เทคนิคก่อสร้าง

Page 1



ลักษณะรายวิชา ( Courses Description )

หลักสูตร

1. รหัสและชื่อวิชา ( Title Heading ) 2106 - 2109 เทคนิคก่อสร้ าง

2. วิชาพืน้ ฐาน ( Requisite Back ground )

3. รายละเอียดเนือ้ หาวิชา ( Content ) ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิควิธีการก่อสร้ างอาคาร ฐานราก คาน เสา พื ้น บันได โครงหลังคา และ วัสดุมงุ ของบ้ านพักอาศัย

4. จุดมุ่งหมายรายวิชา (Courses Objective) เมื่อนักศึกษาเรียนจบวิชา 2106

- 2109 เทคนิคก่อสร้ าง 1 แล้ วนักศึกษาจะมีความสามารถดังนี ้

4.1 เพื่อให้ มีความเข้ าใจในหลักการ เทคนิคและวิธีการก่อสร้ างอาคาร งานฐานราก คาน เสา พื ้น โครงหลังคา และวัสดุมงุ ของอาคารพักอาศัย 4.2 เพื่อให้ สามารถนาหลักการเทคนิคและวิธีการก่อสร้ างอาคารมาประยุกต์ใช้ ในงานก่อสร้ าง อาคาร 4.3 เพื่อให้ มีเจตคติ มีความรับผิดชอบ และมีจรรยาบรรณ ในการประกอบวิชาชีพก่อสร้ าง


5. การจัดการสอน วิชาชีพเฉพาะ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ชันปี ้ ที่ 1 แผนกวิชาช่างก่อสร้ าง เวลาเรียน 72 คาบตลอด 18 สัปดาห์ รวมนักศึกษา กลุม่ เช้ า กับ กลุม่ บ่าย ประกอบไปด้ วย ทฤษฎี 2 คาบ ปฏิบตั ิ 0 คาบต่อสัปดาห์ รวมเป็ น 2 หน่วยกิต


แผนการจัดแบ่ งเนือ้ หา ( Course Content Plan ) จัดแบ่ งเนื้อหาเป็ นดังนี้ สัปดาห์

เนือ้ หา แนะนาวิชา จุดประสงค์ของวิชา แนะนาตาราและอุปกรณ์ที่ ต้องใช้ประกอบการเรี ยนการสอนความรู้เบื้องต้น

1

2. การหาศูนย์กลางเสาอาคาร

0.5 0.5

งานเสาเข็มตอก 1. ส่วนประกอบของเสาเข็มตอก 2. ประเภทของเสาเข็มตอก งานเสาเข็มเจาะ

3

1

การวางผังอาคาร 1. การสร้างมุมฉาก

2

จานวนคาบ

1. เสาเข็มเจาะระบบแห้ง 2. เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก

0.5 1.5 1.5 0.5

งานฐานราก 4

5

1. ความหมายของฐานราก

1

2. ประเภทของฐานราก

1

งานเสา

1

1. ความหมายของเสา

1


2. ประเภทของเสาตามลักษณะของวัสดุ 6

7

งานเสา ( ต่อ )

1

1. เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2. เหล็กเสริ มและการก่อสร้างเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก งานคาน

1

1. ความหมายและหน้าที่ของคาน 2. ประเภทของคานตามลักษณะของวัสดุ งานคาน ( ต่อ )

8

1. คานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2. เหล็กเสริ มและการก่อสร้างคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก งานพืน้

9

1

1 1

1

1. ความหมายของพื้น 2. ประเภทของแผ่นพื้นตามลักษณะของวัสดุ

สัปดาห์

1

เนือ้ หา

1 จานวนคาบ

งานพืน้ ( ต่อ ) 10

1. แผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1

2. เหล็กเสริ มในแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1

งานผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก 11

1. ความหมายของผนังคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2. กาแพงกันดิน

1 1


งานบันได 12

1. ความหมายของบันได

0.5

2. ประเภทของบันไดไม้และบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1.5

งานบันได ( ต่อ ) 13

1. การเสริ มเหล็กบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1

2. การก่อสร้างบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1

งานหลังคา 14

1. ประเภทของหลังคา 2. โครงหลังคาไม้ งานหลังคา ( ต่อ )

15

1. โครงหลังคาเหล็ก 2. โครงข้อหมุน

1 1 1 1

วัสดุมุงหลังคา 16

1. ประเภทของวัสดุมุง

2

2. อุปกรณ์และการติดตั้งวัสดุมุง 17

ทบทวนเนือ้ หา

18

สอบปลายภาค

2



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา :กช่ษาางก่: อวิสร้ ทยาลั าง ยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การสร้ างผังและระดับ ก่อนการวางผังอาคาร จาเป็ นต้องมีการสารวจขอบเขตและหมุดหลักเขตของที่ดิน เพื่อ ตรวจสอบสถานที่ที่จะทาการก่อสร้างจริ ง ว่ามีความแตกต่างจากแบบก่อสร้าง(แบบพิมพ์เขียว) หรื อไม่ถา้ สถานที่ก่อสร้างจริ งไม่ตรงกับพื้นที่จากแบบก่อสร้างแล้ว อาคารที่ก่อสร้างอาจได้พ้นื ที่ที่ ไม่ตรงตามแบบก่อสร้าง และอาจทาให้ระยะร่ นอาคารผิดเทศบัญญัติควบคุมอาคารได้ ดังนั้น เจ้าของอาคารควรปรึ กษากับสถาปนิก วิศวกร และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง เพื่อทาการแก้ไขและป้ องกันปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นต่อไป

วิธีสร้ างมุมฉาก อาคารส่วนใหญ่ที่ทาการก่อสร้างมีลกั ษณะเป็ นสี่เหลี่ยม มีมุมเป็ นมุมฉาก ดังนั้น พื้นฐานการเริ่ มต้นสร้างผังอาคาร จาเป็ นต้องสามารถสร้างมุมฉากในสถานที่ก่อสร้างได้อย่างถูกต้อง การสร้างมุมฉากทาได้หลายวิธี วิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบนั ได้แก่ วิธีไม้ฉาก วิธีใช้กฎ 3 : 4 : 5 ของ Pythagorus,s และวิธีส่องกล้องทีโอโดไลท์ ( Theodolite )


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การสร้ างมุมฉากด้ วยวิธีไม้ ฉาก ไม้ฉากที่ใช้ในการวางผังอาคารสามารถสร้างได้ง่าย ด้วยการใช้ประโยชน์จากมุมฉาก ของแผ่นไม้อดั โดยการตัดทแยงมุมแผ่นไม้อดั ดังแสดงในรู ป การสร้างมุมฉากของผังอาคาร เริ่ มต้นด้วยการขึงเอ็นเส้นแนวอาคาร ( Building Line ) ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้วแนวอาคาร มักจะกาหนด เริ่ มจากแนวเส้นด้านหน้าอาคาร แล้วนาไม้ฉากที่เตรี ยมไว้มาทาบให้ขนานกับเส้นแนวอาคาร ปัก หมุดขึงเอ็นในจุดที่ตอ้ งการสร้างมุมอาคาร แล้วค่อย ๆ ขยับเส้นเอ็นไปมาให้ได้แนวขนานกับอีกด้าน หนึ่งของไม้ฉาก ก็จะได้มุมฉากอาคารตามที่ตอ้ งการ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 3

นางสาวสุ พตั รา พันธืชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

กฎ 3 : 4 : 5 ของ Pythagorus’s หลักการของ Pythagorus’s คือ สามเหลี่ยมใด ๆ ที่มีระยะเป็ นสัดส่วนด้านละ 3 หน่วย ต่อ 4 หน่วย ต่อ 5 หน่วย สามเหลี่ยมนั้น คือ สามเหลี่ยมมุมฉาก ( Triangle) ดังนั้นหากเราต้องการมุม ฉากสามารถทาโดย วัดด้านแนวที่หนึ่ง 3 หน่วย แนวที่สองซึ่งต้องการให้ต้งั ฉาก 4 หน่วย และวัด ทแยงไปหาอีกด้านของแนวที่หนึ่งจนได้ระยะ 5 หน่วย มุมที่ได้จะเป็ นมุมฉาก ดังรู ปข้างล่าง ต้องการให้มุม A เป็ นมุมฉาก วัดระยะออกจากจุด A มาที่จุด B เท่ากับ 90 ซม. แล้ววัดจากจุด A มา ที่จุด D เท่ากับ 120 ซม. จากนั้นจึงขยับเส้น AD’ จนกว่าจะได้ระยะเส้นทแยงเท่ากับ 150 ซม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การสร้ างมุมฉากด้ วยกล้ องทีโอโดไลท์ กล้องแบบทีโอโดไลท์ ( Theodolite) คือ กล้องสารวจที่มีความสามารถในการอ่านค่ามุม ได้ละเอียดและแม่นยามาก นิยมใช้เป็ นเครื่ องมือหลักในการวัดค่ามุมในสถานที่ก่อสร้างการสร้างมุม ฉากด้วยกล้องทีโอโดไลท์มีลาดับขั้นตอน ดังนี้ 1. สร้างเส้นแนวอาคาร A B ( Building Line ) โดยปักหมุดไม้และตอกตะปูลงบน หมุดไม้ปลายแต่ละข้างกาหนดชื่อจุด A และ B 2. ตั้งกล้องทีโอโดไลท์ คล่อมบนจุด A 3. มองผ่านเลนส์เทเลสโคป ส่องไปยังหมุด B 4. ปรับเลนส์ละเอียด จนสามารถมองเห็นจุด B ได้อย่างชัดเจน 5. ปรับจานองศาให้ค่ามุมอยูท่ ี่ 0’ 0’ 0” 6. หมุนกล้องส่องไปยังแนวฉากที่ตอ้ งการ ขยับจานองศา จนได้ค่ามุม 90 ’0’0” แล้ว ให้ปรับสกรู ( Screw) ล็อคจานองศาทันที ตอกหมุดไม้ที่มุมฉากที่ได้ เรี ยกจุด C ตรวจสอบมุมที่ได้โดยเล็งกลับไปที่จุด จนสามารถอ่านค่ามุมได้ 90 ’0’0” พอดีดงั นั้น มุม BAC เป็ นมุมฉาก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้ าที่ 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 6

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

วิธีการหาตาแหน่ งศูนย์ กลางเสาอาคาร เมื่อสร้างผังเป็ นที่เรี ยบน้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การหาตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคาร หรื อศูนย์กลางฐานรากของอาคาร ด้วยการสร้างมุมฉาก และจุดตัดของเส้นเอ็น ดูจากรู ป ซึ่ง ต่อเนื่องกับการสร้างผังอาคาร


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 7

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การหาตาแหน่ งศูนย์ กลางเสาอาคารตามรูป มีข้ นั ตอนการทางานดังนี้ 1. วัดระยะร่ นอาคารตามแนว AB จากหมุดเขตที่ดิน 4 เมตร ขึงเส้นเอ็นแนว AB ให้ตึง 2. วัดระยะจากจุด A เข้าไป 1 เมตร ( เท่ากับระยะที่เผือ่ ไว้ในขั้นตอนการตีผงั อาคาร) เป็ นตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคาร จุด C วัดระยะเข้าไปหาจุด B 9 เมตร ( เท่ากับ ความกว้างอาคารตามแบบก่อสร้าง) เป็ นศูนย์กลางเสาอาคารจุด D หากวางผังอาคาร ได้ถกู ต้อง ระยะจากจุด D ไปถึงจุด B ต้องเท่ากับ 1 เมตร เช่นกัน 3. สร้างมุมฉากออกจากจุด C ขึงเส้นเอ็นขนานกับด้านที่ต้งั ฉากให้ตึง ตอกตะปูลงบนผัง อาคาร จุด E และ F ทาเช่นเดียวกันที่จุด D ตอกตะปูที่จุด G และ H 4. หาตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคารจุด I และจุด J ซึ่งเป็ นกรอบเส้นรู ปอาคาร โดยวัด ระยะจากจุด C เข้าไป 8 เมตร ( เท่ากับความกว้างอาคารตามแบบก่อสร้าง ) เป็ น ศูนย์กลางเสาอาคารจุด I ทาเช่นเดียวกันที่จุด D ได้ศนู ย์กลางเสาอาคารจุด J ขึงเส้น เอ็นผ่านจุด I และจุด J ไปถึงผังอาคาร ตอกตะปูบนผังอาคาร กาหนดเป็ นจุด K และ L 5. ตรวจสอบความถูกต้องของกรอบรู ปอาคาร CDIJ โดยวัดเส้นทแยงมุม CJ และ DI ระยะที่ได้ตอ้ งเท่ากัน 6. หาตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคารจุดอื่น ๆ โดยวัดระยะระหว่างเสาจากจุด CD และ IJ ช่วงละ 3 เมตร และวัดระยะระหว่างเสาจากจุด CI และ DJ เท่ากับ 4 เมตร ขึงเส้นเอ็น ให้ตึงทุกแนวทุกจุดตัดของเส้นเอ็นคือ ตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคาร ในกรณี ใช้ เสาเข็มเดี่ยวตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคารและเสาเข็มเป็ นตาแหน่งเดียวกัน 7. ทิ้งลูกดิ่งหรื อใช้ไม้บรรทัดระดับน้ ามาทาบที่จุดตัดของเส้นเอ็น ตอกหมุดศูนย์กลาง เสาอาคารบนพื้นดิน ทาสีที่หวั หมุด นิยมใช้สีแดง และตอกตะปูลงบนหัวหมุดเพื่อ แสดงตาแหน่งศูนย์กลางเสาอาคารดังแสดงในรู ป


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 8

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การหาค่าระดับ ค่าระดับ คือค่าความสูงของพื้นอาคาร โดยทัว่ ไปกาหนดให้ระดับถนนมีค่าระดับ เท่ากับ + 0.000 ค่าระดับของอาคารถูกกาหนดไว้ในแบบก่อสร้าง ดังตัวอย่าง พื้นชั้นล่างมีค่าระดับ +0.20 เมตร หมายความว่า อาคารชั้นล่างสูงกว่าระดับถนน 0.20 เมตร การหาค่าระดับมี ความสาคัญมากในการกาหนดระดับความสูง และรักษาระดับพื้นอาคารหรื อโครงสร้างอาคารให้ เท่ากัน ในการคานวณหรื อการถ่ายหาค่าระดับ ต้องเข้าใจคาศัพท์เฉพาะบางคาที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ฐานระดับ ( Datum ) หมายถึง ผิวระดับที่ใช้ในการอ้างอิงเกี่ยวกับความสูง โดยทัว่ ไปจะเทียบค่าความสูงกับระดับน้ าทะเลปานกลาง ( Mean Sea Level ) 2. ค่าระดับ ( Elevation ) หมายถึง ระยะในแนวดิ่งวัดจากฐานระดับจนถึงจุดบนพื้นดิน 3. หมุดระดับ ( Bench Mark หรื อ B.M.) หมายถึง หมุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้อา้ งอิงกับฐาน ระดับ 4. ไม้ระดับหลัง ( Back Sight หรื อ B.S.) หมายถึง ค่าระดับความสูงจากการอ่านระดับ ครั้งแรกของการตั้งกล้องระดับ 5. ไม้ระดับหน้า ( Fore Sight หรื อ F.S.) หมายถึง ค่าระดับความสูงจากการอ่านระดับ ครั้งสุดท้ายของการตั้งกล้องระดับ 6. ค่าความสูงของเครื่ องมือ ( Height of Instrument หรื อ H.I.) หมายถึง ค่าระดับความ สูงวัดจากค่าระดับอ้างอิงถึงแนวเล็งของกล้องระดับ 7. ไม้ระดับกลาง ( Intermediate Fore Sight หรื อ I.F.S.) หมายถึงการอ่านค่าระดับ( จะ มีกี่ค่าระดับก็ได้ )ระหว่างไม้ระดับหน้า และไม้ระดับหลัง 8. ค่าระดับ ( Reduced Level หรื อ R.L.) หมายถึง ตาแหน่งของค่าความสูงเมื่อเทียบ กับฐานระดับ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้ าที่ 9


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 1

หน้ าที่ 10

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การถ่ ายค่าระดับ ในการก่อสร้างจาเป็ นต้องมีค่าระดับความสูงอ้างอิง ซึ่งมักถ่ายค่าระดับเอาไว้ที่เสา หรื อผนังของอาคาร เพื่อใช้ในการการทาพื้น ( Finishing) ให้มีระดับเสมอกันทั้งอาคาร โดยทัว่ ไป แล้วนิยมกาหนดความสูงให้เป็ นตัวเลขจานวนเต็ม เช่น สูง 1.00 เมตร เหนือระดับพื้น ในรู ป ด้านล่าง แสดงการถ่ายค่าระดับด้วยสายยางระดับน้ า ในรู ปต่อไป แสดงการถ่ายค่าระดับด้วยกล้อง ระดับ




เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เสาเข็มตอก เสาเข็ม คือ ชิ้นส่วนหรื อส่วนประกอบของอาคารที่ทาหน้าที่ รับน้ ำหนัก ทั้งหมดจำกอำคำรที่ถ่ำยมำยังฐำนรำกลงสู่เสำเข็มแล้วถ่ำยลงสู่ช้นั ดิน ในสภาพดินรองรับฐานรากที่มีความสามารถในการแบกรับน้ าหนักได้ต่า เช่น ดินในกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล การเลือกฐานรากตื้น หรื อไม่มีเสาเข็ม อาคารอาจเกิดการวิบตั ิ หรื อ ทรุ ดตัวในอัตราสูงจนเสียหายได้การป้ องกันปัญหาเหล่านี้ทาโดยการเลือกใช้ฐานรากวางบนเสาเข็ม เพื่ถ่ายน้ าหนักลงสู่ดินที่มีความมัน่ คง

ประเภทของเสาเข็ม เสาเข็มที่ใช้ในปั จจุบนั สามารถแบ่งตามลักษณะการรับกาลังของชั้นดินเป็ น 2 ประเภท ดังนี้ 1. เสาเข็มแรงต้านทานส่ วนปลาย (End-bearing Pile) เป็ นเสาเข็มที่ตอกลงถึงชั้นทรายหรื อ ชั้นดินแข็งที่แข็งแรง ซึ่งเสาเข็มจะไม่สามารถตอกจนทะลุไปได้ เสาเข็มแรงต้านทาน ส่วนปลายที่วางอยูบ่ นชั้นดินแข็งแรงเพียงพอที่รับน้ าหนักได้อย่างมัน่ คง ช่วยลดอัตรา การทรุ ดตัวของอาคาร โดยปลายเสาเข็มควรอยูจ่ มในชั้นดินแข็งอย่างน้อยประมาณ 1-3 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเสาเข็ม และมีความหนาของชั้นทรายหรื อชั้นดินแข็งควร มีความหนาอย่างเพียงพอที่จะไม่ทาให้เสาเข็มเกิดการเคลื่อนตัวทะลุช้นั ทรายหรื อชั้นดิน แข็งนั้นอีกด้วย 2. เสาเข็มแรงฝื ด (Friction Pile) เป็ นเสาเข็มที่ไม่มีช้นั ดินแข็งรองรับด้านล่างปลายเสาเข็ม การรับน้ าหนักของเสาเข็มเกิดจากแรงฝื ดระหว่างผิวของเสาเข็มกับดินรอบเสาเข็ม ใน ดินที่มีความเชื่อมแน่นสูง เช่น ดินเหนียว สามารถรับน้ าหนักได้ดี เหมาะกับงาน ก่อสร้างอาคารที่มีน้ าหนักไม่มาก และไม่คานึงถึงการทรุ ดตัว เช่น การสร้างบ้านขนาด เล็ก ศาลา รั้ว เป็ นต้น


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ส่ วนประกอบเสาเข็ม เสาเข็มมีส่วนประกออบต่าง ๆ ดังแสดงในรู ปที่ 1 ดังนี้ หัวเสาเข็ม (Head) หมายถึง ส่วนบนสุดของ เสาเข็ม เป็ นส่วนรับแรงกระแทกจากอุปกรณ์การ ตอกเสาเข็ม ตัวเสาเข็ม (Foot) หมายถึง ส่วนลาตัวของเสาเข็ม มีพ้นื ที่มากที่สุด ทาหน้าที่รับแรงฝื ดระหว่างผิว เสาเข็มกับชั้นดิน ปลายเสาเข็ม (Tip) หมายถึง ส่วนปลายล่างสุด ของเสาเข็มทาหน้าที่เจาะทะลุช้นั ดิน ปลายเสาเข็มส่ วนตัดทิง้ (But) หมายถึง ส่วนหัว ของเสาเข็มที่ถกู ตัดออก หลังจากตอกหัวเสาเข็ม เสร็ จแล้ว แผ่นเหล็กหัวเสาเข็ม (Driving Head) หมายถึง แผ่นเหล็กที่ปิดทับบนหัวเสาเข็ม เพื่อ รองรับน้ าหนักตกกระทบจากลูกตุม้ เหล็ก ป้ องกันเสาเข็มเสียหายขณะทาการตอกโดยทัว่ ไปแล้วแผ่น เหล็กถูกเชื่อมยึดด้วยเหล็กสมอ (Dowel) ซึ่งฝังอยูใ่ นคอนกรี ต ตาแหน่ งตัดหัวเสาเข็ม (Pile Cut Off) หมายถึง ระดับที่จะทาการตัดหัวเสาเข็มออก โดยมากตาแหน่งตัดหัวเสาเข็มคือ ตาแหน่งใต้ฐานของฐานราก โดยนิยมให้หวั เสาเข็มโผล่เข้ามาใน ฐานรากคอนกรี ตประมาณ 5ซ.ม. ปลายล่างเสาเข็ม (Pile Shoe) หมายถึง วัสดุห่อหุม้ ส่วนปลายของเสาเข็ม นิยมเป็ นโลหะ ได้แก่ เหล็กหล่อ เพื่อให้สามารถเจาะทะลุทะลวง ชั้นทรายแน่น รวมทั้งชั้นดินดาน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 3

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ชนิดของเสาเข็ม เสาเข็มที่นิยมที่นิยมใช้ในประเทศไทยมีหลายชนิด ตามประเภทของวัสดุ และวิธีการ ก่อสร้างเสาเข็มแต่ละชนิดมีความเหมาะสมแก่สภาพการก่อสร้าง พื้นที่ ค่าใช้จ่าย รวมถึงข้อจากัดที่ แตกต่างกัน ในปัจจุบนั แบ่งเป็ น 6 ชนิด ดังนี้ 1. เสาเข็มไม้ เสาเข็มไม้ (Timber pile) เป็ นเสาเข็มที่หาได้ง่ายทุกภูมิภาคของประทศ มีน้ าหนักเบา ราคา ถูก ขนส่งได้สะดวก และมีอายุการใช้งานได้ยาวนานเมื่ออยูต่ ่ากว่าระดับน้ าใต้ดินตลอดเวลา เสาเข็มไม้มีผวิ ความฝื ด (Skin friction) สูงเมื่อเทียบกับเสาเข็มที่ทาจากวัสดุอื่น ๆ แต่มี ข้อจากัดในแง่ของความสามารถในการแบกรับน้ าหนัก เมื่อเทียบกับเสาเข็มคอนกรี ตและเสาเข็ม เหล็ก อีกทั้งเสาเข็มไม้ที่มีลาต้นยาง ๆ ในปัจจุบนั หายากมาก และหัวเสาเข็มอาจเสียหายได้ง่าย ระหว่างการตอก เนื่องจากเสาเข็มไม้มีความสามารถในการรับน้ าหนักได้ค่อนข้างต่าดังนั้นจึงจาเป็ นต้องมี จานวนเสาเข็มเป็ นจานวนมาก ส่งผลให้ฐานรากมีขนาดใหญ่ข้ ึนตามลาดับ ก่อนการตอกเสาเข็มต้อง ลอกส่วนที่เป็ นเปลือกไม้ออกเสียก่อน หัวเสาเข็มไม้ควรอยูต่ ่ากว่าระดับน้ าใต้ดินเสมอ เพื่อหลีกเลี่ยง ปัญหาทางด้านการผุพงั จากปลวก และเชื้อรา ปัจจุบนั เสาเข็มไม้นิยมใช้ เสาไม้สนหรื อเสาไม้ยคู าลิปตัส ในท้องตลาดระบุขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางกลางลาต้นมีหน่วยเป็ นนิ้ว และความยาวมีหน่วยเป็ นเมตร โดยมีขายตั้งแต่ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางกลางขนาด 3นิ้ว3เมตร , เส้นผ่าศูนย์กลางกลางขนาด 4นิ้ว4เมตร , เส้นผ่าศูนย์กลางกลางขนาด 5นิ้ว5เมตร , เส้นผ่าศูนย์กลางกลางขนาด 6นิ้ว6เมตร


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก (Concrete Pile) เป็ นเสาเข็มคอนกรี ตที่หล่อ ณ สถานที่ ก่อสร้าง เนื่องจากไม่สามารถขนส่งเสาเข็มหล่อสาเร็ จรู ปไปยังสถานที่ ๆ ก่อสร้างได้ หรื อมี จุดประสงค์ทางด้านการใช้งานที่แตกต่างจากเสาเข็มในท้องตลาด เช่น เสาเข็มสมอเพื่อยึดรั้ง สายสลิงค์ของเขื่อนป้ องกันดินพัง เป็ นต้น รู ปร่ างของเสาเข็มคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ขึ้นอยูแ่ บบการออกแบบเหล็กเสริ มตามยาว ซึ่ง ต้องมีความสามารถเพียงพอในการรับโมเมนต์ดดั ที่เกิดจากการเคลื่อนย้า ยและการยกขึ้นตอก โดย จาเป็ นต้องมีเหล็กแกนตามยาวอย่างน้อย 4 เส้น สาหรับเหล็กปลอกใช้แบบปลอกเดี่ยว หรื อแบบ ปลอกเกลียวก็ได้ แต่บริ เวณปลายและส่วยโคนเสาให้ใส่เหล็กปลอกถี่ข้ ึน เพื่อป้ องกันการเสียหาย เนื่องจากแรงกระแทกขณะตอก คุณภาพของคอนกรี ตควรออกแบบส่วนผสมให้มีกาลังอัดสูงและใช้ เครื่ องเขย่าคอนกรี ตช่วยให้คอนกรี ตอัดแน่น ส่วนเปอร์เซ็นต์ของเหล็กปลอก เมื่อเทียบกับปริ มาตร คอนกรี ตในแต่ละช่วง ไม่ควรน้อยกว่าที่กาหนด

รูปแสดงเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 5

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3. เสาเข็มคอนกรีตหล่อสาเร็จรูป เสาเข็มคอนกรีตหล่อสาเร็จรูป (Precast Concrete Pile) เป็ นเสาเข็มคอนกรี ตอัดแรงที่ หล่อจากโรงงาน ผลิตโดยอาศัยเทคนิคการดึงลวดรับแรงดึง (Pre-tension Method) แล้วเทคอนกรี ต ลงในแบบหล่อ ในขณะที่แรงดึงในเส้นลวดยังคงค้างอยู่ เมื่อคอนกรี ตแข็งตัวจนได้กาลังอัดตาม เกณฑ์แล้ว จึงดึงลวดรับแรงดึงออก โดยปกติการถ่ายกาลังจากลวดรับแรงดึงสู่คอนกรี ต คอนกรี ต ต้องมีกาลังอัดไม่ต่ากว่า 250 ก.ก./ซม.2 แลเมื่อคอนกรี ตมีอายุ 28 วัน คุณสมบัติของคอนกรี ตเมื่อ ทดสอบด้วยรู ปทรงลูกบาศก์ขนาด 151515 ซม. ต้องมีกาลังอัดประลัยไม่ต่ากว่า 420 กก./ซม2 หรื อเมื่อทดสอบด้วยรู ปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว สูง 12 นิ้ว ต้องมีกาลังอัดประลัย ไม่ต่ากว่า 350 กก./ซม.2 ปูนซีเมนต์ที่ใช้อาจเป็ นชนิดแข็งตัวเร็ ว หรื อชนิดปอร์ตแลนด์ธรรมดาผสม สารเร่ งการก่อตัว โดยมีส่วนผสมของปูนซีเมนต์ไม่นอ้ ยกว่า 400 กก./ลบ.ม.ของคอนกรี ต บ่ม คอนกรี ตด้วยน้ าหรื อไอน้ ากาลังอัดประลัยสูงสุดของลวดต้องไม่ต่ากว่า 17,500 กก./ซม.2 ส่วนเหล็ก ปลอกลูกตั้งควรใช้เหล็กกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 ม.ม. สาหรับรู ปร่ างของเสาเข็มคอนกรี ตอัด แรงที่ผลิตขายอยูใ่ นปัจจุบนั มีหลายลักษณะ เช่น รู ปสี่เหลี่ยม รู ปตัวไอ รู ปตัววาย รู ปหกเหลี่ยม และ รู ปวงกลม เป็ นต้น

หน้ าตัดเสาเข็มคอนกรีตหล่ อสาเร็จที่ขายในปัจจุบัน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 6

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4. เสาเข็มคอนกรีตหล่อในที่ เสาเข็มคอนกรีตหล่อในที่ เป็ นเสาเข็มที่ออกแบบการก่อสร้างเพื่อลดความเสียหายของ อาคารข้างเคียง เนื่องจากการสัน่ สะเทือนจากการตอกเสาเข็ม เสาเข็มหล่อในที่ทาโดยการเจาะดิน จนถึงระดับความลึกที่ตอ้ งการ โดยทัว่ ไปคือชั้นทรายแน่น หลังจากนาดินขึ้นมาจากหลุมเจาะแล้ว ใส่ เหล็กแกนเสาเข็ม จากนั้นจึงเทคอนกรี ต โดยปกติเสาเข็มหล่อในที่แบ่งตามลักษณะการทางานเป็ น 2 ชนิด คือ  เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหล็ก (Shell Type) ก่อสร้างโดยการกดหรื อตอกปลายเหล็กลง ในดินจนถึงระดับที่ตอ้ งการ แล้วนาดินออกจากหลุมเจาะ ใส่เหล็กแกนเสาจากนั้นจึง เทคอนกรี ตลงในปลอกเหล็ก ปลอกเหล็กที่ทิ้งไว้เป็ นเป็ นส่วนหนึ่งของเสาเข็มมี ประโยชน์ในการป้ องกันโคลนและน้ าที่เข้ามาผสมกับคอนกรี ตได้เป็ นอย่างดี เหมาะ กับดินที่มีความอ่อนมาก เสาเข็มชนิดนี้เป็ นเสาเข็มเจาะในยุคเริ่ มต้น ปัจจุบนั เสาเข็ม ไม่เป็ นที่นิยม เนื่องจากปลอกเหล็กที่ฝังในดินมีราคาแพง ทาให้ค่าก่อสร้างสูง รู ปร่ าง ของเสาเข็มมีลกั ษณะของปลอกเหล็ก ดังแสดงในรู ป

รูปทรงของเสาเข็มฝักปลอกเหล็ก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 7

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

 เสาเข็มชนิดไม่ฝังปลอกเหล็ก (Shell-less Type) ทาการก่อสร้างโดยการตอกหรื อกดปลอก เหล็กลงในดินจนถึงระดับชั้นดินแข็งที่กดไม่ลง จากนั้นจึงเอาดินออกจากปลอกเหล็ก โดยวิธี เจาะหรื อตักดินออกจนถึงระดับที่ตอ้ งการ ใส่เหล็กแกนเสาเข็ม ดึงปลอกเหล็กขึ้นจากหลุมเจาะ ทันทีหลังจากเทคอนกรี ต เนื่องจากผิวสัมผัสของเสาเข็มกับดินมีความเรี ยบ เสาเข็มชนิดนี้จะรับ กาลังได้สูง สาหรับดินรอบเสาเข็มที่มีความเชื่อมแน่น สิ่งที่ตอ้ งพึงวังในการก่อสร้างคือ ในขณะ ถอนปลอกเหล็กขึ้น ดินรอบเสาเข็มอาจพังทลายงผสมกับเนื้อคอนกรี ตที่ยงั ไม่แห้งได้ทาให้ เสาเข็มคอด หรื อคอนกรี ตไม่แข็งแรง อาจกระทบต่อคามสามารถในการรับน้ าหนักได้

ลักษณะตัวอย่ างของเสาเข็มชนิดไม่ ฝังปลอกเหล็ก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 8

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

5. เสเข็มเหล็ก เสาเข็มเหล็ก (Steel Pile) เป็ นเสาเข็ม ที่มีความสามารถในการแบกรับน้ าหนักได้สูง กว่าเสาเข็มไม้และเสาเข็มคอนกรี ต เมื่อต้องการเสาเข็มที่มีความสามารถรับน้ าหนักได้เท่ากันเสาเข็ม เหล็กมีหน้าตัดที่เล็กกว่า ทาให้มีการแทนที่ปริ มาตรเนื้อดินน้อยกว่าเสาเข็มชนิดอื่น นอกจากนี้ยงั มี ความแข็งแรงมากกว่าเสาเข็มชนิดอื่น จึงสามารถตอกทะลุช้นั ดินแข็งชั้นหินบาง ๆ ได้ แต่หากตอก ไปกระทบกับชั้นหินขนาดใหญ่อาจแฉลบเอียง ตาแหน่งศูนย์กลางการรับน้ าหนักเสียไป ข้อเสียของ เสาเข็มเหล็กคือ มีราคาแพงมาก และอาจถูกการกัดกร่ อนจนเสียหายได้ 6. เสาเข็มประกอบ เสาเข็มประกอบ (Composite Pile) เป็ นเสาเข็มที่ประกอบด้วยวัสดุสองชนิดในเข็มต้น เดียวกันโดยทัว่ ๆ ไป นิยมนาไม้และคอนกรี ตมาประกอบกัน จุดที่สาคัญที่สุดของเสาเข็มชนิดนี้คือ รอยต่อหรื อการประสานระหว่างวัสดุสองชนิด ต้องแข็งแรงสามารถถ่ายน้ าหนักจากต้นบนสู่ตน้ ล่าง ได้อย่างมัน่ คง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้ าที่ 9


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 10

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เครื่องมือที่ใช้ ในการตอกเสาเข็ม ในการตอกเสาเข็มจาเป็ นต้องมีเครื่ องมือ เครื่ องจักร เพือ่ ใช้ทุ่นแรง สาหรับการตอก เสาเข็มขนาดเล็กนิยมใช้ สามเกลอ และแรงงานคนในการตอก เมื่อเสาเข็มมีขนาดเกินกาลังของคนจึง ต้องใช้เครื่ องจักรที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นในการก่อสร้าง ปั้นจัน่ แบบลูกต้มปล่อยตก เป็ น เครื่ องมือที่นิยมใช้พบเห็นได้ทวั่ ไปในประเทศไทย นอกจากนี้ยงั มีเครื่ องมืออื่นที่สามารถจาแนก รายละเอียดออกดังนี้ 1.ปั้นจัน่ แบบลูกตุ้มปล่อยตก (Drop Hammer) เป็ นวิธีการตอกเสาเข็มแบบดั้งเดิม โดยอาศัยการยกลูกตุม้ เหล็ก แล้วปล่อยให้ตกลงมา กระทบเสา เข็ม น้ าหนักของลูกตุม้ เหล็กมีขนาดตั้งแต่ 2.5-7 ตัน การเลือกใช้ขนาดน้ าหนักของลูกตุม้ อยูร่ ะหว่าง 0.75-2.5 เท่าของน้ าหนักเสาเข็ม ความสูงในการยกลูกตุม้ เหล็ก (Drop Height) โดยทัว่ ไปประมาณ 30-80 ซม. ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของเสาเข็ม ความชานาญของผูค้ วบคุมปั้นจัน่ และการกาหนดของวิศวกร ในขณะการตอกเสาเข็มต้องตรวจสอบแนวดิ่งของเสาเข็มตลอดเวลา วิธีที่นิยมใช้กนั คือ แขวนลูกดิ่ง 2ลูก ในแนวที่ต้งั ฉากกัน นิยมแช่ลกู ดิ่งในกระป๋ องน้ า เพื่อป้ องกันลมพัดลูกดิ่ง

ปั้นจัน่ ลูกต้มปล่อยตก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 11

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2.ปั้นจัน่ แบบดีเซล (Diesel Hammer) เป็ นเครื่ องจักรกลที่มคี วามรวดเร็ วในการตอกเสาเข็มมาก โดยทางานเร็ วกว่าแบบ ลูกตุม้ ปล่อยตกประมาณ 3 เท่า ปั้นจัน่ แบบดีเซลอาศัยน้ ามันดีเซลเป็ นตัวจุดระเบิดขับดันให้ลกู ตุม้ ลอยสูงขึ้น วิธีการยกเสาเข็มขึ้นมาตอกทาได้โดย มีเครื่ องควบคุมการทางานอยู่ 2เครื่ อง เครื่ องหนึ่ง สาหรับปั้นจัน่ และอีกเครื่ องหนึ่งสาหรับตุม้ น้ าหนักแบบดีเซล การตอกทาได้โดยใช้ลวดสลิงยกและ ลากเสาเข็มจากเครื่ องยนต์สาหรับปั้นจัน่ ในปัจจุบนั ปั้นจัน่ ดีเซลยังไม่เป็ นที่แพร่ หลายเพราะราคาแพง กว่าแบบลูกต้มปล่อยตก

ปั้นจั่นแบบดีเซล

3.ปั้นจัน่ แบบไอนา้ (Single of Double-acting Hammer or Steam Hammer) การทางานอาศัยการระเบิดของไอน้ า หรื อ แรงกดอากาศเป็ นตัวขับดันเพื่อยก ลูกตุม้ ขึ้นลงเป็ นจังหวะ มีระยะการยกไม่คงที่ ตอกได้รวดเร็ ว มีความสัน่ สะเทือนแต่ความเสียหาย น้อยกว่าการตอกด้วยปั้นจัน่ แบบลูกตุม้ ปล่อยตก ปัจจุบนั ปั้นจัน่ ชนิดนี้ไม่เป็ นที่นิยม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 12

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การกองเก็บเสาเข็ม โดยทัว่ ไปเสาเข็มต้นเดียวที่ไม่มีการต่อ เป็ นเสาเข็มที่มีความแข็งแรง แต่มกั มีความ ยาวมาก ทาให้การขนย้ายและการกองเก็บไม่สะดวก และเกิดการหักเสียหายได้ บริ ษทั ผูผ้ ลิตเสาเข็ม จึงคานึงถึงตาแหน่งจุดยกและจุดรองเสาเข็มซึ่งเป็ นจุดรองรับน้ าหนักของตัวเสาเข็มขณะกองเก็บ เสมอ โดยออกแบบจุดยกให้เกิดค่าโมเมนต์ดดั น้อยที่สุด และทาเป็ นหูหิ้วในตาแหน่งดังแสดงในรู ป จานวน 2 จุด ดังนั้นในการกองเก็บเสาเข็ม หลังจากการเตรี ยมพื้นที่ ๆ ต้องการกองเก็บเสาเข็มให้ เรี ยบและมัน่ คงแข็งแรงแล้ว ใช้ไม้ขนาด 1 ½ นิ้ว 3 นิ้ว รองขั้นระหว่างเสาเข็มแต่ละต้น อย่างไรก็ ตามการเพิ่มจานวนจุดรองรับให้มากกว่า 2 จุด สามารถลดค่าโมเมนต์ดดั ลงได้มากยิง่ ขึ้น

การกองเก็บเสาเข็ม a ถูกตาแหน่ ง b ผิดตาแหน่ ง

การเคลื่อนย้ ายเสาเข็ม ในการใช้งานเสาเข็มสาเร็ จรู ปต้องมีการเคลือ่ นย้าย เช่น จากแหล่งผลิต ไปยังสถานที่ ก่อสร้าง สาหรับเสาเข็มไม้ และเสาเข็มเหล็กมีสภาพยืดหยุน่ มากกว่าเสาเข็มคอนกรี ต ซึ่งเสาเข็ม คอนกรี ตมีความเปราะ มีโอกาสหักชารุ ดเสียหายจากการเคลื่อนย้ายและการกองเก็บที่ไม่ถกู วิธีได้ง่าย กว่า เสาเข็มเหล็ก หรื อเสาเข็มไม้ ในการเคลื่อนย้ายเสาเข็มคอนกรี ตมี 3 ลักษณะ ดังแสดงในรู ป


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

การเคลื่อนย้ายเสาเข็ม

สั ปดาห์ ที่ 2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

a ชักลากจุดเดียว b ชัดลากสองจุด c ชักลากสามจุด

การเคลือ่ นย้ายเสาเข็ม a ชักลากจุดเดียว b ชัดลากสองจุด c ชักลากสามจุด

หน้ าที่ 13


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 2

หน้ าที่ 14

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การตอกเสาเข็ม หลังจากปักหมุดตาแหน่งเสาเข็มเรี ยบร้อยแล้ว ผูร้ ับเหมางานเสาเข็มจึงเคลือ่ นย้าย ปั้นจัน่ เข้ามาประกอบในสถานที่ก่อสร้าง ซึ่งใช้เวลาในการประกอบชิ้นส่วนประมาณ 2-3 วัน ผู้ ควบคุมงานควรวางแผนการเคลื่อนย้ายปั้นจัน่ ให้สามารถตอกเสาเข็มทุกต้นได้อย่างต่อเนื่องและ เคลื่อนย้ายให้นอ้ ยที่สุด เพราะการเลื่อนปั้นจัน่ แต่ละครั้งต้องเสียเวลามาก ดังนั้นจึงควรกาหนดทิศ ทางการเดินของปั้นจัน่ ดังแสดงในรู ป

แผนในการเดินปั้นจั่นในการตอกเสาเข็ม



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กาษางก่:อสร้ วิทายาลั ง ยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะ(Bore Pile) หรื อ เสาเข็มหล่อในที่( Cast – in – place Concrete Pile ) หมายถึงเสาเข็ม ระบบพิเศษที่ตอ้ งทาการขุดเจาะดินบริ เวณที่ตาแหน่งของเสาเข็ม จนถึงระดับความลึกที่ตอ้ งการ แล้วจึง ใส่ เหล็กเสริ ม เทคอนกรี ตลงในหลุมเจาะ เสาเข็มเจาะที่ใช้กนั ในปั จจุบนั แบ่งตามลักษณะขบวนการทางานออกได้เป็ น 2 ระบบ คือ 1. เสาเข็มเจาะระบบแห้ง (Dry Process ) 2. เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก ( Wet Process or Slurry Method) เสาเข็มเจาะระบบแห้ ง เสาเข็มเจาะระบบแห้ ง ( Dry Process ) เป็ นเสาเข็มเจาะที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 0.35-0.60 ม. ความลึกของหลุมเจาะไม่ลึกมากนัก ก้นหลุมเจาะยังอยูใ่ นชั้นดินเหนียวแข็ง หรื อชั้นทราย ไม่มีน้ า ภายในหลุมเจาะต้องไม่มีน้ า และการพังทลายของดินในหลุมเจาะควรน้อยหรื อไม่มีเลย ขั้นตอนการทาเสาเข็มเจาะระบบแห้ ง ลาดับขั้นตอนการทาเสาเข็มเจาะระบบแห้งเริ่ มจากการปั กผังหาตาแหน่งเสาเข็ม การเจาะดิน และใส่ ปลอกเหล็ก การปรับสภาพก้นหลุมเจาะ การใส่ เหล็กเสริ ม การเทคอนกรี ต และการถอนปลอก เหล็กโดยมีรายละเอียดการทางานดังนี้


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กาษางก่:อสร้ วิทายาลั ง ยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

1.

การเจาะดินและใส่ ปลอกเหล็ก เมื่อตั้งขาตั้ง 3ขา ( Tripod ) ให้ตรงกับตาแหน่งศูนย์กลางเสาเข็มใช้กระบะตักดินเจาะดินลึก ประมาณ1-1.5 เมตร แล้วนาปลอกเหล็กตอกลงไปในหลุมอย่างระมัดระวังในขณะเดียวกันควร ตรวจสอบระยะและ ดิ่งซึ่ งในเขตกรุ งเทพและปริ มณฑลต้องใส่ ปลอกเหล็กลึกประมาณ12-14 เมตร หลังจากนั้นใช้กระบะตักดินนาดินออกจากหลุมเจาะในขณะที่ตอกปลอกเหล็กต้องทาการตรวจสอบ แนวดิ่งและตาแหน่งตลอดเวลา


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กาษางก่:อสร้ วิทายาลั ง ยเทคนิคนครปฐม นครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

2.

การปรับสภาพก้ นหลุมเจาะ เมื่อเจาะถึงระดับที่ตอ้ งการแล้ว จึงเทคอนกรี ตที่มีส่วนผสมแห้ง (Dry Mix ) ลงก้นหลุมประมาณ 0.15-0.20 ลบ .ม ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของหลุมเจาะ กระทุง้ ด้วยลูกตุม้ ให้แน่น 3. การใส่ เหล็กเสริม นาเหล็กเสริ มตามตารางที่1 หรื อตามที่ วิศวกรออกแบบกาหนดผูกเตรี ยมไว้ เป็ นโครงแล้ วใส่ลง ในหลุมหากต้ องต่อเหล็กให้ ใช้ วิธีตอ่ ทาบ ควรให้ ได้ ระยะตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ด้ วยเหล็กเสริ มนี ้ต้ องใส่ ลูกปูนที่มีลกั ษณะกลมไว้ เป็ นระยะของเหล็กปลอก เพื่อช่วยประคองเหล็กยืนให้ ทรงตัวอยูใ่ นผนังรูเจาะ ในขณะใส่เหล็กเสริ มลงในหลุมเจาะต้ องระวังมิให้ เหล็กเสริ มหล่นลงไปในหลุมเจาะ โดยอาจใช้ ไม้ สอด ขัดไว้ ระหว่างเหล็กปลอก และว่างไว้ บนปลอกเหล็ก

4.การเทคอนกรีต การเทคอนกรี ตลงในหลุมเจาะผ่านทางกรวยที่มีเส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 6-8 นิ้ว ยาวประมาณ1 เมตรเพื่อช่วย ให้คอนกรี ตไหลลงสู่กน้ หลุมตรงๆไม่ปะทะผนังหลุมเจาะและ ช่วยลดการแยกตัวของคอนกรี ตได้แต่เนื่องจากเสาเข็มเจาะไม่ สามารถใช้เครื่ องเขย่าหรื อเครื่ องจี้ได้ จึงต้องใช้คอนกรี ตที่มี ความสามารถในการเทสูง ( Workability )และกาหนดค่ายุบตัว ของคอนกรี ต (Slump Test )อยูร่ ะหว่าง 12.5-15 ซ.ม.


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 3

หน้ าที่ 3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กางก่ ษาอ: สร้วิาทงยาลัยเทคนิคนครปฐม นครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

5.การถอนเหล็กปลอก เมื่อเทคอนกรี ตลงไปในหลุมจนถึงระดับคอนกรี ตสู งกว่าปลอกเหล็กท่อนล่างสุ ดประมาณ 34 เมตร จึงเริ่ มถอนปลอกเหล็กออกที่ละท่อน ขณะที่ถอนปลอกเหล็กต้องระวังให้ระดับคอนกรี ตอยู่ เหนือปลอกเหล็กตลอดเวลา เพื่อป้ องกันการพังทลายของดินหรื อน้ าเข้ามาในหลุมเจาะเมื่อคอนกรี ต ยุบตัวลงจึงเทคอนกรี ตเพิ่มจนได้ระดับที่ตอ้ งการส่ วนหัวเข็มควรเผือ่ ไว้สาหรับสกัดคอนกรี ตที่มีสิ่ง สกปรกออกประมาณ1 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเสาเข็มเจาะ การเจาะเสาเข็มหลายต้นพร้อมกัน แต่ละต้น ควรห่างกันมากกว่า 6 เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลางเสาเข็ม หรื อ ตามวิศวกรกาหนดความสามารถในการรับ น้ าหนักปลอดภัย(Safe Load) ของเสาเข็มขึ้นอยูก่ บั ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางเสาเข็ม ความยาวของ เสาเข็ม และคุณสมบัติดินที่รองรับ รายระเอียดแสดงในตารางที่2


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 3

หน้ าที่ 4

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กาษางก่:อสร้ วิทายาลั ง ยเทคนิคนครปฐม นครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก ( Wet Process or Slurry Method) เป็ นเสาเข็มเจาะที่มีขนาด ใหญ่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่0.50 เมตร ขึ้นไป ไม่จากัดความลึกของหลุมเจาะสาหรับอาคารขนาด ใหญ่อาจเลือกใช้ระดับความลึกประมาณ 40-50เมตรจากระดับพื้นดิน การป้ องกันการพังทลายใช้ เทคนิค การสร้างสภาพแวดล้อมของหลุมเจาะให้มีเสถียรภาพ โดยการใช้ของเหลวประเภท Bentonite Slurry ใส่ ลงในหลุมเจาะ และเทคอนกรี ตโดยวิธีการเทคอนกรี ตใต้น้ าผ่านท่อ Tremie Pipe เพื่อป้ องกัน มิให้คอนกรี ตเกิดการแยกตัว เมื่อไปผสมกับสารละลาย Bentonite โดยตรง

ขั้นตอนการทา เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก เสาเข็มเจาะระบบเปี ยก ( Wet Process or Slurry Method)มีข้ นั ตอนของการทางานเริ่ ม จาก กาหนดตาแหน่งเสาเข็ม กดปลอกเหล็กโดยใช้เครื่ องสั้นสะเทือน นาดินขึ้นจากหลุมเจาะ ใส่ สาน ละลาย Bentonite ใส่ เหล็กเสริ ม เทคอนกรี ตผ่านท่อ Tremie Pipe และถอนปลอกเหล็กขึ้นจากดินโดยมี รายละเอียดของขั้นตอนการทางานดังนี้ 1.การใส่ ปลอกเหล็ก เมื่อตรวจสอบตาแหน่งศูนย์กลางเสาเข็มเรี ยบร้อยแล้ว ใช้เครื่ องกดสั่นสะเทือน (Vibrohammer) กดปลอกเหล็กลงไปผ่านทะลุช้ นั ดินอ่อนลงถึงชั้นดินแข็งปานกลาง ในระหว่างกด ปลอกเหล็กต้องตรวจสอบแนวดิ่งโดยใช้ ลูกดิ่ง ระดับน้ าหรื อ กล้องทีโอโดไลท์


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 3

หน้ าที่ 5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กางก่ ษาอ: สร้วิาทงยาลัยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

2. การนาดินออกจากหลุม หลังจากกดปลอกเหล็กลงในตาแหน่งที่ตอ้ งการแล้วทาการเจาะดินภายในปลอกเหล็ก โดยใช้เครื่ องเจาะแบบดอกสว่าน หรื อถังหมุนตามความเหมาะสม หัวเจาะนี้สวมติดกับปลายก้านเจาะ บนรถเครน ความลึกของหลุม ขึ้นอยูก่ บั ความยาวก้านเจาะในการเจาะช่วงแรก ใช้หวั เจาะแบบดอก สว่านเจาะผ่านชั้นดินอ่อน จนกระทัง่ ใกล้ถึงชั้นดินปนทราย เป็ นการเจาะแบบแห้ง (Dry Process ) ทั้งนี้ เนื่องจากดินข้างหลุมเจาะเหนียวไม่พงั ทลายง่ายแต่เมื่อเจาะผ่านชั้นดินแข็งซึ่ งอยูต่ ่ากว่าระดับผิวดิน ประมาณ 20 เมตร ต้องใช้การเจาะระบบเปี ยก โดยเติมสารละลาย Bentonite ลงไปในหลุมเจาะให้สูง กว่าระดับ 2 เมตร จากปากหลุม

3.การใส่ เหล็กเสริม เมื่อเจาะถึงระดับความลึกที่ตอ้ งการแล้ว นากานเจาะ ขึ้นจากหลุม ในขณะที่ยงั มี สารละลาย Bentonite อยูเ่ ต็มหลุมเจาะใช้ลูกดิ่งตรวจสอบระดับความลึกที่แน่นอนและการพังทลายของ ผนังหลุมเจาะ หากพบว่ามีการพังทลายของผนังหลุงเจาะให้ใช้กระบะตักดินเพิ่มเติมจนแน่ใจว่าได้ระดับ ที่กาหนด และก้นหลุมสะอาดเพียงพอ จากนั้นนาเหล็กเสริ มที่ผกู ไว้แล้วมาใส่ ในหลุมเจาะ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กาษางก่:อสร้ วิทายาลั ง ยเทคนิคนครปฐม

สั ปดาห์ ที่ 3

หน้ าที่ 6

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัตเทคนิคสัตหี บ

4.การเทคอนกรีต ใช้เทคนิคการเทคอนกรี ตโดยวิธีการเทคอนกรี ตใต้น้ าผ่านท่อ Tremie Pipe การเท คอนกรี ตครั้งแรกต้องมีวสั ดุอุดปลายท่อ ได้แก่ โฟม โดยคอนกรี ตจะดันวัสดุอุดปลายท่อลงไปยังก้น หลุมและดันเศษตะกอนก้นหลุมให้ลอยตัวขึ้นมาก้นหลุมจึงมีแต่คอนกรี ตคุณภาพดี ขณะที่เทคอนกรี ต สารละลาย Bentonite และตะกอนก้นหลุมจะถูกดันขึ้นมาตลอดเวลา ต้องสู บสารละลาย Bentonite ซึ่ง ล้นออกมาจากหลุมไปเก็บเพื่อนากลับไปใช้ใหม่นอกจากนี้ควรเทคอนกรี ตให้สูงกว่าขนาดเสาเข็ม ประมาณ 1เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลางเข็ม

5. การถอนปลอกเหล็ก เมื่อคอนกรี ตจนถึงระดับที่ตอ้ งการแล้วต้องใช้เครื่ องสั่นสะเทือนดึงปลอกเหล็กออกทันที อนึ่งการเทคอนกรี ตต้องเทให้เสร็ จสิ้ นภายในวันนั้นห้ามทิง้ ข้ามวันเป็ นอันขาดเพราะรอยต่อคอนกรี ตที่ เกิดขึ้นทาให้คอนกรี ตไม่แข็งแรง การเจาะเสาเข็มต้นต่อไปซึ่ งอยูใ่ กล้กนั ควรมีระยะห่างมากกว่า 6 เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลางเสาเข็ม ต้องเจาะหลุมหลังจากต้นที่เทคอนกรี ตเสร็ จไม่ต่ากว่า 24 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 3

หน้ าที่ 7

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กางก่ ษาอ: สร้วิาทงยาลัยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

ความสามารถในการรับนา้ หนักปลอดภัยของเสาเข็มระบบเปี ยก ความสามารถในการรับน้ าหนักปลอดภัย(Safe Load) ของเสาเข็มระบบเปี ยกขึ้นอยูก่ บั ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็ม ความยาวของเสาเข็ม และคุณสมบัติช้ นั ดินที่รองรับ เป็ นสาคัญโดย แสดงรายระเอียดแสดงในตารางที่3

การประมาณความสามารถในการรับนา้ หนัก โดยหลักการทางวิศวกรรม ในการออกแบบเสาเข็มควรคานึงความสามารถในการรับ น้ าหนักตามคุณสมบัติทางกลศาสตร์ ของดินที่ก่อสร้าง ดังนั้นการเจาะสารวจดินจึงมีความสาคัญมาก โดยเฉพาะในอาคารสู งหรื ออาคารที่มีน้ าหนักบรรทุกมากๆ แต่ในบางครั้งอาจมีขอ้ จากัดให้ไม่ได้ทาการ สารวจชั้นดิน ความสามารถรับน้ าหนักของเสาเข็มเจาะ อาจประมาณการได้จากข้อมูลสารวจเดิมของ บริ เวณพื้นที่ใกล้เคียง


เนื้อหาการสอน

สั ปดาห์ ที่ 3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิ ชื่อสถานศึ ชา : ช่กางก่ ษาอ: สร้วิาทงยาลัยเทคนิคนครปฐม

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

หน้ าที่ 8

ข้ อดีของเสาเข็มเจาะ สามารถลดแรงสัน่ สะเทือน และเสี ยงรบกวนเนื่องจากการตอกเสาเข็ม สามารกเข้าไปทางานในที่ที่มีความสู งจากัดได้ สามารถเลือกความยาวได้ตามความต้องการ เพื่อให้เหมาะสมกับน้ าหนักบรรทุก ไม่จาเป็ นต้องออกแบบรับแรงดัดเนื่องจากการขนย้ายหรื อรับแรงกระแทกเนื่องจากการตอก สามารถตรวจสอบได้วา่ ชั้นดินที่ปลายเข็มอยูใ่ นชั้นดินแข็งแน่นอน เสาเข็มไม่แตกร้าวขณะทาการก่อสร้าง ไม่ทาให้ฐานราก หรื อโครงสร้างของอาคารข้างเคียงเสี ยหายเนื่องจากการไหลของดินอ่อน สามารถเพิ่มแรงต้านส่ วนปลาย เนื่องจากการตอกกระทุง้ ด้วยลูกตุม้ เหล็ก ช่วยแก้ปัญหาอาคารทรุ ดโดยไม่ตอ้ งรื้ อทาลายอาคารเดิม

ข้ อเสี ยของเสาเข็มเจาะ 1. ราคาแพงกว่าเสาเข็มตอก 2. ไม่สามารถหล่อเสาเข็มให้พน้ ระดับพื้นดินขึ้นมาได้ 3 . ไม่สามารถตรวจสอบคอนกรี ตที่เทลงในหลุมเจาะได้โดยทัว่ ถึง



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

ฐานราก (Footing) ฐานราก (Footing) ทาหน้าที่รับน้ าหนักจากโครงสร้างทั้งหมดแล้วถ่ายน้ าหนักลงสู่ เสาเข็มหรื อดินโดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานราก ควรมีความสามารถรองรับน้ าหนัก บรรทุกได้โดยไม่เกิดการเคลื่อนตัวหรื อพังทลายของดินใต้ฐานรากและต้องไม่เกิดการทรุ ดตัวลง มากจนก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่โครงสร้าง ปั จจัยที่มีผลต่อความมัน่ คงของฐานราก ได้แก่ 1. ความแข็งแรงของตัวฐานรากเอง ซึ่ งหมายถึง โครงสร้างส่ วนที่เป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2. ความสามารถในการแบกรับน้ าหนักของดินใต้ฐานราก 3. การทรุ ดตัวของดินใต้ฐานราก ควรเกิดขึ้นได้นอ้ ยและใกล้เคียงกันทุกฐานราก ฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิดคือ ฐานรากตื้นหรื อแบบไม่มีเสาเข็ม รองรับและฐานรากลึกหรื อแบบมีเสาเข็มรองรับ ฐานรากตืน้ ฐานรากตื้นหรื อแบบไม่มีเสาเข็มรองรับ หมายถึง ฐานรากซึ่ งลึกจากระดับผิวดิน( Z)น้อย กว่าหรื อเท่ากับด้านที่ส้ นั ที่สุด(B)ของฐานราก โดยฐานรากวางอยูบ่ นชั้นดินโดยตรง และไม่มีการ ตอกเสาเข็มเพื่อรองรับฐานราก ฐานรากแบบตื้นเหมาะกับสภาพพื้นดินที่มีความสามารถแบกรับ น้ าหนักบรรทุกได้สูง และกับสภาพพื้นดินที่ตอกเสาเข็มไม่ลงหรื อได้อย่างยากลาบาก เช่น พื้น ที่ดินลูกรัง พื้นที่ภูเขา ทะเลทราย ขนาดของฐานรากตื้น ขึ้นอยูน่ ้ าหนักบรรทุกจากอาคาร และความสามารถในการแบกรับ น้ าหนักบรรทุกหรื อหน่วยแรงแบกทานปลอดภัยของดินซึ่ งดินแต่ละชนิดจะมีความสามารถ แตกต่างกัน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

ขนาดของฐานรากสามารถคานวณได้จากสู ตร ดังนี้ ขนาดพื้นที่ฐานราก(ม2) = น้ าหนักบรรทุกจากอาคาร (กิโลกรัม ,ตัน) หน่วยแรงแบกทานปลอดภัยของดิน(กิโลกรัม ,ตัน/ต.ร.ม.)

ฐานรากลึก ฐานรากลึกหรื อฐานรากแบบมีเสาเข็ม หมายถึง ฐานรากที่ถ่ายน้ าหนักโครงสร้างลงสู่ ดิน ด้วยเสาเข็ม เนื่องจากชั้นดินที่รับน้ าหนักปลอดภัยอยูใ่ นระดับลึก เหมาะกับการก่อสร้างบนดิน อ่อน มีการออกแบบฐานรากให้มีขนาดเสาเข็มและความลึกให้มีลกั ษณะแตกต่างกัน เพื่อเพิม่ ความสามารถในการรับน้ าหนักและความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ประเภทของฐานราก ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก มีลกั ษณะของการก่อสร้างและความสามารถในการรับน้ าหนัก ที่มาบรรทุกได้แตกต่างกัน ซึ่ งแบ่งฐานรากตามลักษณะออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี้ 1. ฐานแผ่เดี่ยว(Spread Footing) 2.ฐานต่อเนื่องรับกาแพง (Continuous Footing) 3. ฐานแผ่ร่วม (Combined Footing) 4. ฐานชนิดมีคานรัด (Cantilever Footing) 5 . ฐานชนิดแผ่ (Mat or Raft Foundation)


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

1. ฐานแผ่เดี่ยว(Spread Footing) ฐานแผ่เดี่ยว หมายถึง ฐานรากที่รับน้ าหนักจากเสาอาคารเพียงต้นเดียว แล้วถ่ายน้ าหนักลงสู่ พื้นดิน ความหนาของตัวฐานต้องสามารถต้านทานโมเมนต์ดดั และแรงเฉื อนได้อย่างเพียงพอ รวมทั้งสามารถป้ องกันการกัดกร่ อนตัวเหล็กเสริ มเนื่องจากความชื้น ในบางครั้งวิศวกรอาจกาหนด ความหนาที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นหรื อ เอียงขึ้น (Slope) เพื่อต้านโมเมนต์ดดั และแรงเฉือนด้วย ดังรู ปที่ 2 ลักษณะของฐานแผ่เดี่ยวที่ดี ควรกาหนดให้ตาแหน่งของเสาตอม่อ อยูท่ ี่กลางฐานหรื อจุดศูนย์ถ่วงของฐาน (Central of Gravity) รู ปร่ างของฐานแผ่เดี่ยว นิยมออกแบบให้เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส หรื อรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ในบาง กรณี ที่ เสาอาคารไม่วางอยูบ่ นศูนย์กลางฐานราก เช่น ฐานรากที่อยูช่ ิดเขตที่ดิน ฐานแผ่เดี่ยวอาจ ถูกออกแบบให้เสาวางอยูด่ า้ นใดด้านหนึ่งของฐานราก เรี ยกว่าฐานรากตีนเป็ ด ทาให้เกิดแรง กระทาเยื้องศูนย์ แรงต้านทานของดินด้านข้างใต้ฐานรากกระจายไม่สม่าเสมอ และมักก่อให้เกิด

ปั ญหาฐานรากเอียงตัวในด้านตรงกันข้าม อาคารอาจทรุ ดได้ รู ปที่ 2 ฐานรากชนิดแผ่เดีย่ ว a)ฐานรากหนาเท่ากันตลอด b) ฐานเพิ่มความหนาเป็ นชั้น c) ฐานมีความหนาแบบลาดเอียง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

4

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

ในกรณี ที่อาคารเป็ นโครงเหล็ก และต้องการใช้คานเหล็กเป็ นฐานรากแทนการผูกเหล็ก ตะแกรง การออกแบบทาโดยวางคานเหล็กซ้อนกันเป็ นมุมฉาก 2 ชั้น ยึด ด้วยน๊อต (Bolt) หรื อ เชื่อม (Welding) และด้านบนมีฐานแผ่เหล็ก เพื่อเชื่อมหรื อยึดด้วยน๊อตเข้ากับเสาตอม่อ ดังรู ปที่ 3 ซึ่ งน้ าหนักจากเสาตอม่อจะถูกถ่ายลงสู่ คานเหล็กที่วางซ้อนกันเป็ นมุมฉากด้านล่าง ระยะ คอนกรี ตหุ ม้ เหล็กควรกาหนดระยะห่อหุ ม้ ต่าสุ ด 10 ซม. เพื่อป้ องกันความชื้น โครงสร้างแบบนี้ ไม่เป็ นที่นิยม เนื่องจากมีราคาค่อนข้างสู ง จะใช้ก็ต่อเมื่อกรณี ที่ใช้เสาตอม่อเหล็กที่รับน้ าหนัก มาก ๆ เพื่อถ่ายน้ าหนักจากเสาลงสู่ ฐาน

รู ปที่ 3 ฐานรากชนิดรองรับด้ วยโครงสร้ างเหล็ก


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

2.ฐานต่ อเนื่องรับกาแพง (Continuous Footing) ฐานต่อเนื่องรับกาแพง หมายถึง ฐานรากที่ทาหน้าที่รองรับน้ าหนักจากผนังก่ออิฐ หรื อ ผนังคอนกรี ตเสริ มเหล็กของอาคารหลาย ๆ ชั้น ขนาดความกว้างของฐานรากขึ้นอยูก่ บั น้ าหนักที่ กดลงสู่ ฐานราก ในบางครั้งวิศวกรอาจกาหนดความหนาที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นหรื อเอียงขึ้น เพื่อต้าน โมเมนต์ดดั และแรงเฉือน ทาให้ฐานมีความหนาแบบลาดเอียง

รู ปที่ 4 ฐานต่ อเนื่องรับกาแพง

3. ฐานแผ่ร่วม (Combined Footing) ฐานแผ่ร่วม เป็ นการออกแบบฐานรากเพื่อแก้ปัญหา กรณี ไม่สามารถสร้างฐานรากเดี่ยวที่ สมมาตรได้ ซึ่ งฐานรากที่ไม่สมมาตรนี้ เมื่อรับน้ าหนักที่ถ่ายลงบนฐานไม่เท่ากัน ทาให้เกิดแรง เยื้องศูนย์อาจทาให้อาคารทรุ ดได้ ดังนั้นฐานรากที่ออกแบบจึงมีลกั ษณะแผ่กว้างออกเพื่อรองรับ น้ าหนักจากเสาตอม่อมากกว่า 1 ต้น การออกแบบฐานแผ่ร่วมต้องกาหนดขนาดของฐานราก โดยเสาตอม่อต้นที่มีน้ าหนักมากต้องอยูบ่ นฐานรากที่มีขนาดพื้นที่มากกว่าเสาตอม่อต้นที่มีน้ าหนัก น้อยกว่า เพื่อกระจายน้ าหนักลงสู่ ดินให้สม่าเสมอกัน ฐานรากอาจมีลกั ษณะเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้า หรื อสี่ เหลี่ยมคางหมู ดังรู ปที่ 5 ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบของวิศวกร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

6

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

4. ฐานชนิดมีคานรัด (Cantilever Footing) ฐานชนิดมีคานรัด เป็ นการออกแบบฐานรากเพื่อแก้ปัญหา กรณี ไม่สามารถสร้างฐานรากที่ สมมาตรได้อีกวิธีหนึ่ง เหมาะกับเสาของอาคารที่มีความจาเป็ นต้องสร้างประชิดติดกับอาคารเดิม หรื อแนวเขตที่ดิน ไม่สามารถวางตาแหน่งของฐานให้ตรงกับแนวเสาตอม่อได้ ในกรณี น้ ีจึง ออกแบบให้มีคานคอนกรี ตแบกรับน้ าหนักจากเสาตอม่อ ซึ่ งน้ าหนักจากอาคารจะถูกถ่ายลงที่เสา ตอม่อ แล้วถ่ายน้ าหนักลงบนคาน ก่อนที่จะลงสู่ ฐานรากอีกทอดหนึ่ง ดังรู ปที่


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

7

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

5 . ฐานชนิดแผ่ (Mat or Raft Foundation) ในกรณี ที่เสาอาคารอยูใ่ กล้เคียงกันมาก หรื ออาคารมีน้ าหนักบรรทุกมาก เช่นอาคารสู ง ถ้า ออกแบบฐานรากเป็ นฐานเดี่ยว พื้นที่ฐานรากอาจซ้อนทับกัน ก่อสร้างยุง่ ยาก การออกแบบฐาน รากเป็ นฐานแผ่ ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็กแผ่เต็มพื้นที่อาคาร เสาตอม่อทุกต้นวางอยู่ บนฐานรากอันเดียวกัน ซึ่ งสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายลงมาก หากพื้นที่รวมกันของฐานเดี่ยวมี มากกว่า ¾ ของพื้นที่อาคารทั้งหมด การพิจารณาเลือกใช้ฐานชนิดแผ่จะต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ก่อน การเลือกชนิด ของฐานรากควรตัดสิ นใจตามรายละเอียดต่อไปนี้ 1. หากชั้นดินที่ก่อสร้างมีความสามารถในการแบกรับน้ าหนักได้ต่า การใช้เสาเข็มรองรับฐาน ราก มีค่าก่อสร้างต่ากว่าฐานรากตื้น 2. กรณี ของดินก่อสร้างเป็ นชั้นทราย และอาคารที่ก่อสร้างมีน้ าหนักไม่มากนัก สามารถใช้ เครื่ องสั่นสะเทือนกระแทกเพื่อให้ดินใต้ฐานรากให้จดั เรี ยงตัวแน่นมากขึ้น และใช้ฐานรากแบบ ตื้น ช่วยประหยัดค่าก่อสร้างลงได้ 3. เมื่อชั้นดินใต้ฐานรากเป็ นดินอ่อน ควรเลือกใช้เสาเข็มรองรับน้ าหนัก ในดินบางสภาพ ราคาค่าก่อสร้างถูกกว่าฐานรากชนิดแผ่แบบไม่มีเสาเข็ม ลักษณะของฐานแผ่ เนื่องจากฐานรากเป็ นต้นทุนการก่อสร้างที่ราคาสู ง และมีความสาคัญ อย่างยิง่ ต่อความแข็งแรงของอาคาร ดังนั้นในการออกแบบฐานรากเพื่อลดค่าก่อสร้าง โดย สามารถคงประสิ ทธิ ภาพในการรับน้ าหนัก ทาให้ฐานแผ่มีลกั ษณะและคุณสมบัติที่แตกต่างกันดัง รู ปที่ 7 a) ฐานแผ่แบน เป็ นฐานรากที่มีความหนาของฐานรากเท่ากันตลอดทั้งฐาน เหมาะ สาหรับการใช้งานที่รองรับโครงสร้างที่มีน้ าหนักมาก เช่น ฐานของถังน้ ามันอาคารสู ง การ ออกแบบฐานชนิดนี้ให้ประหยัดควรใช้ความหนาไม่เกิน 30 ซม. b) ฐานแผ่เสริ มความหนาใต้เสา เมื่อฐานแผ่ตอ้ งแบกรับน้ าหนักสู งมาก ส่ งผลให้ความหนา ตามรู ปแบบฐานแผ่แบนที่คานวณได้ไม่ประหยัด การออกแบบอาจเลือกใช้ฐานแผ่แบนเสริ มความ หนาใต้เสาโดยเสริ มความหนาเฉพาะบริ เวณหัวเสา เพื่อช่วยเพิ่มความต้านทานแรงเฉื อนทะลุที่ทา ให้เสาตอม่อทะลุฐานราก


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

8

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

c) ฐานแผ่ร่วมกับคาน เป็ นฐานรากอีกแบบหนึ่งที่ออกแบบมาเพื่อลดความหนาของฐาน รากแผ่แบน โดยการสร้างคานคอนกรี ตระหว่างเสาตอม่อรองรับฐานแผ่ d) ฐานแผ่เสริ มผนัง เป็ นฐานที่ออกแบบให้คานช่วยรับน้ าหนักอาคารเช่นเดียวกับฐานแผ่ ร่ วมกับคาน แต่ออกแบบให้คานคอนกรี ตระหว่างเสาตอม่ออยูด่ า้ นบนของฐานแผ่ e) ฐานแผ่แบบกล่อง ในกรณี ที่ฐานรากต้องแบกรับน้ าหนักมากและต้องออกแบบให้ความ หนาของฐานเกินกว่า 90 ซม. ทาให้ค่าก่อสร้างสู งมาก การใช้ฐานแผ่แบบกล่องเป็ นอีกทางเลือก หนึ่ง ฐานแผ่แบบกล่องมีลกั ษณะเป็ นคานคอนกรี ตอยูร่ ะหว่างฐานแผ่สองชั้น ทาให้ฐานรากมี ลักษณะเหมือนกล่องหรื อห้องภายในคาน ดังรู ปที่ 8 ซึ่ งหากเจาะทางเดินระหว่างห้อง เป็ นการ เพิ่มพื้นที่ใช้สอย เช่น ห้องเก็บของ ห้องทางาน เป็ นต้น นอกจากนี้ฐานแผ่แบบกล่องยังมีน้ าหนัก เบากว่าฐานแผ่ลกั ษณะอื่นที่รับน้ าหนักได้เท่ากัน ทาให้ช่วยลดการทรุ ดตัวได้

รู ปที่ 7 ลักษณะฐานแผ่ a)ฐานแผ่แบน b) ฐานแผ่เสริ มความหนาใต้เสา c) ฐานแผ่ร่วมกับคาน d) ฐานแผ่เสริ มผนัง e) ฐานแผ่แบบกล่อง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

9

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

รู ปที่ 8 ฐานแผ่แบบกล่ องและรายละเอียดของช่ องเปิ ด

การวางแบบฐานเสาตอม่ อ ก่อนที่จะมีการตั้งแบบเพื่อหล่อคอนกรี ตฐานเสาตอม่อก็ตอ้ งมีการเทคอนกรี ตหยาบและล้างผิว คอนกรี ตหยาบให้สะอาด ขึงเชือกเพื่อหาศูนย์กลางฐาน การทาแบบฐานเสาตอม่อโดยใช้ไม้แบบ หรื อไม้กระบาก



เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 5

หน้ าที่ 1

นางสาวสัพตรา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เสา ( Columns ) เสา(Columns)เป็ นโครงสร้างในแนวดิ่งที่ทาหน้าที่รับน้ าหนักตามแนวแกนตั้ง เช่น หลังคา พื้น อาคาร คาน แรงลมและแผ่นดินไหวแล้วถ่ายน้ าหนักโครงสร้างทั้งหมดลงสู่ฐานรากอีกทอดหนึ่ง โดยทัว่ ไปเสามีรูปร่ างหลายลักษณะขึ้นอยูก่ บั การออกแบบทางสถาปัตยกรรม การใช้สอยและ ค่าก่อสร้าง เช่น รู ปร่ างสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า เสากลม แปดเหลี่ยม หรื อรู ปร่ างพิเศษอื่นๆ หาก พิจารณาด้านค่าก่อสร้าง เสารู ปร่ างสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความประหยัดสูงสุด เมื่อเทียบราคากับเสารู ปร่ างอื่นๆที่ มีพ้นื ที่หน้าตัดเท่ากัน

การแบ่ งประเภทของเสาตามลักษณะของวัสดุ 1. เสาไม้ ( Timber Columns หรือ Wood Columns ) Timber Columns หรื อ Wood Columns เป็ นเสาไม้ที่ใช้ไม้เนื้อแข็งมาทาเป็ นโครงสร้างเสา โดยทัว่ ๆไปไม้ที่นิยมนามาใช้ ได้แก่ไม้ตะเคียนทอง เต็ง รัง มะค่าโมงขนาด 4 * 4 นิ้ว,5 * 5 นิ้ว , 6 * 6 นิ้ว, 8 * 8 นิ้วปัจจุบนั โครงสร้างเสาไม้ไม่ค่อยนิยมใช้เนื่องจากไม้ที่ใช้โครงสร้างเสาต้องใช้ไม้ขนาดใหญ่และ ยาวซึ่งเป็ นวัสดุหายากและราคาแพง ประเภทของเสาไม้ เสาไม้แบ่งเป็ น 3 ประเภทคือ เป็ นเสาตันธรรมดา ( simple solid column ) เสาอัดพุก ( spaced column)และเสาประกอบอื่นๆ(built-upcolumn) 1.1 เสาไม้ธรรมดา มักเป็ นเสากลม หรื อเสาเหลี่ยม ใช้อตั ราส่วนของความยาวต่อหน้าแคบเป็ น อัตราส่วนความเรี ยว ( slenderness ratio ) จากการทดสอบเสาไม้ที่มีอตั ราส่วนความเรี ยวต่าอาจหักเมื่อรับ แรงบีบแตก ( crushing ) หรื อแรงโก่งเดาะ ( buckling ) ก็ได้ แต่เมื่อมีอตั ราส่วนความเรี ยวสูง เสียหายได้จาก ทั้งแรงบีบแตกและแรงโก่งเดาะหรื อจากแรงโก่งเดาะเพียงอย่างเดียว


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 5

หน้ าที่ 2

นางสาวสัพตรา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

1.2 เสาไม้อดั พุ ใช้ไม้ 2 ท่อน หน้าตัดเท่ากัน ใช้พุก ( spacer blocks ) อัดยึดให้ทางานร่ วมกัน โดยยึดไว้ที่ปลาย และระหว่างความยาวท่อน ใช้เครื่ องยึดไม้ ( timber connectors ) เป็ นตัวยึด เสาไม้อดั พุกนี้ ใช้รับแรงกดโดยตรงก็ได้ ใช้เป็ นท่อนตั้ง ท่อนเอียงรับแรงอัดในคานโครง ( truss ) ก็ได้เป็ นตัวไม้ท่อนบน รับแรงอัด ( chord ) ก็ได้ อัตราส่วนความเรี ยวไม่ควรให้เกิน 80 ท่อน ไม่ใช้เป็ นพุกนี้ตอ้ งยาวขึ้นถ้าหนาน้อย กว่าตัวไม้ที่นามาใช้และไม่ควรหนาน้อยกว่าครึ่ งของไม้ที่จะยัด 1.3 เสาไม้ประกอบขึน้ บางครั้งจาเป็ นต้องเพิ่มความแข็งตัวของโครงรับแรงอัดเพื่อรับ แรงให้มากขึ้น และโดยใช้ขนาดหน้าไม้ที่หาได้ ตัวโครงรับแรงอัดนี้แม้ว่าจะเพิ่มความหนาหน้าไม้ข้ ึน แต่ก็ ยังเสียเนื้อที่เพราะต้องทาการบากต่อตอนปลายทั้งสอง และเพื่อให้ตวั ท่อนประกอบนี้ยงั มีแนวศูนย์กลาง ท่อนอยูใ่ นระนาบเดียวกับโครงต่อที่ประกอบ จึงควรใช้เสาประกอบขึ้นนี้มีหน้าตัดตัว " T " หรื อ "I" โดยใช้ ท่อนไม้อื่นเพิ่มยึดติดเข้ากับท่อนไม้ตวั แกน หน้าตัดประกอบอาจเป็ นรู ป "L" หรื อ " U " ก็ได้ ควรมีหน้าตัด สมดุลกันอย่างน้อยรอบแกนเอกที่วางตัวท่อนไม้ตวั แกน การยึดใช้เครื่ องยึด ใช้กาวอัดติด ใช้ตะปูตอกยึด โดยให้ท่อนไม้ที่ประกอบเพิ่มเข้าไปแอ่นโก่ง ในตัวแนวเดียวกับท่อนไม้ตวั แกน การจัดท่อนไม้เข้าร่ วมประกอบกันอาจทาได้โดยใช้ท่อนไม้บางตีปิดรอบ ท่อนไม้ตนั ( solid core ) ใช้ท่อนไม้บางอัดทางตั้งเรี ยงกัน มีท่อนบางปิ ดบนล่าง ( cover-plated ) หรื อ ประกอบเป็ นกล่อง ( box ) เสาไม้ประกอบกับวิธีน้ ีให้ความแข็งแรงได้มาก ชนิดประกอบเป็ นกล่อง อัตราส่วนความกว้างของเสาต่อความหนาของท่อนไม้บางไม่ควรเกิน 10


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 5

หน้ าที่ 3

นางสาวสัพตรา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. เสาเหล็กรูปพรรณ ( Steel Columns ) เป็ นเสาที่ใช้รูปพรรณหน้าตัดมาตรฐานหรื อเหล็กแผ่นมาประกอบเป็ นหน้าตัดเสาเพื่อรับ น้ าหนักและแรงต่างๆที่เกิดขึ้น เสาชนิดนี้มีน้ าหนักโครงสร้างโดยรวมน้อยกว่าเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กซึ่ง เป็ นจุดเด่นของเสาชนิดนี้ แต่มีขอ้ ด้อยคืออัตราการทนไฟของโครงสร้างเสาชนิดนี้มกั ใช้กบั โครงสร้างรับ หลังคาโครงเหล็ก เสาโรงงาน และเสาอาคารเหล็ก เราเรี ยกเสาที่ใช้รูปพรรณหน้าตัดมาตรฐานนี้ว่า เสาเหล็ก รู ปพรรณ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 5

หน้ าที่ 4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3. เสาประกอบ ( Composite Columns ) เป็ นเสาที่ประกอบขึ้นระหว่างวัสดุคอนกรี ตกับเหล็กรู ปพรรณและเหล็กเสริ มคอนกรี ต แบ่ง ออกได้เป็ น3แบบดังนี้ 3.1 เสาปลอกเกลียวเสริมแกนเหล็กรูปพรรณ เป็ นเสาปลอกเกลียวเสริ มแกนกลางด้วยเหล็กรู ปพรรณ ชนิดต่างๆและหุม้ รอบด้วยเหล็กเสริ ม เสาชนิดนี้สามารถลดขนาดหน้าตัดเสาได้ โดยใช้เหล็กรู ปพรรณที่ แกนกลางเป็ นตัวช่วยคอนกรี ตรับน้ าหนักและสามารถรับน้ าหนักได้มากกว่าเสาปลอกเกลียวทัว่ ๆไป 3.2 เสาเหล็กหุ้มด้ วยคอนกรีต เป็ นเสาปลอกเกลียวเสริ มแกนเหล็ก แต่เหล็กที่เป็ นแกนจะใช้เหล็กตัดขึ้น รู ปโดยการเชื่อม หรื อใช้หมุดย้า หน้าตัดเป็ นเฮช ( H ) ผิวด้วยตะแกรงเหล็กเพื่อช่วยเพิ่มการยึดเกาะ และเท คอนกรี ตกาลังสูหุม้ โดยรอบเพื่อช่วยเพิ่มการยึดเกาะ หรื อวัตถุประสงค์ในด้านการเพิ่มอัตราการทนไฟของ โครงสร้าง 3.3 เสาคอนกรีตหุ้มด้ วยท่ อเหล็ก เป็ นเสาที่รับน้ าหนักไม่มาก บางครั้งอาจใช้เป็ นเสาในการค้ ายันโครง หลังคาเหล็กหรื อเสาประดับโชว์เพื่อความสวยงาม เสาชนิดนี้ทาการก่อสร้างโดยไม่ตอ้ งใช้ไม้แบบในการ หล่อเสา ใช้ท่อเหล็กแบบหล่อคอนกรี ต


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 5

หน้ าที่ 5

นางสาวสัพตรา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4. เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เสา เป็ นองค์อาคารที่ทาหน้าที่ถ่ายเทน้ าหนักจากโครงสร้างสู่ฐานรากแบบหนึ่ง โดยปกติองค์ อาคารที่เรี ยกว่าเสา มีความยาวมากกว่า 4 เท่า ของส่วนที่มีความกว้างมากที่สุด รู ปร่ างของเสาอาจเป็ นรู ป อะไรก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั ความสวยงามตามความต้องการของสถาปนิกโดยทัว่ ๆไปแล้ว รู ปร่ างของเสาที่ประหยัด ที่สุดคือเสาที่มีรูปร่ างสมมาตร ( Symmertry ) ง่ายต่อการประกอบแบบก่อสร้าง เช่น รู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรื อ ผืนผ้า เสากลม และเสารู ปร่ างพิเศษอื่นๆจะแพงกว่าเสาสี่เหลี่ยมเพราะทาไม้แบบยาก ขนาดของเสาอาจถูกกาหนดขึ้นเพื่อให้เกิดความสวยงามและประหยัดมากกว่า จะถูกกาหนด ตามความต้องการในการรับน้ าหนักอย่างเดียว ในกรณี ที่เป็ นอาคารหลายชั้น และเสามีจานวนมาก หาก ออกแบบให้ขนาดเสาเทาๆกันจานวนมากก็จะทาให้ประหยัดไม้แบบและเวลาในการก่อสร้าง ทั้งนี้เป็ น เพราะผูท้ าการก่อสร้างสามารถจะเตรี ยมไม้แบบสาหรับเสาขนาดหนึ่งๆได้มาก และใช้ได้หลายครั้ง โดยไม่ ต้องทาไม้แบบใหม่หากเสาลดขนาดทุกๆชั้น ไม้แบบก็จะใช้ได้ช้นั เดียว และถ้าเสาในชั้นนั้นมีขนาดเดียวกัน จานวนน้อย การทาไม้แบบจานวนมากย่อมประหยัดค่าก่อสร้างและการทาไม้แบบจานวนน้อยใช้หมุนเวียน กันย่อมไม่ประหยัดเวลา อีกประการหนึ่ง การลดขนาดเสานั้นควรคานึงถึงเหล็กเสริ มที่ตอ้ งเสริ มเพิ่มเติมด้วย โดยปกติ คอนกรี ตมีความสามารถรับแรงอัดได้ดีอยูแ่ ล้ว และราคาของเหล็กกับคอนกรี ตที่มีปริ มาตรเท่ากัน ราคา เหล็กจะสูงกว่าคอนกรี ตมากดังนั้น จึงควรออกแบบให้มีอตั ราส่วนของเหล็กต่อคอนกรี ตน้อยที่สุด โดยไม่ น้อยกว่าค่าที่กาหนดใน Code เช่น 1% การใส่เหล็กให้มีจานวนน้อย ทาให้จดั เหล็กได้ง่ายโดยเฉพาะอย่างยิง่ ที่จุดตัดของคานกับเสา จะไม่ทาให้เหล็กแน่นเกินไป จนเทคอนกรี ตลาบาก ในอาคารทัว่ ๆไป ความสูง ของชั้นอาคารจะมีค่ามากกว่า 3 เมตร เมื่อหักความลึกของคานในแต่ละชั้นลงไปแล้ว ความสูงของเสาแต่ละ ชั้นจากพื้นถึงเท้า คานจะเกินกว่า 2.00 เมตร ซึ่งโดยปกติการเทคอนกรี ตตามมาตรฐานต่างๆมักไม่อนุญาต ให้เทคอนกรี ตความสูงเกินกว่า 2 เมตร การเทคอนกรี ตเสาจึงต้องเปิ ดหน้าต่างเทตามระยะความสูงที่อนุญาต ให้เทคอนกรี ตได้ หรื อกั้นไม้แบบให้สูงเพียง 2.00 เมตร แล้วเทคอนกรี ตก่อนแล้วจึงกั้นไม้แบบต่อไปซึ่งวิธี นี้จะทาให้เสียเวลา หากเสามีเหล็กแน่นมากจะทาให้การเทโดยเปิ ดหน้าต่างทายาก และอาจมีการแยกตัวของ คอนกรี ตได้มาก หากขนาดเสาใหญ่พอ และมีเหล็กเสริ มน้อยก็สามารถทาไม้แบบได้ทีเดียวถึงระดับความ สูงที่ตอ้ งการ และเปิ ดหน้าต่างเท และหากมีที่พอจะสอดกรวยผ้าใบลงกลางเหล็กเสาได้ก็จะทาให้เท คอนกรี ตได้ดีและสะดวกมาก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่ 5

หน้ าที่ 6

นางสาวสัพตรา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ประเภทของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ( Reinforced Concrete Columns )เป็ นเสาซึ่งทาจากคอนกรี ตเสริ มด้วยเหล็กเสริ ม ร่ วมกันรับแรงที่เกิดขึ้น เราเรี ยกเสาชนิดนี้ว่า เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก แบ่งเป็ น 2ชนิดดังต่อไปนี้ เสาปลอกเดี่ยว ( Tied Columns ) เป็ นเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กยืนโดยมีปลอกเสารัดเป็ นวงเป็ นช่วงๆตลอด ความยาวเสา เสาชนิดนี้นิยมใช้กบั โครงสร้างโดยทัว่ ไป เราเรี ยกเสาชนิดนี้ว่าเสาปลอกเดี่ยว เสาปลอกเกลียว ( Spiral Columns ) เป็ นเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กยืนมีปลอกเสาเป็ นเกลียวรัดต่อเนื่องกัน ตลอดความยาวเสา เสาชนิดนี้สามารถรับแรงได้ดีกว่าเสาปลอกเดี่ยวในขนาดหน้าตัดที่เท่ากัน นิยมใช้กบั เสา ที่มีหน้าตัดกลมและเสาเข็มเจาะ เราเรี ยกเสาชนิดนี้ว่า เสาปลอกเกลียว



เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ลักษณะของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เสา(Columns)เป็ นโครงสร้างในแนวดิ่งที่ทาหน้าที่รับน้ าหนักตามแนวแกนตั้ง เช่น หลังคา พื้น อาคาร คาน แรงลมและแผ่นดินไหวแล้วถ่ายน้ าหนักโครงสร้างทั้งหมดลงสู่ฐานรากอีกทอดหนึ่ง โดยทัว่ ไปเสามีรูปร่ างหลายลักษณะขึ้นอยูก่ บั การออกแบบทางสถาปัตยกรรม การใช้สอยและค่า ก่อสร้าง เช่น รู ปร่ างสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า เสากลม แปดเหลี่ยม หรื อรู ปร่ างพิเศษอื่นๆ หากพิจารณา ด้านค่าก่อสร้าง เสารู ปร่ างสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความประหยัดสูงสุด เมื่อเทียบราคากับเสารู ปร่ างอื่นๆที่มี พื้นที่หน้าตัดเท่ากัน การถ่ายน้ าหนักของโครงสร้าง แสดงดังรู ป โดยน้ าหนักเริ่ มถ่ายลงจากหลังคาหรื อดาดฟ้ าสู่เสาชั้น บนสุด ซึ่งมีค่าน้ าหนักน้อยเสาที่รองรับชั้นสองรับน้ าหนักจากเสาต้นบนสุด รวมกับน้ าหนักคานชั้นสอง และ เสาจะรับน้ าหนักเพิ่มมากขึ้น ตามจานวนชั้นที่เสารับน้ าหนักเพิ่มขึ้นในที่ดุดน้ าหนักทั้งหมดจะถูกถ่ายลงสู่ฐาน ราก

นา้ หนักที่ถ่ายลงโครงสร้ าง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

พฤติกรรมของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เสามีคุณสมบัติในการรับน้ าหนักในแนวดิ่งได้ดี เมื่อเสารับน้ าหนักจากแรงด้านข้างซึ่งถูกถ่ายจากพื้น อาคาร แรงลม หรื อแผ่นดินไหว ทาให้เกิดแรงอัด ในด้านที่รับน้ าหนัก ในขณะเดียวกันด้านตรงข้ามของเสาจะ เกิดแรงดึง ทาให้ตอ้ งมีการออกแบบขนาดเสา และปริ มาณการเสริ มเหล็กเพื่อรับแรงอัดและแรงดึงอย่างเพียงพอ คอนกรี ตมีคุณสมบัติในการรับแรงอัดได้ดี แต่รับแรงดึงน้อยมาก ดังนั้นในทางปฏิบตั ิจะไม่นาเสามา รับแรงดึง เหล็กแกนในเสาช่วยเพิ่มความสามารถในการรับแรงอัด แรงดึงและโมเมนต์ดดั ได้ดี นอกจากนี้การ เพิ่มจานวนเหล็กแกนเสา ทาให้สามารถลดขนาดพื้นที่หน้าตัดให้เล็กลงได้

พฤติกรรมของเสาเมือ่ รับนา้ หนัก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ความยาวของเสามีผลต่อการรับน้ าหนัก เสาที่มีความสูงมากหรื อมีรูปร่ างชะรู ดมาก หมายถึง สาที่ มีอตั ราส่วนความยาว ต่อระยะของด้านแคบของหน้าตัดเสาหรื อเส้นผ่าศูนย์กลางของเสากลม เมื่อเสายาวมีการ รับน้ าหนักเพิ่มมากขึ้น ที่หน้าเสาทั้งสองด้าน ในด้านที่ตรงข้ามจะมีท้งั แรงอัด และแรงดึงเกิดขึ้น ทาให้เกิดการ โก่ง และการโงตัวจะเพิ่มขึ้นตามน้ าหนักที่มากระทาเพิ่มขึ้น จนกระทั้งเกิดการวิบตั ิ ในลักษณะโก่งตัว แตกร้าว และหักในที่สุดสาหรับเสาที่มีลกั ษณะสั้น การวิบตั ิเกิดในลักษณะการยุบตัวลงมา เช่นเดียวกับการทดวอบลูก ปูนคอนกรี ตในห้องปฏิบตั ิการถ้าน้ าหนักที่กดลงบนเสาใม่เกินค่าที่คานวณไว้จะไม่เกิดการวิบตั ิท้งั สองลักษณะ จากการทดลองเมื่อเพิ่มน้ าหนักเสาเรื่ อยๆจนถึงจุดวิบตั ิ หากเสามีเพียงแต่เหล็กแกนไม่มีเหล็กปลอก รัด เสาเกิดการวิบตั ิในลักษณะแตกระเบิด ก่อนเกิดการโก่งตัว เมื่อเสามีเหล็กปลอกรัดเหล็กแกนเสา เหล็กช่วย ต้านทานการแตกของคอนกรี ตภายในได้ เสาไม่แตกระเบิด แต่ค่อยๆโก่งตัวจนกระทั้งเกิดการวิบตั ิในที่สุด ดังนั้นการใส่เหล็กปลอกจึงทาให้เสาสามารถรับน้ าหนักได้มากและมีความปลอดภัยมากขึ้น การเสริมเหล็กเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ข้ อกาหนดเหล็กแกนเสาตามมาตรฐาน ว.ส.ท. มีดงั นี้ - พื้นที่หน้าตัดของเหล็กแกนเสาต้องไม่นอ้ ยกว่า 1 % ไม่เกิน 8% ของพื้นที่หน้าตัด ขนาด ของเหล็กแกนเสาต้องไม่นอ้ ยกว่า 12 ม.ม. - ช่องว่างระหว่างเหล็กแกนเสาต้องไม่นอ้ ยกว่าค่าใดค่าหนึ่ง ดังนี้ 1.5 เท่า ของเส้นผ่าน ศูนย์กลางของเหล็กเสา หรื อ 1.5เท่า ของมวลหยาบใหญ่สุดหรื อ 4 ม.ม. - เมื่อต่อเหล็กโดยวิธีทาบ ความยาวที่ทาบต้องมีค่าดังต่อไปนี้ สาหรับเหล็กข้ออ้อย ถ้าคอนกรี ตมีกาลังอัดมากกว่า 200 กก/ซม.2 ระยะทาบของเหล็กข้อ อ้อยต้องไม่นอ้ ยกว่า 20 24 และ 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กที่มีกาลังครากเท่ากับ 3,500 กก./ซม2 ลงไป 4,200 และ 5,200 กก./ ซม2 ตามลาดับและต้องไม่นอ้ ยกว่า 30 ซม.ถ้า กาลังอัดของคอนกรี ตมีค่าต่ากว่า 200 กก./ซม2.ต้องเพิ่มระยะทาบอีกหนึ่งในสามของข้างบนนี้ สาหรับเหล็กเส้นผิวเรี ยบ ระยะทาบอย่างน้อยต้องเป็ นสองเท่าของค่าที่กาหนดไว้สาหรับ เหล็กข้ออ้อย


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

4

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

- อาจใช้การต่อโดยวิธีเชื่อม หรื อการต่อยึดปลายแบบอื่นๆ แทนการต่อโดยวิธีทาบกันได้ และ ถ้าหากขนาดเหล็กเส้นโตกว่า 25 ม.ม. แล้ว ควรจะต่อโดยวิธีเชื่อม หรื อการต่อยึดปลายแบบอื่นๆ มากกว่า สาหรัฃบเหล็กเส้นที่รับแรงอัดแต่อย่างเดียวอาจถ่ายแรงได้ดว้ ยการยันของหน้าตัดของปลายทั้ง สองในลักษณะร่ วมศูนย์ และยึดด้วยปลายยึดแบบอื่นๆก็ได้ การต่อโดยวิธีเชื่อมที่ถกู ต้อง ต้องให้รอยเชื่อม สามารถรับแรงดึงได้อย่างน้อยร้อยละ 125 ของกาลังครากของเหล็ก และไม่ควรต่อเหล็กที่ตาแหน่ง เดียวกันเกิน 25 % - เมื่อเหล็กเสริ มติดเยื้องกันที่รอยต่อความลาดเอียงของเหล็กส่วนที่ตดั เยื้อง เมื่อเทียบกับแกน ต้องไม่เกิน 1 ต่อ 6 การลดปริมาณเหล็กแกนเสา การกาหนดให้เสามีขนาดเท่ากันตลอดทั้งอาคาร แต่ลดจานวนของเหล็กแกนเสาในแต่ละชั้น ลง นิยมใช้กบั อาคารสูง ตามมาตรฐาน ว .ส.ท. กาหนดพื้นที่หน้าตัดของเหล็กแกนเสา สาหรับเสาต้อง ไม่นอ้ ยกว่า 1 % และไม่เกิน 8 % ของพื้นที่หน้าตัดของเสา เช่น เสาขนาด 30 x 30 ซม. พื้นที่หน้าตัดของเหล็กแกนเสาสาหรับเสาที่นอ้ ยที่สุดคือ 30 x 30 x (1/100) = 9 ตร.ซม. และพื้นที่เหล็กแกนเสามากที่สุดเท่ากับ 30 x 30 x (8/100) = 72 ตร.ซม. นอกจากวิธีลดจานวนเหล็กแกนเสาชั้นบนลงแล้ว ถ้าขนาดเสาเท่ากันทุกขั้นสามารถประหยัด ราคาแบบหล่อลงได้ เพราะผูก้ ่อสร้างเตรี ยมแบบหล่อ เพียงขนาดเดียว โดยเฉพาะหากเลือกใช้แบบเหล็กที่ มีจานวนการใช้งานซ้ าสูง หลักการพิจารณาในการกาหนดขนาดเสา 4 ทางเลือก ดังนี้ 1. ขนาดของเสาหากเพิ่ม-ลด ขนาดจากชั้นสู่ช้นั แบบหล่อเสาจะมีขนาดเพิ่มสูงขึ้นหรื อ 2. กาหนดขนาดเสาให้เสากันตลอดแล้วลดจานวนเหล็กแกนเสาลงหรื อ 3. เพิม่ กาลังอัดคอนกรี ตให้สูงขึ้นหรื อ 4. ผสมผสานทุกๆทางเลือก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เหล็กปลอกเสา เหล็กปลอกเสาที่รัดรอบเหล็กแกนเสา แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด ได้แก่เหล็กปลอกเดี่ยว และ เหล็กปลอกเกลียว โดยเหล็กปลอกเกลียวนิยมใช้กบั เหล็กที่มีรูปร่ างกลม จากการทดลองเสาปลอกเดี่ยว และเสาปลอกเกลียว พบว่าเมื่อเสารับน้ าหนักเพิ่มมากขึ้น เสาปลอกเกลียวสามารถรับน้ าหนักมากกว่าเสา ปลอกเดี่ยว เนื่องจากเหล็กปลอกเกลียวที่พนั โดยรอบช่วยต้านทานการแตกของคอนกรี ตภายในได้มากกว่า เหล็กปลอกเดี่ยว

เสาปลอกเดี่ยวและเสาปลอกเกลียว a)เสาปลอกเดี่ยว b)เสาปลอกเกลียว

เหล็กปลอกเกลียวชนิดต่างๆ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

6

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ระยะห่างของเหล็กปลอกเสา (S) ควรทาตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. หรื อ ACI แต่สาหรับเหล็ก ปลอกท่อนแรกเหนือฐานรากหรื อแผ่นพื้น และท่อนสุดท้ายใต้แผ่นพื้นหรื อแป้ นหัวเสาลงมา ควรน้อยกว่า ครึ่ งหนึ่ง ของระยะห่างของเหล็กปลอก (S/2) สาหรับเสาต้นที่มีคานพาดผ่าน 4 ทิศเหล็กปลอกท่อน สุดท้ายต้องห่างจากท้องคานไม่เกิน 3 นิ้ว(7.5 ซม) ดังรู ป

รายละเอียดเหล็กปลอกเสาที่คานและพืน้


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

7

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ข้ อกาหนดเหล็กปลอกเสาตามมาตรฐาน ว.ส.ท. - เหล็กปลอกเดี่ยว เหล็กแกนเสาทุกเส้น ต้องมีเหล็กปลอก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต้อง ไม่เล็กกว่า 6 ม.ม. พันโดยรอบ โดยมีระยะเรี ยงของเหล็กปลอก (S) ไม่ห่างกว่า ก. 16 เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสา หรื อ ข. 48 เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กปลอก หรื อ ค. มิติที่เล็กที่สุดของเสานั้น ง. ไม่เกิน 30 ซม. และต้องจัดให้มมุ ของเหล็กปลอกยึดเหล็กแกนเสาตามมุมทุกมุม - เหล็กปลอกเกลียว ต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 6 ม .ม. พันต่อเนื่อง สม่าเสมอระยะเรี ยงศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเหล็กปลอกเกลียว (S) ต้องไม่เกิน ก. 1/6 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนคอนกรี ต หรื อ ข. ไม่ห่างกว่า 7 ซม. หรื อ ค. ไม่แคบกว่า 3 ซม. หรื อ ง. ไม่แคบกว่า 1.5 เท่าของขนาดของมวลรวมหยาบที่ใช้ - การใส่เหล็กปลอกเกลียว ต้องพันตลอดตั้งแต่ระดับพื้นหรื อส่วนบนสุดของฐานรากขึ้น ไปถึง ระดับเหล็กเสริ มเส้นล่างสุดของชั้นเหนือกว่า เช่น ในแผ่นพื้นในแป้ นหัว เสา หรื อในคาน ในเสาที่มีหวั เสา ต้องพันเหล็กปลอกเกลียวขึ้นไปจนถึงระดับที่หวั เสาขยายเส้นผ่าศูนย์กลาง หรื อ ความกว้างโตเป็ นสองเท่าของขนาดเสา - สาหรับเหล็กปลอกเกลียว หรื อเหล็กปลอกเดี่ยว ต้องมีความหนาของคอนกรี ตหุม้ ซึง หล่อเป็ นเนื้อเดียวกันไม่นอ้ ยกว่า 3 ซม. หรื อ 1.5 เท่า ของขนาดมวลใหญ่สุด - ในเสาปลอกเดี่ยว ปริ มาณของเหล็กที่ต่อทาบกัน ต้องมีอตั ราส่วนพื้นที่หน้าตัดของ เหล็กต่อคอนกรี ตไม่เกิน 0.04 ในความยาว 1 เมตร ของเสา ไม่ว่าจะเป็ นช่วงใด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

8

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การเสริมเหล็กแกนเสาตามมาตรฐาน ACI CODE ตามมาตรฐานนี้ ได้กาหนดการให้ รายละเอียด ระยะห่าง ระยะทาบ ขนาดเหล็กปลอก เสา การมัดรวมเหล็กแกนเสา รวมถึงความหนาคอนกรี ตหุม้ เหล็กเสริ ม โดยตรง ใช้ความหนา 7.5 ซม . ดังแสดงไว้ดงั รู ป

การจัดระยะเหล็กปลอกเสาตามมาตรฐาน ACI CODE หมายเหตุ 1. ต้องผูกเหล็กตามเส้นประ เมื่อระยะ X มากกว่า 15 ซม. 2. ไม่ตอ้ งผูกเหล็กปลอก ถ้าระยะ X น้อยกว่าหรื อเท่าหับ 15 ซม. 3. ใช้กบั เหล็กแนวตั้งทุกเส้น


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

9

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างมาตรฐานเหล็กปลอกเสา ACI CODE หมายเหตุ 1. ตาแหน่งที่ควรเกี่ยวเหล็กปลอก 2. เหล็กปลอก 2 ชั้นขึ้นไป ต้องใช้เหล็กข้ออ้อยเท่านั้น ขนาดเทียบเท่า # 5 ตาม มาตรฐานอเมริ กา DB เส้นผ่าศูนย์กลาง0.625 ตร. ซม. และระยะทาบต้องไม่นอ้ ยกว่า 30 ซม. 3. “B” คือ เหล็กแกนเสาที่มดั รวมเข้าด้วยกัน ต้องไม่เกิน 4 เส้น 4. ไม่ตอ้ งผูกเหล็กเสากลาง(กลุ่ม 3 เส้น )เข้ากับเหล็กปลอกได้ หากระยะห่างเหล็ก ไม่เกิน 15 ซม.


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

10

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างการเสริมเหล็กเสารูปทรงสี่เหลีย่ ม


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

11

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างการเสริมเหล็กเสารูปทรงสี่เหลีย่ ม


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

12

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การต่อเหล็กแกนเสา การต่อเหล็กแกนเสาสามารถทาได้ 3 วิธี คือ ต่อด้วยวิธีต่อทาบหรื อดุง้ เหล็ก ต่อด้วยวิธีการ เชื่อม และต่อด้วยวิธีทางกล ดังรายละเอียดดังนี้ 1. การต่ อเหล็กแกนเสาด้ วยวิธีทาบหรือดุ้งเหล็ก การต่อเหล็กตามมารถฐาน ว .ส.ท. ใน รอยต่อแบบทาบระยะทาบต้องไม่นอ้ ยกว่า 48 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กกลมธรรมดา และ 36 เท่า ของเหล็กข้ออ้อย สาหรับการดุง้ เหล็กเสา ความลาดเอียงของเหล็กส่วนที่ดดั เยื้อง เมื่อเทียบกับเหล็กแกน เสาต้องไม่เกิน 1 ต่อ 6 ดังรู ป โดยทัว่ ไปการต่อทาบเหล็กแกนเสาโดยวิธีต่อทาบหรื อดุง้ เหล็กทาได้ 3 แบบคือ 1.1 ตาแหน่งดุง้ เหล็กผ่านคานหรื อแผ่นพื้น การดุง้ เหล็กที่จุด X ควรต่ากว่าพื้น 5 ซม. และจุด Y สาหรับภายในคาน ควรสูงกว่าท้องคานขึ้นมา 5 ซม. 1.2 ตาแหน่งดุง้ เหล็กในเสา เหล็กเส้นตามหมายเลข (1) ผ่านคานขึ้นมาต่อทาบกับ เหล็กหมายเลข (2) บนพื้น 1.3 ต่อทาบด้วยเหล็กตรง คล้ายกับการต่อด้วยแบบที่ 1.2 ใช้สาหรับต่อทาบผนัง และ เสารู ปทรงแคบหรื อแบน

การต่อเหล็กแกนเสาด้ วยวิธีต่อทาบหรือดุ้งเหล็ก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

13

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เสาที่มกี ารลดขนาดลง สาหรับส่วนที่ลดลงไม่เกิน 3 นิ้ว (7.5 ซม .) การต่อเหล็กแกนเสา สามารถเลือกได้ 3 แบบ โดยเหล็กแกนเสาที่นามาต่อทาบ แต่ควรเสริ มด้วยเหล็กเดือย หรื อเหล็กสมอ (Dowel Bars)ต่อทาบกับเหล็กแกนเสาท่อนบน ดังแสดงในรู ป

การต่อเหล็กแกนของเสาที่ลดขนาดลง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

14

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. การต่อเหล็กแกนเสาด้ วยวิธีการเชื่อม การต่อจากการเชื่อมถือว่าเป็ นจุดอ่อนที่ตอ้ งระวังจะต้อง ให้กาลังของรอยเชื่อมมีความแข็งแรงสามารถรับแรงได้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 125 ของกาลังครากของเหล็ก เสริ มนั้น 3. การต่อเหล็กแกนเสาโดยวิธีทางกล โดยการทาปลายเหล็กแกนเสาให้เป็ นเกลียว แล้วประกบต่อ กันด้วยข้อต่อเกลียว ดังแสดงในรู ป เป็ นการต่อที่มีความแข็งแรงและมีประสิทธิภาพมาก เพราะทาให้ เหล็กแกนเสาต่อเนื่องเป็ นเส้นเดียวกันตลอดทั้งเสา วิธีการนี้เหมาะสาหรับงานก่อสร้างที่ตอ้ งการ คุณภาพสูง เช่น งานก่อสร้างอาคารสูง

การต่อเหล็กด้ วยวิธีทางกล


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

15

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การมัดรวมเหล็กแกนเสา ในงานก่อสร้างขนาดใหญ่ มักก่อให้เกิดปัญหา เหล็กแน่นเกินไป กีดขวางการเทคอนกรี ต และการเทคอนกรี ตให้แน่น การมัดรวมเหล็กแกนเสาเข้าด้วยกัน ช่วยลดความแออัดของเหล็ก และช่วย เพิ่มช่องว่างระหว่างเหล็กแกนเสา สาหรับการเทคอนกรี ต การมัดรวมแกนเสาสามารถมัดรวมกันได้ไม่ เกิน 4 เส้นดังแสดงในรู ป

การมัดรวมเหล็กแกนเข้ าด้ วยกัน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

16

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เทคนิคการเทคอนกรีตเสา 1. ตรวจสอบความถูกต้องของแบบหล่อเสา เหล็กเส้นตามแบบก่อสร้าง รอยต่อของ เหล็กแกนเสา ค้ ายัน ดิ่งตรวจตาแหน่งศูนย์กลางเสา และความสูงของคอนกรี ตที่จะเท ให้เรี ยบร้อย 2. ราดน้ าแบบหล่อให้ชุ่ม เพื่อลดอุณหภูมิและการดูดน้ าจากคอนกรี ต 3. เทปูนทราย (ปูนซีเมนต์ผสมกับทราย) ลงไปจานวนก่อน เพื่อเคลือบผิวแบบหล่อและ เหล็กเสริ ม 4. สาหรับที่เสาทีความสูงเกิน 2 เมตร การเทคอนกรี ตเสาควรเปิ ดด้านข้างเท เพื่อ ป้ องกันการแยกตัวหรื ออาจใช้ท่อเทช่วย 5. หยุดเทคอนกรี ตที่ระดับต่ากว่าท้องคานประมาณ 2.5 ซม. เพื่อสะดวกต่อการวางแบบ ท้องคาน และมีพ้นื ที่ทาความสะอาดท้องคาน



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

คาน ( Beam ) คานเป็ นองค์อาคารซึ่งโดยปกติจะอยูใ่ นแนวราบ หรื ออาจจะเอียงทามุมกับแนวราบ เช่น คาน หลังคา ( roof beams) เป็ นต้น ทั้งนี้ตามแต่ลกั ษณะของการใช้งานคานทาหน้าที่รับน้ าหนักซึ่งส่งถ่ายมาจาก พื้น ( Slabs ) หรื อผนัง ( partitions ) หรื อกาแพง ( walls) ซึ่งวางอยูบ่ นคานนั้น แล้วส่งถ่ายน้ าหนักต่อไปยังที่ รองรับเช่นคานหลัก ( girders ) ก่อน หรื อโครงสร้างไปยังเสา ( columns ) อีกต่อหนึ่งน้ าหนักที่กระทาบน คานจะทาให้เกิดแรงดัด ( bending ) และแรงเฉือน ( shear ) ในตัวคาน ในกรณี ที่น้ าหนักที่กระทาบนคานมี ลักษณะไม่สมดุลในแนวที่ต้งั ฉากกับแนวงแกนของคานก็จะทาให้เกิดแรงบิด ( torsion ) เพิ่มเติมขึ้นมาในตัว คานอีกแรงหนึ่ง เช่น คานรับพื้นกันสาดหรื อคานขอบนอก( spandrels)เป็ นต้น ในคานต่อเนื่อง ( continuous beam ) เมื่อน้ าหนักบรรทุกทาให้เกิดแรงดัดในตัวคาน ส่วนบนที่ บริ เวณกลางคานจะเกดแรงอัด ( compression ) และส่วนล่างที่บริ เวณกลางคานจะเกิดแรงดึง ( tension ) ขึ้น และจะเกิดแรงในลักษณะกลับกันที่จุดคานวางบนที่รองรับ

การแบ่ งประเภทของคานตามลักษณะของวัสดุ 1. คานไม้ ( Wood Beam ) โครงสร้างซึ่งมีช่วงไม่กว้างมากและมีระยะห่างระหว่างตัวพาดไม่มากนัก มีน้ าหนักบรรทุกน้อย ใช้โครงสร้างไม้แบบคานพาดเสาได้อย่างประหยัด เมื่อช่วงกว้างมากจนหาขนาดหาไม้มาใช้ยากจึงควรใช้ โครงสร้างไม้แบบอัดกาวหรื อเป็ นคานโครง(truss) คานไม้ ตงไม้ คานไม้เอก เมื่อพิจาณาหน้าที่ในการเป็ นโครงสร้างแล้วทาหน้าที่รับแรงทานอง เดียวกัน มีขอ้ แตกต่างคือ ตงไม้ใช้วางห่างไม่เกิน 0.60 ม. และทาหน้าที่รับพื้น หรื อพื้นไม้รองเครื่ องหลังคา คาน และคานเอก วางห่างกันมากกว่า และรับพื้นซึ่งหนักกว่า หรื อรับโครงหลังคา ตงพาดบนกาแพง โครง ต่อ หรื อคานเอก คานเอกพาดบนกาแพงหรื อเสา และคานเอกนี้ใช้รองรับตงหรื อคานได้ พวกคานนี้หน้าตัด เป็ นสี่เหลี่ยมผืนผ้า กาลังขึ้นอยูก่ บั ความลึก ในการจะพาดช่วงกว้างมาๆการแอ่นตัว


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ของคานไม่ควรให้มากกว่า 1/360 ของช่วงที่พาดเมื่อมีการฉาบปูนใต้ฝ้าเพดาน และไม่ควรมากกว่า 1/ 240 ของช่วง เมื่อไม่มีฝาเพดาน Timber Beams หรื อ Wood Beams เป็ นคานไม้ที่ใช้ไม้เนื้อแข็งมาทาเป็ น โครงสร้างคาน โดยทัว่ ไปจะนิยมใช้ไม้ ขนาด 1 * 5 นิ้ว , 1 * 6 นิ้ว, 2 * 8 นิ้ว , 2 * 10 นิ้วและ 2 * 12 นิ้ว ปัจจุบนั โครงสร้างคานไม้ไม่ค่อยนิยมใช้ เนื่องจากไม้มีความคงทนน้อยและเป็ นวัสดุที่หายากและราคาแพง ขนาดของคานไม้ที่นิยมใช้ตามช่วงกว้างและช่วงยาวของคาน

ประเภทของคานไม้ 1.1 คานบากลดความลึกปลาย ( notched beams ) การลดความลึกของคานและตงที่ปลาย จุดประสงค์ เพื่อให้ลดระดับพื้นลง ลดความสูงของอาคารลง คานชนิดนี้จะลดกาลังความแข็งแรงลง แล้วแต่รูปร่ างการ บากปลายคาน 1.2 คานยืน่ แขวนระหว่างช่ วงพาด ( cantilered and suspendedspan beams ) เมื่ออาคารมีช่วงมาก ต่อเนื่องกันหลายช่วง ถ้าใช้คานยืน่ และคานพาดแขวนร่ วมกันระหว่างช่วง จะทาให้ลดค่าแรงดัดจากการ บรรทุกน้ าหนักแผ่สม่าเสมอลงได้ถึง 1/2-2/3 จากวิธีใช้คานพาดช่วงธรรมดา ทาให้สามารถทาช่วงคานได้ กว้างมากขึ้นหรื อบรรทุกน้ าหนักได้มากขึ้น โดยใช้หน้าไม้ขนาดเดิม ใช้ไม้กาวติดแน่นยิง่ ดีเพราะทาให้หน้า ลึกได้มากและช่วงยาวได้มากการยืน่ และการแขวนใช้ร่วมกันได้ต่างๆ วิธี อาจมีท้งั ยืน่ 2 ข้างก็ได้ แขวน 2 ข้าง หรื อแขวนข้างเดียวก็ได้ เพื่อให้ประหยัดดี ควรคานึงถึงแรงดัดลบเกิดตรงเสาให้มีเสาขนาดไล่เลี่ยกับแรง ดัดบวกเกิดในช่วง ถ้าบรรทุกน้ าหนักแผ่สม่าเสมอแล้ว แรงดัดลบตรงเสาของคานยืน่ ข้างเดียวควรเท่ากับ wl2/ 11.65 และแรงดัดลบตรงเสาของคานยืน่ 2ข้าง ควรเท่ากับ wl2/ 16 เมื่อ l คือช่วงเสา w คือน้ าหนักแผ่ สม่าเสมอต่อ1ม. รอยต่อตรงคานพาดแขวน ทาได้หลายวิธี การบากคานต้องวางให้ถกู อย่ากลับบนเป็ นล่างมิฉะนั้นจะรับแรง เฉือนแนวนอนไม่อยู่ ต้องจัดเตรี ยมให้มีท้งั ตัวรับแนวดิ่ง และมีท้งั ตัวยึดแนวนอนเช่นเหล็กสาแหรกใช้รับ คานปลายฉากได้โดยไม่ตอ้ งทาการบาก 1.3 คานประกอบแนบทางตั้ง ( flitch beams ) ใช้ไม้คานวางแนบกันทางตั้ง มีแผ่นเหล็กสอดคล้องอยูก่ ลาง ที่ใช้คือเมื่อต้องการเสริ มซ่อมความแข็งแรงคานเดิมให้รับน้ าหนักได้มากขึ้น การยึดใช้โบลท์และตะปูควงอยู่ เพื่อกันการโก่งเดาะที่ตวั แผ่นเหล็ก


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

3

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

1.4 คานประกอบแนบทางนอน ( horizontally laminated beams ) ชนิดมาตรฐานใช้แผ่นไม้ตีเอียง ยึด อยูข่ า้ งคาน 2-3 หรื อ 4 ตัว ซึ่งวางแนบกันทางนอนและแผ่นไม้เอียงนี้ทกั เอียง 450 ตีให้เอียงย้อนทิศกันอยู่ คนละข้างใช้ตีชนกันตลอดความยาว การยึดไม้แผ่นนี้คานึงถึงการตอกยึดให้แน่นในแนวส่วนที่รับแรงดึง ของคานเป็ นสาคัญ คานชนิดนี้อาจใช้ประกอบแนบโดยบากร่ อง โดยทะลุตรงด้านนอนที่ประกับกันลึก ครึ่ งต่อครึ่ ง แล้วตอกเดือยสอยเพื่อให้ถ่ายทอดแรงเฉือนแนวนอนได้ มีโบลท์ยดึ ทะลุทางดิ่งกลางศูนย์คาน เดือยทาทานองลิ่มเอียงตอกเข้ามาคนละข้างจนแน่นสนิทกับร่ องที่เตรี ยมไว้ก็ได้ คานชนิดนี้แรกเรี ยกว่า คานตีฝาประกับ ( sheathed beam ) และคานชนิดหลังเรี ยกว่าคานยึดลิ่ม(keyedbeam) 1.5 คานโครง ( trussed beam ) คานโครงใช้ได้ประหยัด เมื่อช่วงยาวและน้ าหนักบรรทุกมาก และมี ความสูงพอทาได้ เมื่อความสูงของห้องมีจากัด ใช้คานโครงแบบ king post แต่วางหงาย โดยใช้เฉพาะ ท่อนเอียงเป็ นเหล็ก นอกนั้นเป็ นไม้ก็ได้ นอกจากนี้โครงรู ป queen post ก็อาจวางหงายกลับก็ได้

2. คานประกอบ ( Composite Beams ) เป็ นคานที่ประกอบขึ้นจากคอนกรี ตผสมกับเหล็กรู ปพรรณชนิดต่างๆเพื่อให้วสั ดุท้งั สองชนิด ร่ วมกันรับน้ าหนักและแรงต่างๆที่เกิดขึ้น โดยคานชนิดนี้อาจใช้เหล็กตาข่ายหุม้ เหล็กรู ปพรรณเพื่อช่วยยึด เกาะก่อนเทคอนกรี ต หรื อใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการป้ องกันไฟ คานชนิดนี้มกั จะใช้กบั งานโครงสร้าง อาคารขนาดใหญ่ หรื ออาคารพิเศษต่างๆในอาคารทัว่ ๆไป ไปไม่ค่อยนิยมใช้กนั มากนัก เราเรี ยกคานชนิดนี้ ว่า คานหน้าตัดผสม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3. คานเหล็กรูปพรรณ ( Steel Beams ) เป็ นคานที่ใช้เหล็กรู ปพรรณหน้าตัดมาตรฐาน หรื อเหล็กตัดและประกอบเป็ นคานรู ปร่ างต่างๆ เพื่อรับน้ าหนักและแรงต่างๆที่เกิดขึ้น คานเหล็กจะมีน้ าหนักของโครงสร้างโดยรวมน้อยกว่าคานคอนกรี ต เสริ มเหล็ก สามารถก่อสร้างในช่วงความกว้างและช่วงความยาวของอาคารได้มาก และกรรมวิธีการ ก่อสร้างสามารถทาได้เร็ วกว่าคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก แต่มีขอ้ ด้อยกว่าคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กคือ อัตรา ทนไฟของโครงสร้างต่าและความแข็งแรงหรื อรับน้ าหนักบรรทุก คานชนิดนี้นิยมในโครงสร้างโรงงาน โครงอาคารเหล็ก สะพานเหล็ก และคานรับโครงหลังคา เราเรี ยกคานที่ใช้เหล็กรู ปพรรณหน้าตัดมาตรฐาน ว่า คานเหล็กรู ปพรรณ ส่วนคานเหล็กที่ใช้เหล็กแผ่นมาตัดและประกอบเป็ นคานเราเรี ยกว่า คานประกอบ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

5

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4.คานคอนกรีตเสริมเหล็ก Reinforced Concrete Beams เป็ นคานคอนกรี ตที่ใช้เหล็กเสริ ม เสริ มในตัวคาน โดย เหล็กเสริ มหลักในตัวคานจะช่วยรับแรงดึงและแรงอัด และเสริ มเหล็กปลอกเพื่อช่วยคอนกรี ตรับ แรงเฉือนส่วนเกินจากที่หน้าตัดคอนกรี ตสามารถรับได้ บางกรณี น้ าหนักที่กระทาบนคานมี ลักษณะไม่สมดุล ในแนวตั้งฉากกับแนวแกนคานก็ตอ้ งเสริ มเหล็กเพื่อช่วยรับแรงบิดที่เกิดขึ้น คาน ชนิดนี้นิยมใช้ในอาคารทัว่ ๆไปเราเรี ยกคานชนิดนี้ว่าคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 4.1 คานช่ วงเดียว ( Simple Beam ) ได้แก่ คานที่มีจุดรองรับ 2 ข้างที่ปลายคาน มีลกั ษณะการ เสริ มเหล็กตามพฤติกรรมของโครงสร้างเมื่อรับน้ าหนักบรรทุก กล่าวคือ เหล็กเสริ มหลักเป็ นเหล็ก ล่างตลอดความยาวของคาน เนื่องจากโมเมนต์ตดั ที่เกิดขึ้นจากน้ าหนักกระทาในแนวดิ่งเป็ น โมเมนต์บวกที่ทาให้ผวิ ล่างของคานเป็ นแรงดึงตลอดความยาวของคาน โดยปกติแล้วจะมีค่ามาก ที่สุดบริ เวณกลางคาน แต่อาจเปลี่ยนตาแหน่งบ้างเนื่องจากแรงที่กระทาเป็ นจุด โมเมนต์ตดั นี้จะมี ค่าน้อยลงจนถึงศูนย์ที่ปลายคน ฉะนั้นปริ มาณเหล็กเสริ มอาจลดจานวนลงได้บา้ งที่ปลายคาน โดย พิจารณาจาโมเมนต์ไดอะแกรม ทั้งนี้วิศวกรผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าหนดขนาดเหล็กตามรายละเอียด ในตารางรายละเอียด แต่ผเู้ ขียนแบบควรศึกษาข้อกาหนดต่างๆเพื่อประกอบการเขียนรู ปขยายได้ อย่างถูกต้อง 4.2 คานต่อเนื่อง ( Continuous Beam ) ได้แก่คาน คานที่มีช่วงเสาหรื อจุดรองรับต่อเนื่องกัน ตั้งแต่สองช่วงขึ้นไป เหล็กเสริ มหลักตามความยาวคานเป็ นเหล็กล่างบริ เวณกลางๆช่วงคานและ เป็ นเหล็กบนบริ เวณใกล้เสา เพราะโดยปกติแล้วกลางๆช่วงคานจะเป็ นโมเมนต์บวกที่ทาให้ผวิ ล่าง ของคานเป็ นแรงดึงและปลายคานเป็ นโมเมนต์ลบที่ทาให้ผวิ บนคานเป็ นแรงดึงในกรณี ที่เหล็กล่าง มีจานวนเกิน 2 เส้น มักจะนิยมดัดเหล็กเสริ มล่างขึ้นไปเป็ นเหล็กเสริ มบน เป็ นปริ มาณตาม ข้อกาหนดซึ่งจะกล่าวต่อไปและเรี ยกกันว่า เหล็กคอม้า เหล็กคอม้าจะถูกดัดจากเหล็กล่างเป็ นเหล็ก บนในตาแหน่งที่โมเมนต์เปลี่ยนจากบวกไปเป็ นลบ ส่วนเหล็กล่างที่เหลือก็จะปล่อยให้พาดเข้าไป ในเสา


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

6

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4.3 คานยืน่ ( Cantilever Beam ) ได้แก่ คานที่มีจุดรองรับข้างกนึ่ง ส่วนปลายอีกข้างหนึ่งที่ยนื่ ออกไปไม่มีจุดรองรับ เหล็กเสริ มหลักทางยาวจะต้องเป็ นเหล็กบน เนื่องจาก ผิวบนของคานเป็ น แรงดึงจากโมเมนต์ลบในคาน เหล็กเสริ มบนจะต้องฝังในคานช่วงในถัดเข้าไปจากเสาที่รับคานยืน่ นั้น หรื ออาจฝังลงไปในเสาถ้าไม่มีคานช่วงใน ความยาวของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งฝังในคานช่วงใน หรื อฝังในเสาจะต้องยาวเพียงอพที่จะไม่ทาให้หน่วยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นจริ งระหว่างเหล็กเสริ ม กับคอนกรี ตมากกว่าค่าหน่วยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมให้ตามข้อกาหนดมาตรฐาน



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

คานเสริมเหล็กคอนกรีต คาน ( Beam ) เป็ นโครงสร้างในแนวราบ ทาหน้าที่รองรับน้ าหนักในแนวดิ่งที่ถ่ายมา จากพื้น ผนัง คานฝาก แล้วถ่ายน้ าหนักไปสู่ฐานรองรับ ( Supports ) ได้แก่เสา ผนัง หรื อ คาน หลัก (Girders) อีกทอดหนึ่ง แรงดัดและความเค้นในคาน

เมื่อน้ าหนักกระทาต่อคาน คานจะเกิดการโก่งตัว (Bending) การโก่งตัวส่งผลให้เกิดทั้งการ อัดตัว (Compression) และการดึงตัว ( Tension) ในตัวของคานที่ตรงกันข้าม พฤติกรรมการโก่งตัว ของคานสามารถแสดงได้โดยนาวัสดุ เช่นนาพองน้ ามาเป็ นคานทดลอง ดังรู ปที่แสดง ขีดเส้นตรง PQ และ RS ตามแนวดิ่ง เมื่อมีน้ าหนักมากระทาบนคาน ทาให้เกิดการแอ่นตัว คานในช่วง RS ถูก แรงอัด (Compression) ทาให้ระยะ PR สั้นลง และคานในช่วง QS ถูกแรงดึงตัว (Tension) ทาให้ ระยะ QS ยืดตัวออกไป


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การเสริมเหล็กต้านทานแรงดึงในคาน คอนกรี ตมีคุณสมบัติรับแรงดึงได้ดี ในขนาดเดียวกันมีความสามารถในการรับแรงดึงได้นอ้ ย มากเมื่อเทียบกับแรงอัด ดังนั้นวิศวกรจึงนิยมออกแบบโครงสร้าง โดยให้คอนกรี ตรับเฉพาะแรงอัด เป็ นหลัก และเสริ มเหล็กเพื่อต้านทานแรงดึง เหตุผลที่นาเหล็กเสริ มมาใช้งานร่ วมกับคอนกรี ตคือ เหล็กมีสมั ประสิทธิ์การยืดตัวและหดตัวใกล้เคียงกับคอนกรี ต เป็ นวั สดุที่ประหยัดและมีกาลังสูง สามารถป้ องกันการโก่งตัว แตกร้าว และการเสียหายของคานได้เป็ นอย่างดี จากรู ป เนื่องจากแรงดึงเกิดขึ้นบริ เวณด้านล่างของคาน ดังนั้นจึงต้องจัดวางตาแหน่งเหล็กเสริ ม ต้านทานแรงดึงด้านล่างของคาน ส่วนแรงอัดที่เกิดขึ้นบริ เวณขอบบนของคานคอนกรี ตสามารถรับ แรงอัดได้ดี จึงเสริ มเหล็กด้านบนของคานเพียงเล็กน้อย เพื่อรองรับเหล็กปลอก แต่ในกรณี ที่คานต้อง รับแรงอัดมากเกินกว่าความสามารถของคอนกรี ต วิศวกรจะเสริ มเหล็กเพื่อต้านทานแรงอัดที่ดา้ นบน ของคาน

รูป การเสริมเหล็กคาน เพือ่ ต้านทานแรงดึงและป้องกันการแตกร้ าว a ) ไม่เสริมเหล็ก

b ) เสริมเหล็กด้ านล่างเพือ่ ต้านทานแรงดึง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูปที่ 47 การงอมาตรฐาน ( Standard HOOK) งานที่ตอ้ งการความถูกต้อง ต้องควบคุมตรวจทุกครั้ง บางทีเหล็ก 5 เส้น ไม่ได้งอหัว 2 เส้น อาจเกิดจากการตัดเหล็กผิดทาให้เหล็กสั้นไป ถ้างอปลายจะเสริ มไม่ได้ลกั ษณะนี้อาจเปลี่ยนใหม่ 1) การคิดความยาวเหล็ก ให้กลับไปดูแบบก่อสร้างที่แสดงแปลนคานคอดิน หรื อ แปลนคานชั้น บนว่าเป็ นคาน B เท่าใดและนาไปดูแบบขยายแบบ B นั้น จะทรายว่าคาน B ดังกล่าวสมีเหล็กแกน บน เหล็กแกนล่าง ส่วนเหล็กแกนเสริ มบน และเหล็กแกนเสริ มล่าง เหล็กทั้ง 2 ลักษณะเป็ นการวิ่ง ไปในแนวเดียวกับเหล็กแกนทัว่ ไป

เป็ นการแสดงเหล็กแกนบน ล่าง และเหล็กคอม้า


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

4

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การดัดเหล็ก 1.) หารเหยียดเหล็กหมายถึง การทาเหล็กที่งอครึ่ งมาเหยียดให้ตรง ก่อนที่จะทาการตัด ขนาด ของเหล็กที่มีขนาด 9 ม.ม. 6 ม.ม. ทาการเหยียบเหล็กเส้นล่างที่งอพับสอง เช่นเหล็กยาว 10 เมตร งอแล้วได้ความยาวประมาณ 5 เมตร ส่วนมือจะยกเหล็กเส้นบนขึ้น เท่ากับเป็ นการง้างเหล็กขึ้นแล้ว เดินไล่จากปลายและยกเหล็ก เดินไปยังส่วนที่งอพร้อมกัน 2.) ส่วนเหล็กขนาด 12 ม.ม. 15 ม.ม.อาจเหยียดโดยใช้ประแจสองตัวถ่างส่วนที่งอของเหล็กให้ ตรง 3.) ส่วนเหล็กที่มีขนาดโตกว่า 15 ม .ม. ควรดัดให้ตรงกับโต๊ะดัดเหล็ก โดยแกนเส้นหนึ่งจะ สอดอยูก่ บั โต๊ะดัดเหล็กอีกแกนหนึ่งจับดันด้วยมือ และเลื่อนแกน แล้วดัดให้เหล็กเป็ นเส้นตรง

การตั้งแบบท้องคาน 1.) การหาศูนย์เสา ก่อนหล่อฐานรากครอบหัวเข็มก็ได้หาศูนย์เสาครั้งหนึ่ง เมื่อต้องการหล่อ คานต้องหาศูนย์กลางเสาอีก เนื่องจากบริ เวณยังคงมีอยูจ่ ึงไม่อยากที่จะทาได้ หลังผังได้ตอกตะปู แสดงแนวศูนย์กลางเสา และได้ตอกตะปูอีก 2 ตัว ซึ่งวัดจากตะปูตวั ศูนย์กลางออกไปข้างละครึ่ ง ของขนาดเสา จะนาไปใช้ประโยชน์มากในการตั้งแบบข้างคานคอดิน ให้ทาการขึงเชือกหรื อสายเอ็น พลาสติกจากตัวศูนย์กลางของเสาให้สายเอ็นตัดฉากกันในส่วนของหัวเสาที่ตอ้ งการรู้ศนู ย์กลาง สาย เอ็นต้องตึงและไม่ไปค้างกับส่วนใดจนทาให้เส้นแนวผิดไป ต้องทดลองดึงขึ้นว่าสายอยูใ่ นสภาพได้ แนว 2.) การให้ระดับการให้ระดับท้องคานควรได้ทาขึ้นใหม่อีก จะอาศัยระดับที่ถ่ายตอนหล่อฐาน รากคอนกรี ตไม่ได้ เพราะว่าการเทฐานรากอาจไม่เรี ยบ หรื ออาจมีระดับสูงหรื อต่าก่วาที่ถกู ต้องก็ได้ 3.) การเตรี ยมไม้เพื่อทาแบบ การตั้งแบบทองคานที่มีระดับดินต่า หรื อดินที่ยงั ไม่ได้ถมดินต้อง ใช้ไม้เพื่อตั้งแบบมากตามรู ปที่ 51 แสดงการประกอบไม้เคร่ าเป็ นโครงรับมี เสา คาน ตง และมีไม้ แบบรองเป็ นโครงรับมี เสา คาน ตงการ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

กรรมวิธีการตั้งแบบคาน 1.) ตีหลักเสา นาไม้ที่จะทาหลักเสามาเสี้ยมปลายทุกท่อนเฉพาะท่อนที่ตอ้ งการตอกลงดินสวนหลัก เสาที่จะต่อควรเตรี ยมวางไว้ใกล้ๆ งานด้วย 2.) การเริ่ มตอกควรให้แนวเคร่ าที่ทาคานวิ่งขนาบความกว้างของฐานรากได้ ฉะนั้นความห่างของไม้ ทาคาน ควรกว้างประมาณ 0.60 เมตร (โดยประมาณ) 3.) การตีคาน จะใช้ไม้เคร่ าหรื อไม้แบบ ควรเป็ นไม้ยาว และเป็ นไม้ที่ตรง ระดับหลังคานควรงัด จากระดับท้องคานที่ได้ไว้แล้วจากหลักข้างเคียง ไม้แบบบางทีหนา 1 “ หรื อ เคร่ าหรื อบางทีหนา 3“ 4.) การทาไม้แบบข้างคานเมื่อได้วางแบบท้องคานแล้วจะแสดงช่วงของแบบข้างที่จะต้องสร้าง โดย ทาการเพลาะแบบให้ยาวเกนไว้ การตัดไม้ตามแบบขยายคานระบุขนาดความกว้างของคานคอดิน และคานชั้นบนมีขนาดลึก 0.30 ถึง 0.35 เมตร ควรเลือกขนาดความกว้าง ของการเพลาะไม้แบบ ให้สามารถใช้กบั งานคานคอดิน และตัวอื่น ๆ ในการหล่อคานชั้นบนแม้ว่าจะมีคานบางตัวมี ขนาดลึกมาก ก็จะเลือกขนาดคานส่วนใหญ่ใช้ได้ ถ้าคานมีขนาดความลึกน้อย กว่าความลึกของ แบบหล่อ นาไปใช้ได้ท้งั หมด เว้นแต่คนที่มีขนาดลึก B5 และ B6 ต้องทาแบบเสริ มเท่านั้น การ สัง่ ไม้แบบจะเลือกความยาว 4 – 5 เมตร เพราะโดยมากดานจะต่อกันและมีขนาดความกว้าง เดียวกัน แบบหล่อจึงวิ่งต่อกันได้ยาว ๆ จะช่วยให้รวมเร็ วค้ าแบบได้ง่ายและไม่เสียเวลาต่อตอน ปลายแบบไม่เคร่ า 1.5 * 3 “ ควรนาไม้ส้ นั 1 เมตร มาตัด 2 ท่อน ท่อนละ 50 เซนติเมตร ดังรู ปที่ แสดงไว้


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

6

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

7

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ดูรูป ซึงได้ต้งั แบบท้องคานไว้แล้ว ระหลังแบบท้องคานจะอยูเ่ สมอกับระดับของผิวบนของฐานราก เมื่อนาไม้แบบข้างวางไว้บนหลังตง เพื่อประกอบข้างของแบบแบบท้อง การประกอบแบบข้าง ตลอดจนการยึดแบบข้างด้วยไม้ยนั แบบและตีไม้บงั คับแบบ ประการการสุดท้ายของการทางานก็คือการถ่านระดับจากหลังผังมาที่ขา้ งแบบด้านในที่จะหล่อคาน ขีดเส้นแล้วตอกตะปู 2.5 นิ้ว โผล่ตะปูส่วนหัวให้ยนื่ ประมาณ 1 นิ้ว ทาระดับที่หวั แบบแล้วตอก ตะปูขึงสายเอนตอกตะปูให้ระดับทูกระยะ 1.00 เมตร ตลอดความยาวของคาน ความชานาญของ หัวหน้าช่างจะต้องตรวจการยึดไม้ว่ามัน่ คงพอที่จะทารับคอนกรี ตเมื่อทาการก่อได้เพียงใด โดยเฉพาะ ช่างควบคุมงานจะเป็ นหน้าที่ตรวจความแข็งแรงจึงจะอนุญาตใหทาการหล่อต่อไป


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

8

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูป แสดงการต่อแบบข้างไปตามความยาวโดยตัดหัวแบบให้ได้มุมฉากกับแนวนอน ดูรูป (1) แล้วนา แบบทั้งสองชิ้นมาชนกัน โดยถ้าแนวหลังแบบและตีนแบบอยูใ่ นแนวเดียวกัน ในส่วนรอยต่อด้าน นอกควรซอยไม้กว้าง 2 นิ้วได้ ทาบตามแนวรอยต่อแล้วตอกตะปูท้งั สองยึด อาจใช้ไม้เคร่ าสในส่วน สันทาบแทนไม้แผ่นก็ได้แต่ตอกตะปูไปยึดติดไม้เคร่ าด้วย ส่วนทางด้านข้างของไม้เคร่ าไม่สามารถ ทาบลงในช่องที่ห่างของเคร่ าเพลาะแบบทั้งสองแผ่นสองนิ้วได้ การต่อกันจะทาการตั้งแบบทีละแบบ และภายในตั้งแบบต่อกัน ส่วนการต่อมุมฉาก แม้ว่าแบบแผ่นหนึ่งจะยาวเกินระยะช่องของการตั้งแบบ จะปล่อยเลยออกไป ดูรูป (2) แล้วยึดแบบแผ่นนี้ภายหลังที่ได้จบั ดิ่งแล้ว แบบข้างอีกแผ่นหนึ่งที่นามาต่อฉากให้ตดั หัว แบบให้เป็ นมุมฉากก่อน แล้วนามาชนในระยะที่ได้แนวโดยขีดเส้นไว้แล้วบนหน้าแบบตอกตะปูยดึ หัวไม้ท้งั สองของแผ่นที่จะนามาชน อาจนาพุกตอกบังคับในตอนมุมด้านนอกของการต่อฉากเพื่อการ ต่อชนจะได้ไม่แยกออกง่ายๆ และต้องไม่ลืมตีไม้รัดตอนมุมเมื่อนาฉากมาจับมุมภายในแล้ว


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

9

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

10

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

1.) การปรับระดับดินท้องคาน ดินที่ถมไว้อาจจะสูงๆ ต่าๆ ควรจะได้กลุ่ยตามแนวที่จะหล่อคาน ให้กว้าง 0.30-0.40 เมตร และทาระดับให้ต่ากว่าระดับหลังผัง 0.70 เมตร โดยขึงเชือกแล้วทิ้ง ไม้วดั จากเชือกในแนวดิ่งจากเชือกที่ตอ้ งการหยัง่ ความลึก กระทุง้ ดินให้แน่นอยูร่ ะดับต่ากว่า 0.75 เมตร แล้วนาทรายหยาบเมราดน้ าแล้วปรับระดับให้ลดจากผังลงถึงระดับหลังทรายที่ลาด น้ าและปรับเรี ยบแล้ว 0.70 เมตรพอดี พื้นท้องคานจะต้องไม่มีเศษไม้หรื อก้อนดินและทราย เมื่อตอนเทคอนกรี ตและไม่มีน้ านองอยู่ 2.) การเตรี ยมไม้ ควรเตรี ยมหลักไม้ยาวประมาณ 0.60-0.80 เมตร ถาเป็ นทรายหรื อดินแข็งหลัก จะสั้น และหลักต้องยาวเมื่อเป็ นดินอ่อน นาหลักขนาดยาวโดยประมารใกล้เคียงกันมาเสี้ยม ปลายให้แหลม การจานวนหลักการเฉลี่ยว่าระยะที่ตอ้ งตอกควรห่างกันประมาณ 0.75-1 เมตร ตลอดความยาวของไม้แบบ 3.) การประกอบแบบข้างคานหรื อตั้งแบบ ไม้แบบข้างคานได้ทาการเพลาะกันเป็ นแผงๆเตรี ยมมา วางใกล้งานที่จะติดตั้งแบบ เครื่ องมือที่จาเป็ นก็คือค้อน 8 ปอนด์ 3.1 เริ่ มด้วยการนาหัวแบบข้างคานมาทาบกับแนวที่ขีดบนหลังฐานรากคอนกรี ต ทาการตอก หลักให้หลักแนบกับไม้เพราะแบบกับส่วนตัวแรกของไม้เพลาะแบบ ค่อยๆ ตอกเลี้ยงหลัก ไม่ให้หนุนแบบทาให้ล้าเส้นที่ฐานรากได้ ตอกจนกระทัง่ หลักยึดแน่นกับดิน ทดลองโยกดู อาจตอกลงดิน 0.50 เมตรขึ้นไป 3.2 ตอกยึดหลักไม้ค้ ายันให้ห่างจากตีนแบบประมาณ 0.40 เมตร โดยประมาณว่าถ้าตีไม้ค้ ายัน จะทามุมไม่เกิน 60 องศากับระดับดิน ถ้าความลึกมากควรตอกแบบห่างมากขึ้น ตอกหลัก ให้แน่นและพยายามให้หลักอยูก่ บั ระดับดินมากที่สุด ตอกห่างกันประมาณ 0.30-0.40 เมตร และให้ระดับหัวหลักอยูใ่ นแนวดิน นาไม้เคร่ าปิ ดหัวหลักยึดไม้ค้ ายัน 3.3 ให้ตอกไม้บงั คับแบบช่วงบน โดยให้หลังของไม้บงั คับแบบนี้อยูป่ ระมาณกับระดับของ หลังแบบหรื อจะต่ากว่า 0.05-0.10 เมตรก็ได้ 3.4 ให้ตอกเคร่ ายึดตีนแบบโดยยันจากตีนของไม้เพลาะแบบทุกตัวมาวางพาด กับไม้ที่ปิดหัว หลักที่วิ่งขนานไปกับแนวตามตามแบบ 3.5 การตั้งแบบข้างคานอีกตัวหนึ่งก็ทาโดยว่าหัวแบบตามเส้นหัวฐานราก แล้วตอกหลัก ส่วน ในตอนอื่นตลอด แนวตัดไม้ยาว 0.20 เมตรเท่ากับ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

11

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การประกอบเหล็กคาน โดยลาดับการก่อสร้างแล้ว เมื่อตั้งแบบท้องคานแล้วจะทาการประกอบ เหล็กคานได้เลยเมี่อทางานเหล็กเสร็ จจึงทาการติดตั้งแบบข้างคาน หรื อจะแบบเพียงข้างหนึ่งก่อนก็ ทางานเหล็กได้ แต่ถา้ ตั้งแบบแล้วนาเหล็กลงประกอบจะทาลาบากเพราะในส่วนหัวของเหล็กจะต้อง ทาการดัดเพื่อให้คล้องกัน การดัดเหล็กแกนและประกอบเหล็ก เหล็กที่เสริ มคอนกรี ต มีเหล็กแกนบนและเหล็กแกนล่าง โดยลักษณะหน้าตัดของคานเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมพื้นผ้า เมื่อคานรับน้ าหนักบรรทุกรวมทั้งน้ าหนักของคาน เอง

รูป แสดงหน้ าตัดของคานและการเสริมเหล็ก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

12

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตามรูป เป็ นรู ปตัดคาน แสดงให้เห็นการเสริ มเหล็กคานรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้าในลักษณะต่างๆ เมื่อเห็นเหล็กจะพิจารณาไดว่า ผูค้ านวณเจตนาไว้อย่างไรสาหรับคานแต่ละคัวเช่นรู ป (1) เป็ ฌนคาน ที่เดสริ มเหล็กบนและหล็กล่างเป็ นปกติเหล็กบนอาจเล็กกว่าเหล็กล่างก็ได้ เพื่อการประหยัดและล่างก็ จะรับแรงดึงและแรงเฉือนไปพร้อมๆ กันด้วยรู ป (2) เป็ นคานที่เสริ มเหล็กบนทั้งสี่เส้น แสดงว่า เจตนาให้เหล็กบนรับแรงอัด ที่เกิดมากเพื่อลดความลึกของคานลง ส่วนเหล็กมีเหล็กแกนเพียง 2 เส้น แต่ใช้เนื้อเหล็กคอม้าอีก 3 เส้น ซึ่งจะเสริ มในส่วนนกลางคาน รวมเป็ น 5 เส้นสามารถรับแรง ดึงได้ดี แต่พอใกล้ปากคานทั้งสองด้านเหล็กกลาง 1 เส้นเหล็กข้างคานอีกสองเส้นจะวิ่งกระดกขึ้น เป็ นเหล็กคอม้าเพื่อรับแรงเฉือนที่เกิดตั้งฉากกับเหล็กคอม้าตัวหักงอ 45 องศานั้น รู ป (3) ในขนาด คานเดียวกันพบว่าเหล็กแกนบนและเหล็กแกนล่างมีดา้ นละ 2 เส้น แต่คานนี้เหล็กแกนล่าง จะเพิ่ม เหล็กคอม้าอีก 2 เส้นไม่สามารถเสริ มกลางได้อาจเนื่องจากคานแคบ จนเหล็กแต่ละเส้นเว้นช่องให้ หินลอดต่ากว่า 2 ซม. รู ป (4) คานที่เสริ มเหล็กลักษณะนี้จะต้องเป็ นคานยืน่ แน่นอน เพราะว่าเหล็ก บนถูกกาหนดให้มีจานวนมากเพื่อต้านทานแรงดึงตอนบนมาก แต่ตอนล่างเพียงเสริ มให้เป็ นโครง เหล็กในเมื่อใช้ปลอก 2 เส้นซ้อนกันอยู่ รู ป (5 ) เป็ นการเสริ มเหล็กเช่นกันกับ รู ป (4) แต่เขียนระบุ ให้ใช้เหล็กปลอกสามปลอกคล้องทาบต่อกัน ดังแสดงลักษณะของเหล็กปลอกในรู ป (6) ตามรูป แสดงการประกอบเหล็กคานคอดินเข้ากับเหล็กแกนเสา ก่อนเรื่ มควรทาการดุง้ เหล็ก แกนเสาให้อยูใ่ นต่าแหน่งซึ่งจะทราบการจากการหาศูนย์เสาและขีดเส้นให้เป็ นสี่เหลี่ยมเสา เมื่อนา เหล็กเสาสวมเหล็กแกน แล้ววัดจากผิวเหล็กปลอกและเหล็กเสา 0.025 เมตร ต่าแห่นงงงของเหล็ก แกนเสาทั้ง 4 เส้นจะอยูต่ รงมุมของเหล็กถ้าพบว่าเหล็กแกนอยูผ่ ดิ ต่าแหน่งไปมากควรดุง้ เหล็กแกน ให้งอ และแยกไปขึ้นตรงกับต่าแห่นง แต่ถา้ ผิดที่ไปเพียงเล็กน้อยก็ไม่ตอ้ งดุง้ การที่เหล็กผิดต่าแหน่ง ไปอันเนื่องมาจากการที่เราไม่บงั คับเหล็กเสาให้อยูค่ งที่ในระหว่างการเทคอนกรี ต เฉพาะการสร้าง อาคารขนาดใหญ่จาเป็ นต้องวางต่าแห่นงเหล็ก แกนเสาให้คงที่ เพราะว่าเป็ นเหล็กแกนเส้นใหญ่ การ ดุง้ เหล็กทาอย่างมาก อีกประการหนึ่งการเทคอนกรี ตต้องใช้เครื่ องเขย่า อาจทาให้เหล็กเอียงผิดไปจึง จาเป็ นต้องบังคับอแกนเสาให้อยูก่ บั ที่ไม้เคลี่อนย้ายเมื่อเทคอนกรี ตการดุง้ เหล็กจะต้องทาพร้อมๆ กัน ทั้ง 4 เส้น


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

13

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูปที่ แสดงการประกอบคานคอดินเข้ ากับเหล็กแกนเสา


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

14

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การหล่อคอนกรีตคานคอดิน การหล่อคอนกรี ตสาหรับโครงสร้างอาคาร ควรเลือกช่างที่มีความ ชานาญในการเท เพียงแต่เทคอนกรี ตตามพื้นฐานจะไม่สมารถเทคอนกรี ตได้ดีการเทคอนกรี ตต้องมี ลักษณะที่ตอ้ งรอบคอบเนื่องมาจากแบบหล่อที่แคบมีเหล็กเสริ มมาแบบมีมุม และมีความลึก และมี ความเกี่ยวพันธ์เกี่ยวกับการเลือกวิธีการเขย่าคอนกรี ต ความเหลวของคอนกรี ต และการเลี้ยงน้ าปูน ทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้ได้คอนกรี ตมีสดั ส่วนและมีความเหลวสม่าเสมอตลอดคานและคานคอนกรี ตจะลงไป เต็มแบบด้วยความรวดเร็ วที่ขาดความเอาใจใส่จะหลีกเลี่ยงที่ทา การเตรียมแบบและตรวจ (1) การตรวจแบบ ตรวจเสาตูว้ ่ามัน่ คง การตั้งแบบข้าง การยึด และการค้ ายัน แบบจะต้องเป็ นช่อง ให้น้ าปูนไหลออก แบบจะต้องได้ขนาดความกว้างและความลึกตลอดความยาวของคาน (2) การตรวจเหล็ก ตรวจดูว่าเหล็กที่เสริ มในตานแต่ละตัวมีจานวนเหล็กทั้งเหล็กแกนบนและแกนบน และคอม้าครบ ขนาดเหล็กเสริ มจะต้องวัดดูเพราะเหล็กในท้องตลาดมีหลายขนาด แม้ว่าจะเป็ นเหล็ก 9 มม. ก็ตามอาจเหลือเพียง 8.5 ม.ม. ก็มีเหล็กแกนทุกเส้นจะต้องมีสนิมขุมโดยมีสะเก็ดขึ้นและร่ อนออก (3) การลาเลียงและส่งคอนกรี ต อาจใช้รถเข็นหรื อคนหิ้ว เส้นทางให้คนงานเ๘นรถควรจัดทาเป็ น เส้นทางเรี ยบ (4) การลาดน้ าและการลาดน้ าปูน ก่อนเทคอนกรี ตควรลาดน้ าปูนน้ าสะอาดลงในแบบหล่อคานให้ทวั่ เพื่อเป็ นการเซาะล้างขี้เลื่อย (5) การเทคอนกรี ต ควรเริ่ มจากตอนมุมของคานก่อน ให้หมุนกระป๋ องเพื่อกระจายคอนกรี ตสม่าเสมอ ไม่แยกออกจากกัน เช่น หินแยกออกจากปูน (6) การหยุดเท อาจเกิดจากงานเทเต็มแบบจะต้องแจ้งให้ฝ่ายผสมทราบล่วงหน้า เพื่อจะได้ไม่ผสมเกิน จานวนอาจจะต้องทิ้งเสียของ ถ้าจะต้องหยุดเทคอนกรี ตควรหยุดกลางคานและให้ไม้ก้นั ตั้งฉากให้ สม่าเสมอ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้าที่

8

15

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

( 7 ). การแก้เมื่อมีหินรวมอยูม่ าก ควรโกยหินที่รวมตัวกันมากๆ ออกแล้วนาน้ าปูนที่ผสมมา โดยเฉพาะมาใส่ให้ได้คอนกรี ตที่มีอตั ราส่วนเสมอกันกับคอนกรี ตที่เทไว้แล้ว ทุกส่วนจะต้อง ระมัดระวังและคาดคะเนเอาว่าจะไม่มีโพรงเกิดขึ้น ควรโกยาคอนกรี ตขึ้นเมื่อไม่แน่ใจว่าส่วนใดจะ พกพร่ อง แล้วนาคอนกรี ตใหม่ใส่ลงไปแทน ไม่รีบเทจนกระทัง่ ทาให้งานไม่สมบูรณ์ ( 8 )การแต่งผิวหน้า เมื่อเทคอนกรี ตเต็มคานแล้ว ควรทิ้งคอนกรี ตให้หมาดประมาณ 3-4 ชม . ภายหลังเทจนกระทัง่ นาเกรี ยงไม้ปราดหน้าให้เรี ยบได้ โดยอาศัยระดับตะปูที่ตอกไว้ให้ได้ระดับเสมอ ตลอดในคานการถอดแบบและการบ่ม หลังจากที่ควบคุมน้ าในคอนกรี ต เมื่อเทคอนกรี ตเสร็ จแล้ว ทิ้งคอนกรี ตให้แข็งแรงพอปรกติจะใช้เวลา 2 วันจึงจะทาการถอดแบบได้ การถอดแบบในคอนกรี ต ใหม่ๆ เช่นนี้จะต้องทาอย่างระมัดระวังมิให้มีการงัด ตอกให้กระเทือนเนื้อคอนกรี ตมาก คอนกรี ตจะ รับกาลังมากไม่ ได้ให้ถอดค้ ายันข้างๆ ออกก่อนแล้ว ถอดตะปูให้โผล่หวั ไว้ตอนริ มแบบออก และ ข้ อพิจารณาในการเทคอนกรีตมีดังนี้ 1. ก่อนเทคอนกรี ต ควรตรวจสอบความเรี ยบร้อยของแบบคาน ความสะอาด รอยต่อแบบ ค้ ายัน ไม้รัดปากแบบ ท้องคาน การทาระดับหลังคาน 2. ก่อนเทคอนกรี ตควรใช้เครื่ องปั้นลมเป่ าไล่เศษฝุ่ น และราดน้ าแบบหล่อให้ชุ่ม 3. สาหรับคานที่มีขนาดลึกควรเทคอนกรี ตเป็ นชั้น ชั้นละไม่เกิน 30 เซนติเมตร และจี้คอนกรี ตให้ แน่นแต่ละชั้น 4. ควรหยุดเทคอนกรี ตในแนวตั้งฉากกับคาน ณ ต่าที่แรงเฉือนเกิดขึ้นน้อยที่สุดโดยทัว่ อยูป่ ระมาณ กลางคานเพื่อให้รอยต่อเรี ยบร้อย ใช้ลวดตาข่ายรอยต่อหรื อหากจาเป็ นอาจใช้ไม้เคร่ า 1.5*3 นิ้ว คัน่ ระหว่างเหล็กเสริ ม 5. ก่อนเทคอนกรี ตต่อกับคอนกรี ตใหม่ ควรทาความสะอาดใหม่ ควรทาความสะอาดรอยต่อ แล้ว ราดน้ าปูนข้นหน้ารอยต่อมให้ทวั่ ก่อน จึงเทคอนกรี ตใหม่



เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

พืน้ พื้นเป็ นส่วนหนึ่งของโครงสร้างที่มีผวิ ด้านบนราบและเรี ยบเป็ นบริ เวณกว้างเพื่อใช้เป็ นพื้นที่ ใช้สอยของอาคาร แผ่นพื้นทาหน้าที่รับน้ าหนักบรรทุกที่กระทาสม่าเสมอแล้วถ่ายน้ าหนักบรรทุกต่อไป ให้กบั คาน เสา หรื อพื้นดินรองรับ พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กมีหลายชนิด อาจจาแนกได้ตามลักษณะการ ถ่ายน้ าหนักให้กบั ที่รองรับทั้งนี้ข้ ึนกับขนาดของแผ่นพื้นและการเสริ มเหล็กในแผ่นพื้นนั้น เช่น 1. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว (One – Way slabs) โดยมีคานรองรับสองด้านในแนวที่ ขนานกับด้านยาวของแผ่นพื้นนั้น 2. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง ( Two – Way slabs) โดยมีคานหรื อกาแพงคอนกรี ตเสริ ม เหล็กรองรับแผ่นพื้นทั้งสี่ดา้ น 3. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง แต่ไม่มีคานรองรับ เรี ยกพื้นแบบนี้ว่า แผ่นพื้นไร้คาน ซึ่ง น้ าหนักบรรทุกทั้งหมดจากแผ่นพื้นจะถ่ายลงสู่เสาที่รองรับโดยตรง น้ าหนักบรรทุกทั้งหมดที่แผ่นพื้นต้องรับได้แก่ น้ าหนักบรรทุกจรรวมกับน้ าหนักบรรทุกคงที่ ที่ได้แก่ น้ าหนักของตัวแผ่นพื้น น้ าหนักของวัสดุที่นามาปูบนพื้นผิว เช่น แผ่นกระเบื้องเซรามิค ไม้ปาร์ เก้ หรื อหินอ่อน ตลอดจนน้ าหนักของวัสดุที่แขวนห้อยใต้แผ่นพื้น เช่น ฝ้ าเพดาน เป็ นต้น น้ าหนัก บรรทุกต่าง ๆ ทั้งหมดที่แผ่นพื้นต้องรับให้คิดรวมเป็ นน้ าหนักแผ่สม่าเสมอบนพื้นที่ของพื้น ซึ่งมีหน่วย เป็ นกิโลกรัมต่อตารางเมตร

โครงสร้ างพืน้ เป็ นส่วนที่ทาหน้าที่รองรับน้ าหนักเนื่องจากการอยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักตัวของผูอ้ าศัยเอง เครื่ องเรื อน อุปกรณ์ สัมภาระ ฯลฯ แล้วถ่ายน้ าหนักทั้งหมดลง คาน เสา และดิน ตามลาดับ การแบ่ งประเภทของพืน้ ตามลักษณะการถ่ ายนา้ หนัก แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. พื้นบนดิน 2. พื้นลอย ( จากพื้นดิน )


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

พืน้ บนดิน หมายถึงพื้นที่วางติดกับดิน โดยการถ่ายน้ าหนักลงดิน เช่น พื้นบ้านชั้นล่าง พื้น ระเบียงบ้าน พื้นโรงจอดรถ เป็ นต้น พืน้ ลอย หมายถึง พื้นที่ลอยเหนือพื้นดิน ถ่ายน้ าหนักลงบนคาน เสา และถ่ายลงดินอีกต่อหนึ่ง เช่น พื้นบ้านสองชั้น พื้นเฉลียง และพื้นดาดฟ้ า เป็ นต้น โครงสร้างพื้นที่ใช้กบั บ้านพักอาศัยโดยทัว่ ไป แบ่ งตามประเภทของวัสดุได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ โครงสร้างพื้นไม้ และ โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1. พืน้ ไม้ หากย้อนกลับไปดูบา้ นเรื อนในสมัยก่อนพื้นที่ใช้บนเรื อน นิยมใช้ไม้แผ่นมาปูเรี ยงต่อกันโดยวาง บนโครงสร้างไม้ (ตงไม้และคานไม้) อีกทีหนึ่ง เมื่อใช้งานไปนานๆ อาจจะมีเสียงดังเกิดขึ้นในขณะเดิน ทั้งนี้เนื่องจากไม้เกิดการบิดขยายตัว (จากอุณหภูมิภายนอกและการอบไม้ไม่แห้งดีพอ) ทาให้รอย เชื่อมต่อของแผ่นเกิดการเลื่อนระยะขบเกยกัน รวมถึงกรณี การวางตงไม้รับแผ่นไม้ไม่ได้ระยะ (ห่าง เกินไป) จึงทาให้พ้นื บางช่วงเกิดการแอ่นตัวหรื อที่ภาษาช่างเรี ยกว่า "ตกท้องช้าง" มองดูไม่เรี ยบร้อยและ เป็ นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เวลาเดินจะเกิดเสียงดังน่าราคาญได้ ปัจจุบนั หากเจ้าของบ้านเลือกที่จะปูพ้นื ไม้จริ งจึงมักจะปูแผ่นพื้นไม้ลงบนพื้นคอนกรี ตอีกทีหนึ่ง โดยวางระแนงไม้ฝังลงไปในแนวคอนกรี ต สูงกว่าผิวคอนกรี ตประมาณ 2 เซนติเมตร เพื่อใช้เป็ นตัว ปรับระดับแนวปูพ้นื ไม้อีกทีหนึ่ง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

3

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ไม้แผ่นที่นิยมนามาปูพนื้ เช่ น ไม้แดง เป็ นไม้เนื้อแข็ง ทนต่อการขีดข่วนมีสีค่อนข้างคล้า ไม่ค่อยมีลายไม้ เนื้อไม้เหนียวมีการ ยึดหดตัวค่อนข้างสูงทาให้เกิดการแตกร้าวของเนื้อไม้ได้ง่าย ไม้มะค่า เป็ นไม้เนื้อแข็งเช่นเดียวกัน แต่มีราคาแพงกว่าไม้แดงมาก ทนต่อการรับน้ าหนักมีลาย ไม้และสีสนั สวยงาม เนื้อไม้จะออกสีน้ าตาลแดงหรื อน้ าตาลแก่ มีความคงรู ปไม่ยดื หดหรื อแตกร้าวง่าย ไม้สกั เป็ นไม้ที่มีสีสนั และลวดลายสวยงาม เนื้อไม้มีสีเหลืองทอง ปลวก มอดไม่ข้ ึน แต่เป็ นไม้ เนื้ออ่อนกว่าไม้แดงและไม้มะค่าจึงรับน้ าหนักและทนต่อรอยขีดข่วนได้นอ้ ยกว่าราคาแพง เสน่ห์ของไม้จริ ง เมื่อนามาปูพ้นื ที่ใช้สอยภายในบ้าน คือ ทาให้บา้ นดูภูมิฐานอบอุ่น นุ่มนวล เป็ นธรรมชาติ แต่เนื่องจากในปัจจุบนั ไม้แผ่นจริ งหาได้ยากและราคาแพง อีกทั้งยังมีวสั ดุปูพ้นื ชนิดอื่นที่ ทาออกมาทดแทนไม้แผ่นเพิ่มขึ้นมาก ความนิยมในการใช้ไม้จริ งปูพ้นื จึงลดน้อยลงไปในปัจจุบนั ไม้ที่นิยมใช้ทาพื้น ที่เป็ นไม้ในภูมิประเทศนี้ มีไม้สกั , ไม้มะค่า , ไม้แดง , ไม้ชิงชัน , ไม้รกฟ้ า เป็ นต้น ส่วนไม้ที่มาจากเมืองหนาวที่นิยมกันมากในช่วงที่ผา่ นมาได้แก่ ไม้เมเปิ้ ล , ไม้โอ๊ก , ไม้แอ๊ช , ไม้เชอร์รี่ และไม้สน แต่ไม้ที่มาจากเมืองหนาว อาจมีปัญหากับการใช้ในประเทศแถบเมืองร้อนได้ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นคือ มีความรู้สึกไวต่อน้ า และความชื้นมาก ถ้าโดนน้ าที่รั่วซึมจากจุดใดจุดหนึ่งในบ้าน ก็จะเกิดปฏิกิริยา เช่น เกิดการขยายตัว และดันกันเองจนโก่งงอขึ้นมามาก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การเตรียมงานและวิธีการปู ถ้าเป็ นบ้านชั้นล่าง โดยเฉพาะที่ติดกับดิน เช่น บ้านชั้นล่าง จะมีความชื้นจากดินสูงมาก วิธีการ ปูสมัยก่อนจะใช้การปูแบบวางตง คือจะมีไม้วางเป็ นแนวยาวทุกระยะ 0.30 เมตร และปูไม้ทบั ไปบนตง โดยใช้ตะปูยดึ วิธีน้ ีเพื่อให้มีพ้นื ที่ของอากาศถ่ายเทใต้พ้นื ไม้ ข้ อควรรู้ก่อนปูพนื้ ไม้ ก่อนทาการปู ควรนาไม้ที่จะใช้ไปเก็บในสถานที่ ๆ จะทาการปูล่วงหน้า ประมาณ 7-10 วัน การปูพ้นื ควรเว้นพื้นที่ก่อนถึงผนังทุกด้านไว้อย่างน้อยที่สุด 1 ซม. โดยรอบ เพราะเมื่อปูไม้เสร็ จสัก ระยะ จะมีการขยายตัวของไม้ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศ เช่น เปิ ดแอร์ตอนกลางคืน ตอน เช้าปิ ดแอร์ ความร้อนก็มาแทนที่ ทาให้ไม้มีปฏิกิริยาได้เช่นกัน การทา Wood Filler คือการนาผงฝุ่ นที่ เราได้จาการขัดไม้พ้นื ชนิดนั้น ๆ มาผสมกาว อัดเข้าตามบริ เวณที่มีรอยต่อไม่สนิท เนื่องจากบางครั้งไม้ พื้นที่มาจากโรงงานอาจจะมีขนาดไม่สมบูรณ์ 100 % จึงอาจเกิดช่องว่างเล็ก ๆ บ้าง หลีกเลี่ยงการใช้ ดินสอพอง หรื อฝุ่ นโป๊ ว เพราะเมื่อมีการขยายตัวของไม้จะทาให้เกิดการแตกร้าวได้ การปูพนื้ ไม้ การสร้างอาคารขนาดย่อม การสร้างพื้นไม้ จะทาเป็ น 2 ลักษณะ 1. การปูพนื้ ไม้บนพืน้ คอนกรีต 2. การปูพนื้ ไม้บนตง 1. การปูพนื้ ไม้บนพืน้ คอนกรีต เป็ นการนาไม้พ้นื ที่เป็ นท่อนสั้นมาเรี ยงกันเป็ นลวดลายต่าง ๆ เรี ยกไม้น้ ีว่า ไม้ปาร์เก้ โมเสค ปาเก้ นอกจากนี้ยงั มีชนิดของไม้ เช่น ไม้สกั ไม้เต็ง ไม้แดง ไม้มะค่า เป็ นต้น ลักษณะของผิวพื้นคอนกรี ต จะเรี ยบแต่ยงั คงความหยาบให้เห็นชัด ก็เพื่อโอกาสกาวลาเทคยึด ติดได้แน่นด้วย อีกประการหนึ่ง ถ้าผิวไม่ได้ระดับ ก็อาจจะทาให้แผ่นไม้ที่ปูถกู หนุนและกระดกหลุด ออกได้ง่าย และจะสอดลิน้ กันได้ยาก ทาให้เปลืองกาวที่จะปู เมื่อขัดพื้นทาผิวสาเร็ จให้ผวิ ไม้พ้นื เรี ยบ ได้ยาก การทาลักษณะผิวดังกล่าวนามาเตรี ยมผิวสาหรับการปูกระเบื้องยางได้ดว้ ย แต่จะให้เม็ดทราย กระเดิดขึ้นมาจากผิวไม่ได้เลย


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

5

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. การปูพนื้ ไม้บนตง ระยะห่างตงต้องกาหนดให้พอเหมาะกับความหนาพื้น แต่ปัจจุบนั พื้นมีความหนา 1 นิ้ว ระยะตงก็ควรห่างอยูร่ ะหว่าง 0.40 – 0.50 เมตร อีกประการหนึ่ง เรื่ องการปรับหลังตงให้เสมอกัน ควรทาก่อนการปูพ้นื ถ้าปล่อยให้ระดับหลังตงสูง - ต่า แตกต่างกันตามความโค้ง – แอ่นของไม้แล้ว เมื่อปูพ้นื ลงไป พื้นก็มีระดับที่ลาดเอียงไปด้วย ถึงแม้จะแก้ในระหว่างการปูพ้นื ด้วยการหนุนใต้พ้นื ด้วย เศษไม้ก็ตาม ความหนาของตงที่จะยึดตะปูที่ตอกยึดจากการปูพ้นื อย่างน้อย 1 ½ นิ้ว เป็ นต้น ลักษณะการปูพ้นื มีหลายชนิด เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงานและความต้องการได้ดงั นี้ 1. การปูพนื้ ไม้เข้ าลิน้ รอบตัว เป็ นไม้พ้นื ที่มีความยาวค่อนข้างสั้น ตั้งแต่ 1.00 – 2.50 เมตร หน้าไม้กว้าง 4 นิ้ว ทาลิ้นในส่วนหัวไม้ ส่วนท้ายทารางเพื่อสอดลิ้นได้ ด้านข้างของชิ้นไม้ก็ทาลิ้น ข้างหนึ่ง รางลิ้นอีกข้างหนึ่ง ตลอดความยาวเช่นเดียวกัน และไม้ควรอบก่อนนามาใช้ เพราะถ้าไม้งอ หรื อบิด การสอดลิ้นเข้ารางลิ้นของไม้อีกท่อนหนึ่งจะทาไม่ได้ การใช้ไม้พ้นื ลักษณะนี้ทาให้สามารถ ปูพ้นื เหลือเศษหัวไม้นอ้ ยที่สุด เพราะการต่อชิ้นไม้ไปตามความยาวสามารถทาได้ท้งั บนหลังตง หรื อ ต่อในส่วนที่ไม่มีตงรองรับ เพราะการยึดเกาะของลิ้นทาให้รับน้ าหนักบรรทุกบนพื้นได้ แต่ควรระวัง เรื่ องการวางตงต้องไม่ห่างเกิน 0.40 เมตร นิยมนามาใช้กบั การสร้างอาคารตามอาคารหมู่บา้ นจัดสรร ข้อยุง่ ยากอีกประการหนึ่งคือการซอยไม้แทรกส่วนริ มของพื้นห้อง จะต้องวัดและซอยให้พอดีกบั ร่ องที่ ขาดตามแนวที่เหลือเศษ 2. การปูพนื้ ไม้ตชี นหรือตีชิด เป็ นแบบธรรมดา ใช้กบั งานทัว่ ไป ง่ายต่อการทา โดยมีขนาด หน้าไม้ 4 6 8 10 12 นิ้ว ความหนา ¾ - 1 นิ้ว ความยาว 2.50-6.00 เมตร กาหนดตะปู 2 ½ นิ้ว บน หน้าไม้ควรตอกอย่างน้อย 2 ตัว ให้ห่างจากริ มไม้ประมาณ ½ นิ้ว ถ้าหน้าไม้กว้าง 8 นิ้วขึ้นไป ควร เพิ่มการตอกตะปูอีก 1 – 2 ตัว ตามสมควร พิจารณาร่ วมกับการโก่ง-แอ่นของแผ่นไม้ดว้ ย 3. การปูพนื้ ไม้ตชี นปิ ดแนว เนื่องจากการหดตัวของไม้ที่ใช้ปูจึงใช้การปิ ดแนวที่ไม้หด ในช่วง ที่มีการอัดพื้นไม้ก็ยงั คงชิดกัน แต่เมื่อความชื้นระเหยไม้ก็จะหดตัว อาจจะทาให้ผงตกลงข้างล่าง จึงนา ไม้บางหนา ½ นิ้ว กว้าง 2 นิ้ว ไสเรี ยบตีปิดในส่วนท้องพื้น ภายหลังการปูพ้นื แล้ว ไม่ควรเป็ นไม้ พื้นที่สดมากนัก เหมาะที่จะใช้กบั การปูพ้นื ชั้นบนและไม่มีการตีฝ้าปิ ด เป็ นต้น


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

6

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4. การปูพนื้ ไม้บังใบ โดยการไสมุมบนด้านหนึ่งกับมุมด้านล่างอีกด้านหนึ่งของขอบตลอด ความยาวให้ลึกเข้ามาทางหน้าไม้ประมาณ 1 ซม. โดยใช้กบมือทารางหรื อใช้เครื่ องเซอะเดือยก็ได้ ไม้ พื้นมีขนาด 4 – 6 นิ้ว เพราะการตอกตะปูจะตอกซ่อนในส่วนที่บงั ใบตัวหงายติดกับหลังตงตัวหนึ่ง จึง ควรตอกหลังพื้นอีกตัวหนึ่ง การบังใบจะแก้ปัญหาไม้หดตัว จะไม่ทาให้พ้นื เป็ นร่ องทะลุลงข้างล่างได้ ปัจจุบนั ใช้นอ้ ยลงเพราะทาบังใบยาก 5. การปูพนื้ เข้ าลิน้ เป็ นที่นิยมมาก ได้ความแข็งแรงดี ไม้ที่ใช้เช่น ไม้มะค่า ไม้ตะแบก ไม้แดง ไม้เต็ง เป็ นต้น ขนาดอยูท่ ี่ 4 และ 6 นิ้ว ไม้หน้ากว้างจะเมื่อโก่งจะแก้ไขยาก 6. การปูพนื้ ไม้สอดลิน้ ทาการเซาะรางลิ้นทางด้านข้างทั้งสองของไม้ตลอดความยาว นาไม้ เนื้อแข็งขนาดบางสอดเข้าระหว่างการอัดพื้นด้วย การตอกตะปูทาได้ท้งั การตอกในส่วนสอดลิ้นและ ตอกบนหน้าไม้ มีการใช้นอ้ ย เพราะทาให้การสอดลิน้ สนิทได้ยาก การปูแบบนี้ป้องกันไม้พ้นื หดตัว 7. การปูพนื้ ไม้เข้ าลิน้ เยือ้ งกัน เช่นเดียวกับการปูพ้นื แบบเข้าลิ้น แต่แนวรอยต่อของไม้เรี ยง ชิดกัน จะเยื้องกับรอยต่อของผิวใต้พ้นื การยึดเกาะของแผ่นจะทาให้มีความหนาแน่น


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

7

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

พืน้ โครงสร้ างไม้ มีขอ้ ดี คือ น้ าหนักเบา ติดตั้งได้สะดวก รวดเร็ ว เป็ นงานแห้งไม่เลอะเทอะ แต่มขี อ้ เสีย คือ รับน้ าหนักไม่ได้มาก มีเสียงดัง กันน้ าไม่ได้ และใน ปัจจุบนั ไม้ที่ดีหายาก และราคาค่อนข้างแพง

รูปที่ 2. ตีปิดทับแนว

รูปที่ 1. ตีชิด

รูปที่4. เข้ าลิน้ สอด

รูปที่3. เข้ ารางลิน้

การปูพนื้ ไม้ บนตง รูปที่ 5. บังใบ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

8

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กมีหลายชนิด อาจจาแนกได้ตามลักษณะการถ่ายน้ าหนักให้กบั ที่รองรับดังนี้ 1.พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียว (One – Way slabs) ใช้กบั พื้นห้องที่ดา้ นยาวของแผ่นพื้นมีความยาว มากกว่า 2 เท่าของด้านสั้น โดยมีที่รองรับตลอดแนวยาวของแผ่นพื้นทั้งสองด้าน ที่รองรับดังกล่าวอาจ เป็ นคาน กาแพงคอนกรี ตเสริ มเหล็ก หรื อคานเหล็กโครงสร้างรู ปพรรณได้ 2. พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กสองทาง (Two – Way slabs) จะใช้กบั ห้องที่มีลกั ษณะเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรื อสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีดา้ นยาวไม่เกินกว่าสองเท่าของด้านสั้นเท่านั้น การรองรับพื้นจะมีคานหรื อ กาแพงคอนกรี ตเสริ มเหล็กรองรับพื้นทั้งสี่ดา้ น ปกติแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กดังกล่าวจะมีทอ้ งพื้น หรื อส่วนล่างของพื้นเป็ นแผ่นเรี ยบขนานกับผิวหน้าของพื้น ซึ่งมักเรี ยกว่า พืน้ คอนกรีตแบบตัน (Solid slabs) แต่อาจมีแบบที่ส่วนล่างของพื้นมีลกั ษณะคล้ายตงซึ่งวางเป็ นระยะ ๆ ห่างกันพอสมควรในช่วง ระหว่างเสาซึ่งเรี ยกว่า พืน้ ระบบตง 3. พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กสองทาง แต่ไม่มคี านรองรับ เรี ยกแผ่นพื้นแบบนี้ว่า แผ่นพืน้ ไร้ คาน ซึ่ง น้ าหนักบรรทุกทั้งหมดจากแผ่นพื้นจะถ่ายลงสู่เสาที่รองรับโดยตรง ซึ่งแผ่นพื้นจะมีความหนาเท่ากัน ตลอดและมีเสารองรับน้ าหนัก เรี ยกว่า flat plates เหมาะสาหรับกรณี ที่ช่วงความยาวระหว่างเสาและ น้ าหนักบรรทุกที่กระทามีค่าไม่มากนัก เช่น เฟลต หรื อ คอนโดมิเนียมที่ใช้พกั อาศัย 4. พืน้ คอนกรีตอัดแรงหล่อก่อน (Precast Prestressed Concrete Floor Slab) การ สร้างพื้นในอาคาร จะหล่อเป็ นพื้นคอนกรี ตอัดแรง แล้วนาไปวางบานคาน ในรู ปที่ 11 แสดงลักษณะที่ แตกต่างกัน อาทิ การหล่อพื้นคอนกรี ตอัดแรงหล่อตัน พื้นคอนกรี ตกลวง พื้น full – depth tee slab มีอยูห่ ลายวิธี คือการต่อกันโดยการทาบเหล็ก โดยการเชื่อมเหล็กสมอที่เคียงกัน และเชื่อมต่อ ตอนรับของพื้นเป็ นเหล็กแผ่น ระบบพื้นคอนกรี ตอัดแรง เป็ นที่นิยมใช้ในงานอาคารสูง เนื่องจากลดเวลาการทาแบบหล่อ และการเทคอนกรี ตได้มากเพราะเป็ นแผ่นพื้นท้องเรี ยบ แต่เนื่องจากระบบพื้นคอนกรี ตอัดแรงดังกล่าว มีความไวต่อการยืดตัวเมื่อถูกความร้อนขณะเกิดอัคคีภยั ทาให้เกิดการวิบตั ิของระบบพื้นอย่างรวดเร็ ว ในปัจจุบนั ได้เปลี่ยนเป็ นวิธีดึงลวดอัดแรงทีหลัง ( Post – Tensioning Method) แทน เพราะมีความปลอดภัยสูง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

9

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

5. พืน้ คอนกรีตอัดแรงทีหลัง (Post Tension) เป็ นระบบพื้น ที่ถกู พัฒนาให้มีช่วงเสากว้างขึ้น พื้นที่ว่าง มากขึ้น และมีอิสระในการแบ่งพื้นที่โดยก่อกาแพงไว้บนพื้นได้โดยไม่ตอ้ งมีคานรองรับ แผ่นพื้นจะมี ท้องเรี ยบ การเดินท่อสาหรับงานระบบจึงทาได้สะดวก มีความหนาประมาณ 1 ใน 45 ของความยาวช่วง เสา จึงช่วยลดความสูงของห้องได้ประมาณ 50 เซนติเมตร การอัดแรงในพื้นทาให้เกิดแรงยกตัว (Balanced Load) ซึ่งมีทิศทางตรงข้ามกับ Dead Load และ Live Load ทาให้การแอ่นตัวมีนอ้ ยลง เป็ น ผลให้ทนทานต่อการแตกร้าวได้ดี (Good Crack Behavior) มีค่า EDGE Deflection ที่ Failure สูงกว่า โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กจึงสามารถรับแรงเนื่องจากแผ่นดินไหวได้ดีกว่าโครงสร้างคอนกรี ตเสริ ม เหล็กโดยทัว่ ไป 6. พืน้ สาเร็จรูป เป็ นระบบพื้นคอนกรี ตอัดแรงที่ทาสาเร็ จรู ปในโรงงาน ซึ่งสามารถผลิตได้รวดเร็ วและ ได้ปริ มาณมาก เป็ นที่นิยมใช้อย่างแพร่ หลายในงานก่อสร้าง เพราะประหยัดทั้งทางด้านราคา เวลา วัสดุ แรงงาน และมีความแข็งแรงสามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัยแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ระบบพื้นชิ้นส่วน เดียว (Single Element Floor System) เป็ นแผ่นพื้นสาเร็ จรู ปชิ้นเดียว ใช้วางพาดบนคานเรี ยงต่อกันไปจน เต็มพื้น และสามารถรับน้ าหนักที่ออกแบบได้ดว้ ยตนเอง ระบบพื้นประกอบ (Composition Floor System) เป็ นพื้นที่ประกอบจากชิ้นส่วนสาเร็ จรู ปเข้าด้วยกันแล้วเททับหน้า ( Topping) ด้วยคอนกรี ต เสริ มเหล็กให้ได้ความหนาตามที่กาหนด เพื่อให้มีความแข็งแรงปลอดภัยต่อการใช้งาน



เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดของพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

1.พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียว (One – Way slabs)

2. พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กสองทาง (Two – Way slabs)


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

หน้ าที่

10

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2.1 พืน้ ตงคอนกรีต (Concrete joint foor)

2.2 พืน้ ร่ วมคาน (Slab – Beam – and - Girder Foor) 2.3 พืน้ หล่ อทับคาน (Solid Slab)

สั ปดาห์ ที่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3. พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กสองทาง แต่ไม่มคี านรองรับ 3.1 พืน้ เรีบบชนิดแฟลท สแลบ (Flat Slab)

3.2 พืน้ เรียบชนิดแฟลท เพลท สแลบ (Flat Plate Slab)


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง 3.3 พืน้ ว็อฟฟึ ล สแลบ (Waffle Slab)

3.4 พืน้ ยกตัว (Lift Slab)

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

4

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยลัยเทคนิคสัตหีบ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

6. พืน้ สาเร็จรูป

หน้ าที่

10

5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4. พืน้ คอนกรีตอัดแรงหล่อก่อน (Precast Prestressed Concrete Floor Slab)

5. พืน้ คอนกรีตอัดแรงทีหลัง (Post Tension)

สั ปดาห์ ที่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

6

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

พฤติกรรมและการเสริมเหล็กพืน้ คอนกรีตเสริมเหล็ก 1. แผ่นพืน้ ทางเดียว (One way Slab)

การเสริมเหล็กในแผ่ นพืน้ ทางเดียว

วิธีที่ 1 เลือกใช้ เหล็กเสริมบนและล่ างแยกส่ วนออกจากกัน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

7

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

วิธีที่ 2 เลือกใช้ขนาดเหล็กเท่ากันแต่ระยะห่ างต่างกัน

วิธีที่ 3 เลือกใช้ขนาดเหล็กต่างกันแต่ระยะห่ างเท่ากัน

วิธีที่ 4 เลือกใช้ขนาดเหล็กเท่ากันและระยะห่ างเท่ากัน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

หน้ าที่

10

8

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. แผ่ นพืน้ สองทาง (Two way Slab)

การเสริมเหล็กในแผ่ นพืน้ สองทาง กรณีที่ 1 เป็ นพืน้ ยื่น

สั ปดาห์ ที่


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

9

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

กรณีที่ 2 เป็ นพืน้ ภายใน

การเสริมเหล็กแกนในแผ่นพืน้

แสดงการเสริมเหล็กในแผ่นพืน้ สองทาง



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 นางสาวสุพตั รา พันธุช์ า แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็ นผนังที่มีความแข็งแรงมาก มีราคาแพงเกินกว่าการใช้เป็ นผนังอาคาร แต่ใช้เพื่อจุดประสงค์ในการ รับน้ าหนักมากเป็ นพิเศษ เช่น ผนังของถังเก็บน้ า ผนังสระว่ายน้ า ผนังห้องใต้ดิน เป็ นต้น ซึ่งทาหน้าที่รับ น้ าหนักในแนวดิ่งและต้านทานต่อแรงดันในด้านข้าง ดังนั้นต้องออกแบบผนังคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ให้หนา เพียงพอที่จะเทคอนกรี ตลงได้ง่าย ต้องเสริ มเหล็กให้แข็งแรง และต้องมีช่องว่างระหว่างเหล็กเสริ มพอเพียงให้ ใช้เครื่ องสัน่ คอนกรี ต เข้าทางานได้สะดวก เนื่องจากคอนกรี ตสดมีแรงดันที่สามารถทาให้เหล็กเสริ มขยับตัว หรื อโก่งได้ จึงควรยึดตาแหน่งเหล็กเสริ มให้คงที่ ด้วยเหล็กเสริ มพิเศษ และลูกปูน ดังแสดงในรู ปที่ 1

แรงดันผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก การเสริ มเล็กเพือ่ รับแรงดันผนัง คสล. มีหลักการเดียวกับกาแพงกันดิน แต่จุดที่เป็ นปัญหาสาหรับการ ก่อสร้างคือ การจัดวางเหล็กเสริ มมุมผนัง เพราะหากจัดวางเหล็กเสริ มไม่ถกู ต้องแล้วโครงสร้างอาจแตกร้าวได้ พฤติกรมของเหล็กที่มากระทาบริ เวณมุมผนัง เนื่องจากแรงดัน 2 ลักษณะ คือ แรงดันที่ทาให้ผนังปิ ด เป็ น แรงดันที่พยายามดันผนังให้เคลื่อนตัวเข้าหากัน ทาให้เกิดแรงดดึงภายในกาแพงขึ้นที่บริ เวณผิวด้านนอก ดังรู ป ที่ 2 a และแรงดันที่ทาให้ผนังเปิ ด เป็ นแรงดันที่พยายามทาให้ผนังเคลื่อนตัวออกจากกัน ทาให้เกิดแรงดึง ภายในกาแพงที่บริ เวณผิวด้านใน ดังรู ป 2b


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

11

หน้ าที่ 2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 นางสาวสุพตั รา พันธุช์ า แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเสริมเหล็กมุมผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก มุมผนังเป็ นบริ เวณที่เป็ นปัญหาสาหรับการก่อสร้าง โดยเฉพาะการให้รายละเอียดและการจัดวางเหล็ก เสริ ม เพราะเป็ นจุดอ่อนที่โครงสร้างแตกร้าวได้ง่าย เนื่องจากการเกิดแรงดันอันไม่พึงประสงค์ ( R ) ดังรู ปที่ 3a หรื อเนื่องจากเหล็กเสริ มรับแรงดึงไม่ต่อเนื่อง ดังรู ปที่ 3b

การเสริ มเหล็กมุมเพื่อต้านทานแรงดันที่ทาให้ผนังปิ ดเข้า สาหรับผนังที่มีแรงดันเพียงเล็กน้อยหรื อผนังที่มี ความสูงไม่มากนัก เป็ นกรณี เดียวเท่านั้นที่สามารถเสริ มเหล็กเพียงชั้นเดียว ในส่วนรายละเอียดบริ เวณมุมผนัง สมารถงอต่อทาบ 90 0 ได้ ดังรู ปที่ 4

สาหรับผนังคอนกรี ตเสริ มเหล็กส่วนใหญ่ที่รับน้ าหนักมาก จาเป็ นต้องจัดทารายละเอียดการเสริ ม เหล็กอย่างถูกต้อง โดยจัดวางเหล็กเสริ มบริ เวณมุมได้ 2 แบบ คือ ดัดเหล็กงอ 90 0 และวางเหล็กเสริ มตามรู ปที่ 5a ให้เหล็กหมายเลข 3 และ 6 ยาวเท่ากัน หรื อแบบที่ 2 เสริ มเหล็กดัดงอรู ปตัวยู ดังรู ปที่ 5b


เนื้อหาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 นางสาวสุพตั รา พันธุช์ า แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเสริ มเหล็กมุมผนังคอนกรี ตเพื่อต้านทานแรงดันที่ทาให้ผนังเปิ ดออก จาเป็ นต้องให้ความสาคัญเป็ นพิเศษ แรงดันที่ทาให้ผนังเปิ ดออกนี้ทาให้เกิดแรงดึงที่ผวิ ด้านใน มีวิธีการเสริ มเหล็ก 4 วิธี ได้แก่ 1.เสริ มเหล็กดัดงอ 90 0 ดังรู ป 5a ที่ได้อธิบายไปแล้ว 2.เสริ มเหล็กรู ปตัวยูขนานกับพื้นดิน ดังรู ป 5b 3.เสริ มเหล็กบริ เวณมุมให้หนาขึ้น ดังรู ป 6 4.เสริ มเหล็กรู ปตัวยูต้งั ฉากกับพื้น ดังรู ป 7 การเสริ มเหล็กคอนกรี ตบริ เวณมุมให้หนาขึ้น เป็ นวิธีให้ความแข็งแรงบริ เวณมุมสูงสุด โดยการเพิ่ม ความหนาผนัง ที่บริ เวณมุมผนังประมาณ 2/3 เท่าของความหนา หรื อมากกว่า โดยมรเหล็กเสริ ม c พาดผ่านมุม ผนังกาแพงทั้ง 2 ด้าน และเกี่ยวยึดกับเหล็ก A และ B ไว้ เหล็กเสริ ม c นี้ทาหน้าที่ตา้ นทานแรงดึงรอบมุม กาแพง

เสริ มเหล็กรู ปตัวยูต้ งั ฉากกับพื้นดิน รู ปที่ 7 แสดงการเสริ มเหล็กพิเศษที่มุมผนังเพิ่ม โดยจัดเตรี ยมเหล็กเสริ ม รู ปตัว เพิ่มที่มุมผนังตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อเพิ่มความแข็งแรง โดยเหล็กเสริ ม B และ C มีขนาดและความยาวเท่ากัน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 นางสาวสุพตั รา พันธุช์ า แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ กาแพงกันดิน กาแพงกันดิน ( Retaining Wall ) เป็ นโครงสร้างที่ออกแบบเพื่อต้านทานแรงดันดินทางด้านข้าง เนื่องจากระดับความสูงของพื้นดินที่มีความแตกต่างกัน และต้านทานแรงดันที่เพิ่มขึ้นอีก เนื่องจากน้ าใต้ดิน นอกจากนี้ในการก่อสร้างอาคารชิดพื้นที่ที่มีระดับความสูงต่างกัน โครงสร้างกาแพงกันดินยังทาหน้าที่รองรับ น้ าหนักจากตัวอาคารในแนวดิ่งอีกด้วย ความมัน่ คงของกาแพงกันดิน โครงสร้างกาแพงกันดิน ทาหน้าที่สาคัญในการต้านทานแรงดันดินด้านข้าง และแรงดันจากน้ าใต้ดิน ซึ่งเป็ นแรงดันธรรมชาติและในบางครั้งแรงดันที่เกิดขึ้นมีมากเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้และพบว่ามีโอกาสเกิดการ วิบตั ิ ดังนั้นวิศวกรต้องให้ความสาคัญกับแรงดันดินที่มีมาเกี่ยวข้อง และออกแบบให้มีความมัน่ คงแข็งแรง อย่างพอเพียง เพื่อให้กาแพงกกันดินมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1.กาแพงกันดินต้องไม่เกิดการเลื่อนตัว ( Sliding Failure ) 2.กาแพงกันดินต้องไม่เกิดการพลิกคว่า ( Overturning Failure ) 3.ดินที่รองรับกาแพงต้องไม่เกิดการทรุ ดตัวมากจนเกิดการวิบตั ิ ( Bearing Failure ) 4.กาแพงกันดินต้องไม่เกิดการเคลื่อนตัว ( Slip Failure ) ซึ่งโดยทัว่ ไปมักเกิดกับกาแพงที่สร้างบนดิน เหนียวอ่อน 5.โครงสร้างของกาแพงกันดินต้องมีความมัน่ คงแข็งแรงเพียงพอ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ แรงดันดิน การคานวณแรงดันดินและการออกแบบกาแพงกกกันดินมีความยุง่ ยาก เนื่องจากมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง หลายปัจจัย เช่น ชนิดของดิน ระดับความสูงของน้ าใต้ดิน เป็ นต้น ลักษณะของแรงดันดินที่กระทาต่อกาแพง กันดิน สามารถแบ่งออกเป็ น 4 ลักษณะ คือ 1.แรงดันดินเชิงรุ ก ( Active Earth Pressure ) คือ แรงดดันดินด้านหลังกาแพงกันดินหรื อด้านที่มี ระดับความสูงกว่า ด้วยน้ าหนักของดินจะพยายามดันกาแพงกันดินให้เลื่อนตัวไปข้างหน้า หรื อทาให้กาแพง กันดินเกิดการพลิกคว่า 2.แรงดันดินเชิงรับ ( Passive Earth Pressure ) คือ แรงดันดินด้านหน้ากาแพงกันดิน หรื อด้านที่มี ระดับต่ากว่า ทาหน้าที่ตา้ นทานการเคลื่อนที่ของกาแพงกันดินเนืองจากแรงดันดินเชิงรุ ก แรงดันดินเชิงรับแบ่ง ออกได้เป็ น แรงดันดินด้านหน้ากาแพง และ แรงดันดินด้านหลังกาแพง 3.แรงเสียดทาน ( Friction ) ระหว่างฐานกาแพงกับดิน ดังรู ป 9 เป็ นแรงที่ตา้ นทานการเลื่อนตัวของ กาแพงเนื่องจากแรงดันดินเชิงรุ ก ซึ่งสามารถออกแบบให้มีแรงเสียดทานมากขึ้นโดยการเสริ มลิ่ม ( key ) และ ขยายปลายฐานรากตอนล่าง ( Toe ) 4.แรงต้านใต้ฐานราก ( Soil Reaction ) เป็ นแรงดันดินที่แบกรับน้ าหนักกาแพงในแนวตั้ง ทาหน้าที่ ต้านทานน้ าหนักตัวกาแพงและน้ าหนักดิน ไม่ได้เกิดการทรุ ดตัว


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

6

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 04-111-106 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ชนิดของกาแพงกันดิน กาแพงกันดินมีหลายประเภท ตมชนิดของวัสดุที่ใช้ก่อสร้าง และลักษณะการใช้ งาน ซึ่งสามารถแบ่งชนิดของกาแพงกันดินได้ดงั นี้ 1.กาแพงกันดินแบบน้ าหนักถ่วง ( Mass Retaining Walls or Gravity Retaining Walls ) 2.กาแพงกันดินแบบผนังยืน่ ( Cantilever Retaining Walls ) 3.กาแพงกันดินแบบมีแผงค้ ายัน ( Counterforts Retaining Walls ) 4.กาแพงกันดินแบบหล่อสาเร็ จรู ป ( Precast Concrete Crib Retaining Walls ) กาแพงกันดินแบบนา้ หนักถ่ วง กาแพงกันดินแบบน้ าหนักถ่วง ( Mass Retaining Walls or Gravity Retaining Walls ) เป็ นกาแพงกันดิน ที่สร้างอย่างง่าย โดยนาหิน ท่อนไม้ อิฐ คอนกรี ต มาวางกั้นขอบ ( Curbs ) หรื อนามาวางเรี ยงซ้อนกัน ( Loose Laid Walls ) สามารถก่อสร้างได้สะดวก น้ าใต้ดินสามารถซึมผ่านกาแพงนี้ได้ กาแพงแบบน้ าหนักถ่วงนี้เหมาะ สาหรับระดับพื้นดินที่มีความแตกต่างไม่เกิน 1 เมตร ดังรู ป

หากกาแพงกันดินแบบน้ าหนักถ่วงที่มีระดับแตกต่างของดินเกิน 1 เมตรแต่ไม่เกิน 1.80 เมตร การใช้วสั ดุก้ นั ขอบและ เรี ยงซ้อนกัน จะสิ้ นเปลืองค่าก่อสร้าง ดังนั้นสามารถก่ออิฐเป็ นกาแพงได้ โดยขยายช่วงฐานให้กว้างขึ้น เพื่อต้านทานต่อแรงดัน ดินเชิงรุ ก หรื อเลือกใช้กาแพงคอนรี ตเสริ มเหล็ก ซึ่ งประหยัดกว่ามาก และเนื่องจากกาแพงกันดินแบบนี้มีน้ าหนักมากกว่า แบบอื่น เพราะเป็ นการสร้างแรงต้านทานจากน้ าหนักของกาแพงเอง หากกาแพงกกันดินนี้มีน้ าหนักมากเกินกว่าความสามารถ ของดินในการรองรับน้ าหนัก อาจต้องเพิ่มเสาเข็มรองรับน้ าหนัก เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการทรุ ดตัว อนึ่งน้ าในดินหลังกาแพง เป็ นปัจจัยสาคัญอย่างยิง่ เพื่อเพิม่ น้ าหนัก ซึ่ งสามารถหลีกเลี่ยงได้โดยการใส่ ท่อระบายน้ าออกจากหลังกาแพง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

7

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

กาแพงกันดินแบบผนังยืน่ กาแพงกันดินแบบผนังยืน่ ( Cantilever Retaining Walls ) เป็ นกาแพงคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบพื้นฐาน ที่มีลกั ษณะเป็ น ผนังกาแพงตั้งฉากกับฐานคอนกรี ต มีความแข็งแรง มีขนาดเล็ก และประหยัด เมื่อเทียบกับกาแพงแบบน้ าหนักถ่วง โดยเฉพาะ กรณี ที่มีความแตกต่างของระดับดินสู ง กาแพงแบบนี้เหมาะกกกับระดับความสู งตั้งแต่ 1.2-6 เมตร


เนื้อหาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

8

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

กาแพงกันดินแบบมีแผงคา้ ยัน กาแพงกันดินแบบมีค้ ายัน ( Counterforts Retaining Walls ) เป็ นกาแพงคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่ ออกแบบให้มีความแข็งแรงมากขึ้น โดยการสร้างแผงค้ ายันคอนกรี ตเหล็กรู ปทรงสามเหลี่ยมด้านหน้า หรื อ ด้านหลังกาแพง ซึ่งเหมาะกับความสูงที่มากกว่า 4.50 เมตร เพราะหากเลือกใช้กาแพงแบบผนังยืน่ กาแพงต้อง หนามากและไม่ประหยัด กาแพงดินแบบมีผนังค้ ายันจึงสามารถลดค่าโครงสร้างลงได้มาก แผงค้ ายันอยู่ ด้านหลังกาแพง เรี ยก Counterforts และแผงค้ ายันอยูด่ า้ นหน้า เรี ยก Buttressed Retaining wall ดังรู ป 13

แผงค้ ายัน ทาหน้าที่รับแรงดันดินที่ถ่ายมาจากผนังกาแพง และเป็ นฐานรองรับผนังกาแพงกกกันดิน ผนังกาแพงกันดินจะ ถ่ายแรงให้ผนังค้ ายันที่ก่อสร้างเป็ นช่วงๆ ดังนั้นเหล็กเสริ มหลัก ของผนังและฐานกาแพง ไม่เป็ นแนวตั้งเหมือนกาแพงผนังยืน่ แต่จดั วางในแนวราบ และเหล็กป้ องกันการแตกร้าววางเสริ มในแนวดิ่ง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

9

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ กาแพงกันดินแบบหล่อสาเร็จรูป เป็ นกาแพงกันดินที่หล่อชิ้นส่วนคอนกรี ตเสริ มเหล็กสาเร็ จรู ปมาจากโรงงาน แล้วนามาประกอบติดตั้ง ยังสถานที่ก่อสร้าง เป็ นกาแพงกันดินที่ออกแบบตามหลักการของกาแพงกกกันดินแบบผนังยืน่ ควบคุมการ ผลิตอย่างดีจากโรงงาน เนื่องจากในโรงงานสามารถหล่อคอนกรี ตได้เป็ นจานวนมากในคราวเดียวกัน จึงทาให้ ประหยัดค่าแบบหล่อได้มาก ลดระยะเวลาการบ่มคอนกรี ตและนาไปประกอบติดตั้งได้ทนั ที ทาให้ลด ระยะเวลาและค่าก่อสร้างได้มาก กาแพงกันดินสาเร็ จรู ปแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ 1.แบบหล่อสาเร็ จรู ป เป็ นการหล่อกาแพงชิ้นสั้น ๆ แล้วนามาวางเรี ยงต่อกันจนได้ระยะทางที่ ต้องการ ดังรู ป 15a 2.แบบประกอบชิ้นส่วน เป็ นการหล่อแท่งคอนกรี ตเป็ นชิ้นๆ นามาประกอบเข้าด้วยกันด้วยสลัก ให้ มีรูปร่ างคล้ายกล่อง และเติมวัสดุที่มีคุณสมบัติระบายน้ าได้ดี เช่น หิน กรวด ทราย ภายในกาแพง ดังรู ป 15b


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

10

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ พฤติกรรมของกาแพงกันดินเมือ่ รับแรงดันดิน รู ปที่ 16a แสดงแรงดันดินด้านข้างซึ่ งมากกว่าน้ าหนักถ่วง ของกาแพงกันดินแบบน้ าหนักถ่วง ทาให้กาแพงเกิดการ เอียงตัวและอาจพลิกคว่าได้ รู ปที่ 16b แรงดันของดินเชิงรุ กทาให้ผนังกาแพงคอนกรี ตเสริ มเหล็กเกิดแรงดึง ในด้านหลังกาแพง และฐานกาแพงส่ วนบนที่สัมผัสกับดิน และในขณะเดียวกันเกิดแรงอัดที่ส่วนของผนังด้านหน้ากาแพง ดังนั้นจึงต้องเสริ ม เหล็กในด้านหน้ากาแพง เพื่อต้านทานแรงดึงให้พอ ป้ องกันการแตกร้าวของกาแพง สาหรับกาแพงแบบมีผนังค้ ายัน แรงดันดิน ทาให้เกิดแรงอัดในด้านหลังกาแพง และเกิดแรงดึงบริ เวณด้านหน้ากาแพงในทิศทางตรงข้ามกัน ดังรู ปที่ 16c แผงค้ ายันที่สร้าง ไว้เป็ นช่วง ๆ ทาหน้าที่รับแรงดันเชิงรุ ก ช่วยลดทั้งแรงดดึงและแรงอัดภายในกาแพง กาแพงแบบนี้จึงมีประสิ ทธิภาพในการรับ น้ าหนักดินสู งกว่าแบบอื่น ๆ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

11

11

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเสริมเหล็กผนังกาแพง การเสริ มเหล็กผนังกาแพงที่ถกู ต้อง คือ เสริ มเพื่อต้านทานแรงดึง ดังนั้นการเสริ มเหล็กต้องเสริ มให้ สอดคล้องกับตาแหน่งที่เกิดแรงดึงภายในกาแพง ซึ่งอยูบ่ ริ เวณด้านหลังของกาแพง ส่วนบนของฐานราก และ โคลนของผนังกาแพง ดังรู ปที่ 17 ปริ มาณเหล็กเสริ มหลักในผนังกาแพงลดจานวนลง ตามค่าโมเมนต์ดดั ที่ลดลง ซึ่งมีค่าสูงสุดบริ เวณโคนผนัง และลดลงจนต่าสุดที่ดา้ นบนผนังกาแพง ดังนั้นจึงนิยมออกแบบให้ ด้านล่างผนังกาแพงหนามาก แล้วค่อย ๆลดความหนาลงตามความสูงหรื อลดจานวนเหล็กเสริ มเป็ นช่วง ๆ



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

บันได ความหมายของบันได บันได ( Stairs ) เป็ นโครงสร้างในแนวดิ่ง สาหรับเดินทางเคลื่อนย้ายระหว่างชั้นต่อชั้น ของอาคาร และเชื่อมต่อตลอดทั้งชั้นของอาคารให้ต่อเนื่องกันอย่างมีรูปแบบ

การแบ่ งประเภทของบันไดตามลักษณะของวัสดุ 1. บันไดไม้ เป็ นบันไดที่ทามาจากไม้นานาพรรณ ไม้ที่นิยมนามาทาได้แก่ ไม้แดง ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้เนื้อแข็งต่าง ๆ จะพบเห็นได้ที่บา้ นเป็ นแบบทรงไทย และนิยมสร้างในสมัยก่อน ส่วนใน ปัจจุบนั ยังมีใช้กนั อยูแ่ ต่ไม่นิยมใช้เพราะราคาไม้ค่อนข้างแพง และไม่แข็งแรงทนทาน และไม่ สามารถทนไฟได้นาน และมีอายุการใช้งานที่นอ้ ย รู ปแบบบันไดที่สามารถออกแบได้มี ดังนี้ - บันไดช่วงเดียว - บันได 2 ช่วง หรื อบันไดรู ปตัว U - บันไดรู ปตัวแอล หรื อบันไดมุมฉาก - บันไดแบบชานพักลอย ส่วนขนาดระยะห่างหรื อความกว้างของลูกตั้ง ลูกนอน ความกว้างของบันได ความกว้าง ของชานพัก และอื่น ๆ จะอยูใ่ นข้อกาหนดของ วสท. เรี ยบร้อยแล้ว 2. บันไดเหล็ก เป็ นบันไดที่ทามาจากเหล็กรู ปพรรณชนิดต่าง ๆ แต่ไม่ค่อยนิยมใช้เหล็ก มาทาเป็ นบันไดเพราะว่า เหล็กมีเสียงดังและมีลกั ษณะไม่ค่อยสวย ส่วนลักษณะที่สามารถออกแบบ ได้จะออกแบบได้ทวั่ ไป และบันไดชนิดเวียนที่เห็นใช้กนั บ่อย


เนือ้ หาการสอน

หน้ าที่

12

2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3. บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก บันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็กเป็ นที่นิยมใช้อย่างกว้างขวาง เพราะสามารถสร้างได้หลายขนาด หลากลายรู ปทรง มีอายุการใช้งานยาวนาน และไม่ไหม้ไฟ ( ข้อกาหนดทางกฎหมายระหว่างบันไดหนีไฟต้องใช้วสั ดุที่ไม่ติดไฟ ) รู ปทรงของบันไดเป็ นผลของ การออกแบบตามสภาพพื้นที่ใช้สอย ลักษณะการใช้งานและความสวยงาม ในทางสถาปัตยกรรมมี รู ปแบบบันไดหลายแบบดังนี้ -

บันไดช่วงเดียว บันได 2 ช่วง หรื อบันไดรู ปตัว U บันไดรู ปตัวแอล หรื อบันไดมุมฉาก บันไดแบบชานพักลอย บันไดยืน่




เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

โครงหลังคาไม้ โครงหลังคาไม้(Timber Trusser) โครงหลังคาไม้เป็ นโครงสร้างที่ใช้พาดช่วงยาวไม่มีเสาช่วงกลางเหมาะสาหรับโครงหลังคา โรงงานอุตสาหกรรม หอประชุม โรงอาหาร สนามกีฬาในร่ ม เป็ นต้น โครงหลังคาจะรับนาหนักของเครื่ องมุง เช่น กระเบื้อง สังกะสี ฝ้ าเพดาน แปและนาหนักโครง หลังคา ประเภทของโครงหลังคา (Type of Truss) โดยทัว่ ไปแบ่งโครงหลังาไม้ออกเป็ น 3 ประเภทคือ 1. โครงหลังคาชัน(pitched Truss) มีมุมมากกว่า 18 องศา 2. โครงหลังคาแบน(Flat Truss) มีมุมน้อยกว่า 18 องศา 3. โครงหลังคาโค้ง(Bowstring Truss)มีมุมน้อยกว่า 18 องศา การประมาณนาหนังของโครงหลังคา คานวณได้จากสูตรต่อไปนี้ 1.โครงหลังคาชัน W=1.02L kg/m2 2.โครงหลังคาแบบ W=0.688L+8.54 kg/m2 3.โครงหลังคาโค้ง W=0.605L+8.54 kg/m2 เมื่อ W คือ นาหนักของโครงหลังคามีหน่วยเป็ น kg/m2บนพื้นที่ในแนวราบ L คือ ช่วงยาวของโครงหลังคามีหน่วยเป็ น m


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 2


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 3

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

นา้ หนักที่กระทาต่อโครงหลังคา(Load on Truss) 1. นา้ หนักบรรทุกคงที่ ได้แก่ น้ าหนักของโครงหลังคา น้ าหนักแป น้ าหนักวัสดุมุงหลังคาและ น้ าหนักฝ้ าเพดาน 2. นา้ หนักบรรทุกจร ตามกฏกระทรวงฉบับที่ 6 (พ.ศ.2527)ข้อที่ 15 ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ได้ให้น้ าหนักบรรทุกจรสาหรับหลังคาไว้เท่ากับ 30 kg/m2 3.แรงลม หลังคาแบบไม่ตอ้ งคิดแรงลม ส่วนหลังคาชันให้คิดแรงลมด้วย ซึ่งสามารถหาได้จาก สูตรของ Duchemin's Formula ดังต่อไปนี้ Pn = P[ 2sinØ ] [ 1+sin2 Ø] เมื่อ Pn คือหน่วยแรงลมตั้งฉากกับหลังคา kg/m2 P คือหน่วยแรงลมขนานกับพื้นดินตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร Ø คือ มุมความลาดเอียงของหลังคา Pn p

90

Ø การออกแบบโครงหลังคา พิจารณาให้แรงกระทาที่จุดต่อต่างๆ จากนั้นคานวณหาแรงในองค์ อาคารของโครงหลังคา เอาแรงที่มากที่สุดในองค์อาคารมาออกแบบรู ปตัด การหาแรงที่กระทาที่จุดต่อให้คานวณดังนี้ แรงกระทาที่จุดต่อภายใน = ระยะห่างโครงหลังคา x ช่วงย่อย x น้ าหนักในแนวดิ่งต่อตารงเมตร


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รอยต่อโครงสร้ างไม้ รอยต่อในโครงสร้างไม้มีจุดอ่อนที่จะต้องพิจารณาให้ละเอียดรอบครอบ เพราะถ้ารอยต่อไม่ มัน่ คง ถึงแม้จะออกแบบให้รับแรงอัด แรงดัด แรงเฉือนได้แล้วก็ตาม อาจทาให้โครงสร้างส่วนอื่น เสียหายได้ รอยต่อที่รับแรงอัด จะมีปัญหาน้อยกว่ารอยต่อที่รับแรงดึง เพราะรอยต่อที่รับแรงดึง จาเป็ นต้องลบพื้นที่ส่วนที่เจาะรู ออกไป สาหรับอุปกรณ์ที่ใช้ในการต่อไม้มีหลายชนิดและหลานรู ปแบบ ซึ่งปัจจุบนั บางชนิดก็ยงั ได้รับความนิยมใช้กนั อยู่ แบ่งชนิดไม่ได้รับความนิยมหรื อได้เลิกใช้ไปแล้วก็มี

อุปกรณยึดไม้ (Timber Fasteners) อุปกรณ์ยดึ ไม้มีหลายชนิด ได้แก่ - ตะปูและตะปูอว้ น ( nail and spike) - ตะปูควง(wood screw) - ตะปูเกลียวปลายปล่อย( lag screw) - สลักไม่มีเกลียว(drift bolt) - สลักเกลียว(turn bolt) - แหวนยึดแบบแหวนผ่า(split ring) อุปกรณ์ที่ใช้ยดึ ไม่ตา้ นทานของแรงถอน (holding power)และแรงต้านทานด้านข้าง(lateral resistance)ได้คือ ตะปู ตะปูควงและตะปูเกลียว อุปกรณ์ที่ตา้ นทานแรงด้านข้างอย่างเดียว ได้แก่ สลักเกลียว และแหวนยึดไม้แบบต่างๆ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 5



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิชาชื:่อสถานศึ ช่างก่อสร้ กษาาง: วิทยาลัยเทคนิคชื่อชื่ สถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

โครงหลังคาเหล็ก โครงหลังคาเหล็ก โครงหลังคาเหล็กเหมาะกับโครงสร้ างช่วงยาวและไม่ต้องการมีเสากลางรับจันทัน อันได้ แก่โรงงานอุตสาหกรรม โรงยิมเนเซียม หอประชุม เป็ นต้ น ฐานรองรับที่ปลายข้ างหนึง่ ทาให้ อยู่ก(บั Fixed ที่ Support) อีกปลายข้ างหนึง่ ทาให้ เคลือ่ นที่ได้ (Free Support ) ทั ้งนี ้เพื่อป้องกันการขยายตัวและหดตัวเนื่องจากอุณหภูมิ

จุดรองรับโครงหลังคาเหล็ก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนคร ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ปแบบของหลังคาที่ใช้ เป็ นโครงสร้ างอาคาร

ส่ วนประกอบต่ างๆขององค์ อาคารที่ประกอบขึ้นเป็ นอาคารอุตสากรรม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 15

หน้ าที่ 3

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิ คสัตหี บ

ประเภทของโครงหลังคา การจัดประเภทของโครงหลังคาเหมือนกับโครงหลังคาไม้ ตัวอย่างโครงหลังคาแบบต่างๆ ตัวอย่างโครงหลังคาแบบต่างๆ ได้กล่าวไว้ในเรื่ องของโครงหลังคาไม้แล้ว นา้ หนักที่ที่กระทากับโครงหลังคา น้ าหนักที่กระทากับโครงหลังคาประกอบด้วย นา้ หนักบรรทุกคงที่ ได้แก่ น้ าหนักวัสดุมุง น้ าหนักแป น้ าหนักค้ ายัน น้ าหนักฝ้ าเพดาน น้ าหนักตัว โครงหลังคาเอง นา้ หนักบรรทุกจร ซึ่งใช้ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร.ศ.พ 2522 แรงลม ที่กระทาตั้งฉากกับโครงหลังคา แรงลมในแนวราบใช้ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร .ศ. พ 2522 การคิดแรงลมที่กระทาตั้งฉากกับโครงหลังคาคิดได้หลายแบบ แต่ที่นิยมใช้กนั มากที่สุดคือสูตรของ Duchemin's Formula ซึ่งได้กล่าวไว้แล้วในโครงหลังคาไม้ การคิดแรงลมในแนวราบให้กระทาตั้งฉากกับตัวอาคารและหลังคาอีกสูตรหนึ่งที่ใช้กนั มากคือ เอา แรงลมในแนวราบx ค่าสัมประสิทธิ์แต่ละด้าน(ดูรูป ก) ตัวอย่างเช่น แรงลมในแนวราบความสูงไม่เกิ10น ม. ใช้ 50 ดังนั้น แรงลมตั้งฉากกับตัวอาคาร= 50 x 0.8 = 40 kg/m2


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 15

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิ คสัตหี บ

หน้ าที่ 4


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม

สั ปดาห์ ที่ 15

หน้ าที่ 5

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิ คสัตหี บ

มาตรฐาน AISC และมาตราฐาน ว.ส.ท. ให้ คิดแรงลมที่เกิดขึ ้นในชิ ้นส่วนของโครงสร้ างเพียง 75% ของค่าที่คานวณ ได้ เนื่องจากการกระทาของแรงลมเท่านั ้น เพราะถือว่าแรงลมเกิดขึ ้นเพียงชัว่ คราวไม่ได้ เกิดตลอดเวลา เช่น แรงที่เกิดขึ ้นใน ชิ ้นส่วนของโครงสร้ างจากการกระทาของแรงลมคานวณได้1000 กิโลกรัม ใช้ จริงเพียง1000x0.75 เท่ากับ 750กิโลกรัม เท่านั ้น การคิดน ้าหนักของโครงหลังคาเหล็กและการประมาณน ้าหนักโครงหลังคาเหล็ก โดยทัว่ ไปจะใช้ สองสูตรเปรียบเทียบ กัน แล้ วนาค่าที่มากกว่ามาใช้ สูตรที1่ W t = 0.01W(1+0.33L) สูตรที2่ Wt = 0.333L+5 เมื่อ W t คือน ้าหนักตัวโครงหลังคาทั ้งหมด kg/m2 W คือน ้าหนักทั ้งหมดยกเว้ นตัวโครงหลังคาkg/m2 L คือช่วงความยาวของตัวโครงหลังคาm



สอบเก็บคะแนน 1. เสาเข็มเจาะในปัจจุบนั แบ่งตามลักษณะขบวนการทางานออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง 2 ประเภท คือ เสาเข็มเจาะแบบแห้ง (Dry Process) และเสาเข็มแบบเปี ยก (Wet Process) 2. จงบอกข้อดีของเสาเข็มเจาะมา อย่างน้อย 5 ข้อ - สามารถทางานในพื้นที่ที่ความสูงจากัด ลดการสัน่ สะเทือน สามารถเลือกเสาเข็มตามที่ ต้องการ ตรวจสอบชั้นดินที่ปลายเสาเข็มได้แน่นอน ลดการแตกร้าวของเสาเข็มขณะตอก 3. จงบอกประเภทของคานไม้มาอย่าง 3 ประเภท คานบากลดความลึกปลาย คานประกอบแนบทางนอน คานประกอบแนบทางตั้ง 4. คานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก มี 3 ประเภท อะไรบ้าง คานช่วงเดี่ยว คานต่อเนื่อง และคานยืน่ 5. การเสริ มเหล็กในคานมีเพื่ออะไร และเหล็ก คอนกรี ตรับแรงอะไร เพื่อลดการแตกร้าว และการโก่งตัวของคาน ซึ่งเหล็กทาหน้าที่รับแรงดึงและคอนกรี ตรับ แรงอัด 6. จงบอกวิธีการปูพ้นื ไม้มาอย่างน้อย 4 วิธี พร้อมวาดรู ป

7. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก แบ่งได้เป็ น3ประเภท พื้นวางบนดิน(Slab on Ground) พื้นวางบนคาน (Slab on Beam) พื้นคอนกรี ตสาเร็ จรู ป (Pre-cast Slab)


8. อธิบายพื้นคอนกรี ตอัดแรงทีหลัง (Post Tension) เป็ นระบบพื้น ที่ถกู พัฒนาให้มีช่วงเสากว้างขึ้น พื้นที่ว่างมากขึ้น ไม่ตอ้ งมีคานรองรับ 9. อธิบายพืน้ สาเร็จรูป เป็ นระบบพื้นคอนกรี ตอัดแรงที่ทาสาเร็ จรู ปในโรงงาน ซึ่งสามารถ ผลิตได้รวดเร็ วและได้ปริ มาณมาก เป็ นที่นิยมใช้อย่างแพร่ หลายในงานก่อสร้าง เพราะ ประหยัดทั้งทางด้านราคา เวลา วัสดุ แรงงาน และมีความแข็งแรงสามารถใช้งานได้อย่าง ปลอดภัย 10. อธิบายความหมายของคาว่า Topping คือ การเทคอนกรี ตทับหน้า พื้นสาเร็ จรู ป ซึ่งก่อนที่ จะเทต้องมีการวางเหล็กไวร์เมช (Wire Mesh) ก่อน


สอบเก็บคะแนน 1. เสาเข็มเจาะในปัจจุบนั แบ่งตามลักษณะขบวนการทางานออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง 2. จงบอกข้อดีของเสาเข็มเจาะมา อย่างน้อย 5 ข้อ 3. จงบอกประเภทของคานไม้มาอย่าง 3 ประเภท

4. คานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก มี 3 ประเภท อะไรบ้าง

5. การเสริ มเหล็กในคานมีเพื่ออะไร และเหล็ก คอนกรี ตรับแรงอะไร 6. จงบอกวิธีการปูพ้นื ไม้มาอย่างน้อย 4 วิธี พร้อมวาดรู ป

7. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก แบ่งได้เป็ น3ประเภท

8. อธิบายพื้นคอนกรี ตอัดแรงทีหลัง (Post Tension)

9. อธิบายพื้นสาเร็ จรู ป

10. อธิบายความหมายของคาว่า Topping



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

โครงหลังคาไม้ โครงหลังคาไม้ (Timber Trusser) โครงหลังคาไม้เป็ นโครงสร้างที่ใช้พาดช่วงยาวไม่มีเสาช่วงกลางเหมาะสาหรับโครงหลังคา โรงงานอุตสาหกรรม หอประชุม โรงอาหาร สนามกีฬาในร่ ม เป็ นต้น โครงหลังคาจะรับนาหนักของเครื่ องมุง เช่น กระเบื้อง สังกะสี ฝ้ าเพดาน แปและนาหนักโครง หลังคา ประเภทของโครงหลังคา (Type of Truss) โดยทัว่ ไปแบ่งโครงหลังาไม้ออกเป็ น 3 ประเภทคือ 1. โครงหลังคาชัน(pitched Truss) มีมุมมากกว่า 18 องศา 2. โครงหลังคาแบน(Flat Truss) มีมุมน้อยกว่า 18 องศา 3. โครงหลังคาโค้ ง(Bowstring Truss)มีมุมน้อยกว่า 18 องศา การประมาณนาหนังของโครงหลังคา คานวณได้จากสู ตรต่อไปนี้ 1.โครงหลังคาชัน W=1.02L kg/m2 2.โครงหลังคาแบบ W=0.688L+8.54 kg/m2 3.โครงหลังคาโค้ง W=0.605L+8.54 kg/m2 เมื่อ W คือ นาหนักของโครงหลังคามีหน่วยเป็ น kg/m2บนพื้นที่ในแนวราบ L คือ ช่วงยาวของโครงหลังคามีหน่วยเป็ น m


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 2


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

นา้ หนักทีก่ ระทาต่ อโครงหลังคา(Load on Truss) 1. นา้ หนักบรรทุกคงที่ ได้แก่ น้ าหนักของโครงหลังคา น้ าหนักแป น้ าหนักวัสดุมุงหลังคาและ น้ าหนักฝ้ าเพดาน 2. นา้ หนักบรรทุกจร ตามกฏกระทรวงฉบับที่ 6 (พ.ศ.2527)ข้อที่ 15 ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ได้ให้น้ าหนักบรรทุกจรสาหรับหลังคาไว้เท่ากับ 30 kg/m2 3.แรงลม หลังคาแบบไม่ตอ้ งคิดแรงลม ส่ วนหลังคาชันให้คิดแรงลมด้วย ซึ่ งสามารถหาได้จาก สู ตรของ Duchemin's Formula ดังต่อไปนี้ Pn = P[ 2sinØ ] [ 1+sin2 Ø] เมื่อ Pn คือหน่วยแรงลมตั้งฉากกับหลังคา kg/m2 P คือหน่วยแรงลมขนานกับพื้นดินตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร Ø คือ มุมความลาดเอียงของหลังคา Pn p

90

Ø การออกแบบโครงหลังคา พิจารณาให้แรงกระทาที่จุดต่อต่างๆ จากนั้นคานวณหาแรงในองค์ อาคารของโครงหลังคา เอาแรงที่มากที่สุดในองค์อาคารมาออกแบบรู ปตัด การหาแรงที่กระทาที่จุดต่อให้คานวณดังนี้ แรงกระทาที่จุดต่อภายใน = ระยะห่างโครงหลังคา x ช่วงย่อย x น้ าหนักในแนวดิ่งต่อตารงเมตร


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 4

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

รอยต่ อโครงสร้ างไม้ รอยต่อในโครงสร้างไม้มีจุดอ่อนที่จะต้องพิจารณาให้ละเอียดรอบครอบ เพราะถ้ารอยต่อไม่ มัน่ คง ถึงแม้จะออกแบบให้รับแรงอัด แรงดัด แรงเฉื อนได้แล้วก็ตาม อาจทาให้โครงสร้างส่ วนอื่น เสี ยหายได้ รอยต่อที่รับแรงอัด จะมีปัญหาน้อยกว่ารอยต่อที่รับแรงดึง เพราะรอยต่อที่รับแรงดึง จาเป็ นต้องลบพื้นที่ส่วนที่เจาะรู ออกไป สาหรับอุปกรณ์ที่ใช้ในการต่อไม้มีหลายชนิดและหลานรู ปแบบ ซึ่ งปั จจุบนั บางชนิดก็ยงั ได้รับความนิยมใช้กนั อยู่ แบ่งชนิดไม่ได้รับความนิยมหรื อได้เลิกใช้ไปแล้วก็มี

อุปกรณยึดไม้ (Timber Fasteners) อุปกรณ์ยดึ ไม้มีหลายชนิด ได้แก่ - ตะปูและตะปูอว้ น ( nail and spike) - ตะปูควง(wood screw) - ตะปูเกลียวปลายปล่อย( lag screw) - สลักไม่มีเกลียว(drift bolt) - สลักเกลียว(turn bolt) - แหวนยึดแบบแหวนผ่า(split ring) อุปกรณ์ที่ใช้ยดึ ไม่ตา้ นทานของแรงถอน (holding power)และแรงต้านทานด้านข้าง(lateral resistance)ได้คือ ตะปู ตะปูควงและตะปูเกลียว อุปกรณ์ที่ตา้ นทานแรงด้านข้างอย่างเดียว ได้แก่ สลักเกลียว และแหวนยึดไม้แบบต่างๆ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

สั ปดาห์ ที่ 14

หน้ าที่ 5



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

1

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

แผนกวิชาชื่:อสถานศึ ช่างก่อสร้ กษาาง: วิทยาลัยเทคนิคชื่อชื่ สถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

โครงหลังคาเหล็ก โครงหลังคาเหล็ก โครงหลังคาเหล็กเหมาะกับโครงสร้ างช่วงยาวและไม่ต้องการมีเสากลางรับจันทัน อันได้ แก่โรงงานอุตสาหกรรม โรงยิมเนเซียม หอประชุม เป็ นต้ น ฐานรองรับที่ปลายข้ างหนึง่ ทาให้ อยูก่( บั Fixed ที่ Support) อีกปลายข้ างหนึง่ ทา ให้ เคลือ่ นที่ได้ (Free Support ) ทังนี ้ ้เพื่อป้องกันการขยายตัวและหดตัวเนื่องจากอุณหภูมิ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ยาลัางยเทคนิคนคร ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ปแบบของหลังคาทีใ่ ช้ เป็ นโครงสร้ างอาคาร

ส่ วนประกอบต่ างๆขององค์ อาคารทีป่ ระกอบขึน้ เป็ นอาคารอุตสากรรม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 15

หน้ าที่ 3

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

ประเภทของโครงหลังคา การจัดประเภทของโครงหลังคาเหมือนกับโครงหลังคาไม้ ตัวอย่างโครงหลังคาแบบต่ างๆ ตัวอย่างโครงหลังคาแบบต่างๆ ได้กล่าวไว้ในเรื่ องของโครงหลังคาไม้แล้ว นา้ หนักทีท่ กี่ ระทากับโครงหลังคา น้ าหนักที่กระทากับโครงหลังคาประกอบด้วย นา้ หนักบรรทุกคงที่ ได้แก่ น้ าหนักวัสดุมุง น้ าหนักแป น้ าหนักค้ ายัน น้ าหนักฝ้ าเพดาน น้ าหนักตัว โครงหลังคาเอง นา้ หนักบรรทุกจร ซึ่งใช้ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร.ศ. พ 2522 แรงลม ที่กระทาตั้งฉากกับโครงหลังคา แรงลมในแนวราบใช้ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร .ศ. พ 2522 การคิดแรงลมที่กระทาตั้งฉากกับโครงหลังคาคิดได้หลายแบบ แต่ที่นิยมใช้กนั มากที่สุดคือสู ตรของ Duchemin's Formula ซึ่ งได้กล่าวไว้แล้วในโครงหลังคาไม้ การคิดแรงลมในแนวราบให้กระทาตั้งฉากกับตัวอาคารและหลังคาอีกสู ตรหนึ่งที่ใช้กนั มากคือ เอา แรงลมในแนวราบx ค่าสัมประสิ ทธิ์ แต่ละด้าน(ดูรูป ก) ตัวอย่างเช่น แรงลมในแนวราบความสู งไม่เกิ10 น ม. ใช้ 50 ดังนั้น แรงลมตั้งฉากกับตัวอาคาร= 50 x 0.8 = 40 kg/m2


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1

สั ปดาห์ ที่ 15

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

หน้ าที่ 4


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 ชาก:ษาช่า:งก่วิอทสร้ ชืแผนกวิ ่อสถานศึ ยาลัางยเทคนิคนครปฐม

สั ปดาห์ ที่ 15

หน้ าที่ 5

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

มาตรฐาน AISC และมาตราฐาน ว.ส.ท. ให้ คิดแรงลมที่เกิดขึ ้นในชิ ้นส่วนของโครงสร้ างเพียง 75% ของค่าที่ คานวณได้ เนื่องจากการกระทาของแรงลมเท่านัน้ เพราะถือว่าแรงลมเกิดขึ ้นเพียงชัว่ คราวไม่ได้ เกิดตลอดเวลา เช่น แรงที่ เกิดขึ ้นในชิ ้นส่วนของโครงสร้ างจากการกระทาของแรงลมคานวณได้ 1000 กิโลกรัม ใช้ จริ งเพียง1000x0.75 เท่ากับ 750กิโลกรัมเท่านัน้ การคิดน ้าหนักของโครงหลังคาเหล็กและการประมาณน ้าหนักโครงหลังคาเหล็ก โดยทัว่ ไปจะใช้ สองสูตรเปรี ยบเทียบ กัน แล้ วนาค่าที่มากกว่ามาใช้ สูตรที1่ W t = 0.01W(1+0.33L) สูตรที2่ Wt = 0.333L+5 เมื่อ W t คือน ้าหนักตัวโครงหลังคาทังหมด ้ kg/m2 W คือน ้าหนักทังหมดยกเว้ ้ นตัวโครงหลังคาkg/m2 L คือช่วงความยาวของตัวโครงหลังคาm



เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

1

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

กระเบือ้ งซีเมนต์ใยหิน เป็ นที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไป ราคาถูกไม่แพงหาซื้อได้ง่ายใช้ได้นาน การผลิตอยูใ่ ต้มาตรฐานอุตสาหกรรม “มอก.” มีลกั ษณะเป็ นแผ่นสาหรับใช้ในการก่อสร้างทัว่ ไปป้ องกันความร้อนได้ดี ติดตั้งง่าย น้ าหนักเบา สะดวกในการทางาน กระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นลอนแบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ - กระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นลอนคู่ - กระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นลอนลูกฟูก 1. กระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินแผ่นลอนคู่ กระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นลอนคู่ หมายถึง กระเบื้องซีเมนต์ใยหินที่มีลอนขนาดเท่ากัน ( Asymmetry) ขนาดของกระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นลอนคู่ ความกว้าง 50 ซม. คลาดเคลื่อนได้ +10 ซม. –0.5 ซม. ความยาวชนิด 120 ซม. คลาดเคลื่อนได้ +1 ซม. –1 ซม. ความยาวชนิด 150 ซม. คลาดเคลื่อนได้ +1 ซม. –1 ซม. ความหนา 0.5 ซม. คลาดเคลื่อนได้ +0.05 ซม. ระยะห่างของลอน (A) 22.5 ซม. คลาดเคลื่อนได้ +0.22 ซม. –0.2 ซม. ความสูงของลอน (h) 5 ซม. คลาดเคลื่อนได้ +0.3 ซม. –0.3 ซม. กระเบื้องลอนคู่ (Remon tile) มีลกั ษณะดังรู ปข้างล่าง แสดงหน้าตัดของกระเบื้องใยหินลอนคู่

รูปแสดงหน้ าตัดของกระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินลอนคู่


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

2

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง บริ ษทั ที่ผลิตกระเบื้องซีเมนต์ลอนคู่ มีดงั ต่อไปนี้ * บริ ษทั กระเบื้องกระดาษไทย ผลิตกระเบื้องตราช้าง * บริ ษทั โอฬาร ผลิตกระเบื้องตราลูกโลก * บริ ษทั กระเบื้องซุปเปอร์ จากัด ผลิตกระเบื้องตราสิงห์โต * บริ ษทั กระเบื้องทิพย์ จากัด ผลิตกระเบื้องตราต้นไม้ ขนาดและน้ าหนักของกระเบื้องหินลอนคู่ กระเบื้องลอนคู่ ขนาด ( กว้าง * ยาว ) น้ าหนัก (กก.) 50 * 120 ซม. 6.0 50 * 150 ซม. 7.5 2. กระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินแผ่นลอน แบบลูกฟูก ถ้าจาแนกตามความสูงของลอน ระยะ h ในรู ปถัดไป วัดจากท้องลอนถึงยอดกระเบื้องสามารถ จาแนกชื่อกระเบื้องตามความสูง ดังนี้ ชนิดลอนใหญ่ ความสูงของลอนไม่นอ้ ยกว่า 4.2 ซม. ชนิดลอนกลาง ความสูงของลอนน้อยกว่า 4.2 ซม. แต่ไม่นอ้ ยกว่า 3 ซม. ชนิดลอนเล็ก ความสูงของลอนน้อยกว่า 3 ซม. แต่ไม่นอ้ ยกว่า 1.5 ซม.

รูป แสดงความสู งของลอน บริ ษทั ที่ผลิตกระเบื้องซีเมนต์ลกู ฟูก มีดงั ต่อไปนี้ * บริ ษทั กระเบื้องกระดาษไทย ผลิตกระเบื้องตราช้าง * บริ ษทั โอฬาร ผลิตกระเบื้องตราลูกโลก * บริ ษทั กระเบื้องซุปเปอร์ จากัด ผลิตกระเบื้องตราสิงห์โต


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ขนาดของกระเบื้องลอนลูกฟูก ลอนใหญ่ขนาด 102 *150 ซม. ลอนเล็กขนาด 54 * 120 ซม. ลอนเล็กขนาด 54 * 150 ซม. ลอนเล็กขนาด 54 * 150 ซม.

16

3

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สีซีเมนต์ สีซีเมนต์ สีซีเมนต์ สีแดง

กระเบือ้ งลูกฟูก ลอนเล็ก น้ าหนัก (กก.) 5.3 6.6

กระเบือ้ งลูกฟูก ลอนใหญ่ ขนาด (กว้าง * ยาว) 102 * 120 ซม. 102 * 150 ซม. 102 * 180 ซม. 102 * 240 ซม.

หน้ าที่

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา

ขนาดและน้ าหนักของกระเบื้องใยหินลอนลูกฟูก

ขนาด (กว้าง * ยาว) 54 * 120 ซม. 54 * 150 ซม.

สั ปดาห์ ที่

น้ าหนัก (กก.) 15.7 19.7 23.6 31.5


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

4

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูป วิธีมุงกระเบือ้ งหลังคา ด้ านที่ 1 มุงจากขวาไปซ้าย แถวที่ 1 หมายเลข 1 หมายเลข 2 , 3 และครอบ แถวที่ 2 , 3 หมายเลข 4 , 7 หมายเลข 5 , 6 , 8 , 9 และครอบ แถวที่ 4 (แถวสุดท้าย) หมายเลข 10 , 11 , 12 ด้ านที่ 2 มุงจากซ้ายไปขวา แถวที่ 1 หมายเลข 1 หมายเลข 2 , 3 และครอบ แถวที่ 2 , 3 หมายเลข 4 ,7 หมายเลข 5 , 6 , 8 , 9 และครอบ แถวที่ 4 (แถวสุดท้าย) หมายเลข 10 , 11 , 12

ไม่ตดั มุม ตัดมุมซ้ายล่าง ตัดมุมขวาบน ตัดมุมขวาบน ซ้ายล่าง ตัดมุมซ้ายบน ครอบไม่ตดั มุม ไม่ตดั มุม ตัดมุมซ้ายล่าง ตัดมุมซ้ายบน ตัดมุมซ้ายบน ขวาล่าง ตัดมุมซ้ายบน ครอบไม่ตดั มุม


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

5

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

อุปกรณ์ ยึด ตะปูและนอต ตะปูและเป็ นวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในการตอกและยึดวัสดุก่อสร้างให้ติดกัน เช่น ติดไม้ฝากับคร่ าวฝา ติดพื้น กับตงไม้ ในกรณี ที่ตอ้ งการให้การติดนั้นถอดออกได้โดยไม่ให้วสั ดุน้ นั เสียและสามารถประกอบเข้าดังเดิมได้ เช่น การติดบานพับประตู หน้าต่างที่ใช้ตะปูควง หรื อที่ตอ้ งการยึดส่วนโครงสร้างเข้าด้วยกันให้แข็งแรงก็อาจ ใช้นอต ตะปูและตะปูควงออกแบบและผลิตออกมาจาหน่ายหลายชนิดหลายขนาดด้วยกันตามความประสงค์ ของผูใ้ ช้งานด้านต่าง ๆ ผูท้ ี่สนใจในงานก่อสร้างควรสนใจในงานช่างก่อสร้างควรทราบข้อมูลต่าง ๆ ของตะปู ให้แน่ชดั เพื่อนาไปใช้ในงานให้เหมาะสมกับคุณลักษณะและชนิดของตะปู

 ตะปูตอกไม้ และตะปูตอกคอนกรีต ตะปูตอกไม้ที่ใช้ในการก่อสร้างนั้นทาจากลวดเหล็กอาบสังกะสีเพื่อกันสนิม ส่วนตะปูตอกคอนกรี ตจะ ทาด้วยเหล็กพิเศษซึ่งแข็งไม่คดงอได้ง่าย ตะปูที่ใช้ในการต่อเรื อเป็ นตะปูที่ทาด้วยทองแดง เพื่อป้ องกันการผุ จากสนิมเมื่อเรื อไปแช่น้ าอยูน่ าน ๆ ส่วนสาคัญของตะปูที่ควรศึกษามี 3 ส่วนคือ ส่วนหัวตะปู ส่วนลาตัว และส่วนปลาย ส่วนหัวตะปูที่ใช้ ตอกไม้โดยทัว่ ไปจะมีหวั แบนพอสมควร หัวตะปูที่ตอกแผ่นพลาสเตอร์จะใหญ่แบนเป็ นพิเศษ ตะปูตอก สังกะสีหวั จะกลมและใหญ่เพื่อกันฝนรั่ว ส่วนลาตัวของตะปูน้ นั ความยาวเรี ยกเป็ นนิ้ว ซึ่งเป็ นชื่อเรี ยกขนาดของตะปู เช่น ตะปูขนาด 3 นิ้ว หมายความว่าขนาดของลาตัวตะปูยาว 3 นิ้ว ส่วนความหนาหรื อเส้นผ่าศูนย์กลางของตะปูน้ นั เรี ยกเป็ นเบอร์ ตามหน่วยวัดมาตรฐาน ที่ลาตัวของตะปูจะมีร่องรอบตัวเป็ นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดความฝื ดยึดเกาะกับไม้ ส่วนปลายของตะปูออกแบบมาในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่นปลายแหลมธรรมดาสาหรับตอกไม้ ใน กรณี ที่เป็ นไม้เนื้อแข็งมากและไม้ที่ตอกเป็ นท่อนใหญ่แบบไม้หมอนรองทางรถไฟ ตัวตะปูอาจเป็ นเหลี่ยมและ ปลายตะปูอาจเป็ นรู ปลิ่มเพื่อความแข็งแรง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

6

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูปที่ 1 ส่ วนหัวและส่ วนปลายตะปูที่มีลักษณะต่ าง ๆ กัน

 ตะปูควง ตะปูควง (screws) เป็ นตะปูที่ทาจากเหล็กเหนียวซึ่งเหล็กชนิดนี้ทาเกลียวได้ดีกว่าเหล็กกล้าลาตัวของ เหล็กชนิดนี้เป็ นเกลียวและเรี ยวไปที่ส่วนปลาย ส่วนตะปูควงที่ใช้กบั โลหะนั้นเกลียวจะสม่าเสมอกันตลอด ไม่ เรี ยวปลายเช่นตะปูที่ใช้กบั ไม้ ส่วนของหัวตะปูควงนั้นมีต่าง ๆ กันตามความประสงค์การใช้งาน เช่นหัวแบน สาหรับงานไม้ หัวกลมสาหรับงานโลหะ ส่วนที่หวั ของตะปูควงจะมีร่องสาหรับไขควงขับตะปูควงเข้าไป ร่ อง นี้โดยทัว่ ๆ ไปใช้สาหรับงานไม้จะเป็ นร่ องตรงตลอดผ่ากลางหัวตะปู ตะปูควงบางชนิดที่ใช้ในงานเครื่ องยนต์ หรื องานอิเล็กทรอนิกส์ หัวตะปูควงจะมีร่องผ่าเป็ นสี่แฉกเรี ยกว่าหัวแบบสี่แฉก (Phillips slotted)


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

7

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

 นอตเกลียวปล่ อย นอตเกลียวปล่อย (lag bolts) ลักษณะคล้ายกับตะปูควง แต่ขนาดใหญ่กว่าและหัวเป็ นหกเหลี่ยมไม่มีผา่ หัวหกเหลี่ยมสาหรับใช้กุญแจเลื่อนหรื อกุญแจปากตายไขเข้าไปในเนื้อไม้ นอตเกลียวปล่อยใช้ในกรณี ที่ ต้องการความยึดเหนี่ยวสูงกว่าที่ใช้ตะปูควง และบางชนิดในเนื้อไม้แข็งถ้าใช้ตะปูควงขนาดใหญ่จะไขด้วยไข ควงเข้าไปโดยยาก หากใช้นอตเกลียวปล่อยและขันด้วยกุญแจปากตายจะง่ายกว่า การใช้งานนอตเกลียวปล่อยบางครั้งต้องใช้วงแหวนรองที่หวั ตะปูเพื่อความเรี ยบร้อยและเพื่อป้ องกันไม้ ถูกหัวตะปูขดู เป็ นรอยวงแหวนที่ใช้มีลกั ษณะต่าง ๆ กัน เช่น วงแหวนเรี ยบปกติ วงแหวนที่มีส่วนนูนรับตัว นอต วงแหวนที่ตดั ขาดจากกัน วงแหวนที่เป็ นรู ปหยัก ๆ ที่ส่วนรอบนอกของวงแหวนเพื่อขันให้แน่นเป็ น พิเศษ

รูปที่ 2 วงแหวนชนิดต่ าง ๆ

นอกจากตะปูและนอตชนิดต่าง ๆ แล้วยังมี พุก (plug) ซึ่งอาจทาด้วยทองเหลืองหรื อพลาสติกหรื อ อะลูมิเนียม ซึ่งทาให้ส่วนที่รับเกลียวขยายตัวได้เพื่อให้ฝังแน่นเรี ยกว่า พุกขยายตัว ใช้สาหรับฝังในกาแพง คอนกรี ตหรื อกาแพงอิฐเพื่อติดเครื่ องสุขภัณฑ์ให้แน่น พุกชนิดนี้มีขนาดต่าง ๆ เรี ยกตามความยาว ชนิดที่เป็ น ทองเหลืองกาลังยึดเหนี่ยวดี

รูปที่ 3 หัวต่ อเร่ งชนิด 2 ปลาย


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

8

นางสาวสุ พตั รา พันธุ์ชา ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ในการฝังวัสดุติดกาแพงซึ่งต้องการแรงยึดเหนี่ยวมาก ๆ เช่น การติดเสากับกาแพงในงานที่ต่อเติมหรื อ การติดตูใ้ นห้องครัวที่กาแพงนั้น มีพุกขยายตัวชนิดพิเศษที่ทาด้วยตะกัว่ หรื อเหล็กขนาดโตกว่าพุกขยายตัว ทองเหลือง นอกจากนี้อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมที่สาคัญก็คือ สลักเกลียวและแป้ นเกลียว

รูปที่ 4 ลักษณะส่ วนต่ าง ๆ ของแป้นเกลียว

รูปที่ 5 สลักเกลียวและแป้นเกลียว


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.