กฏหมายก่อสร้าง

Page 1



ลักษณะรายวิชา รหัส 2106-2108 ชื่อวิชา กฎหมายก่อสร้าง หน่วยกิต 2 หน่วยกิต

จานวน 2 ชัว่ โมง

เวลาเรี ยนต่อภาค 36 ชัว่ โมง

รายวิชาตามหลักสู ตร ปรับคาอธิบายรายวิชาเป็ นสมรรถนะ จุดประสงค์ รายวิชา สมรรถนะรายวิชา 1. รู้ พระราชบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ 1. สามารถอธิบาย พระราชบัญญัติ เทศ กฎกระทรวง และกฎหมายแรงงานที่ บัญญัติ ข้อบัญญัติ กฎกระทรวง กฎหมาย เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง แรงงานที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง 2. เข้าใจการทาสัญญาก่อสร้างและเอกสาร 2. สามารถอธิ บายขั้นตอนทาสัญญาก่อสร้าง ประกอบสัญญา และเอกสารประกอบสัญญาได้ 3. เข้าใจข้อกาหนดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ ก่อสร้าง 4. เห็นความสาคัญของวิชากฎหมาย ก่อสร้างเพื่อนาไปประยุกต์ใช้จริ ง คาอธิบายรายวิชา อธิบายพระราชบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ กฎกระทรวง และกฎหมาย แรงงานที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง รวมถึง อธิ บายขั้นตอนการทาสัญญาก่อสร้าง และ เอกสารประกอบสัญญาได้

ชั่วโมง


ตารางการวิเคราะห์ หลักสู ตร ทางสายกลาง 2 เงือ่ นไข ความรู้ คุณธรรม ระมัดระวัง

ซื่ อสัตย์สุจริ ต

รวม

รอบคอบ

ขยันอดทน

มีสติปัญญา

แบ่งปั น

ลาดับความสาคัญ

รวม ลาดับความสาคัญ

รอบรู ้

1) อธิบาย พระราชบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ กฎกระทรวง และกฎหมาย แรงงานที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง 2) เข้าใจหลักการทา สัญญาก่อสร้างและ เอกสารประกอบสัญญา 3) เข้าใจข้อกาหนดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ ก่อสร้าง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สัมพันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที ตลอดจนเห็น ความสาคัญของวิชากฎหมายก่อสร้างเพื่อ นาไปประยุกต์ใช้จริ ง

มีภูมิคุม้ กัน

จุดประสงค์ การสอน

พอประมาณ มีเหตุผล

3 ห่ วง

-

/

-

/

/

/

-

-

/

/

6

2

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4

2

-

/

-

/

/

/

-

/

/

-

6

1

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6

1

- 3 5 1

3

3 2

4 1

4 4

1 5

1 5

4 1

2 5


กาหนดการสอน หน่ วยที่ 1 2 3 4 5 6 7

ชื่อหน่ วย/รายการสอน บทนา วัตถุประสงค์ และ เกณฑ์การวัดผล กฎกระทรวงฉบับที่ 4 กฎกระทรวงฉบับที่ 39 พระราชบัญญัติ เทศบัญญัติผงั เมือง สัญญาก่อสร้าง ประเภทสัญญาจ้างเหมา

สั ปดาห์ ที่

ชั่วโมง

1 2 5 8 10 12 15

2 6 6 4 4 6 4



เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ความหมายของกฎกระทรวง กฎกระทรวง คือกฎหมายที่รัฐมนตรี ของแต่ละกระทรวงเป็ นผูอ้ อก โดยอาศัยอานาจในบทบัญญัติใน กฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง เพื่อวางระเบียบปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมาย แต่ท้ งั นี้จะต้องอยูภ่ ายในอานาจที่ พระราชบัญญัติได้ให้อานาจไว้ ตัวอย่างกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายก่อสร้าง เช่น - กฎกระทรวง ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 - กฎกระทรวง ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการประกอบวิชาชีพก่อสร้าง พ.ศ.2522 ตัวอย่างรายละเอียดของกฎกระทรวง ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 บางฉบับที่จะยกมามี ดังนี้  กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522  กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522  กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

(ข) อู่เรื อ คานเรื อ หรื อท่าจอดเรื อ สาหรับเรื อขนาดใหญ่เกิน 100 ตันกรอส (ค) อาคารหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสู งเกิน 15.00 เมตร หรื อสะพานหรื ออาคารหรื อโครงหลังคาช่วงหนึ่งเกิน 10.00 เมตร หรื อมีลกั ษณะโครงสร้างที่อาจก่อให้เกิดภยันตรายต่อสาธารณะชนได้ (ง) อาคารที่เก็บวัสดุไวไฟ วัสดุระเบิด หรื อวัสดุกระจายแพร่ พิษหรื อรังสี ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ข้อ ๒ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน เคลื่อนย้าย ใช้หรื อเปลี่ยนการใช้อาคาร ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ หมวด ๑ การก่อสร้ างอาคาร ข้อ ๓ ในการก่อสร้างอาคาร ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตหรื อผูด้ าเนินการต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามเงื่อนไขแห่งการ อนุญาต และต้องมีผคู ้ วบคุมงานตามที่ระบุชื่อไว้ในใบอนุญาตอยู่ ณ ที่ทาการก่อสร้าง ถ้าผูค้ าบคุมงานไม่อยู่ ต้องตั้ง ตัวแทนไว้ ทั้งนี้ไม่ทาให้ผคู ้ วบคุมงานหลุดพ้นความรับผิด การสอบถามข้อเท็จจริ งหรื อคาสั่งของนายช่างหรื อนายตรวจที่ ได้สอบถามหรื อสั่งแก่ผคู ้ วบคุมงานหรื อตัวแทนนั้น ให้ถือว่าได้สอบถามหรื อสั่งแก่ผไู ้ ด้รับใบอนุญาตหรื อผูด้ าเนินการ แล้ว ข้อ ๔ ในการก่อสร้างอาคารอยูอ่ าศัยสู งเกินสองชั้น ตึกแถว อาคารพาณิ ชย์ โรงงานอาคารสาธารณะหรื ออาคาร พิเศษ ก่อนเริ่ มลงมือก่อสร้าง ผูด้ าเนินกดารต้องติดป้ ายขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑.๑๐ เมตร ในบริ เวณที่ได้รับอนุญาตให้ ก่อสร้างอาคารและสามารถเห็นได้โดยง่ายตลอดเวลาที่ก่อสร้าง โดยแสดงข้อความดังต่อไปนี้


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

การก่อสร้างอาคารชนิด................................................................................................................ จานวน.................................เพื่อใช้เป็ น......................................................................................... ใบอนุญาตเลขที่........................ลงวันที่.......................................................................................... กาหนดแล้วเสร็ จในวันที่.......................................................................................................... ....... เจ้าของอาคาร........................................................................................................................... ....... ผูด้ าเนินการ............................................................................................................................ ......... ผูค้ วบคุมงาน................................................เลขทะเบียน ก.ว. ....................................................... ผูค้ วบคุมงาน................................................เลขทะเบียน ก.ส. ....................................................... ข้อ ๕ ในการก่อสร้างอาคารที่ติดต่อกับที่สาธารณะ ผูด้ าเนินการจะก่อสร้างได้เมื่อได้จดั ให้มีสิ่งป้ องกันวัสดุร่วง หล่นที่อาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินแล้ว ข้อ ๖ ผูด้ าเนินการต้องตรวจสอบและบารุ งรักษาเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการก่อสร้างให้อยูใ่ นสภาพที่เหมาะสม และปลอดภัยกับการใช้งานอยูเ่ สมอ ในกรณี ที่ผคู ้ วบคุมงานเห็นว่าเครื่ องมือเครื่ องใช้หรื อวิธีการก่อสร้างที่ใช้ดาเนินการอยูอ่ าจก่อให้เกิดภยันตราย ต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ผูค้ วบคุมงานต้องแจ้งให้ผดู ้ าเนินการทราบเพื่อจัดการแก้ไขหรื อเปลี่ยนแปลง เครื่ องมือเครื่ องใช้หรื อวิธีการก่อสร้างให้อยูใ่ นสภาพที่เหมาะสมและปลอดภัย ข้อ ๗ ผูด้ าเนินการจะต้องไม่กระทาการใด ๆ อันอาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ในกรณี ที่ผดู ้ าเนินการได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าพนักงานท้องถิ่นให้ติดตั้ง กอง หรื อเก็บเครื่ องมือเครื่ องใช้ วัสดุ ก่อสร้าง หรื อชิ้นส่ วนโครงสร้างในที่สาธารณะเป็ นการชัว่ คราว ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีการป้ องกันภยันตรายที่อาจเกิด ต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินและติดตั้งไฟให้มีแสงสว่างเพียงพอในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ ขึ้นด้วย ข้อ ๘ วัสดุที่ใช้ก่อสร้างอาคารที่เกี่ยวกับการรับน้ าหนัก ความต้านทาน ความคงทนหรื อความปลอดภัย ต้องมี ลักษณะหรื อคุณสมบัติตามที่กาหนดในแบบแปลน รายการประกอบแบบแปลนและรายการคานวณที่ได้รับอนุญาต ในกรณี ที่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าจะมีการใช้วสั ดุที่ไม่ถูกต้องหรื อมีลกั ษณะและคุณสมบัติต่ากว่าที่กาหนดไว้ ให้ ผูใ้ ดรับใบอนุญาต ผูด้ าเนินการ หรื อผูค้ วบคุมงาน ส่ งวัสดุก่อสร้างในปริ มาณที่สมควรและโดยไม่คิดมูลค่าให้นายช่าง ตรวจสอบต่อไป ข้อ ๙ การทาฐานรากของอาคารโดยใช้เสาเข็มด้วยการเจาะ กด หรื อตอก และการขุดดิน ผูด้ าเนินการจะกระทา ได้เฉพาะในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ ึนถึงพระอาทิตย์ตก ถ้าจะกระทาในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ข้ ึน ต้องได้รับอนุญาตเป็ นหนังสื อจากนายช่าง ข้อ ๑๐ ในการก่อสร้างอาคารที่มีความสู งตั้งแต่ ๑๐.๐๐ เมตร ขึ้นไปที่มีระยะราบวัดจากแนวอาคารด้านนอกถึง ที่สาธารณะ หรื อที่ดินต่างเจ้าของหรื อผูค้ รอบครองน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของความสู งของอาคารนั้นผูไ้ ด้รับใบอนุญาตหรื อ


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีร้ ัวชัว่ คราวสู งไม่นอ้ ยกว่า ๒.๐๐ เมตร ปิ ดกั้นตามแนวเขตที่ติดต่อกับที่สาธารณะหรื อที่ดินต่าง เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองและมีสิ่งป้ องกันวัสดุร่วงหล่นที่อาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินด้วย ในกรณี ที่ก่อสร้างอาคารตามวรรคหนึ่งชิดที่ดินตางเจ้าของหรื อผูค้ รอบครอง หากได้รับความยินยอมเป็ น หนังสื อจากเจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่ดินนั้นว่าไม่ตอ้ งจัดให้มีร้ ัวชัว่ คราว ผูร้ ับใบอนุญาตหรื อผูด้ าเนินการไม่ตอ้ งจัดให้มี รั้วชัว่ คราวดังกล่าว เมื่อก่อสร้างอาคารแล้วเสร็ จ ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตหรื อผูด้ าเนินการต้องรื้ อถอนรั้วชัว่ คราวและสิ่ งป้ องกันวัสดุร่วง หล่นนั้นโดยพลัน ข้อ ๑๑ ในระหว่างการก่อสร้างอาคาร ผูด้ าเนินการต้องตรวจสอบความแข็งแรงและความปลอดภัยของนัง่ ร้านที่ สร้างขึ้นเป็ นประจา โดยบันทึกผลการตรวจสอบและลงลายมือชื่อไว้ทุกเดือน เก็บไว้ ณ สถานที่ก่อสร้าง เพื่อให้นายช่าง หรื อนายตรวจตรวจดูได้ การสร้างนัง่ ร้านต้องอยูภ่ ายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (ก) นัง่ ร้านที่ใช้สาหรับการก่อสร้างอาคารที่สูงเกินห้าชั้นหรื อมีความสู งเกิน ๒๑.๐๐ เมตร ผูด้ าเนินการต้องยืน่ แผนผังบริ เวณ แบบแปลน และรายการประกอบแบบแปลนของนัง่ ร้านซึ่ งออกแบบคานวณโดยผูไ้ ด้รับใบอนุญาตให้เป็ น ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรมต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น เพื่อเป็ นหลักฐานก่อน จึงจะสร้างนัง่ ร้านดังกล่าวได้ (ข) นัง่ ร้านที่สร้างด้วยโลหะรวมทั้งฐานรองรับนัง่ ร้านต้องรับน้ าหนักได้ไม่นอ้ ยกว่าสองเท่าของน้ าหนัก บรรทุกสู งสุ ดที่บรรทุกบนนัง่ ร้านนั้น และไม่นอ้ ยกว่าสี่ เท่าสาหรับนัง่ ร้านที่สร้างด้วยไม้ ข้อ ๑๒ ก่อนเริ่ มลงมือก่อสร้างอาคาร ผูด้ าเนินการต้องสารวจรายละเอียด ตาแหน่งความลึก และขนาดของ โครงสร้างใต้ดิน ฐานรากของอาคารข้างเคียง หรื อสิ่ งก่อสร้างอื่น ๆ เช่น ท่อประปา สายเคเบิล เป็ นต้น และวางมาตรการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อป้ องกันมิให้เกิดภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกายหรื อทรัพย์สิน ข้อ ๑๓ เมื่อมีการขุดดินในบริ เวณที่ติดต่อกับที่สาธารณะหรื อในที่สาธารณะผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีสิ่งกันตก หรื อราวกั้นรอบบริ เวณนั้น และติดตั้งป้ ายเตือนอันตรายเพื่อความปลอดภัยของประชาชน รวมทั้งติดตั้งไฟให้มีแสงสว่าง เพียงพอหรื อไฟสัญญาณสี แดงกระพริ บเตือนอันตรายจานวนพอสมควรในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ข้ ึน ด้วย ข้อ ๑๔ เมื่อมีการขุดดินในบริ เวณที่ใกล้หรื อชิดอาคาร ถนนหรื อกาแพง ลึกจนอาจเป็ นอันตรายแก่อาคาร ถนน หรื อกาแพงนั้น ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีค้ ายัน เข็มพืด หรื อฐานรากเสริ มตามความจาเป็ น เพื่อความปลอดภัยและต้อง ตรวจสอบแก้ไขค้ ายัน เข็มพืดและฐานรากดังกล่าวให้มีสภาพมัน่ คงและปลอดภัยอยูเ่ สมอ ข้อ ๑๕ เมื่อมีการขุดดินในบริ เวณที่ใกล้หรื อติดต่อกับที่สาธารณะห้ามผูด้ าเนินการกองดินบนที่สาธารณะและ ขุดเซาะดินล้ าเขตที่สาธารณะนั้น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็ นหนังสื อจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อ ๑๖ การกองวัสดุ เช่น หิ น ทราย หรื อดิน เป็ นต้น ในบริ เวณที่ใกล้หรื อชิดขอบบ่อที่ชารุ ด ผูด้ าเนินการต้อง กองห่างจากขอบบ่อพอสมควร เพื่อป้ องกันมิให้ผนังบ่อเสี ยหายและมิให้วสั ดุร่วงหล่นที่จะเป็ นอันตรายแก่ผขู ้ ดุ ได้


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ข้อ ๑๗ ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีหมวกแข็ง ภายในหมวกต้องมีรองในหมวกที่ทาด้วยหนัง พลาสติก ผ้า หรื อ วัสดุอื่น เพื่อป้ องกันภยันตรายต่อศรี ษะให้แก่ผซู ้ ่ ึ งได้รับอนุญาตให้เข้าไปในบริ เวณที่ก่อสร้างอาคาร ข้อ ๑๘ ห้ามผูด้ าเนินการนาเครื่ องมือที่เป็ นสื่ อไฟฟ้ าไปใช้ปฏิบตั ิงานใกล้สายไฟฟ้ าแรงสู งหรื ออุปกรณ์ ไฟฟ้ าแรงสู ง เว้นแต่จะได้กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (ก) มีแผงฉนวนกั้นระหว่างส่ วนที่มีส่วนที่มีกระแสไฟฟ้ าแรงสู งกับเครื่ องมือนั้น (ข) เครื่ องมือนั้นได้ต่อสายดินไว้เรี ยบร้อยแล้ว (ค) สายไฟฟ้ าแรงสู งหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าแรงสู งนั้นได้หุม้ ฉนวนอย่างดีแล้ว (ง) ได้ตดั กระแสไฟฟ้ าออกจากสายไฟฟ้ าแรงสู งหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าแรงสู งนั้นแล้ว ข้อ ๑๙ ผูด้ าเนินการต้องใช้โซ่ เชือก ลวดสะลิง รอกที่ใช้งาน ปั้ นจัน่ หรื อลิฟท์ส่งของที่มีสภาพแข็งแรงและมี ขนาดพอที่จะใช้ในการยก การวาง และยกน้ าหนักสิ่ งขอบงให้ลอยตัวอยูจ่ ุดหนึ่งจุดใดได้โดยปลอดภัย ข้อ ๒๐ เมื่อหยุดการใช้ป้ ั นจัน่ หรื อลิฟท์ส่งของประจาวัน ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีการป้ องกันมิให้ป้ ั นจัน่ หรื อ ลิฟท์ส่งของนั้นเลื่อน ล้ม หรื อหมุน อันอาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ข้อ ๒๑ ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีผคู้ วบคุมที่มีความชานาญควบคุมการใช้เครื่ องมือกล เครื่ องกลจักร หรื อ เครื่ องจักรกล และต้องตรวจสอบและบารุ งรักษาให้อยูใ่ นสภาพที่เหมาะสมและปลอดภัยกับการใช้อยูเ่ สมอ ข้อ ๒๑ ทวิ ในกรณี ที่มีการติดตั้งลูกกรง เหล็กดัด หรื อสิ่ งอื่นที่มีลกั ษณะทานองเดียวกันที่ประตู หน้าต่างหรื อที่ ด้านนอกหรื อด้านในของอาคารตั้งแต่ช้ นั ที่สองขึ้นไป อันเป็ นการกีดขวางหนีออกจากอาคารหรื อการช่วยเหลือผูท้ ี่อยูใ่ น อาคารเมื่อเกิดอัคคีภยั โดยไม่มีช่องทางอื่นที่จะออกสู่ ภายนอกได้ ให้ผไู ้ ด้รับใบอนุญาตหรื อผูด้ าเนินการจัดให้มีช่องทางที่ เปิ ดออกสู่ ภายนอกได้ทนั ที ขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่าง ๐.๖๐ เมตร ยาวไม่นอ้ ยกว่า ๐.๘๐ เมตร อย่างน้อยหนึ่งช่องทางในแต่ ละชั้นของอาคารหรื อของคูหา” ( “ข้อ ๒๑ ทวิ บัญญัติเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๓๐)) หมวด ๒ การดัดแปลงอาคาร ข้อ ๒๒ ให้นาหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก่อสร้างอาคารตามหมวด ๑ มาใช้บงั คับแก่การดัดแปลง อาคารโดยอนุโลม


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา: หมวด ๓ การรื้อถอนอาคาร

ข้อ ๒๓ ผูค้ วบคุมงานต้องศึกษารายละเอียดโครงสร้างอาคารที่จะรื้ อถอน รวมทั้งสภาพแวดล้อมด้วยความรอบ ครอบ และต้องควบคุมการปฏิบตั ิงานของผูด้ าเนินการให้เป็ นไปตามขั้นตอน วิธีการ และมีความปลอดภัยในการรื้ อถอน อาคารตามที่ได้รับอนุญาต ถ้าผูด้ าเนินการปฏิบตั ิไม่ถูกต้องตามขั้นตอน วิธีการ หรื ออาจก่อให้เกิดภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ผูค้ วบคุมงานต้องให้ผดู ้ าเนินการแก้ไขให้ถูกต้องหรื อให้มีความปลอดภัย ข้อ ๒๔ ก่อนรื้ อถอนอาคารส่ วนใด ผูด้ าเนินการต้องตรวจสอบและหาวิธ การป้ องกันสิ่ งบริ การสาธารณะ เช่น ไฟฟ้ า โทรศัพท์ ประปา หรื อท่อก๊าซ เป็ นต้น และส่ วนต่าง ๆ ของอาคารที่อาจตก หล่น เพื่อมิให้เกิดภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินในขณะที่ร้ื อถอนอาคารส่ วนนั้น ข้อ ๒๕ ในระหว่างการรื้ อถอนอาคาร ผูด้ าเนินการต้องติดตั้งป้ ายเตือนอันตราย และต้องแสดงขอบเขตการรื้ อ ถอนอาคารพร้อมด้วยไฟสัญญาณสี แดงกระพริ บเตือนอันตรายจานวนพอสมควรไว้รอบบริ เวณที่จะรื้ อถอน เพื่อเตือน ไม่ให้บุคคลซึ่ งไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริ เวณนั้น และต้องจัดให้มีพนักงานสาหรับห้ามบุคคลซึ่ งไม่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องเข้าไปในบริ เวณดังกล่าว รวมทั้งดูแลความเรี ยบร้อยของป้ ายเตือนอันตรายและไฟสัญญาณด้วย การรื้ อถอนอาคาร ผูด้ าเนินการจะกระทาได้เฉพาะในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ ึนถึงพระอาทิตย์ตก ถ้าจะ กระทาในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ข้ ึนต้องได้รับอนุญาตเป็ นหนังสื อจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น และต้อง จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอด้วย ข้อ ๒๖ การรื้ อถอนอาคารที่ใกล้หรื อติดต่อกับที่สาธารณะ อาคารอื่น หรื อที่ดินต่างเจ้าของหรื อผูค้ รอบครอง น้อยกว่า ๒.๐๐ เมตร ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีการป้ องกันฝุ่ นละอองและเศษวัสดุร่วงหล่นที่อาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ข้อ ๒๗ การรื้ อถอนอาคารที่มีความสู งเกิน ๑๕.๐๐ เมตร และอยูห่ ่างจากทางหรื อที่สาธารณะตามแนวราบน้อย กว่า ๔.๕๐ เมตร ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีสิ่งป้ องกันวัสดุที่อาจร่ วงหล่นคลุมทางหรื อที่สาธารณะนั้น ถ้ามีทางเดินเท้าตาม แนวทางหรื อที่สาธารณะ ผูด้ าเนินการต้องสร้างหลังคาที่มนั่ คงแข็งแรงและขนาดใหญ่เพียงพอที่จะป้ องกันเศษวัสดุที่อาจ ร่ วงหล่นเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ตลอดแนวของอาคารที่จะรื้ อถอนนั้นด้วย ข้อ ๒๘ การรื้ อถอนผนังอาคารด้านนอกที่สูงจากพื้นดินเกิน ๘.๐๐ เมตร และอยูห่ ่างจากอาคารอื่น ทาง หรื อที่ สาธารณะตามแนวราบน้อยกว่าความสู งบของอาคาร ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีแผงรับวัสดุที่อาจร่ วงหล่นจากการรื้ อถอน ตลอดแนวด้านนอกของผนังของอาคารด้านนั้นแผงรับวัสดุดงั กล่าวต้องมีความมัน่ คงแข็งแรงและขนาดใหญ่เพียงพอที่จะ สามารถรองรับวัสดุที่ร่วงหล่นได้ และต้องติดตั้งให้เอียงลาดเพื่อให้เอียงลาดเพื่อป้ องกันวัสดุที่ร่วงหล่นกระเด็นออกมา นอกแผงหรื อกองค้างอยูใ่ นแผงรับนั้น


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ข้อ ๒๙ การขนถ่ายวัสดุที่ร้ื อถอนลงจากที่สูงมาสู่ ที่ต่า ผูด้ าเนินการต้องกระทาโดยใช้รางหรื อสายพานเลื่อนที่มี ความลาดเหมาะสมและปลอดภัยจากการตกหล่น สาหรับการขนถ่ายวัสดุโดยลิฟต์ส่งของ หรื อปั้ นจัน่ หรื อโยนหรื อทิ้ง เป็ นต้น ผูด้ าเนินการจะกระทาได้ต่อเมื่อได้จดั ให้มีการป้ องกันภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินแล้ว ห้ามผูด้ าเนินการกองวัสดุที่ร้ื อถอนไว้บนพื้นหรื อส่ วนของอาคารที่สูงกว่าพื้นดิน หมวด ๔ การเคลือ่ นย้ายอาคาร ข้อ ๓๐ ผูค้ วบคุมงานต้องศึกษารายละเอียดโครงสร้างของอาคารที่จะเคลื่อนย้ายรวมทั้งสภาพแวดล้อมด้วย ความรอบคอบ และต้องควบคุมการปฏิบตั ิงานของผูด้ าเนินการให้เป็ นไปตามขั้นตอน วิธีการ และมีความมัน่ คง แข็งแรง และความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายอาคารตามที่ได้รับอนุญาต ถ้าผูด้ าเนินการปฏิบตั ิไม่ถูกต้องตามขั้นตอน วิธีการหรื อ อาจก่อให้เกิดภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ผูค้ วบคุมงานต้องให้ผดู ้ าเนินการแก้ไขให้ถูกต้องหรื อให้มี ความปลอดภัย ข้อ ๓๑ ก่อนเคลื่อนย้ายอาคาร ผูด้ าเนินการต้องตรวจสอบและหาวิธีการป้ องกันสิ่ งบริ การสาธารณะ เช่น ไฟฟ้ า โทรศัพท์ ประปา หรื อท่อก๊าซ เป็ นต้น และส่ วนต่าง ๆ ของอาคารตามที่ได้รับอนุญาต ถ้าผูด้ าเนินการปฏิบตั ิไม่ถูกต้อง ตามขั้นตอน วิธีการหรื ออาจก่อให้เกิดภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินในขณะที่เคลื่อนย้ายอาคาร ข้อ ๓๒ ในระหว่างที่ดาเนินการเกี่ยวกับโครงสร้างของอาคาร เช่น ตัด สกัด รื้ อ หรื อถอน เป็ นต้น เพื่อให้ สามารถเคลื่อนย้ายอาคารไปจากที่ต้ งั เดิมและในระหว่างที่เชื่อมต่อหรื อติดตั้งโครงสร้างของอาคารที่เคลื่อนย้ายใน สถานที่ใหม่ รวมทั้งในระหว่างการเคลื่อนย้ายอาคารผูด้ าเนินการต้องติดตั้งป้ ายเตือนอันตรายพร้อมด้วยไฟสัญญาณสี แดง กระพริ บเตือนอันตรายไว้รอบบริ เวณดังกล่าว โดยมีจานวนและระยะห่างจากอาคารพอสมควร เพื่อเตือนไม่ให้บุคคลซึ่ ง ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริ เวณนั้น และต้องจัดให้มีพนักงานสาหรับห้ามบุคคลซึ่ งไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้าไปใน บริ เวณดังกล่าว รวมทั้งดูแลความเรี ยบร้อยของป้ ายเตือนอันตรายและไฟสัญญาณด้วย การเคลื่อนย้ายอาคาร ผูด้ าเนินการจะกระทาได้เฉพาะในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ข้ ึนถึงพระอาทิตย์ตก ถ้าจะ กระทาในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ข้ ึนต้องได้รับอนุญาตเป็ นหนังสื อจากนายช่าง ข้อ ๓๓ การเคลื่อนย้ายอาคาร ผูด้ าเนินการจะต้องไม่กระทาใด ๆ อันอาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน ในกรณี ที่ผดู ้ าเนินการได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ติดตั้ง กอง หรื อเก็บเครื่ องมือเครื่ องใช้ วัสดุ ก่อสร้าง หรื อชิ้นส่ วนโครงสร้างในที่สาธารณะเป็ นการชัว่ คราว ผูด้ าเนินการต้องจัดให้มีการป้ องกันภยันตรายที่อาจเกิด ต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน และติดตั้งไฟให้มีแสงสว่างเพียงพอในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ ขึ้นด้วย


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา: หมวด ๕ การใช้ หรือเปลีย่ นการใช้ อาคาร

ข้อ ๓๔ เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารประเภทควบคุมการใช้ตอ้ งดูแลรักษาและซ่อมแซมอาคารให้อยูใ่ น สภาพที่มนั่ คง แข็งแรง ปลอดภัย ถูกสุ ขลักษณะ และมิให้เกิดภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินตลอดเวลา ที่ใช้อาคารนั้น ข้อ ๓๕ เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารประเภทควบคุมการใช้ ต้องใช้หรื อยินยอมให้บุคคลใดใช้อาคาร ดังกล่าว โดยมิให้มีการกระทาที่อาจก่อให้เกิดเหตุราคาญหรื อกระทบกระเทือนต่อการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมอันเป็ น ภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกายหรื อทรัพย์สิน ข้อ ๓๖ ในกรณี ที่เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารที่ไม่เป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้จะใช้หรื อยินยอมให้ บุคคลใช้อาคารดังกล่าวเป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ และได้รับใบอนุญาตแล้ว ให้นาข้อ ๓๔ และข้อ ๓๕ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม ให้นาวรรคหนึ่งมาใช้บงั คับแก่การเปลี่ยนแปลงการใช้อาคารประเภทควบคุมการใช้สาหรับกิจการหนึ่งไปใช้ เป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้สาหรับอีกกิจการหนึ่งโดยอนุโลม

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖ พลเอก สิ ทธิ จิรโรจน์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้ าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 4

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากมาตรา ๘ (๑๑) แห่งพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้บญั ญัติให้รัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมอาคารมีอานาจออกกฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน เคลื่อนย้าย ใช้หรื อเปลี่ยนการใช้อาคาร เพื่อ ประโยชน์แห่งความมัน่ คงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภยั การสาธารณสุ ข การรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม การ ผังเมือง การสถาปั ตยกรรม และการอานวยความสะดวกแก่การจราจรตลอดจนการอื่นที่จาเป็ นเพื่อปฏิบตั ิตาม พระราชบัญญัติควบคุมอาคารดังกล่าว จึงจาเป็ นต้องออกกฎกระทรวงนี้ ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม ๑๐๐ ตอนที่ ๑๙๖ ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ (กฎกระทรวงฉบับนี้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ.๒๕๓๐๗ ประกอบ)


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา: กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ _________

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ (๓) และมาตรา ๘ (๔) (๕) และ (๖) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมอาคารออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้ “ห้องแถว” หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างติดต่อกันเป็ นแถวยาวตั้งแต่สองคูหาขึ้นไป มีผนังร่ วมแบ่งออกเป็ น คูหาและประกอบด้วยวัสดุไม่ทนไฟเป็ นส่ วนใหญ่ “ตึกแถว” หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างติดต่อกันเป็ นแถวยาวตั้งแต่สองคูหาขึ้นไป มีผนังร่ วมแบ่งอาคารเป็ น คูหาและประกอบด้วยวัสดุทนไฟเป็ นส่ วนใหญ่ “บ้านแถว” หมายความว่า ห้องแถวหรื อตึกแถวที่ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย ซึ่ งมีที่วา่ งด้านหน้าและด้านหลังระหว่างรั้ว หรื อแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารแต่ละคูหา “บ้านแฝด” หมายความว่าอาคารที่ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัยก่อสร้างติดต่อกันสองบ้านมีผนังร่ วมแบ่งอาคารเป็ นบ้าน มี ที่วา่ งระหว่างรั้วหรื อแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารด้านหน้าด้านหลังและด้านข้างของแต่ละบ้าน และมีทางเข้าออกของ แต่ละบ้านแยกจากกันเป็ นสัดส่ วน “อาคารอยูอ่ าศัยรวม” หมายความว่า อาคารหรื อส่ วนใดส่ วนหนึ่งของอาคารที่ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัยสาหรับหลาย ครอบครัวโดยแบ่งออกเป็ นหน่วยแยกจากกันสาหรับแต่ละครอบครัวมีหอ้ งน้ า ห้องส้วม ทางเดิน ทางเข้าออก และ ทางขึ้นลงหรื อลิฟต์แยกจากกันหรื อร่ วมกัน


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

หมวด ๑ แบบและวิธีการเกีย่ วกับการติดตั้งระบบการป้องกันอัคคีภัย ข้อ ๒ อาคารดังต่อไปนี้ตอ้ งมีวธิ ี การเกี่ยวกับการป้ องกันอัคคีภยั ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ (๑) ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว บ้านแฝด (๒) อาคารที่ใช้เป็ นที่ชุมนุมของประชาชน เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม สถานพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สถานกีฬาในร่ ม ตลาด ห้างสรรพสิ นค้า ศูนย์การค้า สถานบริ การ ท่าอากาศยาน อาคารจอดรถ สถานีขนส่ ง มวลชน ที่จอดรถ ท่าจอดเรื อ ภัตตาคาร สานักงาน สถานที่ทาการของราชการ โรงงาน และอาคารพาณิ ชย์ เป็ นต้น (๓) อาคารอยูอ่ าศัยรวมที่มีต้ งั แต่ ๔ หน่วยขึ้นไป เป็ นต้น (๔) อาคารอื่นนอกจากอาคารตาม (๑) (๒) และ (๓) ที่มีความสู ง ตั้งแต่ ๓ ชั้นขึ้นไป ข้อ ๓ ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว และบ้านแฝด ที่มีความสู งไม่เกิน ๒ ชั้น ต้องติดตั้งเครื่ องดับเพลิงแบบมือถือ อย่างใดอย่างหนึ่งตามชนิดและขนาดที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๑ ท้ายกฎกระทรวงนี้ จานวนคูหาละ ๑ เครื่ อง อาคารอื่นนอกจากอาคารตามวรรคหนึ่ง ต้องติดตั้งเครื่ องดับเพลิงแบบมือถืออย่างใดอย่างหนึ่งตามชนิดและ ขนาดที่กาหนดไว้ในตารางวรรคหนึ่ง สาหรับดับเพลิงที่เกิดจากประเภทของวัสดุที่มีในแต่ละขั้นไว้ ๑ เครื่ อง ต่อพื้นที่ อาคารไม่เกิน ๑,๐๐๐ ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน ๔๕ เมตร แต่ไม่นอ้ ยกว่าชั้นละ ๑ เครื่ อง การติดตั้งเครื่ องดับเพลิงตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ต้องติดตั้งให้ส่วนบนสุ ดของตัวเครื่ องสู งจากระดับพื้น อาคารไม่เกิน ๑.๕๐ เมตร ในที่มองเห็นสามารถอ่านคาแนะนาการใช้ได้และสามารถนาไปใช้งานได้โดยสะดวก และ ต้องอยูใ่ นสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา ข้อ ๔ ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว และบ้านแฝด ที่มีความสู งไม่เกิน ๒ ชั้น ต้องมีระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ ติดตั้งอยูภ่ ายในอาคารอย่างน้อย ๑ เครื่ อง ทุกชั้นและทุกคูหา ข้อ ๕ อาคารอื่นนอกจากอาคารตามข้อ ๓ วรรคหนึ่ง ที่มีพ้นื ที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกิน ๒ ,๐๐๐ ตาราง เมตร ต้องมีระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ทุกชั้นด้วย ข้อ ๖ ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ตามข้อ ๔ และข้อ ๕ อย่างน้อยต้องประกอบด้วย (๑) อุปกรณ์แจ้งเหตุที่มีท้ งั ระบบแจ้งเหตุอตั โนมัติและระบบแจ้งเหตุที่ใช้มือเพื่อให้อุปกรณ์ส่งสัญญาณเตือน เพลิงไหม้ทางาน (๒) อุปกรณ์ส่งสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ที่สามารถส่ งเสี ยงหรื อสัญญาณให้คนที่อยูใ่ นอาคารได้ยนิ หรื อทราบ อย่างทัว่ ถึงเพื่อให้หนีไฟ


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ตารางที่ ๑ ชนิดและขนาดของเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ชนิดหรือประเภทของอาคาร ชนิดของเครื่องดับเพลิง (๑) ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว (๑) น้ าอักความดัน และบ้านแฝด ที่มีความสู งไม่เกิน (๒) กรด-โซดา ๒ ชั้น (๓) โฟมเคมี (๔) ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (๕) ผงเคมีแห้ง (๖) เฮลอน

ขนาดบรรจุไม่ น้อยกว่ า ๑๐ ลิตร ๑๐ ลิตร ๑๐ ลิตร ๓ กิโลกรัม ๓ กิโลกรัม ๓ กิโลกรัม

(๒) อาคารอื่นนอกจากอาคารตาม (๑) โฟมเคมี (๑) (๒) ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (๓) ผงเคมีแห้ง (๔) เฮลอน

๑๐ ลิตร ๔ กิโลกรัม ๔ กิโลกรัม ๔ กิโลกรัม


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

หมวด ๒ แบบและจานวนของห้ องนา้ และห้ องส้ วม ข้อ ๘ อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยูห่ รื อเข้าไปใช้สอยได้ ต้องมีหอ้ งน้ าและห้องส้วมไม่นอ้ ยกว่าจานวนที่กาหนดไว้ ในตารางที่ ๒ ท้ายกฎกระทรวงนี้ จานวนห้องน้ าและห้องส้วมที่กาหนดไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ง เป็ นจานวนขั้นต่าที่ตอ้ งจัดให้มี แม้วา่ อาคาร นั้นจะมีพ้นื ที่อาคารหรื อจานวนคนน้อยกว่าที่กาหนดไว้ในตารางตามวรรคหนึ่งก็ตาม ถ้าอาคารที่มีพ้นื ที่ของอาคารหรื อจานวนคนมากเกินกว่าที่กาหนดไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ง จะต้องจัดให้มี ห้องน้ าและห้องส้วมเพิ่มขึ้นตามอัตราส่ วนพื้นที่อาคารหรื อจานวนคนที่มากเกินนั้น ถ้ามีเศษให้คิดเต็มอัตรา ชนิดหรื อประเภทของอาคารที่มิได้กาหนดไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ง ให้พิจารณาเทียบเคียงลักษณะการใช้สอย ของอาคารนั้น โดยถือจานวนห้องน้ าและห้องส้วมที่กาหนดไว้ในตารางดังกล่าวเป็ นหลัก ข้อ ๙ ห้องน้ าและห้องส้วมจะแยกจากกันหรื อรวมอยูใ่ นห้องเดียวกันก็ได้ แต่ตอ้ งมีลกั ษณะที่จะรักษาความ สะอาดได้ง่าย และต้องมีช่องระบายอากาศไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิ บของพื้นที่หอ้ ง หรื อมีพดั ลม ระบายอากาศได้เพียงพอ ระยะดิ่งระหว่างพื้นห้องถึงเพดานยอดฝาหรื อผนังตอนต่าสุ ดต้องไม่ต่ากว่า ๑.๘๐ เมตร ในกรณี ที่หอ้ งน้ าและห้องส้วมแยกกัน ต้องมีขนาดพื้นที่ของห้องแต่ละห้องไม่นอ้ ยกว่า ๐.๙๐ ตารางเมตร และ ต้องมีความกว้างภายในไม่นอ้ ยกว่า ๐.๙๐ เมตร แต่ถา้ ห้องน้ าและห้องส้วมรวมอยูใ่ นห้องเดียวกัน ต้องมีพ้นื ที่ภายในไม่ น้อยกว่า ๑.๕๐ ตารางเมตร ข้อ ๑๐ ปอเกรอะ บ่อซึ ม ของส้วมต้องอยูห่ ่างจากแม่น้ า คู คลอง หรื อแหล่งน้ าสาธารณะไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ เมตร เว้นแต่ส้วมที่มีระบบกาจัดสิ่ งปฏิกลู ที่ถูกต้องตามหลักการสาธารณะและมีขนาดที่เหมาะสม ทั้งนี้ ตามที่ กระทรวงมหาดไทยด้วยความเห็นชอบของกระทรวงสาธารณสุ ขประกาศกาหนดใน ราชกิจจานุเบกษา


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ตารางที่ ๒ จานวนห้ องนา้ และห้ องส้ วมของอาคาร ชนิดหรือประเภทของอาคาร

(๑) อาคารอยูอ่ าศัย ๑ หลัง (๒) ห้องแถวหรื อตึกแถวไม่วา่ จะ ใช้เพื่อการพาณิ ชย์หรื อพักอาศัย ต่อพื้นที่อาคารทุกชั้นรวมกันแต่ ละคูหาไม่เกิน ๒๐๐ ตารางเมตร ห้องแถวหรื อตึกแถวไม่วา่ จะใช้ เพื่อการพาณิ ชย์หรื อตึกแถวไม่วา่ จะใช้เพื่อการพาณิ ชย์หรื อพัก อาศัยต่อพื้นที่อาคารทุกชั้น รวมกันแต่ละคูหาเกิน ๒๐๐ ตารางเมตรห้องแถวหรื อตึกแถว ไม่วา่ จะใช้เพื่อการพาณิ ชย์หรื อ หรื อพักอาศัยแต่ละคูหาที่สูงเกิน ๓ ชั้น

ห้ องส้ วม ที่ถ่าย ที่ถ่าย อุจจาระ ปัสสาวะ ๑ -

ห้ องนา้

อ่างล้างมือ

-

-

-

-

-

-


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ชนิดหรือประเภทของอาคาร

(๓) โรงงาน (ก) ต่อพื้นที่อาคารทุก ๔๐๐ ตารางเมตร สาหรับผูช้ าย (ข) ต่อพื้นที่อาคารทุก ๔๐๐ ตารางเมตร สาหรับผูห้ ญิง (๔) โรงแรมและบ้านเช่าพัก ชัว่ คราวต่อห้องพัก ๑ ห้องพัก (๕) อาคารชุด ต่อ ๑ ชุด (๖) หอพัก ต่อพื้นที่อาคาร ๕๐ เมตร (๗) หอประชุมหรื อโรงมหรสพ ต่อพื้นที่อาคาร ๒๐๐ ตารางเมตร หรื อต่อ ๑๐๐ คน ที่กาหนดให้ใช้ สอยอาคารนั้น ทั้งนี้ให้ถือจานวน ที่มากกว่าเป็ นเกณฑ์ (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๘) สถานศึกษา (ก) สถานศึกษาชาย ต่อจานวน นักเรี ยน นักศึกษาชาย ๕๐ คน (ข) สถานศึกษาหญิง ต่อจานวน นักเรี ยน นักศึกษาหญิง ๕๐ คน (ค) สหศึกษา ต่อจานวนนักเรี ยน นักศึกษา ๕๐ คน สาหรับนักเรี ยน นักศึกษาชาย

ห้ องส้ วม ทีถ่ ่ าย ทีถ่ ่ าย อุจจาระ ปัสสาวะ

ห้ องนา้

อ่างล้างมือ

๑ ๒

๑ -

๑ ๑

๑ ๑

๑ ๑ ๑

-

๑ ๑ ๑

๑ ๑ ๑

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑

-

๓ ๑ ๑ ๑

๑ ๑

-

๑ ๑ ๑


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ชนิดหรือประเภทของอาคาร

สาหรับนักเรี ยน นักศึกษาหญิง (๙) สานักงาน ต่อพื้นที่อาคาร ๓๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๐) ภัตตาคาร ต่อพื้นที่สาหรับ ตั้งโต๊ะอาหาร ๒๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๑) อาคารพาณิ ชย์ ต่อพื้นที่ อาคาร ๒๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๒) สถานที่เก็บสิ นค้า ต่อพื้นที่ อาคาร ๑,๐๐๐ ตารางเมตร (๑๓) สถานพยาบาลตามกฎหมาย ว่าด้วยสถานพยาบาล ต่อพื้นที่ อาคาร ๒๐๐ เมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๔) สถานบริ การตามกฎหมาย ว่าด้วยสถานบริ การต่อพื้นที่ อาคาร ๒๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง

ห้ องส้ วม ทีถ่ ่ าย ทีถ่ ่ าย อุจจาระ ปัสสาวะ ๑ -

ห้ องนา้

อ่างล้างมือ

-

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑

-

๒ ๒

๒ -

-

๑ ๑

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ชนิดหรือประเภทของอาคาร

(๑๕) อาคารสถานีขนส่ งมวลชน ต่อพื้นที่อาคาร ๒๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๖) อาคารที่จอดรถสาหรับ บุคคลทัว่ ไปต่อพื้นที่อาคาร ๑,๐๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๗) สถานกีฬาในร่ ม ต่อพื้นที่ อาคาร ๒๐๐ ตารางเมตร หรื อต่อ ๑๐๐ คน ทั้งนี้ให้ถือจานวนที่ มากกว่าเป็ นเกณฑ์ (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๘) ตลาด ต่อพื้นที่อาคารทุก ๒๐๐ ตารางเมตร (ก) สาหรับผูช้ าย (ข) สาหรับผูห้ ญิง (๑๙) สถานีบริ การน้ ามันเชื้อเพลิง ตามกฎหมายว่าด้วยการเก็บรักษา น้ ามันเชื้อเพลิง และหรื อสถานี บริ การก๊าซตามกฎหมายว่าด้วย การบรรจุก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (ก) สาหรับผูช้ าย

ห้ องส้ วม ทีถ่ ่ าย ทีถ่ ่ าย อุจจาระ ปัสสาวะ

ห้ องนา้

อ่างล้างมือ

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑

๑ ๑

๑ -

-

๑ ๑

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑

๑ ๒

๒ -

-

๑ ๑


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

(ข) สาหรับผูห้ ญิง

ชนิดหรือประเภทของอาคาร

(๒๐) อาคารชัว่ คราว ต่อพื้นที่ อาคาร ๒๐๐ ตารางเมตร

-

ห้ องส้ วม ทีถ่ ่ าย ทีถ่ ่ าย อุจจาระ ปัสสาวะ ๑ -

ห้ องนา้

อ่างล้างมือ

-

-


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

หมวด ๓ ระบบการจัดแสงสว่ างและการระบายอากาศ ข้อ ๑๑ ส่ วนต่าง ๆ ของอาคารต้องมีความเข้มของแสงสว่างไม่นอ้ ยกว่าความเข้มที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๓ ท้าย กฎกระทรวงนี้ สถานที่อื่นที่มิได้ระบุไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ความเข้มของแสงสว่างของสถานที่ที่มีลกั ษณะใกล้เคียง กับความเข้มที่กาหนดไว้ในตารางดังกล่าว ข้อ ๑๒ ระบบการระบายน้ าอากาศในอาคารจะจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติหรื อโดยวิธีกลก็ได้ ข้อ ๑๓ ในกรณี ที่จดั ให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ห้องในอาคารทุกชนิดทุกประเภทต้องมีประตู หน้าต่าง หรื อช่องระบายอากาศด้านติดกับอากาศภายนอกเป็ นพื้นที่รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิ บของพื้นที่ของห้องนั้น ทั้งนี้ ไม่นบั รวมพื้นที่ของประตู หน้าต่างและช่องระบายอากาศที่ติดต่อกับห้องอื่นหรื อช่องทางเดินภายในอาคาร ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงั คับแก่อาคารหรื อสถานที่ที่ใช้เก็บของหรื อสิ นคา ข้อ ๑๔ ในกรณี ที่ไม่อาจจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติตามข้อ ๑๓ ได้ ให้จดั ให้มีการระบายอากาศ โดยวิธีกลซึ่ งใช้กลอุปกรณ์ขบั เคลื่อนอากาศ กลอุปกรณ์น้ ีตอ้ งทางานตลอดเวลาระหว่างที่ใช้สอยพื้นที่น้ นั และการระบาย อากาศต้องมีการนาอากาศภายนอกเข้ามาในพื้นที่ไม่นอ้ ยกว่าอัตราที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๔ ท้ายกฎกระทรวงนี้ สาหรับห้องครัวของสถานที่จาหน่ายอาหารและเครื่ องดื่ม ถ้าได้จดั ให้มีการระบายอากาศครอบคลุมแหล่งที่เกิด ของกลิ่น ควัน หรื อก๊าซ ที่ตอ้ งการระบายในขนาดที่เหมาะสมแล้วจะมีอตั ราการระบายอากาศในส่ วนอื่นของห้องครัวนั้น น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในตารางตามวรรคหนึ่งก็ได้ แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า ๑๒ เท่าของปริ มาตรของห้องใน ๑ ชัว่ โมง สถานที่อื่นที่มิได้ระบุไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้อตั ราการระบายอากาศของสถานที่ที่มีลกั ษณะใกล้เคียง กับอัตราที่กาหนดไว้ในตารางดังกล่าว ข้อ ๑๕ ในกรณี ที่จดั ให้มีการระบายอากาศด้วยระบบการปรับภาวะอากาศต้องมีการนาอากาศภายนอกเข้ามาใน พื้นที่ปรับภาวะอากาศหรื อดูดอากาศจากภายในพื้นที่ปรับภาวะอากาศออกไปไม่นอ้ ยกว่าอัตราที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๕ ท้ายกฎกระทรวงนี้ สถานที่อื่นที่มิได้ระบุไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้อตั ราการระบายอากาศของสถานที่ที่มีลกั ษณะใกล้เคียง กับอัตราที่กาหนดไว้ในตารางดังกล่าว ข้อ ๑๖ ตาแหน่งของช่องนาอากาศภายนอกเข้าโดยวิธีกลต้องห่างจากที่เกิดอากาศเสี ยและช่องระบายอากาศทิ้ง ไม่นอ้ ยกว่า ๕ เมตร และสู งจากพื้นดินไม่นอ้ ยกว่า ๑.๕๐ เมตร การนาอากาศภายนอกเข้าและการระบายอากาศทิ้งโดยวิธีกล ต้องไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ ประชาชนผูอ้ ยูอ่ าศัยใกล้เคียง


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

12

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ข้อ ๑๗ โรงงาน โรงแรม โรงมหรสพ ห้องประชุม สถานกีฬาในร่ ม สถานพยาบาล สถานีขนส่ งมวลชน สานักงาน ห้างสรรพสิ นค้า หรื อตลาด ต้องจัดให้มีระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสารอง สาหรับกรณี ฉุกเฉิ น เช่น แบตเตอรี่ หรื อเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า เป็ นต้น แยกเป็ นอิสระจากระบบที่ใช้อยูต่ ามปกติ และสามารถทางานได้โดยอัตโนมัติเมื่อระบบ จ่ายพลังงานไฟฟ้ าปกติหยุดทางาน แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสารองสาหรับกรณี ฉุกเฉิ นตามวรรคหนึ่ง ต้องสามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้ าได้เพียงพอ ตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ (๑) จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๒ ชัว่ โมง สาหรับเครื่ องหมายแสดงทางออกฉุ กเฉิ น ทางเดิน ห้อง โถง บันได บันไดหนีไฟ และระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ (๒) จ่ายพลังงานไฟฟ้ าตลอดเวลาที่ใช้งานสาหรับห้อง ไอ.ซี .ยู. ห้อง ซี .ซี .ยู. ห้องช่วยชีวติ ฉุ กเฉิ น ระบบสื่ อสาร และเครื่ องสู บน้ าดับเพลิง เพื่อความปลอดภัยสาธารณะและกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อ ชีวติ หรื อสุ ขภาพอนามัยเมื่อกระแสไฟฟ้ าขัดข้อง


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

หมวด ๔ เบ็ดเตล็ด ข้อ ๑๘ ในการยืน่ คาขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามข้อ ๒ ผูย้ นื่ คาขอจะต้องแสดงแบบและวิธีการเกี่ยวกับการ ติดตั้งระบบการป้ องกันอัคคีภยั แบบและจานวนของห้องน้ าและห้องส้วมและระบบการจัดแสงสว่างและการระบาย อากาศ สาหรับอาคารดังกล่าวไปพร้อมกับคาขอด้วย ข้อ ๑๙ ในกรณี ที่มีกฎหมายอื่นกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับแบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตั้งระบบการป้ องกัน อัคคีภยั แบบและจานวนของห้องน้ าและห้องส้วม และระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ สาหรับอาคารใดไว้ โดยเฉพาะแล้ว ให้ใช้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่ องดังกล่าวตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น ข้อ ๒๐ อาคารตามข้อ ๒ ที่ได้ก่อสร้างไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บงั คับ หากต่อมาจะมีการดัดแปลงหรื อ เปลี่ยนการใช้ให้แตกต่างไปจากที่ได้รับอนุญาตไว้ ให้ดาเนินการให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้

ให้ ไว้ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

14

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ตารางที่ ๓ ความเข้ มของแสงสว่ าง ลาดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔

สถานที่ (ประเภทการใช้ ) ที่จอดรถ ช่องทางเดินภายในอาคารอยูอ่ าศัยรวม ห้องพักในโรงแรมหรื ออาคารอยูอ่ าศัยรวม ห้องน้ า ห้องส้วมของโรงงาน โรงเรี ยน โรงแรม สานักงาน หรื ออาคารอยูอ่ าศัยรวม โรงมหรสพ (บริ เวณที่นงั่ สาหรับคนดูขณะที่ไม่มีการ แสดง) ช่องทางเดินภายในโรงงาน โรงเรี ยน โรงแรม สานักงาน หรื อสถานพยาบาล สถานีขนส่ งมวลชน (บริ เวณที่พกั ผูโ้ ดยสาร) โรงงาน ห้างสรรพสิ นค้า ตลาด ห้องน้ า ห้องส้วมของโรงมหรสพ สถานพยาบาล สถานีขนส่ งมวลชน ห้างสรรพสิ นค้า หรื อตลาด ห้องสมุด ห้องเรี ยน ห้องประชุม บริ เวณที่ทางานในสานักงาน

หน่ วยความเข้ มของแสงสว่ าง (ลักษ์ ) (LUX) ๕๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐


เนือ้ หาการสอน

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎกระทรวงฉบับที่ 39

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๘ (๔) (๕) และ (๖) แห่งพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ บัญญัติโดยให้รัฐมนตรี มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดแบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตั้ง ระบบการป้ องกันอัคคีภยั แบบและจานวนของห้องน้ าและห้องส้วม ระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ และ ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสารองสาหรับกรณี ฉุกเฉิ น เพื่อประโยชน์แห่งความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภยั การ สาธารณสุ ข การรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม และการผังเมือง ดังนั้น สมควรออกกฎกระทรวงกาหนดแบบวิธีการ จานวน และระบบดังกล่าว จึงจาเป็ นต้องออกกฎกระทรวงนี้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

1


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

2

ความหมายของพระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ เป็ นกฎหมายที่ออกผ่านกระบวนการนิติบญั ญัติตามขั้นตอนที่บญั ญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ โดย ความเห็นชอบของรัฐธรรมนูญ แล้วจึงนาทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อลงพระปรมภิไธยใช้บงั คับเป็ นกฎหมาย แต่ถา้ หากจดหมาย ฉบับใดมีลกั ษณะครอบคลุมเรื่ องที่เกี่ยวพันกับหลายเรื่ องก็อาจออกในรู ปประมวลกฎหมายได้ เช่น ประ-กฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายที่ดิน เป็ นต้น แต่เมื่อประมวลกฎหมายเหล่านี้ร่างเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วจะต้องมีพระราชบัญญัติให้ใช้ ประมวลกฎหมายนั้นๆ อีกที่หนึ่ง ตัวอย่างพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายก่อสร้าง เช่น พระราชบัญญัติควบคุมอาคารชุด พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติประกอบวิชาชีพก่อสร้าง พ.ศ. 2508 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติวชิ าชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2543 (ฉบับที่ 3) ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2543 เป็ นปี ที่ 55 ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่าโดยที่เป็ นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมอาคารพระราชบัญญัติน้ ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคลซึ่ งมาตรา 29 ประกอบกับ มาตรา 31 มาตรา 35 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทา ได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายจึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนา และยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า “พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543” มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิ บวันนับแต่วนั ประกาศในราชกิจจาอุเบกสา เป็ นต้น ไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ พระพุทธศักราช 2464 มาตรา 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นวรรคสองและวรรคสาม ของมาตรา 2 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “สาหรับเขตท้องที่ที่ได้มีการประกาศให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองหรื อเขตท้องที่ที่ได้เคยมีการ ประกาศดังกล่าว ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ีบงั คับตามเขตของผังเมืองรวมนั้น โดยไม่ตอ้ งตราเป็ นพระราชกฤษฏีกา สาหรับ อาคารสู ง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคนและโรงมหรสพ ให้ใช้บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ีบงั คับไม่วา่ ท้องที่ที่อาคารนั้นตั้งอยูจ่ ะได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อไม่ก็ตาม”


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

3

มาตรา 5 ให้เพิ่มบทนิยามคาว่า “อาคารสู ง ” คาว่า “อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ” คาว่า ” อาคารชุมนุมคน ” และคาว่า ”โรง มหรสพ” ระหว่างบทนิยามคาว่า”อาคาร” กับบทนิยามคาว่า”ที่สาธารณะ” ในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “อาคารสู ง” หมายความว่า อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยูห่ รื อเข้าใช้สอยได้ที่มีความสู งตั้งแต่ยสี่ ิ บสามเมตรขึ้นไปการวัดความ สู งของอาคารให้วดั จากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้ า สาหรับอาคารทรงจัว่ หรื อปั้ นหยาให้วดั จากระดับพื้นดินที่ ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสู งสุ ด “อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ” หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อใช้พ้นื ที่อาคารหรื อส่ วนใดของอาคารเป็ นที่อยูอ่ าศัยหรื อ ประกอบกิจการประเภทเดียวหรื อหลายประเภท โดยมีพ้นื ที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันตั้งแต่หนึ่งหมื่นตารางเมตรขึ้น ไป “อาคารชุ มนุมคน” หมายความว่า อาคารหรื อส่ วนใดของอาคารที่บุคคลอาจเข้าไปภายในเพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคน ที่มีพ้นื ที่ต้ งั แต่หนึ่งพันตารางเมตรขึ้นไป หรื อชุมนุมคนได้ต้ งั แต่หา้ ร้อยคนขึ้นไป “โรงมหรสพ” หมายความว่า อาคารหรื อส่ วนใดของอาคารที่ใช้เป็ นสถานที่สาหรับฉายภาพยนตร์ แสดงละคร แสดง ดนตรี หรื อการแสดงรื่ นเริ งอื่นใด และมีวตั ถุประสงค์เพื่อเปิ ดให้สาธารณชนเข้าชมการแสดงนั้นเป็ นปกติธุระ โดยมี ค่าตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม องค์ ประกอบและอานาจหน้ าทีข่ องกรรมการควบคุมอาคาร มาตรา 6 ให้เพิ่มบทนิยามคาว่า “ผูค้ รอบครองอาคาร ”และคาว่า “ผูต้ รวจสอบ” ระหว่างบทนิยามคาว่า “ผูด้ าเนินการ” กับ บทนิยามคาว่า “นายตรวจ” ในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 “ผู้ครอบครองอาคาร ” หมายความรวมถึง ผูจ้ ดั การของนิติบุคคลอาคารชุดสาหรับทรัพย์ส่วนกลางตามกฎหมายว่าด้วย อาคารชุดด้วย “ผู้ตรวจสอบ” หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หรื อผูซ้ ่ ึ งได้รับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพสถาปั ตยกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี ซ่ ึ งได้ข้ ึนทะเบียนไว้ตามพระราชบัญญัติน้ ี” มาตรา 7 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “นายช่าง” และ”เจ้าพนักงานท้องถิ่น ” ในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้แทน “นายช่ าง” หมายความว่า ข้าราชการหรื อพนักงานของราชการส่ วนท้องถิ่น ซึ่ งเจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งตั้งให้เป็ นนายช่าง หรื อวิศวกรหรื อสถาปนิกซึ่ งอธิ บดีกรมโยธาธิ การแต่งตั้งให้เป็ นนายช่าง “เจ้ าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า (1) นายกเทศมนตรี สาหรับในเขตเทศบาล (2) นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด สาหรับในเขตองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (3) ประธานกรรมการบริ หารองค์การบริ หารส่ วนตาบล สาหรับในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบล (4) ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร สาหรับในเขตกรุ งเทพมหานคร


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

4

(5) นายกเมืองพัทยา สาหรับในเขตเมืองพัทยา (6) ผูบ้ ริ หารท้องถิ่นขององค์กรปกครองท้องถิ่นอื่นที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด สาหรับในเขตองค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่นนั้น” มาตรา 8 ให้ยกเลิกความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ แทน “มาตรา 8 เพื่อประโยชน์แห่งความมัน่ คงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภยั การสาธารณสุ ขการรักษา คุณภาพสิ่ งแวดล้อม การผังเมือง การสถาปั ตยกรรม และการอานวยความสะดวกแก่การจราจรตลอดจนการอื่นที่จาเป็ น เพื่อปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้รัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมอาคารมีอานาจออกกฎกระทรวง กาหนด (1) ประเภท ลักษณะ แบบ รู ปทรง สัดส่ วน ขนาด เนื้อที่ และที่ต้ งั อาคาร (2) การรับน้ าหนัก ความต้านทาน ความคงทน ตลอดจนลักษณะและคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ (3) การรับน้ าหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่รองรับอาคาร (4) แบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตั้งประปา ก๊าซ ไฟฟ้ า เครื่ องกล ความปลอดภัย เกี่ยวกับอัคคีภยั หรื อภัยพิบตั ิอย่างอื่น และการป้ องกันอันตรายเมื่อมีเหตุชุลมุนวุน่ วาย (5) แบบ และจานวนของห้องน้ าและห้องส้วม (6) ระบบการจัดการเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของอาคาร เช่น ระบบการจัดแสงสว่าง การระบายอากาศ กา รปรับอากาศการ ฟอกอากาศ การระบายน้ า การบาบัดน้ าเสี ย และการกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลู (7) ลักษณะ ระดับ ความสู ง เนื้อที่ของที่วา่ งภายนอกอาคาร หรื อแนวอาคาร (8) ระยะหรื อระดับระหว่างอาคารกับอาคารหรื อเขตที่ดินของผูอ้ ื่น หรื อระหว่างอาคารกับถนนตรอก ซอย ทางเท้า ทาง หรื อที่สาธารณะ (9) พื้นที่หรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็ นที่จอดรถ ที่กลับรถและทางเข้าออกของรถสาหรับอาคารบางชนิดหรื อบางประเภท ตลอดจนลักษณะและขนาดของพื้นที่หรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นดังกล่าว (10) บริ เวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน เคลื่อนย้าย และใช้หรื อเปลี่ยนการใช้อาคารชนิดใด (11) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน เคลื่อนย้าย ใช้หรื อเปลี่ยนการใช้อาคาร (12) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาต การอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การโอนใบอนุญาต การออก ใบรับรอง และการออกใบแทนตามพระราชบัญญัติน้ ี (13) หน้าที่และความรับผิดชอบของผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน ผูด้ าเนินการผูค้ รอบครองอาคารและเจ้าของอาคาร (14) คุณสมบัติเฉพาะและลักษณะต้องห้ามของผูต้ รวจสอบ ตลอดจนหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการขอขึ้น ทะเบียนและการเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเป็ นผูต้ รวจสอบ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

5

(15) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจสอบอาคาร ติดตั้งและตรวจสอบอุปกรณ์ประกอบของอาคารชนิดหรื อ ประเภทของอาคารที่เจ้าของอาคารหรื อผูค้ รอบครองหรื อผูด้ าเนินการต้องทาการประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายต่อ ชีวติ ร่ างกาย และทรัพย์สินของบุคคลภายนอก” มาตรา 9 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นมาตรา 8 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “มาตรา 8 ทวิ เพื่อประโยชน์แห่งความปลอดภัยของประชาชน ให้รัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุม อาคารมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทหรื อลักษณะของสิ่ งที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการขนส่ งบุคคลในบริ เวณใดใน ลักษณะกระเช้าไฟฟ้ าหรื อสิ่ งอื่นใดที่สร้างขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์อย่างเดียวกันหรื อออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทหรื อ ลักษณะของสิ่ งที่สร้างขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์อย่างเดียวกัน หรื อออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทหรื อลักษณะของสิ่ งที่ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็ นเครื่ องเล่นในสวนสนุกหรื อในสถานที่อื่นใดเพื่อประโยชน์ในลักษณะเดียวกันเป็ นอาคารตาม พระราชบัญญัติน้ ีกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งต้องกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการก่อสร้าง การอนุญาตให้ ใช้ การตรวจสอบมาตรฐานการรับน้ าหนัก ความปลอดภัย และคุณสมบัติของวัสดุหรื ออุปกรณ์ ที่จาเป็ นเกี่ยวเนื่องกับสิ่ ง นั้น ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของสิ่ งที่สร้างขึ้นแต่ละประเภทหรื อแต่ละลักษณะโดยอาจกาหนดให้แตกต่างจาก บทบัญญัติของพระราชบัญญัติน้ ีได้” มาตรา 10 ให้ยกเลิกความใน (3) และ (4) ของมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ซึ่ งแก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้แทน (3) ให้คาปรึ กษา แนะนาแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรื อส่ วนราชการในการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี (4) กากับดูแลและตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและผูซ้ ่ ึ งมีหน้าที่ปฏิบตั ิการตามพระราช บัญญัติน้ ี” มาตรา 11 ให้เพิม่ ความต่อไปนี้เป็ น (5) และ (6) ของมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 (5) รับขึ้นทะเบียนและเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเป็ นผูต้ รวจสอบ (6) ปฏิบตั ิการอื่นตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี” มาตรา 12 ให้ยกเลิกความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไป นี้แทน “มาตรา 20 ให้จดั ตั้งสานักงานคณะกรรมการควบคุมอาคารขึ้นในกรมโยธาธิ การมีหน้าที่ ดังนี้ (1) ปฏิบตั ิงานธุ รการและงานวิชาการให้แก่คณะกรรมการควบคุมอาคาร (2) ปฏิบตั ิงานธุ รการ ตรวจสอบข้อเท็จจริ ง และเสนอความเห็นแก่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ (3) ประสานงานและให้ความช่วยเหลือแก่ราชการส่ วนท้องถิ่น ส่ วนราชการ หน่วยงานของรัฐ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ตาม พระราชบัญญัติน้ ี ตลอดจนให้คาแนะนาแก่ภาคเอกชน (4) ปฏิบตั ิงานตามที่คณะกรรมการควบคุมอาคารมอบหมาย”


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

6

มาตรา 13 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นมาตรา 21 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “มาตรา 21ทวิ การ ก่อสร้าง ดัดแปลง หรื อเคลื่อนย้ายอาคารชนิดหรื อประเภทที่กฎกระทรวงกาหนดให้มีการตรวจสอบงานออกแบบและ คานวณส่ วนต่าง ๆ ของโครงสร้างอาคาร ผูข้ อรับใบอนุญาตหรื อผูแ้ จ้งตามมาตรา 39 ทวิ ต้องจัดให้มีการตรวจสอบงาน ออกแบบและคานวณดังกล่าวตามหลักเกณฑ์วธิ ี การ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง” มาตรา 14 ให้ยกเลิกความในมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 28 ในกรณี ที่แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายการคานวณที่ได้ยนื่ มาพร้อมกับคาขอรับใบอนุญาตกระทาโดยผูท้ ี่ได้รับใบอนุญาต ให้เป็ นผูป้ ระกอบการวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นตรวจพิจารณาแต่เฉพาะ ในส่ วนที่ไม่เกี่ยวกับรายการคานวณ” มาตรา 15 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นมาตรา 28 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “มาตรา 28 ทวิ ในกรณี ที่แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายละเอียดด้านสถาปั ตยกรรมของอาคารซึ่ งไม่ เป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ที่ได้ยนื่ มาพร้อมกับคาขอใบอนุญาตกระทาโดยผูท้ ี่ได้รับใบอนุญาตให้เป็ นผูป้ ระกอบ วิชาชีพสถาปั ตยกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยสถาปนิก ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นตรวจพิจารณาแต่เฉพาะในส่ วนที่ไม่ เกี่ยวกับรายละเอียดด้านสถาปั ตยกรรมส่ วนภายในอาคาร เว้นแต่ทางหนีไฟและบันไดหนีไฟ” ข้ อกาหนดและวิธีปฏิบัติเกีย่ วกับการก่อสร้ าง มาตรา 16 ให้ยกเลิกความใน (1) ของมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน“(1) อาคารสาหรับ ใช้เป็ นคลังสิ นค้า โรงแรม อาคารชุด หรื อสถานพยาบาล” มาตรา 17 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นมาตรา 32 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522“มาตรา 32 ทวิ เจ้าของ อาคาร ดังต่อไปนี้ (1) อาคารสู ง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (2) อาคารชุมนุมคน (3) อาคารตามที่กาหนดในกฎกระทรวงต้องจัดให้มีผตู ้ รวจ สอบด้านวิศวกรรมหรื อหรื อผูต้ รวจสอบด้านสถาปั ตยกรรม แล้วแต่กรณี ทาการตรวจสอบสภาพ อาคาร โครงสร้างของ ตัวอาคาร อุปกรณ์ประกอบต่าง ๆเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ า และการจัดแสงสว่างระบบการเตือน การป้ องกันและการระงับ อัคคีภยั การป้ องกันอันตรายเมื่อมีเหตุชุลมุนวุน่ วาน ระบบระบายอากาศ ระบบระบายน้ า ระบบบาบัดน้ าเสี ย ระบบ เครื่ องกล หรื อระบบอื่น ๆ ของอาคารที่จาเป็ นต่อการป้ องกันภยันตรายต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุ ขภาพ ชีวติ ร่ างกาย หรื อ ทรัพย์สิน แล้วรายงานผลการตรวจสอบต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน กฎกระทรวงให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาผลการตรวจสอบสภาพอาคารตามวรรคหนึ่งโดยมิชกั ช้า เพื่อพิจารณาออก ใบรับรองการตรวจสอบสภาพอาคารหรื อดาเนินการตามมาตรา 46 หรื อมาตรา 46 ทวิ แล้วแต่กรณี ต่อไป” มาตรา 18 ให้ยกเลิกความในมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 37 ในกรณี ที่ผไู้ ด้รับ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

7

ใบอนุญาตตามมาตรา 21 มาตรา 22 หรื อมาตรา 33 ตาย ทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดกของบุคคลดังกล่าว ซึ่ งประสงค์จะทา การก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน เคลื่อนย้ายใช้หรื อเปลี่ยนการใช้อาคารนั้นต่อไป ต้องมีหนังสื อแจ้งให้พนักงานท้องถิ่น ทราบภายในเก้าสิ บวัน นับแต่วนั ที่ผไู ้ ด้รับใบอนุญาตตาย ในกรณี เช่นว่านี้ให้ถือว่าทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดกดังกล่าวเป็ น ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตนั้นแทน” มาตรา 19 ให้เพิม่ ความต่อไปนี้เป็ นหมวด 3 ทวิ การอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการเกี่ยวกับโรงมหรสพ มาตรา 39 จัตวา มาตรา 39 เบญจ และมาตรา 39 ฉ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “หมวด 3 ทวิ” การอนุญาตให้ ใช้ อาคารเพือ่ ประกอบกิจการเกีย่ วกับโรงมหรสพ มาตรา 39 จัตวา การก่อสร้าง ดัดแปลง เคลื่อนย้าย รื้ อถอน หรื อตรวจสอบอาคารที่ใช้เพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ีดว้ ย มาตรา 39 เบญจ ห้ามมิให้เจ้าของอาคารหรื อผูค้ รอบครองอาคารใช้หรื อยินยอมให้ผใู ้ ดใช้อาคารหรื อส่ วนใด ของอาคารเป็ นโรงมหรสพ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพจากคณะ กรรมการที่มีอานาจพิจารณาตามวรรคสอง แล้วแต่กรณี ให้มีคณะกรรมการพิจารณาการประกอบกิจการโรงมหรสพมี อานาจพิจารณาออกใบอนุญาตเพิกถอนใบอนุญาต ต่ออายุใบอนุญาต โอนใบอนุญาต และออกใบแทนใบอนุญาตเพื่อ ประกอบกิจการโรงมหรสพ ดังต่อไปนี้ (1) ในเขตกรุ งเทพมหานคร ประกอบด้วยอธิบดีกรมโยธาธิการเป็ นประธานกรรมการ ผูแ้ ทนกรุ งเทพมหานคร ผูแ้ ทนกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข ผูแ้ ทนสานักงานตารวจแห่งชาติเป็ นกรรมการและให้ผอู ้ านวยการกองควบคุม การก่อสร้าง กรมโยธาธิ การเป็ นกรรมการและเลขานุการ (2) ในเขตจังหวัดอื่น ประกอบด้วยผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นประธานกรรมการ เจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ เกี่ยวข้อง สาธารณสุ ขจังหวัด หัวหน้าตารวจภูธรจังหวัดเป็ นกรรมการ และให้โยธาธิ การจังหวัดเป็ นกรรมการและ เลขานุการ ในการวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสี ยงข้างมาก และให้ประธานคณะกรรมการพิจารณาการประกอบกิจการโรง มหรสพตามวรรคสองแล้วแต่กรณี เป็ นผูม้ ีอานาจลงนามออกใบอนุญาต เพิกถอนใบอนุญาต ต่ออายุใบอนุญาต โอน ใบอนุญาต และออกใบแทนใบอนุญาตตามวรรคสองประเภทของโรงมหรสพ ระบบความปลอดภัยและการป้ องกัน อันตรายอันอาจเกิดขึ้นกับคนดู และจานวนและระยะห่างของสิ่ งของหรื อส่ วนต่าง ๆ ภายในและภายนอกอาคารที่ใช้เป็ น โรงมหรสพ เช่นห้องฉาย ทางเข้าออก ประตู ที่นงั่ คนดู ทางเดิน เป็ นต้น ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงมาตรา 39 ฉ ใบอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพให้มีอายุสองปี โดยให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของปี ที่ สองนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาตหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาต การอนุญาต การต่อใบอนุญาต การโอน ใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาตสาหรับโรงมหรสพ ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงเจ้าของอาคาร หรื อผูค้ รอบครองอาคารผูใ้ ดประสงค์จะขอต่ออายุใบอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ให้ยนื่ คาขอต่อ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

8

อายุใบอนุญาตก่อนใบอนุญาตเดิมสิ้ นอายุ และเมื่อได้ยนื่ คาขอดังกล่าวแล้วให้ ประกอบกิจการต่อไปได้จนกว่าผูม้ ีอานาจ อนุญาตตามมาตรา 39 เบญจ จะมีคาสั่งไม่อนุญาต” ข้ อกาหนดโทษและการผ่ อนผันการปลูกสร้ างอาคาร มาตรา 21 ให้ยกเลิกความในมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 49 ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจแต่งตั้งข้าราชการหรื อพนักงานส่ วนท้องถิ่นซึ่ งมีความรู ้หรื อคุณวุฒิตามที่ กาหนดในกฎกระทรวงให้เป็ นนายตรวจหรื อนายช่างได้ในกรณี ที่มีความจาเป็ นหรื อได้รับการร้องขอจากเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น อธิ บดีกรมโยธาธิ การมีอานาจแต่งตั้งวิศวกรหรื อสถาปนิกเป็ นนายช่างได้ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน กฎกระทรวง” มาตรา 22 ให้ยกเลิกความในมาตรา 49 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิม่ เติมโดย พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 49 ทวิ ในกรณี ที่มีการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน หรื อเคลื่อนย้ายอาคารโดยฝ่ าฝื นบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงหรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นที่ ออกตามพระราชบัญญัติน้ ี และเจ้าพนักงานท้องถิ่นได้ดาเนินการตามมาตรา 40 มาตรา 41 หรื อมาตรา 42 แล้วแต่กรณี แต่ มิได้มีการปฏิบตั ิตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น และมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าผูร้ ับผิดชอบงานออกแบบและคานวณ อาคาร หรื อผูร้ ับผิดชอบงานออกแบบอาคาร หรื อผูค้ วบคุมงาน อาจเป็ นผูก้ ระทาหรื อมีส่วนร่ วมในการกระทาดังกล่าว ให้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นแจ้งให้บุคคลเช่นว่านั้นทราบ และให้มีหนังสื อแสดงหลักฐานภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้ง เพื่อพิสูจน์วา่ เป็ นการกระทาของผูอ้ ื่น หากไม่สามารถพิสูจน์ได้วา่ เป็ นการกระทาของผูอ้ ื่น ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น ดาเนินการแจ้งชื่อและการกระทาของบุคคลเช่นว่านั้นให้คณะกรรมการควบคุมอาคารทราบและให้แจ้งสภาวิศวกรและ สภาสถาปนิกทราบเพื่อพิจารณาดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกรและกฎหมายว่าด้วยสถาปนิก” มาตรา 23 ให้ยกเลิกความใน ( 2) ของมาตรา 50 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน“(2) ในเขตเทศบาล เขตเมืองพัทยา หรื อ เขตราชการส่ วนท้องถิ่นอื่นประกอบด้วย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นประธานกรรมการ อัยการจังหวัดซึ่ งเป็ นหัวหน้าที่ทาการ อัยการจังหวัด และบุคคลอื่นอีกไม่เกินหกคนซึ่ งปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็ นผูแ้ ต่งตั้ง ในจานวนนี้ให้แต่งตั้งจาก ภาคเอกชนไม่นอ้ ยกว่าสองคนเป็ นกรรมการ และให้โยธาธิ การจังหวัดเป็ นกรรมการและเลขานุการ” มาตรา 24 ให้ยกเลิกความซึ่งเป็ นชื่อของหมวด 6 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และให้ใช้ความต่อไปนี้ แทน “หมวด 6 นายช่ าง นายตรวจ และผู้ตรวจสอบ” มาตรา 25 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นมาตรา 55 ทวิ และมาตรา 55 ตรี แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522“มาตรา 55 ทวิ ห้ามมิให้ผใู้ ดทาการตรวจสอบตามมาตรา 32 ทวิ เว้นแต่ผนู ้ ้ นั เป็ นผูต้ รวจสอบตามพระราชบัญญัติน้ ีมาตรา 55 ตรี ในกรณี ที่ผตู้ รวจสอบทาการตรวจสอบอาคารตามมาตรา 32 ทวิ โดยฝ่ าฝื นบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ ี หรื อ กฎกระทรวงหรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้นามาตรา 49 ทวิ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม”


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

9

มาตรา 26 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ นมาตรา 65 ทวิ มาตรา 65 ตรี และมาตรา 65 จัตวา แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522“มาตรา 65 ทวิ ผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 32 ทวิ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือนหรื อปรับไม่เกินหกหมื่น บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับนอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหนึ่งแล้ว ผูไ้ ม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 32 ทวิ ยังต้องระวางโทษปรับ อีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทจนกว่าจะได้ปฏิบตั ิให้ถูกต้องมาตรา 65 ตรี ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 39 เบญจ วรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือนหรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ นอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหนึ่ง แล้ว ผูไ้ ม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 39 เบญจ วรรคหนึ่ง ยังต้องระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทจนกว่าจะได้ปฏิบตั ิ ให้ถูกต้องมาตรา 65 จัตวา ผูใ้ ดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 46 ทวิ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินสามหมื่นบาทนอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหนึ่งแล้ว ผูฝ้ ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิรามมาตรา 46 ทวิ ยังต้อง ระวางโทษปรับอีกวันละไม่เกินห้าพันบาท ตลอดเวลาที่ยงั ฝ่ าฝื นหรื อจนกว่าจะได้ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง” มาตรา 27 ให้ยกเลิกความในมาตรา 74 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน“มาตรา 74 ให้มีคณะกรรมการ เปรี ยบเทียบคดี (1) ในเขตกรุ งเทพมหานคร ประกอบด้วยผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร ผูแ้ ทนสานักงานอัยการสู งสุ ด และผูแ้ ทน สานักงานตารวจแห่งชาติ (2) ในเขตจังหวัดอื่น ประกอบด้วยผูว้ า่ ราชการจังหวัด อัยการจังหวัด ซึ่ งเป็ นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด และหัวหน้า ตารวจภูธรจังหวัดความผิดมาตรา 65 วรรคหนึ่ง มาตรา 65 ทวิ วรรคหนึ่ง มาตรา 65 ตรี วรรคหนึ่ง มาตรา 65 จัตวา วรรค หนึ่ง มาตรา 66 มาตรา 66 ทวิ วรรคหนึ่ง มาตรา 67 วรรคหนึ่ง มาตรา 68 มาตรา 69 หรื อมาตรา 70 ให้คณะกรรมการ เปรี ยบเทียบคดีมีอานาจเปรี ยบเทียบได้ในกรณี ที่พนักงานสอบสวนพบว่าผูใ้ ดกระทาความผิดตามวรรคสอง ถ้าผูก้ ระทา ความผิดดังกล่าวและผูเ้ สี ยหาย ถ้ามี ยินยอมให้เปรี ยบเทียบ ให้พนักงานสอบสวนส่ งเรื่ องให้คณะกรรมการเปรี ยบเทียบ คดีตามวรรคหนึ่งภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่ผนู ้ ้ นั ยินยอมให้เปรี ยบเทียบถ้าคณะกรรมการเปรี ยบเทียบคดีเห็นว่าผูต้ อ้ งหาไม่ ควรถูกฟ้ องร้องหรื อได้รับโทษถึงจาคุก ให้กาหนดค่าปรับซึ่ งผูต้ อ้ งหาจะพึงชาระ ถ้าผูต้ อ้ งหาและผูเ้ สี ยหาย ถ้ามี ยินยอม ตามนั้น เมื่อผูต้ อ้ งหาได้ชาระค่าปรับตามจานวนที่เปรี ยบเทียบภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ที่มีการเปรี ยบเทียบ ให้ถือว่าคดี เลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาถ้าผูต้ อ้ งหาไม่ยนิ ยอมตามที่เปรี ยบเทียบหรื อยินยอมแล้วไม่ชาระเงิน ค่าปรับภายในเวลาตามวรรคสี่ ให้ดาเนินคดีต่อไป ค่าปรับที่เปรี ยบเทียบตามพระราชบัญญัติน้ ีให้ตกเป็ นของราชการส่ วน ท้องถิ่น โดยไม่ตอ้ งนาส่ งเป็ นรายได้แผ่นดิน” อัตราค่ าธรรมเนียมว่าด้ วยการก่อสร้ าง มาตรา 28 ให้ยกเลิกความใน ( 6) ของอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และให้ใช้ความ ต่อไปนี้แทน “(6) ใบรับรองฉบับละ 100 บาท”


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

10

มาตรา 29 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ น ( 6 ทวิ) และ (6 ตรี ) ของงอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “(6 ทวิ) ใบอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบ กิจการโรงมหรสพ ฉบับละ 500 บาท 6 ตรี ) ใบรับรองการตรวจสอบ สภาพอาคาร ฉบับละ 100 บาท” มาตรา 30 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ น (8 ทวิ) ของอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 “(8 ทวิ) การต่ออายุใบอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพให้เป็ นไปตามอัตราใน (6 ทวิ)” มาตรา 31 กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติ หรื อคาสั่งใดที่อา้ งถึงโรงมหรสพตามพระราชบัญญัติป้องกันภัยอันตราย อันเกิดแต่การเล่นมหรสพ พระพุทธศักราช 2464 ให้ถือว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติ หรื อคาสั่งนั้นอ้างถึงโรง มหรสพตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 32 บรรดาคาขออนุญาตตามพระราชบัญญัติป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ พระพุทธศักราช 2464 ที่ ได้ยนื่ ไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับ และยังอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของเจ้าพนักงานซึ่ งรัฐมนตรี แต่งตั้ง ให้ถือ ว่าเป็ นคาขออนุญาตตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 33 ใบอนุญาตให้ก่อสร้างโรงมหรสพและใบอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขหรื อเพิ่มเติมโรงมหรสพที่ออกให้ตาม พระราชบัญญัติป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ พระพุทธศักราช 2464 ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับ ให้ใช้ได้ต่อไปโดยให้ถือเป็ นใบอนุญาตก่อสร้างโรงมหรสพหรื อใบอนุญาตดัดแปลงโรงมหรสพตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี แล้วแต่กรณี มาตรา 34 ใบอนุญาตให้ใช้เป็ นสถานที่แสดงการมหรสพที่ออกให้ตามพระพระราชบัญญัติป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่ การเล่นมหรสพ พระพุทธศักราช 2464 ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะสิ้ นอายุ ถ้าผูข้ อรับ ใบอนุญาตดังกล่าวประสงค์จะใช้สถานที่น้ นั เป็ นโรงมหรสพต่อไปหลังจากใบอนุญาตสิ้ นอายุ และได้ยนื่ คาขออนุญาตใช้ สถานที่ดงั กล่าวเพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพต่อไปก่อนวันที่ใบอนุญาตเดิมสิ้ นอายุ ให้ผขู ้ อรับใบอนุญาตใช้โรง มหรสพนั้นต่อไปได้ตามใบอนุญาตเดิมเว้นแต่ผมู ้ ีอานาจอนุญาตตามมาตรา 39 เบญจ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี จะมีคาสั่งไม่อนุญาตให้ใช้สถานที่น้ นั เพื่อประกอบกิจการโรงมหรสพ ตามพระราชบัญญัติ มาตรา 35 บรรดาคาขออนุญาตที่ได้ยนื่ ไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับ และยังอยูใ่ นระหว่างการ พิจารณาของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้ถือว่าเป็ นคาขออนุญาตตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไข เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี ในกรณี ที่คาขออนุญาตดังกล่าวมีขอ้ ความแตกต่างไปจากคาขออนุญาตตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจสั่งให้แก้ไขเพิ่มเติมได้ ตามความจาเป็ นเพื่อให้การเป็ นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 36 บรรดาใบอนุญาตที่ออกให้แก่บุคคลใดก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับ ให้คงใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะสิ้ นอายุ ใบอนุญาตนั้น


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

11

มาตรา 37 บรรดากฎกระทรวง ข้อบัญญัติทอ้ งถิ่น หรื อคาสั่งที่ได้ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ที่ใช้ บังคับอยูก่ ่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ ีใช้บงั คับ ให้ยงั คงใช้บงั คับต่อไปเท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับบทบัญญัติที่ได้รับการแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ี จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นหรื อคาสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ.2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ ีในเรื่ องนั้นใช้บงั คับ มาตรา 38 ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี

พระราชบัญญัติอาคารชุ ดพ.ศ. 2522 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2522 เป็ นปี ที่ 34 ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็ น การสมควรมีกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและ ยินยอมของ สภานิติบญั ญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า "พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522" มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิ บวันนับแต่วนั ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้น ไป มาตรา 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎ หรื อข้อบังคับอื่นในส่ วนที่มีบญั ญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติน้ ี หรื อซึ่ งขัดหรื อแย้งกับ บทแห่งพระราชบัญญัติน้ ี ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ีแทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี "อาคารชุด" หมายความว่า อาคารที่บุคคลสามารถแยกการถือกรรมสิ ทธิ์ ออกได้เป็ นส่ วน ๆโดยแต่ส่วนประกอบ ด้วยกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนบุคคลและกรรมสิ ทธิ์ ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง "ทรัพย์ส่วนบุคคล" หมายความว่า ห้องชุด และหมายความรวมถึงสิ่ งปลูกสร้าง หรื อที่ดินที่จดั ไว้ให้เป็ นของ เจ้าของห้องชุดแต่ละราย "ห้องชุด" หมายความว่า ส่ วนของอาคารชุดที่แยกการถือกรรมสิ ทธิ์ ออกได้เป็ นส่ วนเฉพาะของแต่ละบุคคล "ทรัพย์ส่วนกลาง" หมายความว่า ส่ วนของอาคารชุดที่มิใช่หอ้ งชุดที่ดินที่ต้ งั อาคารชุด และที่ดินหรื อทรัพย์สินอื่น ที่มีไว้เพื่อใช้หรื อเพื่อประโยชน์ร่วมกันสาหรับเจ้าของร่ วม "หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด" หมายความว่า หนังสื อสาคัญแสดงกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนบุคคล และกรรมสิ ทธิ์ ร่ วมในทรัพย์ส่วนกลาง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

12

"เจ้าของร่ วม" หมายความว่า เจ้าของห้องชุดในอาคารชุดแต่ละอาคารชุด "นิติบุคคลอาคารชุด" หมายความว่า นิติบุคคลที่ได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติน้ ี "ข้อบังคับ" หมายความว่า ข้อบังคับของนิติบุคคลอาคารชุด "พนักงานเจ้าหน้าที่" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี "รัฐมนตรี " หมายความว่า รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 5 ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจแต่งตั้ง พนักงาน เจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติน้ ี และกาหนดกิจการอื่น เพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี

หมวด 1 การจดทะเบียนอาคารชุ ด มาตรา 6 ผูม้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินและอาคารใดประสงค์จะจดทะเบียนที่ดินและอาคารนั้น ให้เป็ นอาคารชุดตาม พระราชบัญญัติน้ ี ให้ยนื่ คาขอจดทะเบียนอาคารชุดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่พร้อมด้วย (1) โฉนดที่ดิน (2) แผนผังอาคารชุด (3) อัตราส่ วนที่เจ้าของห้องชุดแต่ละห้องชุดมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนกลางตามมาตรา 14 (4) รายละเอียดเกี่ยวกับห้องชุด ทรัพย์ส่วนบุคคล และทรัพย์ส่วนกลาง (5) คารับรองของผูย้ นื่ คาขอว่าอาคารที่ขอจดทะเบียนอาคารชุดนั้นไม่ติดการจานอง เว้นแต่การจานองอาคารรวมกับที่ดิน (6) หลักฐานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 7 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับคาขอจดทะเบียนอาคารชุดตามมาตรา 6 แล้ว ถ้ามีรายชื่อ เจ้าหนี้จานองหรื อเจ้าหนี้ ซึ่ งมีบุริมสิ ทธิ เหนือที่ดินและอาคารที่ขอจดทะเบียนนั้นปรากฏอยูใ่ นโฉนดที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประกาศคาขอนั้น พร้อมกับมีหนังสื อแจ้งไปยังเจ้าหนี้ดงั กล่าวให้มาแจ้งแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ พร้อมทั้งแสดงหลักฐานภายในสามสิ บวันนับ แต่วนั ได้รับหนังสื อแจ้ง ในการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจเข้าไปตรวจที่ดินและอาคารที่ขอ จดทะเบียน ในเวลากลางวันระหว่างพระอาทิตย์ข้ ึนถึง พระอาทิตย์ตก หรื อเรี ยกบุคคลใด ๆ มาให้ถอ้ ยคา หรื อให้ส่งเอกสารตาม ความจาเป็ นได้ และให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นว่าเป็ นการถูกต้องและที่ดินนั้นปราศจากภาระผูกพันใด ๆ หรื อในกรณี ที่ ที่ดินนั้นติดการจานองแต่ผรู ้ ับจานองยินยอมให้จดทะเบียนอาคารชุด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ รับจดทะเบียนอาคารชุดได้ แต่ในกรณี ที่อาคารติดการจานองโดยไม่ครอบถึงที่ดิน ห้ามมิให้รับจดทะเบียนอาคารชุด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

13

ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าการขอจดทะเบียนอาคารชุดดังกล่าวไม่ถูกต้อง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ มีคาสั่ง ไม่รับจดทะเบียนอาคารชุดและมีหนังสื อแจ้งไปยังผูย้ นื่ คาขอพร้อมด้วยเหตุผลโดยไม่ชกั ช้า การจดทะเบียนอาคารชุด ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 8 การขอจดทะเบียนตามมาตรา 6 การประกาศ การแจ้งเจ้าหนี้และการจดทะเบียนตามมาตรา 7 ให้เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 9 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่รับจดทะเบียนอาคารชุดแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งโฉนดที่ดินที่ยนื่ มา ตามมาตรา 6 ไป ยังเจ้าพนักงานที่ดินท้องที่ที่อาคารชุดนั้นตั้งอยูภ่ ายในสิ บห้าวันเพื่อให้จดแจ้งในสารบัญสาหรับ จดทะเบียนของโฉนด ที่ดินว่าที่ดินนั้นอยูภ่ ายใต้บงั คับแห่งพระราชบัญญัติน้ ีและให้เก็บรักษาโฉนดที่ดินนั้นไว้ ในกรณี ที่ที่ดินติดการจานองแต่ ผูร้ ับจานองยินยอมให้จดทะเบียนอาคารชุด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ บันทึกความยินยอมของผูร้ ับจานองตามมาตรา 7 วรรค สาม และจานวนเงินที่ผรู ้ ับจานองจะได้รับชาระหนี้จากห้องชุด แต่ละห้องชุดตามมาตรา 22 ไว้ดว้ ย มาตรา 10 เมื่อมีการจดทะเบียนอาคารชุดและเจ้าพนักงานที่ดินได้จดแจ้งในโฉนดที่ดินตามมาตรา 9 แล้ว ห้ามมิให้จด ทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินดังกล่าวอีกต่อไป เว้นแต่กรณี ที่บญั ญัติไว้ตามพระราชบัญญัติน้ ี และห้ามมิให้ขอ จดทะเบียนอาคารชุดนั้นก่อภาระผูกพันเกี่ยวกับอาคารชุดดังกล่าว มาตรา 11 ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีคาสั่งไม่รับจดทะเบียนอาคารชุด ผูย้ นื่ คาขอมีสิทธิอุทธรณ์เป็ น หนังสื อต่อ รัฐมนตรี ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ที่ทราบคาสั่ง ให้รัฐมนตรี วนิ ิจฉัยภายในหกสิ บวันนับแต่วนั ที่ได้รับอุทธรณ์ คา วินิจฉัยของรัฐมนตรี ให้เป็ นที่สุด หมวด 2 กรรมสิ ทธิ์ในห้ องชุ ด มาตรา 12 กรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดจะแบ่งแยกมิได้ มาตรา 13 เจ้าของห้องชุดมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนบุคคลที่เป็ นของตน และมีกรรมสิ ทธิ์ ร่วมใน ทรัพย์ส่วนกลางพื้นห้อง ผนังกั้นห้องที่แบ่งระหว่างห้องชุดใด ให้ถือว่าเป็ นกรรมสิ ทธิ์ รวมของเจ้าของร่ วมระหว่างห้องชุดนั้น และการใช้สิทธิ เกี่ยวกับทรัพย์ดงั กล่าวให้เป็ นไปตามข้อบังคับ เจ้าของห้องชุดจะกระทาการใด ๆ ต่อทรัพย์ส่วนบุคคลของตนอันอาจจะ เป็ นการกระทบกระเทือนต่อโครงสร้าง ความมัน่ คง การป้ องกันความเสี ยหายต่อตัวอาคารหรื อการอื่นตามที่กาหนดไว้ใน ข้อบังคับมิได้ มาตรา 14 กรรมสิ ทธิ์ ส่วนที่ เป็ นของเจ้าของร่ วมในทรัพย์ส่วนกลางให้เป็ นไปตามอัตราส่ วนระหว่าง ราคาของห้องชุดแต่ ละห้องชุดกับราคารวมของห้องชุดทั้งหมดในขณะที่ขอจดเบียนอาคารชุดตามมาตรา 6 มาตรา 15 ทรัพย์สินต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็ นทรัพย์ส่วนกลาง (1) ที่ดินที่ต้ งั อาคารชุด (2) ที่ดินที่มีไว้เพื่อใช้หรื อเพื่อประโยชน์ร่วมกัน (3) โครงสร้าง และสิ่ งก่อสร้างเพื่อความมัน่ คงและเพื่อการป้ องกันความเสี ยหายต่อตัวอาคารชุด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

14

(4) อาคารหรื อส่ วนของอาคารและเครื่ องอุปกรณ์ที่มีไว้เพื่อใช้หรื อเพื่อประโยชน์ร่วมกัน (5) เครื่ องมือและเครื่ องใช้ที่มีไว้เพื่อใช้หรื อเพื่อประโยชน์ร่วมกัน (6) สถานที่ที่มีไว้เพื่อบริ การส่ วนรวมแก่อาคารชุด (7) ทรัพย์สินอื่นที่มีไว้เพื่อใช้หรื อเพื่อประโยชน์ร่วมกัน มาตรา 16 ทรัพย์ส่วนกลางที่เป็ นอสังหาริ มทรัพย์จะถูกฟ้ องให้แบ่งแยกบังคับจานอง หรื อบังคับให้ ขายทอดตลาด แยก จากทรัพย์ส่วนบุคคลมิได้ มาตรา 17 การจัดการและการ ใช้ทรัพย์ส่วนกลางให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติน้ ี และตามข้อบังคับ มาตรา 18 เจ้าของร่ วมต้องร่ วมกันออกค่าใช้จ่ายที่เกิดจากบริ การส่ วนรวมและที่เกิดจากเครื่ องมือ เครื่ องใช้ที่มีไว้เพื่อ ประโยชน์ร่วมกัน ตามส่ วนแห่งประโยชน์ที่มีต่อห้องชุด ทั้งนี้ ตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับ เจ้าของร่ วมต้องร่ วมกันออก ค่าภาษีอากรและค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดูแลรักษา และการดาเนินการ เกี่ยวกับทรัพย์ส่วนกลางตามอัตราส่ วนที่เจ้าของ ร่ วมแต่ละคนมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนกลางตามมาตรา 14 มาตรา 19 คนต่างด้าวและนิติบุคคลซึ่ งกฎหมายถือว่าเป็ นคนต่างด้าว อาจถือกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดได้ ถ้าเป็ นคนต่างด้าว และนิติบุคคลดังต่อไปนี้ (1) คนต่างด้าวซึ่ งได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยูใ่ นราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง (2) คนต่างด้าวซึ่ งได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริ ม การลงทุน (3) นิติบุคคลตามที่กาหนดไว้ในมาตรา 97 และมาตรา 98 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่ งจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคล ตามกฎหมายไทย (4) นิติบุคคลซึ่ งเป็ นคนต่างด้าวตามประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 281 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 และ ได้รับบัตรส่ งเสริ มการลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริ มการลงทุน (5) คนต่างด้าวหรื อนิติบุคคลที่กฎหมายถือว่าเป็ นคนต่างด้าวซึ่ งนาเงินตราต่างประเทศเข้ามา ในราชอาณาจักร หรื อ ถอนเงินจากบัญชีเงินบาทของบุคคลที่มีถิ่นที่อยูน่ อกประเทศหรื อถอนเงินจากบัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

15

หมวด 3 หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ห้องชุ ด มาตรา 20 เมื่อได้รับจดทะเบียนอาคารชุดตามมาตรา 7 แล้วให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการออกหนังสื อ กรรมสิ ทธิ์ หอ้ ง ชุดตามแผนผังอาคารชุดที่จดทะเบียนนั้นโดยไม่ชกั ช้าการจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุดจะกระทามิได้ จนกว่าจะจดทะเบียนนิติบุคคล อาคารชุดตามมาตรา 31 เว้นแต่เป็ นการจดทะเบียนไถ่ถอนจานองที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ จดแจ้งการจานองไว้ ตามมาตรา 22 หรื อเป็ นการโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดทั้งหมดให้แก่บุคคลคนเดียวหรื อหลายคนโดย ถือกรรมสิ ทธิ์ รวม มาตรา 21 หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด อย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ (1) ตาแหน่งที่ดินและจานวนเนื้อที่ของที่ดินของอาคารชุด (2) ที่ต้ งั เนื้อที่ และแผนผังของห้องชุด ซึ่งแสดงความกว้าง ความยาว และความสู ง (3) อัตราส่ วนแห่งกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนกลาง (4) ชื่อตัวและชื่อสกุลของผูม้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในห้อง ชุด (5) สารบัญสาหรับจดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม (6) ลายมือชื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (7) ประทับตราประจาตาแหน่ง ของพนักงานเจ้าหน้าที่ หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดให้ทาเป็ นคู่ฉบับรวมสองฉบับ มอบให้ผมู ้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดฉบับหนึ่ง อีกฉบับหนึ่ง เก็บไว้ที่สานักงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ สาหรับฉบับที่เก็บไว้ที่สานักงานของพนักงานเจ้าหน้าที่น้ นั จะจาลองเป็ นรู ป ถ่ายก็ได้ ในกรณี เช่นนี้ให้ลงลายมือชื่อและประทับตราประจาตาแหน่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ดว้ ยแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการออก หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดรวมทั้งใบแทนหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด ให้กาหนดโดยกฎกระทรวง มาตรา 22 ในกรณี ที่อสังหาริ มทรัพย์ตามมาตรา 15 (1) หรื อ (2) ติดการจานองอยูก่ ่อนจดทะเบียนอาคารชุด แต่ผรู ้ ับ จานองได้ยนิ ยอมให้จดทะเบียนอาคารชุดตามมาตรา 7 วรรคสาม เมื่อออกหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด พนักงานเจ้าหน้าที่ จะต้องระบุให้ผขู ้ อจดทะเบียนเป็ นผูม้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดและจดแจ้งการจานองนั้นในหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดทุก ฉบับ พร้อมทั้งระบุจานวนเงินที่ผรู ้ ับจานองจะได้รับชาระหนี้จากห้องชุดแต่ละห้องชุด โดยคานวณจานวนเงินดังกล่าว ตามอัตราส่ วนแห่งกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนกลางไว้ในสารบัญสาหรับจดทะเบียนด้วยเมื่อได้ออกหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ ง ชุดตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ถือว่าห้องชุดแต่ละห้องเป็ นประกันหนี้จานอง เฉพาะส่ วนที่ระบุไว้ในหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ ง ชุดนั้น มาตรา 23 ในกรณี ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้จดแจ้งการจานองอสังหาริ มทรัพย์ในหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด ตามมาตรา 22 แล้ว การจาหน่ายห้องชุดแต่ละห้องในครั้งแรกโดยผูข้ อจดทะเบียนอาคารชุดซึ่ งเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ใน หนังสื อ กรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดจะจาหน่ายห้องชุดนั้นให้ผรู ้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดได้รับโอนไปโดยปลอดจานอง มาตรา 24 เมื่อปรากฏว่า การออกหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด การจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุด หรื อการ จดแจ้งรายการในสารบัญสาหรับจดทะเบียนคลาดเคลื่อนหรื อไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอานาจเพิก ถอนหรื อแก้ไขได้ แล้วแต่กรณี


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

16

ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสอบสวนและเรี ยกหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุด เอกสารที่ได้จดทะเบียน สิ ทธิและนิติ กรรม เอกสารที่ได้จดแจ้งรายการในสารบัญสาหรับจดทะเบียน หรื อเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องมาพิจารณา แต่ก่อนที่จะ ดาเนินการเพิกถอนหรื อแก้ไข ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า สิ บห้าวันเพื่อให้ โอกาสคัดค้าน ถ้าไม่คดั ค้านภายในกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้ง ให้ถือว่าไม่มีการคัดค้าน ในกรณี ที่พนักงาน เจ้าหน้าที่เรี ยกหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดมาดาเนินการไม่ได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจ ออกใบแทนหนังสื อ กรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดได้ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจตามวรรคหนึ่งพิจารณาประการใดแล้ว ให้ดาเนินการไปตามนั้นในกรณี ที่ศาลมีคา พิพากษาหรื อคาสั่งถึงที่สุดให้เพิกถอนหรื อแก้ไขอย่างใดแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ดาเนินการตามคาพิพากษาหรื อคาสั่ง นั้น มาตรา 25 หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดของผูใ้ ดสู ญหายหรื อชารุ ดในสาระสาคัญ ให้เจ้าของขอรับใบแทน หนังสื อ กรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดนั้นได้ มาตรา 26 ในกรณี ที่มีการออกใบแทนหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดตามมาตรา 24 หรื อมาตรา 25 แล้ว ให้หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดฉบับเดิมเป็ นอันยกเลิก เว้นแต่ศาลจะสั่งเป็ นอย่างอื่น มาตรา 27 ในกรณี ที่หนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดฉบับที่เก็บไว้ที่สานักงานของพนักงานเจ้าหน้าที่สูญหาย หรื อชารุ ดใน สาระสาคัญ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจเรี ยกหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ หอ้ งชุดฉบับเจ้าของห้องชุดมาพิจารณา แล้วจัดทาขึ้น ใหม่โดยอาศัยหลักฐานเดิม หมวด 4 การจดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม มาตรา 28 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ ีเป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรม เกี่ยวกับห้อง ชุด มาตรา 29 ผูใ้ ดประสงค์จะจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้นาหนังสื อกรรมสิ ทธิ์ ห้องชุดมาจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ในกรณี ที่ขอจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดให้ผขู ้ อนาหนังสื อรับรองรายการหนี้ อันเกิด จากค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18 จากผูจ้ ดั การของนิติบุคคลอาคารชุดที่เกี่ยวข้องมาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ด้วย และให้ พนักงานเจ้าหน้าที่รับจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมได้เมื่อมีการชาระหนี้น้ นั ครบถ้วนแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจเรี ยกผูจ้ ดั การของนิติบุคคลอาคารชุดมาให้ขอ้ เท็จจริ งเกี่ยวกับ รายการหนี้ตามวรรค สอง ความในวรรคสองมิให้ใช้บงั คับแก่กรณี การจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดก่อน จด ทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

17

มาตรา 30 ให้นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายที่ดิน หมวด 6 การจดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม และกฎกระทรวงที่ ออกตามบทบัญญัติดงั กล่าวมาใช้บงั คับแก่การจดทะเบียนสิ ทธิ และนิติกรรมเกี่ยวกับห้องชุด โดยอนุโลม หมวด 5 นิติบุคคลอาคารชุ ด มาตรา 31 การโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดให้แก่บุคคลหนึ่งบุคคลใดโดยไม่เป็ นการโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุด ทั้งหมดใน อาคารชุดให้แก่บุคคลคนเดียวหรื อหลายคนโดยถือกรรมสิ ทธิ์ รวมจะกระทาได้ต่อเมื่อผูข้ อโอนและผูข้ อรับโอน กรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดดังกล่าวยืน่ คาขอโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดพร้อมกับคาขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด โดยมี สาเนาข้อบังคับและหลักฐานในการจดทะเบียนอาคารชุดต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นว่าเป็ น การถูกต้อง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ใน ห้องชุดให้แก่ผขู ้ อรับโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดและจด ทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดตามวรรคหนึ่งพร้อมกันไปและให้ ประกาศการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดในราชกิจจา นุเบกษาการขอและการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กาหนดในกฎกระทรวง ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงั คับแก่การโอนกรรมสิ ทธิ์ ในห้องชุดภายหลังที่ได้จดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดแล้ว มาตรา 32 ข้อบังคับอย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ (1) ชื่อนิติบุคคลอาคารชุดซึ่ งต้องมีคาว่า "นิติบุคคลอาคารชุด" ไว้ดว้ ย (2) วัตถุประสงค์ตามมาตรา 33 (3) ที่ต้ งั สานักงานของนิติบุคคลอาคารชุด (4) จานวนเงินค่าใช้จ่ายของนิติบุคคลอาคารชุดที่เจ้าของร่ วมต้องชาระล่วงหน้า (5) ทรัพย์ส่วนกลางนอกจากที่บญั ญัติไว้ในมาตรา 15 ถ้ามี (6) การจัดการทรัพย์ส่วนกลาง (7) การใช้ทรัพย์ส่วนบุคคลและทรัพย์ส่วนกลาง (8) อัตราส่ วนที่เจ้าของร่ วมแต่ละห้องชุดมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนกลางตามที่ขอจดทะเบียนอาคารชุด (9) การเรี ยกประชุมใหญ่และวิธีการประชุมใหญ่ของเจ้าของร่ วม (10) อัตราส่ วนค่าใช้จ่ายร่ วมกันของเจ้าของร่ วมตามมาตรา 18 (11) การแต่งตั้ง อานาจหน้าที่ วาระการดารงตาแหน่ง และการพ้นจากตาแหน่งของผูจ้ ดั การ (12) ข้อความอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ซึ่ งข้อบังคับที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว จะสมบูรณ์ต่อเมื่อนาไปจดทะเบียนต่อ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 33 นิติบุคคลอาคารชุดที่ได้จดทะเบียนตามมาตรา 31 ให้มีฐานะเป็ นนิติบุคคล นิติบุคคลอาคารชุดมีวตั ถุประสงค์เพื่อจัดการ และดูแลรักษาทรัพย์ส่วนกลาง และให้มีอานาจกระทาการ ใด ๆ เพื่อ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ดงั กล่าว ทั้งนี้ ตามมติของเจ้าของร่ วมภายใต้บงั คับแห่งพระราชบัญญัติน้ ี


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

18

มาตรา 34 ในกรณี ที่อาคารชุดถูกเวนคืนบางส่ วนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริ มทรัพย์ ให้เจ้าของร่ วมซึ่ งถูก เวนคืนห้องชุดหมดสิ ทธิ ในทรัพย์ส่วนกลางที่เหลือจากการถูกเวนคืน ในกรณี น้ ีให้ นิติบุคคลอาคารชุดจัดการให้เจ้าของ ร่ วมซึ่ งไม่ถูกเวนคืนห้องชุดร่ วมกันชดใช้ราคาให้แก่เจ้าของร่ วมซึ่ งหมดสิ ทธิ ไป ดังกล่าว ทั้งนี้ ตามอัตราส่ วนที่เจ้าของ ร่ วมแต่ละคนมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ส่วนกลาง เพื่อประโยชน์ในการชดใช้ราคาให้แก่เจ้าของร่ วมซึ่ งหมดสิ ทธิ ไปตามวรรค หนึ่ง ให้ถือว่าหนี้เพื่อชดใช้ราคา ดังกล่าวมีบุริมสิ ทธิ เหนือทรัพย์ส่วนบุคคลของเจ้าของห้องชุดซึ่ งไม่ถูกเวนคืนห้องชุด เช่นเดียวกับค่าใช้จ่ายตาม มาตรา 18 วรรคสอง มาตรา 35 ให้นิติบุคคลอาคารชุดมีผจู้ ดั การคนหนึ่ง ซึ่ งจะเป็ นบุคคลธรรมดาหรื อนิติบุคคลก็ได้ ในกรณี ที่นิติบุคคลเป็ นผูจ้ ดั การ ให้นิ ติบุคคลนั้นแต่งตั้งบุคคลธรรมดาคนหนึ่งเป็ นผูด้ าเนินการแทนนิติบุคคล ใน ฐานะผูจ้ ดั การ มาตรา 36 ผูจ้ ดั การมีอานาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี้ (1) ปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา 33 หรื อมติของที่ประชุมเจ้าของร่ วม หรื อคณะกรรมการ ตาม มาตรา 37 ทั้งนี้ โดยไม่ขดั ต่อข้อบังคับ (2) ในกรณี จาเป็ นและรี บด่วน ให้ผจู ้ ดั การมีอานาจโดยความริ เริ่ มของตนเองจัดการในกิจการ เพื่อความปลอดภัย ของอาคาร ดังเช่นวิญญูชนจะพึงรักษาและจัดการทรัพย์สินของตนเอง (3) เป็ นผูแ้ ทนของนิติบุคคลอาคารชุด (4) หน้าที่อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ผูจ้ ดั การต้องปฏิบตั ิกิจการในหน้าที่ดว้ ยตนเอง เว้นแต่กิจการซึ่ งตามข้อบังคับ หรื อมติของที่ประชุมเจ้าของร่ วม ตาม มาตรา 48 (3) กาหนดให้มอบหมายให้ผอู ้ ื่นทาแทนได้ มาตรา 37 เจ้าของร่ วมจะจัดให้มีคณะกรรมการควบคุมการจัดการนิติบุคคลอาคารชุด ประกอบด้วยกรรมการไม่เกินเก้า คนซึ่ งแต่งตั้งโดยมติของที่ประชุมใหญ่ตามมาตรา 44 ก็ได้ การแต่งตั้ง วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการ อานาจหน้าที่และการประชุมของ คณะกรรมการ ให้เป็ นไปตามมติของที่ประชุมใหญ่ตามมาตรา 44 มาตรา 38 บุคคลดังต่อไปนี้ มีสิทธิ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการ (1) เจ้าของร่ วม หรื อคู่สมรสของเจ้าของร่ วม (2) ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม ผูอ้ นุบาลหรื อผูพ้ ิทกั ษ์ ในกรณี ที่เจ้าของร่ วมเป็ นผูเ้ ยาว์ คนไร้ความสามารถหรื อ คนเสมือน ไร้ความสามารถ แล้วแต่กรณี (2) ผูจ้ ดั การหรื อผูแ้ ทนอื่นของนิติบุคคลในกรณี ที่นิติบุคคลเป็ นเจ้าของร่ วม มาตรา 39 นิติบุคคลอาคารชุดอาจใช้สิทธิ ของเจ้าของร่ วมครอบไปถึงทรัพย์ส่วนกลางทั้งหมด ในการต่อสู ้บุคคลภายนอก หรื อเรี ยกร้องเอาทรัพย์สินคืน เพื่อประโยชน์ของเจ้าของร่ วมทั้งหมดได้ มาตรา 40 ให้เจ้าของร่ วมชาระเงินให้แก่นิติบุคคลอาคารชุดเพื่อดาเนินกิจการของนิติบุคคลอาคารชุด ดังต่อไปนี้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

19

(1) เงินค่าใช้จ่ายของนิติบุคคลอาคารชุดที่เจ้าของแต่ละห้องชุดจะต้องชาระล่วงหน้า (2) เงินทุนเมื่อเริ่ มต้นกระทากิจการอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อบังคับ หรื อตามมติของที่ประชุมใหญ่ (3) เงินอื่นเพื่อปฏิบตั ิตามมติของที่ประชุมใหญ่ภายใต้เงื่อนไขซึ่ งที่ประชุมใหญ่กาหนด มาตรา 41 เพื่อประโยชน์ในการบังคับชาระหนี้อนั เกิดจากค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18 ให้นิติบุคคลอาคารชุด มีบุริมสิ ทธิ ดังนี้ (1) บุริมสิ ทธิ เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็ นบุริมสิ ทธิ ในลาดับเดียวกับ บุริมสิ ทธิ ตาม มาตรา 259 (1) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ และมีอยูเ่ หนือสังหาริ มทรัพย์ที่เจ้าของห้องชุดนั้น นามาไว้ในห้อง ชุดของตน (2) บุริมสิ ทธิ เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18 วรรคสอง ให้ถือว่าเป็ นบุริมสิ ทธิ ในลาดับเดียวกับ บุริมสิ ทธิ ตาม มาตรา 273 (1) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ และมีอยูเ่ หนือทรัพย์ส่วนบุคคลของแต่ละเจ้าของ ห้องชุด บุริมสิ ทธิตาม (2) ถ้าผูจ้ ดั การได้ส่งรายการหนี้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้วให้ถือว่าอยูใ่ นลาดับก่อนจานอง มาตรา 42 ให้มีการประชุมเจ้าของร่ วมทั้งหมด เรี ยกว่า ประชุมใหญ่ ภายในหกเดือนนับแต่วนั ที่ได้จดทะเบียน นิติบุคคล อาคารชุด ต่อจากนั้นให้มีการประชุมใหญ่ปีละหนึ่งครั้งเป็ นอย่างน้อย มาตรา 43 การประชุมใหญ่ตอ้ งมีผมู ้ าประชุมซึ่ งมีเสี ยงลงคะแนนรวมกันไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งในสามของ จานวนเสี ยง ลงคะแนนทั้งหมด จึงจะเป็ นองค์ประชุม มาตรา 44 มติของที่ประชุมใหญ่ตอ้ งได้รับคะแนนเสี ยงข้างมากของเจ้าของร่ วมที่เข้าประชุม เว้นแต่พระราชบัญญัติน้ ีจะ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น มาตรา 45 ในการลงคะแนนเสี ยง ให้เจ้าของร่ วมแต่ละรายมีคะแนนเสี ยงเท่ากับอัตราส่ วนที่ตนมีกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์ ส่ วนกลาง ถ้าเจ้าของร่ วมคนเดียวมีคะแนนเสี ยงเกินกึ่งหนึ่งของจานวนคะแนนเสี ยงทั้งหมดให้ลดจานวนคะแนน เสี ยง ของผูน้ ้ นั ลงมาเหลือเท่ากับจานวนคะแนนเสี ยงของบรรดาเจ้าของร่ วมอื่น ๆ รวมกัน มาตรา 46 เมื่อมีขอ้ บังคับกาหนดให้เจ้าของร่ วมเพียงบางคนต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการใดโดยเฉพาะ ให้เจ้าของร่ วมเหล่านี้ เท่านั้นมีส่วนออกเสี ยงในมติที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการนั้น โดยแต่ละคนมีคะแนนเสี ยง ตามอัตราส่ วนที่กาหนดไว้ใน ข้อบังคับตามมาตรา 18 วรรคหนึ่ง มาตรา 47 เจ้าของร่ วมอาจมอบฉันทะเป็ นหนังสื อให้ผอู ้ ื่นออกเสี ยงแทนตนได้ แต่ผรู ้ ับมอบฉันทะ คนหนึ่งจะรับมอบ ฉันทะให้ออกเสี ยงในการประชุมครั้งหนึ่งเกินสามรายมิได้ ผูจ้ ดั การ และคู่สมรสของผูจ้ ดั การ จะเป็ นประธานในที่ ประชุมหรื อจะรับมอบฉันทะให้ออกเสี ยง แทนเจ้าของร่ วมคนใดมิได้ มาตรา 48 มติเกี่ยวกับเรื่ องดังต่อไปนี้ตอ้ งได้รับคะแนนเสี ยงเกินกึ่งหนึ่งของจานวนคะแนนเสี ยง ของเจ้าของร่ วมทั้งหมด (1) การอนุญาตให้เจ้าของร่ วมคนใดคนหนึ่งทาการก่อสร้างต่อเติมที่มีผลต่อทรัพย์ส่วนกลาง หรื อลักษณะภายนอก ของอาคาร โดยค่าใช้จ่ายของผูน้ ้ นั เอง (2) การแต่งตั้งหรื อถอดถอนผูจ้ ดั การ (3) การกาหนดกิจการที่ผจู ้ ดั การมีอานาจมอบหมายให้ผอู ้ ื่นทาการแทนได้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

20

ถ้าเจ้าของร่ วมมาประชุมมีจานวนไม่พอที่จะถือเป็ นเสี ยงข้างมากตามวรรคหนึ่งให้เรี ยกประชุมใหม่ ภายในสิ บห้า วันนับแต่วนั เรี ยกประชุมครั้งก่อน การประชุมครั้งใหม่น้ ีให้ออกเสี ยงลงมติตามจานวน คะแนนเสี ยงข้างมากของผูเ้ ข้า ประชุม มาตรา 49 มติเกี่ยวกับเรื่ องดังต่อไปนี้ตอ้ งได้รับคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ ของจานวนคะแนนเสี ยง ของเจ้าของ ร่ วมทั้งหมด (1) การแก้ไข เปลี่ยนแปลงอัตราส่ วนค่าใช้จ่ายร่ วมกันในข้อบังคับตามมาตรา 32 (10) (2) การซื้ ออสังหาริ มทรัพย์ หรื อรับให้อสังหาริ มทรัพย์ซ่ ึ งมีค่าภาระติดพัน เป็ นทรัพย์ส่วนกลาง (3) การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับเกี่ยวกับการใช้หรื อการจัดการทรัพย์ส่วนกลาง (4) การก่อสร้างอันเป็ นการเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรื อปรับปรุ งทรัพย์ส่วนกลาง นอกจากที่กาหนดไว้ในข้อบังคับ (5) การจาหน่ายทรัพย์ส่วนกลางที่เป็ นอสังหาริ มทรัพย์ มาตรา 50 ในกรณี ที่อาคารชุดเสี ยหายทั้งหมดหรื อเป็ นบางส่ วนแต่เกินครึ่ งหนึ่งของจานวนห้องชุดทั้งหมด ถ้าเจ้าของร่ วม มีมติโดยคะแนนเสี ยงตามมาตรา 48 ให้ก่อสร้างหรื อซ่อมแซมอาคารส่ วนที่เสี ยหายนั้น ให้นิติบุคคล อาคารชุดจัดการ ก่อสร้างหรื อซ่อมแซมอาคารส่ วนที่เสี ยหายให้คืนดีในกรณี ที่อาคารชุดเสี ยหายเป็ นบางส่ วนแต่นอ้ ยกว่าครึ่ งหนึ่งของ จานวนห้องชุดทั้งหมดถ้าส่ วนใหญ่ของเจ้าของห้องชุดที่เสี ยหายมีมติให้ก่อสร้างหรื อซ่อมแซมอาคารส่ วนที่เสี ยหาย ให้ นิติบุคคลอาคารชุดจัดการ ก่อสร้างหรื อซ่อมแซมอาคารส่ วนที่เสี ยหายให้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

21

พระราชบัญญัติ การประกอบอาชีพงานก่อสร้ าง พ.ศ. 2522 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2522เป็ นปี ที่ 34 ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราช โองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการประกอบอาชีพงานก่อสร้างจึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดย คาแนะนาและยินยอมของสภานิติบญั ญัติแห่งชาติ ทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า "พระราชบัญญัติการประกอบ อาชีพงานก่อสร้าง พ.ศ. 2522" มาตรา 2* พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป *[รก.2522/75/36พ./10 พฤษภาคม 2522] มาตรา 3 ในพระราชบัญญัติน้ ี "งานก่อสร้าง" หมายความว่า งานเกี่ยวกับการก่อสร้าง ดัดแปลงขยาย ต่อเติม ประกอบ ติดตั้งหรื อรื้ อถอนซึ่ งอาคาร หรื อสิ่ งก่อสร้างขนาดใหญ่ตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง "อาคาร" หมายความว่า อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร "ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม" หมายความว่า ผูท้ ี่จดทะเบียนเป็ นผูร้ ับรื อประกอบงานก่อสร้างควบคุมตาม พระราชบัญญัติน้ ี "กรรมการ" หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง "รัฐมนตรี " หมายความว่า รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 4 พระราชบัญญัติน้ ีไม่ใช้บงั คับแก่ (1) ส่ วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณซึ่ งประกอบงานก่อสร้างด้วยตนเอง (2) นิติบุคคลต่างประเทศซึ่ งมีสิทธิ เข้ามารับงานก่อสร้างในกิจการตามพันธะที่รัฐบาลตกลงกับทบวงการชานัญ พิเศษแห่งสหประชาชาติ สถาบันระหว่างประเทศอื่นหรื อรัฐบาลต่างประเทศ (3) นิติบุคคลอื่นตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา มาตรา 5 ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออก กฎกระทรวง กาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติน้ ี ตลอดจนออกกฎกระทรวงกาหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบตั ิการตาม พระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บงั คับได้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

22

หมวด 1 สถาบันผู้รับงานก่ อสร้ าง มาตรา 6 ให้จดั ตั้งสถาบันขึ้นสถาบันหนึ่งเรี ยกว่า "สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง" มีอานาจหน้าที่ตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ ีให้สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเป็ นนิติบุคคล มาตรา 7 สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างมีวตั ถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) ควบคุมสอดส่ องดูแลความประพฤติและมรรยาทของผูร้ ับงาน ก่อสร้าง (2) ส่ งเสริ มการรับงานก่อสร้าง (3) รักษาผลประโยชน์ของผูร้ ับงานก่อสร้าง (4) เผยแพร่ และให้การศึกษาเกี่ยวกับงานก่อสร้าง มาตรา 8 สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างประกอบด้วยกรรมการสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างและ สมาชิกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง มาตรา 9 สมาชิกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างมีสองประเภท คือ (1) สมาชิกสามัญ ได้แก่ผมู ้ ีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (ก) เป็ นผูแ้ ทนซึ่ งได้รับมอบหมายจากห้างหุ น้ ส่ วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด บริ ษทั จากัดหรื อบริ ษทั มหาชนจากัดที่ประกอบธุ รกิจงานก่อสร้าง (ข) มีอายุครบยีส่ ิ บปี บริ บูรณ์ (ค) ไม่เป็ นผูม้ ีความประพฤติเสี ยหายซึ่ งคณะกรรมการสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเห็นว่าจะนามาซึ่ งความเสื่ อมเสี ย เกียรติศกั ดิ์แห่งอาชีพ (ง) ไม่เคยต้องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดหรื อคาสัง่ ที่ชอบด้วยกฎหมายให้จาคุกในคดีซ่ ึ งคณะกรรมการ สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเห็นว่าอาจนามาซึ่ งความเสื่ อมเสี ยเกียรติศกั ดิ์แห่งอาชีพ (จ) ไม่เป็ นคนไร้ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ความ สามารถ (ฉ) ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย (2) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ผทู ้ รงคุณวุฒิในสาขาวิชาการต่าง ๆ ซึ่ งสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเชิญ ให้เป็ นสมาชิก กิตติมศักดิ์ มาตรา 10 การเข้าเป็ นสมาชิก สิ ทธิ หน้าที่และการขาดจากสมาชิกภาพ ของสมาชิกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างให้เป็ นไป ตามข้อบังคับของคณะกรรมการสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง มาตรา 11 สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างอาจมีรายได้ดงั ต่อไปนี้ (1) ค่าจดทะเบียน ค่าบารุ ง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ของสถาบัน ผูร้ ับงานก่อสร้าง (2) ค่าธรรมเนียมที่เรี ยกเก็บตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 5 (3) ผลประโยชน์จากการลงทุนและกิจกรรมอื่น (4) ทรัพย์สินที่มีผบู้ ริ จาคให้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

23

มาตรา 12 ให้รัฐมนตรี ดารงตาแหน่งนายกพิเศษสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง และมีอานาจหน้าที่กากับกิจการของสถาบัน ผูร้ ับงานก่อสร้างตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 13 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรี ยกว่า "คณะกรรมการ สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง" เรี ยกโดยย่อว่า "ก.ก.ส." ซึ่ง ประกอบด้วยปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมทางหลวง อธิ บดีกรมโยธาธิ การและกรรมการอื่นซึ่ งรัฐมนตรี แต่งต ั​ั​ั้ งจากผูแ้ ทนของ ก.ว.หนึ่งคน ผูแ้ ทนของ ก.ส.หนึ่งคน ผูแ้ ทนของสมาคมนายช่างเหมาไทยหนึ่งคน ข้าราชการใน หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างสองคน และบุคคลซึ่ งที่ประชุมสมาชิกสามัญของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเลือกตั้ง จากสมาชิกสามัญของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง อีกไม่เกินสี่ คน เป็ นกรรมการสมาชิกสามัญซึ่ งสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเลือกตั้งขึ้นตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็ นกรรมการ ผูจ้ ดั การหรื อหุ น้ ส่ วนผูจ้ ดั การของผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุ มให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็ นนายกสถาบันผูร้ ับงาน ก่อสร้างห้เลขาธิ การสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเป็ น เลขานุการของ ก.ก.ส. มาตรา 14 กรรมการซึ่ งรัฐมนตรี แต่งตั้งมีวาระอยูใ่ นตาแหน่งสองปี กรรมการซึ่ งพ้นจากตาแหน่งแล้วอาจได้รับแต่งตั้ง อีกได้ แต่จะดารงตาแหน่งกรรมการเกินกว่าสองวาระติดต่อกันไม่ได้ มาตรา 15 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการซึ่ง รัฐมนตรี แต่งตั้งพ้นจากตาแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดจากการเป็ นสมาชิกสามัญของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง สาหรับบุคคล ซึ่งที่ประชุมสมาชิกสามัญของ สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเลือกตั้งขึ้น เมื่อกรรมการซึ่ งรัฐมนตรี แต่งตั้งพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระให้รัฐมนตรี แต่งตั้งกรรมการแทนตาแหน่งที่วา่ ง ถ้า ระยะเวลาที่จะดารงตาแหน่งตาม มาตรา 14 เหลือไม่ถึงหกเดือน จะไม่แต่งตั้งก็ได้ให้กรรมการซึ่ งได้รับแต่งตั้งตามวรรค สอง อยูใ่ นตาแหน่งตามวาระของกรรมการที่ตนแทน มาตรา 16 เมื่อกรรมการซึ่ งรัฐมนตรี แต่งตั้งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้กรรมการที่พน้ จากตาแหน่งนั้นคงอยูร่ ักษาการ ต่อไปจนกว่ากรรมการที่ได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ มาตรา 17 การประชุม ก.ก.ส.ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็ นองค์ ประชุม ถ้าการประชุมคราวใดนายกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างไม่อยูใ่ นที่ประชุม หรื อไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ ได้ ให้ กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการด้วยกันคนหนึ่งเป็ นประธานในที่ประชุม ภายใต้บงั คับมาตรา 23 มติของที่ประชุม ก.ก.ส.ให้ถือเสี ยงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสี ยงหนึ่งเสี ยงในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสี ยงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสี ยงเพิ่มขึ้นอีกเสี ยงหนึ่งเป็ นเสี ยงชี้ขาดให้ ก.ก.ส.จัดให้มี การประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง มาตรา 18 ให้ ก.ก.ส.มีอานาจและหน้าที่วางนโยบายและดาเนินงานของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง และรวมถึงอานาจ หน้าที่ดงั ต่อไปนี้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

24

(1) ออกข้อบังคับการเข้าเป็ นสมาชิกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างและการขาดจากสมาชิกภาพ (2) ออกข้อบังคับกาหนดค่าจดทะเบียน ค่าบารุ ง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ (3) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมสมาชิกของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง (4) ออกข้อบังคับวางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขอจดทะเบียน การรับจดทะเบียน การต่ออายุทะเบียน หรื อการเพิก ถอนทะเบียน เป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม (5) ออกข้อบังคับว่าด้วยการรักษามรรยาทแห่งอาชีพผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม (6) ออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุม ก.ก.ส.หรื ออนุกรรมการ (7) ออกข้อบังคับว่าด้วยการค้ าประกันและการให้สินเชื่ อแก่ผรู ้ ับงานก่อสร้างควบคุม (8) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับเรื่ องอื่น ๆ ที่อยูภ่ ายในวัตถุประสงค์ของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง และการบริ หาร กิจการ รวมทั้งกาหนดเบี้ยประชุมกรรมการและค่าจ้างของพนักงานและลูกจ้างของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง (9) ให้คาปรึ กษา แนะนา และขอความร่ วมมือจากทางราชการเพื่อควบคุมหรื อส่ งเสริ มการรับงานก่อสร้าง มาตรา 19 ให้ ก.ก.ส.มีอานาจแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อทากิจการหรื อพิจารณาเรื่ องต่าง ๆ อันอยูใ่ นขอบเขตแห่ง วัตถุประสงค์ของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง มาตรา 20 ในกิจการเกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้นายกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างหรื อกรรมการซึ่ งนายกสถาบันผูร้ ับงาน ก่อสร้างมอบหมายเป็ นหนังสื อ เป็ นผูแ้ ทนสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง มาตรา 21 ทุก ๆ ปี ให้นายกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างจัดให้มีการประชุมสามัญประจาปี ของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง เพื่อ ดาเนินการเลือกตั้งกรรมการและปรึ กษาหารื อกิจการที่อยูใ่ นวัตถุประสงค์ของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง ในกรณี ที่จาเป็ น จะจัดให้มีการประชุมวิสามัญก็ได้ มาตรา 22 นายกพิเศษสถาบันผู้ รับงานก่อสร้างจะเข้าฟังการประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมสถาบันผูร้ ับ งานก่อสร้าง หรื อจะส่ งความเห็นเป็ นหนังสื อไปยังสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างในเรื่ องใด ๆ ก็ได้ มาตรา 23 มติของ ก.ก.ส.ตามมาตรา 18 (2) (4) (5) (6) และ (8) จะต้องได้รับความเห็นชอบของนายกพิเศษสถาบันผูร้ ับ งานก่อสร้างก่อนจึงจะดาเนินการตามมติน้ นั ได้ให้นายกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเสนอมติของ ก.ก.ส.ต่อนายก พิเศษ สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างโดยไม่ชกั ช้า นายกพิเศษสถาบันผูร้ ับงาน ก่อสร้างอาจยับยั้งมติน้ นั ได้ ในกรณี ที่มิได้มีการ ยับยั้งภายในสิ บห้าวันนับแต่ วันที่ได้รับมติที่นายกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเสนอ ให้ถือว่านายกพิเศษ สถาบันผูร้ ับ งานก่อสร้างให้ความเห็นชอบด้วยมติน้ นั ถ้านายกพิเศษสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างยับยั้งมติใด ให้ ก.ก.ส. พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ในการประชุมนั้นถ้ามีเสี ยง ยืนยันมติถึงสามในสี่ ของจานวนกรรมการทั้งคณะ ก็ให้ดาเนินการตามมติน้ นั ได้ มาตรา 24 ให้นายกสถาบันผูร้ ับงาน ก่อสร้างแต่งตั้งเลขาธิ การ สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างคนหนึ่งด้วยความเห็นชอบ ของ ก.ก.ส.มีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาทะเบียนผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมและในกิจการอื่นทัว่ ไป เลขาธิการสถาบัน ผูร้ ับงานก่อสร้างต้องเป็ นกรรมการผูจ้ ดั การหรื อหุ น้ ส่ วนผูจ้ ดั การของผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

25

หมวด 2 การรับงานก่ อสร้ างควบคุม มาตรา 25 รัฐมนตรี มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด (1) งานก่อสร้างประเภทใด ลักษณะใด ขนาดใด หรื อสาขาใด เป็ นงานก่อสร้างควบคุม (2) กาหนดประเภทผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม มาตรา 26 ผูร้ ับงานก่อสร้างซึ่ งประสงค์จะเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมต้องจดทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม จาก ก.ก.ส. มาตรา 27 การขอจดทะเบียน การรับจดทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมให้เป็ นไปตามข้อบังคับของ ก.ก.ส. มาตรา 28 ผูข้ อจดทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม อย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติดงั ต่อไปนี้ (1) เป็ นห้างหุ น้ ส่ วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด บริ ษทั จากัดหรื อบริ ษทั มหาชนจากัด ที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุ รกิจงานก่อสร้าง (2) ไม่เป็ นคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุ รกิจของคนต่างด้าว (3) มีลูกจ้างประจาซึ่งเป็ นผูไ้ ด้รับใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมจาก ก.ว.และหรื อเป็ นผูไ้ ด้รับ ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมจาก ก.ส.สาหรับควบคุมกากับงานก่อสร้างตามจานวนที่กาหนด ในข้อบังคับของ ก.ก.ส. (4) มีเครื่ องมือและอุปกรณ์การก่อสร้างของตนเองในจานวนที่เพียงพอ ตามที่กาหนดในข้อบังคับของ ก.ก.ส. (5) มีฐานะการเงินที่มนั่ คงเพียงพอตามที่กาหนดในข้อบังคับของ ก.ก.ส. (6) มีผลงานและคุณสมบัติอื่น ตามที่จะได้กาหนดในข้อบังคับของ ก.ก.ส. มาตรา 29 เมื่อได้รับคาขอจดทะเบียน ให้เลขาธิการสถาบัน ผูร้ ับงานก่อสร้างประกาศชื่อ ที่อยูแ่ ละรายละเอียดอื่น ๆ ไว้ ณ สานักงานของสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเป็ นเวลาไม่นอ้ ย กว่าสามสิ บวันเพื่อให้โอกาสบุคคลอื่นยืน่ คาคัดค้านเมื่อได้ประกาศครบกาหนดแล้ว ให้เลขาธิการสถาบันผูร้ ับงาน ก่อสร้างเสนอคาขอจดทะเบียนต่อ ก.ก.ส.พร้อมด้วยคาคัดค้านถ้ามี เพื่อพิจารณาการรับจดทะเบียนในการพิจารณาคาขอ จดทะเบียน ก.ก.ส.จะเรี ยกผูข้ อจดทะเบียน หรื อผูย้ นื่ คาคัดค้านมาให้ถอ้ ยคา ชี้แจง หรื อส่ งเอกสารหรื อหลักฐานอื่น เพิ่มเติมก็ได้ เมื่อ ก.ก.ส.พิจารณาเห็นว่าผูข้ อจดทะเบียนมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กาหนดในมาตรา 28 และไม่มีผใู ้ ดคัดค้านการ จดทะเบียน ให้ ก.ก.ส.รับจดทะเบียนตามประเภท ลักษณะ ขนาด และสาขาของงานก่อสร้างควบคุมและ ประเภทของ ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม มาตรา 30 ผูข้ อจดทะเบียนซึ่ง ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนอาจอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ได้รับ หนังสื อแจ้งการปฏิเสธถ้ารัฐมนตรี เห็นว่ากรณี มีเหตุผลสมควร จะส่ งเรื่ องให้ ก.ก.ส.พิจารณาทบทวนและเสนอความเห็น เพื่อให้รัฐมนตรี วนิ ิจฉัยตามที่เห็นสมควรให้รัฐมนตรี มีคาวินิจฉัย และแจ้งให้ผอู้ ุทธรณ์ทราบภายในหกสิ บวัน นับแต่ที่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

26

รัฐมนตรี ได้รับอุทธรณ์คาวินิจฉัยของรัฐมนตรี ให้เป็ นที่สุด มาตรา 31 ใบทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม ให้มีอายุหา้ ปี นับแต่วนั ออกใบทะเบียนการต่ออายุใบทะเบียน ให้ เป็ นไปตามข้อบังคับของ ก.ก.ส.ถ้าใบทะเบียนสู ญหายหรื อถูกทาลาย ให้ผรู ้ ับงานก่อสร้างควบคุมยืน่ คาร้องขอรับใบแทน ภายในกาหนดสามสิ บวันนับแต่วนั ที่ทราบการสู ญหายหรื อถูกทาลาย หมวด 3 การประกอบอาชีพงานก่อสร้ างและมรรยาท ในการประกอบอาชีพงานก่อสร้ าง มาตรา 32 ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม ต้องรับงานก่อสร้างควบคุมตามประเภทและสาขาที่ระบุไว้ในใบทะเบียน และต้อง ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมประเภทและสาขาใดจะรับงาน ก่อสร้างใน สาขาอื่น นอกจากที่ได้ระบุไว้ในใบทะเบียนได้เพียงใด ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 33 ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมต้องรักษามรรยาทแห่งอาชีพ ตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับของ ก.ก.ส.การเสนอราคา งานก่อสร้างในการประกวดราคาจะต้องเป็ นไปโดยสุ จริ ต มีเหตุผลและยุติธรรมผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมจะต้องไม่ ร่ วมกันกาหนดราคาก่อสร้างในการประกวดราคาหรื อกระทาการเพื่อให้ผรู ้ ับงานก่อสร้างควบคุม หรื อผูร้ ับงานก่อสร้าง คนหนึ่งคนใดเป็ นผูช้ นะการประกวดราคา มาตรา 34 เพื่อประโยชน์ในการส่ งเสริ มให้ผรู ้ ับงานก่อสร้างควบคุมสามารถรับงานก่อสร้างในต่างประเทศ หรื อรับงาน ก่อสร้างรายใดที่มีราคาสู งกว่าสองร้อยล้านบาท หรื อรับงานที่ตอ้ งใช้ความชานาญเป็ นพิเศษ ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมมี สิ ทธิ ร้องขอให้รัฐบาลให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับ การค้ าประกัน การงดหรื อลดภาษีอากร และการคุม้ ครองคนงานที่ไป ทางาน ในต่างประเทศแก่ผรู ้ ับงานก่อสร้างควบคุมโดยมีคารับรองของ ก.ก.ส. หมวด 4 การเพิกถอนการจดทะเบียน มาตรา 35 ให้ ก.ก.ส.มีอานาจสั่งเพิกถอนทะเบียนเป็ นผูร้ ับงาน ก่อสร้างควบคุมได้เมื่อปรากฏว่า (1) ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมผูใ้ ดขาดคุณสมบัติตามมาตรา 28 (2) ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมกระทาการฝ่ าฝื นพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อ ข้อบังคับของ ก.ก.ส. ก่อนพิจารณาเพิกถอนทะเบียน ให้ ก.ก.ส.ดาเนินการไต่สวน โดยให้โอกาสแก่ผรู ้ ับงานก่อสร้างควบคุมนั้นได้ทราบ ข้อกล่าวหาและยืน่ คาชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหา มาตรา 36 การเพิกถอนทะเบียนไม่กระทบถึงการรับงานก่อสร้างที่ผถู ้ ูกสั่งเพิกถอนทะเบียนรับทาอยูต่ ามความผูกพันที่มี อยูก่ ่อนวันถูกสั่งเพิกถอนทะเบียนนั้น มาตรา 37 ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมซึ่ งถูกเพิกถอนทะเบียนอาจขอจดทะเบียนอีกได้เมื่อพ้นกาหนดสามปี นับแต่วนั ถูกเพิก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

27

ถอนทะเบียน แต่เมื่อ ก.ก.ส.ได้พิจารณาคาขอจดทะเบียนและปฏิเสธการรับจดทะเบียน ให้ผนู ้ ้ นั มีสิทธิ อุทธรณ์ตอ่ รัฐมนตรี และให้นามาตรา 30 มาใช้บงั คับโดยอนุโลมในกรณี ที่ ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนและผูน้ ้ นั ไม่อุทธรณ์ต่อ รัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่ง หรื อได้อุทธร ณ์ต่อรัฐมนตรี แต่รัฐมนตรี มีคาวินิจฉัยยืนตามความเห็นของ ก.ก.ส.ให้ผนู ้ ้ นั ยืน่ คา ขอจดทะเบียนได้ใหม่เมื่อสิ้ นระยะเวลาหนึ่งปี นับแต่วนั ที่ ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนหรื อรัฐมนตรี มีคา วินิจฉัย แล้วแต่กรณี ถ้า ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนในครั้งที่สองให้ผนู ้ ้ นั มีสิทธิ อุทธรณ์ต่อไปยังรัฐมนตรี ถ้าผูน้ ้ นั ไม่ อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี มีคาวินิจฉัยยืนตามความเห็นของ ก.ก.ส.ในครั้งที่สองนี้แล้ว ผูน้ ้ นั หมดสิ ทธิ ขอจด ทะเบียนต่อไป หมวด 5 บทกาหนดโทษ มาตรา 38 ผูใ้ ดรับหรื อประกอบงานก่อสร้างควบคุมโดยไม่ได้จดทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมตามมาตรา 26 ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท และให้ศาลสั่งระงับงานก่อสร้างนั้นการสั่งระงับงานก่อสร้างตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็ น เหตุให้พน้ จากความรับผิดตามสัญญารับงานก่อสร้าง มาตรา 39 ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมผูใ้ ดรับหรื อประกอบงานก่อสร้างควบคุมในระหว่างที่ใบทะเบียนขาดอายุ ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรื อวันละสองพันบาทนับแต่วนั ที่ในทะเบียนขาดอายุ จนกว่าจะได้ต่ออายุใบ ทะเบียน สุ ดแต่จานวนใดจะสู งกว่ากัน มาตรา 40 ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 31 วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท มาตรา 41 ผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์หรื อ เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออก ตามมาตรา 32 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท และปรับอีกวันละห้าพันบาทตลอดระยะเวลาที่ยงั ไม่ปฏิบตั ิตาม หลักเกณฑ์หรื อเงื่อนไขนั้น บทเฉพาะกาล มาตรา 42* ในระยะเริ่ มแรกซึ่ งต้องไม่เกินสี่ ปีนับแต่วนั ใช้บงั คับ พระราชบัญญัติน้ ีให้ ก.ก.ส.ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดี กรมทางหลวง อธิบดีกรมโยธาธิการ และผูแ้ ทนของ ก.ว.หนึ่ งคน ผูแ้ ทน ของ ก.ส. หนึ่งคน ผูแ้ ทนของสมาคมนายช่างเหมาไทยหนึ่งคน และ ข้าราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างสองคน ซึ่ง รัฐมนตรี แต่งตั้งเป็ นกรรมการ และให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยทาหน้าที่นายกสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง และให้ ก.ก.ส. แต่งตั้งบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพื่อทาหน้าที่เลขาธิ การ สถาบันผูร้ ับงานก่อสร้างเป็ นการชัว่ คราว ทั้งนี้ จนกว่าจะมีการ แต่งตั้ง กรรมการตามมาตรา 13 หรื อแต่งตั้งเลขาธิ การสถาบันผูร้ ับงานก่อสร้าง ตามมาตรา 24 แล้วแต่กรณี ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งกรรมการซึ่ งประกอบเป็ น ก.ก.ส.ตามวรรคหนึ่ง ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ี *[มาตรา 42 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2524] มาตรา 43* ให้ผรู ้ ับงานก่อสร้างมีสิทธิ รับหรื อประกอบงานก่อสร้าง ควบคุมต่อไปได้อีกสี่ ปีนับแต่วนั ที่กฎกระทรวงซึ่ ง ออกตามมาตรา 25 ใช้บงั คับและเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้วให้ผนู ้ ้ นั คงประกอบงานก่อสร้างควบคุมตาม ความผูกพัน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : พระราชบัญญัติ

แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

3-6

28

ที่มีอยูภ่ ายในระยะเวลาสี่ ปีนั้นได้ต่อไปจนกว่างานก่อสร้างควบคุมนั้นจะแล้วเสร็ จ ผูร้ ับงานก่อสร้างซึ่ งประสงค์จะรับหรื อประกอบงานก่อสร้างควบคุม ต่อไปหลังจากระยะเวลาสี่ ปีตามวรรคหนึ่ง ได้สิ้นสุ ดลงแล้ว ต้องขอจดทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมตามพระราชบัญญัติน้ ี ภายในสามปี นับแต่วนั ที่ กฎกระทรวงซึ่งออกตามมาตรา 25 ใช้บงั คับ ถ้า ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนก่อนกาหนดเวลาสี่ ปีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ นั้นมีสิทธิ รับหรื อประกอบ งานก่อสร้างควบคุมได้ต่อไปจนครบกาหนดเวลาสี่ ปีตามสิ ทธิ ที่มีอยูใ่ นวรรคหนึ่ง แต่ถา้ ก. ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนหลังจากระยะเวลาสี่ ปีดังกล่าว ให้ผขู ้ อจดทะเบียนมีสิทธิ รับหรื อประกอบงานก่อสร้าง ควบคุมได้ต่อไปจนกว่า ก.ก.ส.ได้มีหนังสื อแจ้งการปฏิเสธการรับจดทะเบียน ในกรณี ที่ ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียนหลังจากระยะเวลาสี่ ปีตามวรรคหนึ่งให้ผขู้ อจดทะเบียนคงประกอบงาน ก่อสร้างควบคุมตามความผูกพันที่มีอยูก่ ่อนวันได้รับหนังสื อแจ้งการปฏิเสธการรับจดทะเบียนจาก ก.ก.ส. ได้ต่อไป จนกว่างานก่อสร้างควบคุมนั้นจะแล้วเสร็ จในกรณี ที่ ก.ก.ส.ปฏิเสธการรับจดทะเบียน ให้นามาตรา 30 มาใช้บงั คับโดย อนุโลม *[มาตรา 43 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2524] ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ อัตราค่าธรรมเนียม 1. ใบทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุม 20,000 บาท 2. ค่าต่ออายุใบทะเบียน 10,000 บาท 3. ใบแทนใบทะเบียน 500 บาท


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

7-9

1

ชื่อหน่ วย : เทศบัญญัติผงั เมือง ชื่อสถานศึกษา:


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

7-9

2

ชื่อหน่ วย : เทศบัญญัติผงั เมือง ชื่อสถานศึกษา:

เทศบัญญัติบัญญัติการผังเมือง ในพระราชบัญญัติน้ ี การผังเมือง หมายความว่า การวาง จัดทาและดาเนินการให้เป็ นไปตามผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะในบริ เวณ เมืองและบริ เวณที่เกี่ยวข้องหรื อชนบท เพื่อสร้างหรื อพัฒนาเมืองหรื อส่ วนของเมืองขึ้นใหม่หรื อแทนเมืองหรื อส่ วนของ เมืองที่ได้รับความเสี ยหายเพื่อให้มีหรื อทาให้ดียงิ่ ขึ้นซึ่ งสุ ขลักษณะความสะดวกสบาย ความเป็ นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อส่ งเสริ มการเศรษฐกิจสังคม และสภาพแวดล้อม เพื่อดารงรักษาหรื อบูรณะสถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรื อคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปั ตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรื อโบราณคดี หรื อเพื่อบารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรื อมีคุณค่าในทางธรรมชาติ การเปรียบเทียบผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ ผังเมืองรวม หมายความว่า แผนผัง นโยบายและโครงการรวมทั้งมาตรการควบคุมโดยทัว่ ไป เพื่อใช้เป็ นแนวทาง ในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริ เวณที่เกี่ยวข้องหรื อชนบทในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การ คมนาคมและการขนส่ ง การสาธารณูปโภค บริ การสาธารณะและสภาพแวดล้อม เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของการผังเมือง ผังเมืองเฉพาะ หมายความว่า แผนผังและโครงการดาเนินการเพื่อพัฒนาหรื อดารงรักษาบริ เวณเฉพาะแห่ง หรื อ กิจการที่เกี่ยวข้อง ในเมืองและบริ เวณที่เกี่ยวข้องหรื อชนบทเพื่อประโยชน์แก่การผังเมือง การใช้ ประโยชน์ ทดี่ ินตามกาหนดไว้ในผังเมือง อาคาร หมายความว่า อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร รวมทั้งสิ่ งปลูกสร้างทุกชนิดหรื อ สิ่ งอื่นใดที่วางบน ใต้ หรื อ ผ่านเหนือพื้นดิน หรื อพื้นน้ า ที่อุปกรณ์ หมายความว่า ที่ดินของเอกชน ซึ่ งผังเมืองเฉพาะจัดให้เป็ นที่เว้นว่างหรื อใช้เพื่อสาธารณประโยชน์อย่าง อื่นด้วย เช่น ทางเท้า ทางเดิน ตรอกหลังหรื อข้างอาคาร ทางน้ า ทางหรื อท่อระบายน้ า ที่โล่ง หมายความว่า บริ เวณที่ดินอันได้ระบุไว้ในผังเมืองรวมหรื อผังเมืองเฉพาะให้เป็ นที่วา่ งเป็ นส่ วนใหญ่ และ เพื่อใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ เจ้าพนักงานการผัง ในกรณี ที่มีการประกาศใช้บงั คับพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตที่ดินที่จะทาการสารวจเพื่อวาง จัดทา หรื ออนุมตั ิผงั เมืองรวมและหรื อผังเมืองเฉพาะ หมายความว่า เจ้าพนักงานการผังตามที่ได้ระบุไว้ในพระราช กฤษฎีกาในกรณี ที่มีการใช้บงั คับผังเมืองรวม หมายความว่า ผูอ้ านวยการสานักผังเมืองหรื อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ผูว้ างและ จัดทาผังเมืองรวม ในกรณี ที่มีการใช้บงั คับผังเมืองเฉพาะ หมายความว่า ผูว้ างและจัดทาผังเมืองเฉพาะ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ในเขตเทศบาล หมายความว่า คณะเทศมนตรี ในเขตสุ ขาภิบาล หมายความว่า คณะกรรมการ สุ ขาภิบาล ในเขตขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัด หมายความว่า ผูว้ า่ ราชการจังหวัดหรื อนายอาเภอซึ่ งได้รับมอบหมาย จากผูว้ า่ ราชการจังหวัดให้ทาการแทน ในเขตกรุ งเทพมหานคร หมายความว่า ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครหรื อหัวหน้า เขตซึ่ งได้รับมอบหมายจากผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครให้ทาการแทน เจ้าหน้าที่ดาเนินการ หมายความว่า เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรื อองค์การหรื อบริ ษทั ของรัฐซึ่ งมีอานาจหน้าที่หรื อซึ่ ง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

7-9

3

ชื่อหน่ วย : เทศบัญญัติผงั เมือง ชื่อสถานศึกษา:

ได้รับมอบหมายให้มีอานาจหน้าที่กระทากิจการให้เป็ นไปตามผังเมืองเฉพาะ องค์การบริ หารส่ วนท้องถิ่น หมายความว่า องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด เทศบาล สุ ขาภิบาล หรื อกรุ งเทพมหานคร ผูว้ า่ ราชการจังหวัด หมายความรวมถึงผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครในกรณี ที่เป็ นการวางและจัดทาผังเมืองรวม หรื อผังเมืองเฉพาะในเขตกรุ งเทพมหานคร พระราชบัญญัติการจัดสรรทีด่ ิน พระราชบัญญัติ การจัดสรรทีด่ ิน พ.ศ. 2543 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ ไว้ ณ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 เป็ นปี ที่ 55 ในรัชกาลปัจจุบัน มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า "พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ .ศ. 2543" มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดหกสิ บวันนับแต่ วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป [รก.2543/45ก/1/23 พฤษภาคม 2543] มาตรา 3 ให้ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 286 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ ศ . 2515 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี "การจัดสรรที่ดิน" หมายความว่า การจาหน่ายที่ดินที่ได้แบ่งเป็ นแปลงย่อย รวมกันตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไป ไม่วา่ จะ เป็ นการแบ่งจากที่ดินแปลงเดียวหรื อแบ่งจากที่ดินหลายแปลง ที่มีพ้นื ที่ติดต่อกันโดยได้รับทรัพย์สินหรื อประโยชน์เป็ น ค่าตอบแทน และให้หมายความรวมถึง การดาเนินการดังกล่าวที่ได้มีการแบ่งที่ดินเป็ นแปลงย่อยไว้ไม่ถึงสิ บแปลงและ ต่อมาได้แบ่งที่ดิน แปลงเดิมเพิ่มเติมภายในสามปี เมื่อรวมกันแล้วมีจานวนตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไปด้วย "สิ ทธิในที่ดิน " หมายความว่า กรรมสิ ทธิ์ และให้หมายความรวมถึงสิ ทธิ ครอบครองด้วย "ใบอนุญาต" หมายความว่า ใบอนุญาตให้ทาการจัดสรรที่ดิน "ผูจ้ ดั สรรที่ดิน " หมายความว่า ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตให้ทาการจัดสรรที่ดินและ ให้หมายความรวมถึงผูร้ ับโอน ใบอนุญาตด้วย "บริ การสาธารณะ" หมายความว่า การให้บริ การหรื อสิ่ งอานวยความสะดวก ในโครงการจัดสรรที่ดินที่กาหนดไว้ ในโครงการที่ขออนุญาตจัดสรรที่ดินตาม มาตรา 23 (4) "คณะกรรมการ " หมายความว่า คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกรุ งเทพมหานครและ คณะกรรมการจัดสรรที่ดิน จังหวัด "พนักงานเจ้าหน้าที่" หมายความว่า เจ้าพนักงานที่ดินซึ่ งเป็ นผูป้ ฏิบตั ิการในการ จดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรมตาม ประมวลกฎหมายที่ดิน "รัฐมนตรี " หมายความว่า รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา 5 พระราชบัญญัติน้ ีมิให้ใช้บงั คับแก่ (1) การจัดสรรที่ดินของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการ ส่ วนท้องถิ่น หรื อองค์กรอื่น ของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ทาการจัดสรรที่ดินตามกฎหมาย


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

7-9

4

ชื่อหน่ วย : เทศบัญญัติผงั เมือง ชื่อสถานศึกษา:

(2) การจัดสรรที่ดินที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายอื่น มาตรา 6 ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง กาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติน้ ี และกาหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้ :: บทนิยาม มาตรา 1-6 ::หมวด1 คณะกรรมการจัดสรรที่ดิน มาตรา 7-20 :: หมวด2 การขออนุญาตจัดสรรที่ดิน มาตรา 21-30 :: หมวด3 การดาเนินการจัดสรรที่ดิน มาตรา 31-42 :: หมวด4 การบารุ งรักษาสาธารณูปโภคและบริ การสาธารณะ มาตรา 43-53 :: หมวด5 การยกเลิกการจัดสรรที่ดิน มาตรา 54-57 :: หมวด6 บทกาหนดโทษ มาตรา 58-66 :: บทเฉพาะกาล มาตรา 67-72 อัตราค่ าธรรมเนียม (1) ใบอนุญาตให้ทาการจัดสรรที่ดิน ไร่ ละ 500 บาท เศษของไร่ ให้คิดเป็ นหนึ่งไร่ (2) การโอนใบอนุญาตให้ทาการจัดสรรที่ดิน รายละ 5,000 บาท *หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 286 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ซึ่ งเป็ นกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการจัดสรรที่ดิน ได้ประกาศใช้บงั คับมาเป็ นเวลานานแล้ว มี หลักการและรายละเอียดไม่เหมาะสมหลายประการ สมควร แก้ไขปรับปรุ งเพื่อกาหนดมาตรการในการคุม้ ครองผูซ้ ้ื อ ที่ดินจัดสรร โดยเฉพาะการได้สิทธิในที่ดิน จัดสรรและการกาหนดให้มีผรู ้ ับผิดชอบบารุ งรักษาสาธารณูปโภคและบริ การ สาธารณะ นอกจากนั้น เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดาเนินธุ รกิจการจัดสรรที่ดินได้กระจายอานาจการอนุญาตและ การ ควบคุมดูแลการจัดสรรที่ดินไปสู่ ระดับจังหวัด และกาหนดเวลาในการพิจารณาอนุญาตให้แน่นอน จึงจาเป็ นต้องตรา พระราชบัญญัติน้ ี [รก.2543/45ก/1/23 พฤษภาคม 2543]


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

1


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

2

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

พระราชบัญญัติค้ ุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ ไว้ ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็ นปี ที่ ๕๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็ นการสมควรปรับปรุ งกฎหมายว่าด้วยการคุม้ ครองแรงงานจึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ ขึ้นไว้โดยคาแนะนา และยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า "พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑" มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิ บวันนับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้น ไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ (๒) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ ๑๐๓ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๓๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่ วนที่มีบญั ญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติน้ ีหรื อซึ่ งขัดหรื อแย้งกับบทแห่ง พระราชบัญญัติน้ ี ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ีแทน มาตรา ๔ พระราชบัญญัติน้ ีมิให้ใช้บงั คับแก่ (๑) ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และราชการส่ วนท้องถิ่น (๒) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ นอกจากกรณี ตามวรรคหนึ่ง จะออกกฎกระทรวงมิให้ ใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ีท้ งั หมดหรื อแต่บางส่ วนแก่นายจ้างประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได้ มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัติน้ ี "นายจ้ าง" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งตกลงรับลูกจ้างเข้าทางานโดยจ่ายค่าจ้างให้และหมายความรวมถึง (๑) ผูซ้ ่ ึงได้รับมอบหมายให้ทางานแทนนายจ้าง (๒) ในกรณี ที่นายจ้างเป็ นนิติบุคคลให้หมายความรวมถึงผูม้ ีอานาจกระทาการแทนนิติบุคคลและผูซ้ ่ ึงได้รับมอบหมาย จากผูม้ ีอานาจกระทาการแทนนิติบุคคล ให้ทาการแทนด้วย (๓) ในกรณี ที่ผปู ้ ระกอบกิจการได้วา่ จ้างด้วยวิธีเหมาค่าแรง โดยมอบให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดรับช่วงไปควบคุมดูแลการ ทางานและรับผิดชอบจ่ายค่าจ้าง ให้แก่ลูกจ้างอีกทอดหนึ่งก็ดีมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็ นผูจ้ ดั หาลูกจ้างมา


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

3

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

ทางาน อันมิใช่การประกอบธุ รกิจจัดหางานก็ดี โดยการทางานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่ง ส่ วนใดหรื อทั้งหมดในกระบวนการผลิต หรื อธุ รกิจในความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบกิจการ ให้ถือว่าผูป้ ระกอบกิจการเป็ นนายจ้างของลูกจ้างดังกล่าวด้วย "ลูกจ้ าง" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งตกลงทางานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้างไม่วา่ จะเรี ยกชื่ออย่างไร "ผู้ว่าจ้ าง" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งตกลงว่าจ้างบุคคลอีกบุคคลหนึ่งให้ดาเนินงานทั้งหมดหรื อแต่บางส่ วนของงานใดเพื่อ ประโยชน์แก่ตน โดยจะจ่ายสิ นจ้างตอบแทนผลสาเร็ จแห่งการงานที่ทานั้น "ผู้รับเหมาชั้ นต้ น" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งตกลงรับจะดาเนินงานทั้งหมดหรื อแต่บางส่ วนของงานใดจนสาเร็ จประโยชน์ของ ผูว้ า่ จ้าง "ผู้รับเหมาช่ วง" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งทาสัญญากับผูร้ ับเหมาชั้นต้นโดยรับจะดาเนินงานทั้งหมดหรื อแต่บางส่ วนของงาน ใดในความรับผิดชอบ ของผูร้ ับเหมาชั้นต้นเพื่อประโยชน์แก่ผวู ้ า่ จ้างและหมายความรวมถึงผูซ้ ่ ึ งทาสัญญากับผูร้ ับเหมา ช่วงเพื่อรับช่วงงานในความรับผิดชอบของผูร้ ับเหมาช่วง ทั้งนี้ ไม่วา่ จะรับเหมาช่วงกันกี่ช่วงก็ตาม "สั ญญาจ้ าง" หมายความว่า สัญญาไม่วา่ เป็ นหนังสื อหรื อด้วยวาจาระบุชดั เจนหรื อเป็ นที่เข้าใจโดยปริ ยายซึ่ งบุคคลหนึ่ง เรี ยกว่าลูกจ้างตกลงจะ ทางานให้แก่บุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรี ยกว่านายจ้างและนายจ้างตกลงจะให้ค่าจ้างตลอดเวลาที่ทางาน ให้ "วันทางาน" หมายความว่า วันที่กาหนดให้ลูกจ้างทางานตามปกติ "วันหยุด" หมายความว่า วันที่กาหนดให้ลูกจ้างหยุดประจาสัปดาห์ หยุดตามประเพณี หรื อหยุดพักผ่อนประจาปี "วันลา" หมายความว่า วันที่ลูกจ้างลาป่ วย ลาเพื่อทาหมัน ลาเพื่อกิจธุ ระอันจาเป็ นลาเพื่อรับราชการทหาร ลาเพื่อการ ฝึ กอบรมหรื อพัฒนาความรู้ความสามารถ หรื อลาเพื่อคลอดบุตร "ค่ าจ้ าง" หมายความว่า เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็ นค่าตอบแทนในการทางานตามสัญญาจ้างสาหรับ ระยะเวลาการทางานปกติเป็ นรายชัว่ โมง รายวัน รายสัปดาห์รายเดือน หรื อระยะเวลาอื่น หรื อจ่ายให้โดยคานวณตาม ผลงานที่ลูกจ้างทาได้ในเวลาทางานปกติของวันทางานและให้หมายความรวมถึงเงินที่นายจ้าง จ่ายให้แก่ลูกจ้างใน วันหยุดและวันลาที่ลูกจ้างมิได้ทางานแต่ลูกจ้างมีสิทธิ ได้รับตามพระราชบัญญัติน้ ี "ค่ าจ้ างในวันทางาน" หมายความว่า ค่าจ้างที่จ่ายสาหรับการทางานเต็มเวลาการทางานปกติ "อัตราค่ าจ้ างขั้นต่า" หมายความว่า อัตราค่าจ้างที่คณะกรรมการค่าจ้างกาหนดตามพระราชบัญญัติน้ ี "อัตราค่ าจ้ างขั้นต่าพืน้ ฐาน" หมายความว่า อัตราค่าจ้างที่คณะกรรมการค่าจ้างกาหนดเพื่อใช้เป็ นพื้นฐานในการกาหนด อัตราค่าจ้างขั้นต่า "การทางานล่วงเวลา" หมายความว่า การทางานนอกหรื อเกินเวลาทางานปกติหรื อเกินชัว่ โมงทางานในแต่ละวันที่ นายจ้างลูกจ้าง ตกลงกันตามมาตรา ๒๓ ในวันทางานหรื อวันหยุดแล้วแต่กรณี "ค่ าล่วงเวลา" หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็ นการตอบแทนการทางานล่วงเวลาในวันทางาน "ค่ าทางานในวันหยุด" หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็ นการตอบแทนการทางานในวันหยุด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

4

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

"ค่ าล่ วงเวลาในวันหยุด" หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็ นการตอบแทนการทางานล่วงเวลาในวันหยุด "ค่ าชดเชย" หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้าง นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่ งนายจ้างตกลงจ่าย ให้แก่ลูกจ้าง "ค่ าชดเชยพิเศษ" หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อสัญญาจ้างสิ้ นสุ ดลงเพราะมีเหตุกรณี พิเศษที่กาหนดใน พระราชบัญญัติน้ ี "เงินสะสม" หมายความว่า เงินที่ลูกจ้างจ่ายเข้ากองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง "เงินสมทบ" หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายสมทบให้แก่ลูกจ้างเพื่อส่ งเข้าสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง "พนักงานตรวจแรงงาน" หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี "อธิบดี" หมายความว่า อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน "รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ีและให้มีอานาจแต่งตั้ง พนักงานตรวจแรงงาน กับออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี การแต่งตั้งพนักงานตรวจ แรงงาน จะกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่และเงื่อนไขในการ ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยก็ได้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้ หมวด 1 บททัว่ ไป มาตรา ๗ การเรี ยกร้องหรื อการได้มาซึ่ งสิ ทธิ หรื อประโยชน์ตามพระราชบัญญัติน้ ีไม่เป็ นการตัดสิ ทธิ หรื อประโยชน์ที่ ลูกจ้างพึงได้ตามกฎหมายอื่น มาตรา ๘ ให้รัฐมนตรี มีอานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ซ่ ึ งมีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี ทางนิติศาสตร์ เพื่อมีอานาจฟ้ อง คดีหรื อแก้ต่างคดีแรงงาน ให้แก่ลูกจ้างหรื อทายาทโดยธรรมของลูกจ้างซึ่ งถึงแก่ความตาย และเมื่อกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคมแจ้งให้ศาลทราบแล้วก็ให้มีอานาจกระทา การได้จนคดีถึงที่สุด มาตรา ๙ ในกรณี ที่นายจ้างไม่คืนเงินประกันตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง หรื อไม่จ่ายค่าจ้างค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดภายใน เวลาที่กาหนดตาม มาตรา ๗๐ หรื อค่าชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ ค่าชดเชยพิเศษตามมาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ และมาตรา ๑๒๒ ให้นายจ้างเสี ยดอกเบี้ยให้แก่ลูกจ้างในระหว่างเวลาผิดนัดร้อยละสิ บห้าต่อปี ในกรณี ที่นายจ้างจงใจไม่คืนหรื อไม่จ่ายเงินตาม วรรคหนึ่งโดยปราศจากเหตุผลอันสมควรเมื่อพ้นกาหนดเวลาเจ็ดวันนับแต่วนั ที่ ถึงกาหนดคืนหรื อจ่าย ให้นายจ้างเสี ยเงินเพิ่มให้แก่ลูกจ้างร้อยละสิ บห้าของเงินที่คา้ งจ่ายทุกระยะเวลาเจ็ดวัน ในกรณี ที่ นายจ้างพร้อมที่จะคืนหรื อจ่ายเงินตามวรรคหนึ่งและวรรคสองและได้นาเงินไปมอบไว้แก่อธิ บดีหรื อผูซ้ ่ ึ งอธิ บดี มอบหมายเพื่อจ่ายให้แก่ลูกจ้าง นายจ้างไม่ตอ้ งเสี ยดอกเบี้ยหรื อเงินเพิ่มตั้งแต่วนั ที่นายจ้างนาเงินนั้นไปมอบไว้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

5

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

มาตรา ๑๐ ภายใต้บงั คับมาตรา ๕๑ วรรคสอง ห้ามมิให้นายจ้างเรี ยกหรื อรับเงินประกันการทางานหรื อเงินประกันความ เสี ยหายในการทางานจากลูกจ้าง เว้นแต่ลกั ษณะหรื อสภาพของงานที่ทานั้นลูกจ้างต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงินหรื อ ทรัพย์สินของนายจ้าง ซึ่ งอาจก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่นายจ้างได้ ทั้งนี้ ลักษณะหรื อสภาพของงานที่ให้เรี ยกหรื อรับเงิน ประกันจากลูกจ้างได้ ตลอดจนจานวนเงินและวิธีการเก็บรักษาให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรี ประกาศ กาหนด ในกรณี ที่นายจ้างเรี ยกหรื อรับเงินประกัน หรื อทาสัญญาประกันกับลูกจ้าง เพื่อชดใช้ความเสี ยหายที่ลูกจ้างเป็ น ผูก้ ระทา เมื่อนายจ้างเลิกจ้าง หรื อลูกจ้างลาออก หรื อสัญญาประกันสิ้ นอายุให้นายจ้างคืนเงินประกันพร้อมดอกเบี้ย ถ้ามี ให้แก่ลูกจ้างภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ที่นายจ้างเลิกจ้างหรื อวันที่ลูกจ้างลาออก หรื อวันที่สัญญาประกันสิ้ นอายุ แล้วแต่กรณี มาตรา ๑๑ หนี้ที่เกิดจากการไม่ชาระค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ค่าชดเชย ค่าชดเชย พิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรื อเงินเพิ่มให้ลูกจ้างหรื อกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานแล้วแต่กรณี มีบุริมสิ ทธิเหนือ ทรัพย์สินทั้งหมดของนายจ้างซึ่ งเป็ นลูกหนี้ในลาดับเดียวกับ บุริมสิ ทธิ ในค่าภาษีอากรตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิ ชย์ มาตรา ๑๒ ในกรณี ที่นายจ้างเป็ นผูร้ ับเหมาช่วง ให้ผรู ้ ับเหมาช่วงถัดขึ้นไปหากมีตลอดสายจนถึงผูร้ ับเหมาชั้นต้น ร่ วมรับ ผิดกับผูร้ ับเหมาช่วงซึ่ งเป็ นนายจ้างใน ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาค่าทางานในวันหยุดค่าล่วงเวลาในวันหยุด ค่าชดเชย ค่าชดเชย พิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรื อเงินเพิม่ ให้ผรู ้ ับเหมาชั้นต้น หรื อผูร้ ับเหมาช่วงตามวรรคหนึ่งมีสิทธิ ไล่เบี้ยเงินที่ได้จ่าย ไปแล้วตามวรรคหนึ่งคืนจากผูร้ ับเหมาช่วงซึ่ งเป็ นนายจ้าง มาตรา ๑๓ ในกรณี ที่กิจการใดมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้างเนื่องจากการโอนรับมรดกหรื อด้วยประการอื่นใดหรื อใน กรณี ที่นายจ้างเป็ นนิติบุคคล และมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงโอนหรื อควบกับนิติบุคคลใด สิ ทธิ ต่าง ๆ ที่ลูกจ้างมีอยูต่ ่อ นายจ้างเดิมเช่นใดให้ลูกจ้างมีสิทธิ เช่นว่านั้นต่อไป และให้นายจ้างใหม่รับไปทั้งสิ ทธิ และหน้าที่อนั เกี่ยวกับลูกจ้างนั้นทุก ประการ มาตรา ๑๔ ให้นายจ้างปฏิบตั ิต่อลูกจ้างให้ถูกต้องตามสิ ทธิ และหน้าที่ที่กาหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งพาณิ ชย์ เว้นแต่ พระราชบัญญัติน้ ีกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น มาตรา ๑๕ ให้นายจ้างปฏิบตั ิต่อลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงานเว้นแต่ลกั ษณะหรื อสภาพของงานไม่ อาจปฏิบตั ิเช่นนั้นได้ มาตรา ๑๖ ห้ามมิให้นายจ้างหรื อผูซ้ ่ ึงเป็ นหัวหน้างาน ผูค้ วบคุมงาน หรื อผูต้ รวจงานกระทาการล่วงเกินทางเพศต่อลูกจ้าง ซึ่งเป็ นหญิงหรื อเด็ก มาตรา ๑๗ สัญญาจ้างย่อมสิ้ นสุ ดลงเมื่อครบกาหนดระยะเวลาในสัญญาจ้างโดยมิตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้า ในกรณี ที่สัญญา จ้างไม่มีกาหนดระยะเวลา นายจ้างหรื อลูกจ้างอาจบอกเลิกสัญญาจ้างโดยบอกกล่าวล่วงหน้าเป็ นหนังสื อให้อีกฝ่ ายหนึ่ง ทราบ ในเมื่อถึงหรื อก่อนจะถึงกาหนดจ่ายค่าจ้างคราวหนึ่งคราวใด เพื่อให้เป็ นผลเลิกสัญญากันเมื่อถึงกาหนดจ่ายค่าจ้าง คราวถัดไปข้างหน้าก็ได้แต่ไม่จาเป็ นต้องบอกกล่าวล่วงหน้าเกินสามเดือนในกรณี ที่นายจ้างเป็ นฝ่ ายบอกเลิกสัญญาจ้าง ถ้านายจ้างไม่ได้ระบุเหตุผลไว้ในหนังสื อบอกเลิกสัญญาจ้าง นายจ้างจะยกเหตุตามมาตรา ๑๑๙ ขึ้นอ้างในภายหลังไม่ได้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

6

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

การบอกเลิกสัญญาจ้างตามวรรคสอง นายจ้างอาจจ่ายค่าจ้างให้ตามจานวนที่จะต้องจ่ายจนถึงเวลาเลิกสัญญาตามกาหนดที่ บอกกล่าวและให้ลูกจ้างออกจากงานทันทีได้ และให้ถือว่าการจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างตามวรรคนี้ เป็ นการจ่ายสิ นจ้าง ให้แก่ลูกจ้างตามมาตรา ๕๘๒ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์การบอกกล่าวล่วงหน้าตามมาตรานี้ไม่ใช้บงั คับแก่ การเลิกจ้างตามมาตรา ๑๑๙ แห่งพระราชบัญญัติน้ ีและมาตรา ๕๘๓ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๘ ในกรณี ที่พระราชบัญญัติน้ ีกาหนดให้นายจ้างต้องแจ้งการดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อพนักงานตรวจ แรงงานให้นายจ้างแจ้งด้วยตนเอง แจ้งโดยทางไปรษณี ยห์ รื อแจ้งโดยทางโทรสาร แล้วแต่กรณี ณ สถานที่ที่อธิ บดี ประกาศกาหนด มาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการคานวณระยะเวลาการทางานของลูกจ้างตามพระราชบัญญัติน้ ีให้นบั วันหยุด วันลา วันที่ นายจ้างอนุญาตให้หยุดงานเพื่อ ประโยชน์ของลูกจ้าง และวันที่นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างหยุดงานเพื่อประโยชน์ของนายจ้าง รวมเป็ นระยะเวลาการทางานของลูกจ้างด้วย มาตรา ๒๐ การที่ลูกจ้างไม่ได้ทางานติดต่อกันโดยนายจ้างมีเจตนาที่จะไม่ให้ลูกจ้างนั้นมีสิทธิ ใดตามพระราชบัญญัติน้ ี ไม่ ว่านายจ้างจะให้ลูกจ้างทางาน ในหน้าที่ใดและการจ้างแต่ละช่วงมีระยะเวลาห่างกันเท่าใดก็ตาม ให้นบั ระยะเวลาการ ทางานทุกช่วงเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์ในการได้สิทธิ ของลูกจ้างนั้น มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่พระราชบัญญัติน้ ีกาหนดให้นายจ้างต้องดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดที่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย ให้นายจ้าง เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายเพื่อการนั้น มาตรา ๒๒ งานเกษตรกรรม งานประมงทะเล งานบรรทุก หรื อขนถ่ายสิ นค้าเรื อเดินทะเล งานที่รับไปทาที่บา้ น งาน ขนส่ ง และงานอื่นตามที่กาหนด ในพระราชกฤษฎีกาจะกาหนดในกฎกระทรวงให้มีการคุม้ ครองแรงงานกรณี ต่าง ๆ แตกต่างไปจากพระราชบัญญัติน้ ีก็ได้ หมวด ๒ การใช้ แรงงานทัว่ ไป มาตรา ๒๓ ให้นายจ้างประกาศเวลาทางานปกติให้ลูกจ้างทราบ โดยกาหนดเวลาเริ่ มต้นและเวลาสิ้ นสุ ดของการทางานแต่ ละวันของลูกจ้าง ได้ไม่เกินเวลาทางานของแต่ละประเภทงานตามที่กาหนดในกฎกระทรวง แต่วนั หนึ่งต้องไม่เกิน 8 ชัว่ โมงและเมื่อรวมเวลาทางานทั้งสิ้ นแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกิน48 ชัว่ โมง เว้นแต่งานที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและ ความปลอดภัยของลูกจ้างตามที่กาหนด ในกฎกระทรวง จะมีเวลาทางานปกติวนั หนึ่งต้องไม่เกิน 7 ชัว่ โมงแต่เมื่อรวมเวลา ทางานทั้งสิ้ นแล้วสัปดาห์หนึ่งไม่เกิน42 ชัว่ โมง ในกรณี ที่นายจ้างไม่อาจประกาศ กาหนดเวลาเริ่ มต้นและเวลาสิ้ นสุ ดของ การทางานแต่ละวันได้เนื่องจากลักษณะหรื อสภาพของงาน ให้นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันกาหนดชัว่ โมงทางานแต่ละวัน ไม่เกิน8 ชัว่ โมง และเมื่อรวมเวลาทางานทั้งสิ้ นแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกิน48 ชัว่ โมง มาตรา ๒๔ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาในวันทางาน เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไปในกรณี ที่ลกั ษณะหรื อสภาพของงานต้องทาติดต่อกันไปถ้าหยุดจะเสี ยหายแก่งาน หรื อเป็ นงานฉุกเฉิน หรื อเป็ นงาน อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาได้เท่าที่จาเป็ น


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

7

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

มาตรา ๒๕ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทางานในวันหยุด เว้นแต่ในกรณี ที่ลกั ษณะหรื อสภาพของงานต้องทาติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสี ยหายแก่งาน หรื อเป็ นงานฉุ กเฉิ น นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทางานในวันหยุดได้เท่าที่จาเป็ น นายจ้างอาจให้ ลูกจ้างทางานในวันหยุดได้สาหรับ กิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ ง ร้านขายอาหาร ร้านขายเครื่ องดื่ม สโมสร สมาคม สถานพยาบาล หรื อกิจการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง เพื่อประโยชน์แก่การผลิต การจาหน่าย และการ บริ การ นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทางานนอกจากที่กาหนดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองในวันหยุดเท่าที่จาเป็ นโดยได้รับความ ยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไป มาตรา ๒๖ ชัว่ โมงทางานล่วงเวลาตามมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่งและชัว่ โมงทางานใน วันหยุดตามมาตรา ๒๕ วรรคสองและ วรรคสาม เมื่อรวมแล้วจะต้องไม่เกินอัตราตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๗ ในวันที่มีการทางาน ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักระหว่างการทางานวันหนึ่งไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง หลังจากที่ลูกจ้างทางาน มาแล้วไม่เกิน 5 ชัว่ โมงติดต่อกัน นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าให้มีเวลาพักครั้งหนึ่ง น้อยกว่า 1 ชัว่ โมงได้แต่เมื่อรวมกันแล้ววันหนึ่งต้องไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง ในกรณี ที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน กาหนดเวลาพักระหว่างการทางานตามวรรคหนึ่งเป็ นอย่างอื่น ถ้าข้อตกลงนั้นเป็ นประโยชน์แก่ลูกจ้าง ให้ขอ้ ตกลงนั้นใช้ บังคับได้ เวลาพักระหว่างการทางานไม่ให้นบั รวมเป็ นเวลาทางาน เว้นแต่เวลาพักที่รวมกันแล้วใน วันหนึ่งเกิน 2 ชัว่ โมง ให้นบั เวลาที่เกิน 2 ชัว่ โมงนั้นเป็ นเวลาทางานปกติ ในกรณี ที่มีการทางานล่วงเวลาต่อจากเวลา ทางานปกติไม่นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมง นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักไม่นอ้ ยกว่า 20 นาที ก่อนที่ลูกจ้างเริ่ มทางานล่วงเวลา ความในวรรคหนึ่งและวรรคสี่ มิให้ใช้บงั คับแก่กรณี ที่ลูกจ้างทางานที่มีลกั ษณะหรื อสภาพของงานต้องทาติดต่อกันไป โดยได้รับความยินยอมจากลูกจ้างหรื อเป็ นงานฉุกเฉิน มาตรา ๒๘ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีวนั หยุดประจาสัปดาห์ สัปดาห์หนึ่งไม่นอ้ ยกว่า 1 วัน โดยวันหยุดประสัปดาห์ตอ้ งมี ระยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้ากาหนดให้มีวนั หยุดประจาสัปดาห์วนั ใดก็ได้ ในกรณี ที่ลูกจ้างทางานโรงแรม งานขนส่ ง งานในป่ า งานในที่ทุรกันดาร หรื องานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง นายจ้างและ ลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าสะสมวันหยุดประจาสัปดาห์และเลื่อนไปหยุดเมื่อใดก็ได้ แต่ตอ้ งอยูใ่ นระยะเวลาสี่ สัปดาห์ ติดต่อกัน มาตรา ๒๙ ให้นายจ้างประกาศกาหนดวันหยุดตามประเพณี ให้ลูกจ้างทราบเป็ นการล่วงหน้าปี หนึ่งไม่นอ้ ยกว่า 13วัน โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติตาม ที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด ให้นายจ้างพิจารณากาหนดวันหยุดตามประเพณี จาก วันหยุดราชการประจาปี วันหยุดทางศาสนาหรื อขนบธรรมเนียมประเพณี แห่งท้องถิ่นในกรณี ที่วนั หยุดตามประเพณี วนั ใดตรงกับวันหยุดประจาสัปดาห์ของลูกจ้าง ให้ลูกจ้างได้หยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณี ในวันทางานถัดไปในกรณี ที่ นายจ้างไม่อาจให้ลูกจ้างหยุดตามประเพณี ได้ เนื่องจากลูกจ้างทางานที่มีลกั ษณะหรื อสภาพของงานตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง ให้นายจ้างตกลงกับลูกจ้างว่าจะหยุดในวัน อื่นชดเชยวันหยุดตามประเพณี หรื อนายจ้างจะจ่ายค่าทางานใน วันหยุดให้ก็ได้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

8

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

มาตรา ๓๐ ลูกจ้างซึ่ งทางานติดต่อกันมาแล้วครบหนึ่งปี มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจาปี ได้ปีหนึ่งไม่นอ้ ยกว่า 6 วันทางาน โดยให้นายจ้างเป็ นผูก้ าหนด วันหยุดดังกล่าวให้แก่ลูกจ้างล่วงหน้าหรื อกาหนดให้ตามที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน ในปี ต่อมานายจ้างอาจกาหนดวันหยุดพักผ่อน ประจาปี ให้แก่ลูกจ้างมากกว่าหกวันทางานก็ได้นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกัน ล่วงหน้าให้สะสมและเลื่อนวันหยุดพักผ่อนประจาปี ที่ยงั มิได้หยุดในปี นั้นรวมเข้ากับปี ต่อๆ ไปได้ สาหรับลูกจ้างซึ่ง ทางานยังไม่ครบหนึ่งปี นายจ้างอาจกาหนดวันหยุดพักผ่อนประจาปี ให้แก่ลูกจ้างโดยคานวณให้ตามส่ วนก็ได้ มาตรา ๓๑ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาหรื อทางานในวันหยุดในงานที่ อาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและ ความปลอดภัยของลูกจ้างตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๒ ให้ลูกจ้างมีสิทธิ ลาป่ วยได้เท่าที่ป่วยจริ ง การลาป่ วยตั้งแต่สามวันทางานขึ้นไปนายจ้างอาจให้ลูกจ้างแสดง ใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบนั ชั้นหนึ่งหรื อของสถานพยาบาลของทางราชการในกรณี ที่ลูกจ้างไม่อาจแสดงใบรับรอง ของแพทย์แผนปั จจุบนั ชั้นหนึ่งหรื อของสถานพยาบาลของทางราชการ ได้ให้ลูกจ้างชี้แจงให้ นายจ้างทราบ ในกรณี ที่นายจ้างจัดแพทย์ไว้ ให้แพทย์น้ นั เป็ นผูอ้ อกใบรับรอง เว้นแต่ลูกจ้างไม่สามารถให้แพทย์น้ นั ตรวจ ได้ วันที่ลูกจ้างไม่สามารถทางานได้เนื่องจากประสบอันตรายหรื อเจ็บป่ วยที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางานและวันลาเพื่อ คลอดบุตรตามมาตรา ๔๑ มิให้ถือเป็ นวันลาป่ วยตามมาตรานี้ มาตรา ๓๓ ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อทาหมันได้และมีสิทธิลาเนื่องจากการทาหมันตามระยะเวลาที่แพทย์แผนปัจจุบนั ชั้นหนึ่งกาหนดและออกใบรับรอง มาตรา ๓๔ ให้ลูกจ้างมีสิทธิ ลาเพื่อกิจธุ ระอันจาเป็ นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน มาตรา ๓๕ ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อรับราชการทหารในการเรี ยกพลเพื่อตรวจสอบเพื่อฝึ กวิชาทหาร หรื อเพื่อทดลองความ พรั่งพร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการ รับราชการทหาร มาตรา ๓๖ ให้ลูกจ้างมีสิทธิ ลาเพื่อการฝึ กอบรมหรื อพัฒนาความรู ้ความสามารถตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา ๓๗ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทางานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรื อเข็นของหนักเกินอัตราน้ าหนักตามที่ กาหนดในกฎกระทรวง หมวด ๓ การใช้ แรงงานหญิง มาตรา ๓๘ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นหญิงทางานอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑) งานเหมืองแร่ หรื องานก่อสร้างที่ตอ้ งทาใต้ดิน ใต้น้ า ในถ้ า ในอุโมงค์ หรื อ ปล่องในภูเขาเว้นแต่ลกั ษณะของงานไม่ เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพหรื อร่ างกายของลูกจ้างนั้น (๒) งานที่ตอ้ งทาบนนัง่ ร้านที่สูงกว่าพื้นดินตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป (๓) งานผลิตหรื อขนส่ งวัตถุระเบิดหรื อวัตถุไวไฟ (๔) งานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

9

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

มาตรา ๓๙ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นหญิงมีครรภ์ทางานในระหว่างเวลา 22.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา ทางานล่วงเวลา ทางานในวันหยุดหรื อทางาน อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ (๑) งานเกี่ยวกับเครื่ องจักรหรื อเครื่ องยนต์ที่มีความสั่นสะเทือน (๒) งานขับเคลื่อนหรื อติดไปกับยานพาหนะ (๓) งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรื อเข็นของหนักเกิน 50 กิโลกรัม (๔) งานที่ทาในเรื อ (๕) งานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๐ ในกรณี ที่นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นหญิงทางานระหว่างเวลา 24.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา และพนักงาน ตรวจแรงงานเห็นว่างานนั้นอาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและความปลอดภัยของหญิงนั้น ให้พนักงานตรวจแรงงาน รายงานต่ออธิ บดีหรื อผูซ้ ่ ึ งอธิ บดีมอบหมายเพื่อพิจารณาและมีคาสั่งให้นายจ้างเปลี่ยนเวลาทางานหรื อลดชัว่ โมงทางานได้ ตามที่เห็นสมควร และให้นายจ้างปฏิบตั ิตามคาสั่งดังกล่าว มาตรา ๔๑ ให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นหญิงมีครรภ์มีสิทธิ ลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วันวันลาตามวรรคหนึ่ง ให้นบั รวม วันหยุดที่มีในระหว่างวันลาด้วย มาตรา ๔๒ ในกรณี ที่ลูกจ้างซึ่ งเป็ นหญิงมีครรภ์มีใบรับรองของแพทย์แผนปั จจุบนั ชั้นหนึ่งมาแสดงว่าไม่อาจทางานใน หน้าที่เดิมต่อไปได้ ให้ลูกจ้างนั้นมีสิทธิ ขอให้นายจ้างเปลี่ยนงานในหน้าที่เดิมเป็ นการชัว่ คราวก่อนหรื อหลังคลอดได้ และให้นายจ้างพิจารณาเปลี่ยนงานที่เหมาะสมให้แก่ลูกจ้างนั้น มาตรา ๔๓ ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเป็ นหญิงเพราะเหตุมีครรภ์ หมวด ๔ การใช้ แรงงานเด็ก มาตรา ๔๔ ห้ามมิให้นายจ้างจ้างเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี เป็ นลูกจ้าง มาตรา ๔๕ ในกรณี ที่มีการจ้างเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี เป็ นลูกจ้าง ให้นายจ้างปฏิบตั ิดงั นี้ (๑) แจ้งการจ้างลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กนั้นต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่เด็กเข้าทางาน (๒) จัดทาบันทึกสภาพการจ้างกรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเก็บไว้ ณ สถานประกอบกิจการหรื อสานักงานของ นายจ้าง พร้อมที่จะให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจได้ในเวลาทาการ (๓) แจ้งการสิ้ นสุ ดการจ้างลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กนั้นต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 7 วัน นับแต่วนั ที่เด็กออกจากงาน การ แจ้งหรื อการจัดทาบันทึกตามวรรคหนึ่งให้เป็ นไปตามแบบที่อธิ บดีกาหนด มาตรา ๔๖ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กมีเวลาพักวันหนึ่งไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมงติดต่อกันหลังจากที่ลูกจ้างทางาน มาแล้วไม่เกิน 4 ชัว่ โมง แต่ใน 4 ชัว่ โมง นั้นให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กได้มีเวลาพักตามที่นายจ้างกาหนด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

10

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

มาตรา ๔๗ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานใน ระหว่างเวลา 22.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็ นหนังสื อจากอธิ บดีหรื อผูซ้ ่ ึ งอธิ บดีมอบหมาย นายจ้างอาจให้ลูกจ้างซึ่งเป็ นเด็กอายุต่า กว่า18 ปี และเป็ นผูแ้ สดงภาพยนตร์ ละครหรื อการแสดงอย่างอื่นที่คล้ายคลึงกันทางานในระหว่างเวลาดังกล่าวได้ ทั้งนี้ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กนั้นได้พกั ผ่อนตามสมควร มาตรา ๔๘ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางาน ล่วงเวลาหรื อทางานในวันหยุด มาตรา ๔๙ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางาน อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ (๑) งานหลอม เป่ า หล่อ หรื อรี ดโลหะ (๒) งานปั๊ มโลหะ (๓) งานเกี่ยวกับความร้อน ความเย็น ความสัน่ สะเทือน เสี ยง และแสงที่มีระดับ แตกต่างจากปกติ อันอาจเป็ นอันตราย ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (๔) งาน เกี่ยวกับสารเคมีที่เป็ นอันตรายตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (๕) งานเกี่ยวกับจุลชีวนั เป็ นพิษซึ่ งอาจเป็ นเชื้อไวรัส แบคทีเรี ย รา หรื อเชื้ออื่น ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (๖) งานเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรื อวัตถุไวไฟ เว้นแต่งานในสถานี บริ การน้ ามันเชื้อเพลิงตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง (๗) งานขับหรื อบังคับรถยกหรื อปั้ นจัน่ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (๘) งานใช้เลื่อยเดินด้วยพลังไฟฟ้ าหรื อเครื่ องยนต์ (๙) งานที่ตอ้ งทาใต้ดิน ใต้น้ า ในถ้ า อุโมงค์ หรื อปล่องในภูเขา (๑๐) งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (๑๑) งานทาความสะอาดเครื่ องจักรหรื อเครื่ องยนต์ขณะที่เครื่ องจักรหรื อ เครื่ องยนต์กาลังทางาน (๑๒) งานที่ตอ้ งทาบนนัง่ ร้านที่สูงกว่าพื้นดินตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป (๑๓) งานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๐ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กอายุต่ากว่าสิ บแปดปี ทางานใน สถานที่ดงั ต่อไปนี้ (๑) โรงฆ่าสัตว์ (๒) สถานที่เล่นการพนัน (๓) สถานเต้นรา ราวง หรื อรองเง็ง (๔) สถานที่ที่มีอาหาร สุ รา น้ าชา หรื อเครื่ องดื่มอย่างอื่นจาหน่ายและบริ การโดย มีผบู ้ าเรอสาหรับปรนนิบตั ิลูกค้า หรื อ โดยมีที่สาหรับพักผ่อนหลับนอนหรื อมีบริ การนวดให้แก่ลูกค้า (๕) สถานที่อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๑ ห้ามมิให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กให้แก่บุคคลอื่น ห้ามมิให้นายจ้างเรี ยกหรื อรับเงินประกันเพื่อ การใด ๆ จากฝ่ ายลูกจ้างซึ่งเป็ นเด็ก ในกรณี ที่นายจ้าง ลูกจ้างซึ่งเป็ นเด็ก บิดามารดาหรื อผูป้ กครองของลูกจ้างซึ่งเป็ น เด็ก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

10-13

11

ชื่อหน่ วย : กฎหมายแรงงาน ชื่อสถานศึกษา:

จ่ายหรื อรับเงินหรื อประโยชน์ตอบแทนใด ๆ เป็ นการล่วงหน้าก่อนมีการจ้างขณะแรกจ้างหรื อก่อนถึงงวดการจ่ายค่าจ้าง ให้แก่ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กในแต่ละคราว มิให้ถือว่าเป็ นการจ่ายหรื อรับค่าจ้างสาหรับลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กนั้น และห้ามมิให้ นายจ้างนาเงินหรื อประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวมาหักจากค่าจ้างซึ่ งต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กตามกาหนดเวลา มาตรา ๕๒ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ และการทางานของเด็กให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี มีสิทธิลาเพื่อเข้าประชุม สัมมนา รับการอบรมรับการฝึ กหรื อลาเพื่อการอื่น ซึ่ งจัดโดยสถานศึกษาหรื อหน่วยงาน ของรัฐหรื อเอกชนที่อธิบดีเห็นชอบ โดยให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กแจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้าถึงเหตุที่ลาโดยชัดแจ้งพร้อม ทั้งแสดงหลักฐานที่เกี่ยวข้องถ้ามี และให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างซึ่ งเป็ นเด็กเท่ากับค่าจ้างในวันทางานตลอด ระยะเวลาที่ลาแต่ปีหนึ่งต้องไม่เกิน 30 วัน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ญญาก่อสร้ าง (CONSTRUCTION COTRACTS)

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

1


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

2

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

1. ส่ วนประกอบของสั ญญาก่อสร้ าง (The Elements of Construction Contracts) ถ้าจะตั้งคาถามว่า สัญญาคืออะไร คาจากัดซึ่ งง่ายที่สุดก็คือ ข้อตกลงที่มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย แต่ขอ้ ตกลง (Agreement) ไม่ถือว่าเป็ นสัญญาเสี ยทั้งหมด ถ้าข้อตกลงนั้นขัดแย้งกับกฎหมาย คาสั่ง ประกาศ ทางราชการ ข้อตกลง จึงเป็ นส่ วนสาคัญอย่างยิง่ เพราะถือว่า เป็ นสัญญาก่อสร้างหรื อสัญญาจ้างงานนัน่ เอง รู ปแบบของสัญญาก่อสร้างที่ใช้ กันมาตั้งแต่แรกเริ่ มจนกระทัง่ ถึงในปั จจุบนั ประกอบด้วยส่ วนสาคัญ 6 ส่ วน คือ 1.1 ส่ วนของการเสนอราคาหรื อส่ วนของข้อเสนอ (Bid Form or Proposal) 1.2 ส่ วนของข้อตกลง (Agreement Form) 1.3 เงื่อนไขทัว่ ไปหรื อมาตรฐานรายการก่อสร้าง (General Conditions or Standard Specifications) 1.4 ข้อกาหนดพิเศษ (Special Provisions) 1.5 แบบรู ป (Plans) 1.6 การเพิ่มเติม (Addenda) 1.1 ส่ วนของการเสนอราคาหรือส่ วนของข้ อเสนอ (Bid Form or Proposal) คือ รายละเอียดเสนอราคาประมูลงานของผูร้ ับเหมาก่อสร้าง หรื อเป็ นแบบฟอร์ มใบเสนอราคาของ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างนัน่ เอง ซึ่ งในใบเสนอราคาประมูลงานนี้มีรายละเอียดต่าง ๆ เช่นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ค่าแรง ค่าดาเนินงาน ค่าขนส่ ง ค่าเคลื่อนย้าย ค่าปลูกสร้างอาคารชัว่ คราว ค่าคนยาม ค่าภาษี ค่าดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าเสื่ อมเวลา ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เป็ นต้น บางครั้งผูเ้ สนอราคาแสดงยอดกาไรสุ ทธิ ไว้ดว้ ย รายการต่าง ที่เสนอราคามานี้ ส่ วนมาก ผูเ้ สนอราคาจะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขของผูว้ า่ จ้าง หรื อปฏิบตั ิตามประกาศแจ้งความประกวดราคาของเจ้าของงาน เป็ นต้นว่า ให้แยกค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ออกเป็ นรายละเอียดของแต่ละงานหรื ออาจกาหนดให้เสนอราคาต่อหน่วย (Unitprice) หากผูเ้ สนอราคาไม่ปฏิบตั ิไปตามเงื่อนไขดังกล่าว เช่น ไม่ติดอากรแสตมป์ แสดงรายละเอียดไม่ครบถ้วน ไม่ระบุ จานวนวันที่ใช้ทาหรอไม่มีเอกสารรับรองการผ่านการต่าง ๆ เหล่านี้ ถ้าเป็ นงานของทางราชการ จะถือว่า ใบเสนอราคา รายนั้นไม่สมบูรณ์หรื อเป็ นโมฆะ กรรมการเปิ ดซองประกวดราคาก่อสร้างไม่อาจรับไว้พิจารณาได้ เพราะผิดเงื่อนไขแต่ แรก ใบเสนอราคาประมูลงานก่อสร้างจึงเป็ นเอกสารสาคัญที่ใช้ประกอบกับสัญญาก่อสร้าง ซึ่ งถือเป็ นเอกสารสัญญา (Contract Document) อย่างหนึ่งของสัญญาก่อสร้าง ปกติผวู ้ า่ จ้างหรื อเจ้าของงานจะเป็ นผูจ้ ดั ทาแบบฟอร์ มใบเสนอราคาขึ้น เพื่อกาหนดให้ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างกรอก รายละเอียดลงในแบบฟอร์ มดังกล่าวตามที่ตนประสงค์ จะได้ใช้เป็ นรายละเอียดเปรี ยบเทียบราคาระหว่างผูท้ ี่ยนื่ เสนอ ประมูลงานด้วยกัน แต่ถา้ ผูว้ า่ จ้างไม่จดั ทาแบบฟอร์ มใบเสนอราคา หรื อมิได้กาหนดเป็ นเงื่อนไขให้ผเู ้ สนอราคาต้อง ปฏิบตั ิอย่างหนึ่งอย่างใดแล้ว เป็ นหน้าที่ของผูเ้ สนอราคาต้องจัดทาใบเสนอราคาหรื อทาเป็ นข้อเสนอ (Proposal) ของ ตนเองขึ้นมาโดยเฉพาะ และในใบเสนอราคาหรื อข้อเสนอนั้น ควรจะต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่ งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ 1. ราคาที่เสนอ ถ้าเป็ นการเสนอราคาแบบราคาต่อหน่วย ต้องแยกเป็ นรายละเอียดตามจานวนตามปริ มาณของแต่ ละรายการ โดยแสดงยอดเงินในแต่ละรายการไว้ดว้ ย และรวมยอดเงินของทุกรายการก็จะเป็ นราคาที่เสนอ แต่ถา้ เป็ น


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

3

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

การเสนอราคาแบบรวมยอด เพียงแต่แสดงยอดรวมของราคาที่เสนอไว้เท่านั้น ปกติราคาที่เสนอจะเขียนเป็ นตัวเลขและ กากับไว้ดว้ ยอักษร หากตัวเลขกับตัวอักษรไม่ตรงกัน จะถือเอาตัวอักษรเป็ นสาคัญ 2.เวลาที่เริ่ มทางานและเวลาที่ใช้ทางานจนแล้วเสร็ จ ต้องกาหนดลงไปว่า จะเริ่ มทางานตั้งแต่เมื่อไร (วันที่ / เดือน / พ.ศ.) และงานที่ทานั้นใช้เวลาสักกี่วนั จะแล้วเสร็ จเมื่อใด (วันที่/เดือน/พ.ศ.) 3.จัดทารายการตามเอกสารสัญญาทั้งหมด โดยรวมเฉพาะส่ วนที่เพิม่ ขึ้นของงาน ซึ่ งมีผลต่อระยะเวลาการแล้ว เสร็ จของโครงการ และต้องตีความให้กระจ่างว่า จะทาอะไรบ้างเพียงใด เขียนเป็ นรายการแสดงไว้ในการเสนอราคา ด้วย 4.ต้องไปตรวจสถานที่ก่อสร้าง เพื่อจะได้ทราบปั ญหาและข้อขัดข้องในการดาเนินต่าง ๆ ที่นอกเหนือไปจากแบบ รู ปและรายการก่อสร้าง เพราะอาจจะต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้เพิ่มขึ้นจากปกติ เช่น การต่อน้ าประปา การติดตั้งไฟฟ้ า ไม่มีบริ เวณสาหรับสร้างบ้านพักคนงาน ไม่มีที่เก็บหรื อกองวัสดุ หรื อการก่อสร้างมิอาจดาเนินไปได้ตามวิธีปกติ เพราะ ติดขัดด้วยสิ่ งก่อสร้างหรื อสิ่ งแวดล้อมข้างเคียง เป็ นต้น ผูเ้ สนอราคาควรแสดงค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้ โดยแยกไว้เป็ น รายการต่างหาก ก็จะทาให้การเสนอราคาดูเป็ นเหตุเป็ นผลยิง่ ขึ้น 5.ควรเสนอแผนการดาเนินการก่อสร้าง โดยอาจทาเป็ นตารางกาหนดเวลา (Schedule) หรื อเป็ นแบบแผนภูมิแท่ง (Bar Chart) เป็ นแบบ C.P.M. Network หรื อเป็ นแบบ Precedence Network ก็ได้แล้วแต่กรณี ของผูว้ า่ จ้างด้วย 6.ถ้าเป็ นไปได้ควรระบุรายชื่อผูร้ ับเหมาช่วงที่จะรับทางานบางงาน เพื่อประกอบกับการพิจารณาของผูว้ า่ จ้างด้วย 7.ต้องให้คายืนยันหรื อแสดงให้เป็ นที่ประจักษ์วา่ มิได้สมรู ้ร่วมคิดหรื อทาการฮั้วงานกับ ผูเ้ สนอราคารายได้ หรื อกับตัวแทนของผูว้ า่ จ้าง 8.ควรเสนอไปด้วยว่า เงื่อนไขการจ่ายเงินจะจ่ายโดยวิธีใด และผูว้ า่ จ้างจะจ่ายให้หลังจากวันที่งานเสร็ จเรี ยบร้อย ลงแล้ว หรื อหลังจากวันที่ตรวจรับงานกันแต่ละงวดแล้วกี่วนั 9.มีชื่อและนามสกุลพร้อมกับลายเซ็นชื่อของผูเ้ สนอราคา ถ้าเป็ นบุคคลที่ได้รับมอบอานาจให้ทาการแทน ต้องมี หนังสื อมอบอานาจแนบด้วย และถ้าผูร้ ับมอบอานาจนั้นกระทาแทนนิติบุคคล ต้องมีตราของนิติบุคคลนั้น ๆ ประทับตรง ตาแหน่งลายเซ็นชื่อผูน้ ้ นั ด้วย 1.2 ส่ วนของข้ อตกลง (Agreement from) เป็ นส่ วนของตัวสัญญานัน่ เอง ในส่ วนนี้จะเป็ นเอกสารสาคัญของผูว้ า่ จ้างและผูร้ ับเหมาก่อสร้างที่กาหนดเป็ น เงื่อนไขข้อตกลงต่าง ๆ ไว้ร่วมกัน ปกติสัญญาก่อสร้างจะมีลกั ษณะดังนี้ กล่าวคือ ในย่อหน้าแรกหรื อส่ วนแรกนั้นเป็ นคาแนะนาทัว่ ๆ ไป คาจากัดความเกี่ยวกับคู่สัญญาหรื อตัวแทนของคู่สัญญา วันที่และสถานที่ของคู่กรณี ซ่ ึ งทาสัญญากันและราคาตามสัญญา เป็ นต้น ในส่ วนต่อ ๆ ไปจะเป็ นขอบข่ายหรื อ ข้อกาหนดเกี่ยวกับงานที่ทา วันเริ่ มต้นทางาน วันที่งานจะแล้วเสร็ จ เงื่อนไขการจ่ายเงิน วิธีการจ่ายเงินขอบเขตของ สัญญาหรื อเอกสารที่อา้ งอิง ข้อกาหนดพิเศษหรื อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติมการค้ าประกันสัญญาการตรวจหรื อการ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

4

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

ควบคุมงานคุณภาพของวัสดุและฝี มือในการทางาน การรับเหมาช่วง การดูแลรักษาหรื อการค้ าประกันภัยของงาน ก่อสร้าง เครื่ องมือเครื่ องจักรกลที่ใช้ดาเนินงาน การสั่งหยุดงาน การทางานล่วงเวลา การขยายเวลาทางาน ความ เสี ยหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน การผิดสัญญา การยกเลิกสัญญา การยกเลิกงานก่อสร้าง อุบตั ิเหตุและการบาดเจ็บของ คนงาน การคุม้ ครองแรงงาน การรื้ อถอนสิ่ งก่อสร้างชัว่ คราว ภัยจาเพาะที่ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างไม่ตอ้ งชดใช้ค่าเสี ยหาย การปรับ พันธะของผูร้ ับเหมาก่อสร้างที่ตอ้ งมีต่อสัญญาหรื อการซ่อมแซมงานก่อสร้าง เป็ นต้น ในส่ วนสุ ดท้ายหรื อย่อหน้าสุ ดท้ายเป็ นลักษณะของการยืนยันหรื อให้คารับรองว่า จะปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามพันธะ ของสัญญาทุกประการ และเป็ นส่ วนที่คู่กรณี ตอ้ งลงนามในสัญญาพร้อมกับพยานไม่นอ้ ยกว่าสองคน 1.3 เงื่อนไขทัว่ ไปหรือมาตรฐานรายงานก่อสร้ าง (General Conditions or Standard Specifications) ในส่ วนนี้เป็ นคาแนะนาทัว่ ไปของผูว้ า่ จ้าง เพื่อใช้ประกอบกับการพิจารณาเสนอราคาของผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ส่ วนมากจะเกี่ยวกับการกาหนดคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร ฝี มือแรงงานที่ใช้งานก่อสร้างรวมถึงวิธี ดาเนินงานก่อสร้าง รายละเอียดของส่ วนนี้เป็ นเงื่อนไขที่สถาปนิกหรื อวิศวกรกาหนดขึ้นวัตถุประสงค์เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของฝ่ ายเจ้าของงานเป็ นสาคัญ และเป็ นส่ วนที่มีรายละเอียดแตกต่างไปจากแบบรู ป (Drawings) เพราะ แบบรู ปนั้นเป็ นการกาหนดว่า อะไรต้องกระทาบ้าง แต่รายการก่อสร้างชี้แนะว่า จะทางานนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไร รายการ ก่อสร้างจึงเป็ นส่ วนช่วยสนับสนุนให้แบบรู ปกระจ่างยิง่ ขึ้น ซึ่ งเรื่ องนี้จะได้กล่าวถึงรายละเอียดต่าง ๆ ในบทต่อไป 1.4 ข้ อกาหนดพิเศษ (Special Provisions) หรื อเป็ นเงื่อนไขพิเศษ บางทีเรี ยกว่า “ข้อกาหนดทางเทคนิค ” เป็ นการกาหนดที่แตกต่างไปจากมาตรฐาน ก่อสร้างโดยทัว่ ไป เป็ นงานเฉพาะอย่างยิง่ ที่ตอ้ งการมาตรฐานสู งกว่ามาตรฐานการก่อสร้างตามปกติ หรื ออาจเป็ นการ ดัดแปลง เพิ่มเติม แก้ไข ให้แตกต่างไปจากแบบรู ปและรายการก่อสร้าง หรื อเนื่องมาจากเกิดปั ญหาทางเทคนิคการ ก่อสร้าง จึงจาเป็ นต้องดัดแปลงแก้ไขให้เปลี่ยนไปจากข้อกาหนดเดิม ซึ่ งระบุเอาไว้เป็ นเงื่อนไขในสัญญาก่อสร้าง 1.5 แบบรู ป (Drawing) หมายถึง แบบรู ปที่ใช้ในการก่อสร้าง ซึ่ งต้องมีรายละเอียดต่าง ๆ ครบถ้วน เช่น ในงานสร้างอาคารต้องมี รู ปแบบการจัดห้อง รู ปด้าน รู ปตัด รู ปขยาย แปลนหลังคา แปลนพ้น ผังการเดินสายไฟ ผังการเดินท่อต่าง ๆ ผัง บริ เวณ ผังฐานราก หรื อรู ปประกอบอย่างอื่น เพื่อช่วยให้การทางานถูกต้องยิง่ ขึ้น แบบรู ปจึงเป็ นเอกสารสัญญาที่ใช้ แนบกับสัญญาก่อสร้าง ถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของข้อตกลงที่ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามรู ปนั้น 1.6 การเพิม่ เติม (Addenda) หมายถึง การเพิม่ เติม การต่อเติม การดัดแปลงแก้ไขในส่ วนต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วแต่ตน้ โดยต้องกระทาเป็ น เอกสารประกอบสัญญาก่อสร้าง สิ่ งที่เปลี่ยนแปลงนี้เป็ นส่ วนที่แตกต่างไปจากข้อกาหนดเดิม หรื อเป็ นการสับลาดับ ขั้นตอนทางาน ซึ่ งเป็ นการตกลงและกระทาภายหลังการลงนามในสัญญาแล้ว หรื อกระทาในระหว่างการก่อสร้าง นัน่ เอง เมื่อตกลงกันเป็ นเงื่อนไขอย่างไรแล้ว คู่กรณี ตอ้ งปฏิบตั ิไปตามข้อตกลงนั้น ๆ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

5

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการก่อสร้างดังกล่าวควรรวมถึง การยกเลิกส่ วนใดส่ วนหนึ่งของงานด้วย ผูร้ ับเหมาก่อสร้างจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขใด ๆ ไม่ได้ จะกระทาก็ต่อเมื่อได้รับแจ้งจากฝ่ ายผูว้ า่ จ้างเท่านั้น และส่ วนที่ เปลี่ยนแปลงไปจากแบบรู ปและรายการนี้ เมื่อเป็ นผลทาให้เพิ่มหรื อลดวงเงินค่าก่อสร้างลงแล้ว ผูว้ า่ จ้างและ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างต้องทาความตกลงยินยอมกัน เพื่อกาหนดราคาดังกล่าวตามความเหมาะสมต่อไป หรื อกาหนดเป็ น เงื่อนไขไว้วา่ การเปลี่ยนแปลงส่ วนใดส่ วนหนึ่งของงานก่อสร้าง ถ้าปรากฏว่าการเปลี่ยนแปลงส่ วนต่าง ๆ นั้น เป็ นเหตุ ให้ราคาก่อสร้างเพิ่มขึ้นหรื อลดลงไม่เกินกว่าร้อยละ 0.5 ของราคาตามที่ระบุไว้ในสัญญาก่อสร้างแล้ว ไม่มีผลให้อีกฝ่ าย หนึ่งบังคับหรื อนามาเป็ นข้อเรี ยกร้องเอากับอีกฝ่ ายหนึ่งได้ การเปลี่ยนแปลงตามนัยข้างต้นต้องไม่มีผลทาให้สัญญา ก่อสร้างเป็ นโมฆะหรื อหมดสภาพไป และถ้าวิศวกรหรื อผูว้ า่ จ้างมีเหตุผลอย่างอื่นที่ตอ้ งสั่งผูร้ ับเหมาก่อสร้างให้ เปลี่ยนแปลงงานส่ วนใดส่ วนหนึ่งด้วยวาจาผูร้ ับเหมาก่อสร้างควรจะดาเนินการตามคาสั่งนั้นได้ โดยที่ผวู ้ า่ จ้างจะมี หนังสื อยืนยันมาภายหลังก็ได้ หรื อเพื่อป้ องกันข้อขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้นตามกรณี น้ ี ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ควรทาเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรยืนยันในเรื่ องที่ผวู ้ า่ จ้างหรื อวิศวกรมีคาสั่งด้วยวาจา และถ้าผูว้ า่ จ้างไม่มีขอ้ โต้แย้งตามหนังสื อที่กระทาไป นั้น ก็ถือเสมือนหนึ่งว่า เป็ นหนังสื อสั่งการของผูว้ า่ จ้างได้ ซึ่ งจะมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย 2.ประเภทของสั ญญาก่อสร้ าง (Type of Construction Contracts) เป็ นความจริ งที่วา่ การก่อสร้างแต่ละอย่างหรื อแต่ละประเภทนั้น เจ้าของงานต้องการงานที่มีคุณภาพดีและใช้ จ่ายเงินไปให้นอ้ ยที่สุด แต่จุดมุ่งหมายของผูร้ ับเหมาก่อสร้างประสงค์ให้ผลงานผ่านการรับรองของผูว้ า่ จ้างเท่านั้น โดย ต้องการกกาไรจากการทางานให้มากที่สุด เมื่อธรรมชาติของคู่กรณี มีลกั ษณะเช่นนี้ จึงเป็ นผลทาให้เกิดมีสัญญาก่อสร้าง ขึ้นในรู ปลักษณะต่าง ๆ กัน เพื่อปรับให้ท้ งั สองฝ่ ายเลือกใช้สัญญาก่อสร้างตามชนิดหรื อตามประเภทที่เห็นว่ายุติธรรม และเหมาะสม การที่คู่กรณี จะเลือกใช้สัญญาแบบใดนั้นขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของงานก่อสร้าง ซึ่ งเป็ นตัวกาหนดที่สาคัญอยู่ ด้วย ดังนั้น ประเภทต่าง ๆ ของสัญญาก่อสร้างจึงแบ่งออกได้ดงั ต่อไปนี้ 2.1 การก่อสร้ างโดยบัญชีแรงงาน (Construction by Force Account) วิธีน้ ีเป็ นวิธีง่ายที่สุดของงานก่อสร้าง เพราะเหตุที่วา่ เจ้าของงานเป็ นผูว้ า่ จ้างแรงงาน (Labor) โดยตรงหรื อจะ เรี ยกวิธีน้ ีวา่ “การจ้างแรงงานรายวัน ” (Day-Labor) หรื อวิธีบญั ชีแรงงาน (Force Account Method) ก็ได้ การจ้าง แรงงานอาจจะจ้างเป็ นรายวัน จ้างเป็ นชิ้นงาน หรื อจ้างให้ทางานจนแล้วเสร็ จเรี ยบร้อยทั้งหมด โดยเจ้าของงานจะว่าจ้าง เฉพาะแรงงานเท่านั้น ส่ วนการจัดซื้ อวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างต่าง ๆ จะกระทาด้วยตนเองทั้งสิ้ น วิธีน้ ีจึงเหมาะกับงานง่าย ๆ หรื องานขนาดเล็ก เป็ นงานที่ไม่ยงุ่ ยากหรื อซับซ้อนมากนักและใช้เวลาทางานไม่นานนักด้วย สาหรับงานขนาดใหญ่แล้ว ไม่ใช่วธิ ี น้ ีมากนัก เพราะจะให้ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างดาเนินงานเองทั้งหมด เหตุผลที่เจ้าของงานเลือกใช้วธิ ี การดังกล่าว เพราะมุ่งที่จะประหยัดเงินค่าโสหุ ย้ และกาไร ผลพลอยได้อีก ประการหนึ่งสาหรับเจ้าของงานคือ ได้เรี ยนรู ้ประสบการณ์ เทคนิคการทางานต่าง ๆ จากผูร้ ับเหมาก่อสร้างแต่การ ทางานในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ จะเกิดความยุง่ ยากลาบากใจให้กบั เจ้าของงานที่ดาเนินงานเสี ยเป็ นส่ วนใหญ่ อาทิ ค่าจ้าง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

6

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

แรงงานและค่าเช่าเครื่ องมือเครื่ องจักรจะสู งกว่าปกติ ตลอดจนการจัดซื้ อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ จะซื้ อได้แพงกว่า ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง เพราะผูร้ ับเหมาก่อสร้างย่อมรู ้แหล่งของวัสดุอุปกรณ์ได้ดีกว่า และรู ้วา่ ที่ใดจะซื้ อได้ถูกกว่าด้วย ถึงแม้วา่ การทาสัญญาจ้างค่าแรงงานวันจะหลีกเลี่ยงการจ่ายค่าโสหุ ย้ และตัดลงกาไรลงไปก็ตาม แต่บางครั้งอาจ ทาให้ราคาก่อสร้างสู งกว่าให้ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างดาเนินงานเองทั้งหมด เพราะนอกจากเหตุผลที่กล่าวไว้ขา้ งต้นแล้ว ผูร้ ับเหมาก่อสร้างยังได้บวกค่าโสหุ ย้ และกาไรแฝงเอาไว้ในค่าแรงงานอีกด้วย 2.2 สั ญญาประกวดราคาก่อสร้ าง (Competitive – bid Contracts) วัตถุประสงค์ของการประกวดราคาก่อสร้าง เพื่อให้ผเู ้ สนอราคาแข่งขันกันที่จะเป็ นผูเ้ สนอราคาต่าสุ ด ซึ่ งถ้าการ ประกวดราคา ดาเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องและมีการแข่งขันกันอย่างแท้จริ งแล้ว เจ้าของงานจะได้รับประโยชน์จาก การประกวดราคาอันมาก อย่างไรก็ตาม มิได้เป็ นเงื่อนไขตายตัวที่ตอ้ งทาสัญญากับผูเ้ สนอราคาต่าสุ ดเสมอไป เพราะถ้า เจ้าของงานพิจารณาเห็นว่า ราคาที่เสนอมาต่าสุ ดนี้เป็ นราคาต่ามากเกินไปแล้วผูร้ ับเหมาก่อสร้างไม่น่าจะดาเนินงานไป ได้โดยตลอด หรื อถ้ากระทาได้ตามราคาที่เสนอ คุณภาพของงานอาจจะไม่ดีพอหรื อไม่ได้ตามมาตรฐาน ผูว้ า่ จ้างมีสิทธิ์ ทาสัญญาจ้างจากรายอื่นที่เหมาะสมต่อไป หรื อในที่กรณี ที่ราคาต่าสุ ดนั้นยังสู งกว่าราคามาตรฐานหรื อราคากลางแล้ว ก็ บอกยกเลิกการประกวดราคาคราวนั้นเสี ยก็ได้สัญญาประกวดราคาก่อสร้างนี้ 1. การเสนอราคาแบบรวมยอด (Lump-Sum Bid) การเสนอราคาแบบรวมยอดส่ วนมากมักใช้กบั ประเภทงานสร้างอาคาร โดยคิดราคารวมยอดทั้งค่าแรงงานและค่าวัสดุที่ใช้จนกระทัง่ งานแล้วเสร็ จ ราคารวมยอดตาม กรณี น้ ี ผูร้ ับเหมาได้คิดเผือ่ ค่าวัสดุและค่าแรงงานไว้แล้ว ดังนั้นราคาที่ผยู ้ นื่ ประมูลงานเสนอจึงรวมค่าดาเนินงานค่า โสหุ ย้ และกาไรเอาไว้ดว้ ย ผูว้ า่ จ้างหรื อเจ้าของงานจะเปรี ยบเทียบราคาที่เสนอมาแต่ละราย และรายที่เสนอราคาต่าสุ ด นั้นจะเป็ นผูถ้ ูกพิจารณาให้ทาสัญญาก่อสร้างต่อไป การใช้สัญญาก่อสร้างแบบนี้ ถ้าผูว้ า่ จ้างประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแบบรู ปและรายการก่อสร้างหรื อเพิ่ม ข้อกาหนดขั้นอีกแล้ว แล้วตกลงราคากันใหม่เฉพาะในส่ วนที่เปลี่ยนแปลงไปจากข้อกาหนดเดิม ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ส่ วนมากมุ่งจะทางานให้เสร็ จลงอย่างรวดเร็ วที่สุด เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และจะได้มีกาไรสู งขึ้นไปอีก ส่ วน เจ้าของงานก็มุ่งหวังให้งานก่อสร้างมีคุณภาพดีที่สุดตามราคาค่างวดที่ตกลงกันไว้ ฉะนั้น ถ้าแบบรู ปและรายการก่อสร้าง มีรายละเอียดครบถ้วน ถูกต้องและชัดแจ้งแล้ว จะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ทั้งสองฝ่ ายเพราะได้ทราบถึงขอบข่ายของงานที่ กระทา และสะดวกต่อการตรวจรับงานแต่ละงวดอีกด้วย 2. การเสนอราคาต่ อหน่ วย (Unit-Price Bid) การเสนอราคาต่อหน่วยส่ วนมากใช้กบั งานที่ไม่ทราบ ปริ มาณจานวนที่แน่นอน เช่น งานถนนทางหลวง เขื่อน สนามบิน และในงานทาฐานรากอาคาร ซึ่ งก็ใช้สัญญาชนิดนี้ ด้วยเพราะมีลกั ษณะงานแยกออกจากกันอย่างเห็นได้ชดั คนงานที่ทางานแต่ละขั้นตอนจะเป็ นคนละชุดกัน เป็ นต้นว่า งานขุดดิน งานเทคอนกรี ต และงานกลบดินฐานราก การจ่ายเงินให้กบั ผูร้ ับได้คิดรวมค่าโสหุ ย้ ค่าใช้จ่ายอื่นและกาไร ไว้แล้ว การเสนอราคาต่อหน่วยผูเ้ สนอราคาจะแสดงรายการของปริ มาตรงานแต่ละอย่างแต่ละชนิด และคูณด้วยราคาต่อ 1 หน่วย ของงานประเภทนั้น ๆ ผลคูณที่ได้รับจึงเป็ นราคาของปริ มาตรงานแต่ละรายการ เมื่อรวมยอดของทุกรายการ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

7

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

แล้วจะเป็ นราคารวมของงานทั้งหมด ดังนั้น ผูท้ ี่เสนอราคารวมต่าสุ ดจะเป็ นผูไ้ ด้รับการพิจารณาจากผูว้ า่ จ้างให้ ดาเนินการก่อสร้างต่อไป งานก่อสร้างส่ วนมากมักใช้สัญญาก่อสร้างทั้งสองแบบ กล่าวคือ ถ้าเป็ นงานก่อสร้างที่สามารถกระทา ได้โดยสะดวก ไม่มีขอ้ ยุง่ ยากหรื อเป็ นงานซับซ้อนมากนัก จะใช้สัญญาแบบรวบยอด แต่ถา้ เป็ นงานสร้างเขื่อนหรื องาน ทาถนนทางหลวง ซึ่ งมีการขุดดิน การถมดิน หรอการทาไหล่ถนน จะให้เสนอราคาต่อหน่วย ซึ่ งเป็ นประโยชน์กบั เจ้าของงาน เพราะจะทราบได้วา่ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างคิดราคาประมูลงานไว้อย่างไรสมเหตุสมผลหรื อไม่ กับจะทราบยอด ต่าง ๆ ของแต่ละรายการว่า มีปริ มาตรอยูเ่ ท่าใด ผูร้ ับเหมาคิดยอดค่าใช้จ่ายและกาไรไว้เท่าใด เป็ นต้น ก่อสร้างขนาด ใหญ่ ผูว้ า่ จ้างจะพิจารณาใช้สัญญาทั้งสองแบบคละเคล้ากันไป โดยแยกงานบางอย่างบางชนิดใช้กบั สัญญาแบบรวมยอด และงานบางประเภทนั้นใช้กบั สัญญาแบบราคาต่อหน่วย ดังนี้เป็ นต้น สั ญญาแบบการเจรจาตกลง (Negotiated Contracts) สัญญาแบบการประกวดราคาทั้งชนิดแบบรวมยอดและชนิดแบบราคาต่อหน่วย ส่ วนมากจะใช้กบั งาน ของทางราชการ หรื อใช้งานกับที่มีลกั ษณะเร่ งด่วน แต่ถา้ เป็ นงานที่ไม่เร่ งด่วนหรื อรี บร้อนจนเกินไปนัก ผูว้ า่ จ้างจะใช้ วิธีการเจรจาตกลงราคากับผูร้ ับเหมาก่อสร้างโดยตรงเพียงรายเดียว หรื อหลาย ๆ รายก็ได้ และผลของการเจรจาตกลง ราคากับผูร้ ับเหมาก่อสร้างโดยตรงเพียงรายเดียว หรื อหลาย ๆ รายก็ได้ และผลของการเจรจาตกลงราคากันนั้นจึงถูก กาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้ต่อกันตามรู ปแบบของสัญญาต่าง ๆ ดังต่อไป 1. สั ญญาแบบราคาคงทีแ่ น่ นอน (Fixed Price) การทาสัญญาแบบนี้เป็ นการกาหนดราคาค่าก่อสร้าง ไว้ตายตัว จะเปลี่ยนราคาอีกไม่ได้จนกว่าสิ้ นสุ ดอายุของสัญญาที่กระทาไว้ต่อกัน ซึ่ งเป็ นการสะดวกและเป็ นประโยชน์ ต่อผูว้ า่ จ้าง เพราะไม่ตอ้ งพิจารณาปรับราคากันอีก ถึงแม้วา่ ราคาค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าเช่า หรื อค่าแรงงาน ฯลฯ จะ สู งขึ้นไปอีกก็ตาม ดังนั้น สัญญาแบบนี้จึงมีอายุไม่นานนัก ปกติแล้วไม่เกิน 1 ปี ส่ วนมากจะใช้กบั งานก่อสร้างขนาด เล็กหรื องานที่มีระยะเวลาการก่อสร้างไม่นานเกินไป 2. สั ญญาแบบราคาคงทีข่ นึ้ ลงได้ บางส่ วน (Fixed Price with Escalation) สัญญาแบบนี้มีลกั ษณะ เป็ นการปรับราคาบางส่ วนของงาน ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญในการดาเนินงานก่อสร้าง เช่น พิจารณาปรับราคาเฉพาะค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน เป็ นต้น ส่ วนค่าดาเนินงาน ค่าโสหุ ย้ กาไร และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ นั้น ไม่พิจารณาปรับราคาให้ เหตุที่นาสัญญาแบบนี้มาใช้เนื่องจากว่า ถ้าเป็ นงานก่อสร้างขนาดใหญ่ ต้องใช้ระยะเวลาก่อสร้างติดต่อกันเป็ นแรมปี ผูร้ ับเหมาจะไม่กล้ารับงาน เพราะความผันผวนปรวนแปรของราคาค่าวัสดุและค่าแรงงาน ซึ่ งมีแนวโน้มสู งขึ้นอยูเ่ สมอ ครั้งผูร้ ับเหมาก่อสร้างเสนอราคาเผือ่ ไว้สาหรับกรณี ดงั กล่าวก็ดูจะไม่เป็ นเหตุเป็ นผลเท่าที่ควรในขณะนั้น และไม่ ยุติธรรมกับผูร้ ับเหมาก่อสร้างอีกด้วย และเมื่อราคาค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงานสู งขึ้นไปจริ งเท่าใดก็นามาคิดปรับ ราคากันใหม่ แต่โดยทัว่ ไปจะกาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้วา่ จะปรับราคาให้สูงขึ้นกว่าเดิมได้ไม่เกินกี่เปอร์ เซ็นต์ของราคาที่ เสนอประมูลงานในครั้งแรก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

14-15

8

ชื่อหน่ วย : สัญญาก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา:

3. สั ญญาแบบราคาคงทีซ่ ึ่งเปลีย่ นเงื่อนไขได้ (Fixed Price with Predetermination) การที่คูส่ ัญญา พิจารณาใช้สัญญาแบบนี้ เพราะมีราคาระยะเวลาการก่อสร้างยาวนาน ซึ่ งภาวะทางเศรษฐกิจย่อมเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลา โดยที่ราคาสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ มีแนวโน้มสู งขึ้น จึงเป็ นผลทาให้คู่กรณี เลือกใช้สัญญาแบบนี้กล่าวคือ ใน ครั้งแรก จะตกลงทาสัญญาแบบราคาคงที่ไว้ก่อนตามระยะเวลาที่เห็นพ้องต้องกัน เช่น 6 เดือน หรื อ 1 ปี เป็ นต้น ต่อมาหลังจากเวลานั้น คู่กรณี พิจารณาปรับราคากันใหม่ทุกรายการรวมทั้งกาไรด้วย ตามสภาพเป็ นจริ งของราคาสิ นค้า และบริ การ ซึ่ งต่างจากข้อ 2 เพราะปรับให้เฉพาะค่าวัสดุอุปกรณ์และค่าแรงงานเท่านั้น แบบราคาคงทีเ่ ร่ งรัด (Fixed Price with Incentive) คือ สัญญาที่กาหนดราคาไว้คงที่แน่นอน ตามกาหนดเวลาที่ทา สัญญากันไว้ แต่คู่กรณี กาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้อีกว่า ถ้าสามารถทาการก่อสร้างได้เสร็ จก่อนกาหนดเวลาตามสัญญาแล้ว ผูว้ า่ จ้างต้องจ่ายเงินเพิ่มให้กบั ผูร้ ับเหมาก่อสร้างอีกตามอัตราส่ วนที่ตกลงกันไว้ แต่ถา้ ผูร้ ับเหมาทางานเสร็ จล่าช้าออกไป จากกาหนดเวลาเดิม ผูร้ ับเหมาก่อสร้างต้องจ่ายเงินชดใช้ให้กบั ผูว้ า่ จ้างอีกเช่นกันเสมือนหนึ่งเป็ นค่าปรับนัน่ เอง 1.สั ญญาแบบค่ าใช้ จ่ายรวมกับค่ าธรรมเนียมคงที่ (Cost Plus Fixed Fee) เป็ นสัญญาที่คู่กรณี กาหนดการจ่ายเงิน เฉพาะเนื้องานที่แท้จริ ง รวมกับจ่ายค่าธรรมเนียมหรื อค่าดาเนินงานให้ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างจานวนหนึ่ง สาหรับ ค่าธรรมเนียมหรื อค่าดาเนินงานต่าง ๆ นี้จะต่อรองราคากันเพื่อให้เป็ นราคาคงที่ตายตัวเปลี่ยนแปลงอีกไม่ได้ สัญญา ประเภทนี้ใช้ในงานก่อสร้างเฉพาะอย่าง ซึ่ งผูร้ ับเหมาและผูว้ า่ จ้างต่างก็ไม่เคยมีประสบการณ์หรอมีความสันทัดงานด้าน นั้น ๆ มาก่อน จึงเป็ นงานที่มีลกั ษณะพิเศษ ซึ่ งหาผูร้ ับเหมาก่อสร้างดาเนินงานได้ยากมาก 2.สั ญญาแบบค่ าใช้ จ่ายกับค่ าธรรมเนียมคงทีโ่ ดยการเฉลีย่ ผลกาไร (Cost Plus Fixed Fee With Profit Sharing) การจะใช้สัญญาแบบนี้น้ นั ทั้งผูว้ า่ จ้างและผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ต้องพิจารณากาหนดร่ วมกันในเบื้องต้นว่า ราคางานควรจะ เป็ นจานวนเงินเท่าใด และกาหนดเป็ นเป้ าหมายของราคาเอาไว้ ซึ่ งผูว้ า่ จ้างจะจ่ายเงินเฉพาะราคางานที่แท้จริ งรวมกับ ค่าธรรมเนียมจานวนหนึ่งให้กบั ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง แต่ถา้ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างสามารถทางานได้เสร็ จสิ้ นลง โดยใช้จ่ายเงิน ไปน้อยกว่าเป้ าหมายของราคาที่กาหนดไว้ ผูว้ า่ จ้างจะเฉลี่ยยอดเงินที่เหลือดังกล่าวนั้นให้กบั ผูร้ ับเหมาก่อสร้างดาเนินงาน ได้ในราคาที่ต่า เป็ นการกระตุน้ ให้ผรู ้ ับเหมาเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการดาเนินงาน ทาให้ประหยัดเงินของผูว้ า่ จ้างลงไปอีก ด้วย การเลือกใช้ แบบของสั ญญาก่อสร้ าง การเลือกใช้แบบของสัญญาเพื่อใช้งานก่อสร้างนั้น โดยทัว่ ไปเจ้าของงานจะได้รับคาแนะนาจากสถาปนิก วิศวกร หรื อนักกฎหมาย สาหรับการประกวดราคาก่อสร้างที่ใช้การเสนอราคาแบบรวมยอด หรื อใช้การเสนอราคาแบบ ราคาต่อหน่วย จะกระทาเมื่อแบบรู ปและรายการก่อสร้างเสร็ จสมบูรณ์แล้ว ซึ่ งเจ้าของงานจะพิจารณาจ้างจากผูท้ ี่เสนอ ราคาต่าสุ ด โดยผูร้ ับเหมาก่อสร้างต้องเต็มใจให้มีการตรวจสอบและมีการแนะนาการทางานตามความจาเป็ น ทั้งนี้ เพื่อให้งานก่อสร้างมีคุณภาพดีและเป็ นไปตามแบบรู ปและรายการก่อสร้างนัน่ เอง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

1

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

2

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

การเสนอราคาแบบรวมยอด (Lump-Sum Bid) การเสนอราคาแบบรวมยอดส่ วนมากมักใช้กบั ประเภทงานสร้างอาคาร โดยคิดราคารวมยอดทั้งค่าแรงงานและค่าวัสดุที่ใช้จนกระทัง่ งานแล้วเสร็ จ ราคารวมยอดตามกรณี น้ ี ผูร้ ับเหมาได้คิดเผือ่ ค่าวัสดุและค่าแรงงานไว้แล้ว ดังนั้นราคาที่ผยู ้ นื่ ประมูลงานเสนอจึงรวมค่าดาเนินงานค่าโสหุ ย้ และกาไรเอาไว้ดว้ ย ผูว้ า่ จ้างหรื อเจ้าของงานจะเปรี ยบเทียบราคาที่เสนอมาแต่ละราย และรายที่เสนอราคาต่าสุ ดนั้นจะเป็ นผูถ้ ูกพิจารณาให้ทา สัญญาก่อสร้างต่อไป การใช้สัญญาก่อสร้างแบบนี้ ถ้าผูว้ า่ จ้างประสงค์จะเปลี่ยนแปลงแบบรู ปและรายการก่อสร้างหรื อเพิ่ม ข้อกาหนดขั้นอีกแล้ว แล้วตกลงราคากันใหม่เฉพาะในส่ วนที่เปลี่ยนแปลงไปจากข้อกาหนดเดิม ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ส่ วนมากมุ่งจะทางานให้เสร็ จลงอย่างรวดเร็ วที่สุด เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และจะได้มีกาไรสู งขึ้นไปอีก ส่ วน เจ้าของงานก็มุ่งหวังให้งานก่อสร้างมีคุณภาพดีที่สุดตามราคาค่างวดที่ตกลงกันไว้ ฉะนั้น ถ้าแบบรู ปและรายการก่อสร้าง มีรายละเอียดครบถ้วน ถูกต้องและชัดแจ้งแล้ว จะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ทั้งสองฝ่ ายเพราะได้ทราบถึงขอบข่ายของงานที่ กระทา และสะดวกต่อการตรวจรับงานแต่ละงวดอีกด้วย 1. การเสนอราคาต่ อหน่ วย (Unit-Price Bid) การเสนอราคาต่อหน่วยส่ วนมากใช้กบั งานที่ไม่ทราบ ปริ มาณจานวนที่แน่นอน เช่น งานถนนทางหลวง เขื่อน สนามบิน และในงานทาฐานรากอาคาร ซึ่ งก็ใช้สัญญาชนิดนี้ ด้วยเพราะมีลกั ษณะงานแยกออกจากกันอย่างเห็นได้ชดั คนงานที่ทางานแต่ละขั้นตอนจะเป็ นคนละชุดกัน เป็ นต้นว่า งานขุดดิน งานเทคอนกรี ต และงานกลบดินฐานราก การจ่ายเงินให้กบั ผูร้ ับได้คิดรวมค่าโสหุ ย้ ค่าใช้จ่ายอื่นและกาไร ไว้แล้ว การเสนอราคาต่อหน่วยผูเ้ สนอราคาจะแสดงรายการของปริ มาตรงานแต่ละอย่างแต่ละชนิด และคูณด้วยราคาต่อ 1 หน่วย ของงานประเภทนั้น ๆ ผลคูณที่ได้รับจึงเป็ นราคาของปริ มาตรงานแต่ละรายการ เมื่อรวมยอดของทุกรายการ แล้วจะเป็ นราคารวมของงานทั้งหมด ดังนั้น ผูท้ ี่เสนอราคารวมต่าสุ ดจะเป็ นผูไ้ ด้รับการพิจารณาจากผูว้ า่ จ้างให้ ดาเนินการก่อสร้างต่อไป งานก่อสร้างส่ วนมากมักใช้สัญญาก่อสร้างทั้งสองแบบ กล่าวคือ ถ้าเป็ นงานก่อสร้างที่สามารถกระทา ได้โดยสะดวก ไม่มีขอ้ ยุง่ ยากหรื อเป็ นงานซับซ้อนมากนัก จะใช้สัญญาแบบรวบยอด แต่ถา้ เป็ นงานสร้างเขื่อนหรื องาน ทาถนนทางหลวง ซึ่ งมีการขุดดิน การถมดิน หรอการทาไหล่ถนน จะให้เสนอราคาต่อหน่วย ซึ่ งเป็ นประโยชน์กบั เจ้าของงาน เพราะจะทราบได้วา่ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างคิดราคาประมูลงานไว้อย่างไรสมเหตุสมผลหรื อไม่ กับจะทราบยอด ต่าง ๆ ของแต่ละรายการว่า มีปริ มาตรอยูเ่ ท่าใด ผูร้ ับเหมาคิดยอดค่าใช้จ่ายและกาไรไว้เท่าใด เป็ นต้น ก่อสร้างขนาด ใหญ่ ผูว้ า่ จ้างจะพิจารณาใช้สัญญาทั้งสองแบบคละเคล้ากันไป โดยแยกงานบางอย่างบางชนิดใช้กบั สัญญาแบบรวมยอด และงานบางประเภทนั้นใช้กบั สัญญาแบบราคาต่อหน่วย ดังนี้เป็ นต้น สั ญญาแบบการเจรจาตกลง (Negotiated Contracts) สัญญาแบบการประกวดราคาทั้งชนิดแบบรวมยอดและชนิดแบบราคาต่อหน่วย ส่ วนมากจะใช้กบั งาน ของทางราชการ หรื อใช้งานกับที่มีลกั ษณะเร่ งด่วน แต่ถา้ เป็ นงานที่ไม่เร่ งด่วนหรื อรี บร้อนจนเกินไปนัก ผูว้ า่ จ้างจะใช้ วิธีการเจรจาตกลงราคากับผูร้ ับเหมาก่อสร้างโดยตรงเพียงรายเดียว หรื อหลาย ๆ รายก็ได้ และผลของการเจรจาตกลง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

3

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

ราคากับผูร้ ับเหมาก่อสร้างโดยตรงเพียงรายเดียว หรื อหลาย ๆ รายก็ได้ และผลของการเจรจาตกลงราคากันนั้นจึงถูก กาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้ต่อกันตามรู ปแบบของสัญญาต่าง ๆ ดังต่อไป 1. สั ญญาแบบราคาคงทีแ่ น่ นอน (Fixed Price) การทาสัญญาแบบนี้เป็ นการกาหนดราคาค่าก่อสร้าง ไว้ตายตัว จะเปลี่ยนราคาอีกไม่ได้จนกว่าสิ้ นสุ ดอายุของสัญญาที่กระทาไว้ต่อกัน ซึ่ งเป็ นการสะดวกและเป็ นประโยชน์ ต่อผูว้ า่ จ้าง เพราะไม่ตอ้ งพิจารณาปรับราคากันอีก ถึงแม้วา่ ราคาค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าเช่า หรื อค่าแรงงาน ฯลฯ จะ สู งขึ้นไปอีกก็ตาม ดังนั้น สัญญาแบบนี้จึงมีอายุไม่นานนัก ปกติแล้วไม่เกิน 1 ปี ส่ วนมากจะใช้กบั งานก่อสร้างขนาด เล็กหรื องานที่มีระยะเวลาการก่อสร้างไม่นานเกินไป 2. สั ญญาแบบราคาคงทีข่ นึ้ ลงได้ บางส่ วน (Fixed Price with Escalation) สัญญาแบบนี้มีลกั ษณะ เป็ นการปรับราคาบางส่ วนของงาน ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญในการดาเนินงานก่อสร้าง เช่น พิจารณาปรับราคาเฉพาะค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน เป็ นต้น ส่ วนค่าดาเนินงาน ค่าโสหุ ย้ กาไร และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ นั้น ไม่พิจารณาปรับราคาให้ เหตุที่นาสัญญาแบบนี้มาใช้เนื่องจากว่า ถ้าเป็ นงานก่อสร้างขนาดใหญ่ ต้องใช้ระยะเวลาก่อสร้างติดต่อกันเป็ นแรมปี ผูร้ ับเหมาจะไม่กล้ารับงาน เพราะความผันผวนปรวนแปรของราคาค่าวัสดุและค่าแรงงาน ซึ่ งมีแนวโน้มสู งขึ้นอยูเ่ สมอ ครั้งผูร้ ับเหมาก่อสร้างเสนอราคาเผือ่ ไว้สาหรับกรณี ดงั กล่าวก็ดูจะไม่เป็ นเหตุเป็ นผลเท่าที่ควรในขณะนั้น และไม่ ยุติธรรมกับผูร้ ับเหมาก่อสร้างอีกด้วย และเมื่อราคาค่าวัสดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงานสู งขึ้นไปจริ งเท่าใดก็นามาคิดปรับ ราคากันใหม่ แต่โดยทัว่ ไปจะกาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้วา่ จะปรับราคาให้สูงขึ้นกว่าเดิมได้ไม่เกินกี่เปอร์ เซ็นต์ของราคาที่ เสนอประมูลงานในครั้งแรก 3. สั ญญาแบบราคาคงทีซ่ ึ่งเปลีย่ นเงื่อนไขได้ (Fixed Price with Predetermination) การที่คู่สัญญา พิจารณาใช้สัญญาแบบนี้ เพราะมีราคาระยะเวลาการก่อสร้างยาวนาน ซึ่ งภาวะทางเศรษฐกิจย่อมเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลา โดยที่ราคาสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ มีแนวโน้มสู งขึ้น จึงเป็ นผลทาให้คู่กรณี เลือกใช้สัญญาแบบนี้กล่าวคือ ใน ครั้งแรก จะตกลงทาสัญญาแบบราคาคงที่ไว้ก่อนตามระยะเวลาที่เห็นพ้องต้องกัน เช่น 6 เดือน หรื อ 1 ปี เป็ นต้น ต่อมาหลังจากเวลานั้น คู่กรณี พิจารณาปรับราคากันใหม่ทุกรายการรวมทั้งกาไรด้วย ตามสภาพเป็ นจริ งของราคาสิ นค้า และบริ การ ซึ่ งต่างจากข้อ 2 เพราะปรับให้เฉพาะค่าวัสดุอุปกรณ์และค่าแรงงานเท่านั้น แบบราคาคงทีเ่ ร่ งรัด (Fixed Price with Incentive) คือ สัญญาที่กาหนดราคาไว้คงที่แน่นอน ตามกาหนดเวลาที่ทา สัญญากันไว้ แต่คู่กรณี กาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้อีกว่า ถ้าสามารถทาการก่อสร้างได้เสร็ จก่อนกาหนดเวลาตามสัญญาแล้ว ผูว้ า่ จ้างต้องจ่ายเงินเพิ่มให้กบั ผูร้ ับเหมาก่อสร้างอีกตามอัตราส่ วนที่ตกลงกันไว้ แต่ถา้ ผูร้ ับเหมาทางานเสร็ จล่าช้าออกไป จากกาหนดเวลาเดิม ผูร้ ับเหมาก่อสร้างต้องจ่ายเงินชดใช้ให้กบั ผูว้ า่ จ้างอีกเช่นกันเสมือนหนึ่งเป็ นค่าปรับนัน่ เอง 1.สั ญญาแบบค่ าใช้ จ่ายรวมกับค่ าธรรมเนียมคงที่ (Cost Plus Fixed Fee) เป็ นสัญญาที่คู่กรณี กาหนดการจ่ายเงิน เฉพาะเนื้องานที่แท้จริ ง รวมกับจ่ายค่าธรรมเนียมหรื อค่าดาเนินงานให้ผรู ้ ับเหมาก่อสร้างจานวนหนึ่ง สาหรับ ค่าธรรมเนียมหรื อค่าดาเนินงานต่าง ๆ นี้จะต่อรองราคากันเพื่อให้เป็ นราคาคงที่ตายตัวเปลี่ยนแปลงอีกไม่ได้ สัญญา


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

4

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

ประเภทนี้ใช้ในงานก่อสร้างเฉพาะอย่าง ซึ่ งผูร้ ับเหมาและผูว้ า่ จ้างต่างก็ไม่เคยมีประสบการณ์หรอมีความสันทัดงานด้าน นั้น ๆ มาก่อน จึงเป็ นงานที่มีลกั ษณะพิเศษ ซึ่ งหาผูร้ ับเหมาก่อสร้างดาเนินงานได้ยากมาก 2.สั ญญาแบบค่ าใช้ จ่ายกับค่ าธรรมเนียมคงทีโ่ ดยการเฉลีย่ ผลกาไร (Cost Plus Fixed Fee With Profit Sharing) การจะใช้สัญญาแบบนี้น้ นั ทั้งผูว้ า่ จ้างและผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ต้องพิจารณากาหนดร่ วมกันในเบื้องต้นว่า ราคางานควรจะ เป็ นจานวนเงินเท่าใด และกาหนดเป็ นเป้ าหมายของราคาเอาไว้ ซึ่ งผูว้ า่ จ้างจะจ่ายเงินเฉพาะราคางานที่แท้จริ งรวมกับ ค่าธรรมเนียมจานวนหนึ่งให้กบั ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง แต่ถา้ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างสามารถทางานได้เสร็ จสิ้ นลง โดยใช้จ่ายเงิน ไปน้อยกว่าเป้ าหมายของราคาที่กาหนดไว้ ผูว้ า่ จ้างจะเฉลี่ยยอดเงินที่เหลือดังกล่าวนั้นให้กบั ผูร้ ับเหมาก่อสร้างดาเนินงาน ได้ในราคาที่ต่า เป็ นการกระตุน้ ให้ผรู ้ ับเหมาเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการดาเนินงาน ทาให้ประหยัดเงินของผูว้ า่ จ้างลงไปอีก ด้วย การเลือกใช้ แบบของสั ญญาก่อสร้ าง การเลือกใช้แบบของสัญญาเพื่อใช้งานก่อสร้างนั้น โดยทัว่ ไปเจ้าของงานจะได้รับคาแนะนาจากสถาปนิก วิศวกร หรื อนักกฎหมาย สาหรับการประกวดราคาก่อสร้างที่ใช้การเสนอราคาแบบรวมยอด หรื อใช้การเสนอราคาแบบ ราคาต่อหน่วย จะกระทาเมื่อแบบรู ปและรายการก่อสร้างเสร็ จสมบูรณ์แล้ว ซึ่ งเจ้าของงานจะพิจารณาจ้างจากผูท้ ี่เสนอ ราคาต่าสุ ด โดยผูร้ ับเหมาก่อสร้างต้องเต็มใจให้มีการตรวจสอบและมีการแนะนาการทางานตามความจาเป็ น ทั้งนี้ เพื่อให้งานก่อสร้างมีคุณภาพดีและเป็ นไปตามแบบรู ปและรายการก่อสร้างนัน่ เอง สัญญาแบบการเจรจาตกลงราคาอาจทาขึ้นก่อนที่แบบรู ปและรายการก่อสร้างจะเสร็ จสิ้ นสมบูรณ์หรื อยังไม่ ทราบรายละเอียดของงานทั้งหมดก็ได้ (แต่ส่วนมากจะไม่กระทากัน) การประมาณราคาจึงไม่สามารถกระทาได้ถูกต้อง แน่นอน เพราะอาจมีการเปลี่ยนแปลงบางสิ่ งบางอย่างอีก ฉะนั้นในกรณี น้ ีจึงมักจะทาสัญญา โดยใช้สัญญาแบบค่าใช้จ่าย รวมกับค่าธรรมเนียมคงที่ (Cost Plus Fixed Fee) อย่างไรก็ตาม การที่คู่กรณี จะพิจารณาเลือกใช้สัญญาก่อสร้างแบบใดนั้น ขึ้นอยูก่ บั การตกลงใจของผูว้ า่ จ้างและ ผูร้ ับเหมาก่อสร้างเป็ นสาคัญ ซึ่ งต้องพิจารณาถึงความเหมาะสม ความยุติธรรม และลักษณะของงานก่อสร้างประกอบ กันไปด้วย ดังได้กล่าวมาบ้างแล้วในตอนต้น การประกวดราคา การประกวดราคา การประกวดราคา ( การประมูลราคา ) หรื อเรี ยกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “ การประมูลงาน ” คือการแข่งขันกัน เสนอราคาเพื่อให้ได้งานมาทา เป็ นการคัดเลือกผูป้ ระกอบธุ รกิจที่มีคุณภาพในการเข้ามาดาเนินการปฏิบตั ิงานที่มี มาตรฐานในตลาดและวงข้าราชการ ซึ่ งหลักเกณฑ์ในภาคราชการและภาคเอกชนจะมีความแตกต่างกันออกไป โดยภาค ราชการอาจต้องมีขอ้ กาหนดมากกว่าภาคเอกชน ทั้งนี้เพราะเงินงบประมาณที่ใช้ในโครงการ ก่อสร้างและจัดซื้ อของ ทางราชการได้มาจากภาษีอากรของประชาชน การใช้เงินอย่างประหยัดรัดกุมให้ได้ประโยชน์มากที่สุดจึงเป็ นเกณฑ์ที่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

5

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

ราชการยึดถือ สาหรับภาคเอกชนมีกฎเกณฑ์นอ้ ยกว่าเพราะผูท้ ี่เป็ นเจ้าของมีสิทธ์และอานาจเต็มในการตัดสิ นใจว่าควร จะดาเนินนโยบายอย่างไรจึงจะเหมาะสมและได้ประโยชน์มากที่สุด เอกสารทีใ่ ช้ ในการประกาศ 1. ใบประกาศแจ้ งความ หรือใบเชิญ ให้บริ ษทั ก่อสร้างมาประกวดราคาตามที่นิยมกัน จะมีเอกสารประมาณ 1 –2 หน้า กระดาษ ภายใน จะมีการ บรรยายว่าโครงการก่อสร้างอะไร เพื่อที่จะให้บริ ษทั เข้าใจในขอบเขตของงาน และชนิดของสิ่ งที่จะ ก่อสร้าง ในงานภาคเอกชน สถาปนิกหรื อวิศวกรจะส่ งใบแจ้งความนี้ใส่ ซองไปให้บริ ษทั ก่อสร้างที่ได้เลือก ไว้แล้ว แต่ถา้ เป็ นส่ วนของงานทางราชการจะต้องประกาศอย่างกว้างขวางและเปิ ดเผยผ่านสื่ อต่าง ๆ สาหรับ ใบประกาศแจ้ง ความที่ใช้ในภาคราชการนั้น จะประกอบไปด้วยสิ่ งสาคัญ ดังนี้ - แสดงรายละเอียดของงานที่จะก่อสร้างว่ามีขอบเขตแค่ไหน งานอะไร ฯลฯ - ระบุสถานที่ก่อสร้างว่าตั้งอยูท่ ี่ใด ซอย ถนน ตาบล อาเภอ จังหวัด ขนาดของพื้นที่ติดกับสิ่ งสาคัญ ข้างเคียงอะไรบ้าง - ระบุ วัน เดือน ปี ที่จะเปิ ดซองประกวดราคา รวมทั้งวัน เดือน ปี ที่จะลงมือเซ็นต์สัญญา หรื อลงมือ ก่อสร้าง - ระบุวา่ ต้องการให้ก่อสร้างเสร็ จภายในกี่วนั ระบุวา่ ใครเป็ นเจ้าของ ซึ่งจะต้องมีคุณสมบัติที่เจ้าของนิยม ระบุ คือ  ต้องมีผลงานใกล้เคียงกับงานที่กาลังส่ งประกวดราคา โดยระบุประเภทของงาน วงเงินก่อสร้าง และ จะต้องเป็ นงานที่ไม่เกิน 3 – 5 ปี มาแล้ว  ต้องมีประวัติในการงานดีโดยมีหนังสื อรับรองจากผูว้ า่ จ้างรายก่อนที่เชื่อถือได้  ต้องเป็ นบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่จดทะเบียน 2. เอกสารแนะนา ในการประกวดราคาแต่ละครั้งในส่ วนราชการมักจะพิมพ์รวมกันกับใบประกาศแจ้งความ หรื อ ใบเชิญ ซึ่งจะใช้เป็ นเอกสารสาคัญในการปฏิบตั ิ ในเอกสารแนะนานี้ จะประกอบไปด้วย - สถานที่ขายแบบรู ปและรายการ ระบุชื่อหน่วยงานที่จะติดต่อและชั้นที่เท่าใด - วัน เดือน ปี และเวลาที่เปิ ดขาย - ราคาขายชุดละเท่าไร มีอะไรบ้าง - คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิ์ ซ้ื อ - เอกสารหลักฐานที่จะต้องนามาในวันซื้ อหลักฐาน - ค่าประกัน - วันดูสถานที่หรื อชี้สถานที่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

6

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

- การกรอกใบเสนอราคา - การยืน่ ซองและการเปิ ดซองประกวดราคา ระบุวนั ที่ สถานที่ และเวลา - การเซ็นต์สัญญา การลงนามในสัญญาต้องเตรี ยมการอย่างไรบ้าง เมื่อใด และมีเอกสารใดบ้าง 3. ใบเสนอราคา เป็ นเอกสารที่สาคัญ ผูร้ ับเหมาจึงจาเป็ นต้องเตรี ยมให้รัดกุมและถูกต้อง ใบเสนอราคาจะต้องประกอบด้วย - ชื่อที่อยูข่ องผูร้ ับเหมา ทะเบียนการค้าตัวเลขที่เท่าไร ขอเสนอราคาของงานอะไร ใครเป็ นเจ้าของ - ระบุเอกสารค้ าประกันซองของบริ ษทั ผูร้ ับเหมาที่ทางธนาคารออกให้ โดยกรอกชื่อธนาคาร วงเงิน เวลาค้ าประกัน เลขที่หนังสื อค้ าประกัน - กรอกวงเงินเป็ นตัวเลขโดยไม่มีรอยขีดฆ่า หรื อขูดลบ พร้อมทั้งตัวอักษรกากับจานวนตัวเลข ซึ่ งอยูใ่ น วงเล็บ - ข้อแม้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวงเงินควรเตรี ยมเขียนรายการต่าง ๆ ให้ชดั เจน - บัญชีแสดงจานวนและราคาวัสดุ โดยกรอกลงในแบบฟอร์ มที่ผรู ้ ับเหมามาซื้ อแบบเพื่อไปเสนอราคา ใน บัญชีน้ ีจะต้องกรอกจานวนและราคาลงไปด้วย - การยืน่ ราคาจะประกาศแจ้งตามกาหนดจานวนเงินในการยืน่ เวลาเอาไว้เสมอ - การลงนาม ที่มีอานาจเต็มต้องประทับตราบริ ษทั ให้เรี ยบร้อย 4. หนังสื อคา้ ประกัน ( หลักประกันซอง ) ผูเ้ สนอราคาต้องวางหลักประกันซองพร้อมกับยืน่ ซองประกวดราคาโดยใช้หมึกประทับอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ - เงินสด - เช็คที่ธนาคารรับรอง หรื อ ธนาคารสั่งจ่าย โดยเป็ นเช็คลงวันที่ที่ยนื่ ซองประกวดราคา หรื อ ก่อนหน้า นั้นไม่เกิน 3 วันทาการ - หนังสื อค้ าประกันของธนาคารในประเทศตามแบบที่กาหนดท้ายระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 - พันธบัตรรัฐบาลไทย หนังสื อค้ าประกันของบริ ษทั เงินทุนที่ได้รับอนุญาตใบประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิ ชย์และประกอบ ธุ รกิจค้ าประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยหลักค้ าประกันซองตามปกติมิได้มีตวั เลขตายตัวที่กาหนดไว้ แต่จะเป็ นวงเงินค่อนข้างสู งพอสมควร เพื่อป้ องกันผูร้ ับเหมาที่การเงินไม่ค่อยมัน่ คงเข้ามา จะอยูร่ ะหว่างร้อยละ 5 – 10 % ของราคางาน หลักประกันซองนี้จะมีกาหนดคืนให้ผเู ้ สนอราคาหรื อผูค้ ้ าประกันภายใน 15 วัน หลังจากวันที่ได้ พิจารณาเรี ยบร้อยแล้ว แต่สาหรับผูเ้ สนอราคารายที่คดั เลือกไว้จะคืนให้ต่อเมื่อได้ทาสัญญาหรื อข้อตกลงเมื่อลงนาม ในสัญญากันแล้ว การคืนหลักค้ าประกันซองจะคืนโดยไม่มีดอกเบี้ย


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

7

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

5. หนังสื อคา้ ประกันการจ่ ายเงินล่วงหน้ า ( การจ่ ายเงินลาวงหน้ า ) ตามปกติในวงราชการจะไม่มีการจ่ายเงินล่วงหน้าให้แก่ผรู ้ ับเหมา แต่ในต่างประเทศหรื อในวงการเอกชน ภายในประเทศ เจ้าของบางรายพร้อมที่จะจ่ายเงินล่วงหน้าให้แก่ผรู ้ ับเหมาจานวนหนึ่ง เพื่อเป็ นเงินสดสารอง การจ่ายเงินล่วงหน้า ผูเ้ สนอราคามีสิทธิ เสนอขอรับเงินล่วงหน้าในอัตราร้อยละ 15 ของราคาจ้างทั้งหมดของ สิ่ งก่อสร้าง แต่ท้ งั นี้ทางผูร้ ับเหมาจะต้องส่ งมอบหลักประกันเงินล่วงหน้าเป็ นพันธบัตรรัฐบาลไทยหรื อหนังสื อค้ า ประกันของธนาคารภายในประเทศ และผูว้ า่ จ้างจะคืนหลักประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผรู ้ ับจ้าง 6. เงื่อนไขทัว่ ไปของสั ญญาจ้ าง เงื่อนไขทัว่ ไปตามสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างถือเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญาจ้างเหมางานก่อสร้างโดย ทัว่ ไปจะ มีรายละเอียดครอบคลุมเนื้อหา ดังนี้ 6.1 คาจากัดความและการตีความ 6.2 ภาษาและกฎหมายที่ใช้บงั คับ 6.3 หลักประกันสัญญาและหลักประกันผลงาน 6.4 การมอบหมายงานที่กาหนดและการใช้รับช่วงงาน 6.5 แบบ 6.6 ข้อบังคับทัว่ ไป 6.7 วัสดุและแรงงานฝี มือ 6.8 เครื่ องจักร เครื่ องมือและโรงงานของผูร้ ับจ้างการหยุดงานหรื อการบอกเลิกสัญญา 6.9 เวลาเริ่ มงาน การปฏิบตั ิงานและกาหนดเวลาแล้วเสร็ จ 6.10 การปรับในกรณี ที่ทางานล่าช้ากว่ากาหนด 6.11 การปรับราคาในสัญญา 6.12 ข้อผูกพันพิเศษและการดูแลรักษางาน 6.13 การตรวจรับงานขั้นสุ ดท้าย 6.14 การแก้ไขงาน 6.15 การจัดผลงาน 6.16 การชาระเงิน 6.17 การป้ องกันและรายงานเกี่ยวกับอุบตั ิเหตุ 6.18 การควบคุมการทางาน 6.19 ระยะเวลาบารุ งรักษาและการออกใบรับรอง 6.20 การเบิกเงินเพื่อป้ องกันหลักประกันซอง 6.21 การต่ออายุสัญญา เพราะเหตุสุดวิสัยที่คู่สัญญาจะต้องมี


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

8

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

6.22 การเสี่ ยงภัยและเหตุสุดวิสัย 6.23 การตรวจสอบงาน 6.24 ภาระหน้าที่และอานาจของตัวแทนคณะกรรมการผูว้ า่ จ้าง 6.25 ภาษีศุลกากรและภาษีอากร 6.26 ความปลอดภัยของเจ้าหนี้และบุคคล 6.27 การป้ องกันอุบตั ิเหตุและความรับผิดชอบภายนอก 7. หนังสื อคา้ ประกันผลงาน ( การหักเงินประกันผลงาน ) หรื อเรี ยกว่าหลักประกันสัญญา อาจจะเป็ นเงินสด เช็คธนาคาร พันธบัตรก็ได้ ส่ วนมากนิยมหักเงินจานวน ร้อยละ 10 ของราคาสิ่ งก่อสร้าง และผูร้ ับเหมาก่อสร้างมีสิทธิ์ ที่จะขอเงินประกันคืนเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี หลังจากที่ คณะกรรมการตรวจการจ้างงวดสุ ดท้ายและหากมีสิ่งบกพร่ องหรื อชารุ ดเสี ยหายเกิดขึ้นภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วนั ส่ งมอบ งานจะต้องทาการซ่อมแซมภายใน 7 วัน เอกสารที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็ นเอกสารที่ใช้ในการประกาศเพื่อประกวดราคาและเป็ นเอกสารที่สาคัญอย่าง ยิง่ และเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อตกลงต่าง ๆ ที่จะใช้บงั คับเพื่อให้การ ก่อสร้างนั้นเป็ นไป ตามวัตถุประสงค์ของสถาปนิก วิศวกร และผูท้ ี่เป็ นเจ้าของ เอกสารทีใ่ ช้ ในการยืน่ ซองประกวดราคา 1. หนังสื อรับรอง ของสานักงานทะเบียนหุ น้ ส่ วนบริ ษทั ออกโดยกรมทะเบียนการค้ากระทรวงพาณิ ชย์ ออกให้โดยจังหวัดที่ ขอจดทะเบียน ใจความว่า - ขอรับรองว่าห้างหุ น้ ส่ วนได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์เป็ นนิติบุคคล มี ทะเบียนเลขที่ - มีรายชื่อผูเ้ ป็ นหุ น้ ส่ วน พร้อมระบุวงเงินที่ได้เข้าหุ น้ ของแต่ละคน - ระบุชื่อ ผูจ้ ดั การหุ น้ ส่ วนและข้อจากัดของอานาจหุ น้ ส่ วนผูจ้ ดั การ - ระบุสถานที่ต้ งั ของสานักงานใหญ่ - ระบุวตั ถุประสงค์ของการรับเหมา 2. ใบสาคัญแสดงการจดทะเบียนห้ างหุ้นส่ วนจากัด หรือบริษัทจากัด 3. มีลกั ษณะเป็ นกระดาษขนาดที่เหมาะสมติดกรอบไว้แสดงใจความสั้น ๆ ออกโดยกองทะเบียน หุ น้ ส่ วน บริ ษทั กลาง กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ และลงนามโดยนายทะเบียนหนังสื อบริคณห์ สนธิ ใช้เฉพาะบริ ษทั เพื่อแสดงวัตถุประสงค์ของบริ ษทั ไม่สามารถพิมพ์ลงในกระดาษแผ่นเดียวได้ จึงได้พิมพ์ เป็ นเอกสารแนบท้าย หรื อจัดทาเป็ นรู ปเล่มขนาดเล็กสามารถพกติดตัวง่าย โดยมีรายละเอียดดังนี้ - ชื่อบริ ษทั ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ที่ต้ งั สานักงานใหญ่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

-

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

9

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

วัตถุประสงค์ รายชื่อผูถ้ ือหุน้ ที่อยู่ วงเงินพร้อมทั้งลายมือชื่อ มีคารับรองของพยาน และลงรายมือชื่อ ข้อบังคับของบริ ษทั จะกล่าวถึง การโอนหุน้ การประชุมผูถ้ ือหุน้ คณะกรรมการ บริ ษทั การ จัดการและการพนักงานบริ ษทั งบดุลและการจัดสรรกาไร 4. ใบทะเบียนการค้ า ออกโดยกรมสรรพากรมีชื่อผูป้ ระกอบการค้า ทะเบียนเลขที่ สถานที่ต้ งั และวันออกทะเบียน 5. ใบทะเบียนพาณิชย์ ออกโดยสานักงานทะเบียนพาณิ ชย์ อาเภอ จังหวัด ระบุชื่อ สถานที่ต้ งั ชนิดแห่งพาณิ ชย์กิจ 6. หนังสื อรับรองผลงาน คือ ประกาศนียบัตรในอดีตของผูร้ ับเหมาและควรเสนอเจ้าของงาน เพื่อให้ออกหนังสื อรับรอง หนังสื อนี้จะ ประกอบไปด้วย - เลขที่หนังสื อ และชื่อเจ้าของ - บทนา ใจความว่า บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ได้เป็ นผูร้ ับจ้างทาการก่อสร้างงานตามสัญญา เลขที่ วงเงินเท่าไร - งานก่อสร้างต่าง ๆ ที่ได้กระทา เช่น งานถนน งานอาคาร งานประปา งานไฟฟ้ า ขนาดของวงเงินในแต่ ละงาน - บทท้าย ใจความว่า บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนั้นได้ทาการก่อสร้างแล้วเสร็ จตามรู ปและรายการครบถ้วน ตามสัญญาทุกประการ จึงได้ออกหนังสื อรับรองนี้ไว้เป็ นหลักฐาน หนังสื อรับรองนี้จะต้องออกให้ตรงกับแจ้งตามประกวดราคา ประเภทของงานก่อสร้างและวงเงิน ก่อสร้าง 7. หนังสื อสั ญญาคู่ฉบับ คือการจ่ายสาเนาสัญญาการก่อสร้างข้อที่สาคัญที่สุด 8. หนังสื อรับรองของสถาปนิก ในปั จจุบนั นี้บรรดาบริ ษทั ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด จาเป็ นต้องมีสถาปนิกเข้าทางาน เพื่อความแน่ใจ จึง จาเป็ นต้องมีหนังสื อรับรองการเป็ นสถาปนิก ดังรายละเอียดดังนี้ - แผ่นแรก แบบหนังสื อรับรองว่า ข้าพเจ้าเป็ นใคร อายุเท่าไร ทางานบริ ษทั นี้เมื่อไหร่ คุณวุฒิทางการ ศึกษา ก.ส.ทะเบียนเลขที่เท่าไหร่ และสุ ดท้ายคือลายมือชื่อของสถาปนิก - แผ่นที่สอง สาเนารู ปถ่ายบัตรของสถาปนิก เลขที่ที่ได้รับอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ควบคุม ประเภทสามัญสถาปนิก สาขาสถาปัตยกรรมหลัก ตั้งแต่เมื่อไรถึงเมื่อไร ตามใบอนุญาตเลข


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

10

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

ทะเบียนที่….. และลายเซ็นต์ของนายทะเบียนอีกด้านหนึ่งของบัตรเงิน ภาพถ่ายและลายเซ็นต์เจ้าของ บัตร - แผ่นที่สาม สาเนารู ปถ่ายของใบประกาศขนาดใหญ่ ของคณะกรรมการควบคุมการประกอบ วิชาชีพ สถาปัตยกรรม คล้ายปริ ญญาบัตร - แผ่นที่สี่ สาเนารู ปถ่ายของปริ ญญาบัตร 9. หนังสื อรับรองของวิศวกร เอกสารหลักฐานอย่างเดียวกับหนังสื อรับรองของสถาปนิก 10. หลักฐานการยืน่ จดทะเบียน เป็ นสมาชิ กไว้ กบั คณะกรรมการควบคุมการก่ อสร้ าง ( ก.กส. ) เป็ นสถาบันของผูร้ ับงานก่อสร้างเพื่อจดทะเบียนเป็ นผูร้ ับงานก่อสร้างควบคุมสาขาการก่อสร้าง โครงสร้าง ทัว่ ไป ใบที่นามาแสดง คือ ใบเสร็ จรับเงินการเป็ นสมาชิก ซึ่ งได้ตราไว้เป็ นพระราชบัญญัติการประกอบอาชีพก่อสร้าง แล้ว มีผลบังคับใช้ ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2527 คณะกรรมการรับซองประกวดราคาจะออกใบรับหลักประกันซองไว้เป็ นหลักฐาน และจะต้องนามาแสดง เมื่อจะขอรับหลักประกันซองคืน เจ้าของอาคารจะยึดหลักประกันซองของผูเ้ สนอราคาไว้จนกว่าการทาสัญญาจ้างเหมา ก่อสร้างเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว สาหรับผูท้ ี่ไม่ได้รับการพิจารณา ให้นาหลักฐานไปขอรับหลักประกันซองคืนเมื่อเจ้าของ อาคารได้ประกาศผลการประกวดราคาแล้ว เอกสารทีใ่ ช้ เป็ นส่ วนหนึ่งในการประกวดราคาจ้ าง ( ภาคราชการ ) ของทางราชการที่มีส่วนสาคัญ เช่น หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขประกอบ ประกาศประกวดราคาและ ตาราง แสดงปริ มาณและราคา ซึ่งจะใช้ในการประกวดราคาของกรมโยธาธิการ เอกสารครบชุดจะต้องประกอบด้วย 1. เอกสารประกวดราคา หมายเลข 1 ประกอบด้วย - เอกสารประกวดราคาจ้าง - แบบฟอร์ม - สู ตรการปรับราคา - บัญชีแสดงปริ มาณงานและราคา - เงื่อนไขเพิ่มเติมตามสัญญา - ประกาศกรมโยธาธิการ 2. เอกสารประกวดราคา หมายเลข 2 ประกอบด้วย - ลักษณะงาน - ข้อกาหนดเฉพาะงาน - มาตรฐานงานก่อสร้างทัว่ ไป


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

11

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

3. มาตรฐานงานก่อสร้างของกรมโยธาธิ การเอกสารประกวดราคา หมายเลข 3 ประกอบด้วย - แบบก่อสร้าง 4. เอกสารอืน่ ๆ ( ถ้ามี ) เอกสารทีเ่ ป็ นส่ วนหนึ่งของการประกวดราคาจ้ าง ( ภาคเอกชน ) ถือว่าเป็ นส่ วนประกอบของการประกวดราคาและที่จะเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญาสาหรับงานภาค เอกชน ที่ ใช้ปฏิบตั ิกนั ในการประกวดราคาอยูเ่ สมอ ดังต่อไปนี้ 1. ใบแจ้ งความประกวดราคา เป็ นเอกสารสาคัญที่มีจุดหมายให้ผทู ้ ี่มีสิทธิ เข้าประกวดราคาเข้าร่ วมยืน่ ซองประกวดราคาการจ้างเหมาเพื่อ ทาการก่อสร้าง เนื้อหาสาระที่สาคัญบรรจุไว้ในใบแจ้งความประกวดราคานั้น ให้ทราบถึงข้อมูลและวิธีปฏิบตั ิในการคิด ราคาและการเสนอราคา รวมทั้งข้อมูลในด้านเอกสารต่าง ๆ ที่มีในการประกวดราคานั้น สิ่ งที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ เงื่อนไขพิเศษที่เจ้าของต้องการและจานวนเงินค้ าประกันซอง รวมทั้งกาหนดเวลาต่าง ๆ อันเกี่ยวเนื่องกับการประกวด ราคานั้น ๆ และสิ ทธิที่เจ้าของสงวนไว้ในการทาสัญญา 2. ใบเสนอราคา แบบฟอร์ มนี้มีเนื้อหาสาระที่สาคัญ คือ รวมราคาค่าก่อสร้างทั้งสิ้ นที่ผเู ้ ข้าประกวดราคาเสนอ ต้องรวมทุกสิ่ ง ทุกอย่างอย่างละเอียดที่ระบุในใบแจ้งความประกวดราคาตลอดจนความรู ้ความเข้าใจอย่างชัดเจนต่อเอกสารต่าง ๆ ส่ วน ราคาที่ลงในใบเสนอราคานี้จะต้องถูกต้องตรงกันระหว่างตัวเลขและตัวอักษร รวมทั้งการ ปิ ดอากรด้วย 3. สั ญญาจ้ างเหมา เนื้อหาสาระของสัญญาที่ทาขึ้นสาหรับกาหนดเป็ นข้อตกลง สิ่ งที่ระบุไว้ในตัวสัญญาก็เพียงการเน้นให้ผู ้ รับจ้างทราบถึงรายละเอียดต่าง ๆ และเนื้อหาสาระในสัญญาในเอกสารสัญญาจะต้องถูกต้องตรงกันกับเอกสารประกวด ราคาที่ผรู ้ ับจ้างได้รับเป็ นลายมือชื่อก่อนวันยืน่ ข้อเสนอราคา 4. หนังสื อคา้ ประกัน หนังสื อค้ าประกันถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา 4.1 หนังสื อค้ าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญา เป็ นหนังสื อที่ออกโดยธนาคารที่เจ้าของเชื่อถือ ธนาคารจะ ผูกพันตนทั้งในฐานะเป็ นผูค้ ้ าประกันผูร้ ับจ้างและในฐานะเป็ นลูกหนี้ร่วมรับผิดชอบกับผูร้ ับจ้างต่อ ผูว้ า่ จ้าง 4.2 หนังสื อค้ าประกันการจ้างค่าวัสดุและสิ่ งของที่จาเป็ นจะต้องเตรี ยมไว้ล่วงหน้า ซึ่ งนิยมใช้หนังสื อค้ า ประกันของธนาคารเพื่อให้ธนาคารรับผิดชอบจ่ายเงินแก่ผวู ้ า่ จ้าง การจ่ายเงินล่วงหน้าเช่นนี้เป็ นผลดีต่อผูร้ ับจ้างที่จะ จัดซื้ อวัสดุและสั่งของที่จาเป็ นไว้ก่อนเพื่อหลีกเลี่ยงการขึ้นราคาหรื อขาดแคลน 4.3 หนังสื อค้ าประกันการจ่ายเงินล่วงหน้า จุดมุ่งหมายในการที่ผวู ้ า่ จ้างกาหนดการจ่ายเงินล่วงหน้าที่เพิ่งจะ ให้ได้ราคาก่อสร้างมีความพอดีโดยที่ผรู ้ ับจ้างจะมีเงินทุนสาหรับดาเนินการก่อสร้างไปได้ตลอด ในการจ่ายเงินล่วงหน้า


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

12

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

ให้กบั ผูร้ ับจ้างตามที่กาหนดไว้น้ นั ผูว้ า่ จ้างจาเป็ นต้องมีหลักประกัน ในกรณี ที่ผรู ้ ับจ้างไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไข ซึ่งผูท้ ี่ จะต้องรับผิดชอบแทน ก็คือ ธนาคารพาณิ ชย์ จึงออกหนังสื อค้ าประกันให้ผวู ้ า่ จ้างดังกล่าว 4.4 หนังสื อค้ าประกันการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดการประกวดราคา เป็ นหนังสื อที่ออกโดยธนาคาร ที่ เจ้าของเชื่อถือ การประกันลักษณะนี้เป็ นการประกันความเสี ยหายที่จะเกิดขึ้นแก่เจ้าของ การค้ าประกันนี้เป็ นการยินยอม ที่จะชดเชยค่าเสี ยหายทั้งหมดกับเวลาและเงินที่เกิดขึ้นกับเจ้าของงาน หนังสื อค้ าประกันการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดการประกวดราคานี้ ไม่ถือเป็ นเอกสารอันเป็ นส่ วนหนึ่งของ สัญญา แต่เป็ นเอกสารการประกวดราคา 5. เงื่อนไขทัว่ ไปแห่ งสั ญญาจ้ าง เนื้อหาสาระในเงื่อนไขทัว่ ไปตามสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างถือเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญาจ้างเหมางานก่อสร้าง โดยทัว่ ไปจะมีรายละเอียดครอบคลุมเนื้อหาในเรื่ องใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ 5.1 คาจากัดความและการแปรความหมายต่าง ๆ 5.2 การระบุถึงเอกสารอันเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญาจ้างต่าง ๆ 5.3 การมอบหมายงานให้ทาและการเหมาช่วงงาน 5.4 สถาปนิก หรื อ วิศวกรที่ปรึ กษาของเจ้าของและอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบทัว่ ไปที่คู่สัญญาจะต้องมี 5.5 วัสดุอุปกรณ์และแรงงานฝี มือที่ใช้ 5.6 การบอกเลิกสัญญาหรื อการสั่งให้หยุดงาน 5.7 วันเริ่ มงาน การล่าช้าและการขยายเวลาเสร็ จงาน 5.8 การชารุ ดเสี ยหาย การบารุ งรักษา การซ่อมและบริ การ 5.9 การคานวณปริ มาณงานและการจ่ายเงิน การเปลี่ยนแปลงงาน การเพิ่มและการลดงาน 5.10 เครื่ องจักร เครื่ องทุ่นแรง งานโครงสร้างชัว่ คราวและวัสดุก่อสร้าง 5.11 ภาษีศุลกากรและภาษีอากร 5.12 การเสี่ ยงภัย 5.13 เบ็ดเตล็ด 5.14 การออมชอมและการขจัดปัญหาโต้แย้ง 5.15 การปรับราคาในสัญญา เงื่อนไขทัว่ ไปนี้ถือได้วา่ เป็ นแม่บทที่จะให้ความกระจ่างถึงเงื่อนไข ภาระรับผิดชอบ และสิ่ งที่ คู่สัญญา จะต้องยึดถือสาหรับการปฏิบตั ิงาน จึงจาเป็ นที่จะต้องศึกษาและทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ทุกวรรค ทุกตอน 6. รายการด้ านเทคนิคประกอบแบบรู ป


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

13

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

เป็ นการบรรยายถึงมาตรฐานและวิธีการตลอดจนคุณภาพของวัสดุและแรงงานตามหลักวิชาและ หลัก ปฏิบตั ิที่ยดึ ถือกันมาเป็ นการเสริ มแบบรู ปให้ชดั เจนยิง่ ขึ้น รายการจึงเป็ นเอกสารสาคัญที่ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา ด้วย แบบรู ป เป็ นแบบที่แสดงสัดส่ วน รู ปร่ าง ขนาด การจัดวาง วิธี และเทคนิคของการก่อสร้าง จึงเป็ นเอกสารที่เป็ น แม่บทและสาคัญยิง่ ใบแสดงปริมาณงานและราคาโดยประมาณ เป็ นบัญชีที่แสดง ปริ มาณงาน ที่สารวจและวัดได้จากแบบรู ปและรายการราคาต่อหน่วย และราคารวมของ โครงการ ซึ่งกระทาโดยผูส้ ารวจปริ มาณ การสารวจปริ มาณและการกาหนดราคาต่อหน่วย เจ้าของงานจะใช้ปริ มาณและ ราคาที่ระบุในใบแสดงปริ มาณ เพื่อการใดการหนึ่งได้ ดังนี้ 1. เพื่อเป็ นราคากลางสาหรับพิจารณาราคาโครงการ 2. เพื่อการตัดลดงานจ้าง 3. เพื่อการเพิ่มหรื อเปลี่ยนแปลงงานจ้าง 4. เพื่อการจ่ายเงินงวดในกรณี ที่ใช้สัญญาแบบราคาต่อหน่วย และจ่ายเงินเป็ นรายเดือน 5. ราคาต่อหน่วยที่ระบุไว้ในในใบงาน จะถือเป็ นราคาของสัญญา 6. เพื่อกาหนดงานประจางวดในกรณี ที่สัญญาการจ่ายเงินนั้น เป็ นการจ่ายเป็ นงวด ๆ ใบแสดงปริ มาณงาน จึงเป็ นเอกสารสาคัญอย่างหนึ่งที่ถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา แผนงาน แผนงานที่เจ้าของต้องการให้ผรู้ ับจ้างจัดทามีหลายรู ปแบบ ที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปในขณะนี้คือแผนงานระบบ CPM ผูว้ า่ จ้างมีความประสงค์ให้ผรู ้ ับจ้างทาแผนงานประกอบไว้กบั สัญญาเพื่อให้เป็ นแกนในการตรวจสอบ ความก้าวหน้าของงานและประสิ ทธิ ภาพของการปฏิบตั ิงานของผูร้ ับจ้าง เพราะแผนงานจะชี้บ่งถึง ขั้นตอนระยะเวลา ปั ญหาและอุปสรรคของการทางานเมื่อเทียบกับผลการก้าวหน้าของงาน นอกจากนี้ยงั เป็ นหลักฐานที่จะใช้พิสูจน์และใช้ อ้างอิงในการเรี ยกร้องเกี่ยวกับเวลาที่เสี ยไปอันเนื่องมาจากเหตุที่เกิดขึ้นจากฝ่ ายผูว้ า่ จ้างด้วย เอกสารทีเ่ ปลีย่ นแปลงเพิม่ เติมหรือแก้ไขความในเอกสารเดิม เป็ นเอกสารที่ออกโดยลายลักษณ์อกั ษรจากฝ่ ายเจ้าของงานก่อนวันยืน่ ซองประกวดราคาเมื่อมีเหตุที่จะต้องทาการแก้ไข เปลี่ยนแปลงเพิม่ เติม เอกสารนี้จะต้องส่ งให้กบั ผูเ้ สนอราคาในเวลาที่สมควรก่อนวันยืน่ ซองประกวดราคาเนื่องจาก เอกสารนี้ออกด้วยวัตถุประสงค์ดงั กล่าวและออกหลังสุ ดจะถือว่า ความใดในเอกสารอื่นที่แย้งกับเอกสารนี้ตอ้ งตกไป ไม่ใช้บงั คับต่อการจ้างนี้เอกสารแจ้ งให้ ทาสั ญญา


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

14

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

เป็ นเอกสารแจ้งให้ผเู้ สนอราคาทราบถึงการที่เจ้าของตกลงให้เป็ นผูร้ ับจ้างเหมางานและให้เตรี ยมพร้อม สาหรับการลงนามในสัญญา ซึ่ งผูเ้ สนอราคาจะต้องดาเนินการในเรื่ องหนังสื อค้ าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาจนได้มา แล้วจึงจะลงนามกับผูว้ า่ จ้าง เอกสารแจ้ งให้ เริ่มทางาน เป็ นเอกสารแจ้งแก่ผรู ้ ับจ้างถึงวันเวลาที่ถือเป็ นการเริ่ มต้นของสัญญา ( เริ่ มทางานได้ ) โดยปรกติระยะเวลา ของสัญญาจะนับตั้งแต่วนั ที่ระบุไว้ในเอกสารฉบับนั้น ๆ เป็ นต้นไป หนังสื อคา้ ประกันการจ่ ายเงินทีย่ ดึ ไว้ ในงานจ้างเหมาบางรายมีเงื่อนไขการยึดเงินค่างานที่จ่ายแต่ละงวดไว้บางส่ วน ( โดยมากคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ เช่น 5 % หรื อ 10 % เป็ นต้น ) เพื่อชดเชยความคลาดเคลื่อนในการกาหนดวงเงินจ่ายค่างานแต่ละงวดต่อเจ้าของ หรื อเพื่อ เป็ นการประกันการปฏิบตั ิงานตามสัญญาที่อาจมีผลให้เจ้าของงานต้องร่ วมรับผิดชอบชดใช้หนี้สินแทนผูร้ ับจ้างหรื อ เพื่อเป็ นการประกันความรับผิดชอบที่ผรู ้ ับจ้างจะต้องไปทาการแก้ไขซ่อมแซมสิ่ งชารุ ดเสี ยหายภายหลังจากที่ คณะกรรมการตรวจการจ้างหรื อเจ้าของได้รับมอบงานแล้ว ในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในสัญญา เงินที่ยดึ ไว้น้ ีผรู ้ ับจ้างจะขอคืนเพื่อเป็ นเงินทุนหมุนเวียน ( ในกรณี ที่มีหนังสื อค้ าประกันการปฏิบตั ิตาม สัญญา ) ได้เมื่อทางานไปได้ระยะเวลาหนึ่ง เช่นงานเสร็ จไปด้วยดีเกินกว่า 75 % แล้วการจ่ายเงินที่ยดึ ไว้น้ ีคืนให้ผรู ้ ับจ้าง ผูว้ า่ จ้างจะต้องมีหลักประกันเป็ นการทดแทน และหลักประกันที่ดีที่สุด ก็คือ หนังสื อค้ าประกัน การจ่ายเงินที่ยดึ ไว้ การจ่ ายเงินค่ างานระหว่างการก่อสร้ าง ( งวดงาน ) เพื่อบรรเทาภาระในการหาทุนหมุนเวียนที่จะนามาใช้ในการดาเนินการก่อสร้างของผูร้ ับจ้าง และเพื่อให้เป็ นไป ตามรู ปแบบที่เป็ นธรรมในการจ้างงาน จึงได้มีเงื่อนไขการจ่ายเงินค่างานที่เสร็ จตามขั้นตอนและในระยะเวลาต่าง ๆ ที่ ผูร้ ับจ้างทางานได้ไว้ในสัญญา ที่เรี ยกกันในวงการว่า งวดงานงวดงานนีม้ ีวธิ ีการจัดและจ่ ายดังต่ อไปนี้ 1. วิธีการจ่ ายค่ างานทีเ่ สร็จครบตามทีร่ ะบุไว้ ในสั ญญาในระยะเวลาทีก่ าหนด การจ่ายลักษณะเช่นนี้จะต้องกาหนดเนื้องานที่จะต้องทาให้เสร็ จตามลาดับขั้นตอนของการปฏิบตั ิงานและ คานวณค่างานนั้นเป็ นฐานสาหรับกาหนดวงเงินที่จะจ่ายไว้ให้แน่นอนในสัญญา เงินที่ระบุจ่ายมักจะน้อยกว่าที่คานวณ ได้ 10 – 20 เปอร์เซ็นต์ สิ่ งสาคัญที่จะต้องระมัดระวังในการแบ่งงวดงาน คือ 1.1 งานที่ระบุจะต้องเป็ นงานที่รวมอยูใ่ นสัญญานั้น 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างงานที่ระบุให้ทา จะต้องจัดให้เป็ นไปตามลาดับขั้นการปฏิบตั ิโดยไม่ลดั ขั้นตอน 1.3 เนื้องานที่ระบุไม่ควรให้มากเกินไปเพราะจะใช้เวลาสร้างนาน สัดส่ วนที่เหมาะสม คือ การจัด เนื้องานให้สามารถทาได้ภายใน 1 เดือน 1.4 วงเงินที่จ่ายแต่ละงวดนั้น ต้องไม่มากกว่าค่างานเต็มจานวน 1.5 กาหนดงานให้มีลกั ษณะไล่ตามกัน โดยตรวจสอบจากแผนงาน ( ถ้ามี )


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

15

ชื่อหน่ วย : ประเภทสัญญาจ้างเหมา ชื่อสถานศึกษา:

1.6 งวดสุ ดท้ายไม่ควรระบุชื่องาน เพราะหากผิดพลาดขึ้นแล้วจะแก้ไขยาก ( โดยเฉพาะงานของ ราชการ ) การแบ่งงวดงานที่ดี ควรต้องกาหนดจากแผนงานที่ทาในระบบต่าง ๆ โดยเฉพาะระบบ CPM การที่ใช้แผน นี้เป็ นแกนได้ก็เพราะ แผนนี้ได้จดั ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานในโครงข่ายไว้อย่างดี ซึ่งเป็ นประโยชน์มากสาหรับ การพิจารณาแบ่งงวดงาน 2. วิธีจ่ายค่ างานทีผ่ ้ รู ับจ้ างทาเสร็จในรอบหนึ่งเดือน งวดการจ่ายเงินลักษณะนี้ใช้ได้กบั ประเภทของสัญญาทั้งแบบเหมารวม (Lump Sum Contract) และสัญญา แบบราคาต่อหน่วย ( Unit Price Contract ) แต่จะต้องมีส่วนประกอบและวิธีการแตกต่างกันบ้างดังนี้ คือ สัญญาแบบเหมารวม ซึ่ งถือยอดเงินยอดเดียวจากใบเสนอราคาเป็ นยอดเงินค่าจ้างงานตามสัญญา ส่ วนประกอบเพื่อความสะดวกของการเบิกจ่ายที่ควรมี คือบัญชีแสดงค่างานในกลุ่มต่าง ๆ และค่างานรวมทั้งหมดตามที่ แสดงไว้ในใบแสดงปริ มาณงาน เมื่องานที่ทาได้ในรอบเดือนหนึ่งเสร็ จไปเป็ นปริ มาณเท่าใด ก็คิดเป็ น เปอร์ เซ็นต์ งาน เสร็จ นามาคานวณหาจานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายให้กบั ผูร้ ับจ้างได้ หรื อถ้าจะให้รายละเอียดยิง่ ขึ้น จะต้องคานวณปริ มาณ งานที่ทาได้ในรอบเดือนแล้วนามาคูณกับ อัตราราคาต่ อหน่ วย ในบัญชีที่ทาไว้กบั สัญญา หรื อ ใบแสดงปริ มาณงาน ก็จะ ได้วงเงินที่จ่ายในเดือนนั้น สาหรับสัญญาแบบที่ถือเอาว่าราคาต่อหน่วยที่ระบุในใบแสดงปริ มาณและราคา เป็ นราคาของสัญญา ปริ มาณงานผันแปรไปได้ตามงานที่ทาได้จริ งก็จะมีความสะดวกในการคานวณเงินจ่ายค่าประจางวดเหมือนกัน เพียงแต่ ทาการสารวจปริ มาณงานที่ทาได้จริ งในแต่ละเดือน ณ สถานที่ก่อสร้าง แล้วนาไปคูณกับราคาต่อหน่วย ที่เสนอไว้ในใบ แสดงปริ มาณและราคา ก็จะได้ค่างานที่จะจ่ายให้กบั ผูร้ ับจ้าง ในแบบสัญญานี้ปริ มาณงานในใบแสดงปริ มาณไม่ถือเป็ น สาคัญ แต่จะถือ ราคาต่ อหน่ วย เป็ นราคาของสัญญา ปริ มาณงานที่มีอยูก่ ็เพื่อประโยชน์ในการเปรี ยบเทียบราคาของ โครงการ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2108 กฎหมายก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

ประจาสัปดาห์ ที่

หน้ าที่

18

1

ชื่อหน่ วย : สอบปลายภาค ชื่อสถานศึกษา:

สอบปลาย ภาค



แผนกวิชาการก่อสร้าง

ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553

ข้อสอบวิชา กฎหมายก่อสร้าง

รหัส 2106-2108

กลุ่มที่เข้าสอบ ปวช. 3/1 ,3/2

คะแนนเต็ม 40 คะแนน

ผูอ้ อกข้อสอบ นางสาวปวีณรัตน์ ใจใส

เวลา 2 ชัว่ โมง

คำสั่ งข้ อสอบทั้งหมดมี 1 ตอน ตอนที1่ แบบปรนัย 40 ข้อ ๆ ละ

1

คะแนน

……………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 1 จงเลือกกากบาท X คาตอบที่ถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคาตอบเพียงข้อเดียว (40 คะแนน) 1. กฎกระทรวงฉบับที่ 4 “อาคารที่ก่อสร้างติดกันเป็ นแถวยาวตั้งแต่ 2 คูหาขึ้นไป มีผนังร่ วงแบ่งคูหา และ ประกอบด้วยวัสดุทนไฟเป็ นส่ วนใหญ่” ก. อาคารอยูอ่ าศัย

ข. ตึกแถว

ค. เรื อนแถว ง. โรงงาน

จ. อาคารทางราชการ

2. จากกฎกระทรวงคาว่า “อาคารพิเศษ” หมายถึงอาคารใด ก. อาคารอยูอ่ าศัย ข. ตึกแถว 3 ชั้น ค. เรื อนแถว 2 ชั้น ง. หอประชุม

จ. ป้ าย

3. กฎหมายข้อใดไม่เกี่ยวกับก่อสร้างอาคาร ก. เทศบัญญัติ

ข. กฎหมายขนส่ ง

ค. กฎหมายแพ่งและพานิชย์ ง. ข้อบัญญัติเมืองพัทยา

จ. กฎกระทรวง


4. คาว่า “ ช่องบันได” หมายความว่าอย่างไร ก. ระยะห่างของชั้นของอาคาร ข. ระยะความสู งของบันได ค. ระยะที่บนั ไดต่อกับชานพัก ง. ความสู งของชานพักบันไดถึงพื้นชั้นบน จ. ไม่มีขอ้ ถูก 5. จาก พรบ. อาคารชุดปี พ.ศ. 2522 คาว่า “ทรัพย์ส่วนบุคคล” คือข้อใด ก. ห้องชุด ข. ห้องรับแขก ค. ที่จอดรถ

ง. ลิฟต์

จ. ที่ดิน

6. คณะกรรมการควบคุมอาคารไม่สามารถพ้นจากตาแหน่งได้ในกรณี ใด ก. ตาย

ข. ลาออก

ค. เป็ นบุคคลล้มละลาย

ง. รัฐมนตรี ให้พกั สถานะชัว่ คราว จ. ถูกทุกข้อ 7. พระราชบัญญัติควบคุมอาคารในปั จจุบนั มีกี่ฉบับ อะไรบ้าง ก. 2 ฉบับ ฉบับ พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2535 ข. 3 ฉบับ ฉบับ พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2535 ,พ.ศ. 2543 ค. 1 ฉบับ ฉบับ พ.ศ. 2522 ง. 4 ฉบับ ฉบับ พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2535 , พ.ศ. 2543, พ.ศ. 2552 จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก 8. . เมื่อเกิดเพลิงไหม้ ห้ามผูใ้ ดก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน หรื อเคลื่อนย้ายอาคารในเขตเพลิงไหม้เป็ นเวลากี่วนั ก. สามสิ บวัน ค. สี่ สิบห้าวัน

ข. สามสิ บห้าวัน ง. ห้าสิ บวัน

จ. หกสิ บวัน


9. . ตามมาตรา 55 พรบ.ควบคุมอาคาร นายช่างหรื อนายตรวจต้องกระทาเข้าไปตรวจสอบได้ภายในเวลาใด ก. เวลาพระอาทิตย์ข้ ึนถึงพระอาทิตย์ตก หรื อเวลาทาการของสถานที่น้ นั

ข. เวลาราชการ

ค. เวลาใดก็ได้ที่นายตรวจหรื อนายช่างต้องการตรวจสอบ ง. เวลา 08.00 – 16.00 น.

จ. เวลากลางวัน

10. กฎกระทรวงฉบับที่ 4 การรื้ อถอนอาคารที่มีความสู งเกินกี่เมตร ที่ตอ้ งจัดให้มีสิ่งป้ องกันวัสดุที่อาจร่ วงหล่นคลุม ทางหรื อที่สาธารณะนั้น ก. 10 ม. ข. 15 ม.

ค. 20 ม. ง. 25 ม. จ. 30 ม.

11. การระบายอากาศครอบคลุมแห่งที่เกิดควัน กลิ่น ต้องมีการระบายอากาศไม่นอ้ ยกว่าเท่าใด ก. 12 เท่าของปริ มาตรของห้องใน 1 ชัว่ โมง ข. 11 เท่าของปริ มาตรของห้องใน 1 ชัว่ โมง ค. 20 เท่าของปริ มาตรของห้องใน 5 ชัว่ โมง ง. 4 เท่าของปริ มาตรของห้องใน 1 ชัว่ โมง จ. 7 เท่าของปริ มาตรของห้องใน 3 ชัว่ โมง 12. อาคารที่มีพ้นื ที่รวมกันน้อยกว่า 10,000 ตารางเมตร กาหนดให้ใบอนุญาตไม่เกินกี่ปี ก. 2 ปี

ข. 1 ปี

ค. 3 ปี

ง. 7 ปี

จ. 0.50 ปี

13. บันที่สูงเกิน 3 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วงกี่เมตร ก. 5 ม. ข. 1.9 ม.

ค. 2 ม.

ง. 3 ม. จ. 1.24 ม.

14. ห้องเรี ยน ห้องสมุด ควรมีความเข้มของแสงสว่างไม่นอ้ ยกว่าเท่าใด ก. 100 lux ข. 150 lux ค. 200 lux ง. 250 lux จ. 300 lux 15. การห้ามก่อสร้างหรื อกระทาการใดๆในบริ เวณที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างซึ่ งก่อให้เกิดเสี ยงและแสงรบกวนผูอ้ ยู่ อาศัยข้างเคียงระหว่างเวลาเท่าใด ก. 22.00 – 06.00 น. ข. 19.00 – 07.00 น. ค. 23.00 – 08.00 น. ง. เวลาราชการ จ. เวลาพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ข้ ึน


16. ข้าราชการหรื อพนักงานส่ วนท้องถิ่นที่แต่งตั้งเป็ นนายช่างได้ตอ้ งมีคุณวุฒิอย่างไร ก. จบ ปวช. ก่อสร้าง

ข. จบ ปวช. สารวจ

ค. จบ ปวส. ก่อสร้าง

ง. จบ ปวส. โยธา

จ. จบ ปวส. สาขาใดก็ได้เกรด 2.50 17. กฎหมายอาญาเป็ นกฎหมายประเภทใด ก. กฎหมายเอกชน

ข. กฎหมายมหาชน

ค. กฎหมายต่างประเทศ ง. กฎหมายปกครอง จ. กฎหมายรัฐธรรมนูญ 18.ข้อใด ไม่ ใช่ หลักประกันสัญญาในการทาสัญญาก่อสร้าง ก. เช็คที่ธนาคารสั่งจ่าย ข. พันธบัตรรัฐบาลไทย ค. บัตรเครดิตของธนาคารในประเทศและต่างประเทศ ง. เงินสด จ. หนังสื อค้ าประกันของธนาคารในประเทศ 19. ข้อบัญญัติกรุ งเทพฯ กาหนดขนาดพื้นที่หอ้ งพักอาศัยอาคารต้องมีขนาดเท่าได ก. ต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร ข. ต้องกว้างยาวไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร ค. ต้องกว้างยาวไม่นอ้ ยกว่า 2.50 เมตร ง.ต้องมีพ้นื ที่รวมไม่นอ้ ยกว่า 9 เมตร จ. ต้องใช้ขอ้ ค และ ง รวมกัน 20. พรบ. ควบคุมการก่อสร้างปี พ.ศ. 2522 ไม่ใช้ บังคับแก่อาคารใด ก. โบราณสถาน ข. พระราชวัง

ค. ที่ทาการสถานทูต ง. สะพานลอย ทางด่วน จ. วัง


21. ข้อใด มิใช่ “เขตเพลิงไหม้” ตาม พรบ.ควบคุมอาคารปี พ.ศ. 2522 ก. บริ เวณที่เกิดเพลิงไหม้อาคารตั้งแต่ 20 หลังคา ข. บริ เวณที่เกิดเพลิงไหม้อาคารตั้งแต่ 30 หลังคา ค. บริ เวณที่เกิดเพลิงไหม้และมีเนื้อที่ต้ งั แต่ 1 ไร่ ข้ ึนไป ง. บริ เวณที่ติดต่อเขตเพลิงไหม้ภายในระยะ 30 เมตร จ. ผิดทุกข้อ 22. “ผนัง” หมายความว่าอย่างไร ก. ส่ วนก่อสร้างที่ทาด้วยอิฐฉาบปูนเรี ยบ ข. ส่ วนก่อสร้างที่ก้ นั ห้องและทาที่ปิดบัง ค. ส่ วนก่อสร้างที่ทาด้วยไม้ก้ นั ภายในของอาคาร ง. ส่ วนก่อสร้างในด้านตั้งแบ่งพื้นอาคารให้เป็ นห้องๆ จ. ส่ วนก่อสร้างในด้านตั้งซึ่ งกั้นด้านนอกของอาคารให้เป็ นหลังจากกัน 23. “แผนผัง” ตามข้อบัญญัติกรุ งเทพฯ ให้ใช้มาตราส่ วนเท่าใด ก. ไม่เล็กกว่า 1 ใน 100 ข. ไม่เล็กกว่า 1 ใน 500 ค. 1 : 750 ง. ต้อง 100 เท่า จ. ผิดทุกข้อ 24. ทางลงหนีไฟกาหนดให้มีในอาคารใด ก. อาคารพานิชย์ 3 ชั้น ข. โรงมหรสพ 2 ชั้น ค. หอประชุมชัว่ คราว ง. อาคารพักอาศัย 3 ชั้น จ. ผิดทุกข้อ 25. บันไดอาคารพักอาศัยต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่าเท่าใด ก. 0.85 ม. ข. 0.90 ม. ค. 1.30 ม. ง. 1.00 ม. จ. 1.20 ม.


26. ผนังกันไฟในห้องแถวหรื อตกแถวต้องจัดทาทุกๆไม่เกินเท่าใด ก. ไม่เกิน 3 ห้อง ข. ไม่เกิน 5 ห้อง ค. ไม่เกิน 7 ห้อง ง. ไม่เกิน 10 ห้อง จ. ทุก 20 ห้อง 27. รั้วหรื อกาแพงทาสู งได้เท่าใด ก. 2.00 เมตร ข. 2.50 เมตร ค. ไม่เกิน 3 เมตร ง. ไม่เกิน 3.50 เมตร จ. ไม่เกิน 2.50 เมตร 28. ทางระบายน้ าจากอาคารไปสู่ ทางระบายน้าธารณะต้องมีส่วนลาดไม่นอ้ ยกว่าเท่าใด ก. 1 ใน 50 ข. 1 ใน 100

ค. 1 ใน 200

ง. 1 ใน 500 จ. มิได้กาหนดไว้ในข้อบัญญัติ 29.ตึกแถวได้ร่นแนวห่างสาธารณะไม่เกิน 2 เมตร ต้องทากันสาดอย่างไร ก. สู งจากทางเท้าไม่เกิน 3 เมตร ข. สู งจากทางเท้าที่กาหนด 3.25 เมตร ค. กันสาดมีได้ต้ งั แต่พ้นื ชั้น 3 ง. สู งจากถนนสาธารณะไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร จ. ต้องร่ นระยะให้เกิน 2.00 เมตรถึงจะทากันสาด 30. ถนนกว้าง 10 เมตร อาคารจะสู งได้เท่าใดตามข้อบัญญัติกรุ งเทพฯ ก. 10 เมตร

ข. ไม่เกิน 15 เมตร

ค. 20 เมตรจากผนังด้านหน้าถึงถนนฟากตรงข้าม ง. 30 เมตร

จ. ไม่เกิน 30 เมตร

31. ตึกแถวสร้างริ มทางสาธารณะที่กว้าง 8 เมตร ต้องร่ นแนวจากศูนย์กลางอย่างน้อยเท่าใด ก. 8 ม.

ข. 4 ม.

ค. 5 ม.

ง. 6 ม. จ. 2 ม.


32. “อาคารชุด” หมายความว่าอย่างไร ใน พรบ. ก. อาคารที่สามารถแลกการถือกรรมสิ ทธิ์ ออกได้เป็ นส่ วนๆ ข. อาคารตั้งแต่ 4 ชั้นขึ้นไป ค. อาคารที่พกั อาศัยที่ร่วมกันอยูห่ ลายๆหน่วยในหน่วยเดียวกัน

ง. ถูกทุกข้อ

จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก

33. ข้อใด มิใช่ เอกสารที่ใช้ในการประกวดราคางานก่อสร้าง ก. สาเนาหนังสื อรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ข. หนังสื อมอบอานาจติดอากรแสตมป์ แล้ว ค. สาเนาหนังสื อรับรองผลงานก่อสร้าง ง. ใบแจ้งประกวดราคา จ. บัญชีรายการก่อสร้าง (ใบแจ้งปริ มาณ) 34. การทาสัญญาจ้างของทางราชการต้องวางหลักประกันสัญญาเป็ นจานวนเงินร้องละเท่าไดของวงเงินที่ทาสัญญา ก. 5 % ข. 8 % ค. 12% ง. 15% จ. ไม่ตอ้ งวาง 35. สัญญาก่อสร้าง (การจ้างเหมาก่อสร้าง) เป็ นสัญญาประเภทใด ก. สัญญาจ้างแรงงาน ข. สัญญาจ้างทาของ ค. สัญญาซื้ อขาย ง. สัญญาว่าจ้าง จ. ถูกทุกข้อ 36. กฎหมายซึ่ งรัฐมนตรี ของแต่ละกระทรวงเป็ นผูอ้ อกคือกฎหมายใด ก. กฎหมายรัฐธรรมนูญ ข. พระราชบัญญัติ ค. พระราชกาหนด ง. พระราชกฤษฎีกา จ. กฎกระทรวง 37. บุคคลใดสามารถทานิติกรรมได้ ก. ผูเ้ ยาว์ที่มีผปู้ กครองโดยชอบธรรม ข. คนไร้ความสามารถ ค. คนพิการ ง. คนที่แต่งงานแล้วคู่สมรสยินยอม จ. คนเสมือนไร้ความสามารถ


38.ห้องส้วมและห้องอาบน้ าต้องมีเนื้อที่ภายในเท่าใด ก. 1 ตารางเมตร ข. 1.50 ตารางเมตร ค. ไม่นอ้ ยกว่า 1.50 ตารางเมตร ง. 2 ตารงเมตร

จ. ไม่นอ้ ยกว่า 2 ตารางเมตร

39.ป้ ายติดตั้งบนอาคารให้ห่างสาธารณะเท่าใด ก. 6 ม. ข. 8 ม. ค. 10 ม. ง. 12 ม.

จ. 15 เม.

40. ข้อบัญญัติกรุ งเทพฯ กาหนดให้อาคารสู งเท่าใดต้องมที่หนีไฟทางอากาศ ก. อาคารสู ง 10 เมตร ข. อาคารขนาดใหญ่ ค. อาคารสาธารณะ ง. อาคารสู งตั้งแต่ 7 ชั้นขึ้นไป จ. ห้างสรรพสิ น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.