Water_Plant

Page 1

1


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 2


 จัดส่ งนา้ ให้ กบ ั โรงไฟฟ้าหน่ วยที่ 4 – 13 ให้ ได้ คณ ุ ภาพและ

เพียงพอกับความต้ องการของโรงไฟฟ้า  จัดส่ งนา้ ไว้ใช้ อป ุ โภคบริโภคให้ กบั ชุมชนรอบโรงไฟฟ้าและ พืน้ ทีใ่ กล้เคียง  ระบายนา้ ให้ กบ ั เกษตรกรด้ านท้ายนา้ ไว้ใช้ ในช่ วงฤดูแล้ง

3


 ระบบสู บส่ งน้ าดิ บ (Raw Water Supply System)  ระบบผลิตน้ าใส (Make Up Water System)  ระบบผลิตน้ าบริ สุทธิ์ (Demin. Water System)  ระบบน้ าดื่ม (Drinking Water System)  ระบบน้ าดั บเพลิง (Fire Fighting Water System)  ระบบน้ าระบายความร้ อน (Cooling Water System)  ระบบน้ าหล่ อเย็ น ขี้เถ้ าใต้ เตา (Waste Ash Water Recirculation System)

4


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 5


6


 จากเขื่อนแม่ จาง  จากเขื่อนแม่ ขาม

- ฝายท่ าสี - เขื่อนกิว่ ลม 7


อ่างเก็บนา้ แม่ จางสร้ างขึน้ บนลาห้ วยแม่ จางมีความจุทรี่ ะดับ ปกติประมาณ 108.55 ล้านลูกบาศก์-เมตร ความจุใช้ งานประมาณ 92.70 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีระดับเก็บกักอยู่ทรี่ ะดับ + 352.50 ม.รทก. ทา หน้ าทีเ่ ก็บกักนา้ ธรรมชาติจากลุ่มนา้ แม่ จางแล้วปล่อยผ่ านคลองไหลลง อ่าง Regulating Pond ซึ่งใช้ ในการควบคุมการส่ งนา้ ให้ กบั โรงไฟฟ้ า 8


อุปกรณ์ และอาคารบริเวณเขื่อนแม่จาง มีดังนี้ Intake Tower (หอประตูระบายน้า) จะประกอบด้วย

- Fixed Wheel gate มี 2 บานจะมีระดับความ ลึก 16.5 m. เท่ ากัน -Slide gate มี 3 บานจะมีระดับความลึก ของแต่ละบานต่างกัน - บาน 1 = 16.5 m. - บาน 2 = 12.1 m. - บาน 3 = 8.6 m. 9


อาคารระบายน้าล้น (Spill Way Gate) ลักษณะทั่ วไปของอาคารระบายน้า (Spill Way) เป็ นอาคารคอนกรีต มีประตู ระบายน้า 3 บานเป็ นลักษณะบานเหล็กโค้งขนาดบานละ 4.0x6.0 ( กว้าง x สู ง ) สั นอาคาร ระบายน้าล้นเป็ นแบบ Ogee อยู่ระดับ +347.00 ม.รทก. ตั้งอยู่ฝั่งซ้ ายของตัวเขื่อน มีราง ระบายน้าขนาด กว้าง 10 ม. ความยาว 75.0 ม. ปลายรางระบายเป็ นแบบ Flip Bucket 10


การเปิ ด – ปิ ด Spill way gate จะอยู่ในดุลพินิจของ ผู้บังคับบัญชา โดยยึดหลักเกณฑ์ ดังต่ อไปนี้  เปิ ดเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง  เปิ ด – ปิ ด ตามแผนการระบายนา้ ( RULE CURVE )  เปิ ดเพื่อระบายนา้ ในกรณีนา้ ในเขื่อนเกินกว่าระดับกักเก็บ  เพื่อใช้ ในระบบการเกษตรของชุมชน

11


อาคารระบายนา้ จะเป็ นอาคารทีต่ ิดตั้ง Bunger Valve และระบบควบคุม รวมถึง Mini Hydro Plant

12


Bunger Valve คือ ประตูปิด – เปิ ด น้าจากเขื่อนแม่จางเพื่อนาไปใช้ งานมี 2 บาน ผ่านจากท่ ออุโมงค์ มาจากประตู Fixed wheel gate โดยจับคู่ กันคือ  Fixed wheel gate 1 น้ าไหลผ่ านท่ ออุโมงค์ ไปยั ง Bunger Valve 1  Fixed wheel gate 2 น้ าไหลผ่ านท่ ออุโมงค์ ไปยั ง Bunger Valve 2 ( ปัจจุบันใช้ กับ Mini hydro Plant ) 13


ทาหน้ าที่ ส่ งนา้ จากอ่าง เก็บนา้ แม่ จาง ไปยังอ่างพักนา้ Regulating Pond เป็ นชนิดคลอง ลาดคอนกรีต ความสามารถในการ ส่ งนา้ 2.2 ลูกบาศก์เมตร / วินาที

14


   

  

   

  

อ่ างพักนา้ เป็ นอ่ างที่รับนา้ จาก เขื่อนแม่ จาง โดยผ่านคลองส่ งนา้ ทาหน้ าที่พกั นา้ จาก เขื่อนแม่ จางก่ อนสู บ ส่ งให้ กับโรงไฟฟ้ า ระดับ (ม.รทก.) : Storage (m3) HWL 332.14 : 1,054,358 NWL 332.00 : 1,022,681 LWL 326.00 : 130,790 (Suction Pressure Low) ความลาดชั นด้ านเหนือนา้ : 1:2 ความลาดชั นด้ านท้ ายนา้ : 1 : 1.8 ปริมาตรตัวเขื่อน : 950,000 ลบ.ม. ระดับเก็บกักนา้ สู งสุ ด : 332.14 ม.รทก. ระดับเก็บกักนา้ ปกติ : 332.00 ม.รทก. ระดับเก็บกักนา้ ต่าสุ ด : 326.00 ม.รทก. ความจุที่ระดับเก็บกักนา้ ปกติ : 1.022 ล้ าน ลบ. ม. ความจุใช้ งาน : 0.990 ล้ าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับเก็บกักนา้ ต่าสุ ด : 0.131 ล้ าน ลบ. ม. ปริมาณนา้ ที่ใช้ งานได้ ( EFF ) : 0.891 ล้ าน ลบ. ม.

15


สถานีสูบนา้ แม่ จาง ( ZN-1 ) เป็ นอีกหนึ่งสถานีหลักทีส่ ู บนา้ ดิบ จากอ่างพักนา้ REGULATING POND ( รับนา้ จากอ่างแม่ จาง ) เพือ่ นาไปเก็บไว้ที่ CONTROL RESERVOIR (ZN-2) ก่อนจะจ่ายไปด้ วย แรงดันของนา้ ทีส่ ู งกว่า (HEAD) หรือ แรงโน้ มถ่วง ( GRAVITY ) ไปยัง กระบวนการผลิตนา้ ใส (MAKE UP WATER) ,นา้ ดื่ม ( DRINKING WATER ) , นา้ ดับเพลิง (FIRE FIGHTING)

16


สถานีสูบน้าแม่จางจะทาหน้ าที่สูบน้าจากอ่างพักน้า Regulating Pond ไปยังอาคาร ZN- 2 Control Reservoir โดยมีความสามารถในการ สู บตัวละ 2,100 ลบ.ม. / ชั่วโมง มีท้ังหมด 4 ตัว ปกติจะทางาน 3 ตัว Stand by 1 ตัว 17


ประเภท ฝายน้าล้นชนิดกรวดทรายถมดาดหน้ าด้วยคอนกรีต เสริม เหล็ก หนา 0.15 ม. ทาหน้ าที่ ยกระดับน้าในลาน้าแม่เมาะให้ สูงขึ้นและเก็บกักไว้ เพื่อรวบรวมส่ งไปอ่างเก็บน้าแม่ขาม พื้นที่รับน้า 26 ตร.กม. ความจุที่ระดับน้า เก็บกักปกติ 0.995 ล้าน ลบ.ม. 18


คลองส่ งน้า เป็ นชนิด คลองดาดคอนกรีตเสริมเหล็ก หนา 0.10 ม. อัตราการ ไหลของน้าสู งสุ ด 30 ลบ.ม. / วินาที ทาหน้ าที่ส่งน้าจากบริเวณฝายบ้านท่ าสี ไปอ่างเก็บ น้าแม่ขาม 19


เป็ นบานประตู เปิ ด – ปิ ด เพื่อ ระบายน้าจากอ่างเก็บน้าฝายท่ าสี จะทา การเปิ ด กรณีถึงฤดูฝนซึ่งมีน้าหลาก เพื่อ ไม่ให้ เกิดผลกระทบกับตัวฝาย มีพื้นที่รับ น้าน้ อย การเปิ ด GATE VALVE ท้ าย คลอง ท่ าสี – แม่ขาม ลงอ่างเก็บน้าแม่ขาม ซึ่งมีพื้นที่เก็บกักน้ามากกว่า บานประตูใช้ มอเตอร์ เป็ นตัวขับชุ ดเฟื องส่ งกาลังกับตัวเกลียว กรณี มอเตอร์ เสี ยหรือไม่ มีไฟ เราสามารถหมุน Hand Wheel เปิ ด – ปิ ด ได้ แต่เกลียวมี ความละเอียด ใช้ เวลา ปิ ด – เปิ ด นาน ถ้ าไม่จาเป็ นจะไม่ใช้ วิธีเปิ ดแบบ Manual

20


หน้ าที่ เก็บกักน้าจากพื้นที่รับน้าของอ่างเก็บน้าแม่ขามและรับน้าจากฝายบ้าน ท่ าสี ผ่านคลองฝันน้า บ้านท่ าสี – แม่ขาม พื้นที่รับน้า 122.26 ตร.กม. ความจุที่ระดับเก็บ กักน้าปกติ 35.979 ล้าน ลบ. ม. 21


เป็ นสถานีสูบน้าจาก อ่างแม่ขามส่ งไปตามท่ อส่ งน้าลง ที่ Control Reservoir ZN.2 มี Pump สู บน้า 3 Set Pump Capacity 3,250 m3/ Hr. เป็ น แบบ Horizontal Pump โดย รับไฟมาจาก 2 แหล่งคือ Sub Mae Moh Mine และ Sub Mae Moh 2 โดยเลือกจาก แหล่งใดแหล่งหนึ่ง 22


ปัจจุบันใช้ จาก Sub Mae Moh Mine เป็ นแหล่งจ่ายไฟที่ ระบบมีความมั่นคงกว่า Pump จะทางานได้ ท้งั 2 ระบบทั้ง Auto & Manual ระบบ Auto Pump จะถูกควบคุมโดย Level Control ของ Control Reservoir Tank# 1 เป็ นตัวสั่งให้ Pump Start & Stop

23


24


เป็ นถังเก็บนา้ ทีส่ ู บส่ งมาจาก ZN-1 และ สถานีสูบนา้ แม่ ขาม โดยจะ จ่ายลงสู่ ช่องเก็บนา้ ทีจ่ ะเป็ นแหล่งจ่ายให้ กบั ระบบ Fire Fighting จนเต็มก็ จะล้นข้ ามผนังกั้นเข้ าสู่ ถงั เก็บทีเ่ ป็ นแหล่งนา้ จ่ายให้ กบั ระบบ Make-Up ทั้งหมด โดย ใช้ แรงดึงดูดของโลก(Gravity) แทนการใช้ Pump 25



27


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 28


ระบบผลิตนา้ ใส ประกอบด้วย Clarifier 3 แบบ - Clarifier 4,5,6,7 Sand filter 6 Cell อัตราการผลิต 900 m3/Hr. - Clarifier 8,9 Sand filter 10 Cell อัตราการผลิต 1,200 m3/Hr. - Clarifier 12/13 Sand filter 10 Cell อัตราการผลิต 1,200 m3/Hr. รวมอัตราการผลิต 7,200 m3/Hr. 29


Service Water

Floc. Pre. Tank

Sand Filter

Service Water

Floc. F. T.

Lime Pre. Tank

Clear Well Coag. ST.

Coag.

ZN-2

Clarifier

Uses Water

To Thickener To CT.

To Process

30


ทาหน้ าที่ กวนนา้ ทีม่ าจาก อาคาร ZN – 2 เพือ่ ให้ นา้ รวมตัวกับ สารเคมี และตกตะกอนสู่ ด้านล่าง Clarifier หรือเรียกว่า Sludge จากนั้น Sludge ก็จะถูก Drain ลงสู่ Thickener รอให้ ตกตะกอน เพือ่ สู บส่ งไปที่ Sludge Drying Bed ตากให้ แห้ งแล้วตักไปทิง้ ต่ อไป 31


3

2 1

Secondary Mixing Zone

Primary Mixing Zone

32


ภายใน Clarifier จะถูกแบ่ งออกเป็ น 3 zone คือ Primary Mixing Zone เป็ นส่ วนทีร่ ับนา้ เข้ ามา และกวนนา้ ให้ รวมตัว กับสารเคมีทที่ าให้ เกิดตะกอนลอย (Slurry) ตะกอนหนัก จะตกลงสู่ ด้านล่าง(Sludge) และตะกอนเบาจะลอยขึน้ ไปข้ างบน

Secondary Mixing Zone เป็ นส่ วนทีต่ ะกอนเบาลอยขึน้ ไป จับตัวกันอีกครั้ง Clarified Water เป็ นส่ วนนา้ ใส และนา้ ส่ วนนีจ้ ะล้นรางไป กระบวนการผลิตต่ อไป 33


สารเคมีที่เติมใน Clarifier เพื่อทาให้ นา้ ตกตะกอนเร็วขึน้ เรา จาเป็ นต้องเติมสารเคมี อยู่ 3 ชนิด คือ 1. Coagulant (FeCl3) เป็ นตัวช่ วยให้ ตะกอนในนา้ จับตัวเร็วขึน้ 2. Flocculant เป็ นตัวช่ วยให้ ตะกอนจับตัวกัน จะทาให้ มนี า้ หนักมากขึน้ 3. Lime เป็ นตัวลดความกระด้างของนา้ และช่ วยปรับค่ า pH ของนา้ (ปกติจะปรับค่ า pH ให้ ค่าอยู่ระหว่ าง 8.8 – 9.5 ) 34


ในระบบผลิตนา้ ใส ทุก Unit จะมี Sand Filter เพือ่ กรอง ตะกอนเบาทีอ่ าจจะไหลมากับนา้ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในแต่ ละ Cell จะ ประกอบด้ วย กรวด ทราย และ แอนทราไซท์ เมื่อครบชั่วโมงการ ผลิต หรือระดับนา้ ใน Sand Filter สู ง (Head loss) แสดงว่า ประสิทธิภาพการกรองลดลง ก็จะมีการล้างสารกรอง (Back Wash)

35


36


37


38


39


40


41


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 42


การใช้ นา้ ในระบบ Boiler ของโรงไฟฟ้ าแม่ เมาะ ต้ องการนา้ บริสุทธิ์เพือ่ ใช้ ในการต้ มให้ เป็ นไอนา้ ไปหมุน Turbine Generator ผลิต กระแสไฟฟ้ า ดังนั้นจึงต้ องมี ระบบผลิตนา้ บริสุทธิ์ (Demineralized) ซึ่ง ของโรงไฟฟ้ า จะเป็ นแบบ Ion Exchange Resin โดยจะมีกาลังการผลิตคือ Demin Unit 4 Demin Unit 5 Demin Unit 6/7 Demin Unit 8/9 Demin Unit 12 Demin Unit 13

ผลิตได้ ผลิตได้ ผลิตได้ ผลิตได้ ผลิตได้ ผลิตได้

30 m3/h 30 m3/h 30 m3/h 100 m3/h 50 m3/h 50 m3/h 43


ระบบนีจ้ ะใช้ เรซินจับอิออนประจุบวกและลบในนา้ ให้ หมด โดย การใช้ เรซินประจุบวกและเรซินประจุลบ อุปกรณ์ทใี่ ช้ อาจเป็ นชนิดที่ เรซินทั้งสองชนิดรวมอยู่ในภาชนะอันเดียว (Mixed Bed) หรือแยกชนิด กัน แต่ ต่อเนื่องกัน ซึ่งของโรงไฟฟ้ าแม่ เมาะมี ทั้ง 2 แบบ

44


45


Demin. No.

Capacity (m3/Hr)

P.A. control (Conductivity)Âľs/cm

Age of resin At 2011 (year)

4 5 6/7 8/9 12 13

30 30 30 100 50 50

0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2

4 4 4 4 11 11

Resin Volume m3 Cation 2.4 2.4 2.4 6.7 5.5 5.5

Anion 2.45 2.45 2.45 3.77 11 11

Mixed Bed 0.8/0.8 0.8/0.8 0.8/0.8 0.87/0.87 0.6/0.6 0.6/0.6

46


1. ถังกรองบรรจุเรซิน จะเป็ นแบบถังใช้ ความดัน ออกแบบให้ รับความ ดันตามต้ องการ วัสดุทใี่ ช้ ทาถังมีหลายชนิด โดยทัว่ ไปจะเป็ นถัง เหล็กเคลือบภายในด้ วยยางหรืออาจจะเคลือบ PVC หรือพลาสติก อืน่ ๆ ทีท่ นกรดและด่ าง 2. ถัง Degasifier อาจจะเรียกอีกอย่ างหนึ่งว่า De carbonator มีไว้ สาหรับ กาจัดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ออกจากนา้ มีอยู่ 2 แบบคือ แบบเป่ าลมไล่ก๊าซ และแบบสุ ญญากาศดูดก๊าซ ส่ วนประกอบภายใน จะมีท่อกระจายนา้ และตัวกลาง (Packing Media) สาหรับกระจาย นา้ ให้ เป็ นฝอยเล็ก ๆ ซึ่งก๊าซจะถูกไล่หรือถูกดูดออกไปได้ ง่าย 47


3. ถังเก็บกรดและด่ าง โดยปกติจะเป็ นแบบสองถังคือ มีถงั เก็บ 1 ถัง และใช้ งานอีก 1 ถัง วัสดุของถังจะเป็ น HDPE หรือ ไฟเบอร์ กลาส ท่อทีใ่ ช้ จะเป็ น PVC หรือท่อเหล็กมี Liner ด้ านใน 4. ถังเก็บนา้ บริสุทธิ์ 5. เครื่องสู บนา้ 6. ท่อและวาล์ว 7. Conductivity/Resistivity Meter 8. pH Meter 9. มิเตอร์ สาหรับการตรวจสอบสารต่ าง ๆ เช่ น Meter สาหรับ วัดค่า Silica, Sodium 48


49


ปัจจุบันมีการแยกประเภทของเรซินเป็ น 4 ประเภท คือ 1. ชนิดประจุบวก – กรดแก่ (Strong Acid Cation) 2. ชนิดประจุบวก – กรดอ่อน (Weak Acid Cation) 3. ชนิดประจุลบ – ด่ างแก่ (Strong Base Anion) 4. ชนิดประจุลบ – ด่ างอ่อน (Weak Base Anion)

50


เป็ นโครงสร้ างพลาสติคทีม่ ีประจุลบหรือบวกติด ประจาตัวอยู่ เรซินทีม่ ีประจุลบประจาตัวสามารถจับ Na+ หรือ H+ ไว้แลกกับประจุบวกในนา้ เรซินชนิดนีเ้ รียกว่า Cationic Resin ส่ วนเรซินทีม่ ีประจุบวกประจาตัวสามารถ จับ OH- และ Cl- ไว้แลกกับประจุลบในนา้ จึงมีชื่อเรียกว่า Anionic Resin 51


1. การแลกเปลีย่ นอิออน (Service) 2. การล้างย้ อน (Backwash) 3. รี เจนเนอเรชั่น (Regenertion) 4. การชะล้าง (Rinse)

52


ขั้นตอนนีเ้ ป็ นหน้ าทีห่ ลักของเรซิน คือไอออน อิสระในเรซิน จะถูกแลกเปลีย่ นกับไอออนต่ าง ๆ ในนา้ ดิบทาให้ ได้ นา้ สะอาดตามต้ องการ ขั้นตอนนีจ้ ะยุติลง เมื่อมีไอออนอิสระในเรซินเหลือน้ อย จนกระทัง่ ไม่ สามารถแลกเปลีย่ นไอออนต่ าง ๆ ในนา้ ดิบได้ ทาให้ นา้ ที่ ได้ มีไอออนทีไ่ ม่ ต้องการในปริมาณเข้ มข้ นกว่าระดับที่ ยอมรับได้ 53


หลังจากที่เรซินหมดอานาจในการ แลกเปลีย่ นไอออนแล้ว ต้ องทาการล้างกลับเพือ่ ให้ ชั้นเรซินมีการขยายตัวเกิดขึ้น เพือ่ วัตถุประสงค์ ดังต่ อไปนี้ 1. ทาลายการจับตัวเป็ นก้อนของเรซิน 2. เพือ่ ล้างความขุ่นหรือตะกอนแขวนลอยที่ติดใน ชั้นของเรซิน 3. กาจัดฟองอากาศที่อาจเกิดขึ้น และค้างอยู่ในชั้น เรซินทาให้มกี ารเรียงชั้นใหม่ของเรซิน

54


หมายถึงการทาให้ เรซินทีห่ มดอานาจ ในการแลกเปลีย่ นไอออนไปแล้วกลับฟื้ นตัว ขึน้ มามีอานาจในการแลกเปลีย่ น ไอออนอีกครั้ง การทีเ่ รซินหมดอานาจชั่วคราว เป็ นเพราะว่า ไอออนอิสระส่ วนใหญ่ในน้าถูกนาไปแลกกับ ไอออนอืน่ จนหมดสิ้น การทารีเจนเนอเรชั่น จึง หมายถึงการขับไล่ไอออนทีแ่ ลกมาจากน้า และ เติมไอออนอิสระให้ กบั เรซิน ทาให้ เรซินกลับ คือสู่สภาพเดิม และมีอานาจในการแลกเปลีย่ น ไอออนอีกครั้งหนึ่ง

55


1. การล้างแบบ Concurrent เป็ นการล้างด้วยกรดหรือด่างไปในทิศทางเดียวกัน กับการกรอง ซึ่งพวกธาตุหรือเกลือแร่ จะถูกเปลีย่ นประจุ และไล่ลงไปใน ทิศทางเดียวกับการกรอง เมือ่ ล้างเสร็จแล้วยังจะมีธาตุและเกลือแร่ ติดค้างอยู่ บริเวณชั้นล่างของถัง ทาให้เกิดปัญหาเกีย่ วกับความบริสุทธิ์ของนา้ ที่ออกมา 2. การล้างแบบ Counter current เป็ นการล้างสวนทางกับการกรองพวกแร่ ธาตุ และเกลือแร่ จะถูกไล่ออกทางด้านบน และล้างเสร็จแล้วบริเวณก้นถังจะไม่มี แร่ ธาตุ และเกลือแร่ คงั่ ค้างอยู่ เมือ่ กรองกลับมาก็จะได้นา้ บริสุทธิ์สมา่ เสมอ กว่าแบบแรก

56


 Cation Resin ใช้ กรด H2SO4 0.5-5% หรือกรดเกลือ 4-10 %  Anion Resin ใช้ ด่าง NaOH 4-6% การล้างคืนประจุนี้ ทาให้ เรซินกลับคืนสภาพเดิมแค่ 80-90% ขึน้ อยู่กบั ประสิทธิภาพของการล้าง และการคืนสภาพ จะลดลงไปเรื่อย ๆ ในระยะยาว เนื่องจากการเสื่อมสภาพของเรซิน

57


การชะล้างเรซินมี 2 ขั้นตอนคือ 1. การชะล้ างอย่ างช้ า (SLow rinse) เป็ นการล้ า ง น้ายา ทีต่ กค้ างอยู่ในชั้น เรซิน โดยใช้ น้าบริสุทธิ์ในการล้าง ปล่อยให้ ไหลจากด้านบนลงสู่ด้านล่างในทิศทางและอัตราเดียวกับการ ล้างน้ายา ปริมาณน้าทีใ่ ช้ ในการล้างใช้ ท้งั หมดควรเป็ น 2 เท่า ของปริมาณเรซินทีบ่ รรจุอยู่ 2. การชะล้างอย่างเร็ว (Fast rinse) หลังจากล้างช้ า แล้วอาจมีน้ายาล้าง เรซินตกค้ างอยู่อกี จึงต้องใช้ น้าสะอาด เช่ นเดียวกับการล้างช้ าล้างต่อด้วยอัตราการไหลทีส่ ูงขึน้ ปกติ จะใช้ ความเร็วเท่ากับตอนใช้ งาน ล้างจนกว่าเรซินจะคืนสู่ สภาพเดิมและพร้ อมทีจ่ ะใช้ งานได้ 58


แบบที่ 1

แบบที่ 2

59


แบบที่ 3

แบบที่ 4

60


แบบที่ 5

แบบที่ 6

61


แบบที่ 7

แบบที่ 8

SB A

62


63


64


การกักเก็บนา้ บริสุทธิ์จะต้ องพิจารณาถึงสิ่งต่ อไปนี้ 1. ถังเก็บนา้ ควรจะทาด้ วยวัสดุทมี่ ีนา้ บริสุทธิ์ละลายไม่ ได้ เช่ น HDPE หรือ ถังเหล็กบุด้วย PP 2. ท่อและวาล์วทีใ่ ช้ ควรจะเห็นเหล็กเคลือบด้ วย PP หรือท่อ UPVC (Unplasticized PVC) ซึ่งเป็ นท่อ PVC ทีไ่ ม่ มี Plasticizer ผสม 3. ถังเก็บนา้ ควรจะมีการปกปิ ดมิดชิด ไม่ ให้ ฝุ่นละอองหรืออากาศ สกปรกเข้ าไปสัมผัส สาหรับนา้ บริสุทธิ์มาก ๆ มักจะใช้ ก๊าซไนโตรเจนคลุมเหนือระดับนา้ 4. ป้องกันไม่ ให้ ถงั เก็บนา้ สัมผัสกับแสงแดดโดยตรง 5. ควรจะมีการสู บนา้ หมุนเวียนอย่ าให้ นา้ อยู่นิ่ง 65


โรงไฟฟ้าแต่ ละแห่ ง มีวธิ ีการทานา้ ให้ สะอาดแตกต่ างกัน ไป การเลือกอุปกรณ์ ทจี่ ะทาให้ นา้ สะอาดจะต้ องพิจารณาถึง สภาพแหล่งนา้ ความต้ องการใช้ นา้ ของหม้ อนา้ คุณภาพของนา้ วิธีการและค่าใช้ จ่าย จะเห็นได้ ว่า โรงไฟฟ้าทีใ่ ช้ นา้ จากการ ประปา จะใช้ อปุ กรณ์ น้อยกว่าโรงไฟฟ้าทีใ่ ช้ นา้ จากแม่ นา้ และใน โรงไฟฟ้าทีใ่ ช้ Boiler แตกต่ างกัน ก็จะต้ องใช้ นา้ ทีม่ ีความ บริสุทธิ์ทแี่ ตกต่ างกัน 66


โดยปกติแล้วนา้ จะมีสิ่งเจือปนอยู่เสมอไม่ มากก็น้อย สารเจือ ปนเหล่านีเ้ ป็ นตัวการทาอันตรายต่ อหม้ อนา้ ผลเสียหายทีเ่ กิดกับหม้ อ นา้ เนื่องจากสารเจือปนเหล่านีแ้ ยกได้ เป็ น • Corrosion (การกัดกร่ อน) • Scale (การเกิดตะกรัน) • Carryover (Slurry มาก) Boiler Water Treatment เป็ นเรื่องจาเป็ นมากเพราะ เป็ นการป้องกัน Carryover การทา Boiler Water Treatment ทีถ่ ูกต้ อง จะต้ องทาดังนี้ การกาจัดแก๊ส, การควบคุม pH , การเติมสารเคมี , การ bLow down , การทา external treatment 67


68


69


70


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 71


นักวิทยาศาสตร์ ได้ ประมาณไว้ว่า นา้ ทั้งหมดบนโลกมี ประมาณ 1.36x 1021 ลิตร กระจายอยู่ตามแหล่งนา้ สาคัญ 4 แห่ ง คือ • • • •

แหล่งนา้ จืดผิวดิน นา้ ในบรรยากาศ แหล่งนา้ ใต้ ดิน แหล่งนา้ เค็ม

รูปวัฏจักรของน้า 72


แหล่งนา้ สาหรับผลิตนา้ ประปามี 2 ประเภท คือ 1. นา้ ผิวดิน หมายถึง ส่ วนประกอบของฝนที่ตกลงสู่ พนื้ ดิน แล้ว ไหลลงสู่ ที่ต่า ตามลาธาร ห้วย คู คลอง และแม่นา้ นา้ ผิวดินนีร้ วมถึง นา้ ที่ไหล ล้นจากใต้ ดนิ เข้ ามาสมทบด้วย ดังจะเห็นได้จากลาธาร หรือห้วย ที่มนี า้ ไหลอยู่ ตลอดปี ไม่ว่าฝนตกหรือไม่กต็ าม ปริมาณนา้ ผิวดินที่เกิดจากนา้ ฝนนั้นจะมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กบั ปัจจัย 2 ประการคือ • ความถี่ ความเข้ ม และระยะเวลาที่ฝนตก • ลักษณะและขอบเขตของพืน้ ที่รองรับนา้

73


คุณภาพของนา้ ผิวดิน นา้ ผิวดิน ซี่งหมายถึง นา้ จากแหล่งนา้ ลาคลอง หนอง บึง และอ่างเก็บนา้ ต่ าง ๆ เนือ่ งจากนา้ ผิวดินมักมีแหล่งกาเนิดมาจากนา้ ใต้ ดนิ ดังนั้น คุณสมบัติของ นา้ จึงขึ้นอยู่กบั แหล่งเดิมไม่มากก็น้อย การไหลนองบนพืน้ ทาให้นา้ ผิวดินได้รับ ความสกปรก จากสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่ าง ๆ นา้ ผิวดินอาจมีความขุ่นและ สารอินทรีย์สูง ปริมาณเกลือแร่ ในนา้ อาจสู งหรือต่าก็ได้ นอกจากนีน้ า้ ฝนยังชะ ล้างสารพิษต่ าง ๆ จากบริเวณเกษตรกรรม สานพิษเหล่านีไ้ ด้แก่พวกโลหะหนัก ไนเตรด ฟอสเฟต ยาฆ่าแมลง ฯลฯ มากับนา้ ผิวดิน เหล็กและแมงกานีสมักมี ปริมาณต่า ทั้งนีเ้ นือ่ งมาจากการตกผลึกในขณะที่นา้ ไหลนองบนพืน้ ดิน ปัจจัยอีก อย่ างที่มผี ลกระทบต่ อนา้ ผิวดินก็คอื โรงงานอุตสาหกรรมต่ าง ๆ ซึ่งชอบปล่อยนา้ เสียที่ประกอบไปด้วยสารพิษ หลายชนิดลงในแหล่งนา้ ทาให้นา้ ผิวดินมีโอกาส ถูกทาให้แปดเปื้ อนด้วยสารพิษต่ าง ๆ สู ง 74


2.นา้ บาดาล นา้ บาดาลจะเกิดอยู่ในชั้นของหินที่เป็ นบริเวณที่อมิ่ ตัวด้วยนา้ ซึ่งอาจประกอบด้วย ชั้นกรวด ทราย ชั้นหิน เนือ้ พรุน ในที่ว่าง รอยแตก หรือโพรง ในชั้นหินอย่ างใดอย่ างหนึง่ และชั้นนา้ บาดาลเหล่านี้ จะ รองรับด้วยหินเนือ้ แน่น ไม่ยอมให้นา้ ไหลซึมลงไปข้ างล่างได้ อีกต่ อไป อย่ างไรก็ตามแต่ นา้ บาดาลก็จะเคลือ่ นไหวอยู่ตลอดเวลา การไหลของนา้ บาดาลมักจะมีทิศทางการไหลเหมือนกับนา้ ในแม่นา้ ลาธาร คือไหลไปสู่ ที่ ระดับต่าซึ่งมีทะเลเป็ นจุดสุ ดท้ าย ทั้งนีข้ ึ้นอยู่กบั ลักษณะภูมปิ ระเทศและ ชั้นต่ าง ๆ ของดินในชั้นลึก ๆ ทาสามารถกักและเก็บนา้ ได้


คุณภาพของนา้ บาดาล นา้ บาดาลมักมีความขุ่นมัวดา ปราศจากสีและสารอินทรีย์ ปริมาณ สารละลาย ( TDS : Total Dissolve Solid ) อาจจะสู งหรือต่าก็ได้ ทั้งนีแ้ ล้วแต่ ว่า นา้ จะสัมผัสกับแหล่งเกลือแร่ หรือไม่ นา้ บาดาลมักไม่มอี อกซิเจนละลายนา้ แต่ อาจจะมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์สูงทั้งนี้ เนือ่ งมาจากเกิดการ ออกซิเดชั่นใต้ ดนิ เหล็กและแมงกานิส พบได้ง่ายในนา้ ใต้ ดนิ เมือ่ สู บนา้ บาดาลขึ้นมาข้ างบนและ สัมผัสกับอากาศ เหล็กและแมงกานิส จะทาปฏิกริ ิยาออกซิเดชั่นกับออกซิเจนใน อากาศทาให้เกิดตกผลึกสีแดงเหลือง หรือสีคลา้ การตกผลึกอาจเกิดขึ้นรวดเร็ว มาก ถ้ า pH ของนา้ สู งเพียงพอ ทาให้นา้ บาดาลที่ใสมาก เมือ่ แรกสู บขึ้นมา กลายเป็ นนา้ ขุ่นได้ภายใน 10 นาที นา้ ที่มเี หล็กและแมงกานีสสู ง มักมีกลิน่ คาวที่ ดมสังเกตได้ไม่ยาก 76


คุณภาพและมาตรฐานของนา้ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่า นา้ ที่มนุษย์ สามารถนาไปใช้ อุปโภคและบริโภค นั้น ควรมีความสะอาดและบริสุทธิ์อย่ างเพียงพอ ข้ อนีท้ าให้การหาแหล่งนา้ ธรรมชาติที่เหมาะสมมิใช่ เรื่องง่าย เนือ่ งมาจากนา้ ในธรรมชาติย่อมมีสิ่งต่ าง ๆ ละลายหรือปะปนอยู่มากมาย ทั้งที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า สิ่งที่ปะปน เหล่านีอ้ าจจะมีประโยชน์หรือมีโทษต่ อผู้บริโภคก็ได้ ด้วยเหตุนกี้ ารทาความ สะอาดนา้ ก่อนใช้ จงึ มักเป็ นเรื่องที่หลีกเลีย่ งไม่ได้ ความจาเป็ นในการทาความ สะอาดนา้ มักแตกต่ างกันและขึ้นอยู่กบั วัตถุประสงค์ในการใช้ นา้ และคุณสมบัติ ของนา้ นา้ ดิบที่มคี วามสกปรกมากยอมต้ องทาความสะอาดมากกว่านา้ ดิบที่มี ความสกปรกน้อย

77


78


แหล่งน้าที่ส่งนา้ ให้กบั โรงไฟฟ้ าแม่เมาะ 4 – 13 นั้น มีอยู่ 2 ที่คอื 1. อ่างเก็บนา้ แม่จาง 2. อ่างเก็บนา้ แม่ขาม ในการผลิตนา้ ดืม่ ที่ใช้ ในโรงไฟฟ้ าแม่เมาะนั้น เราจะนานา้ จาก อ่างเก็บนา้ แม่จางมาผลิต เนือ่ งจากว่าน้าจากอ่างเก็บน้าแม่จางนีค้ ุณภาพดี เหมาะกับการนามา ผลิตนา้ ดืม่ มีค่า ซัลเฟต ที่น้อยกว่าอ่ างเก็บนา้ แม่ขาม อ่ างเก็บนา้ แม่จาง เป็ นอ่ างเก็บ นา้ ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ที่อาเภอแม่เมาะ สร้ างกั้นลาน้าแม่จาง โดยการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต มี ความจุกกั เก็บน้า 108.50 ล้านลูกบาศก์เมตร

79


ระบบการผลิตนา้ ดืม่ ประกอบไปด้ วย 1. Clarifier 2. Coagulant 3. Chlorine 4. Clarifier Water Transfer Pump 5. Sand Filter 6. Drinking Water Supply Pump

80


Clarifier เป็ นอุปกรณ์ที่ทาให้ น้าตกตะกอน ซึ่ งจะนาสารส้ มและคลอรีนมาผสมกับ น้าดิบที่ถูกส่ งมาจากอาคาร ZN – 2 ใน Clarifier จะมีแผ่น Plate เพื่อลดความเร็ว ของน้า จะทาให้ น้าตกตะกอนเร็ วขึ้น รู ป ด้านบนของ Clarifier Clarifier จะมีลักษณะยาว แบ่งเป็ น 3 ส่ วน ส่ วนที่หนึ่งจะเป็ นส่ วนที่รับน้า จาก ZN – 2 ซึ่งจะผสมกับสารส้ มและ คลอรี นแล้วน้าจะไหลผ่านผนังที่มีรู ส่ วน ที่สองจะมีแผ่น Plate เรี ยงตัวตามแนวจะ PRE. Cl Alum ทาหน้ าที่ลดความเร็ วของน้า ทาให้ น้า ตกตะกอนเร็ วขึ้น จากนั้นน้าจะล้นข้าม Clarifier Mixer Clarifier Pit Water Weir ไปส่ วนที่สาม ส่ วนที่สามนี้เรี ยกว่า Clarifier Pit Water จะเป็ นที่พักน้า ก่อนที่จะถูกสู บโดย Drinking Transfer To Sand Filter Pumpไปที่ Sand filter 2

81


Coagulant Feed Tank ทาหน้ าที่ เก็บสารส้ มทีใ่ ช้ เติมเพือ่ ให้ เกิดตะกอนใน Clarifier

Chlorine Feed Tank ลักษณะของถัง มีนา้ หนัก ประมาณ 100 kg. ทาหน้ าทีเ่ ก็บสาร คลอรีนให้ กบั นา้ เพือ่ ฆ่าเชือ้ โรค แบคทีเรีย จุลนิ ทรีย์ ต่ าง ๆ ทีม่ ากับนา้ ซึ่งจะผสมกับนา้ ใน Mixing Zone ของ Clarifier 82


Clarifier Water Transfer Pump ทาหน้ าที่ สู บน้าจาก Clarifier Pit Water ไปที่ Sand filter Pump นี้จะปรับ FLow ไว้ ที่ 12 kg/s ถ้ า เป็ นฤดูฝน น้ า ที่ นามา ผลิต จะมีความขุ่นมาก จะทาการลด FLow การผลิต ลงเหลือ 8-9 kg/s เพื่อให้ น้าตกตะกอนได้มากขึ้น

Sand filter ทาหน้ าที่กรองละเอียดก่อนที่จะลงสู่ Control Tank ภายในประกอบด้วย ถ่ าน, ทราย และ กรวด ซึ่งแบ่งแยกชั้นกันอยู่ การ Back Wash ของ Sand filter จะเป็ นการล้างผิวหน้ าของ Sand filter และจะตั้งเวลาชั่วโมงการผลิตไว้ที่ 20 ชั่วโมง เมื่อ ครบ จะมีการ Back Wash 1 ครั้ง 83


Drinking Water Supply Pump ทาหน้ าทีส่ ู บนา้ ทีอ่ ยู่ใน Control Tank A , B ( ซึ่งเปิ ดท่อ Balance ถึงกัน ) จ่ายนา้ ให้ กบั ระบบนา้ ดื่มทัว่ ทั้งโรงไฟฟ้ า Drinking Water Supply Pump มีอยู่ 2 ตัว ซึ่งมีความสามารถในการสู บนา้ สู งถึง 20 kg/s หรือ 72 m3/ hr ในการใช้ งาน จะ ใช้ งานทีละตัว และจะใช้ งานสลับกัน

84


Drinking water Pressurized Vessel ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของ Drinking Supply Pump โดยมี Level Switch (ประมาณ 40 – 45 cm.) เป็ นตัวสั่งให้ Pump Start และPump จะ Stop ด้วยแรงดัน (6.0 bar) เดิมมี Air Compressor เป็ นตัวอัดอากาศเข้ าภายใน Tank ปัจจุบัน Air Compressor 2 ตัว ไม่ได้นาเข้ าใช้ งาน แล้ว เนือ่ งจากกรณีต้องการทา Condition ในระบบ การจ่าย การเติมลมใน Vessel Tank จะทาได้ช้า ทา ให้เสียเวลามาก จึงแก้ไขโดย Modify ต่ อ Line ลม Control Air โดยใช้ Manual Valve เป็ นตัว ปิ ด – เปิ ด ควบคุมแรงดัน 85


รู ป PI Diagram Vessel System Drinking Supply Pump

Air Release Valve

Stop  105 cm. 6.0 bar.

Line Control Air

Manual Inlet Valve

Manual Valve

Drain Valve

Start  43 cm. 2.9 bar.

Manual Inlet Valve

Drain Valve To Power Plant 86


เมื่อเริ่ม Start ระบบ มีนา้ ดิบไหล ผ่ าน Inlet Clarifier โดยมี Mixer ทาหน้ าที่ ผสมสารส้ ม (Alum) กับนา้ ดิบ และในบ่ อ Mixing Zone ซึ่งจะมี การเติมสาร Cl2 ฆ่าเชือ้ โรค แบคทีเรีย จุลนิ ทรีย์ ต่ าง ๆ ทีม่ ากับนา้ นา้ จะ ไหลผ่ านมาตกตะกอนใน Clarifier ซึ่งจะมีแผ่ น Plate ดักตะกอนทีม่ ากับนา้ ตะกอนทีม่ ีนา้ หนักจะตกลงด้ านล่าง Clarifier นา้ จะไหลข้ าม Weir ผ่ าน ลงสู่ Clarifier Water Pit สาเหตุทที่ าเป็ น Weir เพือ่ ต้ องการลดกลิน่ ของ คลอรีน จากนั้นจะมี Transfer Pump สู บนา้ เข้ าผ่ าน Sand Filter Tank (ถังกรอง) เพือ่ กรองตะกอนทีต่ กค้างอยู่ในนา้ ส่ วนนา้ ใสก็จะไหลลงสู่ Reservoir Tank พร้ อมทีจ่ ะนาไปใช้ งานใน Drinking Supply System ต่ อไป 87


88


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 89


ระบบนีเ้ ป็ นระบบช่ วยเพิ่ม Pressure ของนา้ ดับเพลิง (Fire Fighting Water) เพื่อทีจ่ ะได้ จ่ายไปทีร่ ะบบ Foam ของ Oil Rooms, Oil Tanks, Water Spray และ Water Hydrants ใน ระบบมีอปุ กรณ์ สาคัญดังนี้ • Jockey Pump 2 ตัว • Stand-by Diesel Pump 1 ตัว • Main Pump 2 ตัว • Pressure Vessel Tank 2 ถัง • Air Compressor 1 ตัว 90


Jockey Pump Jockey Pump 1 ตัว สามารถรักษา Pressure น้าให้ อยู่ระหว่ าง 10.2 bar ถึง 11.0 bar. Jockey Pump ที่เป็ นตัว Stand-by จะทางานขึ ้นมาในกรณีที่ Lead Jockey Pump เกิด OFF เพราะ Magnetic Contactor (MC) เมื่อ Vessel Water level < VL-M ก็จะ Start Pump ขึ้นมาและเมื่อ Vessel Water level High (VL-H) ก็จะ Stop Pump ทันที ในกรณีเกิดไฟไหม้ Main Pump 2 ตัวสามารถจ่ ายน้ าได้ ด้วยอัตรา 9,100 l/min การทางาน LeadMain Pump จะทางานขึ้นเมื่อ Vessel Water level Low และจะหยุดทางานเมื่อ Water Pressure  10 bar. ไปแล้ ว 10 นาที การทางานของ Stand-by Main Pump จะทางานขึ้นมาได้ 2 กรณี คือ เมื่อมีสัญญาณสั่ งไปให้ Lead Main Pump ON แต่ แล้ ว Lead Main Pump เกิด OFF สาเหตุอาจมา จาก Magnetic Contactor หรือมอเตอร์ สั่ง ฯลฯ ก็จะมีสัญญาณไปสั่ง ON Stand-by Pump ขึ้นมา เมื่อ Pump ทา Water Pressure  10 bar. ได้ แล้ ว Pump ก็จะหยุดหลังจากที่ทา Pressureได้แล้ว 7 นาที ในกรณีที่ Water Pressure Level - Low หรือ Low - Low ก็จะมีสัญญาณสั่งไป Stand-by Main Pump ให้ ทางานขึ ้นมาในกรณีนี้ Main Pump จะทางาน ทั้ง 2 ตัว

91


Specification Jockey Pump Model Type FLow Head Lubricant oil Seal Motor

: EBARA/MS : Horizontal/Multi-Stage/Sectional case/Volute/Foot-Supported : 36 m ³/h : 96 m : Turbine oil : Gland Packing : Three Phase Induction/15kw/4p/1,450 rpm/Totally-enclosedfan cooled Made by FUJI ELECTRIC CO. LTD. 92


Diesel Pump ทางานได้ 2 กรณีคือ 1. ในกรณีที่ไฟ 380 V.ac หายไปและ Vessel Water Level-Low หรือ Water Pressure Low หรือ Vessel Water Low-Low (VL-LL) 2. ในกรณีที่ Vessel Water Level Low (VL-L) หรือ Water Pressure Level Low หรือ Vessel Water Level Low-Low ( VL-LL) และ Main Pump 1&2 ไม่ทางานเกิน 30 นาที ก็จะมีคาสั่ งมาเดิน Diesel Pump Diesel Pump จะหยุดทางานเมื่อทา Pressure ได้คือ Water Pressure MIDDLE (9.6 bar) ไปแล้ว 30 นาที Diesel Pump ก็จะหยุดทางานทันที Air compressor จะรักษา Pressure ให้ Air Receiver มี Pressureอยู่ ใน 10.2 bar ถึง 11.0 bar แต่ในกรณีที่ Vessel Level < Middle ในขณะไฟไหม้ Air Compressor จะไม่ทางาน และถ้ า Vessel Water level H-H จะมีสัญญาณกลับไป สั่ งให้ Solenoid Valve ปิ ดเพื่อป้องกันน้าเข้าไปใน Air Receiver 93


Specification Diesel Pump Model : EBARA/300x200 CHNE Type : Horizontal/ Double suction/Volute/Foot Supported FLow : 546 m³ /h Head : 77 m Lubricant oil : Grease Seal : Gland Packing Engine type : RD8T/1 800 rpm/ 260 PS/ cooling Sys. Radistor type Made by Nissan DIESEL MOTOR CO. LTD.

94


Main Pump ทาหน้ าที่ อุปกรณ์ หลักในการสู บน้า เข้ า ไปใน

ระบบ เมื่อระบ บ ม ี การใช้ น้าปริ มาณมาก และ Jockey Pump ไม่ ส ามารถสู บน้า ได้ เพียงพอ Main Pump

Specification Main Pump

ก็จะทางาน

Model Type

: EBARA/250 x 150 CJNM :Horizontal/DoubleSuction/ Volume/Foot-Supported FLow : 273 m ³/h Head : 77 m Lubricant oil: Grease Seal : Gland Packing Motor : Three Phase Induction/100kw /1,480 rpm.Totally-enclosedfan cooled/ Made by FUJI ELECTRIC CO., LTD. 95


Fire Fighting Vessel Tank ทาหน้ าที่เป็ นตัวควบคุมการทางานของ Jockey Pump และ Main Pump โดยใน Fire Fighting Vessel Tank จะมีแท่ ง Cathode ใน ระดับต่าง ๆ เพื่อสั่ งการทางาน

Specification Fire Fighting Vessel Tank Nom. Capacity Inside Diameter Type of Head Pressure Material

: 30 m ³ :3 m : Elip 2:1 : 16 bar G : SPV50

96


Fire Fighting Vessel Tank 00UJ19P055 (11.0 bar.) 00UJ19P056 (10.2 bar.) Air PS-H

00UJ19S113

Air PS-L SV

Compressor VL HH

Air Receiver

00UJ19D101

VL M

VL L

VL LL

00UJ19L051 (12.5 bar.) 00UJ19L052 (11.5 bar.) 00UJ19L053 (10.0 bar.) 00UJ19L054 (9.0 bar.)

Standard Level 2/3 of Vessel Capacity

SV

VL H

00UJ19S114 00UJ19L055 (7.0 bar.) VESSEL 30 m3 x 2

00UJ20P056 (11.5 bar.) 00UJ20P057 (9.6 bar.) 00UJ20P058 (8.0 bar.) WTR PS-L

WTR PS-M

WTR PS-H

97


Air Compressor มีอยู่ 2 ตัว ทาหน้ าที่ เติมลมให้ กับ Fire Fighting Vessel Tank ในกรณีที่ ลมใน Vessel Tank ลดน้ อยต่ากว่าค่าที่ต้งั ไว้

Specification Compressor Cylinder Bore : 1st 120 mm./ 2nd 65 mm. Stroke : 90 mm. Revol. : 950 rpm. Dis. Press : 11 kg./cm ²G Power : 38 m ³/h. Motor : Three Phase Induction/ 11kw/ 4P/1,450 rpm/Totally-enclosed-fan cooled/ Made by HITACHI MANUFACTURED CO., LTD. 98


N

99


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 100


Cooling Water System คือ ระบบน้ าหล่ อเย็นในโรงไฟฟ้า ซึ่งมีความสาคัญมากใน โรงไฟฟ้าระบายความร้ อนระบบเปิ ดและปิ ด แต่ การใช้ น้ าหล่ อเย็นระบายความร้ อนระบบปิ ด เป็ น การควบคุมการใช้ น้ าอย่ างจากัดและต้ องควบคุมคุณภาพของน้ าให้ เหมาะสมกับโครงสร้ างวัสดุ อุปกรณ์ (ระบบท่ อ)หรื อโครงสร้ างหอระบายความร้ อน Cooling Water เพื่อที่จะนาน้า Cooling Water กลับมาใช้ ให้ มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยนาน้าจากระบบผลิตน้าใส Make Up Unit 4-13 เข้ าสู่ Basin Cooling Water เติมเพื่อรั กษาระดับ Basin ส่ วนน้ าที่นาไปผ่ านระบบ Sand filer นั้น เป็ นการ Tap Line น้ าที่ผ่าน Auxiliary Hot Basin มาแล้ วโดยแยกขึ ้นไปยังหอระบายความร้ อน Cooling Tower และน้ าส่ วนนี ้จะกลับไปลงที่ Cool Basin Cooling Water ต่อไป 101


1. ขจัดสารแขวนลอยที่ปนมากับน้ า 2. กาจัดพวกเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในน้า น้าในระบบ Cooling Water เป็ นน้ าที่มาจาก Condenser tube ซึ่งมีอุณหภูมิสูง เพื่อมา ระบายความร้ อนที่หอระบายความร้ อน (Cooling Tower ) น้ า Cooling Water บางส่ วนมี สารแขวนลอยปนมากับน้ า ถูกนามากรองโดย ระบบ Sand filter ประกอบไปด้วย 6 Cell น้ าที่ผ่านการกรองแล้ วจะไหลกลับไป Cooling Water Basin น้ าที่ผ่านการ Back Wash ถูกนามาเก็บไว้ ใน Used Water Reservoir Tank และนาน้าส่ วนนี้ไปใช้ ใน SSC. System โดยปกติน้าที่ผ่านระบบ By-Pass Sand filter FLow ประมาณ 900 m3/hr. การกาจัดเชื้อโรคหรื อแบคทีเรี ย เชื ้อรา ตะไคร่ ฯลฯ โดยการ Feed Chlorine ทางด้าน Discharge Pipe MCW. Pump ถัง Chlorine ที่ใช้ มีขนาด 1 ตัน ใช้ Chlorinator Feed เข้ าไปในระบบ โดยผ่ าน Ejector มีน้ า Service Water เป็ นตัวพาไป แผนกเคมี เป็ นผู้ รับผิดชอบ ในบางครั้งกรณี ที่ Feed chlorine แล้ว คุณภาพน้ายังไม่ได้ จาเป็ นจะต้องใช้ Biocide เป็ นตัวกาจัด ส่ วนสารเคมี Organic Phosphate Feed เข้ าไปในระบบ Discharge pipe MCW. Pump เพื่อ ป้ องกันเกิดการกัดกร่ อนในท่ อมีลักษณะคล้ ายเป็ นฟิ ล์ มไปเคลือบผิ วท่ อ 102


103


1. By-pass Sand filter 2. Back Wash Sand Filter System 3. Chlorinator 4. Organic Phosphate 5. Service Water Supply 104


Flow Diagram ของระบบ Bypass Sand Filter 4-7

condenser


Flow Diagram ของระบบ Bypass Sand Filter 8-13


น้า Cooling Tower แต่ละ Unit จะแยกเข้า By pass Sand filter ของ UNIT นั้น ส่ วนประกอบที่สาคัญ คือ

• คลอง (Canal) น้าจะไหลผ่านคลองลงสู่ บ่อกรอง (Sand filter) มีท้ังหมด 6 Cell

107


• Level Indicator ตรวจวัดปริมาตรน้าในรางส่ งน้า ก่อนไหลลงบ่อ Sand filter ถ้าปริมาตร น้า สูงจนไปแตะขา Level High ระบบก็จะสั่ งให้ ปิด Valve By-pass Sand filter ทันที เพื่อ ป้ องกันน้ าล้น

ขา Level High Line Bleed off

108


• บ่อกรอง Sand filter โครงสร้ างของระบบ บ่อกรอง Sand filter ประกอบไปด้วย กรวด ,ทราย และ แอนทราไซท์ เรียงตัวเป็ นชั้นสาร กรอง โดยกรองน้าผ่านหัว Nozzle ไหลลง Basin Cooling

109


•Sand Filter Level Indicator ตรวจวัดปริมาตรน้าในบ่อกรอง ในแต่ละบ่อ ถ้ าระดับน้าในบ่อเริ่มสู งขึ้น เนื่องจากประสิ ทธิภาพการกรองของบ่อกรอง ลดลง จน Limit Switch Level High ทางาน ระบบก็จะหยุด Service และเข้าสู่ ระบบ B/W โดยอัตโนมัติ Limit Switch

ลูกลอย

110


จะลดลงเราจะต้ องมี การ Backwash (ล้ า งสารกรอง) น้า ที่ใ ช้ ในการ Backwash มาจาก Service Water Reservoir โดย Backwash Pump การ Backwash จะใช้ Air Score

โดยใช้ Air

หลังจาก Backwash เสร็ จจะกลับ มาต าแหน่ ง Auto Service ปกติและ Time ในการ Backwash จะ Reset และเริ่ ม นั บ ใหม่ ระบบจะ Interlocks ไม่ สามารถ Back wash ได้มากกว่ า 1 Cell ในเวลาเดียวกัน และน้าที่ได้ จากการ Backwash จะนาไปเก็บไว้ ที่ Used Water Reservoir ส่ ว นประกอบของ ระบบ BLower

111


Back Wash Pump มี 2 ตัว ทาหน้ าที่ ไปล้างทาความสะอาดสารกรอง ในบ่อ Sand filter

112


Air BLower มี 2 ตัว ทาหน้ าที่ เป่ าชั้ นสารกรองเพื่อ ให้ สารแขวนลอยและสิ่งสกปรกที่ เกาะตัวหลุดออกจากสารกรอง Air BLower จะสลับการใช้ งาน

113


มีหน้ าที่ Feed Chlorine เพือ่ กาจัดสิ่งมีชีวติ ทีอ่ ยู่ใน Cooling Water เช่ น ตะไคร่ , แบคทีเรีย โดยการ Feed Chlorine เข้ าท่อทางด้ าน Discharge ของ MCW. Pump โดย Chlorine Injection ซึ่งจะ Feed Chlorine วันละประมาณ 5-6 ชั่วโมง และแผนกเคมีจะมีหน้ าทีค่ อย ตรวจสอบคุณภาพนา้ หล่อเย็นรวมถึงอาคารหอระบายความร้ อน Cooling Tower ในบางครั้งอาจจะมีการ เติมสาร Biocide ( เพือ่ กาจัดสิ่งมีชีวติ ทีอ่ ยู่ใน Cooling Tower) ลงใน Basin Cooling Tower Chlorinator มีอุปกรณ์และส่ วนประกอบทีส่ าคัญคือ

114


Chlorine Tank มีขนาด 1 ตัน ลักษณะภายในเป็ นก๊าซ

ตู้ Feed Chlorine ใช้ ปรับ ปริมาณการ Feed Chlorine ของแผนกเคมี

115


การ Start-Stop Chlorine Booster Pump ปัจจุบันนี้เราใช้ งานในระบบ Manual Feed ซึ่งทางแผนกเคมี เป็ นผู้ปรับแต่งเปอร์ เซ็นต์ การ Feed Chlorine ในส่ วนของโรงไฟฟ้ าแม่ -เมาะ ขั้นตอนการ Feed Chlorine เริ่มตั้งแต่ เวลา 09.00-15.00 น.ของทุกวันทาการ

116


ท่ อ Feed Chlorine ท่ อนี้จะต่อจาก ตู้ Feed Chlorine ไปที่ท่อด้าน Discharge ของ Main Cooling

Line Feed Chlorine เข้า Line Cool Basin ที่ อาคาร ZM

117


Booster Pump มีอยู่ 2 ตัว ทาหน้ าที่สูบน้าจาก Service Water Reservoir ไป ผสมกับ Chlorine ที่ Mixer แล้วส่ งไปที่ท่อด้าน Discharge ของ Main Cooling

118


หน้ าที่ เพื่อต่อต้านการ ผุกร่ อน และอุดตันของ Condenser Tube โดยการ Feed Organic Phosphate เข้ายังท่ อทางด้าน Discharge ของ MCW. Pump ทุกวัน และปริมาณการ Feed Organic Phosphate แผนกเคมี จะเป็ นผู้กาหนดว่าในแต่ละ วันจะ Feed Organic Phosphate กี่ ลิตรต่อชั่วโมง ระบบ Organic มีอุปกรณ์ในระบบ ดังนี้

Organic Tank มีอยู่ 1 Tank ใช้ เก็บสารเคมี เพื่อรอจ่ายให้ กับระบบ

119


Organic Feed Pump อุปกรณ์และระบบการ Feed Organic Phosphateเมื่อระบบ Cooling ทางาน ให้ เลือกเดิน Pump การปรับแต่ง Speed ของ Pump สามารถปรับแต่งด้วย Manual ขึ้นอยู่กับ FLow ของน้า Cooling Water ลักษณะการทางานจะสลับการใช้ งาน การ Feed Organic Phosphate ต้อง ดู FLow หลอดแก้ วและดูระดับ Level ประกอบกัน ท่ อ Feed Organic ท่ อนี้จะต่ อมา จาก Organic Feed Pump ของแต่ละตัว มาที่ท่อด้าน Discharge ของ Main Cooling

120


มีหน้ าที่ นาไปใช้ ในการ Back Wash และ Feed Chlorine น้าส่ วนนี้นามาจาก Make Up waterโดยมี Level Service Water Tank เป็ นตัว Control สั่ งเปิ ด Valve ที่ Service Water Tank Low(ประมาณ 60%) ถ้ า Level Service Water Tank High (ประมาณ 80 % ) Valve จะถูกสั่ งปิ ดโดยอัตโนมัติ ในกรณีที่ Service Water Tank Low Low(ประมาณ 40 %) จะไม่สามารถ Back Wash และ Feed Chlorine ได้

Line Service Water

121


โดย ศั กดา ชัยประเทศ 122


ระบบนีจ้ ะรับนา้ จากใต้ เตา หรือ SSC ที่ Unit 4 – 9 ไหลผ่ านราง ระบายนา้ ทางด้ าน 4/5 และ 6/7 มาลงที่ Silo ที่ ZQ-1 จากนั้น จะสู บไปทิง้ ที่ บ่ อ ZQ–2 เพือ่ ให้ นา้ ตกตะกอน ไหลผ่ านไปสู่ บ่อ ZQ–3 ซึ่งจะมี Pump อยู่ 3 ตัว เพือ่ สู บนา้ ทีต่ กตะกอนกลับมาใช้ ในระบบ FGD ต่ อไป 123


1. Gate Valve 2. ตะแกรงปาก Silo มีไว้เพื่อกรองขยะหรือก้อนหินที่มีขนาดใหญ่ ป้องกันไม่ให้ Pump เกิดการเสี ยหายได้ 3. Silo เป็ นที่รับน้าจากให้ เตา 4. Pump มีท้ังหมด 4 ตัว ทาหน้ าที่สูบน้าจาก Silo ไปที่บ่อ ZQ-2 การทางานจะทางาน 2 ตัว โดยจะสลับกันทางาน 124


125


126


127


128


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.