5.3 material handling

Page 1


1

อุปกรณ์ขนถ่าน


2 การเคลือนย้ ายวัสดุ (material handling) การเคลือนย้ ายวัสดุ (material handling) เป็ นการขนย้ ายวัสดุจากทีหนึงไปยังอีกทีหนึง หรือจากแหล่งงานหนึงไปยังอีก แหล่งงานหนึง การเคลือนย้ ายโดยเครืองจักร เป็ นระบบการเคลือนย้ ายวัสดุทีได้ มีการนําเอาเครื องมือในการขนย้ ายหลายชนิด เข้ ามาช่วย ซึงเป็ นเครื องมือเครื องจักรแบบธรรมดาทีมิได้ มีกลไกซับซ้ อนมากนัก เครื องมือขนย้ ายทีมีการใช้ กันมากในการ ปฏิบตั ิงานเกียวกับการเคลือนย้ ายวัสดุ ได้ แก่ 1.1 รถยก (forklift truck) เป็ นเครื องมือทีสามารถยกของและย้ ายของนําไปกองได้ ทัง; ในแนวนอนและแนวดิง รถยกนีม; ีหลายแบบและหลาย ขนาด แต่โดยทัวไปจะมี 4 ล้ อ ขับเคลือนด้ วยล้ อหน้ า บังคับเลี ;ยวด้ วยล้ อหลัง ยกของด้ วยส้ อมทีติดอยู่ด้านหน้ า และยกของขึ ;น ด้ วยระบบไฮดรอลิค สามารถยกของได้ สงู ประมาณ 20 ฟุต รถยกนีเ; หมาะสําหรับการเคลือนย้ ายวัสดุระยะทางใกล้ ๆ เช่น ภายในโรงงานและต้ องใช้ แรงงานคนประกอบในการจัดเก็บของทีขนย้ ายด้ วย ดังนันจึ ; งไม่นิยมใช้ สําหรับการเคลือนย้ ายทีมี ระยะทางไกล และไม่ใช้ กับการเคลือนย้ ายวัสดุทีมิใช่เป็ นสิงของทีมีรูปทรงมาตรฐาน หรื อวัสดุทีไม่มีการบรรจุภณ ั ฑ์เพือการ เคลือนย้ าย

คุณสมบัติของงานทีใช้ รกยก ได้ แก่ 1. มีการเคลือนย้ ายวัสดุเฉพาะจุด 2. มีการเปลียนเส้ นทางการเคลือนที 3. แรงกระทําคงทีทังขนาดและนํ ; ;าหนักของวัสดุ 4. ระยะทางในการขนถ่ายไม่แน่นอน 5. ต้ องการทางวิง และช่องทาง 6. การทํางานส่วนมากต้ องการขนถ่าย 7. สามารถจัดวัสดุเข้ าเป็ นหน่วยได้ คุณสมบัติทกล่ ี าวมาแล้ วทังหมด ; จะแปรเปลียนไปตาม 1. ความสามารถในการขนถ่ายของอุปกรณ์แต่ละชนิด 2. ความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยต่างๆ ทีจะใช้ พิจารณาปั ญหาการขนถ่าย


3 1.2 รถลากจูงประกอบรถพ่ วง (tractor-trailer) เป็ นเครืองมือทีประกอบด้ วย รถพ่วง 4 ล้ อ ทีมีลกั ษณะคล้ ายรถเข็นหรือเกวียนหลายๆ คันเชือมต่อกันทีจุดต่อ เคลือนที โดยการใช้ แรงคนเพียงคนเดียวหรือรถลากจูงเพียง 1 คัน ก็สามารถลากจูงรถพ่วงได้ หลายคัน รถลากจูงประกอบนี ;ใช้ สาํ หรับการ เคลือนย้ ายวัสดุทีเป็ นไปอย่างต่อเนืองและ สามารถขนวัสดุได้ ทลี ะหลายชนิด

Tractor-Trailer

tandem tractor trailer

1.3 ปั น; จัน หรือ เครน (Crane) หมายถึง เครืองจักรทีใช้ ยกสิงของขึ ;นลงในแนวดิงและเคลือนย้ ายสิงของเหล่านันในแนวราบ ; และหมายความรวมถึง เครืองจักรประเภทรอกทีใช้ ยกสิงของขึนลงตามแนวดิ ; งด้ วยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 1.ปั 3นจันชนิดอยู่กบั ที (Stationary Crane) - Portal Crane - Overhead Crane - Cantilever Gantry Crane - Portal Crane - Pillar Crane - Tower Crane - Gantry Crane - Wall Crane - Semi Gantry Crane - Hammerhead Crane

Tower crane

overhead crane

2. ปั 3นจันชนิดเคลือนที (Mobile Crane) - Crawler crane - Truck-mounted crane - Side lift crane - Railroad crane - Loader crane - All terrain crane - Rough terrain crane


4

Loader crane

Truck mounted crane

คุณสมบัติของงานทีจะใช้ เครนและรอกยก มีดงนี ั; ; 1. มีการเคลือนทีในพื ;นทีทีคงที 2. เคลือนย้ ายวัสดุชวครั ั ง; ชัวคราว 3. แรงกระทําเปลียนแปลงและขนาดและนํ ;าหนัก 4. สามารถใช้ ในทีมีการทํางานคับคังได้ เพราะใช้ ในบริเวณด้ านสูงขนถ่ายวัสดุ 5. ขนถ่ายวัสดุไม่สมําเสมอ 1.4 รางเลือน (conveyor) เป็ นเครื องมือทีนิยมใช้ กนั มากในการขนย้ ายวัสดุ รางเลือนนี ;ไม่จําเป็ นต้ องเกียวข้ องกับยานพาหนะใด รางเลือนมี หลายชนิดทังที ; มีกําลังขับเคลือนและชนิดทีไม่มีกําลังขับเคลือน รางเลือนชนิดทีมีกําลังขับเคลือน ได้ แก่ รางเลือนชนิดสายพาน (belt conveyor) ซึงมีลกั ษณะเป็ นสายพานวงรอบ ไม่มีปลายสุด ติดตังอยู ; ่บนโครงเหล็กขับเคลือนด้ วยแรงฉุดของเครื องยนต์ หรือไฟฟ้ า รางเลือนชนิดทีไม่มีกําลังขับเคลือน ได้ แก่ รางเลือนทีหมุนโดยแรงงานคน หรื อรางเลือนทีอาศัยแรงถ่วงของโลก เช่น รางเลือนชนิดใช้ ล้อกลิ ;ง (wheel conveyor) และรางเลือนชนิดลูกกลิ ;ง (roller conveyor)

สายพานลําเลียง คุณสมบัติของงานทีจะใช้ สายพานลําเลียงมีดงนี ั; ; 1. แรงกระทําสมําเสมอและคงที 2. วัสดุเคลือนทีอย่างต่อเนือง 3. เส้ นทางไม่ได้ เปลียนแปลง 4. อัตราการเคลือนย้ ายแน่นอน 5. สามารถข้ ามสิงกีดขวางได้ 6. จําเป็ นต้ องใช้ การนับอย่างอัตโนมัติ การแยกจําพวกการชังนํ ;าหนัก 7. ต้ องมีการเก็บตัวเลขคงคลัง และการตรวจสอบเพือควบคุมการผลิต 8. จําเป็ นต่อการผลิตเพือความก้ าวหน้ า


5 9. ต้ องการควบคุมการไหล 10. ขนถ่ายวัสดุทีมีการเสียงต่ออันตราย 11. ขนถ่ายวัสดุทีมีอณ ุ หภูมสิ งู 12. ใช้ ในเพือนทีทีอันตราย 13. ไม่สามารถใช้ การขนถ่ายด้ วยมือ หรือลีฟท์ 14. รวมเอาเครืองจักรเข้ าอยู่ในระบบด้ วย 15. สามารถใช้ พื ;นทีทางด้ านสูงได้ เพือประหยัดพื ;นด้ านล่าง นอกจากเครืองมือในการขนย้ ายทัง; 4 แบบดังกล่าวแล้ ว ในทางปฏิบตั ิจะพบว่ามีการนําเครื องมือหลายๆ ชนิดเข้ ามา ใช้ ในกิจการ โดยการนําเครื องจักรมากกว่าหนึงชนิดเข้ ามาใช้ ประกอบกันในการเคลือนย้ าย เช่น ใช้ รถยกสําหรับยกของใน แนวดิง แล้ วใช้ รถลากจูงประกอบรถพ่วงในการเคลือนย้ ายและขนส่งวัสดุในแนวนอน เป็ นต้ น อุปกรณ์ลาํ เลียงแบบต่อเนือง (conveyor) เป็ นส่วนหนึงของอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุ(Material handling) ซึงมีอยู่หลายแบบหลายชนิดด้ วยกันและในปั จจุบนั มีวาง วางขายในท้ อ งตลาดมากกว่ า jkl ชนิด ซึงยัง มีอุปกรณ์ ขนถ่ า ยวัส ดุช นิด ใหม่ๆ ออกวางจํ า หน่า ยอย่ า งต่อ เนือง และจะ ยกตัวอย่างอุปกรณ์ลาํ เลียงแบบต่อเนืองทีใช้ กนั อย่างกว้ างขวางในงานอุตสาหกรรมดังต่อไปนี ; 1. สายพานลําเลียง (belt conveyor)

รูปแสดงการขนถ่ายวัสดุบนสายพาน m.กระพ้ อลําเลียง (bucket conveyor)

กระพ้ อลําเลียง


6 ?.โซ่ ลาํ เลียง (chain conveyor)

ภาพ โซ่ลาํ เลียง C.อุปกรณ์ ขนถ่ ายด้ วยลม (pneumatic conveyor)

ภาพ อุปกรณ์ขนถ่ายด้ วยลม


7 สายพานลําเลียง (BELT CONVEYOR) สายพานลําเลียงเป็ นอุปกรณ์ ขนถ่ายวัสดุแบบต่อเนือง ซึงมีการเริ มนํามาใช้ ในการขนถ่ายวัสดุในช่วงปี ค.ศ. nkoj โดยใช้ ขนถ่ายในระยะทางทีสันๆ ; ในระยะแรกสายพานลําเลียงสร้ างกันอย่างง่ายๆ โดยนําเอาหนังสัตว์ ผ้ าใบ หรือ ยาง มาทํา เป็ นแผ่นสายพานเคลือนทีไปบนโครงสร้ างพืน; ไม้ แบนเรี ยบ หรื อพื น; ไม้ ทีเป็ นรู ปแอ่ง แต่ก็ไม่ส ามารถใช้ งานได้ ดีเท่า ทีควร หลังจากนันได้ ; มีกลุ่มวิศวกรร่ วมกันพัฒนาให้ มีประสิทธิqภาพ และในปี ค.ศ. noml บริ ษัท เฮ็ช ซี ฟริ ค(H.C. Frick Company) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ ติดตังสายพานลํ ; าเลียงยาวถึง t กม. ผ่านอุโมงค์ใต้ ดินเพือขนถ่านหินไปยังท่าเรื อโคโลเนียล สายพาน ทําจากชัน; ผ้ าใบเคลือบด้ วยยางทัง; m ด้ าน ซึงในยุคนัน; ผ้ าใบและยางจัดว่าเป็ นวัสดุทีใช้ ได้ ดีในการผลิตสายพานลําเลียง การ พัฒนาสายพานลําเลียงได้ เริ มมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วในช่วงสมัยสงครามโลกครัง; ที m โดยนําเอาใยสังเคราะห์พวกโพลิเมอร์ มาสานถัก เพือใช้ แทนผ้ าใบสําหรับทําแกนกลางของสายพานลําเลียงและเป็ นทีนิยมใช้ กนั มากจนถึงปั จจุบนั สายพานลําเลียง เป็ นสายพานทีเคลือนทีแบบต่อเนืองตลอดเวลาใช้ งาน โดยปลายทัง; m ข้ างของสายพานจะต่อเข้ า ด้ วยกัน ใช้ สําหรับขนถ่ายวัสดุทัง; ในแนวราบและแนวลาดเอียง(ขึ ;น, ลง) ส่วนประกอบของระบบสายพานลําเลียงมีอยู่ j ส่วน หลักๆ ดังนี ; 1. 2. 3. 4. 5.

สายพาน (Belt) ลูกกลิ ;ง (Idler) ล้ อสายพาน (Pulley) ชุดขับ (Drive) โครงสร้ าง (Structure)


8 R. สายพาน เป็ นส่วนรองรับวัสดุขนถ่ายและทําให้ วสั ดุขนถ่ายทีอยู่บนสายพานลําเลียงเคลือนทีตามสายพานไปด้ วย มีอยู่ m ชนิด คือ 1. สายพานแบบไส้ สลิง 2. สายพานแบบไส้ ผ้าใบ ส่ วนประกอบของสายพานแบบไส้ สลิง

เกรดทัวไปของยางผิวตามมาตรฐาน DIN 22131


9 เกรดพิเศษ • ทนร้ อน 100 °C, 120 °C, 150 °C • ทนนํ ;ามัน • ทนไฟและกันไฟฟ้ าสถิตย์ • ลวดสลิงทําจากเส้ นลวดเหล็กชุบสังกะสีเพือป้องกันการผุกร่อนและเป็ นสารช่วยยึดเกาะลวดเหล็กกับยาง • โครงสร้ างเป็ นแบบเปิ ดเพือให้ ยางนํ ;ากาวซึมทะลุและเคลือบติดเส้ นลวดทุกเส้ น เพิมความแข็งแรงในการ ยึดเกาะของยางกับลวด ตารางมาตรฐานการผลิต

ST-2000 คือความแข็งสายพานทีสามารถทนแรงดึงได้ (KN/m) เช่นตัวอย่างนี ; สายพานสามารถทนแรงดึงได้ 2,000 KN/m. 1200 คือ หน้ ากว้ างของสายพานเท่ากับ 1,200 mm. 5.4ø คือ เส้ นผ่าศูนย์กลางของลวดมีค่าเท่ากับ 5.4 mm ซึงค่านี ;ผู้ผลิตจะให้ ตรางมาให้ เราเลือกว่า ST-2000 นี ; จะสร้ างด้ วย รูปแบบการเรียงลวดสลิงเป็ นแบบไหน ซึงอาจจะมีให้ เลือกมากกว่าหนึงแบบ (ดูตามตัวอย่างทีให้ มา) 6.0 คือ ความหนาของยางด้ านบน (Top cover) เท่ากับ 6 mm. 5.0 คือ ความหนาของยางด้ านล่าง (Bottom cover) เท่ากับ 5 mm DIM-X คือ เกรดของสายพาน


10 ส่ วนประกอบของสายพานแบบไส้ ผ้าใบ(Rubber Belt)

1. ยาง ผิวบน (Top Cover) มีหน้ าทีรองรับ วัสดุ ขนถ่าย และป้องกันการเสียหายของ ชัน; ผ้ าใบรับแรง และยังมี คุณสมบัติป้องกัน แรงกระแทก ป้องกันการเจาะทะลุ ป้องกันนํ ;ามัน ป้องกันความร้ อน ผิวบางบนมีหลายชนิดให้ เลือกใช้ งาน ขึ ;นอยู่กบั ความเหมาะสมของการใช้ งาน 2. ชัน; ผ้ าใบรับแรง (Carcass) มีหน้ าทีเป็ นแกนรับแรงดึงของ สายพาน ทังเส้ ; น และช่วยกระจายแรงดึงของ สายพาน เมือทําการ ลําเลียง วัสดุอีกด้ วย 3. ชัน; ยางประสานผ้ าใบ (Skim rubber) มีหน้ าทีประสานชัน; ผ้ าใบแต่ละชัน; เข้ าด้ วยกัน 4. ยางผิวล่าง (Bottom Cover) มีหน้ าทีป้องกันชัน; ผ้ าใบรับแรงไม่ให้ เสียหายจากการเสียดสีกับ ลูกกลิ ;ง (Idler) และ พูลเลย์ ดังนันความหนาของยางผิ ; วล่างจึงไม่จําเป็ นต้ องหนาเท่ากับยางผิวบน เพราะไม่ได้ รับภาระหนักเหมือนยางผิวบน สรุป ชัน; ผ้ านันเป็ ; นแกนหลักของสายพาน ทําหน้ าทีรับแรงต่างๆ ทีเกิดกับสายพาน ชันนํ ; ;ากาวทีเคลือบบนชัน; ผ้ า ทําหน้ าทียึดติด ชันผ้ ; าเข้ าด้ วยกัน และยึดติดชันผ้ ; ากับผิวยางชัน; นอก ส่วนผิวยางชันนอกทํ ; าหน้ าทีปกป้องชันผ้ ; าจากสภาวะแวดล้ อมในการใช้ งาน การเลือกชัน3 ผ้ าใบของสายพานลําเลียง ชันผ้ ; าของสายพานลําเลียง ควรจะสามารถรับแรงทังหมด ; ทีเกิดกับสายพานได้ ทงในขณะที ั; รับ และบรรทุกนํ ;าหนัก วัสดุ ชัน; ผ้ านี ;ควรจะได้ รับการออกแบบให้ มีสมรรถภาพการใช้ งาน ดังนี ; 1. ความทนต่อแรงดึง โดยต้ องอยู่ในระดับทีจะทนต่อแรงดึงสูงสุด ในขณะใช้ งานได้ 2. การรับนํ ;าหนัก มีความแข็งแกร่งตามแนวขวาง เพือคํ ;าสายพานเมือบรรทุกอย่างเต็มที 3. ความทนทานต่อแรงตกกระทบ กระแทก โดยต้ องมีความสามารถทีจะรับแรง ตกกระทบ กระแทก ในขณะทีวัสดุที บรรทุกหล่นลงมากระทบกระแทกบนสายพาน ณ จุดบรรทุกหรือจุดโหลดวัสดุ 4. ความยืดหยุ่นตามแนวขวาง มีความยืดหยุ่นเพียงพอ ทีจะสัมผัสกับรางในขณะทีไม่มีนํ ;าหนักบรรทุก 5. ความยืดหยุ่นตามแนวยาว มีความยืดหยุ่นเพียงพอ ทีจะเคลือนไปรอบพูเล่ย์ทกุ ตัวในระบบ โดยไม่ทําให้ อายุการใช้ งานลดลง


11 ผ้ าโพลีเอสเตอร์ /ไนลอน

ผ้ า "อีพ"ี เป็ นผ้ าทอใยสังเคราะห์ ซึงใช้ ใยโพลีเอสเตอร์ เป็ นด้ ายยืน และใช้ ใยโพลีเมอร์ (ไนลอน) เป็ นด้ ายพุง่ โดยมี ลักษณะเฉพาะดังนี ; 1. การยืดตัวน้ อยเมือรับแรงดึง: ดังนันสายพาน ; "ผ้ าอีพ"ี เมือใช้ งานไปแล้ ว จะมีการยืดตัวของผ้ าอีพีน้อย ทําให้ ใช้ ระยะ Take Up สันลง ; จึงประหยัดทังพื ; ;นทีและค่าใช้ จา่ ย ของโครงสร้ างสายพานลําเลียงทังหมด ; และยังทําให้ สายพานเมือเริม เคลือนทีทําได้ อย่างคล่องตัวขึนโดยเฉพาะในกรณี ; ของช่วงสายพานทียาวๆ 2. ทนต่อความชืน; และนํ ;าได้ ด:ี สายพาน "ผ้ าอีพ"ี จะลดความเสียหายทีเกิดจากความชื ;นและนํ ;าซึงเป็ นเหตุให้ ความ แข็งแรงของสายพานลดลง และเกิดการแยกตัวระหว่างชันผ้ ; า ดังนันจึ ; งช่วยให้ สายพานมีอายุการใช้ งานทียาวนานขึ ;น 3. ได้ รับผลกระทบน้ อยจากอุณหภูมิ: สายพาน "ผ้ าอีพ"ี สามารถรักษาความแข็งแรง การยืดตัวและขนาดให้ คงทีอยู่ เสมอ แม้ จะอยู่ภายใต้ อณ ุ หภูมิทสูี ง ซึงทําให้ สายพาน "ผ้ าอีพี" มีความเหมาะสมอย่างยิงทีจะใช้ ในบริเวณทีมีอณ ุ หภูมิและ ความชื ;นสูง 4. เลือนไปตามรางได้ ดี 5. ทนต่อแรงกระแทกได้ ดี 6. ทนต่อสารเคมีต่างๆ ได้ ดี 7. ไม่เปื อยและไม่เป็ นรา การเลือกผิวสายพานด้ านนอก ผิวยางชัน; นอกของสายพานลําเลียงนัน; เป็ นส่วนสําคัญทีช่วยปกป้องตัวชันผ้ ; า ขนาดความหนาของผิวยางสายพาน กําหนดโดยรอบหมุนของสายพานและสภาพการบรรทุก ยางของสายพานควรเลือกให้ มีสมรรถภาพ ทนต่อการใช้ งานโดย คํานึงถึงปั จจัยต่างๆ ดังต่อไปนี ; 1. วัสดุลาํ เลียง: ความแตกต่างกันในด้ านขนาด ชนิดและปริมาณวัสดุ จะมีผลต่อขีดความสามารถในการทนทานต่อ การฉีกเจาะ และการสึกกร่อนของสายพาน 2. การบรรทุก: วิธีการบรรทุกวัสดุลงบนสายพาน มีผลต่ออายุการใช้ งานของสายพาน ตัวอย่างเช่น การบรรทุกวัสดุลง โดยทํามุม 90° กับการเคลือนทีของสายพาน จะทําให้ เกิดการสึกกร่อน มากกว่าการบรรทุกโดยวางเรียงบนสายพาน เป็ นต้ น


12 3. สภาพแวดล้ อม: ผิวยางสายพานในปั จจุบนั สามารถผสมสูตรพิเศษออกมา เพือให้ มีความสามารถทนต่อนํ ;ามัน ความชื ;น ความร้ อนและเปลวไฟขีดความสามารถในการทนทาน ต่อการถูกทําลายด้ วยโอโซน และ ความเสือมจากอายุการใช้ งานของผิวยางแต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป คุณสมบ ัติยางผิวสายพานสําหร ับงานลําเลียงทวไป ั

คุณสมบัตแิ ละการใช้ งาน Grade M: เป็ นสายพานทนแรงดึงสูง มีความต้ านทานการสึกหรอ และการตัดเจาะขาดทีดีมาก เหมาะสําหรับงานที ต้ องการรับแรงกระแทกสูง ใช้ ลาํ เลียงวัสดุขนาดใหญ่ วัสดุแหลมคม และวัสดุผิวหยาบขรุขระ Grade N: เป็ นสายพานทนแรงดึงสูง มีความต้ านทานการสึกหรอและการตัดเจาะขาดทีดี แต่น้อยกว่าเกรด M ใช้ ใน การลําเลียงก้ อนหินบด ถ่านหิน หินปูน ฯลฯ Grade P: สายพานสําหรับลําเลียงงานเบาทัวไป เหมาะสําหรับลําเลียงวัสดุทมี​ี ความสึกกร่อนน้ อยและวัสดุขนาดเล็ก คุณสมบ ัติยางผิวสายพานทนนําม ัน

* โดยใช้ นํ ;ามัน ASTM Oil#1 ทีอุณหภูมิ 70°C ระยะเวลา 72 ชัวโมง คุณสมบัตแิ ละการใช้ งาน OR1: ทนนํ ;ามันหล่อลืนปิ โตรเลียม นํ ;ามันพืช และนํ ;ามันสัตว์ดมี าก ใช้ ในงานลําเลียงเมล็ดพืช ธัญพืชทีมีนํ ;ามัน ถ่าน หินทีสเปรย์นํ ;ามัน ชิน; ส่วนโลหะทีมีนํ ;ามัน เป็ นต้ น


13 OR2: ทนนํ ;ามันพืชและนํ ;ามันจากสัตว์ได้ ดี ทนนํ ;ามันหล่อลืนปิ โตรเลียมปานกลาง ใช้ ในงานลําเลียงวัสดุทีมีนํ ;ามัน และต้ องการทนอุณหภูมิสงู

คุณสมบัตยิ างผิวสายพานทนอุณหภูมิสูง

คุณสมบัตแิ ละการใช้ งาน HR 100: เหมาะสมกับการใช้ งานลําเลียง ทีผิวของสายพานมีอณ ุ หภูมิไม่เกิน 100°C หรือลําเลียงวัสดุทีอุณหภูมิสงู ไม่ เกิน 150°C เช่น แร่เหล็ก ถ่านโค๊ก หินปูน ฯลฯ HR 120: เหมาะสมกับการใช้ งานลําเลียง ทีผิวสายพานมีอณ ุ หภูมิไม่เกิน 120°C หรือลําเลียงวัสดุทีอุณหภูมิสงู ไม่เกิน 200°C เช่น ผลิตภัณฑ์ซเี มนต์ หินปูน ดินเหนียว ขี ;โลหะ ฯลฯ HR 150: เหมาะสมกับการใช้ งานลําเลียง ทีผิวสายพานมีอณ ุ หภูมิไม่เกิน 150°C หรือลําเลียงวัสดุทีอุณหภูมิสงู ไม่เกิน 300°C เช่น ผงซีเมนต์ร้อน ผงโลหะร้ อน ฯลฯ ปั จจัยทีต้ องพิจารณา ในการเลือกสายพานลําเลียงทนอุณหภูมสิ งู นัน; นอกจากอุณหภูมขิ องวัสดุลาํ เลียงแล้ ว ยังต้ องคํานึงถึง อุณหภูมิของผิวสายพานด้วย อุณหภูมขิ องผิวสายพาน จะขึนอยู ; ่กบั ชนิดและขนาดของวัสดุลาํ เลียง ความเร็วสายพาน อัตรา การลําเลียง และสภาวะแวดล้ อม สายพานลําเลียงทนไฟ การใช้ งาน เมือมีการใช้ สายพานในบริเวณทีเข้ าถึงได้ ยากนัน; การลดความเสียงอันอาจจะเกิดไฟไหม้ ขนึ ; มีความสําคัญมาก ผิว สายพานได้ รับการออกแบบ โดยอ้ างอิงมาตรฐาน ISO340, DIN22103(K) และ JIS K 6324 เหมาะสําหรับงานเหมืองใต้ ดิน


14 และบนดิน งานลําเลียงวัสดุทีต้ องการสายพานทีมีคณ ุ สมบัติ กันติดไฟและกันไฟฟ้ าสถิตย์ เช่น ในอุตสาหกรรม เคมี หล่อโลหะ พลังงาน ไฟฟ้า เป็ นต้ น คุณสมบัติยางผิวสายพานทนไฟ

ระดับความสึกกร่ อนของวัสดุลาํ เลียง


15 การเลือกขนาดพูเล่ ย์

การเลือกใช้ สายพาน สายพานแบบไส้ สลิง - ความยาวสายพานมาก - ต้ องการแรงดึงสูง - ปริมาณการขนถ่ายวัสดุมาก - สายพานมีการยืดตัวน้ อย

สายพานแบบไส้ ผ้าใบ - ทนต่อแรงกระแทกสูง - ทนต่อความร้ อนสูง - สายพานมีการยืดตัวน้ อย - สามารถยึดติดกับยางได้ ดี - ไม่สามารถใช้ บริเวณทีมีอณ ุ หภูมเิ กิน n‰l°C - ทนทานสูง

การเลือกใช้ สายพาน ... กว้ างแค่ไหนถึงจะเหมาะสม ในการเลือกสายพาน ลําเลียงทีมีความเหมาะสม จะต้ องมีความกว้ างมากพอต่อการขนวัสดุในปริ มาณทีต้ องการของ ผู้ใช้ งานได้ โดยวัสดุจะต้ องไม่อยู่ชิดขอบของสายพานมากเกินไป ดังนันขนาดความกว้ ; างของสายพานจะต้ องลําเลียงวัสดุได้ อย่างไม่แออัดจนเกินไป การเลือกขนาดความกว้ างของสายพานลําเลียงทีเหมาะสมจะขึนอยู ; ่กบั ปั จจัยดังนี ; - ชนิดของวัสดุที ลําเลียง + คุณสมบัติของวัสดุ - ความเร็วสายพาน (Belt Speed) ทีใช้ งาน (m/min , m/sec) - ขนาดก้ อนโตของวัสดุ (Lump Size) - อัตราการขนถ่ายลําเลียง (cu.ft / hr)


16 ตารางที n ตารางการเลือกความใช้ ความเร็วสายพาน และความกว้ างสายพาน ทีเหมาะสม ความเร็วของสายพาน วัสดุทีใช้ (ft/min) jll kll เมล็ดพืช , วัสดุทีไหลได้ดี , ไม่มีการกัดกร่อน tll nlll ‰ll ถ่านหิน , ดินเหนียว , สินแร่ทีมีความอ่อนตัว , ดิน , Žll หินบดละเอียด tll nlll •jl วัสดุหนัก , มีความแข็งคม , แร่ทีมีเหลียมมุม , หินแตก , วัสดุมีผิว jll หยาบ Žll ทรายหล่อละเอียด , ทรายทีมีความชืน; , วัสดุทีมีความร้ อนตําจน 350 ไม่ทําให้ สายพานเสียหาย ทรายหล่อละเอียด , มีความชื ;นและเกิดการกัดกร่ อนเมือแห้ ง 200 วัสดุทีไม่เกิดการกัดกร่อน , วัสดุทีจ่ายออกมาจากสายพานโดยทํา 200 ให้ เกิดความสกปรกต่อใบกวาด สายพาน Feeder , สําหรับป้อนวัสดุทีมีความละเอียด , ไม่ 50 - 100 ก่อให้ เกิดการกัดกร่อน หรือ กัดกร่อนน้ อย

ความกว้ างของสายพาน (inch) nt m‰ – •l •Ž – ‰‰ ‰t - oŽ nt m‰ – •Ž ‰m – Žl km - oŽ nt m‰ – •Ž < 36 Any width Any width Any width Any width

ข้ อมูลในตารางที 1 จะเป็ นการแบ่งกลุ่มวัสดุและความเร็ วสายพาน สูงสุดสําหรับการขนลําเลียงวัสดุชนิดนัน; ๆและ ความกว้ างทีเหมาะสมกับการใช้ งานทีความเร็วนันๆ ; ดังนันเมื ; อเราทราบแล้ วว่าจะขนวัสดุประเภทไหนแล้ ว ให้ ดจู ากกลุม่ วัสดุจากตาราง ก็จะสามารถเลือกใช้ ความกว้ าง สายพานทีเหมาะสม และความเร็ วทีการลําเลียงได้ อย่างเหมาะสมอีกด้ วย


17 2. ลูกกลิง3 (Idler) เป็ นตัวรองรับสายพานอีกทีหนึง ลูกกลิ ;งนี ;จะมี m ชนิด คือ 2.1 ลูกกลิ ;งด้ านลําเลียงวัสดุ (Carry Idlers) จะมีอยู่ 2 ชนิดตามการใช้ งานอีกคือ - ลูกกลิ ;งแอ่ง (trough Idler) ใน 1 set จะมีลกู กลิ ;งตังแต่ ; 2 ลูกขึนไป ; ติดตังเอี ; ยงทํามุมโอบกับสายพาน ลําเลียง ทําให้ ขนวัสดุได้ ในปริมาณมากขึ ;น และยังสามารถกระจายนํ ;าหนักได้ ดีอีกด้ วย - ลูกกลิ ;ง (Flat Idler) จะยึดติดกับโครงสร้ างด้ วย Bracket เป็ นลูกกลิ ;งทีใช้ งานในแนวราบ 2.2 ลูกกลิ ;งด้ านสายพานกลับ (Return Idlers)

แสดงตําแหน่งของด้ าน Carry และ Return 2.1 ลูกกลิ ;งลําลียงด้ านบรรทุกวัสดุ (Carry Idler) - ลูกกลิ ;งลําเลียงแบบทํามุม (Troughing Idler) เหมาะสําหรับการลําเลียงวัสดุประเภทมวล (Bulk Materials) ซึง มี ลักษณะเป็ นผง เป็ นก้ อน เพราะจะทําให้ ขนลําเลียงได้ ในปริมาณมาก อีกทังลั ; กษณะของลูกกลิ ;งรองรับทีทํามุมโอบรับยังองกัน วัสดุตกออกด้ าน ข้ างอีกด้ วย ในส่วนทีมีการตก กระแทก บริเวณใต้ Chute ส่วนมากจะมียางหุ้มไว้เพือลดการกระแทกของวัสดุ ทีตกลงมาบนสายพาน

แสดงลักษณะของชุดลูกกลิ ;งทํามุม 3 ลูก (troughing Idler) - ลูกกลิ ;งลําเลียงแนวราบ (Flat Roller Idler) สามารถลําเลียงวัสดุทีมีลกั ษณะทีเป็ นชิ ;นหรือเป็ นท่อน เช่น ท่อนไม้ ได้ แต่ก็ สามารถลําเลียงวัสดุมวลได้ เช่นกันแต่ปริ มาณจะน้ อยกว่าชุดลูกกลิ ;งทํามุม

แสดงลักษณะของชุดลูกกลิ ;งลําเลียงแนวราบ (Flat Roller Idler) Impact Idle Roller เป็ นลูกกลิ ;งรองรับสายพานด้ านรับ Load ทีตัวลูกกลิ ;งจะมียางหุ้มไว้ เพือลดแรงกระแทกจากวัสดุทีตก กระแทกซึงจะติดตังไว้ ; บริเวณใต้ Chute


18 2.2 ลูกกลิง3 ลําเลียงด้ านพากลับ (Return Idler) Return Idler มีหน้ าทีรองรับสายพานลําเลียงในด้ านพาสายพานกลับไปยังจุดขับสายพาน (Drive Unit) ทําให้ Return Idler ถูกติดตังอยู ; ด่ ้ านใต้ ของโครงสร้ างระบบสายพานลําเลียง ทําให้ ไม่ต้องรับภาระนํ ;าหนักของวัสดุเหมือนกับด้ าน Carry Idler ทําให้ return Idler มีขนาดโครงสร้ างทีเล็กกว่า และมีหน้ าทีคอยรองรับสายพานเพือไม่ให้ ตกท้ องช้ างไปสีกบั โครงสร้ าง หรือ ลากกับพื ;น

แสดงลักษณะของ Return Idler แนวราบ

แสดงลักษณะของ Return Idler แบบทํามุม Invert Idler Roller จะติดตังไว้ ; ด้านบนของสายพานลําเลียงด้ านพากลับ โดยมากจะใช้ กบั สายพานเส้ นทีมีความยาว มากๆ เพือกดสายพานไม่ให้ เกิดการสันเพือช่วยลดอาการ Slide ของสายพาน จะติดตังห่ ; างกันช่วงละ tl-nll เมตร โดยมี Flat Return รองรับช่วงก่อน เข้ าและออกจาก Invert Idler Roller

Guide Roller มีหน้ าทีป้ องกันสายพาน Slide มาสีกบั โครงสร้ างของสายพาน Guide Roller จะถูกติดตังไว้ ; ตามจุด ต่างๆตามแนวของสายพานโดยเฉพาะด้ านหัวและท้ าย การเลือกใช้ งานลูกกลิ ;ง


19

AUTO TRACKING IDLER การเลือกใช้ งานลูกกลิ ;ง Classification

Former Series Roll Diameter Number (inches) B4 II 4 B5 II 5 C4 III 4 C5 III 5 C6 IV 6 D5 None 5 D6 None 6 E6 V 6 E7 VI 7 B สําหรับงานเบา C สําหรับงานหนักปานกลาง D สําหรับงานหนักปานกลาง E สําหรับงานหนัก

Belt Width (inches) 18 – 48 18 - 48 18 – 60 18 – 60 24 - 60 24 – 72 24 – 72 36 – 96 36 - 96

Description Light Duty

Medium Duty Medium Duty Heavy Duty

?.ล้ อขับ (Pulley) มีหน้ าทีในการเปลียนทิศทาง ( direction )และควบคุม(control) ความตึง(tension)หรือ ความหย่อน(slack)ของ สายพานในระบบลําเลียง( belt conveyor system )และบางครัง; ก็ทาํ หน้ าทีปรับสายพาน(train) เพือให้ สายพานเดินได้ แนว (alignment) ตลอดการเคลือนทีของสายพาน ล้ อขับทีนิยมใช้ กนั ทัวไปคือ พูลเลย์เหล็กเหนียวมาตรฐาน (Standard Pully) ส่วนพูลเลย์อีกประเภทหนึงก็คือพูลเลย์ ปี ก จะมีคุณสมบัติในการทําความสะอาดตัวเองได้ ส่วนใหญ่จะติดตังให้ ; เป็ นพูลเลย์ตัวตาม (Tail Pulley) เราสามารถเพิม คุณสมบัติให้ กบั พูลเลย์ได้ ดงั นี ; - เพิมแรงเสียดทานให้ กบั พูลเลย์โดยการหุ้มยาง (Rubber Lagging) จะเป็ นการเพิมแรงฉุดให้ กบั สายพาน


20 - เพิมความสามารถในการรีดนํ ;ากรณีทใช้ ี งานในพื ;นทีเปี ยกชืน; ทําร่องบนยางหุ้ม (Grooving of Lagging) ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางพูเล่ย์ - ขนาดพูเล่เหล็กมาตรฐาน 6,8,10,12,14,16,18,20,24,30,36,40,42,48,54,60 นิ ;ว - ขนาดพูเล่ปีก 8,10,12,14,16,18,20,24,30,36 นิ ;ว หมายเหตุ : ขนาดทีกําหนดมาไม่รวมการหุ้มยาง ขนาดความกว้ างของพูเล่ย์ อ้ างอิงตามมาตรฐาน ANSI - พูเล่เหล็กมาตรฐาน จะมีขนาด 20,22,26,32,38,44,51,57,63,66 นิ ;ว - พูเล่ปีกจะมีขนาด 40,54,60 นิ ;ว ตําแหน่ง (Location) ของ pulley

Head Pulley (ล้ อหัว) Head Pulley or Discharge Pulley เป็ น Pulley ตัวโปรยเถ้ าถ่านหินและยิปซัมซึงจะอยู่ทีหัวของสายพานและเป็ น จุดสิ ;นสุดของการลําเลียงเถ้ าถ่านหินของสายพานเส้ นนัน; โดยจะติดตังอยู ; ่ใน Head Chute และในบางครัง; ยังออกแบบให้ ทํา หน้ าทีเป็ น Drive Pulley ของสายพานอีกด้ วย ซึงขึ ;นกับการออกแบบให้ เหมาะกับการใช้ งานของสายพานเส้ นนันๆ ;

Moveable Head Pulley Moveable Head Pulley เป็ น Pulley ชุดทีสามารถเคลือนทีได้ ตามแนวสายพาน จะติดตัง; Motor เพือขับเคลือน เพือเลือน Head Pulley ให้ ไปจ่อยังตําแหน่งของ Chute หรื อ Hopper ต่างๆ ได้ ตามทีต้ องการ ซึง Pulley ชุดนี ;มักถูกเรี ยก รวมๆว่า ชุด Travelling Drive


21 Tail Pulley (ล้ อท้ าย) Tail Pulley เป็ นล้ อสายพานทีจะถูกติดตังอย่ ; างอิสระ อยู่ทางด้ านท้ ายของสายพานแต่ละเส้ น

Snub Pulley (ล้ อกด) Snub Pulley เป็ น Pulley ตัวทีอยู่ถดั จาก Drive Pulley ทําหน้ าทีกดสายพานเพือเพิมหน้ าสัมผัสระหว่างสายพานกับ Drive Pulley ทําให้ แรงดึงในการขับสายพานได้ ดีขึ ;น โดย Snub Pulley จะดันสายพานขึ ;นให้ เกิดมุมโอบรอบ Pulley ขับมาก ขึ ;น ( ปกติจะมีมมุ โอบ (Wrap Angle) อยู่ที 180° - 240° ขึ ;นอยู่กบั เงือนไขการใช้ งาน ) Bend Pulley (ล้ อดัด) Bend Pulley เป็ นล้ อสายพาน ทีทําหน้ าทีเปลียนระดับและทิศทางของสายพาน เช่น จากแนวนอนเป็ นแนวดิงหรื อ จากแนวดิงเป็ นแนวนอน

อุปกรณ์ ปรับความตึงสายพาน Screw Take – up (สกรูเกลียว ปรับความตึง) เป็ นเครืองมือปรับความตึงของสายพาน โดยใช้ การดึงของสกรู

Take-up Pulley (Gravity Take-Up) แบบปรับความตึงอัตโนมัติโดยจะมีต้ มุ ถ่วงแขวนอยู่ในแนวดิง นํ ;าหนักของตุ้มถ่วงจะทํา ให้ สายพานมีความตึงตลอดเวลา


22 ส่วนประกอบสําคัญของ pulley จะเห็นได้ จากรูปตัดข้ างล่าง

รูปตัด (Cross –section) แสดงให้ เห็นส่วนประกอบ (component) ภายในของมูเล (pulley)

รูปถ่ายแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของมู่เล ชิ ;นส่วนต่างๆ ทีประกอบกันเป็ นมูเล่ คิดว่ายังไม่มีใครบัญญัติศพั ท์ทีเป็ นภาษาไทยทีใช้ เป็ นมาตรฐานใช้ กนั ดังนันทาง ; convayor guide จึงใคร่ขออภัยถ้ าเราจะคิดศัพท์ขนมาเอง ึ; อาจจะถูกบ้ าง ผิดบ้ าง เอาเป็ นกันว่าให้ ทา่ นอ่านแล้ วเข้ าใจก็คดิ ว่า เพียงพอแล้ ว ลองทําความเข้ าใจกันเลยนะครับ Drum or Shell (ผิว หรือ แผ่นผนัง ของ pulley )

Diaphragm Plates หรือ end plate

ผิวหรือผนังคือส่วนทีสัมผัสกับสายพานโดยแผ่นผนังนี ;อาจ จะทํามาจากเหล็กม้ วน (rolled steel) หรือทํามาจากเหล็กท่อกลวง (hollow steel tube) ก็ได้ การเลือกความกว้ างและเส้ นผ่าศูนย์กลางของ pulley ขึ ;นอยู่กบั หน้ ากว้ างของสายพาน (belt width) และความแข็งแรงของชันผ้ ; าใบ (belt rating)ทีเสริมอยู่ในสายพาน เป็ นแผ่นเหล็กกลม ทีมีความหนาเพียงพอ ใช้ เชือมกับผนัง(shell) เพือเพิมความแข็งแรงให้ กบั pulley แผ่นเหล็กนี ;จะอยูใ่ นตําแหน่งปลายทังสองข้ ; างของลูก pulley ถ้ าหาก Pulley มีหน้ ากว้ างมาก ต้ องเสริม Diaphragm Plates ระหว่ าง End Plates ด้ วย


23 Shaft เพลา

• •

Locking Elements ตัวล๊อค Hubs

เพลา เป็ นแท่งเหล็กยาวทีใช้ สาํ หรับรับแรงกระทําทีเกิดจากสายพาน และ นํ ;าหนักวัสดุทีบรรทุก เพลาต้ องออกแบบมาให้ แข็งแรงโดยมีระยะแอ่น ตัวน้ อยทีสุดอยูใ่ นช่วงระยะทียอมรับได้ ( Allowable deflection) เพลาส่วนมากจะมีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางหลายขนาด(หลาย step)ในเพลาตัวเดียวกัน ทังนี ; ; ขึนอยู ; ่กบั ขนาดของbending moment ทีเกิดขึ ;น ณ ตําแหน่งนันๆของเพลา ; นอกจากนี ;ถ้ าสังเกตุดๆี จะพบว่า เส้ นผ่านศูนย์กลางเพลาที Bearing มีขนาดเล็กกว่าตําแหน่ง อืนๆ เนืองจากต้ องให้ พอดีกบั ขนาด Diameter ของ Bearing และทีสําคัญคือ เป็ นการประหยัด เงินทีใช้ Bearing ตัวเล็กด้ วย เป็ นอุปกรณ์ทีใช้ ยดึ เพลา (Shaft) ให้ แน่นอยูก่ บั Hub ซึงติดอยู่กบั end plate ได้ โดย Friction Grip เป็ นชิ ;นส่วนทีสร้ างขึ ;นมาพิเศษเพือเชือมกับ End Plate

ขนาดของ Hub จะขึ ;นอยู่กบั หลายปั จจัย เช่นขนาดของ Pulley ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางของเพลาและ ขนาดของตัวล๊ อค(locking element)ซึงความแข็งแรงจะขึนอยู ; ก่ บั ประเภทการใช้ งานว่า เป็ นงานเบา(Light Duty) หรืองานหนัก(Heavy Duty) Lagging (การหุ้ม pulley ด้ วยวัสดุอนื ๆ)

Bearing Assemblies

การหุ้มpulley (ปกติห้ มุ ด้ วยยางแต่สามารถใช้ วสั ดุอืนก็ได้ ) มีจดุ ประสงค์เพือเพิมแรงเสียดทาน ระหว่าง Pulley และสายพานเพือให้ การส่งผ่าน Torque จาก Drive Pulley มายังสายพานมี ประสิทภาพมากยิงขึน; นอกจากนี ;การหุ้ม pulley ยังช่วยให้ สายพานเดินตรงแนว(Train)ด้ วย Bearing เป็ นชิ ;นส่วนทีทําหน้ าทีเป็ นจุดรองรับเพลา(รับLoad มาจาก pulley และจากแรงดึงของ สายพาน) ซึงจะถ่ายลงโครงสร้ าง(structure) ของระบบสายพานต่อไป


24 C. ชุดขับ (Drive) เป็ นตัวส่งกําลังให้ กบั ล้อสายพานเพือขับสายพานและวัสดุขนถ่ายให้ เคลือนทีเป็ นชุดอุปกรณ์ซึงทําหน้ าทีขับสายพาน ให้ เคลือนทีประกอบด้ ว ยชุด ต้ นกํา ลัง, อุปกรณ์ ส่งต่อกํา ลังและล้ อขับสายพาน ซึงชุดต้ นกํ าลัง ได้ แก่ มอเตอร์ ไฟฟ้า หรื อ เครื องยนต์, อุปกรณ์ ส่งต่อกําลัง ได้ แก่อปุ กรณ์ทีทําหน้ าทีรับและส่งกําลังระหว่างชุดต้ นกํา ลังไปยังล้ อขับสายพาน เพือขับ สายพานในความเร็วทีต้ องการ ประกอบด้ วย 4.1.Motor Drive 4.2.Gear Box 4.3.Fluid Coupling 4.4Thruster Brake

4.1.Motor Drive เป็ นเครืองกลไฟฟ้ า (Electromechanical Energy) ทีทําหน้ าทีเปลียนพลังงานไฟฟ้ า (Electric Energy) ให้ เป็ นพลังงานกล (Mechanical Energy) ในรูปของการหมุน มีประโยชน์ในการนําไปใช้ งานได้ อย่างกว้ างขวาง ถูกนําไปร่วมใช้ งานกับอุปกรณ์ ไฟฟ้ า เครืองมือไฟฟ้ า Motor Drive มีหน้ าทีขับ ชุดขับ Fluid Coupling & Gear Box & Drive Pulley ทํางาน เพือดึงสายพาน ให้ ทาํ งาน ลักษณะมอเตอร์ ไฟฟ้ า (Electric Motor) แสดงดังรูป ส่วนประกอบของ Motor 1. โรเตอร์ m. ขดลวดสนามแม่เหล็ก •. ขัวต่ ; อสาย ‰. โครงมอเตอร์ j. ฝาครอบหัว Ž. ฝาครอบท้ าย


25 4.2. Gear Box เป็ นตัวทดรอบการหมุนของเพลาให้ ความเร็วและแรงบิดเหมาะสมเป็ นไปตามข้ อกําหนดของสายพานแต่ละ เส้ นซึง Gear Box จะเชือมต่ออยูร่ ะหว่าง Motor & Fluid Coupling

4.3.Fluid Coupling เป็ นอุปกรณ์ทําหน้ าทีส่งถ่ายกําลังจาก Motor Drive ไปยัง Gear Drive เพือขับ Drive Pulley โดยใช้ นํ ;ามัน Hydraulic เป็ นตัวกลางส่งถ่ายกําลังขับนอกจากนี ; Fluid Coupling ยังมีหน้ าทีป้องกัน Motor รับนํ ;าหนักเกิน กล่าวคือ เมือ สายพานรับนํ ;าหนักเกิน นํ ;ามัน Hydraulic ซึงอยู่ภายในจะเกิดความร้ อนขึนจนถึ ; งค่าทีตังไว้ ; Sensor ก็จะส่งสัญญาณ Trip สายพาน


26 4.4. Motor Brake (Thruster Brake) มีหน้ าทีหยุดสายพานลําเลียงเถ้ าถ่านหิน โดยในขณะทีหยุดเดินสายพานชุด Thruster Brake ก็จะจับติดอยูก่ บั Drum Brake เพือป้องกันการเคลือนทีของสายพาน และที ชุด Brake ของสายพานแต่ละเส้ นยังมี Limit Sw. Brake ติดตังอยู ; ่ด้วย เพือตรวจสอบการทํางานของ Brake เมือเริมเดินระบบสายพาน Motor Brake จะทํางานดัน นํ ;ามันทีอยู่ใน Motor Brake ให้ กระบอกสูบยกขึ ;นเพือดันให้ Thruster Brake ยกออกจาก Drum Brake ไปชนกับ Limit Sw. Brake ตามเวลาทีได้ กําหนดไว้ แต่ถ้ามีเหตุการณ์ผดิ ปกติ Thruster Brake ไม่ยกตามเวลาทีกําหนดไว้ Limit Sw. Brake จะไม่ ทํางานและสังสัญญาณ Alarm ให้ หยุดเดินทันทีเพือป้องกันความเสียหายทีจะเกิดขึนกั ; บระบบ

j.โครงสร้ าง (Structure) โครงสร้ าง (Structure) ของสายพานมีหน้ าที รองรับรักษาแนวของลูกกลิ ;ง เช่น Carry Idler , Return Idler , Pulley , Drive Unit และอุปกรณ์ตา่ งๆตลอดแนวของสายพานให้ อยูใ่ นรูปทรงทีได้ ออกแบบไว้ เพือความมันคงแข็งแรง โครงสร้ างของ สายพานยังแบ่งได้ เป็ น 2 แบบ 5.1. โครงสร้ างแบบทีไม่สามารถเคลือนย้ ายได้

5.2. โครงสร้ างแบบเคลือนย้ ายได้ ก็จะมีสายพาน Shift Conveyor , Tripper Car , Discharge Boom , Stacker


27 6.อุปกรณ์ ทาํ ความสะอาดสายพาน (Belt Cleaner) • Pre Cleaner เป็ น Cleaner ชุดแรก ติดตังที ; Head Pulley บริเวณ Transfer Point เพือทําความสะอาดขันต้ ; น ต่อ ด้ วย P-Type Cleaner ,R-Type Cleaner ตามลําดับ เพือให้ วสั ดุทีติดสายพานหลุดออกแล้วตกลงสู่ Line การขนส่ง ต่อไป • V-Belt Cleaner จะติดตังไว้ ; บนสายพานด้ านกลับ (Return) ทางด้านท้ ายของสายพานก่อนถึง Tail Pulley เพือป้องกัน สิงสกปรกหรือสิงแปลกปลอมหลุดเข้ าไปอัดกับ Tail Pulley ซึงอาจทําให้ สายพานเสียหายได้ หรือเป็ นสาเหตุให้ สายพาน Slide ได้

Pre Cleaner

V-Belt Cleaner 7.ระบบควบคุม และป้องกัน (Control & Protection) .1. Belt Alignment Sw. มีหน้ าทีป้องกันสายพาน Slide ก่อนทีจะทําให้ เกิดความเสียหายต่อสายพานและโครงสร้ าง หลักการทํางาน เมือสายพาน Slide มาแตะขา Limit ของ Belt Alignment ค้ างเป็ นเวลา 6 sec ก็จะมีสญ ั ญาณสังให้ สายพาน Trip ด้ วย Belt Alignment Limit Sw. ของ Belt Alignment จะติดตังไว้ ; ทงั ; 2 ข้ างของสายพาน ทังด้ ; าน Drive และ Tail Belt Alignment Sw.จะทํางาน ในกรณีเดินระบบสายพานแบบ Automatic เท่านัน;

7.2. Trip Wire Switch หน้ าทีของ Trip Wire Switch เป็ นอุปกรณ์ทีมีไว้ สาํ หรับหยุดอุปกรณ์ในกรณีฉกุ เฉินหรือมีไว้ สาํ หรับหยุด ระบบสายพานเพือซ่อมบํารุงรักษาอุปกรณ์ Trip Wire Switch จะถูกติดตังไว้ ; ตลอดแนวสายพา ในขณะทีกําลังเดินระบบ สายพาน เมือดึงสาย Trip Wire Switch ระบบสายพานจะหยุดทํางานทันทีพร้ อมกับจะ มีไฟสีแดง Show เพือแสดงให้ พนัง งานได้ ทราบถึงตําแหน่งทีดึง Trip Wire Switch ไว้


28

7.3 Emergency Stop จะถูกติดตังไว้ ; ทด้ี านหน้ า ตู้ Local Box ของสายพานแต่ละเส้ น ใช้ เมือต้ องการหยุดสายพานไม่ว่ากรณี ใดๆ เหตุฉกุ เฉิน หรือ ต้ องการหยุดสายพาน หากมีการหยุดสายพานเพือทําการซ่อมอุปกรณ์ หรือมีการทํางานบนสายพาน จะต้ องกดปุ่ ม Emergency ไว้ เพือความปลอดภัยในการทํางาน และปุ่ ม Emergency Stop นี ;จะมีอยู่อกี จุดหนึง โดยติดตังไว้ ; ทีหน้ าโต๊ ะ Control Desk ทีประจําจุด Board ระบบลําเลียงเถ้ าถ่านหินและยิปซัม เพือสําหรับหยุดสายพานทังระบบ ; เมือ ต้ องการจะหยุดด้ วยเหตุฉกุ เฉิน หรือ เหตุใด ๆ ก็ตาม

7.4 Belt Damage Sw. เป็ นการป้องกัน ( Protection ) สายพานขาดขอบ หรือสลิง ทีเกิดการขาดออกมานอกสายพาน เป็ นการ ป้องกันทีจะไม่ทําให้ สายพานขาดขอบ หรือ สลิงขาดไปมากกว่านัน; หลักการทํางาน เมือมีการขาดของสายพานในลักษณะ เป็ นเส้ น ฉีก แผลเปิ ด หรือสลิงขาดเป็ นเส้ น ออกมาและสายพานยังเดินอยู่ เมือตําแหน่งทีขาดมาถึงจุดทีติดตัง; Belt Damage Sw.ก็จะสะบัดโดนสายของ Belt Damage Sw. ทําให้ สายพาน Trip ลักษณะของ Belt Damage จะใช้ Box ของ Pull Rope Sw. มาดัดแปลง มีสายผูกพาดขวางแนวสายพาน ติดตังกั ; บโครงสร้ างใกล้ กบั Pulley (ดังรูป)

7.5 Chute Level Sw. ซึงจะติดตังอยู ; ต่ าม Chute หรือ Discharge Chute ต่างๆ ตามอาคาร Transfer Station โดยจะมี Chute Level Sw.ลักษณะเป็ นแท่งทรงกระบอก ทําหน้ าทีป้ องกันการล้ นของเถ้ าถ่านหินและยิปซัมบริเวณ Chute ในกรณีทเถ้ ี า ถ่านหินและยิปซัม Flow มากหรือในกรณีทมี​ี วัสดุมาขวางการไหลของเถ้ าถ่านหินจากสายพานหนึงไปอีกสายพานหนึง เมือมี เถ้ าถ่านหินมาแตะทําให้ Chute Level Sw.เอียงนานตามเวลาทีได้ Set ไว้ จะสังให้ สายพานเส้ นนัน; Trip ทันที


29

7.6 Speed Switch คือ อุปกรณ์ป้องกันการเกิดสายพาน Slip โดยจะติดตังอยู ; ่ Bend Pulley มีหน้ าทีคอยส่งสัญญาณการหมุน ของ Bend Pulley หรือ ใบปั ด Speed ไปทีตัว Proximity จากนันจะส่ ; งไปยังอุปกรณ์เพืออ่านค่าความเร็วของสายพานในขณะที สายพานเดินปกติถ้าความเร็ วของสายพานตํากว่าความเร็วทีกําหนดในระยะเวลา 10 วินาทีระบบก็จะสังให้ สายพานหยุดเดิน

7.7 Limit Sw. Brake มีหน้ าทีตรวจสอบการทํางานของ Motor Brake ตังแต่ ; เริมทําการ Start ระบบ Limit Switch Brake จะ ตรวจสอบ ว่า Brake ยกหรือไม่ภายในเวลา 2 วินาที ถ้ า Brake ไม่ยก ระบบก็จะไม่สง่ สัญญาณให้ สงั Motor ทําการ Start และขณะสายพาน อยู่ Brake จะจับไว้ ไม่ให้ สายพานเคลือนที และกรณีทีเริมหยุดสายพาน Brake จะช่วยให้ สายพานหยุดได้ เร็วขึ ;นเพือป้องกันความเสียหายแก่อปุ กรณ์ หรือขณะทีสายพานเดินใช้ งานอยู่ ถ้ าสัญญาณของ Brake หายไป ระบบก็จะสัง Trip ทันที

7.8 Sensor Oil Coupling Temp High เป็ นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิค มีหน้ าทีตรวจจับการทํางานของ Fluid Coupling ซึงจะ ตรวจจับค่าระดับความร้ อนของ Fluid Coupling เมือนํ ;ามันใน Fluid Coupling มีปริมาณมากหรื อน้ อยกว่าค่าทีกําหนด ขณะ เดินใช้ งานหรือขณะ Start จะมีผลให้ นํ ;ามันทีอยู่ภายใน Fluid Coupling เกิดความร้ อนเพิมขึ ;นและเมืออุณหภูมิสงู กว่าค่าที กําหนด Sensor ก็จะสังให้ ระบบหยุดเดิน


30

8.อุปกรณ์ทีช่วยลดการกระแทก อุปกรณ์ทีช่วยลดการกระแทกใน Head Chute และ Hopper Chute และ อุปกรณ์ป้องกันการตกหล่นของวัสดุจาก ระหว่างช่วงต่อลง Chute ของสายพานแต่ละเส้น มีดงั นี ; - Buffer Plate - Liner - Martin Skirt - Rubber Skirt - Back Skirt 8.1. Buffer Plate มี 2 แบบ ลักษณะเป็ นแผ่นเหล็กสีเหลียมผืนผ้ าแขวนด้ วยโซ่หรือแผ่นเหล็กด้ านหนึงจะบุด้วยแผ่นยางหนาทํา เป็ นขันบั ; นได เพือช่วยลดการกระแทกของวัสดุ และอีกแบบหนึง ทีเป็ นแผ่นยางหนาใช้ โซ่แขวนอยูร่ ะหว่างผนังด้ านใน Head Chute ด้ านหน้ า Head Pulley เพือป้องกันวัสดุทจะพุ ี ง่ ไปโดนผนังของ Head Chute โดยตรง (จะทําให้ ผนัง Chute ทะลุ) และ อีกหน้ าทีหนึง คือ เป็ นตัวสําหรับช่วยปรับให้ วสั ดุตกลงตรงกลางสายพานเพือช่วยลดการ Slide ของสายพาน


31 8.2. Liner ลักษณะเป็ นแผ่นยางหนา ซึงจะถูกติดตังไว้ ; ด้านข้ างผนังทังใน ; Head Chute และ Hopper Chute มีหน้ าทีช่วยให้ วัสดุไม่ไปกระทบกับผนัง Chute โดยตรง เพือป้องกันผนัง Chute เกิดการทะลุ

8.3. Martin Skirt ลักษณะเป็ นแผ่นยางสีเหลียมผืนผ้ ามีด้านหนึงเป็ นร่องไว้ สาํ หรับประกบเข้ ากับร่องของ Z – Flame ทียึดติดเข้ ากับด้ านล่างสุดของ Hopper Chute มีหน้ าทีช่วยไม่ให้ วสั ดุตกหล่นออกทาง ด้ านข้ างระหว่าง Hopper Chute และสายพาน

8.4. Rubber Skirt ลักษณะเป็ นแผ่นยางกว้ างประมาณ 40 เซนติเมตร และ ยาวตามความยาวของ Hopper Chute โดยมี Wear Plate และเหล็กประกับแผ่นยาวเจาะรู ใช้ Bolt ยึด มีหน้ าที ป้องกันไม่ให้ วสั ดุทีตกกระแทกบริเวณ Chute ตกหล่นออก ทางด้านข้ างของสายพาน


32 8.5. Back Skirt มีลกั ษณะสีเหลียมคางหมูตามลักษณะการโค้ งของรูปสายพาน และ จะติดตังปิ ; ดช่องด้ านล่างสุดทางด้ าน ท้ ายของ Hopper Chute โดยทําหน้ าทีปิ ดด้ านท้ ายของ Chute ป้องกันไม่ให้ วสั ดุตกกระเด็นออกทางด้ านท้ ายของ Chute และ อีกหน้ าที คือ เปิ ดออกใช้ เป็ นช่องทางในการ Clear วัสดุออกตอนที Block อยู่ใน Chute

8.6 Iron Detector มีหน้ าทีตรวจจับโลหะทีปนมากับถ่านเมือIron Detector จับโลหะได้ ก็จะส่งสัญญาณให้ Magnetic Drum ทํางานดูดโลหะทิ ;ง

8.7 Metal Detector ตรวจจับโลหะทุกชนิดทีเหนียวนําแม่เหล็ก ซึง Magnetic Pulley ไม่สามารถจับได้ เมือมีโลหะผ่านมาก็จะ ส่งสัญญาณสังหยุดสายพาน เพือให้ Operator ค้ นหาโลหะและนําออกจากสายพานโดยมีถงุ ทราย บอกตําแหน่ง


33 8.7 Overload Relay หรือ Protective Motor Relay เป็ นอุปกรณ์ทีทําหน้ าทีป้องกันมอเตอร์ ทีเรียกว่า Running Protection ออกแบบใช้ สาํ หรับตัดวงจรมอเตอร์ เมือมีกระแสไฟฟ้ าไหลเกินกว่าพิกดั กระแสของมอเตอร์ ซึงจะทําให้ ขดลวดของมอเตอร์ ร้อน ขึ ;นเรือยๆและไหม้ ในทีสุด แต่ถ้าหากในวงจรนันมี ; Overload relay อยู่ด้วยและตังให้ ; กระแสไฟฟ้ าถูกต้ องวงจรควบคุมก็จะตัด วงจรจ่ายไฟกับมอเตอร์ ออกไปก่อนทีขดลวดมอเตอร์จะไหม้

นอกจากส่วนประกอบหลักๆ ของระบบสายพานลําเลียงดังกล่าวข้ างต้ นแล้ ว ยังต้ องมีอปุ กรณ์ช่วยอีก ได้ แก่ - Discharge Chute (รางจ่า ยวัสดุ) เป็ นอุปกรณ์ ทีออกแบบเพือบังคับทิศทางไม่ให้ วัสดุก ระเด็นกระจายออกจาก ตําแหน่งจุดปล่อยวัสดุ และ ป้องกันอันตรายอันจะเกิดจากการหมุนของล้ อ สายพาน และ สายพาน - Hood (ฝาครอบ) เป็ นอุปกรณ์ทีใช้ สาํ หรับยึดกับโครงสายพาน ครอบเหนือสายพาน เพือป้องกัน แสงแดด ฝน ลม และ การฟุ้งกระจายของวัสดุทีขนถ่าย รูปแบบของฝาครอบนิยมสร้ างเป็ นลอน (Corrugated) เพือเพิมความแข็งแรงของตัว โครง - Frame (โครง สร้ าง สายพาน) เป็ นโครงสร้ างทีทําด้ วยเหล็ก เพือรองรับนํ ;าหนักและเป็ นทียึดติดอุปกรณ์ทงหมดของ ั; ระบบ สายพาน นันๆ ; อาจเป็ น โครงเหล็กถัก (Truss) โครงเหล็กพับหรือโครงเหล็กรูปพรรณ


34

COAL CONVEYOR SYSTEM


35 ระบบสายพานลําเลียงถ่านลิกไนต์เหมืองแม่เมาะ จากหน้ างานถ่านหินในบ่อเหมืองแม่เมาะ ถ่านหินจะถูกขุดรถขุดไฟฟ้ าลําเลียงโดยรถบรรทุกเทท้ าย มายังเครื องโม่ ถ่านทีอยู่ในบริเวณหน้ างาน เพือทําการโม่ถ่านให้ มขี นาดเล็กลง และส่งต่อโดยสายพานลําเลียงไปยังเครืองโปรยถ่าน เพือทํา การโปรยถ่านลงลานกองถ่าน ก่อนทีจะให้ เครืองตักถ่าน ทําการตักถ่านทีมีอยูส่ ง่ ให้ กบั โรงไฟฟ้ าแม่เมาะ


36

เครืองจักรในระบบสายพาน


37 ลานกองถ่านหิน Stockpile STOCK PILE C:\Inetp ub\wwwroot \images\r ec_run .gif

F1 F2 F3 F4 F5

R5

BAY 6/1-3 CAPACITY 40,000 TONS

BAY 6/1-3 CAPACITY24,000 TONS C:\Inetpub\www root\images\st_run.gif

S4

C:\Inetp ub\wwwroot \images\r ec_run .gif

R4

BAY 5/1-3 CAPACITY 38,000 TONS

BAY 5/4-6 CAPACITY 27,000 TONS C:\Inetpub\ wwwroot\images\st_run.gif

S3 BAY 4/4-6 CAPACITY32,000 TONS

BAY 4/1-3 CAPACITY38,000 TONS C:\Inetp ub\wwwroot \images\r ec_run .gif

C:\Inetpub\ wwwroot\images\st_run.gif

R3 S2 BAY 3/4-6 CAPACITY 18,500 TONS

BAY 3/1-3 CAPACITY 19,500 TONS C:\Inetp ub\wwwroot \images\r ec_run .gif

R1 BAY 2/4-6 CAPACITY15,500 TONS

BAY 2/1-3 CAPACITY 19,500 TONS C:\Inetpub\ wwwroot\images\st_run.gif

INPUT 54,000 TONS

S1 BAY 1/4-6 CAPACITY 18,500 TONS

BAY 1/1-3 CAPACITY 19,500 TONS C:\Inetp ub\wwwroot \images\r ec_run .gif

F1 F2 F3 F4 F5

R2

ส่ งตรงผ่ าน STACKER ST1 ST3 ST4

F1 - F2 F1 - F5 F1 - F5

การส่ งถ่ านจากSTOCK PILE ใช้ สายพาน R1 F1 - F5 ใช้ สายพาน R2 F1 - F3 ใช้ สายพาน R3 F1 - F5 ใช้ สายพาน R4 F1 - F5 ใช้ สายพาน R5 F1 - F5

TO DB.12 TO DB.3 TO DB.12 TO DB.4-5 TO DB.4-5

TOTAL 305,000 TONS การส่ งถ่ านจากMOBILE CRUSHER ส่ งตรงผ่ านสายพาน ใช้ สายพาน R2 F1 - F3 ใช้ สายพาน S1 ใช้ สายพาน R5 F1 - F5 ใช้ สายพาน S3 ใช้ สายพาน S4

OUTPUT 45,000 TONS

DRAW BY MONGKOL CHAITA

ระบบลําเลียงถ่านหินของโรงไฟฟ้า ถ่านหินลิกไนต์ Lignite ทีขุดได้ จากเหมืองแม่เมาะ จะถูกบดด้ วย Crusher ของกระบวนการผลิตเหมืองแม่เมาะให้ มี ขนาด 0-300 ม.ม.แล้ วถูกส่งมากองไว้ ทีลานกองถ่านหินลิกไนต์ ( Stock Pile ) ซึงอยู่ทางทิศเหนือของโรงไฟฟ้า จากลานกอง ถ่านหิน หรือ Stock Pile ถ่านหินจะถูกส่งลําเลียงโดยสายพานของเหมือง ส่งมายัง Distribution Bunker(ยุ้งถ่าน) ของโรงไฟฟ้ า


38

CROSS CONV. 00ZS4

CRUSHER HOUSE ZS3 EXTENSION ZS3

32PC51D001

002C41D001

21PC41D001

00PC31D002

00PC31D001

21ZS4 45ZS4

67ZS4

89ZS4

00PC21D004

00PC11D001

00PC11D004

00PC21D005 8-9 MAIN CONV. EXTENSION

TRANSFER STATION UNIT 4-5

TRANSFER STATION UNIT 6-7

21PC31D001 10-11 MAIN CONV. EXTENSION

TRANSFER STATION UNIT 12-13 TRANSFER STATION UNIT 10-11

TRANSFER STATION UNIT 8-9

IRON SEPARATOR BUILDING

ZS2

IRON SEPARATOR

IRON SEPARATOR

IRON SEPARATOR

IRON SEPARATOR

32PC11D001 BRANCH CONVEYOR 1

32PC21D001 BRANCH CONVEYOR 2

21PC21D01 BRANCH CONVEYOR 2

89PC11D001 BRANCH CONVEYOR 1

89PC21D001 BRANCH CONVEYOR 2

67PC11D001 BRANCH CONVEYOR 1

67PC21D001 BRANCH CONVEYOR 2

SANDBAG

45PC11D001 BRANCH CONVEYOR 1

EMERGENCY CHUTE

DB45

IRON SEPARATOR

00PB11D003

00PB21D003

IRON SEPARATOR 00PB31D003

DISTRIBUTION BUNKER UNIT 10-13

00PC21D001

32PC41D001 12/13 MAIN CONV. EXTENSION

SAMPLING 00PB11D008 CRUSHER CONVEYOR13

00PB21D008 CRUSHER CONVEYOR 2

00PB31D008 CRUSHER CONVEYOR 3

21PB41D008 CRUSHER CONVEYOR 4

1-2

WEIGHER

F5 F4

32ZS4

MAIN CONVEYOR

4

3 32PB51D008 CRUSHER CONVEYOR 5

00PC51D002

21PC11D001 BANCH CONVEYOR 1

5

LIGNITE FLOW DIAGRAM UNIT 4-13

45PC21D001 BRANCH CONVEYOR 2

SAMPLING

00PC61D002

ระบบสายพานลําเลียงถ่าน โรงไฟฟ้าแม่เมาะ Unit 4-13 มีทงหมด ั; j Line ความสามารถในการส่งถ่านหินสูงสุด เส้ น ๆละn,mll ตัน: ชัวโมง ปั จจุบนั สามารถส่งถ่านหินได้ ประมาณ nlll ตัน: ชัวโมง

CONVEYOR BELOW DISTRIBUTION WEIGHER

F3 F2

45PC11D004 45PC21D004 BOILER BUNKER CONVEYOR UNIT 4-5 (45ZS5)

67PC11D004 67PC21D004 BOILER BUNKER CONVEYOR UNIT 6-7 (67ZS5)

89PC31D015

21PC11D003

21PC21D003 89PC21D015 BOILER BUNKER TRIPPER CONVEYOR CONVEYOR UNIT 10-11 CONVEYOR UNIT 8-9 (10/11ZS5) (89ZS5)

32PC11D003 32PC21D003 TRIPPER CONVEYOR UNIT 12-13 (12/13ZS5)

DB12 DB3

F1

DISTRIBUTION BUNKER (ZS1)

RS4-5 : RE4-5

DRAW BY MONGKOL CHAITA


39

อุปกรณ์ของสายพานลําเลียงถ่านประกอบด้ วย n.Distribution Bunker คือ สถานที เก็บสํารองถ่านหิน Lignite ขนาดประมาณ l-•ll มม. ทีเหมืองส่งมาให้ โรงไฟฟ้า ซึง Distribution Bunker (D.B.) ของโรงไฟฟ้ านี ;จะมีทงหมด ั; j Bunker คือ D.B.n,m ,D.B.• และ D.B.‰,j สําหรับ D.B.n,m เป็ น D.B. ร่วมทะลุถึงกันได้ D.B.• จะแยกเฉพาะ Line • เท่านัน; และ D.B.‰,j เป็ น D.B. ร่วมทะลุถึงกันได้ ติดตังอยู ; ่ทีอาคาร ZS-n Distribution Bunker นี ; จะรับถ่านทีส่งโดยสายพาน F ของเหมือง เข้ ามาใน Distribution Bunker ของแต่ละ Line D.B.n,m สามารถรับถ่านหินได้ ~ oll Tons.ทีระดับ Max Max D.B.• สามารถรับถ่านหินได้ ~ Žll Tons.ทีระดับ Max Max และD.B.‰,j สามารถรับถ่านหินได้ ~ nmll Tons.ทีระดับ Max Max


40 2.Needle Screen ทําหน้ าทีเพือใช้ ในการปิ ดกัน; ถ่าน (Block) ไม่ให้ ไหลลงสู่ Vibration กรณีมีงานซ่อมVibration Feeder หรือ กรณีS/D Overhaul DISTRIBUTION BUNKER

NEEDLE SCREEN VIBRATION FEEDER

VIBRATION FEEDER

NEEDLE SCREEN

3.Vibration Feeder เป็ นอุปกรณ์ทีอยู่ใต้ Distribution Bunker มีไว้ สาํ หรับป้อนถ่านหินให้ กบั สายพานลําเลียงถ่าน ใน แต่ละ Line จะใช้ Vibration Feeder m ตัว (llPB X X Dlln ; Dllm) ป้อนถ่านหิน ซึง Feeder แต่ละตัวจะสามารถป้อน ถ่านหินที Flow Rate ~ Žll T/H. โดยปกติจะใช้ Feeder m ตัว ทํางานร่ วมกันเพือป้อนถ่านหินให้ กบั สายพานลําเลียงถ่าน ได้ ~nmll T/H. ของแต่ละ Line Vibration Feeder line 1,2 มี Motor m ตัว เป็ นตัวเขย่า ซึง Motor Feeder เป็ นแบบ Two Unbalance Motor ส่วน Vibration Feeder line 3,4,5 ประกอบด้ วยชุด Magnetic Coil Line ละจํานวน m ชุด ข้ างละ n ชุด ส่วนประกอบสําคัญของ Vibration Feeder มีดงั นี ; 1. Vibration Feeder n,m ประกอบด้ วย Unbalanced Motorจํานวน ‰ ตัว ข้ างละm ตัว

2. Vibration Feeder •,4,j ประกอบด้ วยชุด Magnetic Coil Line ละจํานวน m ชุด ข้ างละ n ชุด


41 4. Conveyor Below Distribution Bunker เป็ นอุปกรณ์สายพานทีอยูใ่ ต้ Distribution Bunker โดยรับถ่านหินจาก Vibration Feeder Line n,m และ Line • สายพาน Conveyor Below Distribution Bunker จะมีอยู่ • Line คือ Line n , m และ Line • เท่านัน;

ทีสายพาน Conveyor Below Distribution Bunker จะมีตวั จับเหล็กทีเรียกว่า Magnetic Pulley ติดตังอยู ; โ่ ดยจะ จับเหล็กทีติดมากับถ่านหินทิ ;งโดยอัตโนมัติ Iron Detector & Magnetic Drum

Iron Detector Iron Detector มีหน้ าทีตรวจจับโลหะทีปนมากับถ่านเมือIron Detector จับโลหะได้ ก็จะส่งสัญญาณให้ Magnetic Drum ทํางานดูดโลหะทิ ;ง และมีอปุ กรณ์ชงนํ ั ;าหนักถ่านหิน (Conveyor Type Weigher หรือ Belt Weigher) ซึงถูกติดตังอยู ; ่บริเวณกลางสายพาน เพือทีจะให้ ทราบว่าได้ ทาํ การ ส่งถ่านให้ กบั โรงไฟฟ้าว่ามีปริมาณจํานวนเท่าไร (Tons.) Flow Rate เท่าไร ( Tons/Hour ) เครืองมือนี ;ถูกติดตังอยู ; ่ที Conveyor Below Distribution Bunker Line 1,2,3 และ Crusher Conveyor Line 4,5


42 5.Crusher Conveyor เป็ นอุปกรณ์สายพานที รับถ่านมาจาก Conveyor Below Distribution Bunker Line 1 , 2 , 3 และLine ‰ , j รับถ่านมา จาก Vibration Feeder ‰ , j ซึงสายพาน Crusher Conveyor นี ;มีโครงสร้ างภายในสายพานเป็ นผ้ าใบ เหมือนเช่นเดียวกับ สายพาน Conveyor Below Distribution Bunker ทีเป็ นเช่นนี ;เนืองจากสายพานได้ ติดตังอุ ; ปกรณ์ตรวจจับเหล็ก และ โลหะ Crusher Conveyor จะทําหน้ าทีลําเลียงถ่านหิน เพือป้อนถ่านหินให้ กบั อุปกรณ์คดั แยกขนาดของถ่านหิน (Roller Screen Before Crusher)

บนสายพาน Crusher Conveyor ได้ ติดตังอุ ; ปกรณ์ตรวจจับโลหะมีหน้ าทีตรวจจับโลหะทุกชนิดทีเหนียวนําแม่เหล็ก ซึง Magnetic Pulley ไม่สามารถจับได้ เมือมีโลหะผ่านมาก็จะส่งสัญญาณสังหยุดสายพาน Crusher Conveyor เพือให้ Operator ค้ นหาโลหะเอาออกจากสายพานโดยมีถงุ ทราย บอกตําแหน่ง


43 6. Roller Screen Before Roller Screen Before Crusher จะมีหน้ าทีเป็ นตัวแยกขนาดของถ่านทีส่งมาจาก Crusher Conveyor มีขนาดตํากว่า ‰l mm. ให้ ออก Bypass Chute ไปสู่ Impact Drum ส่วนถ่านทีมีขนาดใหญ่กว่า ‰l mm. ก็จะลง ไปที Crusher เพือทําการตีให้ ได้ ขนาดต่อไป


44 7.Impact drum จะเป็ นตัวป้องกันการชํารุดเสียหายของสายพาน Distribution Conveyor ทีเกิดจากการตกกระแทกของถ่าน ขนาดน้ อยกว่า ‰l มิลลิเมตร ทีตกลงมาจาก Roller Screen Before Crusher และรองรับฝุ่ นถ่านทีมาจาก Bypass Chute ของ Crusher Conveyor Impact drum จะประกอบด้ วยชิ ;นส่วนต่างๆ ดังนี ;

8. Crusher ทําหน้ าทีบดถ่านทีมีขนาดใหญ่กว่า ‰l-•ll mm ทีไม่สามารถผ่านช่องของ Roller Screen Before Crusher ก็ จะลงมาทาง Chute เหนือ Crusher ก็จะทําการบดถ่านให้ มีขนาดขนาดไม่เกิน ‰l mm ลงไปสู่ Roller Screen After ต่อไป


45 Rotor


46 9.Roller Screen After Crusher ถ่านทีผ่านจากการตีของ Crusher จะตกลงมาสู่ Roller Screen After จะมีหน้ าทีเป็ นตัว แยกขนาดของถ่าน ทีมีขนาดตํากว่า ‰l mm. จะลงมาสูส่ ายพาน Distribution Conveyor ส่วนถ่านทีมีขนาดใหญ่กว่า ‰l mm. ก็จะถูกนําไปทิ ;งโดยผ่าน สายพาน Waste Collecting และ Waste Loading ลงสู่ รถ Dump Truck นําไปทิ ;งต่อไป (เป็ น ถ่านทีเกินขนาด หรือถ่าน , หิน ทีบดไม่แตกแล้ว นําไปทิ ;งที บ่อทิ ;งขี ;เถ้ า) ลักษณะเช่นเดียวกับ 10.Waste Collecting Conveyor 1 และ 2 เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่าน Reject มาจาก Roller Screen After Crusher (ถ่านทีเกินขนาด> 40 mm. ) หรือ ถ่านหิน , หิน ที Crusher ไม่สามารถบดได้ หรือ บดไม่แตก ไม่สามารถทีจะส่งให้ กบั โรงไฟฟ้าได้ แล้ วจะลําเลียงเพือส่งต่อไปยังสายพาน Waste Loading Conveyor 1 หรือ 2

11.Waste Loading Conveyor 1 หรือ 2 เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่าน Reject จาก สายพาน Waste Collecting Conveyor 1 , 2 เพือลําเลียงมาลงทีรถรองรับถ่าน Reject เพือนําไปทิ ;งทีบ่อทิ ;งขี ;เถ้ า


47 12.Distribution Conveyor Line 1 - 5 เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินมาจาก Impact Drum และ Roller Screen After Crusher สายพาน Distribution Conveyor ถูกติดตังอยู ; ่บนราง(เหมือนกับรางรถไฟ) และมีชดุ ขับติดตังเพิ ; มอีก 1 ชุด เพือทํา หน้ าทีเลือนสายพาน Distribution Conveyor หรือเรียกว่า Distribution Conveyor Traveling Drive โดยสามารถทีจะเลือน มายัง Hopper เพือ ทีจะส่งถ่านหินให้ ลง สายพาน Main Conveyor Line 1 , 2 หรือ Incline Conveyor 3 , 4 , 5 สายพาน Distribution Conveyor Line 1 , 2 , 3 สามารถเลือนมาที Hopper 1 , 2 , 3 เพือส่งถ่านหินต่อไปยังสายพาน Main Conveyor 1 , 2 และ Incline Conveyor 3 ส่วน Distribution Conveyor Line 4 , 5 เลือนมาลงที Hopper 4 , 5 เพือส่ง ถ่านหินต่อไปที สายพาน Incline Conveyor 4 , 5 เท่านัน; การทํางานของ Distribution Conveyor ลง Main Conveyor

Dist #3 ลง Main Conv #1

MC #1

MC #2

MC #3

สายพาน Distribution Conveyor 1 , 2 ด้ าน Head Pulley จะมี อุปกรณ์เก็บตัวอย่างถ่านหิน Sampling Station" ติดตังอยู ; ่ ส่วนทีสายพาน Distribution Conveyor Line3,4 และ 5 มีอปุ กรณ์เก็บตัวอย่างถ่านหิน ติดตังกลางสายพาน ; 13.Main Conveyor Line 1,2 เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินมาจาก สายพาน Distribution Conveyor 1,2 เพือทีจะ ลําเลียงถ่านส่งต่อไปยัง Transfer Station (4-7ZS-4) โดยผ่าน Swivel Chute ซึงเป็ นอุปกรณ์เปลียนทิศทางการไหลของถ่าน ไปยัง 45 Branch Conveyor 1 , 2 หรือ 67 Main Conveyor 1, 2 14.Main Conveyor Line 3,4,5 เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินมาจาก Incline Conveyor 3,4,5 หรือ Cross Conveyor ถ่านหินจะถูกลําเลียงส่งต่อไปยัง Branch Conveyor หรือ Main Conveyor Extension โดยมี Swivel Chute เป็ น ตัวกําหนดทิศทาง 15.Incline Conveyor Line 3 , 4 , 5 เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินจาก สายพาน Distribution Conveyor สําหรับ Incline Conveyor Line 3 สามารถรับถ่านหินจากสายพาน Distribution Conveyor Line 1 , 2 หรือ Line 3 ส่วน Incline Conveyor Line 4 , 5 สามารถรับถ่านหินจากสายพาน Distribution Conveyor Line 4 , 5 เพือทีจะลําเลียงถ่านหินไปยัง สายพาน Main Conveyor Line 3 , 4 หรือ Line 5 หรือ สายพาน Cross Conveyor โดยผ่าน Swivel Chute 3 , 4 , 5 เป็ นอุปกรณ์ทีอยู่ใต้ สายพาน Incline Conveyor Line 3 , 4 , 5


48 6.Cross Conveyor เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินจาก สายพาน Incline Conveyor 3 , 4 หรือ 5 เพียง Line เดียว โดย ผ่าน Swivel Chute มาลงที Cross Conveyor เพือทีจะส่งถ่านหินต่อไปยังสายพาน Main Conveyor 1 - 5 ซึง สายพาน Cross Conveyor สามารถทีจะเลือกมาลงที Hopper 1 - 5 และEmergency Chute ของ Main Conveyor 1 - 5 Line ใด Line หนึง เท่านัน; ลักษณะการทํางานของ Incline & Main Conveyor

การทํางานของ Incline & Cross & Main Conveyor Incline #4 ลง Main Conv #5

Incline Conveyor

Incline #3

Incline #4

Incline #5

MC #4

MC #5

Flow Guide

Cross Conveyor

Main Conveyor

MC #1

MC #2

MC #3

17.สายพาน Branch Conveyor เป็ นอุปกรณ์ทีรับถ่านหินมาจาก สายพาน Main Conveyor เพือทีจะส่งถ่านหินต่อไปยัง สายพาน Boiler Bunker Conveyor Line 1 หรือ Line 2 โดยผ่าน Flow Guide ; Flow Guide นี ;เป็ นอุปกรณ์เปลียนทิศ ทางการไหล ของถ่านหินเพือทีจะให้ ถ่านหินทีถูกส่งมาให้ ไปลง สายพาน Boiler Bunker Conveyor Line 1 หรือ Line 2 และที สายพาน Branch สายพาน Boiler Bunker Conveyor 18.สายพาน Boiler Bunker Conveyor นี ;เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินมาจาก สายพาน Branch Conveyor โดยผ่าน Flow Guide เป็ นอุปกรณ์เปลียนทิศทางการไหลของถ่านหิน ซึงจะให้ ถ่านหินไปลงสายพาน Boiler Bunker Conveyor Line 1 หรือLine 2 โดยการสลับกันเติมถ่านให้ กบั Bunker ของโรงไฟฟ้ า สายพาน Boiler Bunker Conveyor นี ; สามารถทีจะ Run ได้ 2 ทิศทางคือ แบบ Forward และ แบบ Reverse ได้ ; สายพาน Boiler Bunker Conveyor จะมี Traveling ติดตัง; อยู่บนราง สามารถทีจะเลือนไปมาได้


49 19.สายพาน Tripper Conveyor นี ;เป็ นอุปกรณ์สายพานทีรับถ่านหินมาจาก สายพาน Branch Conveyor โดยผ่าน Flow Guide หรือ Tilting Gate เป็ นอุปกรณ์เปลียนทิศทางการไหลของถ่านหิน ซึงจะให้ ถ่านหินไปลงสายพาน Tipper Conveyor Line 1 หรือLine 2 โดยการสลับกันเติมถ่านให้ กบั Bunker ของโรงไฟฟ้ า สายพาน Tipper Conveyor สามารถทีจะ Run ได้ ทิศทางเดียวแบบ Forward จะมี Traveling ติดตังอยู ; ่บนราง สามารถจะเลือนไปมาได้ เรียกว่า " Tripper Car " เพือเติมถ่าน หินลง Bunker ของโรงไฟฟ้ า ใช้ งานอยู่ที 89ZS-5 และ 12/13ZS-5

20.Over Belt Magnetic Saperater เป็ นอุปกรณ์สาํ หรับตรวจจับเศษเหล็กขันสุ ; ดท้ าย ก่อนทีถ่านหินจะถูกลําเลียงลงสู่ Boiler Bunker


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.