เทคนิคก่อสร้าง

Page 47

เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

2

นางสาวสุพตั รา พันธุ์ชา รหัสและชื่อวิชา : 2106-2109 เทคนิคก่อสร้าง 1 แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหี บ

ขนาดของฐานรากสามารถคานวณได้จากสู ตร ดังนี้ ขนาดพื้นที่ฐานราก(ม2) = น้ าหนักบรรทุกจากอาคาร (กิโลกรัม ,ตัน) หน่วยแรงแบกทานปลอดภัยของดิน(กิโลกรัม ,ตัน/ต.ร.ม.)

ฐานรากลึก ฐานรากลึกหรื อฐานรากแบบมีเสาเข็ม หมายถึง ฐานรากที่ถ่ายน้ าหนักโครงสร้างลงสู่ ดิน ด้วยเสาเข็ม เนื่องจากชั้นดินที่รับน้ าหนักปลอดภัยอยูใ่ นระดับลึก เหมาะกับการก่อสร้างบนดิน อ่อน มีการออกแบบฐานรากให้มีขนาดเสาเข็มและความลึกให้มีลกั ษณะแตกต่างกัน เพื่อเพิม่ ความสามารถในการรับน้ าหนักและความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ประเภทของฐานราก ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก มีลกั ษณะของการก่อสร้างและความสามารถในการรับน้ าหนัก ที่มาบรรทุกได้แตกต่างกัน ซึ่ งแบ่งฐานรากตามลักษณะออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี้ 1. ฐานแผ่เดี่ยว(Spread Footing) 2.ฐานต่อเนื่องรับกาแพง (Continuous Footing) 3. ฐานแผ่ร่วม (Combined Footing) 4. ฐานชนิดมีคานรัด (Cantilever Footing) 5 . ฐานชนิดแผ่ (Mat or Raft Foundation)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.