ง 2. การกําหนดชิน้ งาน หรืออุปกรณ หรือสิง่ ประดิษฐใหผเู รียนวิเคราะหองคประกอบ และกระบวนการทํางาน และเสนอแนวทางเพื่อพัฒนาใหมีประสิทธิภาพดีขึ้น 3. กําหนดตัวอยางชิน้ งานให แลวใหผเู รียนศึกษางานนัน้ และสรางชิน้ งานทีม่ ลี กั ษณะ ของการทํางานไดเหมือนหรือดีกวาเดิม เชน การประดิษฐเครื่องรอน การทําสไลดถาวรศึกษา เนื้อเยื่อพืช การทํากระดาษจากพืชในทองถิ่น ฯลฯ 4. สรางสถานการณจําลองที่สัมพันธกับชีวิตจริงของผูเรียน โดยกําหนดสถานการณ แลวใหผูเรียนลงมือปฏิบัติเพื่อแกปญหา แหลงขอมูลและวิธีการใหไดมาซึ่งขอมูล ผลการประเมินอาจจะไดมาจากแหลงขอมูลและวิธีการตางๆ ดังนี้ 1. สั ง เกตการแสดงออกเป น รายบุ ค คลหรื อ รายกลุ ม คื อ สั ง เกตผู เรี ย นระหว า ง ปฏิบัติงานวาปฏิบัติงานถูกตองตามขั้นตอนหรือไมอยางไร การสังเกตอาจจะแจงใหผูเรียนทราบ หรือไมก็ได และมีการบันทึกขอมูลในการสังเกตไวดวย 2. ชิ้นงาน ผลงาน การเขียนรายงาน และกระบวนการ คือประเมินจากชิ้นงาน หรือผลงานที่ผูเรียนทําเสร็จแลว รวมทั้งการเขียนรายงานที่ผูเรียนเขียนรายงานเกี่ยวกับพฤติกรรม ของตนเอง 3. การสัมภาษณ คือสอบถามความคิดของผูเรียนในการปฏิบัติงานรวมทั้งปญหา และการแกปญหาในการปฏิบัติงาน 4. บันทึกของผูเรียน ผูเรียนไดทําบันทึกถึงการปฏิบัติงานตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จ 5. การประชุมปรึกษาหารือรวมกันระหวางผูเรียนและครู หมายถึงครูกับผูเรียน มีการประชุมปรึกษาหารือรวมกันในการแกปญหาในการปฏิบัติงาน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

21


6. การวัดและประเมินผลภาคปฏิบัติ คือมีการวัดและประเมินผลขณะที่ผูเรียน ปฏิบัติงานดวยวาปฏิบัติงานตามขั้นตอนหรือไมอยางไร 7. การวัดและประเมินผลดานความสามารถ เปนการประเมินไดจากการแสดงออก โดยตรงจากการทํางาน และเปดโอกาสใหผูเรียนไดแกปญหาหรือปฏิบัติงานจริง 8. การประเมินโดยใชแฟมสะสมผลงาน เปนการรวบรวมและสรางเอกสารหลักฐาน เกี่ยวกับผลงานของผูเรียนที่บงบอกถึงความสําเร็จ แฟมสะสมผลงานจะแสดงใหเห็นความสามารถ จุดเดนจุดดอย ความสําเร็จและพัฒนาการของผูเรียน 9. การประเมินตนเอง ในการเสนอผลงาน ผูสอนควรฝกใหผูเรียนมีการประเมิน ตนเองทั้ ง ด า นความคิ ด และด า นความรู สึ ก โดยให ผู เรี ย นได พู ด ถึ ง งานของตนเอง มี ขั้ น ตอน กระบวนการทําอยางไร มีจุดบกพรองจุดดีตรงไหน ผูเรียนไดความรูอะไรบาง และผูเรียนมีความรูสึก อยางไรตองานที่ทํา 10. การประเมินโดยกลุมเพื่อน เปนการตัดสินใจโดยใหกลุมเพื่อนทํางานรวมดวย เกณฑที่ใชในการพิจารณา เชน ความคิดสรางสรรค การชวยเหลือกลุม ความสามารถในการที่จะทํางาน ใหเสร็จตามกําหนดเวลา เปนตน 11. การประเมินกลุม เปนการประเมินการทํางานเปนกลุม การทํางานรวมกัน เชน การชวยกันคิดชวยกันทําเพียงไร ผลงานของกลุมเปนอยางไร เปนตน 12. การประเมินโดยใชแบบทดสอบทั้งแบบอัตนัยและแบบปรนัย เนื้อหาสาระ ภาคทฤษฏีรวมทั้งความคิดเห็น ปญหา การแกปญหา และอื่นๆ จะประเมินไดโดยใชขอสอบทั้งแบบ อัตนัยและแบบปรนัย

22

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

23


3.3 การสรางคุณธรรมของนักธุรกิจนอย คุณธรรมนักธุรกิจนอย หมายถึง สภาพคุณงามความดี ประพฤติดี สูความสําเร็จ ในการประกอบอาชีพดานธุรกิจ ในการเปนผูป ระกอบการของนักเรียน 5 ประการ คือ ความซือ่ สัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู ในการพัฒนาความเปนนักธุรกิจนอย มุง เนนใหครูจดั การเรียนรูก ารเปนผูป ระกอบการ ในลักษณะการเปนเจาของกิจการ หรือการประกอบอาชีพอิสระใหนักเรียน โดยเนนธุรกิจการผลิต และจําหนายสินคาเอง ใหนักเรียน คิดเปน ทําได ขายเปน ตอยอดจากผลงานนักเรียนที่เกิดจาก รายวิชาที่ครูสอนในปจจุบัน โดยสงเสริมใหนักเรียนใชความคิดสรางสรรคออกแบบผลงานใหมๆ ที่มีคุณภาพ ตรงตามความตองการของตลาด สามารถผลิตไดจํานวนมาก ครูจะจัดประสบการณ ใหนักเรียนไดเรียนรูในเรื่องการเปนเจาของกิจการ การหาทุนและทําเลที่ตั้ง การวางแผนการทํา ธุรกิจ การเตรียมการ การดําเนินงานตั้งแตการวิเคราะหความตองการของตลาด ความพรอม ของทรัพยากรเพื่อการผลิต เชน แรงงาน เงินทุน วัสดุอุปกรณ วัตถุดิบ ฯลฯ ขั้นตอนการผลิตสินคา การจัดหาทีมทํางาน การควบคุมการผลิตและคุณภาพสินคา การกําหนดราคาขาย การเก็บรักษา สินคา การปองกันสินคาเสียหาย การตลาด การเงิน-บัญชี กําไรขาดทุน การแกปญหาตางๆ ซึ่งการจัดการเรียนรูการเปนผูประกอบการดังกลาว ครูตองมีความรูอยางถูกตองในสิ่งที่จะสอน มีการวางแผนการสอนที่ดี ใหความรูและจัดประสบการณความยากงายอยางเหมาะสมกับวัย สรางบรรยากาศการเรียนรูที่นักเรียนสบายใจ ปลดปลอยความคิดสรางสรรคของตนออกมาได ดวยการจัดกิจกรรมกระตุนใหนักเรียนคิดและทําดวยตนเองใหมากที่สุด ฝกฝนนักเรียนรูจักวิธี การทํางานที่มุงสูความสําเร็จ ฝกนักเรียนใหหมั่นฝกฝนการพัฒนาตนเอง ฝกฝนนักเรียนใหมีความ อดทนสนใจงาน คิดชวยเหลือเจือจานสังคม ใหเขาเห็นคุณคาของตนเองและคุณคาแหงความสําเร็จ มองเห็นอนาคตที่เขาพึ่งพาตนเองได ดังนี้

24

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

วิธีการทํางาน พัฒนาตนเอง มีเปาหมายที่ชัดเจน 1. มีจินตนาการ มีความรูในสิ่งที่ทําชัดเจน 2. มีความคิดริเริ่ม รูจักวางแผนงานแบบมีสวนรวม 3. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ทํางานตามแผน รูจักปรับแผนมุงสูความสําเร็จ 4. มีนิสัยประหยัดอดออม รูจักระบบการทํางานที่ดี การแบงงาน 5. การสื่อสารและบุคลิกภาพที่ดี การทํางานเปนทีม 6. พัฒนาตนเอง เปนผูนํา เกงบริหาร การควบคุมตนเองใหทํางานรวมกับผูอื่นได (ใฝรู รอบรู สนุกกับการเปลี่ยนแปลง) การประเมินผลงานเพื่อการพัฒนา นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม

นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

1. 2. 3. 4. 5.

สนใจงาน มีความกระตือรือรน ลงมือทําจริงจังสมํ่าเสมอ มุงมั่น อดทน ไมยอทอ มีใจจดจอตอความสําเร็จ คิดบวก ไมมีพฤติกรรมเสี่ยง

1. 2. 3. 4. 5.

เจือจานสังคม ความซื่อสัตยและกตัญูตอผูอื่น จิตใจดีงาม อยูอยางมีความสุข รักเพื่อนมนุษย ชวยเหลือสังคม มีความใจกวาง เอื้อเฟอเผื่อแผ ใชกฎทองคําในการอยูรวมกัน (อยากใหเขาทําอะไรใหเรา ใหทําใหเขากอน)

อาจพิจารณาบทเรียนและขอเสนอแนะของครูที่มีประสบการณการสอนวิชาชีพ สู ค วามสํ า เร็ จ ใช ค วามสามารถและเทคนิ ค เฉพาะตนของครู ผู ส อนในการออกแบบหลั ก สู ต ร และการสอนกิจกรรมตางๆ เพือ่ จัดประสบการณใหนกั เรียน โดยมีวธิ กี ารวัดและประเมินผลทีช่ ดั เจน เชิงประจักษ ทัง้ นี้ มัน่ ใจไดวา หากครูจดั ประสบการณใหนกั เรียนจริงจัง นักเรียนทีผ่ า นโครงการนีไ้ ป จะมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีทักษะพื้นฐานในการตัดสินใจและวางแผนประกอบอาชีพ สามารถ ประกอบอาชีพอิสระเลี้ยงตนเองได เมื่อไมไดศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นหลังจบการศึกษาภาคบังคับ หรือการศึกษาขั้นพื้นฐาน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

25


การจัดการเรียนรูงานอาชีพนักเรียนสูความสําเร็จควรมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นเตรียมการ 1. ผูบริหารแตงตั้งคณะทํางานเพื่อรวบรวมขอมูลพื้นฐานจัดประเภทขอมูลอาชีพ ในทองถิ่น ใหเห็นลูทางอาชีพทั้งภายในและภายนอกของทองถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. จัดทําแบบสอบถามความตองการทางอาชีพจากผูปกครอง นักเรียน และชุมชน เพื่อเปนขอมูลในการจัดการเรียนการสอนใหตรงกับความตองการของผูเรียนและสอดคลองกับ ความตองการของสังคม 3. วิเคราะหขอมูล จัดลําดับความสําคัญของอาชีพจากแบบสอบถาม โดยพิจารณาจาก ทรัพยากรและความตองการของผูเรียน ของชุมชน เพื่อจัดทําหลักสูตรเปดสอนในรายวิชาชีพนั้นๆ ขั้นดําเนินการ 1. คณะทํางาน ไดแก ผูบริหาร ครูผูสอน ดําเนินการจัดทําหลักสูตร วิเคราะห หลักสูตร กําหนดเนื้อหาสาระรายวิชา กําหนดผลการเรียนรู จัดทําคําอธิบายรายวิชา และกําหนด กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดทําหนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู การบริหารการจัดการเรียน การสอนเพื่อใหบรรลุผลการสอน กําหนดเกณฑการวัดผลประเมินผล 2. ดําเนินการเปดสอนโดยขออนุมตั ใิ ชหลักสูตรทองถิน่ ตอคณะกรรมการสถานศึกษา เปดรับสมัคร ใหนักเรียนเลือกเรียนในหลักสูตร หรือสมัครเขารวมกิจกรรมชุมนุม ดําเนินการจัด การเรียนรูตามโครงสรางหลักสูตร และสรุปผลการเรียนรู เพื่อนําผลไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร 3. เทคนิคการสอน ครูตอ งสรางแรงบันดาลใจเราความสนใจใหนกั เรียนเห็นเปาหมาย สุดทายของการเรียนรู เกิดความตระหนักและเห็นความสําคัญของงานอาชีพสุจริต โดยจัดหาสื่อ เลือกสื่อที่ทําใหเกิดแรงบันดาลใจ ยกตัวอยางบุคคลที่ประสบความสําเร็จในอาชีพตางๆ ใหบุคคล ที่มีความรูหรือนักธุรกิจรุนใหมอายุไมมากนักที่ประสบความสําเร็จเกี่ยวกับอาชีพหรือภูมิปญญา ทองถิ่น เลาประสบการณในการประกอบอาชีพ จัดประกวดและแสดงผลงานนักเรียน ออกราน จัดจําหนายสินคา เทคนิควิธีสอน โดยใชกระบวนการกลุม เนนทักษะกระบวนการทํางานเปนทีม และการจัดการอยางเปนระบบ เพือ่ ใหผเู รียน คิดเปน ทําเปน และแกปญ  หาในการทํางานได จัดกิจกรรม เพือ่ สรางประสบการณใหนกั เรียนเกิดการเรียนรู เชน ศึกษาจากแหลงเรียนรูแ ละสถานประกอบการ

26

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ใชวิทยากรทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน แลกเปลี่ยนเรียนรูโดยเพื่อนสอนเพื่อน พี่สอนนอง สอนเสริมและฝกปฏิบัตินอกเวลาเรียน จัดคายเสริมประสบการณอาชีพ จัดนิทรรศการ สาธิตและจําหนายสินคา สงเสริมการจัดตั้งบริษัทจําลอง ฯลฯ 4. การประชาสัมพันธหลายโอกาส เชน กอนเปดภาคเรียนโดยการประชุมผูป กครอง ปฐมนิเทศนักเรียน ประชาสัมพันธหลากรูปแบบ โดยการจัดแสดงผลงาน จําหนายผลิตภัณฑ เพื่อเผยแพรสูสาธารณชน ปญหาที่อาจเกิดขึ้น/แนวทางในการแกไขเวลาเรียนไมเพียงพอ กิจกรรมการเรียน การสอนไมตอเนื่องอาจจะตองสอนเสริมใหกับนักเรียนหลังเลิกเรียน วันหยุดและวันปดภาคเรียน เปดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เชน กิจกรรมชุมนุม กลุม สนใจ จัดกิจกรรมหารายไดระหวางเรียนกระตุน ความสนใจนักเรียนหรือบางครั้งนักเรียนขาดความรับผิดชอบในการผลิตชิ้นงานครูอาจมีแนวทาง แกไข เชน ใหคําปรึกษา หาทางชวยเหลือนักเรียนทั้งรางกาย จิตใจ ครูปฏิบัติกับนักเรียนโดยให นักเรียนรูสึกวาตนเองเปนผูมีคุณคา มีความสามารถในการสรางสรรคงานได ใหนักเรียนเห็นคุณคา งานที่ทําและมีความภาคภูมิใจในงานที่ทํา สรางสรรคผลงานจากงายไปยาก ใชคะแนนและ คาตอบแทนเปนตัวเสริมแรง กําหนดการสงงานใหชัดเจน ใหเกณฑคุณภาพประเมินผลงานใหเปน ระดับคะแนนและคาตอบแทนการขายชิ้นงานของนักเรียน ใหนักเรียนมีอิสระทางความคิดในการ พัฒนาชิ้นงาน มอบหมายภาระงานสงเสริมใหมีการทํางานเปนทีม เนนใหมีการชวยเหลือซึ่งกัน และกัน ใหนักเรียนมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมเผยแพร สาธิต จัดนิทรรศการ จําหนายผลงาน ในระดับโรงเรียน ชุมชนหรือระดับประเทศ จัดทําสิ่งเชิดชูเกียรติ เชน เข็มรางวัล เกียรติบัตร ปายประกาศ ประชาสัมพันธในวารสาร สื่อมวลชน สื่อสังคมออนไลน ฯลฯ เปนการจูงใจใหนักเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการตั้งเปาหมายคุณภาพและใหรางวัลพิเศษแกนักเรียนในรูปแบบตางๆ เชน การพานักเรียนไปทัศนศึกษา ศึกษาดูงาน ใชระบบครอบครัวและชุมชนเขมแข็งใหมีสวนรวม เพื่อเสริมแรงการสรางสรรคผลงาน เชน ผูปกครองรวมทํางานกับบุตรหลาน ใหคําแนะนํา ยกยอง ชมเชย สรางเครือขายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เชน ชุมชน องคกร หรือหนวยงานอื่น ที่เกี่ยวของ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

27


3.4 เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสรางสรรค หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานและชี้ใหเห็นถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพือ่ ใหสมดุลและพรอมตอการรองรับ การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกไดเปนอยางดี การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐาน ของทางสายกลางและความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสราง ภูมิคุมกันที่ดีในตัว ตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทํา เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควร จะเปนโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะเศรษฐกิจพอเพียงสามารถ นํามาประยุกตใชกบั การปฏิบตั ติ นไดในทุกระดับ โดยเนนการปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพัฒนา อยางเปนขั้นตอน ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ

28

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา จะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ 3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวา จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล เงื่อนไขในการตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้งความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ 1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของ อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต เกษม วัฒนชัย (2549) กลาววาการเรียนรูที่แทคือการเรียนรูตั้งแตวิวัฒนาการ สูการเรียนรูของมนุษย พื้นฐานการเรียนของมนุษย กระบวนการเรียนรูของมนุษยจนกระทั่งระบบ การเรียนรูท แี่ ทของมนุษยพรอมดวยสภาพการเรียนรูข องสังคมไทยในปจจุบนั โดยไดอญ ั เชิญแนวทาง การเรียนรูและทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัววาดวยหลักคิด หลักวิชาและหลักปฏิบัติ ใหไดเรียนรูดวย ดังนั้นการเรียนรูที่แทและพอเพียง จึงเปนเสมือนคูมือของคนจัดการศึกษาเรียนรู และคนพัฒนาสังคม พัฒนาชุมชน ที่นอมนํา 3 หลักสําคัญของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว คือ 1. การตั้งหลักคิด : วิธีคิดที่จะทํางานตองคิดใหถูก ปลดทุกขใหถูก ถาปลดทุกขผิด ก็จะแกปญหาไมได 2. การหาหลักวิชา : เมือ่ จะทําอะไร คิดจะทําแลว ตองถามตนเองวาเขาใจอยางลึกซึง้ ในสิ่งที่จะทําหรือยัง หากยังไมรู หรือรูครึ่งๆ กลางๆ แลวรีบปฏิบัติก็จะเกิดความเสียหายหรือ งานไมเสร็จ หลักวิชาหาจากไหน จากหนังสือตํารา ทั้งทฤษฎี ทั้งปฏิบัติ การหาประสบการณ ของคนอื่นและใครครวญกันเอง คิดกันเอง โดยเฉพาะความเหมาะสมกับพื้นที่และสังคม

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

29


3. การออกแบบหลักปฏิบตั ิ : ใหชดั และใช ลดขัน้ ตอนอยางรวดเร็ว ชวยเขาชวยตัวเอง ปดทองหลังพระ รวมทั้งหลักพอเพียง : ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ทีต่ อ งมีภมู คิ มุ กันในตัวทีด่ พี อสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายนอก และภายใน วิริยะ ชัยพาณิชย (2555) กลาวถึงกระแสที่จะสงผลทําใหเกิดอาชีพในอนาคตนั้น ขึ้นอยูกับ 7 กระแส ดังนี้ 1. กระแสประชากรโลก หมายถึง การรวมประชากรของประเทศตางๆ ใหเปน หนึ่งเดียว โดยปราศจากโครงสรางของอาณาเขตประเทศ เชน ประชากรอาเซียน ประชากรยุโรป เปนตน ดังนั้นกระแสประชากรโลกจึงทําใหเสมือนวาโลกเล็กลง เกิดความกาวหนาทางเทคโนโลยี และความรวดเร็วในการสงผานขอมูล ทําใหคนในโลกสามารถติดตอสื่อสารกันไดอยางไรพรมแดน สงผลใหทุกคนมีโอกาสเขาถึงขอมูลไดอยางกวางขวาง อาชีพในอนาคตจะไมถูกจํากัดดวยกฎ ระเบียบและเสนแบงกั้นพรมแดนอีกตอไป ดังนั้นการศึกษาจึงกลายเปนเครื่องมือพัฒนาคน ไมใช มาตรวัดความเกง การศึกษาตองมุงเนนการเรียนรูเพื่อการทํางาน กระแสประชากรโลกทําให การทํางานมีแนวโนมทีม่ รี ปู แบบ คิดและทํา เขาใจผูค นในโลก ทลายกําแพงเชือ้ ชาติ ศาสนา นอกจากนี้ ยังจะมีอิทธิพลตอการเลือกสาขาการเรียนในมหาวิทยาลัย ตัวอยางเชน ประชาคมอาเซียน ขณะนี้ กําหนดไว 8 สาขาอาชีพที่สามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรี ไดแก แพทย ทันตแพทย พยาบาล วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี งานสํารวจ และการทองเที่ยว เปนตน 2. กระแสชีวิตดิจิตอล ผูคนจํานวน 2,100 ลานคนในปจจุบันใชอินเทอรเน็ต การเขาถึง อินเทอรเน็ตเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวันของคน เปนอีกกระแสซึ่งเปนที่มาของสาขาอาชีพ แหงอนาคต การจัดการเรียนการสอนในกระแสดิจิตอลตองปรับเปลี่ยนกันไป เนื่องจากเด็กในยุคนี้ เลิกแขงกันเรียน กลายเปนกด Like ติดตามความเคลื่อนไหวและพูดคุยกับแฟนเพจกลายเปน อาชีพใหมในโลก ดวยเหตุดังกลาวกระแสดิจิตอลจะทําใหเกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง ไมไป โรงเรียนก็ไมใชคนโง พอคาจํานวนมากพัฒนาตัวเองคาขายออนไลน รูจัก E-Commerce และ M-Commerce และกระแสชีวิตดิจิตอลจะเปนที่มาของอาชีพใหม และการทํางานแบบใหมอีกมาก

30

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3. กระแสสีเขียว ผูคนสนใจในสิ่งแวดลอมและพลังงานซึ่งนับวันจะเปนพิษมากขึ้น กระแสการขาดแคลนพลังงาน ซึ่งจะสรางงานใหมที่เกี่ยวของกับการคนหาพลังงานในรูปแบบใหม เพื่ อ ทดแทนนํ้ า มั น ที่ กํ า ลั ง จะหมดไป รวมถึ ง งานที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การวิ จั ย สํ า รวจและค น หา แหลงพลังงานและวัสดุทดแทนทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวหมดไป ซึ่งผูบริหาร นักวิทยาศาสตร วิศวกร นักการตลาด สถาปนิก และเจาหนาที่ทุกสาขาอาชีพตองมีความเขาใจ ที่สําคัญทักษะสีเขียว จะเปนสิ่งที่คนทํางานทั้งโลกตองใสใจ จากสถิติที่บันทึกการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ปรากฏ ความรุนแรงที่เกิดจากภัยพิบัติธรรมชาติในรอบ 10 ปนี้ สรางความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน มากกว า ในรอบ 50 ป ก อ นหน า นี้ หรื อ จะพู ด ให เข า ใจง า ย ก็ คื อ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ แรง และหนักกวาเดิมถึง 5 เทา เชน แผนดินไหวที่เฮติ (ค.ศ. 2010) สึนามิแถบรอบมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอินเดียและประเทศไทย (ค.ศ. 2004) พายุนารกีสที่พมา (ค.ศ. 2008) นํ้าทวมครั้งใหญที่สุด ในประวัติศาสตรของประเทศไทย สึนามิที่สรางความเสียหายหนักสุดในรอบ 50 ปที่ญี่ปุน หิมะตก ที่ประเทศเวียดนามและอากาศหนาวเย็นที่สุดในรอบ 30 ป กระแสตางๆ เหลานี้จะทําใหพอแม ตองไมคาดหวังใหลูกสําเร็จอยางที่ตนเคยเปนหรือเคยเห็นในอดีตเพราะสภาพในอดีตไมเหมือน สิง่ ทีล่ กู จะพบเจอในอนาคตหากแตพอ แมตอ งใหกาํ ลังใจในทุกกาวเดินของลูก โรงเรียนจะเปลีย่ นไป จะไมใชสถานที่กักกันที่ตองมาบังคับใหเด็กตัดผมเกรียน อยากใหมีโรงเรียนที่มีวิสัยทัศนมุงพัฒนา ความคิดสรางสรรค ไมบงั คับทรงผมและเสือ้ ผา แตจะเนนมนุษยพลังสีเขียวผูก อบกูโ ลก และชวยกัน เปลี่ยนวัฒนธรรมที่ฟุมเฟอยเพื่อพัฒนาเยาวชนรุนใหมใหรูจักประหยัด เห็นคุณคาของนํ้า ปาไม อากาศ และโลกของเรา ทักษะสีเขียว ไมไดจําเปนสําหรับงานดานวิศวกรรม สถาปตยกรรม และ วิทยาศาสตรเทานั้น แตนักกฎหมาย นักเศรษฐศาสตร หรือนักบัญชีในอนาคตยังตองมีทักษะนี้ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย และสถาบันการศึกษาตองปรับตัวใหทนั กับกระแสโลก ตองเนนการฝกทักษะ ดานนี้มากขึ้น 4. กระแสชีววิทยาวิทยาศาสตรสขุ ภาพ ซึง่ เปนผลมาจากกระแสชีววิทยาจะชวยชีวติ คนในโลกไดอยางมาก งานวิจัยที่ประเทศตางๆ ไดลงทุนในชวง 5 ป จะเริ่มออกผลและจะยิ่งมี การพัฒนาดานวิทยาศาสตรทางชีววิทยาอีกมาก กระแสอาชีพการงานที่จะมาถึง บงชี้วาชีววิทยา

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

31


จะเปนสาขาที่หางานงายและมีทางเติบโตสูง เพราะจากนี้ไปจะเปนยุคของงานดานชีววิทยา มหาวิทยาลัยตางๆ หันมาเปดหลักสูตรเพือ่ ผลิตบัณฑิตในสาขาทีเ่ กีย่ วของกับงานผูส งู อายุเพิม่ มากขึน้ สถาบันที่ทําการสอนระดับตํ่ากวามหาวิทยาลัยในหลายประเทศ เรงฝกอบรมวิชาชีพดานสุขภาพ เพื่อผลิตคนทํางานในดานนี้ใหทันความตองการของประเทศและโลกอนาคต ทุกวันนี้แพทยที่รักษา ดูแลผูไมปวย กลายเปนแพทยที่มีรายไดสูงกวาแพทยที่รักษาผูปวยแลว เด็กหลายคนที่ทําขอสอบ ในรายวิชาหลักๆ ไมได อาจไมใชเด็กโง ถาเขาเรียนวิชาอื่นๆ เชน วิทยาศาสตรสุขภาพ เขาจะ ไมตกงานเหมือนปจจุบัน 5. กระแสความรูแ ละภูมปิ ญ  ญา ประเทศพัฒนาแลวในโลกเริม่ คิดไดหนั มาสนับสนุน ส ง เสริ ม ให ค นในบ า นเขาทํ า การเกษตรอิ น ทรี ย ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การรั ก ษาสภาพแวดล อ ม ทําการเกษตรแบบยัง่ ยืน ผักไรสารเคมีกลายเปนของราคาสูง เกษตรแบบยัง่ ยืนกลายเปนสุดยอดวิชา ที่ตางประเทศสนใจ ทั้งๆ ที่ปูยาตายายในประเทศไทยคิดมาไดนานแลว เชนเดียวกับทั่วโลกตางก็มี ภูมิปญญาอยางหลากหลาย จึงเปนเวลาของการทบทวน ปรับปรุงและพัฒนาตอยอดความรู ของประเทศนั้นๆ การเรียนการสอนในโรงเรียนตองปรับเปลี่ยนใหนักเรียนรูจักจดบันทึก เผยแพร และตอยอดภูมิปญญา ตัวอยางเชน ประเทศมาเลเซียมีแนวทางแกปญหาดวยทฤษฎีของมาเลเซีย ปฏิเสธแนวทางการแกปญหาวิกฤตการณทางการเงินในเอเชียตามแนวทางตะวันตกแลวใชความรู และแนวทางแกปญหาดวยทฤษฎีของตนเองจนกลายเปนประเทศที่ฟนตัวเร็วที่สุด จัดการปญหา ดวยความรูของเขาเอง 6. กระแสความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมอง ในการคิดหลายทิศทาง เปนกระบวนการของความรูสึกไวตอปญหา หรือสิ่งที่บกพรองขาดหายไป แลวรวบรวมความคิดตั้งเปนสมมติฐานขึ้น คิดแตกตางและดีกวาเดิม หลายคนอาจสงสัยวา ความคิดสรางสรรคและจินตนาการของเด็กหายไปไหน เด็กของเราหลายคนถูกหาวาเปนคนโง เพียงแคเขามีความคิดของตนเอง และตอบไมตรงกับเฉลย เด็กของเรามากมายที่เกงและฉลาด แตถูกหาวาเปนเด็กเกเร เพียงเพราะเขาไมสนใจในวิชาที่เราบังคับใหเขาเรียน ผูปกครองหวงใยวา เกรดเฉลีย่ ของลูกจะไดนอ ยจะสูค นอืน่ ไมได ทัง้ ๆ ทีค่ วามจริงเขาอาจเกงในบางวิชา และเขาไมจาํ เปน ตองเกงทุกวิชา การเรียนเพือ่ การแขงขันคงไมชว ยใหเด็กประสบความสําเร็จและมีความสุข ทีเ่ สียดาย คือความคิดสรางสรรคและจินตนาการที่หายไป

32

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


7. กระแสของแทคําวา “ของแท” ในที่นี้หมายถึงของจริง รูจริง ทําจริง และดีจริง หลายๆ ประเทศในโลกตองพบกับสภาวะวิกฤติอันเนื่องมาจากการทําธุรกิจแบบฉาบฉวย เก็งกําไร เปนทอดๆ ทามกลางกระแสของขอมูลขาวสารอันรวดเร็วและองคประกอบอื่นๆ เชน การเดินทาง เปนตน ทําใหผูคนสามารถเขาถึงแหลงของแทไดไมยาก เชน จีนเปนประเทศที่เปนของแทในดาน การผลิต อินเดียเปนของแทในดานงานวิศวกรรมและบัญชี เชนเดียวกันนี้การเรียนรูและเขาสูธุรกิจ อาจตองเรียนรูต งั้ แตอยูป  3 และเมือ่ จบป 4 บัณฑิตเหลานีก้ ม็ แี นวคิด มีแนวทางและมีประสบการณ สวนเงินลงทุนสําหรับคนที่ไมมีทุนเริ่มตน รัฐก็มีเงินใหเริ่มดําเนินการ นักศึกษาพวกนี้หลายคน ที่เปดธุรกิจสมัยใหมทางอินเทอรเน็ต E-Commerce การเปดแผงขายของหรือรับจางใหบริการ ตามหางสรรพสินคาทั่วไป เปนตน ดังนั้นหนาที่ของครู คือ การพัฒนาคนตองเนนการรูจริง สามารถทําไดจริง เนนการฝกปฏิบัติใหมาก อยาทําใหการศึกษาเปนเพียงอุตสาหกรรมผลิตคน ปอนตลาดงาน แตควรใหการศึกษาเปนศิลปกรรมในการพัฒนาคุณภาพของเยาวชน 3.5 การพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546) ไดใหความหมายผลิตภัณฑวาหมายถึง สิ่งที่ทําขึ้น ซึ่งผลิตภัณฑตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค หมายถึง สิ่งที่ทําขึ้นหรือสินคาที่จัดทําขึ้นจําหนายเพื่อสนองความตองการของผูซื้อโดยคํานึงถึงตนทุน ที่เหมาะสม รูปแบบ ประเภทของผลิตภัณฑในโครงการนี้ แบงออกเปน 6 ประเภท ไดแก 1. ผาและเครื่องแตงกาย 2. ศิลปะประดิษฐและของที่ระลึก 3. เครื่องใชและเครื่องประดับตกแตง 4. สมุนไพรที่ไมใชอาหารและยา 5. อาหาร 6. เครื่องดื่ม แตละประเภทสินคามีลักษณะ รูปราง รูปทรง รายละเอียดที่แตกตางกัน เพื่อใหงายตอการนํา ไปใชงาน จึงไดกําหนดรูปแบบของการจัดแสดงสินคาที่สัมพันธกับหนวยแสดงสินคาตามโครงการ เปน 4 ลักษณะ ดังนี้

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

33


1. จัดแสดงสินคาแบบแขวน เหมาะกับสินคาประเภทอาหาร ผาและเครื่องแตงกาย ศิลปะประดิษฐและของที่ระลึก เครื่องใชและเครื่องประดับตกแตง 2. การจัดแสดงสินคาแบบพาด เหมาะกับสินคาประเภทผาและเครื่องแตงกาย 3. การจัดแสดงสินคาแบบพิง เหมาะกับสินคาประเภทศิลปะประดิษฐ เครื่องใช และเครื่องประดับตกแตง 4. การจัดแสดงสินคาแบบวาง เหมาะกับสินคาทั้ง 6 ประเภท บรรจุภณ ั ฑ คือ สิง่ ทีใ่ ชในการบรรจุสนิ คาในการจัดจําหนาย เพือ่ สนองความตองการ ของผูซื้อโดยคํานึงถึงตนทุนที่เหมาะสม บรรจุภัณฑจะทําหนาที่ปองกันสินคาไมใหเสียหายระหวาง การขนสงหรือการจําหนาย ยืดอายุสินคา สรางภาพลักษณแกตัวสินคา ใหขอมูลที่จําเปนแกลูกคา จูงใจกอใหเกิดความประทับใจแกผูซื้อ สรางความเขาใจในการใชผลิตภัณฑอยางถูกตอง และทําให จําสินคาไดงาย พกพาไดสะดวก เครื่องหมายที่ใสบนบรรจุภัณฑ ไดแก 1. เครื่องหมายการคา การยื่นขอ : 1. ยื่นคําขอดวยตนเองตอนายทะเบียนพรอมชําระคาธรรมเนียม ณ ฝายบริการ และตรวจรับคําขอ สวนบริหารงานจดทะเบียนสํานักเครื่องหมายการคา กรมทรัพยสินทางปญญา หรือสํานักงานพาณิชยจังหวัดที่ผขู อมีภูมิลําเนาอยู 2. ไปรษณี ย ล งทะเบี ย นตอบรั บ ถึ ง นายทะเบี ย นกรมทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา พรอมชําระคาธรรมเนียมโดยทางธนาณัติสั่งจาย “นายทะเบียนเครื่องหมายการคา” 2. บารโคด การยื่นขอ : เจาหนาทีบ่ ริการสถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ศูนยประชุม แหงชาติสิริกิติ์ โซนซี ชั้น 3 เลขที่ 60 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ https://www.gs1thailand.org)

34

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3. เครื่องหมายรับรองฮาลาล หมายถึง การรับรองการผลิตอาหารฮาลาลสําหรับ ผลิตภัณฑอุปโภคบริโภค การฆาสัตว การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ผลิตภัณฑฮาลาล เนื้อสัตว ฮาลาลนําเขาจากตางประเทศ การยื่นขอ : 1. ฝายกิจการฮาลาล สํานักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย เลขที่ 45 หมู 3 ถนนคลองเกา แขวงคลองสิบ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 2. ฝายกิจการฮาลาล สํานักงานคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัด (ศึกษา รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.acfs.go.th./halal) 4. การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน (มผช.) การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ แกผูผลิตชุมชนในโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ โดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ใหเปนที่ยอมรับและสามารถประกันคุณภาพใหกับผูบริโภค ตลอดจนสงเสริมใหแตละชุมชน ไดใชภูมิปญญาทองถิ่นในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑและเปนแนวทางในการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ ชุมชนสูตลาดทั้งในและตางประเทศผูสมัครตองมีคุณสมบัติในขอหนึ่งขอใด ดังนี้ 1. เปนผูผลิตในชุมชนของโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ที่ไดรับการคัดเลือก จากคณะกรรมการอํานวยการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑแหงชาติ 2. เปนกลุมหรือสมาชิกของกลุมเกษตรกร กลุมสหกรณ หรือกลุมอื่นๆ ตามกฎหมาย วิสาหกิจชุมชน เชน กลุมอาชีพ กลุมอาชีพกาวหนา กลุมธรรมชาติ เปนตน วิธีการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑชุมชน ประกอบดวย 1. ตรวจสอบสถานที่ผลิตและเก็บตัวอยางจากสถานที่ผลิต 2. ตรวจติ ด ตามผลคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนที่ ไ ด รั บ การรั บ รอง โดยสุ ม ซื้ อ ตัวอยางที่ไดรับการรับรองจากสถานที่จําหนาย

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

35


การยื่นขอ : 1. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม “มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน” ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุ ง เทพมหานคร 10400 (ศึ ก ษารายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ http://www.tisi.go.th) 2. สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด 5. การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม (มอก.) หมายถึง มาตรฐานทีก่ าํ หนด โดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม แบงเปน 2 มาตรฐาน ไดแก 1. มาตรฐานบังคับ หมายถึง มาตรฐานทีม่ พี ระราชกฤษฎีกากําหนดใหผลิตภัณฑ ตองเปนไปตามมาตรฐานและการทําหรือนําเขาตองไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมกอน ซึ่งผูผลิตจะขอรับการตรวจสอบเพื่อรับรองมาตรฐานกอนการผลิต และจําหนาย 2. มาตรฐานไมบังคับ หมายถึง มาตรฐานที่กําหนดขึ้นเพื่อรับรองคุณภาพ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมผูผลิตจะเสนอขอรับการตรวจสอบเพื่อรับรองมาตรฐานหรือไมก็ได การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑมีหลักเกณฑทางเทคนิค 2 ประการ 1. ผลิตภัณฑมีคุณภาพเปนไปตามมาตรฐาน ประเมินโดยการตรวจสอบ 2. โรงงานมีระบบคุณภาพที่ดี โดยประเมินวิธีการควบคุมคุณภาพของโรงงาน ตามหลักเกณฑเฉพาะผลิตภัณฑ (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.tisi.go.th) 6. การรับรองมาตรฐาน ISO การรับรองมาตรฐาน ISO ที่นิยมใช ไดแก 1. ISO 9000 หมายถึง การรับรองมาตรฐานระบบควบคุมคุณภาพของโรงงาน ผูผลิต ในกระบวนการรับรองคุณภาพนี้จะมีการตรวจสอบมาตรฐานการผลิต ระบบการควบคุม คุณภาพของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ 2. ISO 14000 จะเนนการมีมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมของโรงงาน เชน การจัดการ ของเสียทีเ่ ปนพิษและทําลายสิง่ แวดลอมทัง้ ภายในและภายนอกโรงงาน ซึง่ มีกระบวนการตรวจสอบ แบบสากล

36

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


7. มาตรฐานวิธกี ารผลิตทีด่ ี (Good Manufacturing Practice : GMP) หมายถึง การควบคุมการผลิตที่ประกอบดวยการวินิจฉัย และประเมินอันตรายของอาหารที่อาจเกิดขึ้น กับผูบริโภค ตั้งแตวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนสงจนกระทั่งถึงมือผูบริโภค รวมทั้งการสราง ระบบควบคุมกระบวนการผลิตเพื่อกําจัดหรือลดสาเหตุที่จะทําใหเกิดอันตรายแกผูบริโภค ไดแก 1. สุขลักษณะที่ตั้งและอาคารผลิต 2. เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในการผลิต 3. การควบคุมกระบวนการผลิต 4. การสุขาภิบาล 5. การบํารุงรักษาและการทําความสะอาด 6. บุคลากร ตอมาไดมีผลบังคับกับสินคาประเภทยา สวนสินคาเครื่องสําอางมีการดําเนินการ ในลักษณะการกํากับดูแล ซึ่งในอนาคตจะประกาศเพิ่มเติมใหครอบคลุมอาหารทุกชนิด และมี ความสัมพันธกับระบบ HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point) 8. การรับรองมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) หมายถึง การรับรองเกี่ยวกับแหลงผลิต สวนประกอบ วิธีการผลิต ความปลอดภัย คุณภาพหรือลักษณะอื่นๆ ที่ออกโดยสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหผูผลิตเห็นความสําคัญของเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร ที่แสดงถึง ความมีคุณภาพและปลอดภัย สามารถแขงขันในตลาดโลกไดอยางมีศักยภาพ ไปสูเปาหมาย ใหประเทศไทยเปนศูนยกลางครัวของโลก และกระตุน เตือนใหประชาชนไดใชสนิ คาและเลือกบริโภค อาหารที่ปลอดภัย (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.acfs.go.th) 9. มาตรฐานอื่นๆ หมายถึง มาตรฐานอื่นที่เปนที่ยอมรับ ไดแก ประกาศนียบัตร ใบรับรอง ใบประกาศเกียรติคุณ โลรางวัล ถวยรางวัล ที่ไดรับจากการประกวดผลิตภัณฑ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

37


สรุปมาตรฐานรับรองที่ควรมีบนบรรจุภัณฑ มาตรฐานอืน่ ๆทีเ่ ปนทีย่ อมรับ

มาตรฐานสากล

มอก.

มาตรฐานอาหารสากล

มกอช./มอก.

มผช.

อย.

ประเภท

ฮาลาล

เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน

1. ประเภทอาหาร 2. ประเภทเครื่องดืม่ * เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล * เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล 3. ประเภทผาและเครื่องแตงกาย 4. ประเภทเครื่องใชและเครื่องประดับตกแตง 5. ประเภทศิลปะประดิษฐและของที่ระลึก 6. ประเภทสมุนไพรที่ไมใชอาหารและยา

1. ในกรณีที่เปลี่ยนหรือเพิ่มขนาดบรรจุภัณฑจะตองใชบารโคดใหมทุกครั้ง เครื่องหมาย อย. และบารโคดจะมีดวยกัน 13 หลัก 2. การขอเครื่องหมายฮาลาลจะมีความสัมพันธกับเครื่องหมาย อย. ในกรณีที่ จะเปลี่ยนสูตร/เพิ่มรสชาติจะตองแจงเพิ่มเติม 3.6 ทรัพยสินทางปญญา ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจาก การประดิษฐ คิดคน หรือสรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความชํานาญ โดยไมคํานึงถึงชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออก ทรัพยสินทางปญญาอาจแสดงออก ในรูปแบบของสิ่งที่จับตองได เชน สินคาตางๆ หรือในรูปของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการ แนวคิด ในการดําเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เปนตน (กรมทรัพยสินทางปญญา, ม.ป.ป.)

38

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ทรัพยสินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) และลิขสิทธิ์ (Copyright) 1. ทรัพยสนิ ทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสรางสรรค ของมนุษยที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ความคิดสรางสรรคนี้อาจเปนความคิดในการ ประดิษฐคิดคน ซึ่งอาจจะเปนกระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ไดปรับปรุง หรือคิดคนขึ้นใหม หรือการออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรมที่เปนองคประกอบและรูปรางของตัวผลิตภัณฑ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการคาหรือยี่หอ ชื่อและถิ่นที่อยูทางการคา รวมถึงแหลงกําเนิด และการปองกันการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม ซึ่งแบงไดดังนี้ 1.1 สิทธิบัตร (Patent) คือ หนังสือสําคัญที่รัฐออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ (Industrial Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกําหนด เปนสิทธิพิเศษ ที่ใหผูประดิษฐหรือผูออกแบบผลิตภัณฑ มีสิทธิที่จะผลิตสินคาจําหนายสินคา แตเพียงผูเดียว ในชวงระยะเวลาหนึ่ง ไดแก 1.1.1 สิทธิบัตรการประดิษฐ (Invention Patent) หมายถึง การใหความ คุมครองการคิดคนเกี่ยวกับลักษณะองคประกอบ โครงสราง หรือกลไกของผลิตภัณฑ รวมทั้ง กรรมวิธีในการผลิต การเก็บรักษา หรือการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ 1.1.2 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ (Design Patent) หมายถึง การให ความคุมครองความคิดสรางสรรคที่เกี่ยวกับรูปรางลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ องคประกอบ ของลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑ ซึ่งสามารถใชเปนแบบสําหรับผลิตภัณฑอุตสาหกรรม รวมทั้ง หัตถกรรมได และแตกตางไปจากเดิม 1.1.3 อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) คือ การใหความคุมครองการประดิษฐ จากความคิดสรางสรรคที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไมสูงมาก โดยอาจเปนการประดิษฐคิดคน ขึ้นใหม หรือปรับปรุงจากการประดิษฐที่มีอยูกอนเพียงเล็กนอย 1.2 แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-Design of Integrated Circuits) หมายถึง แบบ แผนผัง หรือภาพที่ทําขึ้น ไมวาจะปรากฏในรูปแบบหรือวิธีใด เพื่อแสดงถึง การจัดวางและการเชื่อมตอของวงจรไฟฟา เชน ตัวนําไฟฟา หรือตัวตานทาน เปนตน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

39


1.3 เครื่องหมายการคา (Trademark) หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ หรือตรา ที่ใชกับสินคาหรือบริการ แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก 1.3.1 เครื่องหมายการคา (Trademark) คือ เครื่องหมายที่ใชหรือจะใชกับ สินคาเพื่อแสดงวาสินคาที่ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางกับสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่น เชน มามา กระทิงแดง เปนตน 1.3.2 เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใชหรือ จะใชกับบริการ เพื่อแสดงวาบริการที่ใชเครื่องหมายนั้นแตกตางกับบริการที่ใชเครื่องหมายบริการ ของบุคคลอื่น เชน การบินไทย ธนาคารกรุงไทย โรงแรมดุสิตธานี เปนตน 1.3.3 เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายที่เจาของ เครื่องหมายรับรองใชหรือจะใชกับสินคาหรือบริการของบุคคลอื่น เพื่อเปนการรับรองเกี่ยวกับ สินคาหรือบริการนั้น เชน เชลลชวนชิม แมชอยนางรํา ฮาลาล เปนตน 1.3.4 เครื่องหมายรวม (Collective Mark) คือ เครื่องหมายการคา หรือเครื่องหมายบริการที่ใชหรือจะใชโดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุมเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของ สมาคม สหกรณ สหภาพ สมาพันธ กลุมบุคคล หรือองคกรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เชน ตราชาง ของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) เปนตน 1.4 ความลับทางการคา (Trade Secret) หมายถึง ขอมูลการคาซึ่งยังไมเปน ที่ รู จั ก กั น โดยทั่ ว ไป โดยเป น ข อ มู ล ที่ มี มู ล ค า ในเชิ ง พาณิ ช ย เ นื่ อ งจากข อ มู ล นั้ น เป น ความลั บ และมีการดําเนินการตามสมควร เพื่อทําใหขอมูลนั้นปกปดเปนความลับ 1.5 ชื่อทางการคา (Trade Name) หมายถึง ชื่อที่ใชในการประกอบกิจการ เชน ไทยประกันชีวิต ขนมบานอัยการ เปนตน 1.6 สิง่ บงชีท้ างภูมศิ าสตร (Geographical Indications) หมายถึง ชือ่ สัญลักษณ หรือสิ่งอื่นใดที่ใชเรียกหรือใชแทนแหลงภูมิศาสตร และสามารถบงบอกวาสินคาที่เกิดจากแหลง ภูมิศาสตรนั้น เปนสินคาที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหลงภูมิศาสตรดังกลาว เชน ขาวหอมมะลิทุงกุลารองไห ผาไหมยกดอกลําพูน สมโอนครชัยศรี ไขเค็มไชยา เปนตน 2. ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเดียวของผูสรางสรรคที่จะ กระทําการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผูสรางสรรคไดทําขึ้นตามประเภทลิขสิทธิ์ที่กฎหมายกําหนด ไดแก งานวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง

40

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


งานแพรเสียงแพรภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร หรือแผนกศิลปะ ไมวางานดังกลาวจะแสดงออกโดยวิธีหรือรูปแบบอยางใด นอกจากนั้นกฎหมายลิขสิทธิ์ยังให ความคุมครองถึงสิทธิของนักแสดงดวย การคุมครองลิขสิทธิ์ไมครอบคลุมถึงความคิดหรือขั้นตอน กรรมวิธี หรือระบบ หรือวิธีใช หรือวิธีการทํางาน หรือแนวความคิด หลักการ การคนพบ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร หรือคณิตศาสตร การจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ เมื่อจะออกสินคาตัวใหมที่มีการออกแบบ ลักษณะรูปรางเฉพาะสินคานัน้ ๆ ควรพิจารณายืน่ ขอรับสิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ไวดวย การยื่นขอสิทธิบัตรการออกแบบเขียนคําขอไมยาก เพียงกรอกแบบฟอรมและวาดภาพ หรือถายรูปทุกดานของแบบผลิตภัณฑ ซาย ขวา หนา หลัง บน ลาง และภาพมุมเฉียง โดยจะยื่นจด ผลิตภัณฑทั้งชิ้น หรือยื่นจดเฉพาะบางชิ้นสวนก็ได ขอมูลเทคโนโลยีในเอกสารสิทธิบัตร 1. ศิลปวิทยาการดัง้ เดิม (Description of Prior Art) มีการ review ขอมูลภูมหิ ลัง ของวิทยาการ หรือการประดิษฐ ทําใหเราไดขอมูลที่เปนประโยชน ไดทราบความเปนมาของ เทคโนโลยีเรื่องนั้นๆ อยางชัดเจน 2. การประดิษฐโดยละเอียด (Detailed Description of the Invention) เปนการเปดเผยเทคโนโลยีการประดิษฐเรื่องนั้นๆ อยางละเอียด ใหผูที่มีความรูสาขานั้นสามารถ ทําการประดิษฐอยางเดียวกันได 3. ตัวอยาง (Examples) เปนตัวอยางการประดิษฐ การทดลอง เพื่อความชัดเจน และเพื่อผลในการคุมครองสิทธิบัตรนั้นๆ ชี้ใหเห็นการใชงานจริงของสิทธิบัตร อาจระบุสูตร หรือสวนผสม 4. ขอถือสิทธิ (Claims) เปนหัวใจของเอกสารสิทธิบัตร เปนการกําหนดขอบเขต ความคุมครองของสิทธิบัตรเรื่องนั้นๆ และเปนประเด็นสําคัญในการประดิษฐเทคโนโลยีนั้นๆ ลักษณะการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรได 1. เปนการประดิษฐขึ้นใหม (Novelty) 2. เปนการประดิษฐที่สูงขึ้น (Inventive Step) 3. เปนการประดิษฐที่สามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรม รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

41


ขอถือสิทธิสําหรับสิทธิบัตรการประดิษฐ 1. การถือสิทธิในผลิตภัณฑใหม (Product Claim) 2. การถือสิทธิในกรรมวิธี/กระบวนการใหม (Process Claim) 3. การถือสิทธิในการใชงานใหม (Use Claim) * ในทุ ก ประเทศทุ ก คนสามารถขอสํ า เนาการประดิ ษ ฐ ทั้ ง หมดได ใ นทั น ที เมื่อไดประกาศโฆษณาแลว * ใชทําวิจัยไดทุกประเทศ * เมื่อไดยื่นขอรับสิทธิครั้งแรกในประเทศใดประเทศหนึ่งแลวหากไมยื่นขอ ในประเทศอื่นๆ ภายใน 12 เดือน ก็หมดสิทธิ์ขอรับการคุมครอง ปญหาทรัพยสินทางปญญาและผลกระทบที่มีตอการพัฒนาประเทศ ปญหาทรัพยสินทางปญญาที่สําคัญของประเทศไทย เกิดจากการไมเขาใจในเรื่อง ทรัพยสินทางปญญาอยางถูกตองทั้งในระดับประชาชนทั่วไปจนถึงระดับบัณฑิตศึกษา ตลอดจน นักวิชาการทัว่ ไป ตัวอยางทีพ่ บมาก ไดแก การไมเขาใจในความแตกตางระหวางทรัพยสนิ ทางปญญา ประเภทสิทธิบัตรกับทรัพยสินทางปญญาประเภทลิขสิทธิ์ มีการใชสับสนระหวางคําวาสิทธิบัตร กับคําวาลิขสิทธิ์คอนขางมาก หลายครั้งที่สื่อมวลชนนําเสนอผลงานสิ่งประดิษฐทางวิทยุโทรทัศน และรายงานวาสิ่งประดิษฐนั้นไดยื่นขอรับลิขสิทธิ์แลว ทั้งๆ ที่สิ่งประดิษฐที่เปนผลิตภัณฑใหม หรือกรรมวิธกี ารผลิตใหม หรือการใชงานใหมทไี่ มเคยมีปรากฏหรือการใชงานทีใ่ ดมากอน และไมเคย เปดเผยสาระสําคัญของการประดิษฐมากอน ตองยื่นขอรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ขณะที่ลิขสิทธิ์ซึ่งเปนผลงานทางวรรณกรรม ไดแก งานศิลปะ หนังสือ เพลง สื่อบันทึกภาพ สื่อบันทึกเสียง ซอฟตแวรคอมพิวเตอร เจาของผลงานจะไดสิทธิคุมครองนานาชาติ ทันที ตามอนุสัญญากรุงเบิรน ผลกระทบของทรัพยสนิ ทางปญญาตอการพัฒนาประเทศทีส่ าํ คัญ ไดแก การไมเขาใจ ในเรื่องของทรัพยสินอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในเรื่องของสิทธิบัตร คนสวนใหญไมทราบวาระบบ สิทธิบัตรไดออกแบบมาเพื่อสังคมโลกไดประโยชน โดยจูงใจใหมีการคิดประดิษฐเทคโนโลยีใหมๆ แลกกับสิทธิการคุมครองระยะเวลาหนึ่ง โดยสิทธิบัตรไทยไดใหการคุมครอง 20 ปนับจากวันยื่น ขอรับสิทธิบัตร แตตองเปดเผยรายละเอียดการประดิษฐไวใหผูอื่นทําตามอยางได ซึ่งเมื่อมีการประกาศ

42

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ตีพิมพแลว ทุกคนสามารถขอสําเนาเรื่องเต็มของการประดิษฐนั้นๆ มาทําการศึกษาวิจัยและพัฒนา ตอยอดได แตหามนําไปใชหรือผลิตเชิงพาณิชย ที่สําคัญคือ คนสวนใหญไมทราบวาสิทธิบัตร ใหการคุม ครองเปนรายประเทศ เฉพาะทีป่ ระเทศเจาของผลงานยืน่ ขอและประเทศนัน้ ๆ รับจดทะเบียน แลวเทานั้น ดังนั้นหากสิ่งประดิษฐเรื่องใด ไมไปจดสิทธิบัตรในประเทศใด ภายในระยะเวลา 1 ป นับจากวันที่ยื่นครั้งแรกในประเทศแรกแลว ก็หมดสิทธิขอรับสิทธิบัตร กลายเปนสิทธิสาธารณะ ในประเทศนั้น ซึ่งทุกคนสามารถนํามาใชประโยชนได วิธีการนี้ชวยใหโลกเจริญกาวหนาไดรวดเร็ว ฐานขอมูลออนไลนการสืบคนสิทธิบัตรตางๆ สํานักสิทธิบัตรอเมริกา www.toryod.com หรือ www.uspto.gov สํานักสิทธิบตั รยุโรป คลิก Link สํานักสิทธิบตั รยุโรป ในเว็บไซต www.toryod.com หรือ http://ep.espacenet.com หรือ http://gb.espacenet.com สํานักสิทธิบตั รญีป่ นุ คลิก Link สํานักสิทธิบตั รญีป่ นุ ในเว็บไซต www.toryod.com หรือ www19.ipdl.inpit.go.jp/PA1/cgi-in/PA1INIT?1174902506046 หรือ www.jpo.go.jp องคกรทรัพยสนิ ทางปญญาโลก (WIPO) คลิก Link องคกรทรัพยสนิ ทางปญญาโลก (WIPO) ในเว็บไซต www.toryod.com หรือ http://www.wipo.int/pctdb/en/search-struct.jsp กรมทรัพยสินทางปญญา ประเทศไทย คลิก Link กรมทรัพยสินทางปญญา ประเทศไทย ในเว็บไซต www.toryod.com หรือ www.ipthailand.go.th หรือ http:// patentsearch.moc.go.th แนวคิดผลิตภัณฑจากเอกสารสิทธิบัตรนานาชาติ เอกสารสิทธิบัตรนานาชาติ เปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางมากและจําเปนอยางยิ่ง ตอการพัฒนาประเทศอยางครบวงจร มีศักยภาพที่จะชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ กอใหเกิดการพัฒนาแบบกาวกระโดดสูค วามสําเร็จ ระบบสิทธิบตั รออกแบบมาเพือ่ ให คนสวนใหญของโลกไดประโยชนจึงใหสิทธิคุมครองเปนรายประเทศ เฉพาะประเทศไทยที่เจาของ ผลงานไดยื่นขอรับสิทธิบัตรและประเทศนั้นๆ รับจดทะเบียนแลวเทานั้น สิทธิบัตรจูงใจใหมีการคิด ประดิษฐสงิ่ ใหมๆ และเปดเผยรายละเอียดใหบคุ คลทัว่ ไปในสาขานัน้ ๆ สามารถเขาใจและทําตามอยางได เมื่อทําการสืบคนสิทธิบัตรตางประเทศแลวถาจะนําเทคโนโลยีนั้นๆ มาใชผลิตสินคาจําหนาย รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

43


ในประเทศตองตรวจสอบกอนวาสิทธิบัตรเรื่องนั้นไมไดยื่นขอรับสิทธิบัตรไทย โดยตรวจสอบไดที่ เว็บไซตของกรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย 3.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ ศิรวิ รรณ คามตะศิลา (2551) ไดศกึ ษาการพัฒนาหลักสูตรทองถิน่ กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องงานสานดวยกกสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา การจัดกิจกรรมการเรียนในสถานการณจริงทําใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เกิดทักษะในการทํางาน สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามที่หลักสูตรกําหนด ธัญญา ไตรวนาธรรม (2553) ไดศกึ ษาการพัฒนาหลักสูตร เรือ่ งการประดิษฐผลิตภัณฑ จากเศษผาสูงานอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 พบวา ในการนําหลักสูตรไปใช นักเรียนมีความกระตือรือรนและรวมมือทํากิจกรรม เนื้อหาสาระที่นํามา จัดการเรียนรูเกิดจากความตองการของนักเรียนและเปนเรื่องใกลตัว ทําใหนักเรียนสามารถสรุป เนื้อหาสาระ สนใจการเรียนรู ไดรวมกันวิเคราะห แกปญหา และทําการประดิษฐผลิตภัณฑ จากเศษผาดวยตนเอง เฉลิมรักณ ศรีสถิตธรรม (2552) ศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรูทักษะ ดานงานประดิษฐดวยวิธีการสอนแบบปกติกับวิธีการสอนแบบโครงงาน ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 3 พบวา การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานในวิชางานประดิษฐของนักเรียนชัน้ มัธยม ศึกษาปที่ 3 กับกลุมควบคุม ปรากฏวากลุมนักเรียนที่เรียนโดยใชการจัดการเรียนการสอนแบบ โครงงาน มีทักษะการจัดการทางการเรียนสูงกวากลุมนักเรียนที่ใชการเรียนการสอนแบบปกติ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สรุปไดวา การพัฒนาหลักสูตรทองถิ่น กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ที่จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยผานการฝกปฏิบัติจริง สงผลใหผูเรียนมีความกระตือรือรน สนใจการเรียนรู สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาในการสรางชิ้นงานได โดยเฉพาะการเรียนรู แบบโครงงาน ทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

44

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


บทที่ 3 การดําเนินงานในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค เริม่ ดําเนินการ มาตั้งแตป 2553 ไมสามารถดําเนินการไดครบทุกกิจกรรม เนื่องจากสถานภาพของงบประมาณ ที่ไดรับอยางจํากัดโดยไดดําเนินงานตามลําดับ ดังนี้ ปที่ 1 (2553) การดําเนินงาน 1. สัมมนาผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ นักธุรกิจ ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษา และครูผูสอนงานอาชีพในโรงเรียน ประเด็นการสอนงานอาชีพแนวใหม เพื่อรับฟงความคิดเห็น จํานวน 35 คน 2. รวบรวมขอมูลและจัดทําหลักสูตรทดลองอบรมครูโรงเรียนนํารอง จํานวน 90 คน (หลักสูตรที่ 1) ปที่ 2 (2554) การดําเนินงาน 1. สังเคราะหขอมูลจัดทําโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. เสนอของบประมาณนําเขาสูแผนปฏิบัติการของ สพฐ. 3. สรางและพัฒนาหลักสูตรนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 4. จัดทําคูมือแนวดําเนินการสําหรับโรงเรียน 5. จัดพิมพเอกสารองคความรู 6. อบรมเชิงปฏิบัติการผูบริหารและครูโรงเรียนนํารอง รุนที่ 1 ประกอบดวย โรงเรียน นํารองในป 2553 จํานวน 90 โรงเรียน และคัดโรงเรียนเพิ่มจํานวน 35 โรงเรียน รวม 125 โรงเรียน จํานวน 272 คน (หลักสูตรที่ 2) รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

45


7. สงเสริมและพัฒนาองคความรูการวิจัยใหกลุมครู รุนที่ 1 ที่สมัครใจทําวิจัย จํานวน 32 คน 8. สนับสนุนงบประมาณใหครูทาํ วิจยั พัฒนาการเรียนการสอนสูค วามสําเร็จนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จํานวน 32 คน 9. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อตอยอดการจัดการเรียนการสอนของครู 10. คัดสรรผลงานนักเรียนเผยแพรและจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี 11. เผยแพรความสําเร็จของโรงเรียนในโครงการตามคําเชิญของสภาหัตถกรรมโลก ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต ในหัวขอ “งานหัตถกรรมกับการจัด การศึกษาของไทย” 12. นิเทศติดตามและพัฒนา 13. จัดพิมพเอกสารเผยแพรผลงานการจัดการเรียนการสอนของครู จํานวน 1 เลม ปที่ 3 (2555) การดําเนินงาน 1. จัดทําหลักสูตรการอบรมโรงเรียนรุน ที่ 2 สําหรับอบรมผูบ ริหารและครูโรงเรียนทีส่ อน นักเรียนทําอาหารแปรรูป จํานวน 90 โรงเรียน 2. จัดทําคูมือแนวดําเนินการสําหรับโรงเรียน 3. จัดพิมพเอกสารองคความรู 4. จัดอบรมปฏิบัติการผูบริหารและครู โรงเรียนนํารอง รุนที่ 2 จํานวน 90 โรงเรียน 180 คน 5. พัฒนางานวิจัยพัฒนาการเรียนการสอนสูความสําเร็จนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรคของครูตอเนื่องจากป 2554 6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู 7. คัดสรรผลงานนักเรียนเผยแพรและจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี และงานเมืองหัตถศิลปถิ่นโภชนา ครั้งที่ 1 ณ บริเวณถนนลูกหลวง เลียบคลองผดุงกรุงเกษม กระทรวงศึกษาธิการ

46

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


8. เผยแพรผลความสําเร็จของโรงเรียนในโครงการระดับนานาชาติ ในงานนวัตศิลปนานาชาติ ของศูนยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา 9. นิเทศติดตามเพื่อพัฒนา 10. จัดพิมพเอกสารเผยแพรผลงานครู จํานวน 2 เลม ปที่ 4 (2556) การดําเนินงาน 1. สังเคราะหงานวิจัยของครูที่โครงการสงเสริมและสนับสนุนงบประมาณใหทําการวิจัย 2. จัดตั้งศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค จํานวน 29 ศูนย โดยคัดเลือกจากโรงเรียนที่ครูทํางานวิจัยสําเร็จผานการตรวจสอบ ของผูท รงคุณวุฒแิ ละโรงเรียนทีจ่ ดั การเรียนรูป ระสบความสําเร็จโดดเดนตามเปาหมายของโครงการ ไดรับรางวัลโครงการ กรุงไทย ยุววาณิช และไดรับรางวัลระดับนานาชาติ โดยดําเนินการดังนี้ - จัดทําคูม อื แนวทางการดําเนินงานศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อใหโรงเรียนที่ทําหนาที่ศูนยมีความสะดวกและมีทิศทาง ในการทํางาน - สนับสนุนงบประมาณใหศูนยแกนนําฯ ดําเนินการจัดตั้งศูนย ศูนยละ 100,000 บาท - ประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการผูรับผิดชอบศูนยแกนนําฯ จํานวน 29 ศูนย ผูเขารวม ประชุม ประกอบดวย รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบ ดานงานอาชีพ ผูบริหารโรงเรียน และครู เพื่อรับนโยบายโดยใหความรูความเขาใจในการจัดตั้งศูนย จัดทําแผนแมบทการพัฒนารวมกัน และจัดทําแผนปฏิบัติการแยกเปนรายโรงเรียน 3. จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาโรงเรียน รุนที่ 3 จํานวน 90 โรงเรียน ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียนและครู จํานวน 180 คน โดยใหโรงเรียนในโครงการ รุนที่ 1 ที่ประสบความสําเร็จรวมนําเสนอผลงานเปนตัวอยาง 4. ประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการตอยอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู และถอดประสบการณ การจัดการเรียนรูของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยฯ รุนที่ 1 และรุนที่ 2 5. สงเสริมสนับสนุนใหโรงเรียนเผยแพรผลงานวิจยั และการปฏิบตั งิ านทีด่ เี ลิศสูส าธารณชน กับหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

47


6. จัดโครงการนักธุรกิจนอยสัญจรภาคเหนือเพื่อเพิ่มพูนความรูใหครูเรื่องการทําธุรกิจ ของวิสาหกิจชุมชนที่ประสบความสําเร็จและบําเพ็ญประโยชนกับผูอื่นดวยการแบงปนความรูใหครู นักเรียนและชุมชนในทองถิ่นหางไกล 7. จัดจางทําเว็บไซตเผยแพรผลงานของครูและนักเรียน 8. คัดเลือกผลงานนักเรียนเผยแพรและจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ปการศึกษา 2555 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี และงานเมืองหัตถศิลปถิ่นโภชนา ครั้งที่ 2 ณ บริเวณ ถนนลูกหลวง เลียบคลองผดุงกรุงเกษม กระทรวงศึกษาธิการ 9. เผยแพรความสําเร็จของโรงเรียนในโครงการโดยไปนําเสนอการดําเนินงานของโครงการ นักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ตามคําเชิญจากหนวยงานภาครัฐของประเทศภูฏาน 10. นิเทศติดตามเพื่อการพัฒนา 11. จัดทําสรุปผลการดําเนินงานโครงการ ป 2553-2556 เพื่อพิมพเผยแพร

48

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ปที่ 1 (2553)

งานศิลปหัตถ กรรมนักเร ระดับประเทศ ียน

จุดประกาย ความคิด

ผลิตภัณฑไมมีจุดเดน ผลิตภัณฑไมคอยมีการพัฒนา นักเรียนไมสามารถสรางผลิตภัณฑเองได นักเรียนบอกรายละเอียด ของผลิตภัณฑไมได ครูไมมีความรูทางธุรกิจ/ การพัฒนาผลิตภัณฑ/บรรจุภัณฑ

ครูไมมีความรูดานศิลปะ ครูไมมีประสบการณทางธุรกิจ นักเรียนสรางผลิตภัณฑได แตไมมีตลาด/ ไมสอดคลองกับความตองการของตลาด ครูไมมีกระบวนการพัฒนาพื้นฐาน ดานอาชีพแกนักเรียน

กระบวนการ 1. เนนการพัฒนาที่ยั่งยืน - โรงเรียนเขาโครงการโดยสมัครใจ - การคัดเลือกโรงเรียนเขาโครงการ โดยพิจารณาโรงเรียนที่ไดรับการคัดเลือกผลงานจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติประจําป 2. พัฒนาและติดตามผลอยางตอเนื่องอยางกัลยาณมิตร 3. แสวงหาเครือขายใหโรงเรียนมีเวที โดยนําเสนอผลงานทางวิชาการของหนวยงานภาครัฐ/เอกชนทั้งในและตางประเทศตลอดป 4. หาตลาดนําผลงานนักเรียนจําหนายประจําปอยางนอยไมตํ่ากวาปละ 2 ครั้ง 5. สงเสริมใหการจัดประสบการณ/หาตลาดและเครือขายในโรงเรียน/ชุมชน/ทองถิ่น/การขายดวยวิธี E-Commerce 6. ทํา Web โครงการเพื่อเปนชุมชนการเรียนรูของครูในโครงการและพัฒนาผลงานการจัดการเรียนรูและผลงานนักเรียน 7. สงเสริมเพิ่มพูนความรูครูทางเว็บ 8. การอบรมพัฒนาอยางมีคุณภาพดวยวิทยากรที่มีประสบการณสูง ใหการบานครูหลังการอบรมและมีการติดตามผลงานอยางใกลชิด 9. สรางความเชือ่ มัน่ ความภาคภูมใิ จใหครูในเสนทางการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพแนวใหมทคี่ รูและนักเรียนประสบความสําเร็จ 10. สรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการประเมินครูสูวิทยฐานะเชิงประจักษ 11. รวบรวมขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ/สภาพปญหา/ความตองการในการสอนงานอาชีพแนวใหม ในโรงเรียน 12. อาศัยประสบการณนักธุรกิจรุนใหมไฟแรง สรางแรงบันดาลใจใหครูและนักเรียน 13. เสวนาผูทรงคุณวุฒิ/ผูเกี่ยวของ/นักธุรกิจทุกระดับในการพัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 14. สรางและพัฒนาหลักสูตรพัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการพัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

49


การดํ า เนิ น งานโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค ป ที่ 1 เริม่ จุดประกายมาจากการสังเกตผลิตภัณฑทโี่ รงเรียนนําเสนอในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ อยางตอเนื่องมาตั้งแตป 2550 เปนตนมา ซึ่งมีโรงเรียนเขารวมนําเสนอปละ 260-300 โรงเรียน รวมทั้งการไดสัมภาษณ พูดคุยอยางไมเปนทางการกับกลุมเปาหมายดังกลาว ทําใหไดขอสังเกต ที่สะทอนใหเห็นสภาพปญหาหลายประการ เชน ผลิตภัณฑไมมีจุดเดนที่นาสนใจ ผลิตภัณฑไมมี การพัฒนา มีลักษณะคลายๆ กัน เหมือนกันทุกป นักเรียนไมคอยมีบทบาทไมกลาพูดไมกลา นําเสนอ ครูมีบทบาทเปนสําคัญ นักเรียนไมสามารถบอกรายละเอียดของผลิตภัณฑจึงไมสามารถ จูงใจใหลกู คาซือ้ ผลิตภัณฑของโรงเรียนได ครูไมมคี วามรูท างธุรกิจ/การพัฒนาผลิตภัณฑ/บรรจุภณ ั ฑ ทําใหสูญเสียโอกาสในการจําหนายผลิตภัณฑ จากขอสังเกตและการสัมภาษณดังกลาวแสดงใหเห็น สภาพปญหาการสอนงานอาชีพในโรงเรียนวาอาจเกิดจากครูไมไดจบและไมมีความรูดานศิลปะ ไมมีประสบการณทางธุรกิจ และไมมีกระบวนการในการพัฒนาพื้นฐานดานอาชีพแกนักเรียน อยางครบวงจร นอกจากนี้ยังพบวาโรงเรียนไมมีตลาดในการจําหนายผลิตภัณฑ จึงทําใหนักเรียน ไมมีประสบการณจริงในการจําหนายผลิตภัณฑ ทําใหขาดความภาคภูมิใจในการสรางและพัฒนา ผลิตภัณฑ เพื่อใหการดําเนินงานพัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เปนไป อยางมีประสิทธิภาพ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ไดกําหนดแนวคิดการดําเนินงานในระยะเริ่มตนดวยกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การรวบรวมขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ สภาพปญหา และความตองการในการสอนงานอาชีพแนวใหมในโรงเรียน 2. อาศัยประสบการณนกั ธุรกิจรุน ใหมไฟแรงในการสรางแรงบันดาลใจใหครูและนักเรียน 3. การเสวนาผูทรงคุณวุฒิ ผูเกี่ยวของและนักธุรกิจทุกระดับเพื่อกําหนดแนวทางในการ พัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 4. สรางหลักสูตรเพือ่ พัฒนาครูใหมคี วามรูค วามสามารถในการพัฒนานักเรียนสูค วามเปน นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

50

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การดําเนินโครงการปที่ 1 (2553) ไดดําเนินงานดังนี้ 1. การรวบรวมขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ สภาพปญหา และความตองการในการสอนงานอาชีพแนวใหมในโรงเรียน กลุม ผูใ หขอ มูล ผูบ ริหารสถานศึกษา ครู ทีน่ าํ ผลิตภัณฑมานําเสนอในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับชาติ ป 2550-2553 ปละ 260-300 โรงเรียน วัตถุประสงค เพื่อรวบรวมขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ สภาพปญหาและความตองการในการสอนงานอาชีพแนวใหมในโรงเรียน วิธีดําเนินการ สัมภาษณเชิงลึก บันทึกขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปผล ผลที่ไดรับ ไดขอมูลดานการสอนอาชีพในโรงเรียน ดังนี้ 1. โรงเรียนสอนวิชาชีพในโรงเรียน 4 ลักษณะ ไดแก 1. จัดทําเปนรายวิชาเพิ่มเติม 2. จัดชัว่ โมงในกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน เปนชุมนุม/ชมรมตามความสนใจของนักเรียน 3. สอนในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4. บูรณาการกับกลุมสาระอื่นๆ 2. ผลงานนักเรียนมีหลากหลาย จัดหมวดหมูได 14 ประเภท ไดแก งานทอผา ผลิตภัณฑจากผา งานจักสานไมไผ งานไม งานสิ่งประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติ งานเครื่องประดับ งานประดิษฐดอกไมแหง งานเซรามิก งานปน งานตัดกระดาษ งานรีไซเคิล งานออกแบบ โดยใช ICT งานศิลปะ งานอาหาร 3. ผลงานของโรงเรียนลวนแสดงถึงเอกลักษณทองถิ่น 4. โรงเรียนสวนหนึ่งไมเกิน 10 โรงเรียน มีการพัฒนาผลิตภัณฑสูมาตรฐานและไดรับ การรับรองจากหนวยงาน เชน อย. มผช. เปนตน มีการจดลิขสิทธิ์เปนทรัพยสินทางปญญา ของโรงเรียน 5. โรงเรียนมีที่มาหรือเหตุของการจัดการเรียนการสอนหลากหลาย ไดแก 1. ชุมชนมีวัตถุดิบ 2. ตองการอนุรักษสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

51


3. ตองการชวยเหลือนักเรียนในดานการสรางรายไดระหวางเรียนใหนกั เรียน แกปญ หา ทุพโภชนา ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและเห็นคุณคาของตน หางไกลยาเสพติด มีนสิ ยั การทํางานทีด่ ี 4. ตองการสรางมูลคาเพิ่มใหสินคาเดิม 5. แกปญหาขยะหรือสิ่งแวดลอมในโรงเรียน 6. สนองพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 7. ทําตามคําแนะนําของผูบริหารระดับสูงของ สพฐ. 8. ครูมีแรงบันดาลใจ ภาคภูมิใจในการสอน เนื่องจากนักเรียนประสบความสําเร็จ และไดรับรางวัล 2. การเสวนาผูทรงคุณวุฒิ ผูเกี่ยวของและนักธุรกิจทุกระดับ กลุมเปาหมาย กลุมที่ 1 ไดแก ผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ศึกษานิเทศก นักเรียน ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอนงานอาชีพในโรงเรียน จํานวน 35 คน กลุมที่ 2 ไดแก กลุมนักธุรกิจรุนใหมไฟแรง (Thai Young Philanthropist Network : TYPN) เปนกลุมนักธุรกิจรุนใหมที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ มีวิธีการพัฒนาตนเอง ดวยความมุง มัน่ สรางสรรค มีคณ ุ ธรรม และมีความสมัครใจในการถายทอดประสบการณ ซึง่ มารวม กิจกรรมในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ป 2553 กลุมที่ 3 ครูในโรงเรียนนํารอง 90 โรงเรียน จํานวน 90 คน ซึ่งไดรับการคัดเลือกจาก สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. เขารับการอบรมหลักสูตรนํารองรุน แรก การดําเนินการ เนนความยัง่ ยืนในการดําเนินงานจึงเลือกโรงเรียนทีส่ มัครใจและมีพนื้ ฐานทีด่ ี มีเกณฑในการคัดเลือก ดังนี้ 1. มีความสมัครใจ ตั้งใจที่จะเขารวมกิจกรรมทั้งผูบริหารและครู 2. ผลิตภัณฑเกิดจากความสามารถของนักเรียน 3. มีการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียน 4. ครู นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหาและอยูรวมกับผูอื่นได

52

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


วัตถุประสงค เพื่อรวบรวมความคิดเห็นในการกําหนดแนวทางการพัฒนาโครงการ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ประเด็นการเสวนา “การสอนงานอาชีพแนวใหมในโรงเรียน” และ “แนวทางการดําเนินงาน พัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค” วิธีดําเนินการ การระดมสมอง การสัมภาษณ บันทึกขอมูล แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูล สรุปผล ผลที่ไดรับ ไดขอสรุปในการดําเนินงาน ดังนี้ การสอนงานอาชีพแนวใหมในโรงเรียน ควรเพิ่มเติมเนื้อหาและการจัดประสบการณ ใหนักเรียนไดเรียนรูการเปนผูประกอบการ (Entrepreneur) โดยการพัฒนาครูและนักเรียน ใหสามารถผลิตผลงานไดอยางสรางสรรคตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ใหนักเรียนคิดเปน ทําได ขายเปนในลักษณะธุรกิจ เปนการตอยอดจากการจัดการเรียนการสอน งานอาชีพของโรงเรียนสวนใหญที่ครูสอนใหนักเรียนผลิตผลงานตามรูปแบบที่ครูสอนและเก็บไว ในโรงเรียน 3. การศึกษาขอมูลและเอกสารที่เกี่ยวของ ไดเหตุผลสนับสนุนการจัดทําโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ไดแก 1. การจัดการเรียนรูง านอาชีพแนวใหมสอดคลองและเชือ่ มโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ที่ใหความสําคัญกับเศรษฐกิจสรางสรรค ตองการใหประเทศไทย มีการผลิตสินคาและบริการอยางสรางสรรค เพิ่มมูลคาสินคาโดยใชนวัตกรรมเขามาชวยในการผลิต จะทําใหสินคาสามารถแขงขันในตลาดโลกได สามารถสรางรายไดใหกับประเทศไทยไดมากขึ้น ดังนั้นการจัดการเรียนรูในโรงเรียนดานงานอาชีพ ครูสามารถเริ่มบมเพาะ จัดประสบการณ สงเสริม สนับสนุนใหนักเรียนเรียนรูการเปนผูประกอบการที่สามารถออกแบบ ผลิตผลงานไดอยางสรางสรรค ในเชิงพาณิชย และสามารถขายไดตั้งแตอยูในวัยเรียนตามความเหมาะสมกับวัย เปนการเตรียมคน เพื่ อ เชื่ อ มต อ กั บ แผนพั ฒ นาของประเทศได ใ นอนาคต ทั้ ง นี้ นั ก เรี ย นยั ง มี ร ายได ร ะหว า งเรี ย น สามารถพึ่งตนเองไดอีกดวย รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

53


2. สอดคลองกับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ประเด็น สําคัญประการหนึง่ ของระบบการศึกษาทีต่ อ งปฏิรปู อยางเรงดวน คือ การพัฒนาคุณภาพของคนไทย ยุคใหมใหมีนิสัยใฝเรียนรู ตั้งแตปฐมวัย สามารถเรียนรูดวยตนเองและแสวงหาความรูอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถคิดวิเคราะห แกปญหา คิดริเริ่มสรางสรรค มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม มีจิตสํานึกและภูมิใจ ในความเปนไทย คํานึงถึงประโยชนสวนรวม มีทักษะความรูพื้นฐานที่จําเปน มีสมรรถนะ ความรู ความสามารถ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนงานอาชีพแนวใหม ขางตน สามารถพัฒนาเด็กไทยยุคใหมใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดได 3. การจัดประสบการณใหนักเรียนคิดเปน ทําได ขายเปน จะทําใหนักเรียนเกิด ความมั่นใจในตนเอง มีทัศนคติที่ดีตออาชีพอิสระ สามารถประกอบอาชีพในทองถิ่นของตนเองได เมื่อนักเรียนไมศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา จะทําใหคนไทยเพิ่มการผลิตงาน ทํางานในทองถิ่น ของตนเอง เปนการลดการละทิ้งถิ่นฐานเขาเมืองหลวง ผูรับผิดชอบไดนําขอมูลดังกลาวมาพิจารณาจัดทําโครงการ เขียนแผนเขาสูแผน ปฏิบตั กิ าร สพฐ. ในป 2554 โดยกําหนดแผนงานของโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค ระยะแรก 3 ป (ป 2554-2556) ดังนี้ 1. สั ง เคราะห ข อ มู ล การจั ด การเรี ย นการสอนอาชี พ ของโรงเรี ย นในประเทศ และตางประเทศ รูปแบบ/นวัตกรรมการสรางผูเรียนใหมีประสบการณการเปนผูประกอบการ คิดเปน ทําได ขายเปน (ป 2554) 2. จัดทําและปรับปรุงหลักสูตรการอบรมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค (ป 2554-2555) 3. จัดทําคูมือแนวดําเนินการสําหรับโรงเรียน (ป 2554) 4. จัดอบรมผูบ ริหารและครู ตอยอดใหโรงเรียนทีไ่ ดรบั คัดเลือกนําผลิตภัณฑมาจําหนาย ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ (ป 2554-2556)

54

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


5. จัดอบรมผูรับผิดชอบโครงการในระดับพื้นที่ขยายผลทั้ง สพป. และ สพม. สําหรับ เขตที่มีโรงเรียนไดรับการคัดเลือกนําผลิตภัณฑมาจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ (ป 2555-2556) 6. สงเสริมใหครูทําวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู (ป 2554-2556) 7. สนับสนุนงบประมาณใหเขตทีม่ โี รงเรียนนําผลิตภัณฑมาจําหนายในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับชาติเพื่อขยายผล (ป 2555-2556) 8. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู (ป 2555-2556) 9. คั ด สรรผลงานนั ก เรี ย นเผยแพร แ ละจํ า หน า ยในงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย น ระดับชาติ (ป 2554-2556) 10. ประกวดโครงงานอาชีพของนักเรียน นวัตกรรมการสรางชิ้นงาน กระบวนการ พัฒนานักเรียน เปนตน (ป 2554-2556) 11. ยกยองเชิดชูเกียรติครูและนักเรียนที่มีผลงานดีเดน 12. จัดพิมพเอกสารองคความรู/แนวทางการดําเนินงานเพื่อพัฒนาครูและเผยแพร (ป 2554-2556) 13. นิเทศติดตามเพื่อการพัฒนา (ป 2554-2556) และกําหนดแผนการดําเนินงาน ระยะที่ 2 (หลังป 2556) ขยายผลเต็มพื้นที่ทุกเขต โดยของบประมาณสนับสนุนจากสํานักงบประมาณ รายละเอียดโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ประกอบดวย คําสําคัญ 1. นักธุรกิจนอย หมายถึง นักเรียนทีใ่ ชกระบวนการทําธุรกิจในการเปนผูป ระกอบการ (Entrepreneur) โดยดําเนินกิจกรรมเริ่มตนตั้งแตการคิด การผลิต การแลกเปลี่ยน จําหนายสินคา โดยมุงหวังกําไรภายใตเปาหมายและกฎเกณฑที่กําหนด 2. คุณธรรมนักธุรกิจนอย หมายถึง สภาพคุณงามความดี ประพฤติดี สูความสําเร็จ ในการเปนผูประกอบการของนักเรียน 5 ประการ ไดแก ความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

55


3. เศรษฐกิ จ สร า งสรรค หมายถึ ง แนวคิ ด การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ บนพื้ น ฐาน การใชความรู การศึกษา การสรางสรรคงาน และการใชทรัพยสินทางปญญา ที่เชื่อมโยงพื้นฐาน ทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรูของสังคม เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม โดยสินคาและ การบริการใชความคิดสรางสรรค การใชนวัตกรรมเปนตัวพัฒนาและขับเคลื่อนในการผลิต เปนการ เพิ่มมูลคาสินคา วัตถุประสงค 1. พั ฒ นารู ป แบบ/สร า งแนวคิ ด ใหม ใ นการปลู ก ฝ ง นั ก เรี ย นด า นทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ อาชีพอิสระ นักเรียนสามารถคิดและไดฝกฝนเรียนรูการเปนนักธุรกิจที่มีคุณธรรมและมีผลงาน อยางสรางสรรคกาวทันโลกยุคใหม สอดคลองกับความตองการของตลาด 2. เพื่อพั ฒนาครูใหมีความรู ความเขาใจ และสามารถจัดการเรียนรูใหนักเรียน มีประสบการณดานอาชีพ โดยการปลูกฝงคุณธรรมและจริยธรรมควบคูกันไป 3. พัฒนาขีดความสามารถในการสรางสรรคผลงานของครูและนักเรียนโดยรวมมือ กับเครือขายภาครัฐและเอกชนในการสรางทรัพยสินทางปญญาจากผลงานของนักเรียน 4. เพื่ อ ประโยชน ใ นการนํ า เสนอผลงานด า นผลิ ต ภั ณ ฑ งานอาชี พ ของนั ก เรี ย น ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติประจําปของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เปาหมาย 1. พัฒนาผูบริหารและครูซึ่งมีผลงานนักเรียนเชิงประจักษดานผลิตภัณฑอาหาร และงานศิลปะในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ใหสามารถจัดการเรียนรูในการยกระดับ ผลงานและการเปนนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรมมีผลงานสรางสรรคใหกบั นักเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาศึกษานิเทศก/นักวิชาการศึกษา ผูรับผิดชอบดานงานอาชีพที่มีโรงเรียน ในสังกัดเขารับการอบรมเพื่อเปนพี่เลี้ยงและใหคําปรึกษา พรอมทั้งขยายผลไปยังโรงเรียนอื่น ในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. นักเรียนในโรงเรียนที่มีผูบริหารโรงเรียน ครู ศึกษานิเทศก/นักวิชาการศึกษา เขารับการอบรม ไดมีการยกระดับคุณภาพผลงานเชิงประจักษ นักเรียนรูจักคิด นําคุณธรรมไปใช ในการทํางานดานอาชีพ มีรายไดระหวางเรียนและมีผลงานที่สามารถจดเปนทรัพยสินทางปญญา ของชาติได

56

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ได Model หลักสูตรพัฒนาครู ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก สามารถนําไป จัดการเรียนรูใหนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามวัตถุประสงคของโครงการ 2. ไดนวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรูสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค คิดเปน ทําได ขายเปน 3. ศึกษานิเทศก/นักวิชาการศึกษาผูรับผิดชอบดานงานอาชีพของสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสามารถนิเทศโรงเรียนและขยายผลไปยังโรงเรียนในเขตความรับผิดชอบของตนได 4. นักเรียนรูจักคิดและไดรับการบมเพาะการเปนนักธุรกิจนอยที่มีคุณธรรมกาวทัน กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และสามารถสรางงานไดอยางสรางสรรค สรางทรัพยสิน ทางปญญาใหกับชาติเพิ่มขึ้นเชิงประจักษ 5. ผลงานดานอาชีพของนักเรียนมีความหลากหลายและมีการยกระดับคุณภาพ สามารถนําเสนอในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติไดอยางนาสนใจยิ่งขึ้น 4. การสรางหลักสูตรเพือ่ พัฒนาครูใหมคี วามรูค วามสามารถในการพัฒนานักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค กลุมเปาหมาย ประกอบดวย กลุม ผูส รางหลักสูตร ไดแก ผูร บั ผิดชอบโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุม ผูเ ขารับการอบรม ไดแก ครูในโรงเรียนนํารอง 90 โรงเรียน จํานวน 90 คน ซึง่ ไดรบั การคัดเลือกจากโรงเรียนที่นําเสนอผลงานของนักเรียนในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ป 2553 โดยเนนความยั่งยืนในการดําเนินงานจึงเลือกโรงเรียนที่สมัครใจและมีพื้นฐานที่ดี มีเกณฑ ในการคัดเลือก ดังนี้ 1. มีความสมัครใจ ตั้งใจที่จะเขารวมกิจกรรมทั้งผูบริหารและครู 2. ผลิตภัณฑเกิดจากความสามารถของนักเรียน 3. มีการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียน 4. ครู นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหาและอยูรวมกับผูอื่นได

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

57


วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการพัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. เพือ่ ประเมินหลักสูตรการพัฒนาครูใหมคี วามรูค วามสามารถในการพัฒนานักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค วิธีดําเนินการ 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐานจําเปนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ สภาพปญหา ความตองการในการสอนงานอาชีพแนวใหมในโรงเรียน และกําหนดแนวทางการพัฒนานักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. ศึกษาหลักการ แนวคิด เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 3. สังเคราะหเอกสารและแนวคิดตางๆ กําหนดเปนรางหลักสูตรพัฒนาครู 4. นําเสนอผูทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความเหมาะสม 5. ประสานงานวิทยากรและผูเกี่ยวของ 6. จัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาครู และผูร บั ผิดชอบโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 7. ประเมินผลการจัดอบรม โดยการสอบถามและประเมินความพึงพอใจของผูเขารับ การอบรม 8. สรุปผลการอบรม ผลที่ไดรับ 1. ไดหลักสูตรเพื่อพัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการพัฒนานักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะเวลา 23 ชั่วโมง มีเนื้อหาประกอบดวย 1.1 การพัฒนาชีวติ สูความสําเร็จสําหรับ “นักธุรกิจนอย” เวลา 3 ชั่วโมง เนื้อหา ประกอบดวย กลยุทธสาํ คัญในการพัฒนาผูเ รียนใหมคี ณ ุ ลักษณะแหงความสําเร็จ เปนคนดี คนเกง จุดเนนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียน

58

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


เปาหมายการพัฒนาชีวิตของผูเรียน คุณลักษณะและคุณธรรมแหงความสําเร็จ 18 ประการ 1.2 กาวตอไปของการสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ในสถานศึกษา เวลา 1 ชั่วโมง 1.3 การสงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ เวลา 1 ชั่วโมง 1.4 กิจกรรมกลุมสัมพันธ เวลา 3 ชั่วโมง 1.5 เทคนิคการขาย การตลาด การออกแบบบรรจุภัณฑและการจัดวางสินคา จําหนาย กิจกรรมจับคูเศรษฐกิจแลกเปลี่ยนสินคาผลิตภัณฑ เวลา 3 ชั่วโมง เนื้อหาประกอบดวย กระแสที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ความคิดและการดําเนินชีวิตที่กระทบตอธุรกิจ แนวโนมการบริโภคของการตลาด เทคนิคการขาย การตลาดและการออกแบบบรรจุภณ ั ฑและการจัดวางสินคา จําหนาย 1.6 ธุรกิจคุณธรรม เวลา 1 ชั่วโมง เนื้อหาประกอบดวย ตัวอยางธุรกิจที่เกิดจาก แรงบันดาลใจ เปาหมาย และหลักธรรมในการดําเนินกิจการ 1.7 แบงกลุมปฏิบัติกิจกรรม “การตอยอดผลิตภัณฑ” เวลา 2 ชั่วโมง 1.8 ทํ า ธุ ร กิ จ อย า งไรให โ ดนใจลู ก ค า เวลา 2 ชั่ ว โมง เนื้ อ หาประกอบด ว ย การยกตัวอยางนักธุรกิจที่มีแนวคิดและการพัฒนาธุรกิจที่มีคุณธรรม มีชื่อเสียง เปนแบบอยางได และประสบผลสําเร็จในธุรกิจ 1.9 กิจกรรมเลาเรื่องนักธุรกิจนอยในโรงเรียน เวลา 2 ชั่วโมง 1.10 ทรัพยสินทางปญญานําสูการตอยอดธุรกิจ เวลา 3 ชั่วโมง 1.11 การพัฒนาชีวิตสูเสนทางอาชีพอยางมีคุณธรรม เวลา 2 ชั่วโมง 2. ผูเขารับการอบรมมีความรูความเขาใจในการพัฒนานักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค และมีความพึงพอใจในหลักสูตร ในระดับมาก

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

59


การดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ปที่ 2 (2554) สงเสริม สนับสนุนงบประมาณ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู และอื่นๆ

สพฐ.

อบรมพัฒนาเพื่อสรางความเขมแข็งใหโรงเรียน พัฒนาความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล

นํารองเริ่มตน 136 โรงเรียน

พัฒนาครู สูนักเรียน

ประชุม ใหความรู

เนนความยั่งยืนบนพื้นฐานที่ดี มีหลักเกณฑ ดังนี้ 1. มีความสมัครใจ 2. มีผลิตภัณฑที่เกิดจากความสามารถ ของนักเรียน 3. มีการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ ในโรงเรียน 4. ครู นักเรียนมีความสามาถในการแกปญหา และอยูรวมกับผูอื่นได

1. ความรูเกี่ยวกับโครงการ ความจําเปน ภาพความสําเร็จ 2. ความรูทางธุรกิจ พื้นฐานธุรกิจ คุณธรรมธุรกิจ เศรษฐกิจสรางสรรค 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ การออกแบบ การเพิ่มมูลคา 4. การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา

ครูมีการจัดการเรียนการสอน 1. รายวิชาเพิ่มเติม 2. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 3. รายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรม พัฒนาผูเรียน 4. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี 5. บูรณาการกับกลุมสาระอื่น

การวิจัยและพัฒนา ครูวิจัยและพัฒนา การจัดการเรียน การสอนงานอาชีพ ในโรงเรียน จํานวน 31 โครงการ

เผยแพร ความสําเร็จ ของโรงเรียน ในโครงการ

ผลที่เกิดขึ้น

60

ครู

นักเรียน

1. มีความรูความสามารถในการสอนงานอาชีพ แนวใหม 2. มีรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการบูรณาการกับกลุมสาระอื่นๆ 3. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพแนวใหม 4. มีการวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียน การสอนสูความสําเร็จ “นักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค”

1. มีความรูความสามารถในการเปน นักธุรกิจนอย 2. มีคุณธรรมพื้นฐานในการ ประกอบอาชีพ 3. มีความพรอมดานอาชีพ

โรงเรียน 1. มีแนวทางในการพัฒนานักเรียนใหเปน “นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค” 2. มีรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ที่สอดคลองกับความตองการของสังคม และผูเรียน 3. ไดรับการยอมรับจากทองถิ่นและสังคม

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การดําเนินโครงการปที่ 2 ไดดําเนินงานดังนี้ 1. การพัฒนาโรงเรียนนํารอง รุนที่ 1 พัฒนาโรงเรียนนํารอง จํานวน 136 โรงเรียน วัตถุประสงค เพื่อคัดเลือกโรงเรียนเขารวมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค วิธีดําเนินการ 1. สํารวจรายชื่อโรงเรียนจากโรงเรียนที่เขารวมนําเสนอผลงานในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับชาติ ป 2553 2. ศึกษาขอมูลพืน้ ฐานของโรงเรียน เชน ผลิตภัณฑทนี่ าํ เสนอ ขอมูลผูบ ริหาร ขอมูลครู ขอมูลดานกายภาพตางๆ เปนตน 3. กํ า หนดเกณฑ ใ นการคั ด เลื อ กโรงเรี ย น โดยเน น ที่ ค วามยั่ ง ยื น และพื้ น ฐานที่ ดี ของโรงเรียน ไดแก ความสมัครใจของผูบริหารและครู มีผลิตภัณฑเกิดจากความสามารถของนักเรียน มีการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียน ครูและนักเรียนมีความสามารถในการแกปญหา และอยูรวมกับผูอื่นได 4. คัดเลือกโรงเรียนตามเกณฑที่กําหนด ผลที่ไดรับ ไดโรงเรียนนํารองในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค จํานวน 136 โรงเรียน 2. การประชุมและใหความรู กลุมเปาหมาย ผูบริหารและครูในโรงเรียนนํารองโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จํานวน 136 โรงเรียน วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. เพื่อใหครูมีความรูความเขาใจในการจัดการเรียนรูสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

61


เนื้อหาและประเด็นความรู ประกอบดวย 1. โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. เศรษฐกิจสรางสรรค ทรัพยสินทางปญญานําสูการตอยอดธุรกิจ 3. การจัดการธุรกิจของนักเรียนที่ประสบความสําเร็จในโรงเรียน 4. การจัดการเรียนรูธุรกิจและการวางแผนธุรกิจในโรงเรียน 5. การรับรองคุณภาพมาตรฐานอาหาร 6. การทําธุรกิจอยางไรใหโดนใจลูกคา 7. การศึกษาดูงานการพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร งานดานโภชนาการและอาหารสุขภาพ 8. ความปลอดภัยอาหารและสุขาภิบาลอาหาร 9. บทบาทของสภาหัตถกรรมโลกภูมิภาคเอเชียแปซิฟกโดยความรวมมือกับ สพฐ. ในการสงเสริมการศึกษาดานงานศิลปหัตถกรรม 10. องคประกอบศิลปและสุนทรียศาสตร 11. ทําไมตองออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ 12. แนวทางการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ 13. การสรางแรงบันดาลใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ 14. การทํา Mood Board เพื่อเสนอแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ 15. การทําผลิตภัณฑตนแบบ (Model) 16. การทําธุรกิจ E-Commerce 17. การสอนงานอาชีพในโรงเรียน 18. การจัดการเรียนการสอนนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 19. การฝกปฏิบัติ วิธีดําเนินการ 1. ศึกษาขอมูลพื้นฐานความตองการของโรงเรียน 2. วางแผนและประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ

62

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3. สํารวจและเชิญวิทยากรจากหนวยงานตางๆ ประกอบดวย องคกรธุรกิจเอกชน ธนาคาร ศู น ย บ ม เพาะธุ ร กิ จ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร สภาหั ต ถกรรมโลกภู มิ ภ าค เอเชียแปซิฟก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทรและธัญบุรี กระทรวงอุตสาหกรรม โรงเรียนในโครงการที่ประสบผลสําเร็จ 4. จัดทําเอกสารประกอบการประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ ไดแก เอกสารประกอบ การอบรมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีเนื้อหาประกอบดวย ความเปนมา ของโครงการ วัตถุประสงค เปาหมาย ความหมายและขอบขาย แผนการดําเนินงานของโครงการ แนวดําเนินการ ภาพความสําเร็จ การจัดการเรียนรูก ารเปนผูป ระกอบการ บทเรียนและขอเสนอแนะ การจัดการเรียนรูงานอาชีพนักเรียนสูความสําเร็จ ภาคผนวกและคณะผูจัดทํา 5. ดําเนินการประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ จํานวน 3 รุน 6. ประเมินผลการประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ 7. สรุปผลการประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลที่ไดรับ 1. ผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค 2. ครูมีความรูความเขาใจในการจัดการเรียนรูสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค 3. ครูมีความพึงพอใจตอการจัดประชุมอบรมและใหความรู 3. การพัฒนาการจัดการเรียนรูโดยกระบวนการวิจัยครูสูนักเรียน กลุ ม เป า หมาย ครู ใ นโรงเรี ย นนํ า ร อ งที่ ส มั ค รทํ า วิ จั ย ตามขอบเขตที่ สํ า นั ก พั ฒ นา นวัตกรรมการจัดการศึกษากําหนด จํานวน 31 โรงเรียน วัตถุประสงค เพือ่ ใหครูมคี วามรูค วามสามารถในการจัดการเรียนการสอนสูค วามสําเร็จ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค โดยใชกระบวนการวิจัย

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

63


วิธีดําเนินการ 1. จัดประชุมปฏิบัติการจัดทํารายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. จัดประชุมปฏิบัติการทํางานวิจัยพัฒนาการสอนวิชาชีพสูความสําเร็จนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จํานวน 31 โรงเรียน 32 คน 3. นิเทศ ติดตาม ชวยเหลืออยางตอเนื่อง 4. การประเมินผลการดําเนินงาน 5. การสรุปและรายงานผล ผลที่ไดรับ 1. ครูมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรม พัฒนาผูเรียน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. ครูมีความรูความสามารถในการวิจัยและพัฒนาการสอนวิชาชีพในโรงเรียน 3. ครูมีความสามารถในการวัดและประเมินผลนักเรียนอยางมีประสิทธิภาพ ตอบคําถาม เชิงประจักษตามตัวชี้วัดของโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 4. การเผยแพรผลความสําเร็จของโรงเรียนในโครงการตามคําเชิญของสภาหัตถกรรมโลก ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต มีการนําเสนอการดําเนินโครงการ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค หัวของานหัตถกรรมกับการจัดการศึกษา ของไทย พรอมทั้งโรงเรียนนําผลงานนักเรียนไปจําหนายดวย

64

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ปที่ 3 (2555)

s

ที่ 2 น  ุ ร ล ผ ขยาย นําเสนอผลงาน

des

t

or upp

ign

Product Development make

fulfill

แลกเปลี่ยนเรียนร ู

market

พัฒนาผลิตภัณฑ

จดทรัพยสินทางปญญา

เผยแพรผลสําเร็จของโครงการ ทั้งในและตางประเทศ

การดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ปที่ 3 (2555) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาดําเนินการ ตอเนื่องจากปที่ 2 (2554) มีกิจกรรมสําคัญ 5 กิจกรรม รายละเอียดดังนี้ 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ พั ฒ นาครู ใ ห มี ค วามรู ความเข า ใจในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ และบรรจุภัณฑสูการรับรองคุณภาพ วิธีดําเนินการ 1. ประชุ ม อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ พั ฒ นาครู ผู รั บ ผิ ด ชอบโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค รุนที่ 1 เพิ่มเติม จํานวน 136 โรงเรียน โดยวิธีการบรรยาย ใหความรู การฝกทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภณ ั ฑ เชน การออกแบบผลิตภัณฑ ปฏิบตั กิ าร ทําผลิตภัณฑตนแบบ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

65


2. ติดตามและประเมินผลอยางตอเนือ่ งโดยใชวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เชน การใหคาํ ปรึกษา การสังเกตการสอน การจัดประชุมชี้แจง การนําเสนอผลิตภัณฑ การวิพากษและพัฒนาผลิตภัณฑ เปนตน 3. การประเมินผลการดําเนินงาน โดยประเมินความกาวหนาของงาน และประเมินผลงาน 4. การสรุปและรายงานผล ผลที่ไดรับ ครูที่ไดรับการพัฒนาความรูดานการออกแบบผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ สรางสรรคผลงานที่ไดรับการรับรองคุณภาพ 2. การขยายผล อบรมโรงเรียนที่มีผลิตภัณฑดานอาหาร จํานวน 90 โรงเรียน มีเนื้อหา การอบรมให ค วามรู หลั ก การโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค การนําสูหลักสูตร การจัดการเรียนรู การพัฒนาผลิตภัณฑอยางสรางสรรค การรับรองคุณภาพ มาตรฐานอาหาร การทําธุรกิจอยางไรใหโดนใจลูกคา การศึกษาดูงาน การพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร งานดานโภชนาการและอาหารสุขภาพ ความปลอดภัยอาหารและสุขาภิบาลอาหาร โดยติดตอ วิทยากรจากกระทรวงสาธารณสุข และสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารใหความรู เพิ่มเติม 3. จดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาครูใหมีความรู ความสามารถในการจดทะเบียนทรัพยสิน ทางปญญา วิธีดําเนินการ 1. ประชุ ม อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ พั ฒ นาครู ผู รั บ ผิ ด ชอบโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ย มี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค โดยวิ ธี ก ารบรรยายให ค วามรู เ กี่ ย วกั บ การจดทะเบี ย น ทรัพยสินทางปญญา/การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ 2. ติดตามและประเมินผลอยางตอเนื่อง 3. การประเมินผลการดําเนินงาน 4. การสรุปและรายงานผล

66

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ผลที่ไดรับ ครูและนักเรียนไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการสรางสรรคผลงาน โดยความรวมมือกับเครือขายภาครัฐและเอกชน ในการสรางทรัพยสินทางปญญาใหกับประเทศชาติ มี ค วามรู ด า นการจดทะเบี ย นทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา และมี ทั ก ษะในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ และบรรจุภณ ั ฑ รวมทัง้ ปลูกฝงการรักษาทรัพยสนิ ทางปญญาของตนเอง ของประเทศ และไมละเมิด ทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น สงผลใหมีผลงาน/ผลิตภัณฑที่ไดรับการจดสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ จํานวนหลายรายการ 4. การนําเสนอผลงาน วัตถุประสงค เพื่อสงเสริมการผลิตและนําเสนอผลงานดานผลิตภัณฑงานอาชีพ ของนักเรียนในการจัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติประจําปของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน งานเมืองหัตถศิลปถิ่นโภชนา และงานระดับนานาชาติ วิธีดําเนินการ 1. คัดเลือกโรงเรียนที่มีผลงานมานําเสนองานระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ในงานนวั ต ศิ ล ป น านาชาติ ข องศู น ย ส ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ระหว า งประเทศ ณ ศู น ย นิ ท รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา 2. ยกยองเชิดชูเกียรติครูและนักเรียนที่มีผลงานเดน 3. จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ผลทีไ่ ดรบั ครูและนักเรียน โรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค ที่ไดรับการพัฒนาความรูความเขาใจ นําองคความรูที่ไดไปปรับใชในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนงานอาชีพ สงเสริมการผลิต สรางผลิตภัณฑไดรับการรับรองคุณภาพ และไดนํา ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ไปนํ า เสนอผลงานในงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย นระดั บ ชาติ ปละประมาณ 200-300 รายการ และการนําเสนอในงานอื่นๆ ในระดับประเทศและนานาชาติ ทําใหครูและนักเรียนมีโลกทัศนดานงานอาชีพกวางมากขึ้น

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

67


5. การแลกเปลี่ยนเรียนรูผลการวิจัยรูปแบบการสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม สรางทรัพยสินทางปญญาสูเศรษฐกิจสรางสรรค วัตถุประสงค เพื่อใหโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค รับฟงผลการวิจัยและไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันเพื่อพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีกับองคกรในระดับตางๆ วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลักในการประชุมสัมมนา นําเสนอผลงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรูครั้งนี้ มี 2 ประเด็น คือ 1. การเชิญคณะครูและนักเรียนทีร่ ว มโครงการวิจยั โรงเรียนนํารองทัง้ 4 แหง ของสํานัก พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา โดย นายปราโมทย ธรรมรัตน เปนทีป่ รึกษา ไดแก โรงเรียนอนุบาล ปากทอ โรงเรียนวัดไทรใหญ โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี โรงเรียนชลราษฎรอํารุง สํานักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาตนสังกัดโรงเรียนนํารองทัง้ 4 แหง และคณะครูโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อนําเสนอผลการดําเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู และสรุป ผลการดําเนินงาน บุคลากรที่เขารวมการประชุมสัมมนานําเสนอผลการดําเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู รวมทั้งสิ้น 139 คน ประกอบดวย 1.1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และสํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ตนสังกัดโรงเรียนนํารอง 11 คน 1.2 คณะครูและนักเรียน โรงเรียนวัดไทรใหญ 13 คน (ครู 8 คน นักเรียน 5 คน) 1.3 คณะครูและนักเรียน โรงเรียนอนุบาลปากทอ 29 คน (ครู 18 คน นักเรียน 11 คน) 1.4 คณะครูและนักเรียน โรงเรียนชลราษฎรอํารุง 17 คน (ครู 3 คน นักเรียน 14 คน) 1.5 คณะครูและนักเรียน โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี 21 คน (ครู 12 คน นักเรียน 9 คน) 1.6 คณะครูโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 40 คน

68

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1.7 กรมทรัพยสินทางปญญา 3 คน 1.8 หนวยบมเพาะวิสาหกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 1 คน 1.9 หนวยงานที่ปรึกษา 4 คน 2. การบรรยายแนวทางการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค และรูปแบบวิจัยการสรางนักธุรกิจนอย สรางทรัพยสินทางปญญาสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2.1 แนวทางการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค โดย นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต รองผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา 2.2 รูปแบบการสรางนักธุรกิจนอย สรางทรัพยสินทางปญญาสูเศรษฐกิจสรางสรรค โดย นายปราโมทย ธรรมรัตน ทีป่ รึกษาโครงการวิจยั จากสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ 3 ครั้ง ดังนี้ ผลการจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 กิจกรรม

ผลการดําเนินงาน

1. แนะนํา ชี้แจงการดําเนินงานโครงการวิจัย รูปแบบการสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม สรางทรัพยสินทางปญญาสูเศรษฐกิจ สรางสรรค สพฐ. 2. บรรยาย รูปแบบและกระบวนการสราง นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม สรางทรัพยสิน ทางปญญาสูเศรษฐกิจสรางสรรค

1. แนะนํา ชี้แจงการดําเนินงานโครงการ โดย นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต รองผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

2. บรรยาย รูปแบบและกระบวนการสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม สรางทรัพยสินทางปญญาสูเศรษฐกิจสรางสรรค โดย นายปราโมทย ธรรมรัตน หัวหนาโครงการวิจัยรูปแบบการสรางนักธุรกิจนอยฯ สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3. ปฏิบัติการการจัดกิจกรรมการเรียนรู 3. ปฏิบัติการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู “การพัฒนาชีวิตสูความสําเร็จ” “การพัฒนาชีวิตสูความสําเร็จ” เพื่อพัฒนาครู เพื่อพัฒนาครู และสรางนักธุรกิจนอยที่มีคุณธรรม มีพลังใจ มีความ และสรางนักธุรกิจนอยที่มีคุณธรรม มีพลังใจ มุงมั่น พัฒนาตนเองสูความสําเร็จ โดย นายปราโมทย ธรรมรัตน มีความมุงมั่น พัฒนาตนเองสูความสําเร็จ หัวหนาโครงการวิจัยรูปแบบการสรางนักธุรกิจนอยฯ สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

69


กิจกรรม ผลการดําเนินงาน 4. ปฏิบัติการกลุมระดมสมองพัฒนารูปแบบ 4. ไดดําเนินกิจกรรมปฏิบัติการกลุมระดมสมองพัฒนารูปแบบ การสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม การสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม สรางทรัพยสินทางปญญา สูเศรษฐกิจสรางสรรค ดังหัวขอตอไปนี้ สรางทรัพยสินทางปญญาสูเศรษฐกิจ สรางสรรค - การบริหารจัดการโครงการในระดับโรงเรียน การแบงงาน การวางแผนการทํางานในระดับโรงเรียน ผูรวมงานในกลุมคณะกรรมการ โครงการระดับโรงเรียนที่ผูอํานวยการโรงเรียนแตงตั้ง - รูปแบบการสรางนักธุรกิจนอยที่มีคุณธรรม ตามหลักการพัฒนาชีวิต สูความสําเร็จและหลักสูตรนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค การวางแผนการดําเนินงานระดับโรงเรียน การแบงงาน และการติดตามงาน - การรวบรวมผลงานที่มีอยูแลวของโรงเรียนที่มีโอกาสจดทะเบียน ทรัพยสินทางปญญา และปฏิบัติการแนวทางการตอยอด สรางทรัพยสินทางปญญาจากเอกสารสิทธิบัตร และการตอยอด ผลงานที่มีอยูแลวใหพัฒนากาวหนายิ่งๆ ขึ้น การวางแผน การดําเนินงานในระดับโรงเรียน การแบงงานและการติดตามงาน - การวางแผนธุรกิจ วางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑของโรงเรียน วางแผนการผลิต การตลาด การจําหนาย การสงเสริมการขาย และการวางแผนการดําเนินงานในระดับโรงเรียน การแบงงาน และการติดตามงาน 5. ประเมินการเรียนรูของครู นักเรียน 5. สรุปแบบบันทึกการเรียนรู การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 และผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผลการจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 1. นักเรียนสามารถสรางผลงานไดอยางสรางสรรค และรักษาทรัพยสินทางปญญา ของตนเอง ประเทศชาติ และไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น 2. ครูออกแบบการสอนโดยดูภาพความสําเร็จของนักเรียนเปนเปาหมายการจัดการเรียนรู 3. ครูกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จของนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ในรายวิชาของตนไวอยางชัดเจน 4. ครูมีการวัดและประเมินผลนักเรียนอยางมีประสิทธิภาพ ตอบคําถามเชิงประจักษ ตามตัวชี้วัดของนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

70

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


5. ผู บ ริ ห ารเป น ผู นํ า การเปลี่ ย นแปลง ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ครู พั ฒ นาการสอนอาชี พ และจัดการเรียนการสอนงานอาชีพที่มุงเนนการเปนผูประกอบการ 6. บุคลากรในโรงเรียนใหความสําคัญ เห็นคุณคาของการรักษาทรัพยสินทางปญญา ของโรงเรียน/ประเทศชาติ และไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น 7. ชุมชน/หนวยงานอื่นยอมรับ เชื่อถือ ใหความรวมมือ สนับสนุนเปนภาคีเครือขาย ใหการสนับสนุนชวยเหลือโรงเรียนในการดําเนินการโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค ผลการจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 3 1. การนําเสนอผลงาน กิจกรรม ความกาวหนาในการพัฒนาครู นักเรียน ของโรงเรียน 1.1 ดานการพัฒนาตนเองสูค วามสําเร็จในชีวติ มีกลยุทธสาํ คัญ 3 ประการ ประกอบดวย 1) การสรางแรงบันดาลใจ ไดแก การอานหนังสือ ดูวีดีโอ ดูสื่อ ที่กอใหเกิด แรงบันดาลใจ ศึกษาชีวิตบุคคลที่ประสบความสําเร็จอยางสูงเปนบุคคลตัวอยาง การศึกษาเรียนรู ชีวิตบุคคลตัวอยางที่ประสบความสําเร็จอยางสูงกอใหเกิดแรงบันดาลใจ มีพลังใจ มุงมั่นพัฒนา ตนเองใหประสบความสําเร็จตามบุคคลตัวอยางใหได 2) การตั้งเปาหมายชีวิต สอนใหผูเรียนไดตั้งเปาหมายชีวิต จัดทําแผนพัฒนา ชีวิตตนเอง ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ในดานการเรียน ดานครอบครัว ดานอาชีพและการทํางาน ด า นสั ง คม เป น ต น และต อ งลงมื อ ปฏิ บั ติ ต นตามแผนชี วิ ต สู เ ป า หมายความสํ า เร็ จ ที่ ไ ด ตั้ ง ไว ในดานตางๆ ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ในการตัง้ เปาหมายทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ตองมีการกําหนด วันเวลาที่จะบรรลุเปาหมายนั้นๆ ไวใหชัดเจน และลงมือทําใหไดตามเปาหมายที่วางไว 3) การโปรแกรมสมองปลูกฝงความดี เนนการโปรแกรมสมอง โดยใหผูเรียน ไดพูดกับตนเองซํ้าๆ ทุกวันจนตนเองคิด ตนเองเชื่อ ตามถอยคําที่พูดนั้นๆ โดยเมื่อผูเรียนคิด ผูเรียนเชื่อวาตนเองเปนบุคคลเชนไรก็จะปฏิบัติตนตามที่ตนเองคิด ตนเองเชื่อ และเมื่อปฏิบัติตน เชนนั้นเปนประจําสมํ่าเสมอ ก็จะกลายเปนนิสัย ตามที่ไดโปรแกรมสมองไวนั้น ตัวอยาง ถอยคําโปรแกรมสมอง ที่แนะนําใหพูดกับตนเองซํ้าๆ ทุกวัน ทั้งเชา กลางวัน เย็น และกอนนอน ไดแก “ขาพเจาเปนคนดี มีคุณธรรม ขยัน เรียนเกง ทํางานเกง มีความสุข ความเจริญ มั่งคั่ง รํ่ารวย ประสบความสําเร็จในชีวิต” รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

71


1.2 ดานการพัฒนาความรู ความสามารถ ประสบการณ เกี่ยวกับธุรกิจ การคาขาย การตลาด ซึ่งการสรางนักธุรกิจนอยใหมีประสบการณดานธุรกิจ โดยการจัดการเรียนรูการเปน ผูประกอบการ รูจักบริหารจัดการ เรียนรูธุรกิจ หัดคา หัดขาย สรางประสบการณทางธุรกิจ ทําการจัดประสบการณการเปนผูประกอบการใหผูเรียนอยางครบวงจร ไดแก 1) การเปนเจาของกิจการ 2) การหาทุนและทําเลที่ตั้ง 3) การวางแผนทําธุรกิจ การเตรียมการ และการดําเนินงานทุกขั้นตอน ตั้งแต การวิเคราะหความตองการของตลาด ความพรอมของทรัพยากรเพื่อการผลิต เชน แรงงาน เงินทุน เครื่องมืออุปกรณ วัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิตสินคา การสรางทีมงาน การควบคุมการผลิต คุณภาพ สินคา การกําหนดราคาขาย การเก็บรักษาสินคา การประกันภัย การตลาด การเงิน บัญชี กําไร ขาดทุน เปนตน 1.3 การคิดสรางสรรคและสรางทรัพยสนิ ทางปญญา ทําการพัฒนาทักษะกระบวนการ คิดสรางสรรค เทคนิคการตอยอดเทคโนโลยี สรางทรัพยสินทางปญญา ปรากฏผลวา โรงเรียน ทั้ง 4 แหง มีผลงานยื่นคําขอรับอนุสิทธิบัตร จํานวน 11 รายการ ผลงานจดแจงขอมูลลิขสิทธิ์ จํานวน 10 รายการ และยื่นคําขอจดทะเบียน เครื่องหมายการคา 4 รายการ 2. การประชุมกลุม ครู นักเรียน ระดมสมอง ยกรางคําขอจดทะเบียนทรัพยสนิ ทางปญญา 3. ผลงานสิ่งประดิษฐ/ผลิตภัณฑของโรงเรียนที่ครูและนักเรียนสรางสรรคและตอยอด สรางทรัพยสนิ ทางปญญา และไดรบั คัดเลือกนํามาจดทะเบียนทรัพยสนิ ทางปญญา ไดแก อนุสทิ ธิบตั ร จํานวน 3 เรื่อง 1) นํ้าสมุนไพรมะกรูดอัญชันเตยและวิธีการทํา 2) ครีมหมักผมที่มีมะกรูดและอัญชันเปนสวนผสมและวิธีทํา 3) นํ้ายาทําความสะอาดจากนํ้าหมักชีวภาพที่มีมะกรูดและกระเจี๊ยบเปนสวนผสม และวิธีทํา 4. การนําเสนอผลงานและการแลกเปลีย่ นเรียนรูข องคณะครูและนักเรียนโรงเรียนนํารอง ทั้ง 4 แหง นําเสนอตามแนวทาง ดังนี้

72

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1) ดานการพัฒนาตนเองสูความสําเร็จในชีวิต 2) ดานการพัฒนาความรู ความสามารถ ประสบการณ เกี่ยวกับธุรกิจ การคาขาย การตลาด 3) ดานการพัฒนาผลิตภัณฑ คิดสรางสรรคผลิตภัณฑ และทรัพยสินทางปญญา 5. สรุปผลการดําเนินงาน และการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางโรงเรียน การดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ปที่ 4 (2556)

จัดตั้งศูนยแกนนําขยายเครือขาย ถอดบทเรียน ประเมินความสําเร็จระยะแรก การเผยแพรความสําเร็จสูน านาชาติ การจัดตั้งศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค กลุมเปาหมาย โรงเรียนที่เปนที่ตั้งศูนยแกนนําขยายเครือขาย จํานวน 29 ศูนย วัตถุประสงค 1. เพือ่ ใหมศี นู ยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรคในทองถิ่นที่มีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม และขยายเครือขายในการพัฒนา และใหบริการในทองถิ่น รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

73


2. เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนที่เปนศูนยแกนนําฯ และเครือขายใหมี ความรูความสามารถพื้นฐานดานธุรกิจ และการเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรมในโรงเรียน ชุมชน ทองถิ่น 3. เพื่อเปนแหลงเรียนรูและพัฒนางานอาชีพสูการเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม สรางผลิตภัณฑไดอยางสรางสรรค รักษาทรัพยสินทางปญญาของตนเอง ชุมชนและประเทศชาติ แนวคิดหลัก ศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค มุงพัฒนานักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่เปนศูนยแกนนําฯ โรงเรียน เครือขายและชุมชนใหเปนนักธุรกิจหรือเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม มีประสบการณตามวัย สามารถสร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี คุ ณ ภาพในเชิ ง พาณิ ช ย สู เ วที โ ลก โดยใช วั ต ถุ ดิ บ ในชุ ม ชน และภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ชุ ม ชน หน ว ยงาน องค ก รภาครั ฐ และเอกชนในท อ งถิ่ น มี ส ว นร ว ม ในการดํ า เนิ น งานทั้ ง ในด า นการวางแผน การคิ ด ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ บรรจุ ภั ณ ฑ การผลิ ต และการตลาด ผลิตภัณฑจากศูนยแกนนําฯ ไดรบั การรับรองมาตรฐานจากหนวยงานรับรองคุณภาพ จดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา และมุงพัฒนาศูนยแกนนําฯ เปนศูนยกลางในการแลกเปลี่ยน เรียนรูและพัฒนาตนเองในโรงเรียน ชุมชนและทองถิ่นอยางยั่งยืน วิธีดาํ เนินการ 1. จัดทําเอกสารแนวดําเนินการศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ผลที่ไดรับ ไดเอกสารจํานวน 1 รายการ มีเนื้อหาประกอบดวย 1. บทนํา ประกอบดวยความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงค แนวคิดหลัก เปาหมาย ขอบขายของศูนยแกนนําฯ ภาพความสําเร็จของศูนยแกนนําฯ คําสําคัญ 2. การจัดตั้งศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ประกอบดวย ลักษณะสําคัญ โครงสราง และบทบาทหนาที่ของศูนยแกนนําฯ 3. การดําเนินการและการพัฒนาศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ประกอบดวย การจัดทําแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ ประจําป กิจกรรมดําเนินการศูนยแกนนําฯ การนิเทศ กํากับ ติดตามผลการดําเนินการ การประเมินผล และการจัดทํารายงานผลการดําเนินการ

74

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


4. การพัฒนาและขยายเครือขายของศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ประกอบดวย การพัฒนาศูนยแกนนําฯ การขยายเครือขาย การแลกเปลีย่ นเรียนรู การเผยแพรประชาสัมพันธความรูแ ละผลงาน การเผยแพรประกาศเกียรติคณ ุ การสงเสริมการตลาด 5. บรรณานุกรมและภาคผนวก 2. แตงตั้งโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จระดับสูง มอบใหทําหนาที่ศูนยแกนนําขยาย เครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จํานวน 29 โรงเรียน ดังนี้ 1. โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห สพม. 8 จังหวัดราชบุรี 2. โรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี 3. โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม 4. โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี 5. โรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จังหวัดประจวบคีรีขันธ 6. โรงเรียนทับปุดวิทยา สพม. 14 จังหวัดพังงา 7. โรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา สพม. 22 จังหวัดมุกดาหาร 8. โรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัดอุบลราชธานี 9. โรงเรียนนิคมพิมายศึกษา สพม. 31 จังหวัดนครราชสีมา 10. โรงเรียนแจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง 11. โรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย 12. โรงเรียนรองกวางอนุสรณ สพม. 37 จังหวัดแพร 13. โรงเรียนพุทธมงคลวิทยา สพม. 42 จังหวัดอุทัยธานี 14. โรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) สพป.นครปฐม เขต 2 15. โรงเรียนวัดเชิงเลน (นครใจราษฎร) สพป.นครปฐม เขต 2 16. โรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 17. โรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 18. โรงเรียนวัดหนองยาง สพป.อางทอง เขต 1 19. โรงเรียนวัดดงยาง (ดงยางราษฎรบํารุง) สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

75


20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29.

โรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 โรงเรียนบานเมืองกาญจน สพป.เชียงราย เขต 4 โรงเรียนบานรมโพธิ์ไทย สพป.เชียงราย เขต 4 โรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 โรงเรียนบานโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1 โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 โรงเรียนศิริราษฏรวิทยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1 โรงเรียนโพนงามโคกวิทยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1 โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงใหม สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

3. กําหนดขอบขาย 4 ประการ ไดแก 1. จั ด การเรี ย นรู ด า นธุ ร กิ จ การเป น ผู ป ระกอบการ การคิ ด ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ บรรจุภัณฑ การผลิตและการตลาดที่มีคุณธรรมที่เนนความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู 2. สรางเครือขายโรงเรียนที่มีความพรอมดานการจัดการเรียนรูงานอาชีพสูการเปน ผูประกอบการที่มีคุณธรรม 3. ใหคาํ ปรึกษาแนะนํา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและจัดทํารายงานผลความกาวหนา ของโรงเรียนเครือขาย 4. เปนแหลงเรียนรูและใหบริการขอมูลความรูดานธุรกิจ การเปนผูประกอบการ การตลาดและเศรษฐกิจสรางสรรคของทองถิ่น บนพื้นฐานการใชความรู การศึกษา การสรางสรรคงาน การใชทรัพยสินทางปญญา 4. กําหนดภาพความสําเร็จของศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ไดแก 1. ศูนยแกนนําฯ มีความเขมแข็งในการพัฒนาอาชีพแกนักเรียนและบุคคลในชุมชน ใหเปนผูประกอบการมีคุณภาพ มีคุณธรรม อยางตอเนื่องและยั่งยืน

76

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


2. ศูนยแกนนําฯ มีผลิตภัณฑทไี่ ดรบั การรับรองมาตรฐานจากหนวยงานรับรองคุณภาพ และหรือจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา 3. ศูนยแกนนําฯ ไดรบั การยอมรับดานการบริการจากบุคลากรทีเ่ ขารวมงานและชุมชน ในทองถิ่น

การถอดบทเรียน วัตถุประสงค 1. เพือ่ ติดตามผลการดําเนินงานของครูทผี่ า นการอบรมโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. เพื่อพัฒนาตอยอดความรูใหครูที่ผานการอบรมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค 3. เพื่อจัดการความรูการจัดการเรียนการสอนดานงานอาชีพของครูที่ผานการอบรม โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค วิธีดําเนินการ 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการตอยอดและแลกเปลี่ยนเรียนรูโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. แบงกลุมจัดการความรูการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ 8 กลุมๆ ละ 11-12 คน รวม 94 คน แยกเปนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามประเด็น ตอไปนี้ ความเปนมา การพัฒนารายวิชา การจัดกิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ครู และโรงเรียน 3. นําผลการจัดการความรูของทุกกลุมมาสรุปและสังเคราะหผล 4. เขียนรายงาน ผลที่ไดรับ ครูในโครงการนักธุรกิจนอยฯ ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูสามารถถอดประสบการณ องคความรูดานการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพในโรงเรียนที่ตนเองรับผิดชอบได 94 รายการ และสามารถนํ า ความรู ไ ปปรั บ ใช แ ละเติ ม เต็ ม การจั ด การเรี ย นการสอนงานอาชี พ ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

77


การประเมินความสําเร็จ 1. โรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีความเขมแข็ง ในการพัฒนาอาชีพแกนักเรียนและบุคคลในชุมชนใหเปนผูประกอบการที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม อยางตอเนื่องและยั่งยืน 2. โรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีผลิตภัณฑ ที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน 3. โรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ไดรบั การยอมรับ ดานบริการจากบุคลากรที่เขารวมงานและชุมชนในทองถิ่น 4. นักเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค มีความรูพ นื้ ฐาน ดานธุรกิจการเปนผูประกอบการ มีคุณธรรม มีวิสัยทัศน มีความคิดสรางสรรค คิดเชิงธุรกิจได สามารถบริหารจัดการ รูจักสื่อสารและมีบุคลิกภาพที่ดี 5. ชุมชนไดรับบริการจากศูนยแกนนําฯ สามารถสรางผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ วางแผน การตลาดและจําหนายผลผลิตอยางมีคุณธรรม 6. ชุมชน องคกรทองถิ่น หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีสวนรวมในการพัฒนา ศูนยแกนนําฯ และเขารวมเปนภาคีเครือขายศูนยแกนนําฯ 7. นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ชุมชน หนวยงานภาครัฐและเอกชน องคกรทองถิ่น และผู มี ส ว นร ว มมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ งานอาชี พ อิ ส ระ และมี ค วามพึ ง พอใจในการดํ า เนิ น งาน ของศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 8. สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเห็ น ความสํ า คั ญ และมี บ ทบาทในการพั ฒ นา ศูนยแกนนําฯ ใหขบั เคลือ่ นอยางมีประสิทธิภาพและขยายผลการพัฒนาศูนยแกนนําฯ และเครือขาย อยางกวางขวาง

การเผยแพรความสําเร็จสูนานาชาติ การเผยแพรผลความสําเร็จของโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ณ ประเทศภูฏาน ตามคําเชิญของสถาบันแหงชาติ Zorig Chusum (National Institute for Zorig Chusum Royal Government of Bhutan) ซึ่งเปนสถาบันดานการดํารงรักษาสืบทอดงาน ดานศิลปหัตถกรรมของประเทศภูฏาน เพื่อนําเสนอการดําเนินงานโครงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู ดานการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพของโรงเรียนในโครงการ งานศิลปหัตถกรรม และการจัด การศึกษาและวัฒนธรรมของประเทศ

78

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


บทที่ 4 การนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งดําเนินการโดยสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัด การศึกษา ไดสังเคราะหผลการดําเนินงานของโรงเรียนที่เขารวมโครงการ จํานวน 84 โรงเรียน เกี่ยวกับที่มา/แรงบันดาลใจ เปาหมายการพัฒนานักเรียน ขอบเขตรายวิชา วิธีการจัดการเรียนรู กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ผลที่เกิดกับตัวนักเรียน การจัดการดาน ทรัพยสินทางปญญา การบรรลุผลตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 และผลการพั ฒ นาที่ เชื่ อ มโยงกั บ ทั ก ษะที่ จํ า เป น ในศตวรรษที่ 21 ดังนี้

ที่มา/แรงบันดาลใจ การจัดกิจกรรมการเรียนรูต ามโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค สวนใหญมีที่มาหรือแรงบันดาลใจ ดังนี้ 1. การประกอบอาชีพในชุมชนเปนงานของภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ สืบทอดตอกันมา สมควร อนุรักษ สืบสานใหเยาวชนรุนหลังไดสืบทอดตอไป ทางโรงเรียนจึงไดนําภูมิปญญาทองถิ่นมาถายทอด หรื อ ไปเรี ย นรู จ ากวิ ท ยากรในท อ งถิ่ น ปลู ก จิ ต สํ า นึ ก ให นั ก เรี ย นรั ก หวงแหน และภาคภู มิ ใจ ในศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น สํานึกรักบานเกิด เกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพและมีความสุข นําไปสู การมีรายไดสูนักเรียนและชุมชน เชน จักสานไมไผของโรงเรียนเกาะโพธิ์ถวยงามวิทยา สพม. 18 จังหวัดชลบุรี ผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 ผลิตภัณฑจักสาน ไมบองของโรงเรียนบานเลโคะ สพป.แมฮองสอน เขต 2 ผลิตภัณฑจากกระจูดของโรงเรียนพนางตุง สพม. 12 จังหวัดพัทลุง ผลิตภัณฑซงึ สะลอของโรงเรียนบานหวยกะโหลก สพป.ตาก เขต 2 ผลิตภัณฑ ลวดลายเวียงกาหลงของโรงเรียนแมเจดียว ทิ ยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย ผลิตภัณฑงานประดิษฐ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

79


จากตอกไมไผของโรงเรียนมัธยมตลาดใหญวิทยา สพม. 25 จังหวัดขอนแกน ดอกไมประดิษฐ จากเศษวัสดุในทองถิ่นของโรงเรียนมัญจาศึกษา สพม. 25 จังหวัดขอนแกน การทอเสื่อกกลายขิด ของโรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 หัตถกรรมจากใบตาลของโรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร) สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี ผาบาติกของโรงเรียนชะอําคุณหญิงเนือ่ งบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี โรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช และโรงเรียนคลองทอม ราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ เตยปาหนันพอเพียงของโรงเรียนคลองยางประชานุสรณ สพม. 13 จังหวัดกระบี่ี ผีตาโขนของโรงเรียนศรีสองรักษวิทยา สพม. 19 จังหวัดเลย เครื่องหนัง ของโรงเรียนเบตง “วีระราษฎรประสาน” สพม. 15 จังหวัดยะลา ผาฝายหมักโคลน ของโรงเรียน หนองสูงสามัคคีวิทยา สพม. 22 จังหวัดมุกดาหาร หัตถกรรมฝุนไมของโรงเรียนรองกวางอนุสรณ สพม. 37 จังหวัดแพร งานเสนหไมลําปางของโรงเรียนแจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง เครื่องปนดินเผาดานเกวียนของโรงเรียนบานดานเกวียน สพป.นครราชสีมา เขต 2 ขนมแปงปรง ของโรงเรียนเชิงคีรี (สุวิชานวรวุฒิ) สพป.สุโขทัย เขต 1 ไมแกะสลักอนุรักษสืบสานภูมิปญญา ของโรงเรียนชุมชนกิ่วแลหลวงประสิทธิ์วิทยา สพป.เชียงใหม เขต 4 มหัศจรรยแหงฝายของ โรงเรียนบานบอตะครองโนนฝายสามัคคี สพป.ขอนแกน เขต 3 และลูกปดทดแทนของโรงเรียน บานภูเขาทอง สพป.ระนอง 2. ทองถิ่นมีเศษวัสดุเหลือใชหรือวัสดุในทองถิ่นจํานวนมาก จากวัสดุที่ไมมีมูลคา มีมากจนลนตลาด ราคาถูก ขายไมไดราคา หรือเปนศิลปหัตถกรรมอันทรงคุณคาของชุมชน จึงได ประดิษฐคิดคนพัฒนาผลิตภัณฑ เพิ่มมูลคา สรางรายไดและสืบทอดศิลปวัฒนธรรมใหแพรหลาย มากขึ้น เชน การปนหมอเขียนลายบานเชียงของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 มดจา...อารมณดขี องโรงเรียนศิรริ าษฎรวทิ ยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1 เศษผาแปลงโฉมของโรงเรียน วัดถอนสมอ สพป.สิงหบรุ ี ชะมวงชวนชิมของโรงเรียนบานโขดทราย สพป.ตราด หมูเลียงเมืองจันทน ผลิตภัณฑนํ้าปรุงรสของโรงเรียนวัดวันยาวลาง (รัฐปญญานุกูล) สพป.จันทบุรี เขต 2 กะลานาใช จากโปรแกรม GSP ของโรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 อาหารจากไขผํา เชน หอหมกของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 ผักและผลไม แปรรูปของโรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จังหวัดประจวบคีรีขันธ งานพาราศิลปของโรงเรียน สามัคคีศึกษา สพม. 13 จังหวัดตรัง

80

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3. ครูมีความรูความสามารถในการสรางผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑเกิดจากการจัดการเรียนรูในหลักสูตรของโรงเรียนที่มีครูผูสอนมีความรู ความสามารถทางดานนั้นๆ จัดการเรียนรูใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง จนเกิดทักษะ มีสินคา ที่มีคุณภาพ เปนที่ยอมรับ สามารถจําหนายมีรายไดระหวางเรียน เชน สมุนไพรไทย กระชาย เพื่อสุขภาพของโรงเรียนวัดเกาะกระชาย สพป.นครนายก เมนูเด็ดเห็ดหาอยางของโรงเรียน วัดหนองกลางดง สพป.ราชบุรี เขต 2 สองมือนอยรอยรักษถักโครเชตของโรงเรียนวัดเจามูล สพป.กรุงเทพมหานคร โครงลวดรูปสัตวของโรงเรียนทุง คลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ผลิตภัณฑจากเสนพลาสติกของโรงเรียนบํารุงพงศอุปถัมภ สพป.มุกดาหาร เครื่องปนดินเผา ของโรงเรียนทีปงกรวิทยาพัฒน (วัดนอยใน) ในพระราชูปถัมภฯ สพม. 1 กรุงเทพมหานคร งานประติมากรรมดินเผากยามอญของโรงเรียนทาใหม “พูลสวัสดิ์ราษฎรนุกูล” สพม. 17 จังหวัด จันทบุรี เบเกอรี่ของโรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 เครื่องประดับคริสตัล ของโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช และงานบรรจุภัณฑ ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงใหม สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 4. ความภาคภูมิใจที่ไดรับการยกยอง โรงเรี ย นมี แรงบั น ดาลใจจากการได รั บ การคั ด เลื อ กให เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ OSOP ตามโครงการ 1 โรงเรียน 1 ผลิตภัณฑ ไดไปรวมจัดนิทรรศการในงานมหกรรมวิชาการ งานเปดประตู สูสถานศึกษา ทําใหเกิดการพัฒนาตอยอดอยางตอเนื่อง เชน งาดําสรางสรรคผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ ของโรงเรียนวัดดงยาง (ดงยางราษฎรบํารุง) สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 งานปนของจิ๋วของโรงเรียน วัดเสาธงทอง สพป.สิงหบุรี 5. โรงเรียนตองการพัฒนาการคิดวิเคราะหและจินตนาการของนักเรียน โดยครูผูสอนใชเศษวัสดุธรรมชาติที่มีในทองถิ่นมาประดิษฐตามจินตนาการ ไดรับ การคัดเลือกใหจัดนิทรรศการเผยแพรและจําหนายมีรายได คือ ผลงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ ของโรงเรียนบานโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

81


6. ครูตองการแกไขปญหานักเรียนกลุมออน นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาดานการเรียนและพฤติกรรมการหนีเรียน ใชกจิ กรรมสรางสรรคศลิ ปะ เปนเครื่องมือสําคัญที่จะจูงใจนักเรียนใหเห็นคุณคาของตนเอง ทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมที่ดีขึ้น เชน ผลิตภัณฑอาหารแปรรูปจากผลสมควายของโรงเรียนทับปุดวิทยา สพม. 14 จังหวัดพังงา 7. ความประทับใจซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงเสียสละในการทรงงานเพื่อประชาชน ทําใหเกิดพลังในการทํางานมากยิ่งขึ้น เชน การทําขาวฮาง ของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1

เปาหมายการพัฒนานักเรียนของโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีเปาหมายชัดเจนใหนักเรียนเรียนรู 4 เรื่องหลัก คือ 1. การเปนผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง บุคคลที่ไมตองการเปนลูกจาง แตตองการมีธุรกิจของตนเอง โดยเริ่มแตการคิด การผลิต และการจําหนาย ซึ่งจําเปนตองเรียนรูวา ควรผลิ ต อะไรขาย วั ต ถุ ดิ บ อุ ป กรณ ก ารผลิ ต การหาทุ น วิ ธี ก ารผลิ ต การคํ า นวณต น ทุ น กํ า หนดราคาขาย กํ า ไร ขาดทุ น ทํ า เลค า ขาย การพั ฒ นาสิ น ค า ตลาดสิ น ค า บรรจุ ภั ณ ฑ การสต็อกสินคา บัญชีรับจาย การจัดหนาราน การตั้งทีมและการบริหารจัดการ เปนตน 2. การเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม มีจรรยาบรรณ คํานึงถึงประโยชนของผูบริโภค มีคุณธรรม 5 ประการ ที่จะทําใหอาชีพธุรกิจประสบความสําเร็จ คือ ความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู (การเจือจานสังคม) 3. ความคิดสรางสรรค รูจักใชความคิดสรางสรรค พัฒนาผลิตภัณฑใหมีความแปลกใหม ตางจากผูอื่น มีจุดขาย ทําใหตรงกับความตองการของผูบริโภค และขายได 4. ทรัพยสินทางปญญา เมื่อนักเรียนคิดสรางสรรคผลิตภัณฑใหมไดดวยตนเองแลว ตองรูจักนําไปจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา เพื่อแสดงสิทธิ์ทางปญญาของตนไว และปลูกฝง ใหนักเรียนไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่นดวย อันเปนสิ่งสําคัญมากในสังคมโลกปจจุบัน

82

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


มีภาพความคาดหวังที่ชัดเจน เปนคําสโลแกนวา นักเรียนตอง “คิดเปน ทําได ขายเปน” มุงหวังวาตองนําเปาหมายหรือหลักการของโครงการเพิ่มเติมในการสอนงานอาชีพเดิมที่มีอยู และจัดการเรียนการสอนดวยการสรางประสบการณใหนักเรียนไดผานการปฏิบัติจริง สําหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรคนี้ จากขอมูลไดมีการพัฒนาขึ้นตามลําดับ จะเห็นไดจากผลิตภัณฑผลงานของนักเรียน เปนที่ชื่นชอบและนิยมยินดีของผูบริหารทุกระดับ คณะทํางาน ครู ผูปกครอง ตลอดจนชุมชน ศักยภาพของนักเรียนทีไ่ ดสรางผลงานและการแสดงออก ไดแพรขยายทัง้ ในประเทศและตางประเทศ และพบวาโรงเรียนในโครงการตางมีเปาหมายรวมกันอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม ดังนี้ 1. เพื่อใหนักเรียนมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นจากการไดรับประทานอาหารดี มีคุณประโยชน ตอรางกาย และนําไปขายได 2. เพื่อใหนักเรียนคิดเปน ทําได ขายเปน และมีรายไดระหวางเรียน 3. เพื่อพัฒนาตอยอด การออกแบบผลิตภัณฑ การแปรรูปผลิตภัณฑ และการบริการ 4. เพื่อสรางนักธุรกิจนอยมีคุณธรรมในการดําเนินการดานธุรกิจ 5. การรักษาทรัพยสินทางปญญาของตนเอง และไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น (แตยังมีโรงเรียนใหความสําคัญประเด็นนี้ยังไมมาก) ในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู นั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค ยึดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี​ีเปนหลัก ประกอบดวย มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิด ริเริ่มสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะ การทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และมีลักษณะนิสัยในการทํางาน มี จิ ต สํ า นึ ก ในการใช พ ลั ง งาน ทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล อ มเพื่ อ การดํ า รงชี วิ ต และครอบครั ว มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรค ตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

83


การแกปญ หา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคณ ุ ธรรม และมาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากร ในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทัง้ เขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การดํารงชีวติ อยางมีดลุ ยภาพ และมาตรฐาน ส 3.2 เข า ใจระบบและสถาบั น ทางเศรษฐกิ จ ต า งๆ ความสั ม พั น ธ ท างเศรษฐกิ จ และความจํ า เป น ของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และมาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปทเี่ ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทยและสากล สอดคลองกับทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิดวิเคราะห/การแกปญหา และทักษะการใชเทคโนโลยี

ขอบเขตรายวิชา การจัดการเรียนรูมีหลายรูปแบบสวนใหญจัดในรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี บูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ และจัดในกิจกรรมพัฒนา ผูเรียน ดังนี้ 1. จัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชาพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดแก - ผลิตภัณฑสรางสรรคงานประดิษฐจากตอกไมไผของโรงเรียนมัธยมตลาดใหญวิทยา สพม. 25 จังหวัดขอนแกน - การทอเสื่อกกประยุกตของโรงเรียนบานเชียงเพ็ง สพป.อุดรธานี เขต 4 - ผาทอยอมครามของโรงเรียนบานอากาศ สพป.สกลนคร เขต 3

84

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


- ผลิตภัณฑอาหารวาง “บะจาง ลูกชุบชาววัง กระทงทอง” ของโรงเรียนกระทุมแบน “วิเศษสมุทคุณ” สพม. 10 จังหวัดสมุทรสาคร - ผักและผลไมแปรรูปของโรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จังหวัดประจวบคีรีขันธ 2. จัดการเรียนรูใ นกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชาเพิม่ เติม เชน - ผัดหมี่โคราชพรอมปรุงของโรงเรียนบานคลองเสือ สพป.นครราชสีมา เขต 4 - ผาพันคอของโรงเรียนบานบอตะครองโนนฝายสามัคคี สพป.ขอนแกน เขต 3 - ไมแกะสลักอนุรักษสืบสานภูมิปญญาของโรงเรียนชุมชนกิ่วแลหลวงประสิทธิ์วิทยา สพป.เชียงใหม เขต 4 - ตุกตาดินเผาของโรงเรียนบานดานเกวียน สพป.นครราชสีมา เขต 2 - งานปนของจิ๋วของโรงเรียนวัดเสาธงทอง สพป.สิงหบุรี - ขนมจากแปงปรงของโรงเรียนเชิงคีรี (สุวิชานวรวุฒิ) สพป.สุโขทัย เขต 1 - การปนหมอเขียนลายบานเชียงของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 - ขาวฮางมวงทองของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 - สมุนไพรมะรุมของโรงเรียนโพนงามโคกวิทยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1 - งานนกประดิษฐของโรงเรียนชุมชนวัดวังเคียน สพป.ชัยนาท - งานผลิตภัณฑผามัดยอมสีจากพืชในทองถิ่นของโรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) สพป.นครปฐม เขต 2 - งานผาฝายมัดหมี่ของโรงเรียนวัดหนองยาง สพป.อางทอง - งานผาบาติกของโรงเรียนชุมชนวัดกลางทาขาม สพป.สิงหบุรี - เนคไทผาปกลายเผาอาขาของโรงเรียนบานดอยชาง สพป.เชียงราย เขต 2 3. จัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ 3.1 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ไดแก - ผลิตภัณฑลูกปดทดแทนของโรงเรียนบานภูเขาทอง สพป.ระนอง - ภูมิปญญาทองถิ่นเตยปาหนันและเตยปาหนันพอเพียงของโรงเรียนคลองยาง ประชานุสรณ สพม. 13 จังหวัดกระบี่ - นักธุรกิจนอยผีตาโขนของโรงเรียนศรีสองรักษวิทยา สพม. 19 จังหวัดเลย รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

85


3.2 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ไดแก - ผลิตภัณฑจอหอรักษโลกของโรงเรียนบานจอหอ สพป.นครราชสีมา เขต 1 - อาหารแปรรูปจากไขผําของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 3.3 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ไดแก - ผลิตภัณฑงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติของโรงเรียนบานโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1 - ศิลปะประดิษฐของโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช - งานปนของโรงเรียนทีปงกรวิทยาพัฒน (วัดนอยใน) ในพระราชูปถัมภฯ สพม. 1 กรุงเทพมหานคร - ประติมากรรมดินเผากยามอญของโรงเรียนทาใหม “พูลสวัสดิ์ราษฎรนุกูล” สพม. 17 จังหวัดจันทบุรี - หัตถกรรมจากใบตาลของโรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร) สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี - เทคนิคการทําผาบาติกของโรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช 4. จัดการเรียนรูในกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ในรูปแบบชมรมและชุมนุม - งานประดิษฐดอกไมจากเกล็ดปลาของโรงเรียนอนุบาลวังมวง สพป.สระบุรี เขต 2 - งานจักสานไมไผของโรงเรียนเกาะโพธิ์ถวยงามวิทยา สพม. 18 จังหวัดชลบุรี - ผลิตภัณฑจากไมสักของโรงเรียนบานแมแลบ สพป.แมฮองสอน เขต 2 - ผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 - ผลิตภัณฑจักสานจากไมบองของโรงเรียนบานเลโคะ สพป.แมฮองสอน เขต 2 - งานพาราศิลปของโรงเรียนสามัคคีศึกษา สพม. 13 จังหวัดตรัง

86

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


วิธีจัดการเรียนรู การจัดการเรียนรูในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคสวนใหญ มีกระบวนการจัดการเรียนรูไปในแนวทางเดียวกัน เนื่องจากเปนงานที่ตองใชประสาทสัมผัส โดยเฉพาะการใชสายตาจับจอง จดจอ ในการสังเกต ใชมือกระทํา หรือฝกปฏิบัติจริง ดังนั้นทักษะ การสังเกต “ตาดู หูฟง” จึงมีความสําคัญและเปนทักษะเบื้องตนที่ใชในการเรียนรู จากขอบเขต การจัดกิจกรรมการเรียนรูในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีรูปแบบ หลากหลาย ไดแก การจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชา พื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม และบูรณาการในกลุมสาระการเรียนรูอื่น เชน กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เปนตน และการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมชุมนุม ชมรม กลุมสนใจ สามารถสรุปวิธีจัดการเรียนรูไดดังนี้ 1. การสํ า รวจ เป น การศึ ก ษาความเป น มา ค น คว า ข อ มู ล จากชุ ม ชน แหล ง เรี ย นรู ภู มิ ป ญ ญา วิ ท ยากร สถานบริ ก าร สถานประกอบการ เอกสาร สื่ อ วี ดิ ทั ศ น คอมพิ ว เตอร และอินเทอรเน็ต เชน การเห็นคุณคาภูมิปญญาในการทอเสื่อกกลายขิด โดยเชิญภูมิปญญา มาสอนนักเรียนทั้งในชั่วโมงเรียน นอกเวลาราชการและวันหยุด สําหรับเตยปาหนันของโรงเรียน คลองยางประชานุสรณ สพม. 13 จังหวัดกระบี่ เปนการทํางานรวมกันแบบบูรณาการระหวางครู และภู มิ ป ญ ญาชาวบ า น ได จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ทั้ ง ในและนอกห อ งเรี ย นเช น กั น สํ า หรั บ เครือ่ งปน ดินเผาดานเกวียนของโรงเรียนบานดานเกวียน สพป.นครราชสีมา เขต 2 นักเรียนไดศกึ ษา ค น คว า ข อ มู ล จากอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ โรงเรี ย นบ า นบางสํ า ราญ สพป.สิ ง ห บุ รี ให นั ก เรี ย น ไดศึกษาจากวีดิทัศนธุรกิจเถาแกนอยพันลาน เพื่อสรางแรงบันดาลใจ รวมอภิปรายและวิเคราะห แนวทางการทํางานรวมกัน 2. การวางแผนและการออกแบบ ขั้นนี้เปนการเตรียมการวางฐานการสรางผลิตภัณฑ ซึ่งสวนใหญผลิตภัณฑ/ผลผลิตนักเรียนจะมีรูปลักษณที่หลากหลาย แตมีแนวคิดพื้นฐานรวมกัน คือ การนําวัสดุในทองถิ่นมาเพิ่มมูลคา สวนใหญเปนวัสดุที่มีในชุมชน วัสดุเหลือใช วัสดุธรรมชาติ และวัสดุรีไซเคิล ประเด็นรวมรองลงมาคือ ตองการอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาทั้งแนวคิดและผลิตภัณฑ สําหรับผลิตภัณฑที่ใชวัสดุในทองถิ่น ไดแก ผลิตภัณฑกะลานาใชจากโปรแกรม GSP ของโรงเรียน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

87


ชุ ม ชนวั ด จงโก มิ ต รภาพที่ 157 เครื่ อ งป น ดิ น เผาด า นเกวี ย น ของโรงเรี ย นบ า นด า นเกวี ย น การปนหมอดวยมือแบบโบราณ การเขียนลายหมอและการแกะลายของโรงเรียนบานคําออ การทอผ า ย อ มครามซึ่ ง มี ก ารสื บ ทอดและส ง ต อ กั น มาหลายชั่ ว คนของโรงเรี ย นบ า นอากาศ และการออกแบบสรางสรรคจากเมล็ดพันธุพืชในปามาสรางสรรคชิ้นงานตามจินตนาการ “มดจา... อารมณดี” ของโรงเรียนศิริราษฎรวิทยาคาร 3. การสรางสรรคผลิตภัณฑ ซึ่งเปนขั้นตอนที่สําคัญของการเรียนรูเพื่อผลิตชิ้นงาน สวนใหญจะเริม่ เรียนรูแ ละสรางงานตามแบบทีพ่ บเห็นทัว่ ไป มีการเรียนรูผ า นการฝกปฏิบตั ิ นําไปใช นําไปจําหนาย และมีการปรับปรุงชิ้นงาน หรือตอยอดผลิตภัณฑ จากการเขารับการพัฒนาตอยอด ผลิตภัณฑของครูผูสอน และนําไปพัฒนาผูเรียนใหมีการสรางผลิตภัณฑ ตอยอดใหมีรูปแบบ หลากหลาย มีความคงทน มีรูปลักษณที่สวยงามเหมาะสมกับลูกคากลุมเปาหมาย ปรับปรุง คุณภาพใหไดมาตรฐาน เหมาะสมและสะดวกแกการนําไปใช สําหรับอาหารทีม่ กี ารเนนความสะอาด ถูกหลักอนามัย อรอย นารับประทาน มีประโยชนทางโภชนาการ เชน เห็ดหาอยางของโรงเรียน วัดหนองกลางดง สพป.ราชบุรี เขต 2 สวนผลิตภัณฑที่เปนของใช ตองมีความคงทนและปลอดภัย สําหรับผูบริโภค เชน งานของใชจากเครื่องหนัง โรงเรียนบานทาพลู สพป.สระบุรี เขต 2 โคมไฟไมไผ โรงเรียนบานปาซางนาเงิน สพป.เชียงราย เขต 3 ผาหมักโคลนโรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา สพม. 22 จังหวัดมุกดาหาร ที่มีคุณภาพพิเศษจากสีธรรมชาติและโคลนที่ใชหมัก ทําใหผามีความนุมนวล เหมาะแกการนํามาใชสวมใส ในการจัดการเรียนรูครูผูสอนไดใชวิธีการสอนตามความเหมาะสม ตามความถนัดเพือ่ ใหนกั เรียนเกิดการเรียนรูอ ยางมีประสิทธิภาพ เชน ใชวธิ สี อนแบบอิงประสบการณ 7 ขั้นตอนในการทอเสื่อกกประยุกตของโรงเรียนบานเชียงเพ็ง สพป.อุดรธานี เขต 4 เนนใหนักเรียน ไดลงมือปฏิบตั จิ ริงทุกขัน้ ตอน เปนทักษะกระบวนการกลุม การมีสว นรวมทุกฝายทัง้ ในโรงเรียน ชุมชน และหนวยงานภายนอก เชน สํานักงานเกษตรจังหวัด สํานักศิลปากร กรมศิลปากร องคการบริหาร สวนตําบล สือ่ มวลชนแขนงตางๆ เปนตน ทําใหนกั เรียนมีทกั ษะชีวติ และทักษะอาชีพผานการทํางาน 3R คือ Reading Writing และ Arithmetic และ 4C คือ Critical Thinking Communication Collaboration และ Creativity จากการจัดการเรียนรู “ลูกปดทดแทน หวงแหนทรัพยแผนดิน” ของโรงเรียนบานภูเขาทอง สพป.ระนอง มีการเรียนรูจ ากงานอาชีพในชุมชนทัง้ ในและนอกเวลาเรียน เชน ผลิตภัณฑเสนพลาสติกของโรงเรียนบํารุงพงศอุปถัมภ สพป.มุกดาหาร จัดการเรียนรูโดยใช

88

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


วิธีการ “คูหูทํางาน” (Buddy Worker) ทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจในวัฒนธรรมชนเผาที่ตางกัน ไดเปนอยางดี เชน ผลิตภัณฑผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 และผลิตภัณฑจักสานจากไมบองของโรงเรียนบานเลโคะ สพป.แมฮองสอน เขต 2 4. การสร า งบรรจุ ภั ณ ฑ การจั ด การเรี ย นรู ใ นช ว งแรกส ว นใหญ จ ะสร า งผลิ ต ภั ณ ฑ แลวจัดจําหนายโดยไมมีบรรจุภัณฑ ตอเมื่อสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาไดจัดอบรมพัฒนา การสรางบรรจุภัณฑ จึงทําใหหลายโรงเรียนไดกลับไปจัดการเรียนรูใหนักเรียนเพิ่มเติมเรื่องการสราง บรรจุภณ ั ฑ โดยใชฐานการคิดเพิม่ มูลคา ความสวยงาม คงทน ปลอดภัย และมาตรฐานของผลิตภัณฑ มี ลั ก ษณะเป น กล อ งบรรจุ ภั ณ ฑ ถุ ง ซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ ทํ า จากพลาสติ ก กระดาษสา กระดาษแข็ ง ขวดพลาสติกบรรจุนํ้าดื่มสมุนไพร ผลิตภัณฑทําความสะอาด และกลองบรรจุอาหาร สวนใหญ ได จั ด การเรี ย นรู เ พื่ อ ให นั ก เรี ย นสามารถออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ ใ ห เ หมาะสมกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เช น ขวดนํ้าดื่มสมุนไพร “มะมวงหาวมะนาวโห” ของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 กลองบรรจุสาหรายทอด ของโรงเรียนบานเมืองกาญจน สพป.เชียงราย เขต 4 ถุงพลาสติกบรรจุขาวสูญญากาศ “ขาวฮาง” ของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 เปนตน 5. การจัดจําหนาย มีการจัดการเรียนรูบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยีกับสาระวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย เพื่อใหนักเรียนเรียนรูการคิดตนทุน กําไร คาแรง และราคาขาย เพื่อจําหนายในราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของสินคา ซึ่งตองใชศิลปะการพูด นําเสนอ เชิญชวนชมสินคา และการประชาสัมพันธ การจําหนายสินคาและการตลาด มีหลายโรงเรียน ที่เชื่อมโยงกับโครงงาน และจัดตั้งบริษัทจัดจําหนาย เชน บริษัทเรือนวังหมอแกงของโรงเรียน ทับปุดวิทยา สพม. 14 จังหวัดพังงา บริษัท Gift Roses จํากัด ของโรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม และบริษัท งามเวียงกาหลง จํากัด ของโรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย สําหรับโรงเรียนทีไ่ ดจดั ตัง้ บริษทั มีการจัดการเรียนรูใ หนกั เรียนไดฝก ทําบัญชีรบั -จาย เพื่ อ ฝ ก ความรั บ ผิ ด ชอบ ความโปร ง ใส และการทํ า ธุ ร กิ จ มี ก ารสํ า รวจตลาดและหาตลาด เพื่อจําหนายสินคา อีกทั้งทางโรงเรียนสวนใหญมีการฝกนักเรียนใหเปนผูจําหนาย ใหบริการ และประชาสัมพันธ เชน การบริการนวดเพื่อสุขภาพ การจําหนายผลิตภัณฑตางๆ นักเรียนสามารถ นําเสนอและเชิญชวนผูซื้อใหสนใจและซื้อสินคา รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

89


6. การสงเสริมการขายและการเผยแพร เปนกระบวนการสงเสริม สนับสนุนการจําหนาย และเผยแพร ในขั้นตอนนี้มีการนําเสนอเผยแพรประชาสัมพันธดวยการจัดนิทรรศการ การเขารวม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมจําหนายในตลาดนัดชุมชน ถนนคนเดิน งานแสดงและจําหนายสินคา ชุมชน รานคาชุมชน ศูนยจําหนายสินคาชุมชน การรวมมือกับเครือขายจัดศูนยจําหนายสินคา จัดหาแหลง/ตลาดวางสินคา การทําธุรกิจทางออนไลน (E-Commerce) ซึ่งโรงเรียนมีชองทาง การจําหนายสินคาทางเว็บไซต เชน โรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย อีกทั้งมีนักเรียนหลายโรงเรียนที่สามารถเปนวิทยากรในการแนะนํา สาธิต ตลอดจนอธิบาย ใหความรู นําฝกปฏิบัติ และสรางผลิตภัณฑได เชน โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม มีนักประชาสัมพันธเชิญชวนใหชมและซื้อสินคาไดนาสนใจ สําหรับโรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี นักเรียนในโครงการสามารถเปนวิทยากรใหความรูและนําฝกปฏิบัติ สาธิต ถายทอดประสบการณ ใหผเู รียนปฏิบตั กิ ารจัดทําผลิตภัณฑได โดยเฉพาะนักเรียนทีจ่ ดั ทําอาหาร และจําหนาย จะมีทักษะในการอธิบาย สาธิต เชิญชวนผูสนใจ ใหแวะชิมและซื้อผลิตภัณฑ ไดเปนอยางดี

การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ครูผสู อนไดนาํ รูปแบบกิจกรรมตางๆ ทีน่ อกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในชัน้ เรียน มาจัดทําเปนกิจกรรมสงเสริมใหนักเรียนไดพัฒนาตนเองทั้งดานประสบการณและการปฏิบัติจริง อยางสรางสรรค คือ กิจกรรมชุมนุม ชมรม กลุมสนใจที่หลากหลายรูปแบบใหนักเรียนมีโอกาส ไดเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เชน กิจกรรมชุมนุมผลิตภัณฑจากวัสดุเหลือใช จากกะลามาจัดทําเปนของใชและเครื่องประดับตกแตงของโรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 ชุมนุมสมุนไพรไทย กระชายเพื่อสุขภาพ ประเภทอาหาร ไดแก ทอดมันปลากราย ใสกระชาย ปลาราสับกระชายของโรงเรียนวัดเกาะกระชาย สพป.นครนายก ชุมนุมนํ้าสมุนไพร เพื่อสุขภาพ ออมทรัพยกับออมสินของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัดอุบลราชธานี ชุ ม นุ ม รั ก ษ ง าน เป น กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การสร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ด ว ยใบยางของโรงเรี ย นห ว ยยอด

90

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


(กลึงวิทยาคาร) สพป.ตรัง เขต 2 กิจกรรมชมรมสงเสริมอาชีพ โดยมีวิทยากรหรือภูมิปญญาทองถิ่น มารวมจัดการเรียนรู เชน การแปรรูปอาหาร เมนูเด็ดเห็ดหาอยางของโรงเรียนวัดหนองกลางดง สพป.ราชบุรี เขต 2 โดยนําไปลงทุนรวมกันเปนกลุม นักเรียนรวมกันคิดและวางแผนจัดทํา และจําหนาย เมือ่ มีรายไดเกิดขึน้ นักเรียนจะนําตนทุนกลับคืนใหโรงเรียน การจัดทํากลุม สนใจดอกไม จากเกล็ดปลาเปนกิจกรรมพี่สอนนองของโรงเรียนอนุบาลวังมวง สพป.สระบุรี เขต 2 การรวมกลุม ของนักเรียนจํานวน 21 คน สรางสรรคผลงานการเรียนรูผาบาติก โดยใชชื่อกลุมอาร เอส บาติก (RS BATIK) ของโรงเรียนคลองทอมราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ ภายหลังไดรับเชิญ เข า ร ว มเป น สมาชิ ก ศู น ย ส ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ระหว า งประเทศ การจั ด ทํ า โครงการให นั ก เรี ย น รวมกลุ ม เรี ย นรู เรื่ อ งรายวิ ช าเสน ห ไ ม เ พื่ อ สร า งชิ้ น งานโดยนํ า เศษไม ที่ เ หลื อ ใช ม าฉลุ ล วดลาย ประกอบเปนกรอบรูปและปายชื่อไดสวยงามเปนการสรางมูลคาของงานใหสูงขึ้นของโรงเรียน แจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง การจัดตั้งบริษัทจําลองหรือจัดทํามินิบริษัทมีโรงเรียน หลายโรงเรียนไดดาํ เนินการจัดจําหนายสินคาทีน่ กั เรียนผลิตและบริหารจัดการกันเองโดยมีครูผสู อน ใหคําปรึกษา เชน โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 จัดทําเปนรานคา สหกรณ มีบริษัทจําลอง 4 บริษัท คือ บริษัทสะอาดจัง บริษัทตราเด็กสมบูรณ บริษัทเย็บสวยดวยมือ บริ ษั ท ตวนา (ทํ า นา) บริ ษั ท จะมี ธ นาคารทํ า ความดี ค วบคุ ม ทุ ก บริ ษั ท ในเรื่ อ งการฝากเงิ น และไดคะแนน มีการขยายเครือขาย 16 โรงเรียน โรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัดอุบลราชธานี ไดจัดทํานิมิมารท มีกิจกรรมสรางสรรคใหเปนประโยชน เพื่อปองกันยาเสพติด สงเสริมเด็กยากจน และเด็ ก พิ ก ารให มี อ าชี พ มี กิ จ กรรม 3 กิ จ กรรม คื อ 1) กิ จ กรรม To be number one 2) กิจกรรม Young OTOP 3) กิจกรรมบานอาชีพเด็กพิเศษ นอกจากนีย้ งั มีโรงเรียนอืน่ ๆ ทีจ่ ดั ทําเปนบริษทั เชน โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนือ่ งบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี โรงเรียนบานดอยชาง สพป.เชียงราย เขต 2 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัด นครปฐม เปนตน การสรางเครือขายขยายผลโรงเรียนตางๆ มีหลายโรงเรียนไดดําเนินการแลว เชน โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 เปนงานประเภทการทอเสื่อกก โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 ทําขาวฮาง โรงเรียนบานดอยชาง สพป.เชียงราย เขต 2 ทําเนคไทลายปก

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

91


ผาของชนเผาอาขาและผลิตภัณฑผา ปกเด็กดอยชาง การสงเสริมดานความรูแ กนกั เรียนในงานอาชีพ คือ การจัดคายงานวิชาการใหความรูเรื่องบรรจุภัณฑ โดยวิทยากรทองถิ่นของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 การฝกอาชีพและการจัดการเรียนการสอนเสริมในวันหยุดราชการ สงเสริม การเผยแพรผลงานดวยการจัดนิทรรศการ การเปนวิทยากรใหความรูแกผูมารวมงาน เชน การจัด แสดงผลงานและสาธิตการจัดทําผลงานในงานตางๆ เชน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ งานเผยแพรผลงานการสอนงานอาชีพโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค “เมืองหัตถศิลปถิ่นโภชนา” จากการที่โรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมดานตางๆ เพื่อพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพการเปน นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จึงเปนกิจกรรมที่มีประโยชนในดานการปลูกฝง คุณธรรมสูความสําเร็จของการประกอบอาชีพธุรกิจแกนักเรียน ประกอบดวย ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู และนักเรียนสามารถคิดเปน ทําได ขายเปน ดวยตนเองอยางภาคภูมิใจ แลวยัง นําความรูไปพัฒนางานสรางรายไดระหวางเรียน ชวยเหลือครอบครัว เปนพื้นฐานความรูสูอาชีพ ในอนาคต และสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครู โรงเรียน และชุมชนอีกดวย

การวัดและประเมินผล โรงเรียนที่ดําเนินการจัดการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนสรางผลงานแลวมีการพัฒนาตอยอด สูผลิตภัณฑที่มีคุณภาพและเปนที่ตองการของตลาด ตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค มีการวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับการจัดการเรียนรู คือ 1. การวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมกลุมสาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีการวัดและประเมินผล 5 ดาน คือ 1) ดานความรู ใชวิธีการทดสอบและสอบถามความรู 2) ดานทักษะ วัดพฤติกรรมการเรียนรู การปฏิบัติงานและการทํางานรวมกับผูอื่น ใชวิธีการประเมินพฤติกรรม ประเมินการปฏิบัติงานและสังเกตการณทํางานรวมกับผูอื่น 3) ดานผลงานจากการเรียนรู ใชวิธกี ารประเมินผลงาน/ชิ้นงาน 4) ด า นคุ ณ ธรรมนั ก ธุ ร กิ จ น อ ย ใช วิ ธี ก ารสั ง เกตการทํ า งานกลุ ม และงานเดี่ ย ว เพื่อพิจารณาคุณธรรมเกี่ยวกับความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู

92

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


5) ด า นความพึ ง พอใจต อ การจั ด การเรี ย นรู ใช วิ ธี ก ารประเมิ น ความพึ ง พอใจ โดยกําหนดเครื่องมือประเมิน ผูประเมิน และเกณฑการประเมิน ดังนี้ เครื่องมือประเมิน แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบประเมินพฤติกรรม แบบประเมินการปฏิบัติงาน แบบสังเกตการณทํางาน แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงาน แบบประเมินความพึงพอใจ

ผูประเมิน ครูผูสอน ครูผูสอน ครู/ผูเรียน/เพื่อนนักเรียน ครู/ผูเรียน/เพื่อนนักเรียน ครู/ผูเรียน/เพื่อนนักเรียน ครู/ผูเรียน/เพื่อนนักเรียน ผูเรียน/ผูปกครอง

เกณฑการประเมิน สวนใหญกําหนดเกณฑประเมิน เปนภาคความรู/ทฤษฎี 20% ภาคปฏิบัติ 80%

2. การวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนรูตามกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งจัดเปนชมรม หรือชุมนุม เชน ชมรมสงเสริมอาชีพเมนูเด็ดเห็ด 5 อยาง ของโรงเรียนวัดหนองกลางดง สพป.ราชบุรี เขต 2 ชมรมกลุม RS บาติก ของโรงเรียนคลองทอมราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ ชุมนุมรักงานของโรงเรียนหวยยอด (กลึงวิทยาคาร) สพป.ตรัง เขต 2 ชุมนุมผลิตภัณฑกะลาของ โรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 มีการวัดผลและประเมินผล 3 ดาน คือ 1) ดานกระบวนการปฏิบตั งิ าน การทํางานกลุม ใชวธิ กี ารประเมินพฤติกรรมการทํางาน 2) ดานผลงาน/ชิน้ งาน ใชวธิ กี ารประเมินผลงาน/ชิน้ งาน โดยกําหนดหัวขอประเมิน คือ ความสวยงาม ความคงทน การใชวัสดุอยางประหยัด ประโยชน ความสมบูรณ และความคิด สรางสรรค 3) ดานคุณธรรม ใชวิธีการสังเกตการทํางาน เพื่อตรวจสอบคุณธรรม 5 ประการ ของนักธุรกิจนอย และคุณธรรมดานอื่นที่กําหนดตามความเหมาะสม โดยสรางแบบประเมิน และแบบสังเกตใหสอดคลองกับสิ่งที่จะประเมิน และใชเกณฑการผานและไมผานตามที่โรงเรียน กําหนดไว การประเมินมีท้งั ใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อน ครู และผูปกครองเปนผูประเมิน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

93


ผลที่เกิดจากการพัฒนา ผลที่เกิดกับผูเรียน ผลทีเ่ กิดแกผเู รียน ผูเ รียนมีความรูค วามสามารถในการเรียนรูว ชิ าเลือกเพิม่ เติม กลุม สาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูทั้ง 4 มาตรฐาน มีทักษะชีวิตและมีสมาธิที่สอดคลองกับทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ทั้ง 3 ทักษะ นักเรียนมีแนวทาง ในการประกอบอาชีพ รูวิธีคิดงาน สรางงาน และการจัดการผลงานอยางมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค คิดเปน ทําได ขายเปน อยางมีความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู รูจักใชเวลาวาง ใหเกิดประโยชน มีรายไดระหวางเรียน สามารถใชสื่อเทคโนโลยีในการจัดการผลิตภัณฑ มีความ รับผิดชอบตอตนเองและสังคม รักษาทรัพยสินทางปญญาของตนเอง ของประเทศ ไมละเมิด ทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น นักเรียนเห็นคุณคา ภาคภูมิใจในอาชีพ รูจักอนุรักษและสืบสาน ภูมิปญญาทองถิ่น นักเรียนสามารถถายทอดความรูใหรุนนองและชุมชน อีกทั้งไดเปนตัวแทน ของโรงเรี ย น สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา เข า ร ว มกิ จ กรรมต า งๆ ในการนํ า เสนอผลงาน จัดนิทรรศการ ประกวดแขงขัน สรางชื่อเสียง และความสําเร็จสูตนเอง โรงเรียนและชุมชน ผลที่เกิดกับครูและโรงเรียน การพัฒนาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีบูรณาการกับกลุมสาระอื่นๆ เพื่อใหสอดคลองกับโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค โดยกําหนด รายละเอียดใหมงี านอาชีพตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถของนักเรียน รวมทัง้ วัตถุดบิ หรือวัสดุที่มีและหาไดในทองถิ่นมาสรางชิ้นงานจนไดรับรางวัลและชื่อเสียงระดับชาติ เชน ผลงาน เสื่อกกของโรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 งานฉลุไมประเภทลายไทยของโรงเรียน แจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง เปนตน สงผลใหครูผูสอนและผูบริหารโรงเรียนไดรับเชิญ เปนวิทยากรเผยแพรใหความรูสูเพื่อนครู องคกรตางๆ ชุมชน อบต. อบจ. จากผลงานที่ประสบ ความสําเร็จ ครูผูสอน ผูบริหารและโรงเรียนไดรับการยกยองและคัดเลือกใหเปนบุคคลดีเดน ในสาขาตางๆ เชน โลพระราชทานและเข็มทองคําเชิดชูเกียรติ รางวัลผลิตภัณฑ OTOP Product Champion ระดับ 4 ดาว รางวัลครูแสนดี รางวัลหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม รางวัลดีเดนในการ จัดทํารายวิชาทองถิ่น/สาระการเรียนรูทองถิ่นดานสงเสริมและอนุรักษศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา

94

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ทองถิ่นจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รางวัลหนึ่งแสนครูดี รางวัลชนะเลิศ เหรี ย ญทองทรงคุ ณ ค า และรางวั ล อื่ น ๆ อี ก มากมาย ที่ ค ณะครู ผู ส อน ผู บ ริ ห ารและโรงเรี ย น ในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคไดรับ ทําใหเกิดความภาคภูมิใจ ในผลงานและสามารถนําผลงานทีไ่ ดรบั การพัฒนาจนประสบผลสําเร็จเสนอขอเพือ่ ปรับปรุงตําแหนง ไดเลื่อนขั้นสูงขึ้นในระดับเชี่ยวชาญ จากความตั้งใจของคณะครูและผูบริหารโรงเรียนในการปฏิบัติ หนาทีด่ ว ยวิสยั ทัศนทกี่ า วไกล จากความคิดสรางสรรคและแรงบันดาลใจทําใหเกิดผลงานทีห่ ลากหลาย สูความสําเร็จ ผลที่เกิดกับชุมชน ชุมชนมีโรงเรียนทีเ่ ปนแหลงเรียนรูส าํ หรับฝกงานอาชีพแกบคุ คลของชุมชนและบุคคลทัว่ ไป ที่สนใจ อีกทั้งเปนแหลงศึกษาดูงาน จึงเกิดแหลงสืบทอดทางวัฒนธรรม เพราะมีผลงานบางอยาง ที่ชุมชนไดทําขึ้นเพื่อดํารงชีพในชีวิตจริง เชน การทอผากะเหรี่ยง การทําขาวฮาง ซึ่งเปนผลิตผล ที่ชนพื้นบานรูจักทําเปนชิ้นงานมาชานานและปจจุบันกําลังจะสูญหาย เมื่อทางโรงเรียนนํามา ดําเนินการจัดการเรียนรู พรอมกับประยุกตผลงานใหสอดคลองกับปจจุบันจึงเปนการสืบทอด และอนุรักษวัฒนธรรมของชุมชนไว นอกจากนั้นยังสรางรายไดเสริมใหแกคนในชุมชน ชุมชนมีสินคา ที่มีชื่อเสียง บางโรงเรียนนําผลิตภัณฑที่จัดทํามาเปนของฝากของขวัญแกผูมาเยือน ผูคนในชุมชน มีความรักและความภาคภูมิใจชุมชนของตน

การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา ผลิตภัณฑโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีการจดทะเบียน ทรัพยสนิ ทางปญญาแลว จํานวน 13 ผลิตภัณฑ คือ ผลิตภัณฑจากหางอวน ประกอบดวย ฝาชีหางอวน และกระเปาผาหางอวน ของโรงเรียนหัวหิน สพม. 10 จังหวัดประจวบคีรีขันธ ผลิตภัณฑผักผลไม แปรรูป “กลวยกรอบชางฮาเฮ” ของโรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จังหวัดประจวบคีรีขันธ ผลิตภัณฑที่ผานการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา และลิขสิทธิ์ จํานวน 4 ผลิตภัณฑ คือ การเพนท ใบยางพารา ของโรงเรียนหวยยอด (กลึงวิทยาคาร) สพป.ตรัง เขต 2 ผลิตภัณฑผามัดยอมจากพืช ในทองถิ่น ของโรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) สพป.นครปฐม เขต 2 ผลิตภัณฑผาบาติก

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

95


ลายเวียงกาหลง ของโรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย ผลิตภัณฑผาหมอหอม ของโรงเรียนบานทุง โฮง (อภิวงั วิทยาลัย) สพป.แพร เขต 1 ผลิตภัณฑทผี่ า นการขึน้ ทะเบียนตราสัญลักษณ และจดอนุสทิ ธิบตั ร คือ ผลิตภัณฑขา วฮางมวงทอง ของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 ผลิตภัณฑที่ผานการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา มผช. สินคา OTOP 4 ดาว จํานวน 5 ผลิตภัณฑ คือ ผลิตภัณฑดอกไมประดิษฐจากดินไทย ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา นนทบุรี สพม. 3 จังหวัดนนทบุรี ผลิตภัณฑบรรจุภัณฑแสนสวย ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห เชียงใหม สศศ. ผลิตภัณฑเบเกอรี่ ของโรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 ผลิตภัณฑ สองมือนอยรอยรักษถักโครเชต ของโรงเรียนวัดเจามูล สพป.กรุงเทพมหานคร ผลิตภัณฑผาบาติก ของโรงเรียนคลองทอมราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ สวนผลิตภัณฑเครื่องสําอางสมุนไพร (ยาสระผม สบู) ของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัดอุบลราชธานี ผานการจดทะเบียนอาหาร และยา (อย.) ของกระทรวงสาธารณสุ ข และยั ง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ที่ อ ยู ใ นระหว า งการดํ า เนิ น การ ขอจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาและอื่นๆ อีก

การบรรลุผลตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู โรงเรียนสวนใหญจดั ทําหลักสูตรรายวิชาเพิม่ เติม กลุม สาระ การเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีบางโรงเรียนจัดทําเปนกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยจัดทํา เปนชมรม ชุมนุมใหนักเรียนเขารวมกิจกรรม ซึ่งการจัดทํารายวิชาเพิ่มเติมหรือกิจกรรมชุมนุม ตางตองยึดมาตรฐานตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีทักษะ กระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคณ ุ ธรรมและลักษณะนิสยั ในการทํางาน มีจติ สํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยี และกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคมและสิ่งแวดลอม และมีสว นรวมในการจัดการเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืน มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการ

96

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม และมาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะ ที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ มาตรฐานในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบัน ทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจ ในสังคมโลก ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรค งานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และมาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล การจัดกิจกรรมการเรียนรูนอกจากจะยึดมาตรฐานตัวชี้วัดดังกลาวแลว ตองใหสอดคลอง กับชวงชั้นของผูเรียน ที่สําคัญตองสอดคลองกับทองถิ่น เมื่อวิเคราะหรายวิชาเพิ่มเติมที่โรงเรียน ในโครงการจัดทํา ทุกโรงเรียนจัดกิจกรรมสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางและเหมาะสมกับสภาพ ทองถิ่น สงผลใหเกิดผลผลิตที่มีคุณภาพ เปนการสะทอนใหเห็นวาการจัดการเรียนรูบรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัด สอดคลองกับผลงานนักเรียนที่ปรากฏเปนผลิตภัณฑตางๆ อยางหลากหลาย ตามที่โรงเรียน ดําเนินการ ซึ่งก็สอดคลองกับผลงานนักเรียนที่ปรากฏเปนผลิตภัณฑเปนที่นิยมของผูซื้อที่สั่งซื้อ ผลิตภัณฑของโรงเรียนจนมียอดจําหนายเพิ่มขึ้น

ผลการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรูในวิชาเลือกเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุมนุม ชมรมนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ในระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย พัฒนานักเรียนใหมคี วามรูค วามสามารถ ตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูทั้ง 4 มาตรฐาน สงเสริมการใชชีวิตประจําวันของนักเรียน รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

97


ใหมสี มาธิ มีคณ ุ ธรรม 5 ประการ คือ ความซือ่ สัตย ขยัน อดทน มุง มัน่ กตัญู มีสนุ ทรียภาพในงานศิลปะ งานอาชีพ เปนพื้นฐานและสรางความสนใจในการปฏิบัติงานที่ยากและสูงขึ้น พัฒนาใหเกิดทักษะ ที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทั้ง 3 ทักษะ คือ 1) ทักษะชีวิตและอาชีพ คือนักเรียนมีความรับผิดชอบตอการใชชีวิต การใชทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรวมกับชุมชน มีความเปนผูนําผูตามที่ดี รักการทํางาน สรางงานอาชีพ ที่สงเสริมใหเกิดการเรียนรูและมีรายไดระหวางเรียน เชื่อมโยงสูการเปนนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค และมีสวนรวมในการสรางแนวทางอาชีพกับชุมชน 2) ทั ก ษะการเรี ย นรู แ ละนวั ต กรรม คื อ นั ก เรี ย นมี พั ฒ นาการที่ เ กิ ด จากการเรี ย นรู ในสมรรถนะสําคัญ คือ การคิด การสื่อสาร การแกปญหาและการใชเทคโนโลยี สามารถปรับปรุง ประยุกต หรือตอยอดใหเกิดความรูใหมๆ เชน การประยุกต ปรับปรุงโครงลวดรูปสัตวตางๆ เปนโครงลวดตัวอักษรตกแตงในสถานที่หรืองานตางๆ ของโรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี การนําเศษผาหมอหอมมาทําเปนกระเปาใสเศษสตางคและพัฒนาตอยอด เปนรมกันแดด ของโรงเรียนบานทุงโฮง (อภิวังวิทยาลัย) สพป.แพร เขต 1 การนําเสื่อกกลายขิด มาพัฒนาเปนกระเปาใสเอกสาร กระเปาถือของสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี การทําปกสมุดบันทึก ของโรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 เปนตน และนําสิ่งที่พัฒนาไดมาแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางความรวมมือในทางวิชาการในโรงเรียน โรงเรียนเครือขาย และกลุมอาชีพในชุมชน 3) ทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี คือ นักเรียนไดใชสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการศึกษา สืบคนขอมูลจากเว็บไซต นํามาวิเคราะห สังเคราะห ประยุกตใชในการผลิตชิ้นงาน หรือผลิตภัณฑไดสอดคลองกับความตองการ วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น และใช ICT ในการ นําเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรูและเผยแพรผลงานไดอยางแพรหลาย

เทคนิค วิธีการที่ทําใหการจัดการเรียนรูประสบความสําเร็จ เทคนิค วิธกี ารสําคัญทีท่ าํ ใหครูจดั การเรียนรูง านอาชีพประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค 1. ใหนักเรียนฝกปฏิบัติจากงายไปยาก โดยใชเนื้อหาที่ยังไมซับซอน แลวเพิ่มเทคนิค วิธีการทํางานใหมีความแปลกใหม นาสนใจ รวมทั้งเพิ่มขนาดใหใหญขึ้น ออกแบบการใชงาน ใหหลากหลาย

98

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


2. ใชวธิ กี ารทํางานหลากหลายวิธี โดยนําเสนอตัวอยางผลงานในชุมชนทีป่ ระสบความสําเร็จ กระตุนใหนักเรียนมีความอยากรู อยากเห็น และอยากทํางาน 3. สรางแรงจูงใจในการทํางาน โดยสรางขอตกลงรวมกัน “หากทํางานสําเร็จคนละ 1 ชิน้ ” จะไดไปศึกษาดูงานในแหลงเรียนรูตางๆ 4. ทําความเขาใจกับผูปกครองเกี่ยวกับงานอาชีพที่ใหนักเรียนไดเรียนรู รวมทั้งประชาสัมพันธ ใหชุมชนเขาใจการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อสราง ความเขาใจและการสนับสนุนจากชุมชน 5. การใชกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน ที่สงเสริมใหนักเรียนไดเรียนรูตามความสนใจ ฝ ก การทํ า งานอย า งเป น ระบบ ออกแบบสร า งสรรค ผ ลงานด ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร และทํากิจกรรมตางๆ โดยใชเครื่องมือของ Microsoft Live@EDU การใชเฟสบุคในการจําหนาย ผลิตภัณฑแบบออนไลนเพื่อพัฒนาสูโครงงานอาชีพ 6. จัดกิจกรรมฝกทักษะโดยใชสมาธิ ความละเอียด รอบคอบ และนํารูปแบบทางศิลปกรรม และสถาปตยกรรมทีเ่ ปนภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ มาเปนสวนหนึง่ ของแบบฝกทักษะ ใหนกั เรียนไดมโี อกาส สืบคน พัฒนาและประยุกตใชอยางคุมคา 7. ใชเทคนิควิธีการเรียนรูแบบ “คูหูทํางาน” (Buddy Worker) ชวยเพิ่มเติมความรู ใหความชวยเหลือในการทํางานและสรางความเขาใจซึ่งกันและกัน 8. นําผลการประเมินคุณภาพงานของโรงเรียนในโครงการมาจัดลําดับคุณภาพของโรงเรียน และมอบรางวัลเปนเกียรติแกผูปฏิบัติงาน

ความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ 1. ผู รั บ ผิ ด ชอบโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค และคณะกรรมการดําเนินโครงการจากสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.) ใหความสําคัญ ในการดําเนินโครงการ มีการนิเทศ ติดตาม กํากับงาน รวมทั้งใหขวัญกําลังใจแกผูปฏิบัติงาน อย า งต อ เนื่ อ งและทั่ ว ถึ ง ทํ า ให ผู ป ฏิ บั ติ ง านมี กํ า ลั ง ใจในการทํ า งาน และมี ค วามภาคภู มิ ใจ ในความสําเร็จของงานเปนอยางยิ่ง

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

99


2. ครูมีความรู ความเขาใจ และความสามารถในการดําเนินงานตามโครงการ ไดรับ โอกาสในการดําเนินงาน การนําเสนองานและไดรับการสนับสนุนสงเสริมใหมีความกาวหนา ดานวิชาชีพสูงขึ้น 3. นักเรียนไดเรียนรู เขาใจการทํางาน มีทักษะกระบวนการทํางาน การจัดการ ทักษะชีวิต และอาชีพ การบูรณาการแกปญหา การทํางานรวมกัน มีคุณธรรม 5 ประการของนักธุรกิจนอย “ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู” และมีลักษะนิสัยที่ดีในการทํางาน 4. ใชวิกฤตเปนโอกาส พัฒนานักเรียนที่มีปญหาใหเขารวมกิจกรรมเปนนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม ที่คิดเปน ทําได ขายเปน 5. นักเรียนกลาพูด กลาแสดงออกในทางที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีความกตัญู ตอบุพการี ครู อาจารย ชวยบิดามารดา ทํางาน ตั้งใจเรียนและตั้งใจทํางานอาชีพ 6. นักเรียนสามารถสรางรายไดระหวางเรียน ลดภาระผูปกครอง พึ่งพาตนเองได 7. สรางผลงานที่มีคุณภาพ เผยแพรทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

รายชื่อครูและโรงเรียนที่มีผลงานดีเดน 1. 2. 3. 4. 5.

นางสุวดี ผลงาม นายเสกสรร กาวินชัย นางเกษร บานชล นางละเอียด ปูหลุน นางรัชดาพรรณ วัชพัฒน

6. นายสมบัติ ศรีวรรณชัย 7. นางสาวสมพร นิสยันต 8. นางนิ่มนวล ศิรพิ ันธุ

100

โรงเรียนทับปุดวิทยา สพม. 14 จังหวัดพังงา โรงเรียนแจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงใหม สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม โรงเรียนศิริราษฎรวิทยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ผลงานดีเดนของโรงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค โรงเรียนที่รวมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค จํานวน หลายโรงเรียน ไดพฒ ั นากิจกรรมการเรียนการสอนจนผลงานของนักเรียนเปนทีย่ อมรับทัง้ ในแวดวง การศึกษาและสังคม ทั้งในระดับภาคและระดับชาติ สงผลใหครูและนักเรียนมีความภาคภูมิใจ ซึ่งขอนําเสนอผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูของโรงเรียน จํานวน 8 โรงเรียน ดังตอไปนี้ 1. โรงเรียนทับปุดวิทยา เปนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จังหวัดพังงา ครูผูสอน คือ นางสุวดี ผลงาม มีผลการดําเนินงานดังตอไปนี้ รางวัลที่ไดรับ 1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ จากการประกวดโครงการ “กรุงไทยยุววาณิช” ครั้งที่ 9 ปการศึกษา 2554 ซึ่งเปนหนึ่งในโครงการของธนาคารกรุงไทยเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม ดานการศึกษาที่มุงเสริมสรางทุนทางปญญาใหนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ไดเรียนรูการทําธุรกิจ โดยตองนําความรูที่มีอยูประกอบการศึกษา คนควาเพิ่มเติมแลวนํามาปฏิบัติจริงใหเปนรูปธรรม ผลปรากฏวา “บริษัทเรือนวังหมอแกง” ซึ่งอาจารยสุวดี ผลงาม เปนผูสอนและที่ปรึกษาไดเขารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดทาย และไดรับ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ไดรับโลและเงินรางวัล จํานวน 350,000 บาท พรอมศึกษาดูงาน ตางประเทศ และรางวัลพิเศษการดําเนินธุรกิจอยางโปรงใสและซื่อสัตยสุจริต จากสํานักงาน คณะกรรมการป อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห ง ชาติ ได รั บ โล แ ละเงิ น รางวั ล จํ า นวน 30,000 บาท 2. รางวัลชนะเลิศการแปรรูปอาหาร งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 59 ปการศึกษา 2552 3. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เหรียญทอง การแปรรูปอาหาร งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 60 ปการศึกษา 2553 4. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เหรียญทอง โครงงานอาชีพ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 60 ปการศึกษา 2553

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

101


วิธีการพัฒนาการเรียนการสอน 1. สงเสริมการเรียนรูน อกหองเรียน โดยจัดตัง้ บริษทั จําลองเพือ่ ใหนกั เรียนมีประสบการณตรง ในการปฏิ บั ติ ง านโครงงานธุ ร กิ จ จั ด หาช อ งทางในการนํ า สู ก ารประกวดแข ง ขั น ทั้ ง ในระบบ และนอกระบบ การจําหนายผลิตภัณฑเพือ่ สรางโอกาสทางการศึกษาทัง้ ในระดับภาคและระดับชาติ 2. ใช ก ลยุ ท ธ ใ นการจู ง ใจให นั ก เรี ย นสนใจอาหารแปรรู ป โดยให นั ก เรี ย นได ชิ ม ก อ น และเลือกอาหารแปรรูปที่ถูกใจวัยรุน ไดศึกษาทั้งดานทฤษฎีและภาคปฏิบัติครบกระบวนการ ผลที่เกิดกับครูผูสอน 1. ครูประสบความสําเร็จในวิชาชีพ เพราะนักเรียนตั้งใจเรียน และมุงมั่นปรับการฝก จนผลงานไดรับรางวัลจากหลายสนามการแขงขัน 2. เงินรางวัลที่ไดรับทําใหสามารถพัฒนางานไดอยางตอเนื่อง 3. สามารถนําความรูแ ละประสบการณทไี่ ดรบั จากการรวมกิจกรรมในโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ไปจัดการเรียนการสอนวิชาชีพที่เนนการปฏิบัติจริง 4. จากผลงานการจัดการเรียนการสอนกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนผลใหอาจารยสุวดี ผลงาม ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงครูเชี่ยวชาญ

102

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


2. โรงเรียนแจหมวิทยา เปนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จั ง หวั ด ลํ า ปาง มี น ายเสกสรร กาวิ น ชั ย ตํ า แหน ง ครู เชี่ ย วชาญ เป น ผู อ อกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีการสรางผลงานจากเศษไมสักที่ตกหลนอยูในเขตสัมปทานตัดไม นํ า มาผสมผสานกั บ ลวดลายไทยแล ว ใช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ด า นการเลื่ อ ยฉลุ ห รื อ แกะสลั ก ไม ผลิตเปนชิ้นงานตามรูปแบบที่เปนเอกลักษณของไทย ไดแก มณฑปพระพุทธรูปลายไทย โคมไฟลานนา ชนิ ด แขวนและตั้ ง โต ะ กรอบรู ป ขนาดต า งๆ ชั้ น วางโทรศั พ ท มื อ ถื อ ฯลฯ ผลผลิ ต ดั ง กล า ว ไมเพียงมีคุณคาในดานการอนุรักษศิลปะและภูมิปญญาการแกะสลักลายไทยบนแผนไม และสราง สุนทรียภาพกับความภาคภูมิใจแกชาวไทยเทานั้น แตยังสรางความชื่นชมในฝมือของเยาวชนไทย และความประทับใจในศิลปกรรมไทยดวย สําหรับโรงเรียนแจหมวิทยานั้น แนนอนวาตองเพิ่ม ความอิ่มใจในการทําประโยชนใหแกประเทศชาติและโลก ดวยการนําทรัพยากรที่เหลือทิ้งมาเพิ่ม คุณคา เกิดประโยชนใหม และสรางชื่อเสียงในระดับนานาชาติไดดวย ผลจากการจัดกิจกรรม มีดังนี้ รางวัลที่ไดรับ 1. รางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ประจําป 2544 ดานพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม สาขา การศึกษา จากสภาวิจัยแหงชาติ 2. ไดรับเชิญใหนําผลงานไปจัดแสดง ณ กรุงบรัสเซล ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ในงาน Brussels Uraka 2001 3. ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ de Chevalier แหงราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ในฐานะนักประดิษฐคิดคน ผูทําคุณประโยชนตอมวลมนุษยชาติ ป พ.ศ. 2548 4. รางวัลเหรียญทอง Brussels Uraka 2005 นวัตกรรมทางการศึกษา ในงาน World Exhibition กรุงบรัสเซล ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 5. ไดรับโลพระราชทาน ในฐานะบุคคลผูทําประโยชนตอเยาวชน ป พ.ศ. 2550 6. รางวัลครูชางของแผนดินภาคเหนือ ป พ.ศ. 2556 วิธีการพัฒนาการเรียนการสอน 1. จัดทําหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช32067 ชางประดิษฐเศษไม เรื่อง “ชิ้นงานฝกทักษะจากเศษไม” และใชกับรายวิชาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาฝมืองานไมและวิชางานไม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

103


2. การจัดการเรียนรูโ ดยใหมกี ารฝกทักษะ ศึกษารูปแบบ ลวดลายแกะสลักจากภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่น ฝกทักษะการใชเครื่องมือแกะสลัก เรียนรูขั้นตอนการฝกทักษะ ฝกทักษะในการปฏิบัติจริง การประเมินผลงาน จัดการเรียนเปนกลุมโดยใชชื่อ “กลุมเสนหไม” 3. จั ด กิ จ กรรมเสริ ม โดยจั ด ทํ า โครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สรางสรรคดวยงานเสนหไม จัดทําผลิตภัณฑที่มีขนาดเล็ก การประกอบชิ้นสวนไมมากนัก เชน ไมจิ้มผลไม จานรองแกว กรอบรูป ปายชื่อ โคมไฟ เรือนแกวพระพุทธรูป มีการประเมินผลการจัด การเรียนรู 4 ดาน คือ ดานความรู ดานทักษะการทํางาน ดานพฤติกรรมการเรียนรู การทํางานรวมกับ ผูอื่น ดานคุณธรรมของนักธุรกิจ ไดแก ความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู 4. จัดตัง้ กลุม ธุรกิจจําลองภายใตบริษทั เสนหไ ม จํากัด มีสมาชิก 115 คน เพือ่ ดําเนินธุรกิจ คาขายสิ่งประดิษฐจากงานไม ในการสรางผลิตภัณฑ ใชเวลาในชวงหลังเลิกเรียน หรือคาบเวลาวาง และวันหยุดเสาร - อาทิตย ผลที่เกิดจากการพัฒนางาน 1. ผลที่เกิดกับนักเรียน นักเรียนมีความสามารถสืบคนลวดลายเครือเถากานขด อันเปน ศิลปะบรรพบุรุษของชาวอําเภอแจหม ทองถิ่นลานนา อีกทั้งเปนผูสืบสาน พัฒนา และประยุกต การฉลุลวดลาย แกะสลัก และปาดลายลงในสิ่งประดิษฐงานไม โดยผสมผสานสรางผลิตภัณฑไม เปนของใช ของตกแตงที่เปนเอกลักษณทองถิ่นใหเปนที่นิยมอยางแพรหลาย นักเรียนรูจักใช เวลาวางใหเปนประโยชน หารายไดระหวางเรียน ผลงานไดรับรางวัลตางๆ เชน รางวัลชนะเลิศ การประกวดโครงงานในการจัดงานมหกรรมการศึกษาป 2000 ผลิตภัณฑที่เปนฝมือนักเรียน เปนสินคา OTOP 4 ดาว นักเรียนที่เปนสมาชิกในบริษัท เสนหไม จํากัด จะมีเงินเขาบัญชีเงินฝาก ประจํา ตัง้ แต 200 - 5,000 บาท ตอเดือน เด็กทีส่ นใจเขารวมกับบริษทั จะเรียนอยูใ นระดับ ม.2 - ม.6 2. ผลที่เกิดกับโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนแจหมวิทยาเปนแหลงเรียนรูและสืบสาน งานแกะสลักไมสักลวดลายเครือเถากานขด เปนลวดลายที่เปนเอกลักษณของชาวลานนาในอําเภอ แจหม นักเรียนที่เขารวมบริษัท เสนหไม จํากัด พัฒนาไปแลว 800 คน จึงกลาวไดวามีการพัฒนาคน ที่มีความสามารถทางการฉลุลวดลายเครือเถากานขด โดยเชื่อมโยงความรูสรางของใช ของตกแตง กระจายใหกับชุมชน อันเปนการสรางงานสรางอาชีพแกชุมชน โรงเรียนแจหมวิทยาจึงเปนโรงเรียน

104

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ทีม่ ชี อื่ เสียงในการสรางผลิตภัณฑงานไมอยางแพรหลาย และไดรบั การคัดเลือกเปนโรงเรียนตนแบบ ของโครงการหนึ่งโรงเรียน หนึ่งผลิตภัณฑ หนึ่งภูมิปญญา จากกรมสามัญศึกษา 3. ผลที่เกิดกับผูบริหารโรงเรียน นายสาโรจน แกวอรุณ ผูอํานวยการโรงเรียนแจหมวิทยา ผูใ หการสนับสนุนการจัดตัง้ บริษทั เสนหไ ม จํากัด และการจัดการเรียนรูง านฉลุแกะสลักไมสกั เสมอมา ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณ ชั้น 1 de Chevalier อัศวิน จากกรุงบรัสเซลล ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 4. ผลที่เกิดกับครูผูสอน 4.1 ครูประสบผลสําเร็จในวิชาชีพดวยการสรรคสรางงานที่มีคุณคาตอมวลมนุษย โดยใชทรัพยากรเหลือใชใหเกิดประโยชน สวยงาม เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติได 4.2 ครูมคี วามมัน่ ใจในการเปนผูน าํ ทางความคิดเชิงวิชาการ ไดรบั การยอมรับดานฝมอื งานอาชีพทัง้ จากตางประเทศและในประเทศ จากการไดรบั เชิญเปนวิทยากรในการสงเสริมงานอาชีพ 4.3 มีความภาคภูมใิ จจากผลลัพธของกระบวนการจัดการเรียนรูท สี่ รางลูกศิษยไดเปน คนดี มีคุณภาพ จากการสําเร็จการศึกษาและการประกอบอาชีพ 4.4 จากผลงานเดนทัง้ หมดดังกลาว เปนผลให นายเสกสรร กาวินชัย ไดรบั การแตงตัง้ ให ดํ า รงตํ า แหน ง ครู เชี่ ย วชาญ และครู ช า งศิ ล ป แ ห ง แผ น ดิ น หนึ่ ง ในเก า คนของประเทศจาก ศูนยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

105


3. โรงเรียนบานดงสําราญ เปนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 2 จัดทําหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ผลิตภัณฑจากตนกก ครูผูสอน คือ นางเกษร บานชล ตําแหนงครูชํานาญการพิเศษ เปนผูสราง หลักสูตรและจัดการเรียนการสอนอยางครบวงจร ทีม่ าของการสรางหลักสูตรผลิตภัณฑจากตนกก มาจากเหตุผล 3 ประการ คือ ประการแรก ตนกกเปนพืชพื้นบานของชุมชนดงสําราญ ประการที่สอง ชาวบานดงสําราญมีการทอเสื่อกก เกือบทุกครัวเรือน ประการสุดทาย คือ ลายทอผา “ขิด” เปนเอกลักษณเฉพาะของจังหวัดยโสธร มีความงดงาม จึงเกิดความคิดที่จะประยุกตพืชพื้นบาน “ตนกก” เขากับกิจกรรมทอเสื่อกกโดยใช ลายขิดจากผามาสรางเปนงานใหมทมี่ คี ณ ุ คาในการอนุรกั ษวฒ ั นธรรม ศิลปะ และทรัพยากรพืน้ บาน ไปพรอมๆ กัน แลวนําผืนเสื่อกกที่ทอไดมาประกอบกับวัสดุอื่นๆ สรางเปนของใชนานาชนิด ไดแก กระเป า ถื อ สตรี กรอบรู ป ปกแฟ ม กระเป า กล อ งใส ดิ น สอ มู ลี่ แจกั น ฉากกั้ น เสื่ อ พั บ แผนรองนั่ง ฯลฯ อาจารยเกษร บานชล มองเห็นลูทางแลววาการทอเสื่อกกนั้นไมเกินความสามารถ ของนักเรียนและการปรับเปลี่ยนสภาพจากเสื่อกกใหเปนของใชหลากหลาย ก็จะเปนแรงจูงใจ ใหนกั เรียนพัฒนาตนเอง จนสามารถทําไดถงึ ขัน้ มีรายไดระหวางเรียน ผลจากการจัดกิจกรรม มีดงั นี้ รางวัลที่ไดรับ 1. รางวัลเข็มเชิดชูเกียรติ คุรุสดุดี จากสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ปการศึกษา 2555 2. ครูผูสอนดีเดน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จากสํานักงาน เลขาธิการคุรุสภา ปการศึกษา 2555 3. รางวัลหนึ่งแสนครูดี จากสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ปการศึกษา 2555 4. รางวัลครูชางหัตถศิลปไทย ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากศูนยสงเสริมศิลปาชีพ ระหวางประเทศ 5. ครูผูสอนนักเรียนไดรับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแขงขันโครงงานอาชีพ ระดับชั้น ป.4 - 6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 62 ปการศึกษา 2555 จากสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

106

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


6. รางวัลผูทําคุณประโยชนดานการศึกษา จากสํานักงาน สกสค. 7. รางวัลบุคคลมืออาชีพ สาขาผูปฏิบัติการสอน จากสํานักงาน สกสค. 8. รางวัลทรงคุณคา Obec Awards เหรียญทองอันดับที่ 8 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9. เด็กหญิงนันทรี ชื่นสุนทร เด็กหญิงปยนุช ประทุมวัน และเด็กหญิงสุกานดา แซตัน ไดรบั รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแขงขันโครงงานอาชีพ ระดับชัน้ ป.4 - 6 งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 62 ปการศึกษา 2555 จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิธีพัฒนาการเรียนการสอน 1. จัดทําหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กําหนดเนื้อหา 6 หนวย จัดทําแผนการเรียนรู 17 แผน ใชเวลา 40 ชั่วโมงตอป แบงเนื้อหาเปน หนวยที่ 1 หัตถกรรมพื้นบานงานทอเสื่อลายขิด หนวยที่ 2 กกพืชเศรษฐกิจ หนวยที่ 3 เครื่องมือ เครื่องใช วัสดุอุปกรณในการทอเสื่อ หนวยที่ 4 สรางสรรคงานทอเสื่อลายขิด การออกแบบ หนวยที่ 5 การออกแบบบรรจุภัณฑ หนวยที่ 6 นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 2. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู เริม่ จากสรางความตระหนักในการอนุรกั ษวฒ ั นธรรม การทอเสื่อกกประยุกตกับลายขิดของลายทอผา การเรียนรูในภาคทฤษฎีคูการลงมือปฏิบัติจริง การออกไปศึกษาจากแหลงเรียนรู การใชวทิ ยากรนอก (ภูมปิ ญ  ญาชาวบาน) สําหรับการลงมือปฏิบตั ิ เนนตั้งแตการปลูกกก สรางชิ้นงาน ปรับปรุงชิ้นงาน พัฒนาชิ้นงาน เกิดผลิตภัณฑตางๆ จัดจําหนาย ผลที่เกิดกับครูผูสอน 1. ครูมีความภาคภูมิใจที่เปนประชาชนคนไทยที่มีสวนในการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย และการยกย อ งเชิ ด ชู ภู มิ ป ญ ญาไทย ได ส ร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ ว า เป น เอกลั ก ษณ ของจังหวัดยโสธร และไดสรางเยาวชนของจังหวัดยโสธรใหเปนประชากรที่มีคุณคา 2. ประสบความสําเร็จในการแกปญหาเด็กและเยาวชนที่ติดเกมและการพนัน โดยจัด กิจกรรมดึงความสนใจใหเด็กหันมาใชเวลาใหเกิดประโยชน มีคณ ุ คา และการหารายไดระหวางเรียน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

107


3. ไดขยายโรงเรียนเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค โดยไดรับการสนับสนุนจากสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. 4. ยกระดับความสามารถทางวิชาชีพครูของตนจนสามารถเปนแบบอยางแกเพื่อน รวมวิชาชีพและชุมชน

4. โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา เปนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 1 ครูผูสอน คือ นางละเอียด ปูหลุน ตําแหนงครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา เปนโรงเรียนทีอ่ ยูใ นชุมชนทีม่ อี าชีพปลูกขาวเจาและขาวเหนียว มี ก ารผลิ ต เป น ข า วฮางหรื อ ข า วฮางยาเป น อาหารหลั ก ซึ่ ง นั บ วั น จะเลื อ นหายไปจากชุ ม ชน เพื่อการอนุรักษและสืบสานตอไป ครูผูสอนจึงจัดทําโครงการเกษตรทฤษฎีใหม เรื่องขาวพอหลวง ขาวภูมิปญญา และขาวพอหลวงไทยสูเศรษฐกิจสรางสรรคดวยขาวฮางยา เปนกิจกรรมสอน วิชาชีพในโรงเรียน โดยจัดทําเปนหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเพิ่มเติมงานนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ดวยขาวฮางมวงทอง ซึ่งแตเดิมขาวฮางเปนขาวเหนียวพันธุพื้นเมือง มี ก รรมวิ ธี แ ปรรู ป โดยการนึ่ ง ทั้ ง เปลื อ ก ข า วฮางมี 3 ชนิ ด ได แ ก 1) ข า วฮางยา เป น การ จัดการสุขภาพดวยภูมิปญญาของคนโบราณ ระดับชั้นเจานายที่จะออกรบหรือเจานายชั้นผูใหญ เจ็บปวย 2) ขาวฮางนา เปนขาวที่ครอบครัวคนโบราณเตรียมไวสําหรับรับประทานยามขาดแคลน

108

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3) ข า วนึ่ ง ทํ า จากข า วเจ า หรื อ ข า วหอมมะลิ ซึ่ ง มี คุ ณ ค า ทางโภชนาการสู ง และเก็ บ ไว ไ ด น าน เปนการเพิ่มมูลคาของขาว จึงเรียกกันวาขาวภูมิปญญา นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑอีกประเภท คือ เสื้อสมุนไพรเย็บมือจากภูมิปญญาชาวบาน ผลิตเปนเสื้อสมุนไพรเย็บมือฤทธิ์เย็น และเสื้อสมุนไพร เย็บมือฤทธิ์รอน โดยใชกรรมวิธีนําสมุนไพรที่มีคุณสมบัติเย็นและรอนมายอมเสื้อดวยวิธียอมเย็น และยึดแนนโดยดินปลวก แลวนํามาตัดเย็บดวยกรรมวิธีโบราณ เปนเสื้อทรงพื้นเมืองเย็บดวยมือ เปนกิจกรรมสําหรับฝกเด็ก LD ซึ่งเปนเด็กพิเศษ ผลการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของอาจารยละเอียด ปูหลุน มีดังนี้ รางวัลที่ไดรับ 1. รางวัลคุรุสภา รองชนะเลิศอันดับหนึ่ง โครงการยกยองเชิดชูเกียรติ ประจําป 2555 2. รางวัล Obec Awards ครูผสู อนยอดเยีย่ มระดับประถมศึกษา สาระการเรียนรูก ารงาน อาชีพและเทคโนโลยี ดานบริหารจัดการ ป พ.ศ. 2556 3. รางวัลตามรอยเกียรติยศครูผูมีอุดมการณและจิตวิญญาณ ป พ.ศ. 2556 4. รางวัลผูทําคุณประโยชนดีเดน สาขาเศรษฐกิจ การเกษตรและสหกรณ 5. รางวัลปราชญเกษตรกรดีเดน สาขาผูนําเครือขายและชุมชน วิธีการพัฒนาการเรียนการสอน 1. จัดทําหลักสูตรทองถิ่นพัฒนาตอยอดการทําขาวฮางยาและเสื้อเย็บมือหลักสูตรงุม ใหมีคุณภาพสูงขึ้น 2. ใหความรูแ กนกั เรียนเรือ่ งกระบวนการผลิตขาวฮางเปนขาวฮางยามวงทองใหมคี ณ ุ ภาพ ที่ศูนยเรียนรูชุมชนวิชชาลัยครุไท บานศรีวิไล โดยภูมิปญญาชาวบาน 3. ใหความรูแกนักเรียนเรื่องการยอมเสื้อสมุนไพรและการผลิตเสื้อสมุนไพรเย็บมือ หลักสูตรงุม 4. วางแผนการฝกปฏิบัติจริง จนเกิดทักษะกระบวนการเรียนรูการผลิตขาวฮางยา การยอมและผลิตเสื้อสมุนไพรเย็บมือ 5. ใหความรูและประสบการณตรงนอกหองเรียนเรื่องการทําธุรกิจโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เชน การออกแบบบรรจุภัณฑ การจดทะเบียนทรัพยสิน ทางปญญา การตลาด และการจัดจําหนายสินคา 6. นําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชประกอบการเรียนการสอน รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

109


ผลที่เกิดกับนักเรียน 1. นักเรียนเห็นคุณคาการอนุรกั ษและสืบทอดศิลปหัตถกรรม รวมทัง้ งานอาชีพในทองถิน่ ที่มีมาแตโบราณ 2. นักเรียนเกิดการเรียนรูและมีทักษะในกระบวนการผลิตสินคาประเภทขาวฮางยา และการตัดเสื้อสูตรงุม (กํา - แบ) ดวยตนเองโดยเฉพาะนักเรียน LD 3. นักเรียนสามารถสรางรายไดระหวางเรียนใหกับตนเองและรายไดเสริมใหครอบครัว 4. สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เขตพื้นที่ ระดับชาติและนานาชาติ 5. มีความรูพื้นฐานการสรางงานอาชีพในอนาคต 6. นักเรียน LD (เด็กพิเศษ) สามารถอานออกเขียนได 7. ไดรับรางวัลเยาวชนอาสาพัฒนาชุมชนดีเดนตนแบบป 2555 นานกิง มหาวิทยาลัยเฉิงตู ผลที่เกิดกับครูผูสอน 1. ไดรับรางวัล เกียรติบัตร ของผลงานที่สงประกวดในระดับตางๆ จํานวนหลายรางวัล 2. ไดเผยแพรและจัดจําหนายผลงานในงานตางๆ ดังนี้ 2.1 งานแสดงสิ น ค า ระหว า งประเทศ สภาหั ต ถกรรมโลกภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก (WWW-APR) ณ เมืองแดกู ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต ป พ.ศ. 2554 2.2 งานเทศกาลนวัตศิลปนานาชาติ 2555 (International Innovative Craft Fair 2012 : IICF) ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2555 2.3 งานสยามไทยมุง ณ ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย (กระทรวงวัฒนธรรม) 2.4 งานเปดเมืองหนองบัวลําภู ณ ศาลากลางจังหวัดหนองบัวลําภู 3. ไดรบั เชิญเปนวิทยากรใหความรูแ กผเู ขารับการอบรม ผูร ว มประชุมของหนวยงานตางๆ 4. ไดรับการยอมรับเปนผูนําชุมชนในการฟนฟูภูมิปญญาทองถิ่น จัดทําศูนยเรียนรูชุมชน วิชชาลัยครุไท บานศรีวิไล เปนสถานที่เผยแพรความรูและพัฒนาศักยภาพของภูมิปญญาทองถิ่น ไดเปนวิทยากรของโรงเรียนเครือขายทั้ง 16 โรงเรียน และกลุมอาสาพัฒนาชุมชน มาชวยจัดทํา เอกสารและเทคโนโลยีดาน IT นอกจากนี้ศูนยเรียนรูชุมชนวิชชาลัยครุไท บานศรีวิไล เปนสถานที่ ศึกษาดูงานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมของอาสาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทสม.)

110

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


5. ประสบความสําเร็จในการพัฒนาผูเ รียนสูเ ปาหมายในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ทั้งเด็กปกติและเด็ก LD (เด็กพิเศษ) 6. ไดรับการสนับสนุนขยายโรงเรียนเครือขายพัฒนางานอาชีพการเปนนักธุรกิจนอย ตามแนวนโยบายของสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สูเยาวชนไทยและชุมชน จํานวน 16 โรงเรียน 7. ศูนยเรียนรูชุมชนวิชชาลัยครุไท บานศรีวิไล ไดรับการยกยองเปนศูนยเรียนรูตนแบบ 8. มีผลงานสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน ทั้งในระดับเขตพื้นที่ ระดับชาติ และนานาชาติ ไดแก - เปนแกนนําตนแบบ - หมูบานตนแบบเศรษฐกิจพอเพียง ป พ.ศ. 2555 - ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ป พ.ศ. 2555 - มีผลงานเผยแพรที่นานกิงและมหาวิทยาลัยเฉิงตู ผลที่เกิดกับโรงเรียน 1. เปนโรงเรียนตนแบบสอนวิชาชีพในโรงเรียนและปลูกจิตสํานึกความเปนไทย 2. เปนโรงเรียนตนแบบวิถีพุทธ 3. เปนโรงเรียนตนแบบสถานศึกษาพอเพียง ป พ.ศ. 2555 4. เปนโรงเรียนตนแบบศรัทธานักเรียน ป พ.ศ. 2556 5. เปนโรงเรียนตนแบบสุจริตและธรรมาภิบาล ป พ.ศ. 2556 6. ผานการประเมินของ สมศ. รอบที่ 3

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

111


5. โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี เปนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 10 จังหวัดเพชรบุรี จัดการเรียนการสอนกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ประเภทสิ่งประดิษฐของใชและของประดับตกแตง มีผลงานเปนผลิตภัณฑผาบาติก แลวนํามา แปรรูปเปนเสื้อ กระเปา และของใชตางๆ มีงานเพนท งานสม็อกผา ผลิตภัณฑดอกไมประดับ จากดินไทย สรางรายไดระหวางเรียนใหแกนักเรียน ครูผูสอน คือ นางรัชดาพรรณ วัชพัฒน ตําแหนงครูชํานาญการพิเศษ มีผลงานดังนี้ ผลงานของนักเรียน 1. รางวัลชนะเลิศมาตรฐานเหรียญทองที่ 1 ระดับเขตพืน้ ที่ จากการแขงขันทักษะวิชาการ โครงงานอาชีพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และรางวัลมาตรฐานเหรียญทอง ระดับภาค ปการศึกษา 2553 2. รางวัลชนะเลิศมาตรฐานเหรียญทองที่ 1 ระดับเขตพื้นที่ และรางวัลรองชนะเลิศ มาตรฐานเหรียญทอง ระดับภาค จากการแขงขันทักษะวิชาการโครงงานอาชีพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนตน ปการศึกษา 2553 3. รางวัลชนะเลิศมาตรฐานเหรียญทองที่ 1 ระดับเขตพื้นที่ และรางวัลรองชนะเลิศ มาตรฐานเหรียญทอง ระดับภาค จากการแขงขันทักษะวิชาการโครงงานอาชีพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนปลาย กับรางวัลชนะเลิศมาตรฐานเหรียญทอง ระดับภาค จากการแขงขันทักษะวิชาการ โครงงานอาชีพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 - 3 ปการศึกษา 2554 4. รางวั ล ชนะเลิ ศ มาตรฐานเหรี ย ญทองที่ 1 ระดั บ เขตพื้ น ที่ และรางวั ล มาตรฐาน เหรียญทอง ระดับภาค จากการแขงขันทักษะวิชาการโครงงานอาชีพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 ปการศึกษา 2555 5. รางวัลชนะเลิศมาตรฐานเหรียญทองที่ 1 ระดับเขตพื้นที่ และรางวัลรองชนะเลิศ มาตรฐานเหรียญทอง ระดับภาค จากการแขงขันทักษะวิชาการโครงงานอาชีพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ 1 - 3 ปการศึกษา 2555 6. รางวัลชนะเลิศแชมประดับภาคและรางวัลชมเชยระดับประเทศ ผลงานการจัดตั้ง บริษัทจําลอง ชื่อบริษัทคุณหญิงคลาสสิคแฮนดิคราฟ โครงการกรุงไทย ยุววาณิช ของธนาคาร กรุงไทย รับโลรางวัลพรอมเงินรางวัล 85,000 บาท ปการศึกษา 2555

112

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


7. รางวัลชนะเลิศแชมประดับภาคและรางวัลชมเชยระดับประเทศ ผลงานการจัดตั้ง บริษัทจําลอง ชื่อบริษัทผลิตศิลปถิ่นเพชรบุรี โครงการกรุงไทย ยุววาณิช ของธนาคารกรุงไทย รับโลรางวัลพรอมเงินรางวัล 85,000 บาท ปการศึกษา 2556 ผลงานของครู 1. ไดรบั การคัดเลือกเปนครูผสู อนดีเดน กลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี จากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 ปการศึกษา 2553 2. ไดรบั การคัดเลือกเปนครูผสู อนดีเดน กลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี จากสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ป พ.ศ. 2553 3. ไดรับการคัดเลือกเปนบุคคลดีเดน ของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จากการประกวดกิจกรรมบุคคลดีเดน ประจําป พ.ศ. 2556 จากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 10 4. รางวัลครูผูมีผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) ผลงานทางวิชาการ Lab School Symposium 2013 ระดับประเทศ ป พ.ศ. 2556 5. รางวัลชนะเลิศเปนครูผนู าํ เทคโนโลยีดา นการเรียนการสอน ระดับประเทศ ในโครงการ Thailand Innovative teachers Leadership 2013 ป พ.ศ. 2556 รับถวยพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วิธีการพัฒนาการเรียนการสอน 1. จัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ดวยกระบวนการกลุมและวิธีสอน แบบโครงงาน 2. นํา ICT มาบูรณาการสูโครงงานอาชีพ เพื่อใหนักเรียนสามารถนําวิทยาการใหมๆ มาใชในการเรียนรูและทํากิจกรรมไดอยางเปนระบบ 3. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศชวยในการพัฒนางาน 4. จัดทําผลิตภัณฑอยางสรางสรรคและนําไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. ขยายงานอาชีพออกสูช มุ ชน ขยายตลาดจําหนายแบบรานคาออนไลนทางอินเทอรเน็ต เพื่อเปนแนวทางในการสรางงานในอนาคต

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

113


ผลที่เกิดกับครู ครูประสบความสําเร็จในวิชาชีพ เปนทีย่ อมรับ มีผลงานจากการจัดการเรียนการสอน ไดรบั รางวัลจากหลายสนามแขงขัน ทั้งระดับเขต และระดับประเทศ

6. โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม เปนโรงเรียนประจํา จัดการเรียนการสอน ตั้งแตระดับอนุบาล - มัธยมศึกษาปที่ 6 สังกัดสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ครูผูสอน คือ นายสมบัติ ศรีวรรณชัย ตําแหนงครูชํานาญการพิเศษ จัดการเรียนการสอนเรื่องการออกแบบ ผลิตภัณฑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โดยนําวัสดุเหลือใช/ขยะที่ยังมีสภาพดีในโรงเรียนมาให

114

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


นักเรียนสรางผลิตภัณฑ เรียกวา “ผลิตภัณฑรีไซเคิล” ดวยเหตุผลที่วา งบประมาณที่โรงเรียนไดรับ ไมเพียงพอตอการจัดการเรียนรูทั่วทั้งโรงเรียน และปริมาณขยะในโรงเรียนมีมาก เนื่องจากเปน โรงเรียนประจํา โดยนําหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู รวมกับกิจกรรมสงเสริมอาชีพอิสระ เพื่อใหไดของใชสําหรับใชเอง สําหรับจําหนาย สรางรายได ระหวางเรียน เนนการออกแบบใหมีรูปลักษณโดดเดน สวยงาม สะดุดตา มีผลงานแยกเปน ระดับตางๆ ไดดังนี้ ระดับนานาชาติ 1. ไดรับคัดเลือกจากสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. นําผลงานนักเรียน ไปจัดแสดงทีเ่ มืองแดกู ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต ป พ.ศ. 2554 ตามคําเชิญของสภาหัตถกรรมโลก ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก 2. ไดรับคัดเลือกจากสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. ใหไปเผยแพร งานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค และทําหนาที่เปนวิทยากรเผยแพร และแลกเปลีย่ นเรียนรูด า นการจัดการเรียนการสอนงานอาชีพ งานศิลปหัตถกรรม การจัดการศึกษา และวัฒนธรรม ณ ราชอาณาจักรภูฏาน ป พ.ศ. 2556 ระดับชาติ 1. รางวัลการประกวดผลงานวิจัยดีมีคุณภาพ ระดับดี จากสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2553 2. ไดรับคัดเลือกเปนครูดีในดวงใจ จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2554 3. ไดรบั คัดเลือกเปนครูแสนดี จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ป พ.ศ. 2554 4. ไดรับรางวัล OBEC AWARDS จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2554 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 1. ไดรับคัดเลือกเปนขาราชการครูดีเดน ระดับกลุมโรงเรียน จากสมาคมชาวศึกษา สงเคราะหและการศึกษาพิเศษ ประจําป 2553

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

115


2. รางวั ล ครู ผู มี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมดี เ ด น จากสํ า นั ก งานส ง เสริ ม สวั ส ดิ ก าร และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดเชียงใหม ป พ.ศ. 2554 3. รางวัลครูผูฝกสอน รางวัลเหรียญทอง การแขงขันทักษะวิชาการ กิจกรรมการแขงขัน ประดิษฐของใชจากวัสดุทองถิ่น ระดับภาค วิธีพัฒนาการเรียนการสอน 1. จัดการเรียนรูแบบเปนฐานการเรียน 2. ใชชุดกิจกรรม 3. เทคนิคพี่สอนนอง เพื่อนชวยเพื่อน 4. ใชสื่อ Internet Computer 5. สรางและใชสื่อ VCD 6. จูงใจเด็กนักเรียนตองการใหมีรายไดระหวางเรียน ผลที่เกิดกับครู จากการศึกษาคนควา ทําใหครูมีความรู ความสามารถ และเทคนิคในการจัดการเรียน การสอนไดหลากหลายวิธีการ เปนผลใหไดรับรางวัลทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ และการยอมรับระดับนานาชาติ

116

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


7. โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา เปนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จั ง หวั ด นครปฐม มี ผ ลงานประเภทสิ่ ง ประดิ ษ ฐ เ ครื่ อ งประดั บ สตรี จ ากแป ง ขนมป ง โดยนําขนมปงทีเ่ หลือจากการจําหนายมาสรางมูลคาเพิม่ ประกอบกับวัสดุอนื่ เชน เศษผาไทยทีไ่ ดรบั บริจาคจากชุมชน ลวด ลูกปดสีตางๆ จัดเปนชุดเครื่องประดับผม สรอยขอมือ แหวน เข็มกลัด ฯลฯ และมีการจัดทําภาพการตูน 3 มิติ ภาพลายไทย ทําจากกระดาษปกรายงานใชแลวหนาเดียว จัดเปนชุดการละเลนของเด็กไทย ชุดประเพณีและวัฒนธรรมไทย ใสกรอบรูปสวยงามสําหรับ ประดับตกแตงบาน และมีการบันทึกขั้นตอนวิธีการผลิตลงแผน CD จําหนายดวย ครูผูสอน คือ นางสาวสมพร นิสยันต มีผลงานเดนดังนี้ 1. รางวัลดีเยี่ยม จากงานมหกรรมการประกวดนวัตกรรมทางการศึกษาระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. รางวัลโลเกียรติยศสือ่ พัฒนาการเรียนรูม คี ณ ุ ภาพระดับดีเดน จากงานมหกรรมรวมพลัง ปฏิรูปการศึกษาไทย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานรวมกับสมาคมพัฒนาวิชาชีพครู 3. รางวัลดีเยี่ยมหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม จากงานเปดบานนวัตกรรมการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 4. รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 โครงการกรุงไทย ยุววาณิช ป พ.ศ. 2553 จากบริษัท ผลิตศิลป จํากัด ธุรกิจผลิตการตูนและลายไทย 3 มิติ ไดรับรางวัล 390,000 บาท พรอมใหครูและนักเรียน ในโครงการไดไปศึกษาดูงานที่ประเทศญี่ปุน 5. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 โครงการกรุงไทย ยุววาณิช ป พ.ศ. 2556 เด็กรุนใหม ไดจัดตั้งบริษัท Gift Roses จํากัด ธุรกิจผลิตเครื่องประดับจากขนมปง ไดรับรางวัล 350,000 บาท พรอมใหครูและนักเรียนในโครงการไดไปศึกษาดูงานที่ประเทศจีน วิธีการพัฒนาการเรียนการสอน 1. ฝกนักเรียนใหรูจักการคิดวิเคราะหและเรียนรูดานทฤษฎีใหเขาใจกอนฝกปฏิบัติจริง 2. ฝกการเรียนรูดวยการตั้งบริษัทจําลองเพื่อใหคิด ผลิต จําหนาย จัดทําแผนธุรกิจ โดยใหบริหารจัดการดวยตนเอง 3. ครูคอยใหความชวยเหลือในกรณีที่มีปญหาซึ่งนักเรียนทําไมได 4. สงเสริมใหนักเรียนสงผลงานเขาประกวดเพื่อกระตุนใหนักเรียนพัฒนาการทํางาน อยางตอเนื่อง รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

117


ผลที่เกิดกับนักเรียน 1. นักเรียนสามารถสรางชิ้นงานดวยตนเองและสามารถถายทอดความรูตอไปยังผูอื่นได มีความมั่นใจ กลาพูด กลาแสดงออก 2. นักเรียนมีผลงานจําหนาย สรางรายไดระหวางเรียนใหตนเอง 3. ผลงานของนักเรียนไดรับรางวัลชนะเลิศ รางวัลดีเยี่ยมระดับภาคและระดับชาติ 4. นักเรียนมีประสบการณตรงจากการเปนผูผลิต ผูจําหนาย และการประชาสัมพันธ จากการบริหารจัดการบริษัทจําลอง ผลที่เกิดกับครู 1. มีผลงานที่เผยแพรทั้งในและตางประเทศ 2. ผลงานไดรับการยอมรับจากหนวยงานตางๆ และบุคคลทั่วไป 3. นํารางวัลที่ไดรับมาพัฒนา และสรางงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น 4. ไดรับเกียรติเชิญเปนวิทยากร การอบรมขาราชการครูและผูสนใจ เรื่องการสรางสรรคงานภาพการตูน และลายไทย 3 มิติ

118

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


8. โรงเรียนศิริราษฎรวิทยาคม เปนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ครูผูสอน คือ นางนิ่มนวล ศิริพันธุ หนึ่งในครูของโครงการ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ที่สรางงานประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติไรคา ที่มีอยูทั่วไปในทองถิ่น ไดแก เมล็ดพืชแหง เชน เมล็ดมะกลํ่าตาหนู เมล็ดถั่วแดงขนาดตางๆ เมล็ดมะคาโมง เมล็ดหมากหนามแทง และสวนตางๆ ของพืช เชน ตอไม ขอนไม ใบไมแหง ฯลฯ นํามาประกอบเสริมกับวัสดุประเภทลวด เอ็น พลาสติก กาว และสี ใหเปนรูปรางมด มีลีลา และทาทางตามจินตนาการ เสริมดวยความคิดสรางสรรคจากภูมิปญญาของนักเรียน เกิดผลงาน ที่สะดุดตาและสรางรอยยิ้มใหกับผูพบเห็น เชน มดเลนกีตาร มดขี่รถจักรยาน หรือขี่รถมอเตอรไซด มีทั้งแบบมาเดี่ยวและเริงรานั่งซอนมาบนรถคันเดียวกันถึง 2-3 ตัว อีกสไตลหนึ่ง คือ มดแสดง ทาทางตางๆ เลียนแบบดารา เตะทาเกๆ ก็มีใหดู ผลงานเดน 1. ไดรับรางวัล OBEC AWARDS ประจําป พ.ศ. 2556 ชนะเลิศเหรียญทอง และครูผูสอน ยอดเยี่ยมระดับมัธยมศึกษาตอนตน ดานการบริหารจัดการกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี 2. ผลงานของนักเรียนไดรับเลือกเปน 1 ใน 50 สินคาดีเดนของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหเขารวมงานจัดจําหนายและแสดงสินคาในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ที่เมืองทองธานี ตั้งแตป 2552 ถึงปจจุบัน วิธีการพัฒนาการเรียนการสอน 1. ใชหลักการพัฒนาไปสูความสําเร็จตามเปาหมาย คือ มุงใหนักเรียนเกิดทักษะการคิด การสังเกต การจินตนาการ ความคิดสรางสรรค การฝกปฏิบัติจริง 2. ใชกระบวนการกลุมในการสรางงาน ฝกใหนักเรียนรูจักการแกปญหาดวยตนเอง 3. ฝกความสามารถในการสื่อสาร รูจักนําเทคโนโลยีมาชวยสรางสรรคงาน 4. ใหความรูใ นเรือ่ งการดําเนินธุรกิจการตลาดทางพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส (E - Commerce) 5. ศึกษาจากแหลงเรียนรูภูมิปญญาในทองถิ่นผสมผสานกับความรูทางศิลปะมาจัดทํา ทาทางของมดสื่อใหถึงอารมณไดอยางเหมาะสม 6. รับฟงความคิดเห็นของลูกคาเพื่อนํามาปรับปรุงสินคาใหมีคุณภาพสูงขึ้น และมีรูปแบบ ตามความตองการของตลาด รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

119


ผลที่เกิดกับนักเรียน 1. นั ก เรี ย นสามารถนํ า ความรู ม าสร า งและพั ฒ นางานมดจ า ...อารมณ ดี ให มี คุ ณ ค า และคุณภาพสูงขึ้น 2. นักเรียนเห็นคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติที่ไรคามาสรางชิ้นงานโดยลงทุนตํ่าขายได ราคาสูง 3. นักเรียนรูจักชวยตนเองใหมีรายได ชวยแบงเบาภาระของครอบครัว และรูจักคุณคา ของเงิน 4. นักเรียนไดรบั การพัฒนาการเปนผูป ระกอบการทีม่ คี ณ ุ สมบัตขิ องการเปนนักธุรกิจนอย ที่มีคุณธรรม 5. นักเรียนมีแนวทางพื้นฐานการประกอบอาชีพในอนาคต ผลที่เกิดกับครูผูสอน 1. ผลงานหลักสูตรกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี “มดจา...อารมณด”ี ไดรับการประกาศใหใชเปนรายวิชาเพิ่มเติมในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในป พ.ศ. 2554 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียน 2. ครูไดรับรางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ดานบริหารจัดการ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี คือ รางวัล OBEC AWARDS 3. ครูไดรับความไววางใจจากสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ. คัดเลือก ใหเปน 1 ใน 29 ศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ใหกับโรงเรียนใกลเคียงและผูสนใจเปนรุนแรก

120

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


บทที่ 5 สรุปผล การพัฒนาการเรียนรูใหแกนักเรียนตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค สวนใหญมีที่มาหรือแรงบันดาลใจจากการประกอบอาชีพในชุมชน เปนงานของ ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ที่ สื บ ทอดต อ กั น มา ควรอนุ รั ก ษ แ ละให เ ยาวชนรุ น หลั ง ได สื บ ทอดต อ กั น ไป โรงเรี ย นได นํ า ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น มาถ า ยทอดหรื อ เรี ย นรู จ ากวิ ท ยากรท อ งถิ่ น ปลู ก จิ ต สํ า นึ ก ใหนกั เรียนรัก หวงแหน และภาคภูมใิ จในศิลปวัฒนธรรมทองถิน่ สํานึกรักบานเกิด ทําใหเกิดการเรียนรู อยางมีคุณภาพ มีความสุข นักเรียนมีรายไดระหวางเรียน เชน การจักสานไมไผของโรงเรียน เกาะโพธิ์ถวยงามวิทยา สพม. 18 จังหวัดชลบุรี ผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮอ งสอน เขต 1 การทอเสือ่ กกลายขิดของโรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 ผาบาติก ของโรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนคลองทอมราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ และโรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี เปนตน ในบางทองที่ มีวัสดุเหลือใชหรือวัสดุทองถิ่นจํานวนมาก มีศิลปหัตถกรรมอันทรงคุณคาของชุมชน จึงไดประดิษฐ คิดคนพัฒนาผลิตภัณฑเพิ่มมูลคา สรางรายไดและสืบทอดศิลปวัฒนธรรมใหแพรหลายมากขึ้น เชน การปนหมอเขียนลายบานเชียงของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 เศษผาแปลงโฉม ของโรงเรียนวัดถอนสมอ สพป.สิงหบุรี กะลานาใชจากโปรแกรม GSP ของโรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 งานพาราศิลปของโรงเรียนสามัคคีศกึ ษา สพม. 13 จังหวัดตรัง เปนตน บางผลิตภัณฑเกิดจากการเรียนรูในหลักสูตรที่ครูมีความรูความสามารถเฉพาะดานนั้นๆ โดยจัด การเรียนรูใ หนกั เรียนไดปฏิบตั จิ ริงจนเกิดทักษะ ไดสนิ คาทีม่ คี ณ ุ ภาพเปนทีย่ อมรับ จําหนายไดทาํ ใหมี รายไดระหวางเรียน เชน สมุนไพรไทย “กระชาย” เพือ่ สุขภาพของโรงเรียนวัดเกาะกระชาย สพป.นครนายก เมนู เ ด็ ด เห็ ด ห า อย า งของโรงเรี ย นวั ด หนองกลางดง สพป.ราชบุ รี เขต 2 โครงลวดรู ป สั ต ว รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

121


ของโรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี เบเกอรี่ของโรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 เปนตน บางโรงเรียนมีแรงบันดาลใจจากการไดรับการคัดเลือกใหเปน ผลิตภัณฑ OSOP ตามโครงการ 1 โรงเรียน 1 ผลิตภัณฑ ไดเขารวมแสดงสินคาในงานนิทรรศการ มหกรรมวิชาการ งานเปดประตูสสู ถานศึกษา ทําใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง เชน กะหรีป่ บ งาดํา เพื่อสุขภาพของโรงเรียนวัดดงยาง (ดงยางราษฎรบํารุง) สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 งานปนของจิ๋ว ของโรงเรียนวัดเสาธงทอง สพป.สิงหบุรี บางโรงเรียนตองการพัฒนาการคิดวิเคราะหของโรงเรียน ในกลุมสาระการเรียนรู โดยใชเศษวัสดุธรรมชาติในทองถิ่นมาประดิษฐตามจินตนาการ ไดแก ผลงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติของโรงเรียนบานโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1 ในบางกิจกรรม ครูตองการแกไขปญหานักเรียนที่มีปญหาดานการเรียนและพฤติกรรมการหนีเรียน ไดใชกิจกรรม ชุมนุม ชมรม เปนเครื่องมือสําคัญที่จะจูงใจนักเรียนใหเห็นคุณคาของตนเองและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้น เชน ผลิตภัณฑอาหารแปรรูปจากผลสมควายของโรงเรียนทับปุดวิทยา สพม. 14 จังหวัดพังงา และจากแรงบันดาลใจที่เกิดจากความประทับใจ ความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงงานเพื่อประชาชนทําใหเกิดพลังในการทํางาน เชน การทําขาวฮาง ของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 โดยมีเปาหมายที่จะพัฒนานักเรียน ตามตัวชีว้ ดั และมาตรฐานการเรียนรูต ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีจุดเนนใหนักเรียน คิดเปน ทําได ขายเปน และเปนนักธุรกิจนอยที่มีคุณธรรมสูความสําเร็จ ของการประกอบอาชีพธุรกิจ 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู ขอบเขตรายวิชาการพัฒนาผูเรียนจัดเปน 4 ลักษณะ โดยสวนใหญจัดในลักษณะที่ 1 คือ จัดเปนรายวิชาเพิม่ เติมในกลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยี เชน ผัดหมีโ่ คราชพรอมปรุง ของโรงเรียนบานคลองเสือ สพป.นครราชสีมา เขต 4 สมุนไพรมะรุมของโรงเรียนโพนงามโคกวิทยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1 งานผาฝายมัดหมี่ของโรงเรียนวัดหนองยาง สพป.อางทอง งานผาบาติก ของโรงเรียนชุมชนวัดกลางทาขาม สพป.สิงหบรุ ี เปนตน ลักษณะที่ 2 คือ จัดการเรียนรูร ายวิชาพืน้ ฐาน ในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เชน ผาทอยอมครามของโรงเรียนบานอากาศ สพป.สกลนคร เขต 3 ผลิตภัณฑอาหารวาง “บะจาง ลูกชุบชาววัง กระทงทอง” ของโรงเรียน กระทุมแบน “วิเศษสมุทคุณ” สพม. 10 จังหวัดสมุทรสาคร เปนตน ลักษณะที่ 3 คือ จัดกิจกรรม การเรียนรูบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ ไดแก กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา

122

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


และวัฒนธรรม เชน ผลิตภัณฑลูกปดทดแทนของโรงเรียนบานภูเขาทอง สพป.ระนอง นักธุรกิจนอย ผีตาโขนของโรงเรียนศรีสองรักษวิทยา สพม. 19 จังหวัดเลย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ผลิตภัณฑจอหอรักษโลกของโรงเรียนบานจอหอ สพป.นครราชสีมา เขต 1 อาหารแปรรูปจากไขผํา ของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เชน ผลงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติของโรงเรียนบานโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1 ศิลปะประดิษฐ ของโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช และเทคนิคการทําผาบาติกของโรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช ลักษณะที่ 4 คือ การจัดการเรียนรูในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในรูปแบบ ชุ ม นุ ม ชมรมต า งๆ ได แ ก งานประดิ ษ ฐ ด อกไม จ ากเกล็ ด ปลาของโรงเรี ย นอนุ บ าลวั ง ม ว ง สพป.สระบุรี เขต 2 งานจักสานไมไผของโรงเรียนเกาะโพธิ์ถวยงามวิทยา สพม. 18 จังหวัดชลบุรี ผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 วิธีการจัดการเรียนรูจัดเปน 2 ลักษณะตามขอบเขตรายวิชา คือ การจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเติม จัดการเรียนรูบูรณาการกับสาระการเรียนรูอื่นๆ และจัดการเรียนรูในกิจกรรม พัฒนาผูเ รียน ในรูปแบบของชุมนุม ชมรมตางๆ สําหรับการจัดการเรียนรูร ายวิชาเพิม่ เติม การบูรณาการ กับสาระการเรียนรูอื่นๆ มีการวิเคราะหหลักสูตร จัดทําหนวยการเรียนรู ออกแบบการเรียนรู และจั ด การเรี ย นรู ต ามแผนการจั ด การเรี ย นรู ส ว นกิ จ กรรมพั ฒ นาผู เรี ย นจะทํ า เป น โครงการ หรือแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในการทํากิจกรรมของชุมนุม ชมรม โดยใชกระบวนการ จัดกิจกรรมในแนวเดียวกัน ดังนี้ 1. การสํารวจ เปนการศึกษาความเปนมา ขอมูลจากชุมชน แหลงเรียนรู เอกสาร สื่อ ICT เพื่อสรางแรงบันดาลใจในการสรางผลิตภัณฑ 2. การวางแผนและการออกแบบ เปนการวางรากฐานการสรางผลิตภัณฑ โดยนํา แนวคิดพื้นฐานการนําวัสดุในทองถิ่นมาเพิ่มมูลคา วัสดุธรรมชาติ วัสดุเหลือใช ความตองการ ในการอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นมาวางแผนดําเนินงาน โดยออกแบบผลิตภัณฑใหสวยงาม คงทน สอดคลองกับความตองการของผูใช 3. การสรางผลิตภัณฑ เปนขั้นตอนสําคัญของการเรียนรูในการผลิตชิ้นงาน โดยเนน การปฏิบัติจริง มีการเชิญวิทยากรทองถิ่นมาใหความรูและฝกปฏิบัติควบคูไปกับการจัดการเรียนรู ของครู โดยสงเสริมใหนักเรียนไดใชทักษะการคิด การแกปญหา การสื่อสาร การใชเทคโนโลยี รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

123


รวมทั้งสงเสริมคุณลักษณะในดานความมีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ โดยเฉพาะคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู โดยจัดการเรียนรูตามความถนัด ใหนักเรียนไดเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เชน การใชวิธีสอนแบบ อิงประสบการณ 7 ขัน้ ตอน ในการทอเสือ่ กกประยุกตของโรงเรียนบานเชียงเพ็ง สพป.อุดรธานี เขต 4 เน น ให นั ก เรี ย นได ล งมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง ทุ ก ขั้ น ตอน เน น ทั ก ษะกระบวนการกลุ ม สนั บ สนุ น การมี สวนรวมของทุกฝายทั้งในโรงเรียน ชุมชน และหนวยงานภายนอก เชน สํานักเกษตรจังหวัด สํานักศิลปากร กรมศิลปากร องคการบริหารสวนตําบล สื่อมวลชนแขนงตางๆ ทําใหนักเรียน มีทกั ษะชีวติ และทักษะอาชีพผานการทํากิจกรรม 3R คือ Reading Writing และ Arithmetic และ 4C คือ Critical Thinking, Communication, Collaboration และ Creativity จากการเรียนรู “ลูกปดทดแทน หวงแหนทรัพยแผนดิน” ของโรงเรียนบานภูเขาทอง สพป.ระนอง การเรียนรู จากงานอาชีพในชุมชนทั้งในและนอกเวลาเรียน เชน ผลิตภัณฑเสนพลาสติกของโรงเรียนบํารุงพงศ อุปถัมภ สพป.มุกดาหาร จัดการเรียนรูโดยใชวิธีการ “คูหูทํางาน” (Buddy Worker) ทําใหนักเรียน เกิดความเขาใจในวัฒนธรรมชนเผาที่แตกตางกันไดเปนอยางดี เชน ผลิตภัณฑผาทอกะเหรี่ยง ของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 และผลิตภัณฑจักสานจากไมบองของโรงเรียน บานเลโคะ สพป.แมฮองสอน เขต 2 4. การสรางบรรจุภัณฑ เปนการใชฐานการคิดเพิ่มมูลคา ความสวยงาม คงทน ปลอดภัย และมาตรฐานของผลิ ต ภั ณ ฑ มี ลั ก ษณะเป น กล อ งบรรจุ ภั ณ ฑ ถุ ง ซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ ทํ า จากพลาสติ ก กระดาษสา กระดาษแข็ ง ขวดพลาสติ ก บรรจุ น้ํ า ดื่ ม สมุ น ไพร/ผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ความสะอาด และกลองบรรจุอาหาร โดยจัดการเรียนรูใหนักเรียนออกแบบบรรจุภัณฑใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑ เชน ขวดนํ้าดื่มสมุนไพรมะมวงหาวมะนาวโหของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 กลองบรรจุภณ ั ฑสาหรายทอดของโรงเรียนบานเมืองกาญจน สพป.เชียงราย เขต 4 ถุงพลาสติกบรรจุขาวสูญญากาศขาวฮางของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 5. การจัดจําหนาย จัดการเรียนรูบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยีกับสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โดยนักเรียนเรียนรูการคิดตนทุน กําไร คาแรง และราคาขาย เพื่อจําหนายในราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของสินคา มีหลายโรงเรียนที่เชื่อมโยง กับโครงงาน และจัดตั้งบริษัทจัดจําหนาย เชน บริษัท Gift Rosses จํากัด โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา

124

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


สพม. 9 จังหวัดนครปฐม และบริษัท งามเวียงกาหลง จํากัด โรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย บางโรงเรียนจัดการเรียนรูใหนักเรียนฝกทําบัญชีรับ-จาย เพื่อความถูกตอง โปรงใสในการทําธุรกิจ มีการสํารวจตลาดในการจําหนายสินคาและฝกใหนักเรียนเปนผูจําหนาย ใหบริการและประชาสัมพันธ นําเสนอ เชิญชวนใหผูคนสนใจและซื้อสินคา 6. การสงเสริมการขาย/การเผยแพร เปนกระบวนการสงเสริมสนับสนุนการจําหนาย และเผยแพรผลิตภัณฑโดยใชวิธีการจัดนิทรรศการ การเขารวมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู จําหนาย ในตลาดนัดชุมชน ถนนคนเดิน งานแสดงและจําหนายสินคาชุมชน รานคาชุมชน ศูนยจาํ หนายสินคา การรวมมือกับเครือขายจัดศูนยจําหนายสินคา จัดแหลง/ตลาดวางสินคา การจําหนายทางเว็บไซต การทําธุรกิจ E-Commerce เชน โรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย จําหนาย สินคาทางเว็บไซต โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม และโรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี นักเรียนเปนวิทยากรแนะนํา สาธิตการผลิตสินคา เปนตน การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู โรงเรียนสวนใหญจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรม กลุมสนใจ หลากหลายรูปแบบ ใหนักเรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เชน กิจกรรมชุมนุม ผลิตภัณฑวัสดุเหลือใชจากกะลามาจัดทําเปนของใช ของประดับตกแตง ของโรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 ชุมนุมสมุนไพรไทย “กระชายเพื่อสุขภาพ” ของโรงเรียน วัดเกาะกระชาย สพป.นครนายก ออมทรัพยกับออมสินของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัด อุบลราชธานี การจัดทํากลุมสนใจดอกไมจากเกล็ดปลา ของโรงเรียนอนุบาลวังมวง สพป.สระบุรี เขต 2 การจัดทําโครงการใหนักเรียนรวมกลุมเรียนรูรายวิชาเสนหไม ของโรงเรียนแจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง การจัดตัง้ บริษทั จําลองหรือจัดทํามินบิ ริษทั จําหนายผลิตภัณฑทนี่ กั เรียนผลิต และบริหารจัดการโดยนักเรียน จัดทําเปนรานคา สหกรณ เชน โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 มีบริษัทจําลอง 4 บริษัท คือ บริษัทสะอาดจัง บริษัทตราเด็กสมบูรณ บริษทั เย็บสวยดวยมือ บริษทั ตวนา (ทํานา) การจัดกิจกรรมเสริม ไดแก กิจกรรม To be number one กิจกรรม Young OTOP กิจกรรมบานอาชีพเด็กพิเศษ ของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัด อุบลราชธานี เปนตน การสรางเครือขายขยายผลโรงเรียนตางๆ ที่หลายโรงเรียนไดดําเนินการ เชน โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 โรงเรียนบานดอยชาง สพป.เชียงราย เขต 2 การจัดคายงานวิชาการใหความรูเรื่องบรรจุภัณฑ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

125


โดยวิทยากรทองถิ่นของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 การฝกอาชีพและการจัดการเรียน การสอนเสริมในวันหยุดราชการ สงเสริมการเผยแพรผลงานดวยการจัดนิทรรศการ การเปนวิทยากร ใหความรูแกผูมาศึกษาดูงาน ฯลฯ การวัดและประเมินผล ดําเนินการใน 2 ลักษณะ คือ การวัดและประเมินผลการจัด การเรียนรูตามรายวิชาเพิ่มเติมกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีใน 4 ดาน คือ ดานความรู ใชวิธีการทดสอบและสอบถามความรู ดานทักษะ วัดพฤติกรรมการเรียนรู การปฏิบัติงาน และการทํางานรวมกับผูอื่น ใชวิธีการประเมินพฤติกรรม การปฏิบัติงานและสังเกตการณทํางาน ดานผลงานจากการเรียนรู ใชวิธีการประเมินผลงาน/ชิ้นงาน ดานคุณธรรมนักธุรกิจนอย ใชวิธีการ สังเกตคุณธรรมที่ปรากฏจากการปฏิบัติงานเกี่ยวกับความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู สําหรับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู ใชวิธีการประเมินความพึงพอใจจากครู นักเรียน และผูมีสวนรวม สวนการวัดและประเมินผลการเรียนรูกิจกรรมพัฒนาผูเรียน วัดและประเมินผล ดานกระบวนการปฏิบตั งิ านการทํางานกลุม ใชวธิ กี ารประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั งิ าน ดานผลงาน/ ชิ้นงาน ใชวิธีการประเมินผลงาน ดานคุณธรรมนักธุรกิจนอย ใชวิธีการสังเกตคุณธรรมที่ปรากฏ จากการรวมกิจกรรม ผลการประเมินใชเกณฑการผานหรือไมผา น ไมนาํ คะแนนไปพิจารณาผลได/ตก ผลการพัฒนาการเรียนรูตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ทําใหนักเรียนมีความรูความสามารถตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ทั้ ง 4 มาตรฐาน มี ทั ก ษะในการคิ ด การทํ า งาน การประกอบอาชีพ มีเจตคติที่ดีตออาชีพสุจริต รักการทํางาน มีคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู เห็นความสําคัญของทรัพยสินทางปญญา นักเรียนมีความ ภาคภูมิใจที่ไดสรางผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ สามารถจําหนายสรางรายไดระหวางเรียน ไดนําเสนอ ผลิตภัณฑในงานแสดงผลงาน การจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการทัง้ ในประเทศและตางประเทศ ครู มี ก ารจั ด รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม จั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาผู เรี ย นตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการวิจัย ใหผูเรียนไดเรียนรูสอดคลองกับ หลักสูตร สภาพทองถิ่น ประสบความสําเร็จเปนที่นาพอใจอยางยิ่ง ไดรับรางวัล ไดรับเชิญเปน วิทยากรจากหนวยงาน มีความกาวหนาทางวิชาการ และวิทยฐานะสูงขึ้น โรงเรียนไดรับการยกยอง

126

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


จากหนวยงานทางการศึกษา ไดรับเชิญเปนตัวแทนการนําเสนองานและไดรับรางวัลตางๆ ที่นาภาคภูมิใจ ซึ่งชุมชนในทองถิ่นไดเปนผูมีสวนรวมในการพัฒนางานตามโครงการ ไดนําผลิตภัณฑไปพัฒนา ในท อ งถิ่ น ให เ กิ ด การเรี ย นรู อ ย า งต อ เนื่ อ ง เป น การสื บ ทอดทางวั ฒ นธรรมในชุ ม ชน อนุ รั ก ษ ภูมิปญญาทองถิ่น สรางสินคาที่มีคุณภาพรวมกับโรงเรียน สรางรายไดแกชุมชน และเปนชุมชน ที่เขมแข็งอยางยั่งยืน ผลิตภัณฑโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีการจดทะเบียน ทรัพยสนิ ทางปญญา คือ ผลิตภัณฑจากหางอวน “ฝาชีหางอวน กระเปาผาหางอวน” ของโรงเรียนหัวหิน และผลิตภัณฑผักผลไมแปรรูป “กลวยกรอบชางฮาเฮ” ของโรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ผ า นการจดทะเบี ย นเครื่ อ งหมายการค า และลิ ข สิ ท ธิ์ 4 ผลิตภัณฑ คือ การเพนทใบยางพาราของโรงเรียนหวยยอด (กลึงวิทยาคาร) สพป.ตรัง เขต 2 ผามัดยอมสีจากพืชในทองถิ่นของโรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) สพป.นครปฐม เขต 2 ผาบาติกลายเวียงกาหลงของโรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย ผาหมอหอม ของโรงเรียนบานทุงโฮง (อภิวังวิทยาลัย) สพป.แพร เขต 1 ผลิตภัณฑที่ผานการขึ้นทะเบียน ตราสัญลักษณและจดอนุสิทธิบัตร 1 ผลิตภัณฑ คือ ขาวฮางมวงทองของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 ผลิตภัณฑที่ผานการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา มผช. สินคา OTOP 4 ดาว จํานวน 5 ผลิตภัณฑ คือ ดอกไมประดิษฐจากดินของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา นนทบุรี สพม. 3 จังหวัดนนทบุรี บรรจุภัณฑแสนสวยของโรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงใหม สศศ. เบเกอรี่ของโรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 สองมือนอยรอยรักษถักโครเชต ของโรงเรียนวัดเจามูล สพป.กรุงเทพมหานคร ผาบาติกของโรงเรียนคลองทอมราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ ผลิตภัณฑทผี่ า นการจดทะเบียนอาหารและยา (อย.) ของกระทรวงสาธารณสุข 1 ผลิตภัณฑ คือ เครื่องสําอางสมุนไพร (ยาสระผม สบู) ของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัด อุบลราชธานี และมีผลิตภัณฑที่อยูในระหวางการดําเนินการขอจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา และสิทธิบัตรอื่นๆ อีกจํานวนหนึ่ง

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

127


การพัฒนาการเรียนรูตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค บรรลุผลตามมาตรฐานการจัดการเรียนรูห ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ง 4 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีทักษะกระบวน การทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะ การแสวงหาความรู มี คุ ณ ธรรม และลั ก ษณะนิ สั ย ในการทํ า งาน มี จิ ต สํ า นึ ก การใช พ ลั ง งาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยี และกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสรรคสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการตามกระบวนการ เทคโนโลยี อ ย า งมี ค วามคิ ด สร า งสรรค เลื อ กใช เ ทคโนโลยี ใ นทางสร า งสรรค ต อ ชี วิ ต สั ง คม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม และมาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ และมีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ ซึ่งจะสงเสริมใหนักเรียนใชชีวิตประจําวันอยางมีสมาธิ มีคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู มีสุนทรียภาพ ในงานศิลปะ งานอาชีพ เปนพื้นฐานและสรางความสนใจในการปฏิบัติงานที่ยากและสูงขึ้น พัฒนา ใหเกิดทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทั้ง 3 ทักษะ คือ ทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู และนวัตกรรม และทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี

อภิปรายผล การดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีม่ อบหมายใหสาํ นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษารับผิดชอบ ไดดําเนินการอยางเปนระบบดวยคณะกรรมการทุกระดับทั้งในระดับ สพฐ. สพท. โรงเรียน ชุ ม ชน หน ว ยงานการศึ ก ษา และองค ก รที่ เ กี่ ย วข อ ง ภายใต ห ลั ก การและเหตุ ผ ลที่ สํ า คั ญ คื อ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ที่ใหความสําคัญกับเศรษฐกิจสรางสรรค ตองการใหประเทศไทยมีการผลิตสินคาและบริการอยางสรางสรรค เพิ่มมูลคาสินคาโดยใชนวัตกรรม เขามาชวยในการผลิต จะทําใหสินคาสามารถแขงขันในตลาดโลกได สามารถสรางรายไดใหกับ

128

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ประเทศมากขึน้ สอดคลองกับการปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. 2552 - 2561) ประเด็นสําคัญ ประการหนึ่งของระบบการศึกษาที่ตองปฏิรูปอยางเรงดวน คือ การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม ใหมนี สิ ยั ใฝเรียนรูต งั้ แตปฐมวัยใหสามารถเรียนรูด ว ยตนเองและแสวงหาความรูอ ยางตอเนือ่ งตลอดชีวติ สามารถสื่ อ สาร คิ ด วิ เ คราะห แก ป ญ หา ริ เริ่ ม สร า งสรรค มี จิ ต สาธารณะ มี ร ะเบี ย บวิ นั ย คํานึงถึงประโยชนสวนรวม ทํางานเปนกลุมได มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม จิตสํานึก และภูมิใจในความเปนไทย กาวทันโลก เปนกําลังคนที่มีคุณภาพ มีทักษะความรูพื้นฐานที่จําเปน สมรรถนะ ความรู ความสามารถ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีโอกาสเรียนรูอยางเทาเทียม เสมอภาค และการมุงจัดประสบการณใหนักเรียนคิดเปน ทําได ขายเปน เกิดความมั่นใจในตนเอง มีเจตคติที่ดีตออาชีพอิสระ สามารถประกอบอาชีพในทองถิ่นของตนเองได (สํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษา, 2554) โดยมีวัตถุประสงคที่จะตอยอดการจัดการเรียนรูงานอาชีพของครู ดวยการสรางแนวคิดใหมและพัฒนารูปแบบการสอนงานอาชีพในโรงเรียนใหนักเรียนเรียนรู การเปนผูประกอบการ (Entrepreneur) สามารถสรางผลงานอยางสรางสรรค เชิงพาณิชย ผลิตเองได สามารถขายไดอยางครบวงจร พัฒนาครูใหมีความรูความเขาใจ สามารถบมเพาะนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหมีประสบการณดานอาชีพในเรื่องการดําเนินการดานธุรกิจในการ เปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม เหมาะสมกับวัย พัฒนาขีดความสามารถในการสรางสรรคผลงาน ของครูและนักเรียน โดยความรวมมือกับเครือขายภาครัฐและเอกชนในการสรางทรัพยสินทางปญญา ใหกับประเทศชาติ ปลูกฝงการรักษาทรัพยสินทางปญญาของตนเอง ของประเทศ และการไมละเมิด ทรัพยสนิ ทางปญญาของผูอ นื่ และสงเสริมการผลิตและการนําเสนอผลงานดานผลิตภัณฑงานอาชีพ ของนักเรียนในการจัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติประจําป ของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีการดําเนินงานตามแผนงานที่กําหนด ทั้งการจัดประชุมสัมมนาผูทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการในการนําเสนอแนวการพัฒนาการสอนวิชาชีพแนวใหม การสังเคราะหขอมูล การสอนนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคทั้งในประเทศและตางประเทศ การวิจัย สังเคราะหการจัดการเรียนการสอนอาชีพของโรงเรียนในประเทศและตางประเทศ การจัดทํา และปรับปรุงหลักสูตรนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค (ป 2554-2555) การจัดทํา คูมือแนวดําเนินการสําหรับโรงเรียน การจัดอบรมผูบริหาร/ครูตอยอดใหโรงเรียนที่ไดรับคัดเลือก นําผลิตภัณฑมาจําหนายในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ การจัดอบรมผูรับผิดชอบ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

129


โครงการในระดับพืน้ ที่ ขยายผลทัง้ สพป./สพม. การสงเสริมใหครูทาํ วิจยั และพัฒนาการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู การคัดสรรผลงานนักเรียนเผยแพรและจําหนาย การประกวด โครงงานอาชีพของนักเรียน การสนับสนุนงบประมาณดําเนินงาน การนิเทศติดตามเพื่อการพัฒนา การจัดพิมพเอกสารองคความรู/แนวทางการดําเนินงานเพื่อพัฒนาครูและเผยแพร และการยกยอง เชิดชูเกียรติครูและนักเรียนที่มีผลงานเดน ทําใหการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรคประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนด ดังนี้ ประการแรกที่ ทํ า ให ผ ลการดํ า เนิ น งานตามโครงการของโรงเรี ย นประสบผลสํ า เร็ จ ตามวัตถุประสงคก็คือที่มาหรือแรงบันดาลใจ มาจากการประกอบอาชีพในชุมชน เปนงานของ ภูมิปญญาทองถิ่นที่สืบทอดกันมา จึงชวยปลูกจิตสํานึกใหนักเรียนรัก หวงแหนและภาคภูมิใจ ในศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น สํานึกรักบานเกิด ทําใหเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ มีความสุข มีรายได ระหวางเรียน เชน การจักสานไมไผของโรงเรียนเกาะโพธิ์ถวยงามวิทยา สพม. 18 จังหวัดชลบุรี ผาบาติกของโรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนคลองทอมราษฎรรังสรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ และโรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี บางโรงเรียน ใชวัสดุเหลือใชหรือวัสดุทองถิ่น มีศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณคาของชุมชน ประดิษฐคิดคน พัฒนา ผลิตภัณฑเพิ่มมูลคา สรางรายได และสืบทอดศิลปวัฒนธรรมใหแพรหลาย เชน การปนหมอ เขียนลายบานเชียงของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 เศษผาแปลงโฉมของโรงเรียน วัดถอนสมอ สพป.สิงหบรุ ี กะลานาใชจากโปรแกรม GSP ของโรงเรียนชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 สพป.ลพบุรี เขต 2 งานพาราศิลปของโรงเรียนสามัคคีศึกษา สพม. 13 จังหวัดตรัง บางผลิตภัณฑ เกิ ด จากการเรี ย นรู ใ นหลั ก สู ต รที่ มี ค รู มี ค วามรู ค วามสามารถเฉพาะด า นนั้ น ๆ เช น สมุ น ไพร “กระชาย” เพื่อสุขภาพ ของโรงเรียนวัดเกาะกระชาย สพป.นครนายก เมนูเด็ดเห็ดหาอยาง ของโรงเรียนวัดหนองกลางดง สพป.ราชบุรี เขต 2 โครงลวดรูปสัตวของโรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี เบเกอรี่ของโรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 เปนตน บางโรงเรียนมีแรงบันดาลใจจากการไดรบั คัดเลือกใหเปนผลิตภัณฑ OSOP ตามโครงการ 1 โรงเรียน 1 ผลิตภัณฑ ไดเขารวมแสดงในงานนิทรรศการมหกรรมวิชาการ งานเปดประตูสูสถานศึกษา ทําใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง เชน กะหรี่ปบงาดําเพื่อสุขภาพของโรงเรียนวัดดงยาง (ดงยาง ราษฎรบํารุง) สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 2 งานปนของจิ๋วของโรงเรียนวัดเสาธงทอง สพป.สิงหบุรี

130

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


บางโรงเรียนใชเศษวัสดุธรรมชาติในทองถิ่นมาประดิษฐตามความคิด ตามจินตนาการ เชน ผลงาน ศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ โรงเรียนบานโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1 บางกิจกรรมครูตองแกปญหา นักเรียนที่มีปญหาดานการเรียนและพฤติกรรมการหนีเรียน ไดใชกิจกรรมชุมนุม ชมรม จูงใจ ใหนกั เรียนเห็นคุณคาของตนเอง เชน ผลิตภัณฑอาหารแปรรูปจากสมควายของโรงเรียนทับปุดวิทยา สพม. 14 จังหวัดพังงา และจากแรงบันดาลใจทีเ่ กิดจากความประทับใจ ความซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทีท่ รงงานเพือ่ ประชาชนทําใหเกิดพลังในการทํางาน เชน ขาวฮาง ของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 ประการที่ 2 การใชเปาหมายการพัฒนานักเรียนตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 1.1, ง 2.1, ง 3.1 และ ง 4.1 โดยมีจดุ เนนใหนกั เรียนคิดเปน ทําได ขายเปน และเป น นั ก ธุ ร กิ จ น อ ยที่ มี คุ ณ ธรรม 5 ประการ คื อ ซื่ อ สั ต ย ขยั น อดทน มุ ง มั่ น กตั ญ ู (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2554) เปนหลักในการพัฒนาการเรียนรู จึงทําให การพัฒนาประสบความสําเร็จ ประการที่ 3 การกําหนดขอบเขตรายวิชาการพัฒนาผูเรียนเปน 4 ลักษณะ ทําใหนักเรียน มีโอกาสเลือกเรียนไดตามความถนัด ความสนใจของแตละบุคคล โดยสวนใหญจัดในลักษณะที่ 1 คือ จัดเปนรายวิชาเพิ่มเติมในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี และกลุมสาระ การเรียนรูอื่นๆ เชน ผัดหมี่โคราชพรอมปรุงของโรงเรียนบานคลองเสือ สพป.นครราชสีมา เขต 4 สมุนไพรมะรุมของโรงเรียนโพนงามโคกวิทยาคาร สพป.สกลนคร เขต 1 งานผาฝายมัดหมี่ ของโรงเรียนวัดหนองยาง สพป.อางทอง งานผาบาติกของโรงเรียนชุมชนวัดกลางทาขาม สพป.สิงหบรุ ี ลักษณะที่ 2 การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เชน ผลิตภัณฑอาหารวาง “บะจาง ลูกชุบชาววัง กระทงทอง” ของโรงเรียนกระทุม แบน “วิเศษสมุทคุณ” สพม. 10 จังหวัดสมุทรสาคร ผักและผลไมแปรรูปของโรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ ลักษณะที่ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนรูบ รู ณาการกับกลุม สาระการเรียนรูอ นื่ ๆ ไดแก กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เชน ผลิตภัณฑลูกปดทดแทนของโรงเรียน บานภูเขาทอง สพป.ระนอง นักธุรกิจนอยผีตาโขนของโรงเรียนศรีสองรักษวทิ ยา สพม. 19 จังหวัดเลย กลุม สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร เชน ผลิตภัณฑจอหอรักษโลกของโรงเรียนบานจอหอ สพป.นครราชสีมา รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

131


เขต 1 อาหารแปรรูปจากไขผาํ ของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 กลุ ม สาระการเรี ย นรู ศิ ล ปะ เช น ผลงานศิ ล ปะจากวั ส ดุ ธ รรมชาติ ข องโรงเรี ย นบ า นโสกแต สพป.ขอนแกน เขต 1 ศิลปะประดิษฐของโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช และเทคนิคการทําผาบาติก ของโรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช ลักษณะที่ 4 คือ การจัดกิจกรรมพัฒนา ผูเรียนในรูปแบบชุมนุม ชมรมตางๆ ไดแก งานประดิษฐดอกไมจากเกล็ดปลาของโรงเรียนอนุบาลวังมวง สพป.สระบุรี เขต 2 ผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 ประการที่ 4 วิธีการจัดการเรียนรู เปนวิธีการสําคัญที่ทําใหนักเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอน อยางเปนระบบ มีความรูค วามสามารถและทักษะตามตัวชีว้ ดั และมาตรฐานการเรียนรูต ามหลักสูตร มีคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ โดยจัดเปน 2 ลักษณะ ตามขอบเขตรายวิชา คือ ลักษณะที่ 1 จัดการเรียนรูรายวิชาเพิ่มเติม จัดการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู การจัดการเรียนรูบูรณาการ กับกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ และลักษณะที่ 2 คือ จัดการเรียนรูในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในรูปแบบ ของชุมนุม ชมรมตางๆ สําหรับลักษณะที่ 1 มีการวิเคราะหหลักสูตร จัดทําหนวยการเรียนรู ออกแบบการเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรู และจัดการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู สวนลักษณะที่ 2 จัดทําเปนโครงการหรือแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในการทํากิจกรรม ของชุมนุม ชมรม โดยการจัดการเรียนรูทั้ง 2 ลักษณะใชกระบวนการจัดกิจกรรมแนวเดียวกัน คือ 1. การสํารวจความเปนมา ขอมูลจากชุมชน แหลงเรียนรู เอกสาร สื่อ ICT เพื่อสราง แรงบันดาลใจในการสรางผลิตภัณฑ 2. การวางแผนและการออกแบบ เปนการวางรากฐานการสรางผลิตภัณฑโดยนําแนวคิด พื้นฐาน การนําวัสดุทองถิ่น วัสดุธรรมชาติ วัสดุเหลือใชมาเพิ่มมูลคา ความตองการในการอนุรักษ สื บ ทอดภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น มาวางแผนดํ า เนิ น งานโดยออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห ส วยงามคงทน สอดคลองกับความตองการของผูใช 3. การสรางผลิตภัณฑ เปนขั้นตอนสําคัญของการเรียนรูในการผลิตชิ้นงานโดยเนน การปฏิบัติจริง มีการเชิญวิทยากรทองถิ่นมาใหความรูและฝกปฏิบัติควบคูไปกับการจัดการเรียนรู ของครู โดยสงเสริมใหนกั เรียนไดใชทกั ษะการคิด การแกปญ  หา การสือ่ สาร การใชเทคโนโลยี รวมทัง้ สงเสริมคุณลักษณะในดานความมีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ โดยเฉพาะคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู โดยจัด

132

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การเรียนรูตามความถนัด ความสนใจ ใหนักเรียนไดเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เชน การใชวิธีสอน แบบอิงประสบการณ 7 ขั้นตอน ในการทอเสื่อกกประยุกตของโรงเรียนบานเชียงเพ็ง สพป.อุดรธานี เขต 4 เนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน เนนทักษะกระบวนการกลุม สนับสนุน การมีสว นรวมของทุกฝายทัง้ ในโรงเรียน ชุมชน และหนวยงานภายนอก เชน สํานักงานเกษตรจังหวัด สํานักศิลปากร กรมศิลปากร องคการบริหารสวนตําบล สื่อมวลชนแขนงตางๆ ทําใหนักเรียน มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพผานการทํากิจกรรม 3R คือ Reading Writhing และ Arithmetic และ 4C คื อ Critical Thinking Communication Collaboration และ Creativity จากการเรียนรู “ลูกปดทดแทน หวงแหนทรัพยแผนดิน” ของโรงเรียนบานภูเขาทอง สพป.ระนอง การเรียนรูจ ากงานอาชีพในชุมชนทัง้ ในและนอกเวลาเรียน เชน ผลิตภัณฑเสนพลาสติกของโรงเรียน บํารุงพงศอุปถัมภ จัดการเรียนรูโดยใชวิธีการ “คูหูทํางาน” (Buddy Worker) ทําใหนักเรียน เกิดความเขาใจในวัฒนธรรมชนเผาที่ตางกันไดอยางดีในผลิตภัณฑผาทอกะเหรี่ยงของโรงเรียน บานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 และผลิตภัณฑจักสานจากไมบองของโรงเรียนบานเลโคะ สพป.แมฮองสอน เขต 2 4. การสรางบรรจุภัณฑ เปนการใชฐานการคิดเพิ่มมูลคา ความสวยงาม คงทน ปลอดภัย และมาตรฐานของผลิ ต ภั ณ ฑ มี ลั ก ษณะเป น กล อ งบรรจุ ภั ณ ฑ ถุ ง ซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ ทํ า จากพลาสติ ก กระดาษสา กระดาษแข็ ง ขวดพลาสติ ก บรรจุ นํ้ า ดื่ ม สมุ น ไพร/ผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ความสะอาด และกลองบรรจุอาหาร โดยจัดการเรียนรูใหนักเรียนออกแบบบรรจุภัณฑใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑ เชน ขวดนํ้าดื่มสมุนไพรมะมวงหาวมะนาวโหของโรงเรียนวัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) สพป.ราชบุรี เขต 2 กลองบรรจุภณ ั ฑสาหรายทอดของโรงเรียนบานเมืองกาญจน สพป.เชียงราย เขต 4 ถุงพลาสติกบรรจุขาวสุญญากาศ ขาวฮางของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 5. การจัดจําหนาย จัดการเรียนรูบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยีกับสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โดยนักเรียนเรียนรูการคิดตนทุน กําไร คาแรง ราคาขาย เพื่อจําหนายในราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของสินคา ซึ่งมีบางโรงเรียนที่เชื่อมโยง กับโครงงาน และจัดตั้งบริษัทจัดจําหนาย เชน บริษัท Gift Rosses จํากัด ของโรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม และบริษัท งามเวียงกาหลง จํากัด ของโรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

133


จังหวัดเชียงราย บางโรงเรียนจัดการเรียนรูใหนักเรียนฝกทําบัญชีรับ-จาย เพื่อความถูกตอง โปรงใส ในการทําธุรกิจ มีการสํารวจตลาดในการจําหนายสินคาและฝกใหนักเรียนเปนผูจําหนาย ใหบริการ และประชาสัมพันธ นําเสนอ เชิญชวนใหผูคนสนใจและซื้อสินคา 6. การสงเสริมการขาย/การเผยแพร ใชกระบวนการสงเสริมสนับสนุนการจําหนาย และเผยแพรผลิตภัณฑโดยใชวิธีการจัดนิทรรศการ การเขารวมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู จําหนาย ในตลาดนัดชุมชน ถนนคนเดิน งานแสดงและจําหนายสินคาชุมชน รานคาชุมชน ศูนยจาํ หนายสินคา การรวมมือกับเครือขายจัดศูนยจําหนายสินคา จัดแหลง/ตลาดวางสินคา การจําหนายทางเว็บไซต การทําธุรกิจ E-Commerce เชน โรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย จําหนาย สินคาทางเว็บไซต โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา สพม. 9 จังหวัดนครปฐม และโรงเรียนทุงคลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี นักเรียนเปนวิทยากร แนะนํา สาธิตการผลิตสินคา ซึง่ กิจกรรมการเรียนรู ดังกลาวสอดคลองกับแนวคิดของ Mc Cowan & Mc Kenzie (1997) เกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การเรียนรูท กี่ ลาววากิจกรรมการเรียนรูเ อือ้ ใหผเู รียนไดตระหนักรูด ว ยตนเอง เอือ้ ใหผเู รียนไดคน พบ และตระหนักจากประสบการณของการทํางานจริง การเรียนรูจากการตัดสินใจและการเรียนรู ตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลง และสอดคลองกับแนวคิดของ Dykeman et al. (2001) ที่กลาววา สถานศึกษาและครูตอ งใหความสําคัญกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท ชี่ ว ยเพิม่ โอกาสใหผเู รียน ไดมี 1. การสรางแรงจูงใจ ความตระหนักในคุณคาและความสําคัญของการประกอบอาชีพ 2. การสรางความเขาใจในอาชีพ 3. การสํารวจโลกแหงอาชีพในยุคปจจุบัน ศักยภาพและความสนใจของตนเอง 4. การเตรียมสูเสนทางการประกอบอาชีพ ประการที่ 5 การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู เปนการจัดกิจกรรมสรางประสบการณ ใหนักเรียนมีความรูความสามารถเพิ่มขึ้น เชน การศึกษาจากแหลงเรียนรูและสถานประกอบการ ใชวทิ ยากรทองถิน่ มีสว นรวมในการจัดการเรียนการสอน การแลกเปลีย่ นเรียนรูโ ดยเพือ่ นสอนเพือ่ น การสอนเสริมและฝกปฏิบัตินอกเวลาเรียน การจัดคายเสริมประสบการณอาชีพ การจัดนิทรรศการ สาธิตและจําหนายสินคา การสงเสริมการจัดตั้งบริษัทจําลอง ฯลฯ (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัด

134

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การศึกษา, 2554) การจัดกิจกรรมเสริมการเรียนรูใ นโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค สวนใหญจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรม กลุมสนใจหลากหลายรูปแบบใหนักเรียนเลือกเรียน ตามความถนัดและความสนใจ เชน กิจกรรมชุมนุมผลิตภัณฑจากวัสดุเหลือใชจากกะลามาทําเปน ของใช ข องประดั บ ตกแต ง ของโรงเรี ย นชุ ม ชนวั ด จงโก มิ ต รภาพที่ 157 สพป.ลพบุ รี เขต 2 ชุมนุมสมุนไพรไทย “กระชายเพือ่ สุขภาพ” ของโรงเรียนบานเกาะกระชาย สพป.นครนายก ออมทรัพย กับออมสินของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัดอุบลราชธานี การจัดกลุมสนใจดอกไม จากเกล็ดปลาของโรงเรียนอนุบาลวังมวง สพป.สระบุรี เขต 2 การจัดทําโครงการใหนกั เรียนรวมกลุม เรียนรูวิชาเสนหไมของโรงเรียนแจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง การจัดตั้งบริษัทจําลอง หรือจัดทํามินบิ ริษทั จําหนายผลิตภัณฑทนี่ กั เรียนผลิตและบริหารจัดการโดยนักเรียน จัดทําเปนรานคา สหกรณ เชน โรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 มีบริษทั จําลอง 4 บริษทั คือ บริษทั สะอาดจัง บริษัทตราเด็กสมบูรณ บริษัทเย็บสวยดวยมือ บริษัทตวนา (ทํานา) การจัดกิจกรรมเสริม ไดแก กิจกรรม To Be Number One กิจกรรม Young OTOP กิจกรรมบานอาชีพเด็กพิเศษ ของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัดอุบลราชธานี เปนตน การสรางเครือขายขยายผล โรงเรียนตางๆ ทีห่ ลายโรงเรียนไดดาํ เนินการ เชน โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 โรงเรียน โคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 โรงเรียนบานดอยชาง สพป.เชียงราย เขต 2 การจัด คายวิชาการใหความรูเรื่องบรรจุภัณฑ โดยวิทยากรทองถิ่นของโรงเรียนบานคําออ สพป.อุดรธานี เขต 3 การฝกอาชีพและการจัดการเรียนการสอนเสริมในวันหยุดราชการ การสงเสริมการเผยแพร ผลงานดวยการจัดนิทรรศการ การเปนวิทยากรใหความรูแกผูมาศึกษาดูงาน ฯลฯ ซึ่งนักเรียน ในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ไดนําประสบการณจากการเขารวม กิจกรรมเสริมการเรียนรูไปใชในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู การสรางงาน ออกแบบงาน ที่มี ความแปลกใหม มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ประการที่ 6 การวัดและประเมินผล ดําเนินการใน 2 ลักษณะ คือ 1. การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรูตามรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยีใน 4 ดาน คือ ดานความรู ใชวิธีการทดสอบและสอบถามความรู ดานทักษะ วัดพฤติกรรมการเรียนรู การปฏิบัติงานและการทํางานรวมกับผูอื่น ใชวิธีการประเมิน พฤติกรรมการปฏิบัติงาน และสังเกตการทํางาน ดานผลงานจากการเรียนรู ใชวิธีการประเมิน ผลงาน/ชิ้นงาน ดานคุณธรรมนักธุรกิจนอย ใชวิธีการสังเกตคุณธรรมที่ปรากฏจากการปฏิบัติงาน รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

135


เกี่ยวกับความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู สําหรับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู ใชวิธีการประเมินความพึงพอใจจากครู นักเรียน และผูมีสวนรวม 2. การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู กิ จ กรรมพั ฒ นาผู เรี ย น วั ด และประเมิ น ผล ดานกระบวนการปฏิบตั งิ าน การทํางานกลุม ใชวธิ กี ารประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั งิ าน ดานผลงาน/ ชิน้ งาน ใชวธิ กี ารประเมินผลงาน ดานคุณธรรมนักธุรกิจนอย ใชวธิ กี ารสังเกตพฤติกรรมดานคุณธรรม ที่ ป รากฏจากการร ว มกิ จ กรรม ผลการประเมิ น ใช เ กณฑ ก ารผ า น/ไม ผ า น โดยไม นํ า คะแนน ไปพิจารณาผลได/ตก การวัดและประเมินผลตรงตามจุดประสงค ตัวชี้วัด และมาตรฐานการเรียนรู ทําใหทราบวานักเรียนมีความรูความสามารถ และทักษะการปฏิบัติงานจากการเรียนรูมากนอย เพียงใด ประการที่ 7 ผลการพัฒนาการเรียนรูต ามโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจ สรางสรรค ทําใหนักเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มีทกั ษะในการคิด การทํางาน การประกอบอาชีพ มีเจตคติที่ดีตออาชีพสุจริต รักการทํางาน มีคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู เห็นความสําคัญของทรัพยสินทางปญญา รูจักรักษาทรัพยสินทางปญญา ของตน ของประเทศ และไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น นักเรียนมีความภาคภูมิใจ ที่ไดสรางผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ สามารถจําหนายสรางรายไดระหวางเรียน ไดนําเสนอผลิตภัณฑ ในงานแสดงผลงาน การจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ครูมีการจัดรายวิชาเพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค มีการพัฒนา นวั ต กรรมการจั ด การเรี ย นรู ด ว ยกระบวนการวิ จั ย ให ผู เรี ย นได เรี ย นรู ส อดคล อ งกั บ หลั ก สู ต ร สภาพทองถิ่น ซึ่งประสบความสําเร็จเปนที่นาพอใจอยางยิ่ง ครูไดรับรางวัล ไดรับเชิญเปนวิทยากร จากหนวยงานตางๆ มีความกาวหนาทางวิชาการ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น โรงเรียนไดรับการยกยอง จากหนวยงานทางการศึกษา ไดรบั เชิญเปนตัวแทนนําเสนองาน และไดรบั รางวัลตางๆ ทีน่ า ภาคภูมใิ จ ซึ่งชุมชนในทองถิ่นไดเปนผูมีสวนรวมในการพัฒนางานตามโครงการ ไดนําผลิตภัณฑไปพัฒนา ในทองถิน่ ใหเกิดการเรียนรูอ ยางตอเนือ่ ง เปนการสืบทอดทางวัฒนธรรมในชุมชน อนุรกั ษภมู ปิ ญ  ญา ทองถิ่น สรางสินคาที่มีคุณภาพรวมกับโรงเรียน สรางรายไดแกชุมชน และเปนชุมชนที่เขมแข็ง อยางยั่งยืน

136

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ประการที่ 8 การจัดการดานทรัพยสนิ ทางปญญาของครูในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เปนการสงวนสิทธิ์ผลงานอันเกิดจากความคิดสรางสรรคของครูและนักเรียน ในโครงการเพือ่ ปองกันมิใหผใู ดนําไปใชโดยไมขออนุญาต (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2554) ผลิตภัณฑที่มีการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา 2 ผลิตภัณฑ คือ ผลิตภัณฑจากหางอวน “ฝาชีหางอวน กระเปาผาหางอวน” ของโรงเรียนหัวหิน และผลิตภัณฑผกั ผลไมแปรรูป “กลวยกรอบ ชางฮาเฮ” ของโรงเรียนยางชุมวิทยา สพม. 10 จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ ผลิตภัณฑทผี่ า นการจดทะเบียน เครื่องหมายการคา ลิขสิทธิ์ 4 ผลิตภัณฑ คือ การเพนทใบยางพาราของโรงเรียนหวยยอด (กลึงวิทยาคาร) สพป.ตรัง เขต 2 ผามัดยอมสีจากพืชในทองถิ่นของโรงเรียนวัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) สพป.นครปฐม เขต 2 ผาบาติกลายเวียงกาหลงของโรงเรียนแมเจดียว ทิ ยาคม สพม. 36 จังหวัดเชียงราย ผาหมอหอมของโรงเรียนบานทุง โฮง (อภิวงั วิทยาลัย) สพป.แพร เขต 1 ผลิตภัณฑทผี่ า นการขึน้ ทะเบียน ตราสัญลักษณและจดอนุสิทธิบัตร 1 ผลิตภัณฑ คือ ขาวฮางมวงทองของโรงเรียนโคกมวงทองวิทยา สพป.หนองบัวลําภู เขต 1 ผลิตภัณฑที่ผานการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา มผช. สินคา OTOP 4 ดาว จํานวน 5 ผลิตภัณฑ คือ ดอกไมประดิษฐจากดินของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา นนทบุรี สพม. 3 จังหวัดนนทบุรี บรรจุภัณฑแสนสวยของโรงเรียนศึกษาสงเคราะหเชียงใหม สศศ. เบเกอรี่ของโรงเรียนบานหวยไรสามัคคี สพป.เชียงราย เขต 3 สองมือนอยรอยรักษถักโครเชต ของโรงเรียนวัดเจามูล สพป.กรุงเทพมหานคร ผาบาติกของโรงเรียนคลองทอมราษฎรรงั สรรค สพม. 13 จังหวัดกระบี่ ผลิตภัณฑที่ผานการจดทะเบียนอาหารและยา (อย.) ของกระทรวงสาธารณสุข 1 ผลิตภัณฑ คือ เครื่องสําอางสมุนไพร (ยาสระผม สบู) ของโรงเรียนนารีนุกูล 2 สพม. 29 จังหวัด อุบลราชธานี และมีผลิตภัณฑที่อยูในระหวางการดําเนินการขอจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา อีกจํานวนหนึ่ง ประการที่ 9 การบรรลุผลการพัฒนาการเรียนรูตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ตามโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค บรรลุผลทุกตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูทั้ง 4 มาตรฐาน คือ ในกลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะ กระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

137


ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยี และกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิง่ ของเครือ่ งใช หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยี อย า งมี ค วามคิ ด สร า งสรรค เลื อ กใช เ ทคโนโลยี ใ นทางสร า งสรรค ต อ ชี วิ ต สั ง คม สิ่ ง แวดล อ ม และมีสว นรวมในการจัดการเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืน มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคาและใชกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสือ่ สาร การแกปญ  หา การทํางานและอาชีพ อยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม และมาตรฐานที่ ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ตออาชีพ มาตรฐานในกลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช ทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพือ่ การดํารงชีวติ อยางมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสั ม พั น ธ ท างเศรษฐกิ จ และความจํ า เป น ของการร ว มมื อ กั น ทางเศรษฐกิ จ ในสั ง คมโลก ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลป ตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอด ความรูส กึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชืน่ ชม และประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลป ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล การจัดกิจกรรมการเรียนรู นอกจากจะยึดมาตรฐานตัวชี้วัดดังกลาวแลว ยังเนนใหนักเรียนสามารถที่จะเปนผูประกอบการ ในลั ก ษณะการเป น เจ า ของกิ จ การหรื อ การประกอบอาชี พ อิ ส ระ โดยเน น ธุ ร กิ จ การผลิ ต และจําหนายสินคาเอง ใหนักเรียนคิดเปน ทําได ขายเปน และมีคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2554) ประการที่ 10 ผลการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ในการจัด การเรียนรูต ามโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ทัง้ ในระดับประถมศึกษา มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น และมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ได พั ฒ นานั ก เรี ย นให มี ค วามรู ค วามสามารถ ตามตัวชีว้ ดั และมาตรฐานการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ง 4 มาตรฐาน สงเสริมการใชชีวิตประจําวันของนักเรียนใหมีสมาธิ มีคุณธรรมนักธุรกิจนอย

138

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู มีสุนทรียภาพในงานศิลปะ งานอาชีพ เปนพื้นฐาน และสรางความสนใจในการปฏิบัติงานที่ยากและสูงขึ้น พัฒนาใหเกิดทักษะที่จําเปน ในศตวรรษที่ 21 (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2554) ทั้ง 3 ทักษะ คือ 1. ทักษะชีวิตและอาชีพ พัฒนาใหนักเรียนมีความรับผิดชอบตอการใชชีวิต ใชทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดลอมรวมกับชุมชน มีความเปนผูนํา ผูตามที่ดี รักการทํางาน สรางงานอาชีพ ที่สงเสริมใหเกิดการเรียนรู และมีรายไดระหวางเรียน เชื่อมโยงสูการเปนนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค และมีสวนรวมในการสรางแนวทางอาชีพกับชุมชน 2. ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม นักเรียนมีพัฒนาการที่เกิดจากการเรียนรู สมรรถนะ สําคัญคือ การคิด การสื่อสาร การแกปญหา และการใชเทคโนโลยี สามารถปรับปรุง ประยุกต หรือตอยอดใหเกิดความรูใ หมๆ เชน โครงลวดรูปสัตวตา งๆ ของโรงเรียนทุง คลีโคกชางวิทยา สพม. 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ประยุกตเปนโครงลวดตัวอักษร ตกแตงในสถานที่หรืองานตางๆ การนํา เศษผาหมอหอมมาทํากระเปาใสเศษสตางคและพัฒนาตอยอดเปนรมกันแดดของโรงเรียนบานทุง โฮง (อภิวังวิทยาลัย) สพป.แพร เขต 1 การนําเสื่อกกลายขิดมาพัฒนาเปนกระเปาใสเอกสาร กระเปาถือ สุภาพบุรุษและสุภาพสตรี การทําปกสมุดบันทึก ของโรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 เปนตน และนําสิ่งที่พัฒนาไดมาแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางความรวมมือทางวิชาการในโรงเรียน เครือขายและกลุมอาชีพในชุมชน 3. ทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี นักเรียนไดใชสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการศึกษา สืบคนขอมูลจากเว็บไซต นํามาวิเคราะห สังเคราะห ประยุกตใชในการผลิตชิ้นงาน หรือผลิตภัณฑไดสอดคลองกับความตองการจําเปน วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น และใช ICT ในการนําเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรูและเผยแพรผลงานไดอยางแพรหลาย

ขอเสนอแนะ ระดับโรงเรียน 1. โรงเรียนในโครงการทั้ง 84 โรงเรียน มีการตอยอดขยายผลพัฒนางานใหมีคุณภาพ ที่ดีขึ้น และสรางเครือขายทั้งโรงเรียนในกลุมและชุมชน เพื่อใหโครงการมีความยั่งยืน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

139


2. จัดตั้งศูนยการเรียนรูและสงเสริมงานอาชีพของนักธุรกิจนอย ใหเปนแหลงเรียนรู และศึกษาดูงานของโรงเรียน ชุมชน หนวยงานทั้งภายในและภายนอก 3. เผยแพรผลงานของโรงเรียนในลักษณะเอกสารแผนพับ จุลสาร นําเสนอผลงาน ในเว็บไซตของโรงเรียน ของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา และของทองถิน่ เพือ่ เปนตัวอยางการดําเนินงานอาชีพ ของนักธุรกิจนอยที่ประสบความสําเร็จ 4. ดํ า เนิ น การโครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค ต อ เนื่ อ ง ในแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน ป 2557-2560 และดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําป ทุกป 5. นําผลงานของนักเรียนไปจัดแสดง ประกวด และแขงขันตามเวทีที่เขตพื้นที่การศึกษา และหนวยงานอื่นๆ จัดทั้งในโรงเรียน ชุมชน อําเภอ จังหวัด ภูมิภาค และระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 1. จัดทําโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรครองรับในแผนพัฒนา การศึกษาป 2557-2560 และดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําปทุกป 2. เผยแพรผลงานของโรงเรียนในโครงการ ในวารสารของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา และเว็บไซต ของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา เพือ่ เปนตัวอยางการดําเนินงานอาชีพของนักธุรกิจนอยทีป่ ระสบความสําเร็จ ในงานอาชีพ 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และในระดับจังหวัด ทั้งที่ เขตพื้นที่การศึกษาและหนวยงานอื่นๆ ที่จัดในโอกาสตางๆ เพื่อใหโรงเรียนนําผลงานของนักเรียน มาจัดนิทรรศการ นําเสนอผลงานที่ประสบความสําเร็จใหเปนตัวอยางแกโรงเรียนอื่นๆ 4. จัดกิจกรรมเทคนิคเรื่องเลาเราพลัง (Storytelling) ของกลุมครูที่รับผิดชอบโครงการ และมี ป ระสบการณ ค ล า ยคลึ ง กั น มาเล า เรื่ อ ง/ประสบการณ ที่ ฝ ง ลึ ก ที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ และเปนความภาคภูมิใจของตนเอง และจัดทําเปนเอกสาร “เรื่องเลาเราพลัง” 5. มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินการโครงการเปนระยะๆ ภาคเรียนละ 1 ครัง้ และสรุปรายงานผลการดําเนินงานโครงการเสนอสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มีการสรางขวัญกําลังใจแกโรงเรียนที่นักเรียนมีผลงานดีเดน โดยมอบเกียรติบัตรใหแกโรงเรียน ครูผูรับผิดชอบ และนักเรียน

140

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


6. สงเสริมการทําวิจัยของครูผูรับผิดชอบโครงการเพื่อเปนการศึกษาคนควาและพัฒนา วัตถุดิบที่ใชในการทําผลิตภัณฑ เชน การวิจัยเรื่องสารเพคตินในผลสมควาย ผลการวิจัยพบวา ในผลสมควายมีเพคตินสูงมาก และสามารถนํามาใชประโยชนในการแปรรูปอาหารประเภทตางๆ ไดเปนอยางดี ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. เผยแพรเอกสารรายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค ป 2556 แกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ในสังกัด ทุกแหง และหนวยงานตางสังกัดที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา 2. นําเสนอผลการดําเนินงานโครงการในการประชุมของกลุมงานใน สพฐ. การประชุม ผู อํ า นวยการเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา หั ว หน า กลุ ม นิ เ ทศติ ด ตามและประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษา และการประชุมศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี 3. เผยแพรผลงานของโรงเรียนในโครงการในวารสาร เว็บไซตของ สพฐ. และ สนก. เพื่อเปนตัวอยางการดําเนินงานอาชีพของนักธุรกิจนอยที่ประสบความสําเร็จในงานอาชีพ 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูในระดับภูมิภาคและระดับประเทศในโอกาสตางๆ เชน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน เพื่อเปดโอกาสใหโรงเรียนนําผลงานของนักเรียนมาจัดนิทรรศการ นําเสนอผลงานที่ประสบความสําเร็จใหเปนตัวอยางแกโรงเรียนอื่นๆ 5. ดําเนินการโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรคอยางตอเนื่อง ในแผนพัฒนาการศึกษา ระหวางป 2557-2560 โดยกําหนดเปาหมายการดําเนินงานในแตละป ดังนี้ ปงบประมาณ 2557 ขยายผลรอยละ 25 ของโรงเรียนในสังกัด ปงบประมาณ 2558 ขยายผลรอยละ 50 ของโรงเรียนในสังกัด ปงบประมาณ 2559 ขยายผลรอยละ 75 ของโรงเรียนในสังกัด ปงบประมาณ 2560 ขยายผลรอยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัด ในปงบประมาณ 2557-2558 กําหนดเปาหมายใหโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เขารวมโครงการทุกโรงเรียน 6. มีการติดตามและประเมินผลโครงการในแตละป ดังนี้ 6.1 สพป./สพม. รายงานผลการดําเนินงานโครงการ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

141


6.2 สพฐ. ติดตามและประเมินผลโรงเรียนทีด่ าํ เนินการประสบความสําเร็จ ปละ 1 ครัง้ 6.3 สพฐ. จัดทํารายงานผลการดําเนินงานในระดับ สพฐ. เปนประจําทุกป 6.4 สพฐ. ใหขวัญและกําลังใจแกโรงเรียน ครูที่รับผิดชอบ และนักเรียนที่มีผลงาน ดีเยี่ยม ดีเดน และดี โดยมอบเกียรติบัตรแกโรงเรียน ครูผูรับผิดชอบ นักเรียน และมอบโล แกโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จ ประกาศใหเปนโรงเรียนนักธุรกิจนอยตนแบบ ใหโรงเรียนขึ้นปาย โรงเรียนนักธุรกิจนอยตนแบบ

การพัฒนาตอยอดในอนาคต การดํ า เนิ น โครงการนั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่กําหนด สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ไดกําหนดแนวการพัฒนาตอยอดในอนาคต เพื่อให การดําเนินโครงการเปนไปอยางตอเนื่อง สรางเสริมคุณภาพงานใหสงผลตอคุณภาพนักเรียน อยางเต็มที่ ดังนี้ 1. ขยายโรงเรียนดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค เพิ่มจากระยะที่ 1 (2553-2556) ใหครอบคลุมทุกเขตพื้นที่การศึกษาทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา เพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสเรียนรูและปฏิบัติงานอาชีพอยางทั่วถึง 2. ขยายศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรคใหทั่วถึงทุกเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเปนที่ปรึกษาแนะนําการดําเนินโครงการ ขยายเครือขาย โรงเรียนในทองถิ่นใหเปนแหลงเรียนรูแกชุมชน ควบคูไปกับศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการ นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ใหเต็มตามศักยภาพ โดยรวมกันอนุรักษ และสรางสรรคงานอาชีพในทองถิน่ สูค วามเปนนักธุรกิจ เปนผูป ระกอบการทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีคณ ุ ธรรม รักษาทรัพยสินทางปญญาของชุมชนและประเทศชาติใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน 3. พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาที่รับผิดชอบโครงการใหมีความรูความเขาใจ และมี ความสามารถในการดํ า เนิ น โครงการอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตามเป า หมายการขยายโรงเรี ย น ศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

142

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


4. สนับสนุนทุนวิจัยการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ใหแกบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน เพื่อใหมีการศึกษาคนควาวิจัย พัฒนานวัตกรรมที่ใชดําเนิน โครงการอยางมีประสิทธิภาพและทั่วถึงทุกเขตพื้นที่การศึกษา 5. สงเสริมใหมกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูร ว มกันระหวางโรงเรียนในโครงการและศูนยแกนนํา ขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ดวยวิธีการศึกษาดูงาน การจัดคาราวานการเรียนรู เผยแพรความรูทาง ICT เปนตน 6. สงเสริมสนับสนุนใหโรงเรียนในโครงการและศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการ นักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค นําเสนอผลงานในการประชุม การจัดนิทรรศการ การแสดงผลงานทางวิ ช าการ ทั้ ง ภายในประเทศและต า งประเทศ เพื่ อ ให ผู ดํ า เนิ น โครงการ และผูเกี่ยวของมีความภาคภูมิใจในงานที่รับผิดชอบ 7. พัฒนาศึกษานิเทศกที่รับผิดชอบดานงานอาชีพในโครงการธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสู เศรษฐกิจสรางสรรค และใหเสนอโครงการพัฒนางานอาชีพนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ของบประมาณแลกเปาจาก สพฐ. ในแตละปงบประมาณ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

143


144

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


กรมทรัพยสินทางปญญา. (ม.ป.ป.). ความรูเบื้องตนดานทรัพยสินทางปญญา. กระทรวงพาณิชย. เกษม วัฒนชัย. (2549). การเรียนรูที่แทและพอเพียง. (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : พิมพดี. เฉลิมรักณ ศรีสถิตธรรม. (2552). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรูท กั ษะดานงานประดิษฐดว ย วิธีการสอนแบบปกติกับวิธีการสอนแบบโครงงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. ธัญญา ไตรวนาธรรม. (2553). การพัฒนาหลักสูตรเรื่องการประดิษฐผลิตภัณฑจากเศษผาสูงาน อาชีพตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ. มหาวิทยาลัยศิลปากร. มนตรี ยานะกิจ. (2547). ศึกษาปญหาการจัดการหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 ช ว งชั้ น ที่ 3 ของสถานศึ ก ษากลุ ม สาระการเรี ย นรู ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี ในโรงเรียนแกนนําการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรมสามัญศึกษา. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (อุตสาหกรรมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. สุชาติ พันธุชาติ. (2546). ปญหาการสอนของครูวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ในจังหวัดเพชรบุร.ี ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (ธุรกิจศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 25522559). กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟค จํากัด. สํานักงานปฏิรปู การศึกษา. (2545). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค.

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

145


ศิรวิ รรณ คามตะศิลา. (2551). การพัฒนาหลักสูตรทองถิน่ กลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่องงานสานดวยกก สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6. ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. อมเรศ ศิลาออน. (2552). “ผลการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับการวิจัยพัฒนาการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน”. เอกสารหมายเลข 2 หนา 1 ในเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการ ดานวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครั้งที่ 3/2552 (วันศุกรที่ 26 มิถุนายน 2552). Dykeman, C., Herr, EL., Ingram, M., Wood, C., Charles, S., Pehrsson, D. (2001). The taxonomy Of Career Development Interventions that occur in America’s Secondary School. St. Paul : National Research Center for Career and Technical Education. University of Minnesota. Evans, R.N., Hoyt, K.B. & Mangum, G.L. (1973). Career Education in the High School. Salt Lake City, Utah : Olympus Publising Company. McCowan, C, & Mckenzie, M. (1997). The guide to career education. Sydney : New Hobsons Press.

146

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ




รายชื่อโรงเรียนในโครงการ นักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรคทเี่ ก็บรวบรวมขอมูล

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

149


150

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

บานบางสําราญ

18 สพป. สิงหบุรี

นํ้าพริกปลาชอนแมลา

ดอกไมประดิษฐจากผาใยบัว กวยเตี๋ยวหมูเลียง ผัดเสนจันท

ผลิตภัณฑ

ครูที่ผานการอบรม

นายวันชัย กลาเอี่ยม

นางสุทธินันท พูลเกิด นางตันหยง ลี้พล นางสาวรัศมี ชูเพียร 3 สพป. ฉะเชิงเทรา เขต 2 วัดดงยาง (ดงยางราษฎรบํารุง) กะหรี่ปบงาดํา นางสาวรักษษิณาฎ นิระมล 4 สพป. ชัยนาท ชุมชนวัดวังเคียน นกประดิษฐ นายสมชาย แสงโป 5 สพป. ชัยนาท วัดหนองจิก จักสานไมไผ กานลาน นางสาวสวาท แสงเขียว 6 สพป. ตราด บานโขดทราย หมูชะมวงยาง นางสาวศิริรัตน บุญวาที 7 สพป. นครนายก วัดเกาะกระชาย กระชายเพื่อสุขภาพ นางประภัสสร ดีชวย 8 สพป. นครปฐม เขต 2 วัดเชิงเลน (นครใจราษฎร) งานปะติดปะตอ นางสาววรางค เวชประเสริฐ หมอนหอมระเหย นางสาวประไพพรรณ เฟองรัตน 9 สพป. นครปฐม เขต 2 วัดดอนหวาย (นครรัฐประสาท) 10 สพป. ราชบุรี ขต 2 วัดหนองกบ (ขุนทองประชานุเคราะห) ไขผําเพิ่มคุณคาอาหาร นางวรรณดี วราสินธุ 11 สพป. ราชบุรี เขต 2 วัดหนองกลางดง เมนูเห็ดสามสหาย นางกนกอร ดอนพรมมะ 12 สพป. ลพบุรี เขต 2 ชุมชนวัดจงโก มิตรภาพที่ 157 กะลานาใชจากโปรแกรม GSP นางสาวอาพร มะสุทธิ 13 สพป. สระบุรี เขต 2 บานทาพลู กระเปาหนังแท นายพรชัย จั่นเพ็ชร 14 สพป. สระบุรี เขต 2 อนุบาลวังมวง ดอกไมเกล็ดปลา นางสุธาทิพย คัมภีระ 15 สพป. สิงหบุรี ชุมชนวัดกลางทาขาม ผาบาติกชุมชนวัดกลางทาขาม นางนํ้าทิพย รอดปาน 16 สพป. สิงหบุรี วัดถอนสมอ ผลิตภัณฑกะลามะพราว (โคมไฟ) นางนพรัตน พงษยิ้ม 17 สพป. สิงหบุรี วัดเสาธงทอง การปนของจิ๋ว นางวรรณา สุมสุข

โรงเรียน วัดเจามูล วัดวันยาวลาง

สังกัด

1 สพป. กทม. 2 สพป. จันทบุรี เขต 2

ที่

08 6842 4393 08 5154 5195

08 6820 0844 08 1953 9588 08 5602 1136 08 5161 7968 08 9068 0429 08 9704 5268 08 9026 1613 08 9532 4181 08 9547 5180 08 7118 4665 08 7611 8039 08 6509 2172 08 4161 9737 08 6011 5380

08 1843 0858 08 9244 4774

โทรศัพท

รายชือ่ โรงเรียนเขารวมการประชุมอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารและแลกเปลีย่ นเรียนรูโ รงเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ระหวางวันที่ 14-18 กรกฎาคม 2556 ณ โรงแรมภูเขางามรีสอรท จังหวัดนครนายก


รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

151

บานหวยไรสามัคคี สพป. เชียงราย เขต 3 บานปาซางนาเงิน สพป. เชียงราย เขต 4 บานเมืองกาญจน สพป. เชียงราย เขต 4 บานรมโพธิ์ไทย สพป. เชียงใหม เขต 2 โรงเรียนบานหนองไคร สพป. เชียงใหม เขต 4 ชุมชนกิ่วแลหลวงประสิทธิ์วิทยา สพป. ตาก เขต 2 บานหวยกะโหลก สพป. พะเยา ภูซางวิทยาคม สพป. แพร เขต 1 บานทุงโฮง (อภิวังวิทยาลัย) สพป. แมฮองสอน เขต 1 บานวนาหลวง สพป. แมฮองสอน เขต 2 บานแมแลบ

36 สพป. ขอนแกน เขต 1 37 สพป. ขอนแกน เขต 3

บานโสกแต บานบอตะครองโนนฝายสามัคคี

34 สพป. แมฮองสอน เขต 2 บานเลโคะ 35 สพป. สุโขทัย เขต 1 เชิงคีรี (สุวิชานวรวุฒิ)

24 25 26 27 28 29 30 31 32 33

หวยยอด (กลึงวิทยาคาร) บานภูเขาทอง บานดอยชาง

สพป. ตรัง เขต 2 สพป. ระนอง สพป. เชียงราย เขต 2 สพป. เชียงราย เขต 3

20 21 22 23

โรงเรียน วัดหนองยาง

สังกัด

19 สพป. อางทอง

ที่

นางกมลวรรณ เนาวชมภู นายกฤตภพ ถิ่นทิพย นางสาวปยนุช ศิริธาราธิกุล นางสาวนับดาว ปญญะติ นางศิริพรรณ คําเปง นางจินตนา นัดนาสาร นายเงิน จักษุ นางสาวนุสรา เทพบัณฑิต นางวันทนา ชัยเลิศวีระกร นางสาวอรารัตน กอนจําปา

นางกรวิวรรณ บุญเจริญ นางมนตรัตน อัมมรดารา นายสุริยัน ทิพรักษ

นางทิพวัลย วงศสุวรรณ

ครูที่ผานการอบรม

ศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ การทอผาพื้นเมือง

นายสมภพ เวียงวิเศษ นางไพศาล แสนยามูล

ผลิตภัณฑจากไมสัก (โคมไฟ แจกัน) นายพรสวัสดิ์ กรุณาคุณ ผลิตภัณฑจากไมบอง นายธนพัฒน สมบูรณ ขนมอาลัวจากแปงปรง นางสุดาวัลย รูคุณ

ผลิตภัณฑชาวเขา โคมไฟไมไผ สาหรายจากแมนํ้าโขง ของที่ระลึกพื้นบานชาวเขา ผลิตภัณฑรีไซเคิล ไมแกะสลักอนุรักษสืบสานภูมิปญญา ซึง สะลอ ปนขาวปนแกลบ ผลิตภัณฑผาหมอหอม ผาทอกะเหรี่ยง-มูเซอ

งานสานจากเสนพลาสติก ผาฝายทอมือ งานเพนทบนใบบางยางพารา ลูกปดทดแทน ผาปกดอยชาง

ผลิตภัณฑ

08 4480 2890 08 4805 3802 0 5568 9018, 08 6678 8324 08 9569 4893 08 1266 7024

08 9951 0150 08 9459 0435 08 9951 0150 08 0127 1865 08 6183 3585 08 6181 2667 08 6203 6591 08 4806 9682 08 7660 4749 08 1165 1634

08 7386 4409 08 6965 1749 08 1020 8980

08 9918 4724

โทรศัพท


152

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

สังกัด

50 51 52 53

54 สพม. 9 นครปฐม 55 สพม. 9 สุพรรณบุรี 56 สพม. 10 ประจวบคีรีขันธ

สพม. 3 นนทบุรี สพม. 3 นนทบุรี สพม. 4 ปทุมธานี สพม. 8 ราชบุรี

40 สพป. นครราชสีมา เขต 4 41 สพป. มุกดาหาร 42 สพป. ยโสธร เขต 2 43 สพป. สกลนคร เขต 1 44 สพป. สกลนคร เขต 1 45 สพป. สกลนคร เขต 3 46 สพป. หนองบัวลําภู เขต 1 47 สพป. อุดรธานี เขต 3 48 สพป. อุดรธานี เขต 4 49 สพม. 1 กทม. ปนดินสูดาว ประณีตศิลปดินไทย ขนมจีบไสปลานิล นํ้าผลไม

ในพระราชูปถัมภ เตรียมอุดมศึกษานอมเกลา นนทบุรี นวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี เทพศิรินทรคลองสิบสาม ปทุมธานี ราชโบริกานุเคราะห ศรีวิชัยวิทยา ทุงคลีโคกชางวิทยา ยางชุมวิทยา

นายณรงค กลิ่นออน

เซรามิค

การตูนและลายไทย 3 มิติ กิ๊ฟโรส นางสาวสมพร นิสยันต โครงลวดรูปสัตว นายถวิล สุขวงษ กลวยแปรรูป นางสําลี แดงนวล

นางสุรียพร ปานศรี นายอนุชิต โพธิวงศ นางสาวทิพสินี ศรีแกว นางวริษฐา เอี่ยมอินทร

นางสุกัญญา ทําสวน นางอรุณี ศรีทวีกาศ นางเกษร บานชล นางวราภรณ วรพันธุ นายชัยวัฒน ศิริพันธุ นางสาวพนา วิริยะเจริญกิจ นางละเอียด ปูหลุน นางอมรรัตน โคตรนํ้าเนาว นางเพียรชัย เกียลน

นางรุงอรุณ ชวนจิต นางอรุณ แกวภูมิแห

ครูที่ผานการอบรม

บานคลองเสือ บํารุงพงศอุปถัมภ บานดงสําราญ โพนงามโคกวิทยาคาร ศิริราษฎรวิทยาคาร บานอากาศ โคกมวงทองวิทยา บานคําออ บานเชียงเพ็ง ทีปงกรวิทยาพัฒน (วัดนอยใน)

ผลิตภัณฑ มหัศจรรยผลิตภัณฑรักษโลก ผลิตภัณฑจากดิน (ตุกตา อางบัวเล็ก แจกัน สรอย) ผัดหมี่ สมตําโคราช สานตะกราจากเสนพลาสติก เสื่อลายขิด ผลิตภัณฑแปรรูปสมุนไพร (มะรุม) ผลิตภัณฑมดจา...อารมณดี ผายอมคราม ขาวฮาง ผาเย็บมือ การปนหมอเขียนลายบานเชียง ทอเสื่อกกประยุกต

โรงเรียน

38 สพป. นครราชสีมา เขต 1 บานจอหอ 39 สพป. นครราชสีมา เขต 2 บานดานเกวียน

ที่

08 1480 7902 08 9740 7018 08 9991 6925

08 9881 6362 08 1566 5280 08 1928 9544 09 5494 6531

08 6016 9330

08 9865 1043 08 6855 4072 08 7867 3599 08 6642 0379 08 1061 0097 08 9277 7163 08 6221 7043 08 6642 7429 08 1261 6886

08 9203 0295 08 8464 2210

โทรศัพท


รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

153

สังกัด

สพม. 10 ประจวบคีรีขันธ สพม. 10 เพชรบุรี สพม. 10 เพชรบุรี สพม. 10 พชรบุรี

สพม. 10 สมุทรสาคร สพม. 17 จันทบุรี สพม. 18 ชลบุรี สพม. 12 นครศรีธรรมราช สพม. 12 นครศรีธรรมราช สพม. 12 พัทลุง สพม. 13 กระบี่ สพม. 13 กระบี่ สพม. 13 ตรัง

สพม. 14 พังงา สพม. 15 ยะลา สพม. 16 สตูล สพม. 35 ลําปาง สพม. 36 เชียงราย สพม. 37 แพร

ที่

57 58 59 60

61 62 63 64 65 66 67 68 69

70 71 72 73 74 75

ทับปุดวิทยา เบตง “วีระราษฎรประสาน” พิมานพิทยาสรรค แจหมวิทยา แมเจดียวิทยาคม รองกวางอนุสรณ

กระทุมแบน “วิเศษสมุทคุณ” ทาใหม (พูลสวัสดิ์ราษฎรนุกูล) เกาะโพธิ์ถวยงามวิทยา นาบอน เมืองนครศรีธรรมราช พนางตุง คลองทอมราษฎรรังสรรค คลองยางประชานุสรณ สามัคคีศึกษา

หัวหิน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี ดอนยางวิทยา วัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร)

โรงเรียน

(One School One Product : OSOP) ขนมแปรรูปจากมะพราว งานประติมากรรมดินเผากยามอญ จักสานไมไผ นาบอนบาติก สรอยลูกปด คริสตัล จักสานกระจูด ดอกกลวยไมเหลืองกระบี่บาติก เตยปาหนัน ดอกไมใบกระพอ หัวสัตวกระดาษรีไซเคิล อาหารแปรรูป งานหนัง โรตี ชาชัก เสนหไมลําปาง ผลิตภัณฑลวดลายเวียงกาหลง หัตถกรรมฝุนไม

ผลิตภัณฑผาหางอวน ผลิตภัณฑลูกคุณหญิงเนื่อง เครื่องประดับไทยประยุกต หัตถกรรมจากใบตาล

ผลิตภัณฑ

นางสุวดี ผลงาม นางมาลี พิสิฐนรชัย นางศุภร พัฒนวิวัฒน นายเสกสรร กาวินชัย นางวงเดือน นันทาทอง นายสุกิติ์ นาคสกุล นายอุดมชัย กุแสนใจ

นายธันว ขําทอง นางสาววรรณพร แกวกลา นางวันเพ็ญ ปูผา นายธนิต ชูมาก นางนวลรหง หมวดชัยทอง นางบุญขันธ ศิลปนุรักษ นายชาญกิจ เหนือคลอง นางพัชราภรณ คามาก นายสุวิทย จูหอง

นางผจงจิต โหวงษ นางรัชดาพรรณ วัชพัฒน นายณรงคชัย มากบํารุงจิต นางละมายมาศ อินทุกร

ครูที่ผานการอบรม

08 1310 9844 08 6959 2045 08 9738 5575 08 6182 3285 08 5106 9299 08 9852 0275

08 1552 3252 08 7127 6657 08 7597 5390 08 7268 6898 08 1892 5943 08 7392 9685 08 3645 9506 08 9664 3557 08 4056 8537

08 6755 1355 08 9161 2375 08 0247 4324 08 6552 2418

โทรศัพท


154

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

มัธยมตลาดใหญวิทยา เชียงขวัญพิทยาคม นารีนุกูล 2 นิคมพิมายศึกษา

81 82 83 84

สพม. 25 ขอนแกน สพม. 27 รอยเอ็ด สพม. 29 อุบลราชธานี สพม. 31 นครราชสีมา

ศรีสองรักษวิทยา หนองสูงสามัคคีวิทยา มัญจาศึกษา

78 สพม. 19 เลย 79 สพม. 22 มุกดาหาร 80 สพม. 25 ขอนแกน

โรงเรียน พุทธมงคลวิทยา ศึกษาสงเคราะหเชียงใหม

สังกัด

76 สพม. 42 อุทัยธานี 77 สศศ.

ที่

นางมณเฑียร สุริยา นายกิตติศักดิ์ นาคฤทธิ์ นางวันเพ็ญ พูลเพิ่ม นางคมเนตร ปนสันเทียะ

นางอรุณลักษณ จตุรบูรณ

กลวยไมชางกระ (ผาใยบัว ผาไหม) ดอกดาหลาจากผาไหม จักสานไมไผ ทอผา ผลิตภัณฑผากาบบัว สานเครื่องปนดินเผาผักตบชวา

หนากากผีตาโขน ผาหมักโคลน

นางอมลมณี ออนผาง นางชวนชม บุญศิริ นายสมบัติ ศรีวรรณชัย นายอภิรัตน พรหมรักษา นางอาลัย จันทรกระจาง

ครูที่ผานการอบรม

ไอศกรีมสมุนไพร บรรจุภัณฑแสนสวย

ผลิตภัณฑ

08 5643 1138 08 1670 6608 08 7247 6980 08 7186 5081

08 4029 8960

08 6916 1462 08 1061 9559 08 6221 2330

08 9858 7375

โทรศัพท


เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล ผลการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

155


แบบที่ 1 แบบกรอกขอมูลผลการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ ………………………………………………….. คําชี้แจง ใหกรอกขอมูลผลการดําเนินโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) ของโรงเรียนตามหัวขอที่กําหนดตอไปนี้ใหละเอียด 1. ที่มา/แรงบันดาลใจ .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

2. เปาหมายการพัฒนานักเรียน .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

3. ขอบเขตรายวิชา .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

4. วิธีการจัดการเรียนรู .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

4.1 การสํารวจ .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

156

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


4.2 การวางแผนและการออกแบบ .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

4.3 การสรางสรรคผลิตภัณฑ .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

4.4 การสรางบรรจุภัณฑ .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

4.5 การจัดจําหนาย .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

4.6 การสงเสริมการขาย/การเผยแพร .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

5. การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

6. การวัดและประเมินผล .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

157


7. ผลที่เกิดจากการพัฒนา .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

7.1 ผลที่เกิดกับผูเรียน .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

7.2 ผลที่เกิดกับครูและโรงเรียน .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

7.3 ผลที่เกิดกับชุมชน .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

8. การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

9. การบรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

10. ผลการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 .......................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลเปนอยางยิ่ง

158

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


แบบที่ 2 แบบบันทึกความพึงพอใจ/ความภาคภูมิใจ ในการเขารวมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) ………………………………………………….. คําชี้แจง ใหบันทึกความพึงพอใจ/ความภาคภูมิใจในการเขารวมโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) ของโรงเรียนใหละเอียด .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลเปนอยางยิ่ง

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

159



ขอมูลการนําเสนอเทคนิควิธีการที่ทําใหการจัดการเรียนรูงานอาชีพ ตามโครงการประสบความสําเร็จ และความพึงพอใจ ในการดําเนินโครงการของผูเขารวมโครงการนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

161


ปจจัยที่ทําใหประสบความสําเร็จ : เทคนิค วิธีการที่หลากหลาย Í ผูบริหาร ใหโอกาส สงเสริม สนับสนุน ใหกําลังใจ ใหความชวยเหลือ Í ครู

มีความรู ความสามารถ มีพรสวรรค มีความพยายาม เสาะแสวงหา (พรแสวง) ทุมเท แรงกาย แรงทรัพย มุงมั่น อดทน เสียสละเวลานอกราชการ วันหยุดเสาร - อาทิตย Í ครูภูมิปญญาทองถิ่น ชวยสอน ถายทอดวิธีการทํางาน Í นักเรียน เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะชีวิตและอาชีพ กระบวนการแกปญหา การทํางานรวมกัน การแสวงหาความรู มีคุณธรรม “ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู” และมีลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน Í ผูกระตุน ติดตาม ใหการเสริมแรง ใหกําลังใจ หาเวทีนําเสนอผลงาน อาจารยวันเพ็ญ สุจิปุตโต ผูรับผิดชอบโครงการ (สนก.) เปนเสมือนแมพระในดวงใจของ ครู ผู รับ ผิดชอบโครงการนักธุ ร กิจน อยมี คุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค คํากลาวตอนหนึ่งของ นางเกษร บานชล โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 “เปนความภาคภูมิใจที่ไมอาจลืม จากวันนั้น...จนกระทั่งถึงวันนี้ ขาพเจาไดพบสิ่งใหมที่มีคามากมาย หากไมมีสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัด การศึกษา หากไมมีผูหญิงที่งดงามทั้งรูปราง หนาตา งามทั้งกิริยามารยาท งามทั้งนํ้าใจอยางทานวันเพ็ญ สุจิปุตโต ขาพเจาก็คงจะเปน นางเกษร บานชล ที่ไมมีคนรูจัก ไมมีผลงานที่หลากหลาย ที่สวยงาม เปนที่กลาวขาน ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ ที่ไดเห็นผลงาน ทานคือดวงตา แกวใจ ของขาพเจา ตลอดกาล...”

162

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ความภาคภูมิใจของครู : เด็กดี เกง และมีความสุข Í สรางความภาคภูมิใจและคุณคาแหงตนใหกับนักเรียนที่ดอยโอกาส Í สามารถใชวิกฤตเปนโอกาส

ดึงนักเรียนหัวโจกใหเปนนักเรียนหัวหนา ดึงนักเรียนนักเลง ใหเปนนักธุรกิจนอยมีคุณธรรมที่คิดเปน ทําได ขายเปน Í นักเรียนกลาพูด กลาแสดงออกในทางที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น แสดงความกตัญู ตอบุพการีและครูอาจารย ชวยพอแมทํางาน ตั้งใจเรียน ตั้งใจทํางานอาชีพ Í สรางรายไดระหวางเรียน ใหนักเรียนลดภาระผูปกครอง พึ่งพาตัวเองได Í สรางผลงานนักเรียนใหเผยแพรไปทั้งในประเทศและตางประเทศ Í มี พื้ น ฐานงานอาชี พ ติ ด ตั ว ไปใช ป ระโยชน ใ นการประกอบอาชี พ ทั้ ง ในขณะที่ กํ า ลั ง เรี ย น และจบการศึกษาขั้นพื้นฐานไปแลว ความภาคภูมิใจของครู : นางมนตรัตน อัมมรดารา โรงเรียนบานภูเขาทอง สพป.ระนอง “นักเรียนมีจิตสํานึกในการอนุรักษลูกปดโบราณ รักถิ่นฐานชุมชน ของตนเอง ตระหนักในความสําคัญของรากเหงาทางประวัติศาสตรชุมชน และที่สําคัญนักเรียนยังมีทักษะการประกอบอาชีพ นอกจากการสรางรายได แลวยังเปนการลดปญหาการลักลอบขุดลูกปดโบราณ เมื่อนักเรียนเกิดความ ชํานาญในการผลิตลูกปดทดแทนแลวก็ไดมีการจําหนาย ในรูปแบบผลิตภัณฑ ที่หลากหลาย เชน ผาพันคอลายลูกปด เสื้อยืดและเนคไทลายลูกปด เปนตน สามารถสรางรายไดแกนกั เรียน อาจกลาวไดวา นักเรียนเหลานีเ้ ปน “นักธุรกิจนอย” ที่ มี “คุ ณ ธรรม” ในการช ว ยปกป อ งลู ก ป ด โบราณที่ เ ป น มรดกของชุ ม ชน มีความรูเรื่องการทําธุรกิจ นําไปสู “เศรษฐกิจสรางสรรค” ดวยการแปลง วัฒนธรรมเปนทุน อีกทั้งนักเรียนไดซึมซับความรูดานมรดกทางวัฒนธรรม โดยไมรูตัว เมื่อนักเรียนแตละรุนจบการศึกษา ก็จะมีการถายทอดองคความรู สู รุ น น อ งต อ ไป และนี่ คื อ วิ ธี ก ารปกป อ งทรั พ ย ข องแผ น ดิ น อย า งยั่ ง ยื น ของโรงเรียนบานภูเขาทอง”

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

163


โครงการ “ลูกปดทดแทน หวงแหนทรัพยแผนดิน” จากลูกปดทดแทนเม็ดเล็กๆ สรางเรื่องราว ที่ยิ่งใหญ สามารถหลอมรวมคนในชุมชนใหเห็นอารยธรรมของตนเองผานเม็ดลูกปด ที่มิไดมีเพียงแต ตีเปน...ราคา...เทานัน้ แตมนั มี...คุณคา...มีความหมายสือ่ ไปถึงรากเหงาทีแ่ ข็งแรง หากเมือ่ รากทีเ่ กาะเกีย่ ว แนนเหนียวมั่นคงตอไปก็จะเปนหนทางใหชีวิตไดเจริญงอกงาม อยางงดงามและยั่งยืน สอดคลองกับ การปฏิรูปการศึกษาที่แทควรปฏิรูปกระบวนทัศนดวย ภายใตกระบวนทัศนใหมนี้ “กระบวนการเรียนรู สําคัญกวาความรู” และครูมิใชผูมอบความรู แตเปน “ผูออกแบบกระบวนการเรียนรูไปพรอมกับเด็ก และเยาวชน” เทคนิควิธีการพัฒนางาน : นายธนิต ชูมาก โรงเรียนนาบอน สพม. 12 จังหวัดนครศรีธรรมราช “ผลิตภัณฑผาบาติก ที่จัดสอนใหนักเรียนฝกปฏิบัติ ในชวงแรกๆ จะฝกใหนักเรียนปฏิบัติอยางงายๆ กอน เนนเรื่องการเขียนเสนเทียนและการ ระบายสี โดยเนื้อหายังไมซับซอน จากนั้นก็จะเพิ่มเทคนิควิธีการในการทํา ใหงานมีความแปลกใหมและนาสนใจ รวมทั้งเพิ่มขนาดของงานใหมีขนาด ทีใ่ หญขนึ้ รวมทัง้ พยายามออกแบบใหมกี ารใชงานใหหลากหลาย ใหมผี ลิตภัณฑ หลายรูปแบบ เชน ผาเช็ดหนา ผาพันคอ ผาตกแตง โคมไฟ กระเปา ฯลฯ และผลิตภัณฑแตละชนิดจะใชเทคนิคหลากหลายเขาไปใสในงาน เพื่อใหงาน มีความนาสนใจมากขึ้น เชน เทคนิคโรยเกลือ เพื่อทําใหเกิดคราบสี เทคนิค สะบั ด เที ย นทํ า ให เ กิ ด ระยะของสี เทคนิ ค เส น สี ทํ า ให เ กิ ด ระยะของเส น สี เทคนิคเทียนแตก ทําใหเกิดระยะและมิติของสี ...จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูว ชิ าเทคนิคการทําผาบาติก ทําใหเด็ก มีการพัฒนาผลงานดีขึ้น จนทําใหเกิดการยอมรับของชุมชน ไดรับเชิญเขารวม จัดนิทรรศการในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ชุมชนไดเชิญครูผูสอน ไปสาธิตการทําผาบาติกใหกลุมแมบาน เพื่อจะไดทําเปนอาชีพเสริม...”

164

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


เทคนิควิธแี กปญ  หาเด็กและผูป กครอง : นางเกษร บานชล โรงเรียนบานดงสําราญ สพป.ยโสธร เขต 2 ตัวเด็ก “ตัวเด็ก เขาไมชอบงานที่ซํ้าซาก ขาพเจาหาวิธีที่จะทําให เด็กชอบ รักทีจ่ ะทํางานหลายวิธี เชน สรางแรงจูงใจ ยกตัวอยางของคนในชุมชน ที่เขาอยูที่ทําอาชีพในทองถิ่นแลวประสบความสําเร็จ กระตุนใหเกิดความ อยากรู อ ยากเห็ น โดยการเล า เรื่ อ งราวของแหล ง ประกอบการที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ใหเขาฟง และสุดทายมีขอ ตกลงรวมกันวาหากทํางานเสร็จคนละ 1 ชิน้ จะพาไป ศึกษาดูงาน” ผูปกครอง “เขาบอกวาสงลูกหลานมาเรียนหนังสือ ไมไดสงมาทอเสื่อ ป ญ หานี้ เ กิ ด จากการประชาสั ม พั น ธ การพบปะพู ด คุ ย ทํ า ความเข า ใจ กับผูปกครองนักเรียนนั่นเอง ขาพเจาเห็นวาทางโรงเรียนตองทําความเขาใจ กับผูปกครองนักเรียน ในการพบผูปกครองนักเรียน ขาพเจาไดบอกใหเขารูวา ลูกๆ ของเขามีความสามารถในการทอเสื่อ อยากใหเขามีโอกาสไดแสดงฝมือ ความสามารถของเขาในการแขงขันกับโรงเรียนอื่นๆ หากเปนไปไดอาจได ไปแขงขันในระดับประเทศก็เปนได ขอเวลาและโอกาสใหกับทางโรงเรียน และตัวนักเรียนบาง ในทีส่ ดุ ผูป กครองเริม่ มองเห็นผลดีของการทอเสือ่ ลายขิด ปญหา เด็กแอบไปเทีย่ วหายไป นอกจากนัน้ เด็กๆ ยังมีรายไดจากการทอเสือ่ ใหผปู กครอง ซึ่งเปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน เปนการชวยหาเงินมาชวยแบงเบา ภาระในครอบครัวอีกดวย” “กวาจะมาถึงวันนี้ ขาพเจามีทั้งดีใจ เสียใจ หัวเราะ และรองไห หลากหลายอารมณ ข า พเจ า มิ ไ ด ท อ ถอย แม ว า บางครั้ ง จะท อ แท อ ยู บ า ง มาวันนี้ผลจากการมุมานะ อดทน ทุมเท และเสียสละ ทําใหขาพเจายิ้มได กับเด็กตัวนอยๆ ที่ขาพเจาทั้งดุ ขู และปลอบในแตละวัน”

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

165


เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน : นางรัชดาพรรณ วัชพัฒน โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี สพม. 10 จังหวัดเพชรบุรี การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ บบโครงงาน เปนเทคนิคหนึง่ ทีม่ คี วามจําเปน อย า งยิ่ ง ในการเรี ย นการสอนในยุ ค ปฏิ รู ป การเรี ย นรู เนื่ อ งจากเป ด โอกาส ใหนักเรียนไดเรียนรูตามความสนใจ นอกจากนี้นักเรียนยังไดฝกการทํางาน อยางเปนระบบ ตัง้ แตการวางแผน การปฏิบตั งิ าน การตรวจสอบและการพัฒนา ทําใหนกั เรียนมีความรูค วามเขาใจสามารถสรางสรรคผลงานผาบาติกไดสวยงาม การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน ตามวงจร PDCA มีการวางแผน การดําเนินงานอยางเปนระบบครบวงจรอยางตอเนือ่ ง การปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ มีการบูรณาการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการ ทํ า โครงงาน การออกแบบสร า งสรรค ผ ลงานด ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร และการทํากิจกรรมตางๆ โดยใชเครือ่ งมือของ Microsoft Live@EDU และการใช Facebook ในการจําหนายผลิตภัณฑแบบออนไลน เพือ่ พัฒนาสูโ ครงงานอาชีพ

เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น : นายเสกสรร กาวินชัย และนายอดิศักดิ์ ปลายนา โรงเรียนแจหมวิทยา สพม. 35 จังหวัดลําปาง ผลิตภัณฑงานเสนหไ มลาํ ปาง เปนการจัดกิจกรรมฝกทักษะทีล่ ะเอียด ฝกสมาธิ และนํารูปแบบทางศิลปกรรมและสถาปตยกรรมที่เปนภูมิปญญา ของทองถิน่ มาเปนสวนหนึง่ ของแบบฝกทักษะใหนกั เรียนไดมโี อกาสศึกษา สืบคน พัฒนาและประยุกตใช โดยใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดและการนํามาใช สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหเกิดประโยชนและคุณคาสูงสุด

166

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


เทคนิควิธีการเรียนรูโดยใชวิธีการ “คูหูทํางาน” (Buddy Worker) นางสาวอรารัตน กอนจําปา โรงเรียนบานวนาหลวง สพป.แมฮองสอน เขต 1 การทอผากะเหรี่ยง นักเรียนชนเผากะเหรี่ยงและมูเซอ มีทุนเดิม เรื่องการทอผากะเหรี่ยงอยูแลว แตเดิมเปนการทอผาตามวิถีชนเผากะเหรี่ยง ดํ า เนิ น อยู เรื่ อ ยมา แต ก ารทอผ า ตามวิ ถี ช นเผ า นั้ น เป น การทอผ า ที่ ยั ง ไม ไ ด ประยุกต ปรับตกแตงใหเปนที่ตองการของตลาด นักเรียนจึงไดเรียนรูเพิ่มเติม ในเรื่องธุรกิจและการออกแบบสินคาผานกิจกรรมการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง มีวิทยากรภายนอกมาใหความรูและสาธิตการผลิตที่ถูกตองใหกับนักเรียน และนักเรียนเกิดการลองผิด ลองถูก จนสามารถกลั่นออกมาเปนกระบวนการ เรียนรูของตนเองได และเพื่อนที่เปนชนเผากะเหรี่ยงซึ่งมีความถนัดในเรื่อง การทอผาอยูแลวจะคอยสอนเพื่อนชนเผาอื่นๆ ในชุมนุมใหทอผา คอยให ความชวยเหลือเพือ่ นทีย่ งั ทอไมเปน โดยใชวธิ กี าร “คูห ทู าํ งาน” (Buddy Worker) ในการสอน ทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจกันและกันยิ่งขึ้น สงผลใหนักเรียน สามารถปฏิบัติงานไดดียิ่งขึ้น

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

167



ขอมูลผลงานดีเดนของโรงเรียน ในโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556)

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

169


ของ นางอาลัย จันทรกระจาง โรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา จังหวัดมุกดาหาร

ฝายมุกดา โรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 อาชีพหนึ่งที่อยูคูชุมชมหนองสูงมาเปนเวลายาวนาน คือ การทอผาฝายสีธรรมชาติ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ ในวิ ถี ชี วิ ต ตั้ ง แต นํ า มาตั ด เย็ บ เป น เสื้ อ ผ า สวมใส แ ละเครื่ อ งนุ ง ห ม ที่ ป ลอดจากสารเคมี ด ว ยคุ ณ ค า ของภูมิปญญาทองถิ่น กอปรกับแรงบันดาลใจของอาจารยอาลัย จันทรกระจาง ตองการอนุรักษอาชีพ การทอผาฝายสีธรรมชาติ จึงไดนาํ มาพัฒนาเปนหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิม่ เติม งานผลิตภัณฑผา หมักโคลน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

ขอบเขตรายวิชา งานผลิตภัณฑผาหมักโคลน 1 รหัสวิชา ง20213 เวลา 40 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 ประกอบดวย 4 หนวย คือ หนวยที่ 1 เสนใยรักจากยายสูหลาน 1.1 ความเปนมา ความสําคัญ และประโยชนของฝายหมักโคลน 1.2 วัตถุดิบและวัสดุอุปกรณที่ใชในการผลิตเสนใย 1.3 กระบวนการผลิตเสนฝาย 1.3.1 การปลูกฝาย 1.3.2 การเก็บฝาย

170

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


1.3.3 การอิ้วฝาย 1.3.4 การดีดฝาย 1.3.5 การลอฝาย 1.3.6 การเข็นฝายดวยหลา 1.3.7 การเปยฝาย หนวยที่ 2 โคลนมหัศจรรยและการยอมสีธรรมชาติ 2.1 วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ การยอมสีธรรมชาติและการหมักโคลน 2.2 พันธุไมที่มีใบ เปลือก ผล ราก และเหงาใหสีธรรมชาติ 2.3 สารจับสีธรรมชาติ โคลนหนองสูง 2.4 หลักการยอมสีเสนฝายดวยสีธรรมชาติ 2.5 วิธีการยอมสีเสนฝายจากพืช หนวยที่ 3 เสนหผา หมักโคลน 3.1 การออกแบบการทอลายผาฝาย 3.2 วัสดุ อุปกรณที่ใชในการทอผา 3.3 หลักการ วิธีการทอผา การคันหูก การลีบหูก การกางกี่ การปนหลอดฝาย การทอผาฝาย 3.4 การทอผาฝาย การทอผาพันคอ การทอผาขาวมา หนวยที่ 4 นักธุรกิจนอย 4.1 ความรูพื้นฐานดานธุรกิจและการตลาด 4.2 คุณลักษณะของผูประกอบการและคุณธรรมนักธุรกิจ 4.3 หลักการคิด ตนทุน กําไร กําหนดราคาจําหนายสินคา การจัดทําบัญชีรับ-จาย 4.4 การจัดตกแตงรานจําหนายผาหมักโคลน 4.5 โครงการอาชีพอิสระ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

171


งานผลิตภัณฑผาหมักโคลน 2 รหัสวิชา ง20214 เวลา 40 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 ประกอบดวย 4 หนวย คือ หนวยที่ 1 เสนหฝายดอก 1.1 หลักการวิธีการทอผาฝายยกดอก ลายแกวกาหลง ลายปลาตะเพียน 1.2 ฝกปฏิบัติทอผาฝายยกดอก ลายแกวกาหลง ลายปลาตะเพียน หนวยที่ 2 ผลิตภัณฑสวยดวยผาหมักโคลน การแปรรูปผาหมักโคลนเปนของใช เชน หมอนอิง กระเปา และซองโทรศัพท เปนตน หนวยที่ 3 นักธุรกิจนอย 3.1 หลักการและวิธีการสรางตราสินคาและการเขียนเรื่องประกอบสินคาผาฝาย หมักโคลน 3.2 การออกแบบบรรจุภัณฑผลิตภัณฑผาฝายหมักโคลน 3.3 พาณิชยอิเล็กทรอนิกส 3.4 โครงการอาชีพอิสระ หนวยที่ 4 ทรัพยสินทางปญญา 4.1 เครื่องหมายการคา ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร 4.2 วิธีการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา

172

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


วิธีการจัดการเรียนรู 1. นํานักเรียนศึกษาแหลงเรียนรูในชุมชน กลุมทอผาดั้งเดิม อําเภอหนองสูง 2. นําภูมิปญญาทองถิ่นรวมจัดการเรียนรูตามหลักสูตร ทั้งในเวลาเรียนและวันเสาร-อาทิตย 3. ใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติตามกระบวนการในหลักสูตรการทอผาฝายหมักโคลน โดยใชเอกสาร ประกอบการเรียนเพิ่มเติม 4. จัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเวลาเรียนวันเสาร-อาทิตย 5. ใชกระบวนการกลุมในการฝกปฏิบัติงาน 6. จัดตั้งบริษัทจําลองใหนักเรียนฝกปฏิบัติจําหนายผลิตภัณฑทั้งในและนอกโรงเรียน 7. นําเสนอผลงานและจัดนิทรรศการ โดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติงานทั้งในและนอกโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

173


การวัดผลและประเมินผล 1. ดานความรู - ตรวจรายงาน - ทดสอบยอยตามแผนจัดการเรียนรู - ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ดานทักษะ - ประเมินกระบวนการดําเนินงาน - ประเมินผลงานนักเรียน 3. ดานคุณธรรม - ประเมินดวยการสังเกตจากพฤติกรรม ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู 4. ผูประเมิน ประกอบดวย ครู นักเรียน (เพื่อนประเมินเพื่อน) ผูบริหารสถานศึกษา 5. ครูภูมิปญญา วิพากษผลงานนักเรียนและเสนอแนวทางแกปญ  หา

ผลที่เกิดกับผูเรียน 1. นักเรียนมีทักษะในการทํางาน การวางแผน และการทํางานรวมกับผูอื่น 2. นักเรียนมีคุณธรรม ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู 3. นั ก เรี ย นมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ ตนเองและสั ง คม รั ก ษาทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาของตนเอง และประเทศชาติ และไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น 4. นั ก เรี ย นสามารถฝ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง จากงานอาชี พ และใช เวลาว า งเกิ ด ประโยชน หารายได ระหวางเรียน 5. นักเรียนมีทักษะการใชสื่อและเทคโนโลยีในการบริหารจัดการผลิตภัณฑ 6. นั ก เรี ย นเห็ น คุ ณ ค า และภู มิ ใจในอาชี พ ทอผ า ฝ า ยหมั ก โคลน จึ ง มี ส ว นในการอนุ รั ก ษ และสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น

174

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ผลที่เกิดกับครู 1. ครู มี ค วามรู ความเข า ใจ สามารถที่ จ ะบ ม เพาะนั ก เรี ย นให มี ป ระสบการณ ด า นอาชี พ การเปนผูประกอบการที่มีคุณธรรม 2. ครูไดพัฒนาตนเอง สามารถจัดกิจกรรมการสอนวิชาชีพ เนนผูเรียนเปนสําคัญ บูรณาการ เรียนรูกับกลุมสาระวิชาอื่นได

ผลที่เกิดกับโรงเรียน โรงเรียนไดรับความรวมมือและสนับสนุนเปนอยางดีจากชุมชน และเปนที่ยอมรับของหนวยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ฝายมุกดา จากงานผลิตภัณฑผาหมักโคลน ของโรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา เปนการเรียนรู ดวยกระบวนการฝกปฏิบตั จิ ริงแบบครบวงจร ตัง้ แตการปลูกตนฝาย การเก็บฝาย การปน ฝาย การยอมฝาย ดวยสีธรรมชาติ การหมักโคลนเพื่อเพิ่มความคงทนของสีผาฝาย และปรับเสนฝายใหออนนุมเหมาะกับ การสวมใสและเปนเครื่องนุงหม จะเห็นวากวาตนฝายจะเติบโต ผลิตปุยฝายใหนํามาทําเสนดายทอผา นั ก เรี ย นได สั ม ผั ส และเรี ย นรู ผ า นกิ จ กรรมการดู แ ลเอาใจใส ทุ ก ขั้ น ตอน จึ ง จะได ผ ลผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ พรอมนําเสนอและจําหนายได ดังนัน้ นักเรียนในโครงการนักธุรกิจนอยมีคณ ุ ธรรม นําสูเ ศรษฐกิจสรางสรรค ที่ผานกระบวนการเรียนรูจะมีทักษะในการทํางาน คือ “คิดเปน ทําได ขายเปน”

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

175


ของ นายเสกสรร กาวินชัย และ นายอดิศักดิ์ ปลายนา โรงเรียนแจหมวิทยา จังหวัดลําปาง

ที่มา ผลิตภัณฑงานเสนหไมลําปางของโรงเรียนแจหมวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 สรางจากเศษไมสักที่เหลือจากการถูกตัดในการสัมปทาน การลักลอบตัดขายและตัดมาใชงาน โดยใชรูปแบบทางศิลปกรรมและสถาปตยกรรมที่เปนภูมิปญญาทองถิ่น ตองการออกแบบผลงานหลากหลาย รูปแบบ เนนประโยชนใชสอยในชีวิตประจําวัน มีรูปแบบที่สวยงาม ละเอียดประณีต เปนเอกลักษณไทย สามารถจํ า หน า ยให มี ร ายได ร ะหว า งเรี ย น นั ก เรี ย นใช ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

เปาหมายที่เกิดกับนักเรียน นักเรียนมีความรูความสามารถตามตัวชี้วัดและมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีคุณธรรมนักธุรกิจนอย 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู นักเรียนมีสุนทรียภาพในงานศิลปะ ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน มีความสนใจในการปฏิบัติงานที่ยาก และสูงขึ้นและใชชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

176

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ขอบเขตรายวิชา วิชาเสนหไม เปนรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูงานอาชีพและเทคโนโลยี ในหลักสูตร สถานศึกษา โรงเรียนแจหมวิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในปการศึกษา 2552 เปนการพัฒนาตอเนื่องจากรายวิชา “ช32067 ชางประดิษฐเศษไม” ใชรูปแบบ นวัตกรรมทางการศึกษาเรื่อง “ชิ้นงานฝกทักษะจากเศษไม” และใชกับรายวิชาในระดับประกาศนียบัตร ในวิชาฝกฝมืองานไมและวิชางานไม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1

วิธีการจัดการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยใหมีการฝกทักษะที่ละเอียด ฝกสมาธิ ออกแบบหนวยการเรียนรูใหมีการศึกษา รูปแบบทางภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ วัสดุฝก ทักษะ ขัน้ ตอนการฝกทักษะ ทักษะการปฏิบตั งิ าน การประเมินผลงาน การจัดการผลงาน และการพัฒนารูปแบบงานเพือ่ สนองการใชในชีวติ ประจําวัน โดยจัดการเรียนรูใ นรายวิชา และรวมกลุมการเรียนรูโดยใชชื่อ “กลุมเสนหไม”

กิจกรรมเสริมการเรียนรู จัดทําโครงการ “นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค งานเสนหไม” ใหนักเรียนรวมกลุมเรียนรูใชชื่อกลุมเสนหไม จั ด ทํ า รู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ ต า งๆ ที่ มี ข นาดเล็ ก ไม ต อ งประกอบ หรือประกอบชิ้นสวนไมมากนัก เชน ไมจิ้มผลไม ปนปกผม จานรองแกว หรืองานที่มีการประกอบชิ้นสวนหลายชิ้นเขาดวยกัน เชน กรอบรูป ปายชื่อ โคมไฟ มณฑป และเรือนแกวพระพุทธรูป นักเรียนไดเปน ตัวแทนของโรงเรียน สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา เขารวมกิจกรรมตางๆ ในการนําเสนอผลงาน จัดนิทรรศการ ประกวด แขงขัน สรางชื่อเสียง ความสําเร็จสูตนเองและโรงเรียน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

177


การวัดและประเมินผล เปนการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ดาน คือ ดานความรู ใชวิธีการทดสอบและสอบถามความรู ดานทักษะ วัดพฤติกรรมการเรียนรู การปฏิบัติงานและการทํางานรวมกับผูอื่น ใชวิธีการประเมินพฤติกรรม ประเมิน การปฏิบัติงานและสังเกตการทํางาน ดานคุณธรรมนักธุรกิจนอย ใชวิธีการสังเกตการทํางานกลุม และงานเดี่ยวเกี่ยวกับความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น และกตัญู

ผลที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียน นักเรียนมีความรูค วามสามารถในการเรียนรูง านเสนหไ ม ตามตัวชีว้ ดั และมาตรฐานทัง้ 4 มาตรฐาน มีการสงเสริมการใชชีวิตประจําวันของนักเรียนใหมีสมาธิ ความอดทน มีสุนทรียภาพในงานศิลปะ ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน เปนพืน้ ฐานและสรางความสนใจในการปฏิบตั งิ านทีย่ ากและสูงขึน้ เปนตัวแทน ของโรงเรียน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขารวมกิจกรรมตางๆ ในการนําเสนอผลงาน จัดนิทรรศการ ประกวด แขงขัน สรางชื่อเสียง ความสําเร็จสูตนเองและโรงเรียน

การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา กําลังอยูในระหวางการดําเนินการศึกษารูปแบบและขอรับคําปรึกษาในการขอขึ้นทะเบียน ทรัพยสินทางปญญา ประเภทภูมิปญญา

การบรรลุตัวชี้วัดตามมาตรฐานหลักสูตรแกนกลาง นักเรียนเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน ง 1.1 คือ มีการแสวงหาความรู สืบคน เขาใจทักษะ และมีทักษะกระบวนการทํางาน สรางสรรคผลงานรูปแบบตางๆ แกไขปญหาการเรียนรู การฝกทักษะ การสรางสรรคงาน การทํางานเปนทีม มีคุณธรรม รักการทํางาน ไดรับการปลูกฝงใหรูจักใชทรัพยากร ของชาติ อ ย า งประหยั ด รอบคอบ เกิ ด คุ ณ ค า สู ง สุ ด เป น แนวทางการใช ท รั พ ยากรอย า งเป น มิ ต ร กับสิ่งแวดลอม และเปนพื้นฐานของการใชชีวิตประจําวันรวมกับครอบครัวและสังคมอยางมีความสุข

178

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


มาตรฐาน ง 2.1 นักเรียนไดออกแบบและสรางสรรคงานเพื่ออํานวยประโยชนในชีวิต โดยคํานึงถึง การสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน มาตรฐาน ง 3.1 นักเรียนไดมีโอกาสใชกระบวนการ เทคโนโลยีกับขอมูลทางภูมิปญญา ใชอํานวยประโยชนพัฒนางาน พัฒนาการนําเสนอผลงาน มาตรฐาน ง 4.1 นักเรียนมีทกั ษะทีจ่ าํ เปนในการปฏิบตั งิ านชางไม การใชชวี ติ ประจําวัน มีประสบการณมากขึน้ เปนแนวทาง ในการวางแผนงานอาชีพที่สุจริตในอนาคต

บทสงทาย การจัดการเรียนรูในวิชาเลือกเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน นักเรียนมีความรูความสามารถดานตัวชี้วัดและมาตรฐานทั้ง 4 มาตรฐาน มีการ สงเสริมการใชชีวิตประจําวันของนักเรียนใหมีสมาธิ ความอดทน มีสุนทรียภาพในงานศิลปะ ใชเวลาวาง ใหเกิดประโยชน เปนพื้นฐานและสรางความสนใจในการปฏิบัติงานที่ยากและสูงขึ้น สอดคลองกับทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ทัง้ 3 ทักษะ คือ 1) ทักษะชีวติ และอาชีพ นักเรียนมีทกั ษะในการเรียนรู มีความรับผิดชอบ การสรางงานที่มีรายไดระหวางเรียน รับผิดชอบตอการใชชีวิต การใชทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม มีสวนรวมในชุมชน ในการสรางแนวทางอาชีพ 2) ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม การรวมมือในทาง วิชาการ โรงเรียนเครือขาย กลุมอาชีพชุมชมในการสื่อสาร เลาประสบการณ ถายทอดองคความรู แกผูที่สนใจ 3) ทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี นักเรียนไดใชสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อการศึกษา สืบคน และใชประโยชนจาก ICT ในการนําเสนอและเผยแพรผลงาน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

179


ผลิตภัณฑเครื่องประดับ ของ นางสาวสมพร นิสยันต โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา จังหวัดนครปฐม

ที่มา ผลิตภัณฑเครือ่ งประดับจากแปงขนมปงแตงดวยผาไหมไทยของโรงเรียนศรีวชิ ยั วิทยา สํานักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 เกิดจากการพัฒนาเครือ่ งประดับสตรีของไทยใหมรี ปู แบบแปลกใหม น า สนใจ และนํ า ผลงานมาต อ ยอดให มี ห ลากหลายรู ป แบบ นํ า ออกจํ า หน า ยเป น การสร า งรายได ใหกับนักเรียนกลุมที่สนใจ นอกจากนั้นยังมุงเนนใหนักเรียนเห็นคุณคาของเศษวัสดุดวยการนําขนมปง ที่ เ หลื อ จากการจํ า หน า ยของโรงงานขนมป ง มาสร า งมู ล ค า เพิ่ ม โดยนํ า มาเป น วั ส ดุ ห ลั ก ในการทํ า ผลิตภัณฑ และแนะนําสงเสริมใหนักเรียนนําเศษผาไหมที่เหลือจากการตัดเย็บซึ่งไดรับบริจาคจากชุมชน และคนทั่ ว ไปที่ ต อ งการสนั บ สนุ น กิ จ กรรมของนั ก เรี ย น นํ า มาใช ต กแต ง เพื่ อ ให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ มี คุ ณ ค า และมีราคามากขึ้น และยังเปนการสงเสริมใหนักเรียนเห็นคุณคาของผาไหมไทย เปนการอนุรักษผาไหม ของไทยอีกดวย

เปาหมายการพัฒนานักเรียน 1. เพื่อสรางความตระหนักเห็นคุณคาของเศษวัสดุเหลือใช นํามาสรางผลิตภัณฑใหมีมูลคาเพิ่ม นําไปสูการมีรายไดระหวางเรียน 2. เพื่อฝกทักษะกระบวนการทํางานรวมกัน ทักษะการคิดแกปญหา 3. เพื่อปลูกฝงคุณธรรมความซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู

180

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ขอบเขตรายวิชา จัดการเรียนรูในกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ในชุมนุมสรางสรรคงานศิลป ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 - 3 จํานวน 20 คน บูรณาการกับการเรียนการสอนรายวิชา ศ22202 การออกแบบผลิตภัณฑ

วิธีการจัดการเรียนรู เริ่มตนดวยการสรางความตระหนัก ใหนักเรียนเห็นคุณคาและความสําคัญของเศษวัสดุเหลือใช ที่มีอยูในทองถิ่น จากนั้นใหนักเรียนเลือกผลิตภัณฑที่จะประดิษฐตามความสนใจและเหมาะสมกับวัสดุ เหลือใชที่มีอยู นักเรียนศึกษา คนควา รวบรวมขอมูลเพื่อนํามาใชในการออกแบบผลิตภัณฑ ซึ่งบูรณาการ กับกลุม สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ รายวิชา ศ22202 การออกแบบผลิตภัณฑ โดยมีกระบวนการทํางาน 4 ขัน้ ตอน ไดแก การวิเคราะหงาน การวางแผนในการทํางาน ฝกปฏิบัติจริง ฝกทักษะการประดิษฐเครื่องประดับ จากแปงขนมปงแตงดวยผาไหมไทย เปนการใชกระบวนการกลุม คือ การเลือกหัวหนากลุม กําหนดเปาหมาย วางแผนการทํางาน แบงหนาที่ตามความสามารถ ลงมือปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ในขณะปฏิบัติงานก็มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูแบบพี่สอนนอง มีการประเมินผลและปรับปรุงงานเปนระยะ นอกจากนี้ยังมีการสาธิต การศึกษาคนควา ทดลองการผสมแปงใหไดคุณภาพตามความตองการ

กิจกรรมเสริมการเรียนรู เมื่อไดผลิตภัณฑที่สมบูรณก็จะนําผลงานมาวิเคราะหหนาชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกัน เพื่อชวยเสริมสรางทักษะการคิด การยอมรับซึ่งกันและกัน เกิดการเรียนรูแนวคิดและทัศนคติ ของบุคคลอื่น นําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑที่สอดคลองกับความตองการของผูบริโภค และมีการสนับสนุน ใหนักเรียนกลุมสนใจจัดตั้งบริษัทจําลอง คือ บริษัท Gift Rosses จํากัด เพื่อจัดจําหนายผลิตภัณฑ หารายไดระหวางเรียน

การวัดและประเมินผล ใชวิธีการสังเกต สอบถาม ตรวจผลงานทั้งในขณะปฏิบัติงานและชิ้นงานจากผูมีสวนเกี่ยวของ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

181


ผลที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียน นักเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู ศ 1.1 มีทักษะการแสวงหาความรู เกิดทักษะการทํางานกลุม ทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ทักษะ การเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี

การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา อยูระหวางจดสิทธิบัตร ดานวรรณกรรมประยุกตศิลป

สรุปการบรรลุถึงตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู ศ 1.1 ทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21

182

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ผลิตภัณฑลวดลาย ของ นางวงเดือน นันทาทอง นางปทมาภรณ ธรรณมรงค โรงเรียนแมเจดียวิทยาคม จังหวัดเชียงราย

ที่มา ผลิตภัณฑลวดลายเวียงกาหลงของโรงเรียนแมเจดียวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 มีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของชุมชนเวียงกาหลงมาแตโบราณ ประมาณ 700-1,000 ป เปนผลิตภัณฑที่สรางขึ้นบนเงื่อนไขความตองการทางสังคม มีความหมายและคุณคา ทางสุนทรียะ แสดงถึงภูมิปญญาและพัฒนาการดานเทคโนโลยีของชุมชน ที่สั่งสมและสืบทอดตอกันมา เอกลักษณอันโดดเดนของเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลง คือ เปนภาชนะที่มีนํ้าหนักเบา ขึ้นรูปไดบาง แกรง มีการเขียนลายสีดําใตเคลือบซึ่งเปนลวดลายเกี่ยวกับธรรมชาติ ทองถิ่น ลายสัตว พืชพันธุ ลายดอกไม ลายดอกกา ลายกานขด ลายกลีบบัว ลายดอกทานตะวันและอื่นๆ มีการเคลือบภายนอกของภาชนะ ดวยนํ้าเคลือบใสสีเขียว สีฟาออน ปจจุบันแหลงเตาเวียงกาหลงถูกขุดทําลายเพื่อหาเครื่องถวยชาม ไปจํ า หน า ย การขยายที่ ทํ า กิ น ของประชาชน ทํ า ให ซ ากเตาและหลั ก ฐานต า งๆ เสื่ อ มสภาพ ไปเปนจํานวนมาก โรงเรียนแมเจดียวิทยาคมเปนโรงเรียนที่อยูในพื้นที่วัฒนธรรมเวียงกาหลง ไดจัดทํา หลักสูตรทองถิ่น ใชจัดการเรียนการสอนตั้งแตปการศึกษา 2545 เพื่อใหนักเรียนสามารถสรางสรรค ผลิตภัณฑงานผาปก งานไมมะมวงและงานสรางสรรคลวดลายเวียงกาหลงอื่นๆ ที่ตอยอดจากการเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหนักเรียนสามารถสรางสรรคผลิตภัณฑและสรางรายไดเสริม แกนักเรียนและครอบครัว และเผยแพรภูมิปญญาเวียงกาหลงใหมีชื่อเสียงแพรหลายตอไป รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

183


เปาหมายการพัฒนานักเรียน 1. นั ก เรี ย นโรงเรี ย นแม เ จดี ย วิ ท ยาคม ได ศึ ก ษาเรี ย นรู เ กี่ ย วกั บ ประวั ติ ค วามเป น มา ของเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลง และรวมอนุรักษสืบสาน เผยแพรภูมิปญญาเวียงกาหลงใหเปนที่รูจัก กวางขวางสูสากล 2. นั ก เรี ย นโรงเรี ย นแม เจดี ย วิ ท ยาคม ได รั บ การปลู ก ฝ ง ให มี จิ ต สํ า นึ ก รั ก และหวงแหน ภูมิปญญาทองถิ่นของตนเอง รวมกันสืบสานดวยความคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถนํามาใชประโยชน ในชีวิตประจําวัน เปนแนวทางในการสรางรายไดตอไป

ขอบเขตรายวิชา ประกอบดวย 1. รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม “วิ ช าเครื่ อ งป น ดิ น เผาเวี ย งกาหลง” ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น และมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. โครงการธุ ร กิ จ เรื่ อ งลวดลายเวี ย งกาหลงลงผลิ ต ภั ณ ฑ รายวิ ช าการงานพื้ น ฐานอาชี พ งานธุรกิจ งานอาชีพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. รายวิชาพัฒนาผูเรียน ทักษะอาชีพ ยุววาณิช 4. ชุมนุมเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลง

184

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


วิธีการจัดการเรียนรู 1. นักเรียนศึกษาประวัติความเปนมาของเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลง ลวดลายเครื่องปนดินเผา จากสื่อมัลติมีเดีย วิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูในชุมชน 2. นักเรียนฝกเขียนลายตางๆ ของเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลงจากสื่อ เอกสารประกอบ การสอน เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของเรื่องลวดลายเวียงกาหลงและเศษเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลง 3. นักเรียนฝกเขียนลายลงกระดาษ แรเงา ระบายสี 4. นักเรียนฝกเขียนลายดวยพูกันจีนลงเครื่องปนและผลิตภัณฑตางๆ 5. นักเรียนออกแบบชิ้นงานโดยนําลวดลายลงผลิตภัณฑดวยกรรมวิธีตางๆ เชน การสกรีน ปกจักร ปกมือ หรือใชวัสดุอื่นๆ ทําลวดลายใหปรากฏบนผลิตภัณฑตามความถนัดและความสนใจ ของนักเรียนรวมกับวิทยากรที่มีความรูความชํานาญในดานนั้นๆ 6. นักเรียนทําโครงงานลวดลายเวียงกาหลงลงผลิตภัณฑตามความถนัดและความสนใจ ตัวอยางการทําผลิตภัณฑลวดลายเวียงกาหลงลงไมมะมวง 1. ศึกษาลวดลายเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลง 2. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ คือ แจกันไมมะมวง พูกัน สีเคลือบ สีลงพื้น สีนํ้า สีโปว สีนํ้าซิบโก กระดาษทรายเบอรออน และผาเช็ด

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

185


3. ขั้นตอนการผลิต เริ่มจากการนําแจกันที่กลึงเปนรูปแบบตางๆ มาขัดดวยกระดาษทรายเบาๆ ให เรี ย บ ถ า มี รู ใ ห ใช สี โ ป ว ป ด แล ว นํ า ไปตากแดดให แ ห ง แล ว นํ า มาขั ด ให เรี ย บอี ก ครั้ ง จากนั้ น นําไปพนสีนํ้าซิปโกสีทองใหทั่ว ทิ้งไวใหแหง ทําสีแตกลายงา ตากใหแหง แลวจึงวาดลวดลายเวียงกาหลง พอสีลวดลายแหง จึงนําไปพนเคลือบใหเกิดความเงางามและทนทาน

การวัดผลและประเมินผล การวัดผลและประเมินผล ประเมินโดยครู วิทยากร นักเรียนหรือผูเกี่ยวของที่มาใหความรู รวมกันประเมินผลงานนักเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งดานความรู (K) ทักษะกระบวนการ (P) และเจตคติ (A) รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค ดานคุณธรรม (ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู) เครื่องมือที่ใชในการวัดผลประเมินผล คือ แบบทดสอบ แบบประเมินผลงานแบบรูบริค (Rubric) และแบบวัดความพึงพอใจ

ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ครู โรงเรียน นักเรียน ไดเรียนรูกระบวนการทําธุรกิจ ไดลงมือปฏิบัติจริง เกิดความภาคภูมิใจในผลงาน ของตน และภาคภูมิใจในภูมิปญญาทองถิ่นของตนเอง มีความคิดริเริ่มสรางสรรคจากการรวมคิดออกแบบ และผลิตชิ้นงาน สามารถสรางรายไดระหวางเรียนจากการจําหนายผลิตภัณฑ และนําความรู ทักษะจาก การเรียนรูวิชาเครื่องปนดินเผาเวียงกาหลงไปประกอบการสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา

186

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ครู ไดรบั การประเมินเพือ่ เลือ่ นและแตงตัง้ วิทยฐานะชํานาญการพิเศษและศึกษาตอระดับ ปริญญาโท โรงเรียน ไดรับรางวัลโรงเรียนรางวัลพระราชทาน ปการศึกษา 2546 หลักสูตรทองถิ่น เครื่ อ งป น ดิ น เผาเวี ย งกาหลงเป น อั ต ลั ก ษณ ข องโรงเรี ย นแม เจดี ย วิ ท ยาคม ได รั บ การยอมรั บ และสนั บ สนุ น จากหน ว ยงานต า งๆ ในการจั ด การเรี ย นการสอนเรื่ อ งภู มิ ป ญ ญาเวี ย งกาหลง และการสรางอาคารภูมิปญญาเวียงกาหลง

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

187


อาหารแปรรูปจาก ของ นางสุวดี ผลงาม โรงเรียนทับปุดวิทยา จังหวัดพังงา

ที่มา การนําผลสมควายที่มีมากในบานของนักเรียนมาทําใหเกิดมูลคา โดยครูใหนักเรียนรูสึกภูมิใจ ที่ไดมีโอกาสชวยเหลือครู พาครูและเพื่อนๆ ไปศึกษาเกี่ยวกับผลสมควาย ซึ่งคนในทองถิ่นนําสมควาย มารับประทานสดและตากแหงเพือ่ ใสแกงแทนมะนาวและดับกลิน่ คาวปลา ครูและนักเรียนจึงรวมกันพัฒนา ผลสมควายเปนอาหารแปรรูป เชน ซอส แยม ไอศกรีม จึงเปนสิง่ แปลกใหมและทําใหเพิม่ มูลคาผลสมควาย ไดสูงขึ้น

เปาหมายการพัฒนานักเรียน สามารถใชวิกฤติเปนโอกาส ดึงนักเรียนหัวโจกใหเปนนักเรียนหัวหนา ดึงนักเรียนนักเลงใหเปน นักธุรกิจนอยมีคุณธรรมที่คิดเปน ทําได ขายเปน นักเรียนมีจิตสํานึกรักทองถิ่น มีความภาคภูมิใจในตนเอง รูคุณคาแหงตน

188

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ขอบเขตรายวิชา เป น รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ง30209 ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารแปรรู ป จากผลส ม ควายสู นั ก ธุ ร กิ จ น อ ย เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห 1.0 หนวยกิต

วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1. วิเคราะหหลักสูตรสถานศึกษาและจัดทําคําอธิบายรายวิชา 2. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรูโ ดยเนนผูเ รียนเปนสําคัญ มีการสาธิต การศึกษานอกสถานที่ ใชกระบวนการกลุม กระบวนการคิดริเริ่มสรางสรรค การจัดกิจกรรมสอนทฤษฎี ควบคูกับการปฏิบัติจริง โดยใชวัตถุดิบและอุปกรณ/เครื่องมือที่มีในทองถิ่น มีการบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม จริยธรรม และจิตสํานึกรักทองถิ่น โดยมุงใหผูเรียนสรางสรรคผลงาน มีการประยุกตใชเพื่อเปนแนวทางในการสรางรายไดกับตนเอง ครอบครัวและชุมชน การจัดกิจกรรม การเรียนรูมีการตรวจสอบ ปรับปรุง แกไขอยางตอเนื่อง

กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนของครู ไ ด จั ด กิ จ กรรมส ง เสริ ม การเรี ย นรู น อกห อ งเรี ย น โดยจัดตั้งบริษัทจําลองเพื่อใหนักเรียนมีประสบการณตรงในการปฏิบัติงานโครงงานธุรกิจ จัดหาชองทาง ในการนําสูการประกวดแขงขัน ไดแก งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน และการยกระดับรางวัลการแขงขัน นอกระบบ คือ โครงการกรุงไทยยุววาณิชของธนาคารกรุงไทย นอกจากนั้นยังหาชองทางจําหนาย ผลิตภัณฑเพื่อสรางโอกาสทางการศึกษาใหนักเรียนที่มีผลงานดีเดนไดมาตรฐาน เชน เขารวมโครงการ นั ก ธุ ร กิ จ น อ ยมี คุ ณ ธรรม นํ า สู เ ศรษฐกิ จ สร า งสรรค และจํ า หน า ยในงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย น ทั้งในระดับภาคและระดับประเทศ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

189


การวัดและประเมินผล มีการวัดและประเมินผลนักเรียนทั้ง 4 ดาน คือ 1. ดานความรู โดยใชแบบทดสอบกอนและหลังเรียน 2. ดานทักษะ ใชแบบสังเกตการณทํางาน แบบประเมินผลงานแบบอิงเกณฑ (Rubrics) และบันทึกคะแนนเปนรายบุคคล 3. ดานคุณลักษณะ ใชแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูรายกลุมและรายบุคคล 4. ดานสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ใชแบบสังเกตการทํางานและประเมินกระบวนการทํางาน

ผลที่เกิดกับนักเรียน 1. นั ก เรี ย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง กว า เกณฑ ที่ ก ลุ ม สาระการเรี ย นรู ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยีกําหนด คือ คาเฉลี่ยรอยละ 80 ขึ้นไป มีผลการเรียนวิชาโครงงานอาชีพ ระดับดีและดีมาก 2. นักเรียนทุกคนไดปฏิบัติงานและสงงานตามกําหนด 3. นักเรียนมีจิตสํานึกรักทองถิ่น 4. นักเรียนมีความภาคภูมิใจในตนเอง รูคุณคาแหงตน 5. นักเรียนมีประสบการณตรงจากการปฏิบัติและเกิดความรูที่คงทน 6. นักเรียนไดรับรางวัลดังนี้ รางวัลชนะเลิศการแปรรูปอาหาร ระดับภาคใต ดวยคะแนน 93 คะแนน ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคใต เปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับประเทศ รางวัลชนะเลิศการแปรรูปอาหาร ระดับประเทศ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 59 ปการศึกษา 2552 รางวัลชนะเลิศการแปรรูปอาหาร ระดับภาคใต ดวยคะแนน 90.67 คะแนน ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคใต เปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับประเทศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เหรียญทอง การแปรรูปอาหาร ระดับประเทศ ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 60 ปการศึกษา 2553

190

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 โครงงานอาชีพ ระดับภาคใต ดวยคะแนน 93.00 คะแนน ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคใต เปนตัวแทนเขาแขงขันในระดับประเทศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เหรียญทอง โครงงานอาชีพ ระดับประเทศ ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 60 ปการศึกษา 2553 ดวยคะแนน 93.00 คะแนน ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 โครงการกรุงไทย ยุววาณิช ครั้งที่ 9 ระดับประเทศ ไดรับโลและเงินรางวัล 350,000 บาท พรอมศึกษาดูงานตางประเทศ ได รั บ รางวั ล การบริ ห ารธุ ร กิ จ อย า งโปร ง ใส จากสํ า นั ก งานคณะกรรมการป อ งกั น และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เปนเงิน 30,000 บาท

การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา กําลังดําเนินการจดสิทธิบัตรกระบวนการผลิตซอส แยม และไอศกรีมเชอรี่เบทจากผลสมควาย และตราสินคา การออกแบบตราสินคา ตราสินคาใชรูปตนสมควายในวงกลมภายใตชื่อเรือนวังหมอแกง “วังหมอแกง” เปนชื่อหมูบานของนักเรียนที่มีตนสมควายมากและเปนชื่อตลาดนํ้าเค็มวังหมอแกง ซึ่งเปนแหลงทองเที่ยวของจังหวัดพังงา และเปนสถานที่จัดจําหนายผลิตภัณฑของนักเรียน สลากและบรรจุภัณฑ สวยหรู ใชสีมวงเปนสีหลัก เพราะเชื่อวาสีมวงเปนสีที่ใหความรูสึก สงางาม นาสนใจ มีคุณคาทางจิตใจ

การบรรลุตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลาง นักเรียนเรียนรูบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ง 1.1, ง 2.1, ง 3.1, ง 4.1 และตัวบงชี้ ที่กําหนดไว คือมีความรูความเขาใจและมีทักษะในการแปรรูปอาหารจากผลสมควาย ใชกระบวนการ ทําธุรกิจ และหลักเศรษฐกิจสรางสรรคในการผลิต จําหนายและออกแบบบรรจุภัณฑอาหารแปรรูป ไดอยางถูกตอง รายงานผลการดําเนินงานธุรกิจอาหารแปรรูปและนําเสนอผลงานได เปนนักธุรกิจนอย มีคุณธรรม ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น และกตัญู พูดจาไพเราะ มีนํ้าใจเอื้อเฟอใหกับเพื่อน มีนิสัย รักการทํางาน และมีทัศนคติที่ดีตออาชีพอิสระ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

191


บทสงทาย การจัดการเรียนรูในวิชาเลือกเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 นักเรียนมีความรูความสามารถ มีทักษะและประสบการณในการคิด สรางสรรค งานอาชี พ ซึ่ ง เป น ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น เห็ น คุ ณ ค า และประโยชน ข องงานอาชี พ ที่ ส ามารถเรี ย นรู ไ ด และเกิดความภาคภูมิใจในความสําเร็จที่ไดผลิตภัณฑอาหารแปรรูปจากผลสมควายในทองถิ่น นอกจากนี้ นักเรียนยังรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน สรางงานสรางรายไดระหวางเรียน และเปนความรวมมือ ระหวางโรงเรียนและภูมิปญญาทองถิ่นในชุมชนที่ใหความรวมมือถายทอดความรูและประสบการณ ประกอบกับครูผูสอนมีความใฝรู ศึกษาคนควา วิจัยพัฒนางานอยางตอเนื่อง จนไดผลิตภัณฑที่มีคุณคา มีประโยชน เปนที่ยอมรับของผูซื้อ และที่นาชื่นชมคือมีการคิดบรรจุภัณฑ สลาก ตราสินคาที่สวยหรู ใชสีมวงเปนสีหลัก เพราะเชื่อวาเปนสีที่ใหความรูสึกสงางาม นาสนใจ มีคุณคาทางจิตใจ

192

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


ผาบาติก ของ นางรัชดาพรรณ วัชพัฒน โรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี จังหวัดเพชรบุรี

ที่มา โรงเรี ย นชะอํ า คุ ณ หญิ ง เนื่ อ งบุ รี สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต 10 เปนโรงเรียนประจําอําเภอ ที่เปดทําการสอนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ตั้งอยูในพื้นที่ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี มีแหลงทองเที่ยวสําคัญ คือ ชายหาดชะอํา ซึ่งเปนที่รูจักของนักทองเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศมากมาย จึงมีแนวความคิดวาทําอยางไรถึงจะสรางงานอาชีพและสราง รายไดใหกับนักเรียน ทางกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ไดเล็งเห็นความสําคัญ ในการสรางงานอาชีพใหกับนักเรียน โดยมีความเห็นวาควรจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับบริบท และความตองการของชุมชน โดยเปดสอนในรายวิชาพืน้ ฐานวิชาโครงงานอาชีพ ในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 ตามหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี โดยมีเปาหมายที่ตองการพัฒนาศักยภาพ ผูเรียนเฉพาะดาน เพื่อใหนักเรียนมีทักษะและประสบการณในการเรียนดานโครงงานอาชีพเปนพิเศษ มากยิ่งขึ้น การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน เปนเทคนิคหนึ่งที่มีความจําเปนอยางยิ่งในการเรียน การสอนในยุคปฏิรปู การเรียนรู เนือ่ งจากเปดโอกาสใหนกั เรียนไดเรียนรูต ามความสนใจ นอกจากนีน้ กั เรียน ยังไดฝกการทํางานอยางเปนกระบวนการและเปนระบบ ตั้งแตการวางแผน การปฏิบัติงาน การตรวจสอบ และการพัฒนา ทําใหนักเรียนมีความรูความเขาใจสามารถสรางสรรคผลงานผาบาติกไดสวยงาม สามารถ จําหนาย เกิดรายไดระหวางเรียน และใชเปนแนวทางในการสรางอาชีพ พรอมทีจ่ ะกาวไปสูก ารเปลีย่ นแปลง ของโลกในอนาคต รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

193


เปาหมายการพัฒนานักเรียน ผลิตภัณฑผาบาติก เปนการสรางงานอาชีพและสรางรายไดใหกับนักเรียน ในระดับชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 6 โดยมีเปาหมายพัฒนาศักยภาพผูเรียน ใหมีทักษะและประสบการณในการเรียนดานโครงงาน อาชีพ นอกจากนี้นักเรียนยังไดฝกการทํางานอยางเปนกระบวนการและเปนระบบ ตั้งแตการวางแผน การปฏิบตั งิ าน การตรวจสอบและการพัฒนา ทําใหนกั เรียนมีความรูค วามเขาใจสามารถสรางสรรคผลงาน ผาบาติกได สามารถจําหนายเกิดรายไดระหวางเรียน และใชเปนแนวทางในการสรางอาชีพ

ขอบเขตรายวิชา เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานผาบาติกสไตลโมเดิรน เวลาเรียน 2 คาบ/สัปดาห กําหนดหนวยการเรียนรู 6 หนวย ดังนี้ 1. ความรูเกี่ยวกับอาชีพในทองถิ่น 2. นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค 3. ความหมาย ความสําคัญ หลักการและประเภทของโครงงาน 4. การเขียนโครงงาน 5. การปฏิบัติงานทําโครงงานอาชีพผาบาติก 6. การพัฒนาโครงงานสูอาชีพ

วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยเนนกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน ตามวงจร PDCA มีการ วางแผนการดําเนินงานอยางเปนระบบใหครบวงจรอยางตอเนื่อง การปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อพัฒนา ประสิทธิภาพ มีการบูรณาการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการทําโครงงาน การออกแบบสรางสรรค ผลงานดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร และการทํากิจกรรมตางๆ โดยใชเครื่องมือของ Microsoft Live@EDU และการใช Facebook ในการจําหนายผลิตภัณฑแบบออนไลน

194

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู การนํา ICT มาใชบูรณาการสูโครงงานอาชีพ โดยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการทํา โครงงาน การออกแบบลายผาดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร และการทํากิจกรรมตางๆ โดยใชเครื่องมือของ Microsoft Live@EDU และการใช Facebook ในการจําหนายผลิตภัณฑแบบออนไลน เพื่อพัฒนาสู โครงงานอาชีพ การใชเทคโนโลยี (โปรแกรม Adobe Photoshop CS5) มาชวยในการออกแบบลายผา

การใชเทคนิคการสไลดสี

การใชเทคนิคการสไลดสี การปาด และการสลัดเทียน

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

195


การวัดและประเมินผล มีการประเมินผลการดําเนินงานโครงงานทั้งกอน ระหวางและหลังการทําโครงงานตามวงจร PDCA มีการวัดความรูหลังจบหนวยการเรียนรูโดยใชแบบทดสอบ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ของนักเรียน ประเมินสมรรถนะของนักเรียน ประเมินเจตคติและความพึงพอใจ

ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นักเรียนสามารถจัดทําโครงงานอาชีพโดยนํา ICT มาบูรณาการในการจัดทําโครงงานอาชีพ ไดสําเร็จ สามารถจําหนายกอใหเกิดรายไดระหวางเรียน และใชเปนแนวทางในการประกอบอาชีพได นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผานเกณฑการประเมินรอยละ 80 ทุกคน นักเรียนมีเจตคติที่ดี ตองานอาชีพและเห็นคุณคาของงานอาชีพสุจริต

การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา ไดจดลิขสิทธิ์ลายผาบาติกสไตลโมเดิรนแลว 4 รายการ และมีการออกแบบเครื่องหมายการคา ที่ไดดําเนินการจดทะเบียนแลว

การบรรลุตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลาง นักเรียนเรียนรูบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ง 1.1, ง 2.1, ง 3.1, ง 4.1 และตัวบงชี้ ที่ กํ า หนดไว คื อ นั ก เรี ย นมี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมของนั ก ธุ ร กิ จ น อ ย และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค ของสถานศึ ก ษา นั ก เรี ย นสามารถนํ า ความรู ไ ปเผยแพร กั บ ชุ ม ชน และช ว ยกระตุ น ชุ ม ชนให ส นใจ ดานการสรางอาชีพในชุมชน

บทสงทาย การจัดการเรียนรูรูปแบบโครงงาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ทําใหนักเรียนมีทักษะชีวิตและทักษะ อาชีพ ไดแก การเปนผูนํา การรับผิดชอบ การปฏิสัมพันธทางสังคม การชี้นําตนเอง และการปรับตัว มีทักษะการเรียนรูและการใชนวัตกรรม ไดแก การรวมมือ การสื่อสาร การคิดวิเคราะห และการแกปญหา และมีทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ไดแก ทักษะการใช ICT เพื่อการคนควา

196

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


งานศิลปะจาก

ของ นายสมภพ เวียงวิเศษ โรงเรียนบานโสกแต จังหวัดขอนแกน

ที่มา จากผลงานการประเมิน สมศ. ของโรงเรียนบานโสกแต สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ขอนแกน เขต 1 พบวา มาตรฐานที่ 5 การคิดวิเคราะหของนักเรียนควรไดรับการพัฒนา ในบทบาท ของครูผูสอน คือ การนําขอเสนอแนะของ สมศ. สูการปฏิบัตินําสูการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนานักเรียน ใหมที กั ษะการคิดวิเคราะห โดยจัดทํารายวิชาเพิม่ เติมกลุม สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ รหัสวิชา ศ22201-ศ22202

เปาหมายการพัฒนานักเรียน การพัฒนาการเรียนรูผ า นกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห สาระวิชาศิลปะ ชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ 2 ใหสามารถ 1. ศึกษา สืบคน ความสําคัญ คุณคาและประโยชนของการประดิษฐงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ 2. การออกแบบสรางสรรค การประดิษฐ การเลือกใชเครือ่ งมือ วัสดุ/อุปกรณ และการดูแลรักษา 3. มี ค วามรู สู ก ารปฏิ บั ติ ด า นทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา การตลาด การจั ด ทํ า บั ญ ชี รั บ -จ า ย การกําหนดราคาตนทุน กําไร ราคาจําหนายและการจําหนายอยางมีคุณธรรมหลัก 5 ประการ คือ ซื่อสัตย ขยัน อดทน มุงมั่น กตัญู รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

197


ขอบเขตรายวิชา ไดจัดทําหนวยการเรียนในรายวิชาเพิ่มเติมงานประดิษฐศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ ประกอบดวย 1. คุณคาของผลิตภัณฑ 2. สรางผลิตภัณฑสูการเปนนักธุรกิจนอย 3. หลักการสรางผลิตภัณฑศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ 4. การสรางผลิตภัณฑศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ 5. การเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ 6. ทรัพยสินทางปญญา 7. จําหนายและเผยแพรผลงาน

วิธีการจัดการเรียนรู ประกอบดวย 1. สํารวจวัสดุธรรมชาติในทองถิ่น เชน เมล็ดพืช เปลือกไม ที่มีลักษณะเบา แข็งแรง และมี พื้นผิวสวยงาม และเลือกเก็บสิ่งที่ตองการนํามาสรางสรรคชิ้นงาน 2. ออกแบบชิ้ น งานแบบสร า งสรรค โ ดยใช เ ศษวั ส ดุ ที่ เ ก็ บ ได เ ป น ทุ น ฐานคิ ด เพื่ อ สร า งสรรค เปนผลงานศิลปะตามทฤษฎีการออกแบบ 3. การสรางสรรคงานประดิษฐ โดยใชฐานคิดเปนรูปสัตวมงคลตางๆ

198

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


4. นําผลงานประดิษฐทไี่ ด ใหเพือ่ น ครู ผูป กครอง วิพากษผลงานเพือ่ ปรับปรุงชิน้ งานใหเกิดคุณคา มีความสวยงาม คงทน โดยใชหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 5. สรุปองคความรูที่ไดจากการผลิตผลงานและนวัตกรรม

การวัดผลและประเมินผล ดําเนินการดังนี้ 1. การสั ง เกตจากการปฏิ บั ติ จ ริ ง ตั้ ง แต ก ารเลื อ กเก็ บ เศษวั ส ดุ ธ รรมชาติ การออกแบบ การสรางสรรคงานศิลปะ 2. การประเมินจากชิ้นงาน โดยเพื่อน ครู และผูปกครอง 3. การสรุปองคความรู

การสงเสริมการเรียนรู การจัดกิจกรรมประกอบดวย 1. 2. 3. 4. 5.

การสรางความตระหนักและเห็นคุณคาของวัสดุทองถิ่น การศึกษาธรรมชาติ การสรางจินตนาการ และความภาคภูมิใจในทองถิ่น การคิดเชื่อมโยงภาพในจินตนาการกับวัสดุที่มีอยูอยางจํากัดในทองถิ่น การใชเวลาวางใหเกิดประโยชน การใชวันหยุดอยางมีคุณคา การคิดวิเคราะห เพื่อเลือกสรรและเลือกเก็บวัสดุที่เหลือใชมาเพิ่มมูลคา

ผลที่เกิดกับนักเรียน 1. นักเรียนมีความรู ความเขาใจ ความหมาย ความสําคัญ กระบวนการคิด การจําหนายสินคา นักธุรกิจนอยมีคุณธรรม และเรื่องทรัพยสินทางปญญา 2. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการและวิธีการสรางผลงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ 3. นักเรียนมีการเลือกใชวสั ดุ อุปกรณ และเครือ่ งมือในการสรางผลงานศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ ไดอยางเหมาะสม

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

199


4. การสรางสรรคผลิตภัณฑศิลปะจากวัสดุธรรมชาติและการพัฒนาตอยอด 5. การคิ ด ราคา ต น ทุ น กํ า ไร กํ า หนดราคาจํ า หน า ย การหาตลาด การส ง เสริ ม การขาย และการทําบัญชีรับ-จาย 6. นักเรียนใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และมีรายไดระหวางเรียน

การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา มีการเรียนรูเรื่องทรัพยสินทางปญญา แตยังไมไดจดลิขสิทธิ์

การบรรลุตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู 1. นักเรียนมีความเขาใจการทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ กระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน 2. นั ก เรี ย นสามารถออกแบบอย า งสร า งสรรค ต ามวั ส ดุ ที่ มี อ ยู อ ย า งจํ า กั ด ให เ กิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่สวยงามและมีประโยชนใชสอย 3. นักเรียนมีความรูและทักษะการใชวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณในการสรางสรรคงาน 4. นักเรียนมีทกั ษะและประสบการณพนื้ ฐานอาชีพอยางมีคณ ุ ธรรมและมีเจตคติทดี่ ตี อ งานอาชีพ

200

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


บทสงทาย การพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน เปนทักษะสําคัญในการเรียนรูที่โรงเรียนสวนใหญยังขาด การจั ด กิ จ กรรมส ง เสริ ม การพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด โรงเรี ย นบ า นโสกแต ส ามารถจั ด กิ จ กรรมกระตุ น และสงเสริมการคิดวิเคราะหของนักเรียน โดยใชการบูรณาการกลุมสาระการเรียนรูศิลปะกับกลุมสาระ การเรี ย นรู ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี ใช แ หล ง เรี ย นรู ใ นชุ ม ชนเป น สถานที่ ศึ ก ษาและฝ ก ปฏิ บั ติ ที่ เ ป น ธรรมชาติ ข องโลกที่ ส วยงาม ทํ า ให นั ก เรี ย นเกิ ด จิ น ตนาการในการสร า งสรรค ง านผ า นศิ ล ปะ โดยการสรางมูลคาเพิ่มจากวัสดุเหลือใชในทองถิ่น เปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน เสริมรายได ระหวางเรียน อีกทั้งเปนการสรางลักษณะนิสัยที่พึงประสงคในการสรางงานของนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

201


ผลิตภัณฑเสื่อกก ของ นางเกษร บานชล โรงเรียนบานดงสําราญ จังหวัดยโสธร

ที่มา งานหัตถกรรมเปนงานที่ตองใชฝมือในการประดิษฐ บางคนจะมีพรสวรรคติดตัวมา บางคน มีความพยายามสืบคน เสาะแสวงหา อาจารยเกษร บานชล เปนคนหนึง่ ทีม่ คี วามพยายาม ไมยอ ทอในการสอน งานฝมอื หรืองานอาชีพ เริม่ จากงานทอเสือ่ กก ทอผาพืน้ บานและการทําผามัดยอม จนกระทัง่ ไดแรงบันดาลใจ จากคุณรัตนา ศรีจันทร มาขายฟมแบบใหม ทอเปนลวดลายขิดที่สวยงาม และไดเรียนรูเทคนิควิธี การทอเสื่อกกลายขิด ไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารโรงเรียน ผูปกครอง และนักเรียนที่สนใจ และ มีความสามารถพิเศษ มีความมุมานะ ฝกฝนการทอเสื่อกกลายขิดจนชํานาญ เกิดผลงานที่สวยงาม ไมเหมือนใคร ประสบความสําเร็จในระดับศูนยเครือขาย ระดับเขตพื้นที่ และระดับภูมิภาค จนกระทั่ง มี โ อกาสได รั บ การคั ด เลื อ กให ม าสาธิ ต และจํ า หน า ยในงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย นระดั บ ประเทศ และไดรับการพัฒนาองคความรูตางๆ เพื่อเปนการอนุรักษสืบสานภูมิปญญาไว จึงนํามาจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเติมการทอเสื่อกกลายขิดในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6

เปาหมายการพัฒนานักเรียน 1. นักเรียนมีความรูในการเลือกวัตถุดิบมาใชในการทอเสื่อกกลายขิดได 2. สามารถออกแบบผลิตภัณฑตางๆ ไดตามเปาประสงค

202

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


3. ไดสืบสานและอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น 4. มีรายไดระหวางเรียนเปนการชวยเหลือครอบครัว 5. มีคุณลักษณะใฝรู ใฝเรียน สามารถแกปญหาและแสวงหาความรูไดดวยตนเอง มีทักษะ กระบวนการคิด มีกระบวนการในการทํางาน มีความสามารถในการเปนผูนําและผูตามในการทํางาน มีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่โรงเรียนกําหนด 6. มีสวนรวมในการทํากิจกรรมและมีปฏิสมั พันธที่ดีตอเพื่อนในกลุมของนักเรียน 7. ไดแสดงออกอยางสรางสรรค กลาคิด กลาทํา กลาพูด 8. เกิดการเรียนรูจากการปฏิบัติการทําโครงงาน สามารถพัฒนาตนเองในดานตางๆ มากมาย โดยเฉพาะนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรม 8 ประการมาใชในกิจกรรมการเรียนรู อีกทั้งเกิดประโยชนตอชุมชน สังคม และหนวยงานภายนอกอยางมากมาย

ขอบเขตรายวิชา จากเดิมจัดเปนกลุมสนใจ มีนักเรียนสมัครเขารวมตามความสนใจ 15 คน ไมมีการเรียนรู ทางวิชาการ ผลงานยังไมมีคุณภาพเทาที่ควร จึงไดพัฒนาเปนรายวิชาเพิ่มเติม เรื่องการทอเสื่อกกลายขิด เฉพาะชั้นประถมศึกษาปที่ 6 รหัสวิชา ง10201 ใชเวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห รวม 40 ชั่วโมง/ป ในปการศึกษา 2555 ทางโรงเรียนไดขยายการจัดการเรียนรูตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 โดยแบงเนื้อหาการเรียนรูตามวัย และศักยภาพของนักเรียน

วิธีการจัดการเรียนรู ครูจดั การเรียนรูใ นชัว่ โมงเรียนรายวิชาเพิม่ เติม เรือ่ งการทอเสือ่ กกลายขิด มีการเชิญครูภมู ปิ ญ  ญา สาขาการทอเสื่อกกลายขิดมาชวยสอนเสริมเติมเต็ม เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง เนนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง

กิจกรรมเสริมการเรียนรู 1. การเรียนรูสาระเพิ่มเติม รายวิชาการทอเสื่อกกลายขิด มีเวลาเรียนนอย ผลงานจึงไมปรากฏ ตองจัดกิจกรรมการเรียนรู “นอกเวลาราชการ” คือวันหยุดราชการ รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

203


2. มีการฝกทักษะเพื่อนํานักเรียนไปแขงขัน “โครงงานอาชีพ” ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน 3. นําผลงานนักเรียนไปจัดนิทรรศการในงานตางๆ รวมกับทองถิ่น เชน งานกาชาดจังหวัด งานระดับเขตพื้นที่ และงานอื่นๆ ตามโอกาส 4. มีการประชาสัมพันธเพื่อสงเสริมการเรียนรูทางสื่อตางๆ เชน แผนพับ นิทรรศการ เว็บไซต Facebook

การวัดผลและประเมินผล การวัดผลและประเมินผล รายวิชาเพิ่มเติม การทอเสื่อกกลายขิด ใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การสังเกต สอบถาม สัมภาษณ ทดสอบ โดยใชแบบประเมินตามความเหมาะสม เชน แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางาน แบบประเมินผลงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค เปนตน

ผลที่เกิดจากการเรียนรู นักเรียน มีความรูความเขาใจเทคนิควิธีการทอเสื่อกก กลาคิด กลาแสดงออก มีประสบการณ ในการทอเสื่อ การจําหนายสินคา เกิดความภาคภูมิใจในตนเองและภูมิปญญาทองถิ่น สรางรายได ระหวางเรียนและไดรับรางวัลในระดับตางๆ ครู มีหลักสูตรทองถิ่น เอกสารประกอบการเรียนการสอน แผนการจัดการเรียนรูที่มีคุณภาพ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและชุมชน มีความภาคภูมิใจในตนเอง และไดรับการชื่นชม ยกยอง มอบรางวัลแหงความภาคภูมิใจจากหนวยงานระดับตางๆ โรงเรียน ไดรับการยอมรับจากชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ เปนแหลงเรียนรู ขยายผล สูเครือขายและชุมชน เปนศูนยแกนนําขยายเครือขายโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจ สรางสรรค ชุมชน มีความรูเรื่องการยอมสี การทอเสื่อกกมากยิ่งขึ้น สามารถพัฒนาเปนอาชีพเสริม สรางรายไดชวยเหลือครอบครัวได มีการรวมกลุมแมบานเพื่อการพัฒนาและจัดจําหนาย เกิดความ ภาคภูมิใจในทองถิ่นของตนเอง นํามาซึ่งสังคมแหงความสุข

204

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


การจัดการดานทรัพยสินทางปญญา ผลงานยังไมมีการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา เนื่องจากปจจัยหลายอยาง

การบรรลุถึงตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู นักเรียนเกิดการเรียนรูบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเติม การทอเสื่อกกลายขิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

บทสงทาย การจัดการเรียนรูรายวิชาเพิ่มเติม งานทอเสื่อกกลายขิด มีปญหาอุปสรรคตางๆ มากมาย เชน นักเรียนมีความสนใจในระยะสั้น ไมชอบงานที่ซํ้าซาก ชอบเลนมากกวา ครูตองใชวิธีการสรางแรงจูงใจ โดยยกตัวอยางแหลงประกอบการที่ประสบความสําเร็จ กระตุนใหเกิดการอยากรูอยากเห็น และจะพาไป ศึกษาดูงาน ถาทํางานเสร็จ เปนตน ในดานผูปกครองไมชอบใจที่ครูใหลูกหลานมาเรียนทอเสื่อ จึงได บันทึกเสนอผูบริหารขอประชุมชี้แจงผูปกครองกอนทําการสอน ขอเวลาและโอกาสใหนักเรียนไดแสดง ฝ มื อ ก อ น จนกระทั่ ง นั ก เรี ย นสามารถสร า งผลงานเป น ที่ ป ระจั ก ษ สร า งชื่ อ เสี ย งและสร า งรายได แกครอบครัว ผูปกครองจึงใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ สิ่งสําคัญก็คือตัวครูที่มีความมานะ มุงมั่น ทุมเท เสียสละ ไมยอทอตอปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

205



คณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

207


คณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ ที่ปรึกษา 1. นายกมล รอดคลาย 2. นายพิธาน พื้นทอง 3. นางพนิดา วิชัยดิษฐ

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา รักษาการในตําแหนงที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบเครือขาย และการมีสวนรวม ผูอํานวยการกลุมโครงการพิเศษ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

คณะทํางาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต นางสาวประภาพรรณ เส็งวงศ ดร.สุวิมล พุกประยูร นางวรรณี ชาญชิต นายบุญพรอม แสนบุญ นางธนิดา ตะรุสะดํารงเดช นางจารุวรรณ แกนทรัพย นางเรณู เมืองสุข นางรุงอรุณ หัสชู

10. นางสาวชิตยาภรณ หงษทอง

ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ศึกษานิเทศกชาํ นาญการพิเศษ สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

บรรณาธิการกิจ 1. นางสาววันเพ็ญ สุจิปุตโต 2. นางสาวชิตยาภรณ หงษทอง

208

รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ


รายงานผลการดําเนินงานโครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

รายงานผลการดําเนินงาน

โครงการนักธุรกิจนอยมีคุณธรรม นําสูเศรษฐกิจสรางสรรค

ระยะที่ 1 (2553-2556) : เสนทางการพัฒนาสูความสําเร็จ

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.