The knowledge vol 5

Page 1

THE KNOWLEDGE เดอะ โนวเลจ

ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 มิถุนายน - กรกฎาคม 2560 ISSN 2539-5882

KNOWLEDGE

BASED

TO U R I S M

นิตยสารพั ฒนาความรู้และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มศั กยภาพทุนมนุษย์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้สาธารณะ

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 1

7/12/17 06:37


Contents 08 03

16

12

Office of Knowledge Management and Development

03 Word Power

Knowledge Tourism ท่องเทีย ่ วเชิงความรู้

12 NextPert

The Backpacking Millionaire

19 Inside OKMD

Google Sightseeing แบบอย่างของ Tourism KM

06 ONE OF A KIND

14 DigiTOnomy

20 5ive

08 Decode

16 Next

22 WHAT’S GOING ON

Tourism A-Z

ท่องเที่ยวไทย… พัฒนาอย่างไรให้ยั่งยืน?

10 The Knowledge

รวมมิตรตัวเลข การท่องเที่ยว

ต่อยอดการท่องเที่ยว เพื่อความยั่งยืน

18

ความรู้กินได้

นักท่องเทีย ่ ว 4.0 “ของฝาก - ของที่ระลึก” เท่าทันข้อมูล เข้าถึงเทคโนโลยี การท่องเทีย ่ วกินได้

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 2

“เทีย ่ วไปเรียนรูไ้ ป” ใน 5 เมืองน่าเรียนรูร้ อบโลก

ปฏิทน ิ ท่องเทีย ่ ว “ติดปีกความรู้ สู่นอกห้องเรียน” 2560

23 Special FeAture ต้นแบบ เมือ งเศรษฐกิจความรู้

ที่ปรึกษา ดร.อธิปัตย์ บำ�รุง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ บรรณาธิการบริหาร ดร.ปรียา ผาติชล รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ หัวหน้ากองบรรณาธิการ ดร.อภิชาติ ประเสริฐ ผู้อำ�นวยการสำ�นักโครงการและจัดการความรู้ ฝ่ายศิลปกรรมและภาพถ่าย บริษัท พีเค ดีดีดี จำ�กัด 134/367 ถนนนนทบุรี ตำ�บลท่าทราย อำ�เภอเมืองนนทบุรี กรุงเทพมหานคร 11000 โทรศัพท์ 0 2192 0564 จัดทำ�โดย สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการมหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น 18-19 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อีเมล theknowledge@okmd.or.th เว็บไซต์ www.okmd.or.th อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้ เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย จัดทำ�ขึ้นภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู้ โดยสำ�นักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจ ในการนำ�องค์ความรูม้ าผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ ประโยชน์ ด้านการเรียนรู้ ต่อยอดธุรกิจ เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจประเทศ

7/12/17 06:37


3 W Word Power

KNOWLEDGE TOURISM ท่องเทีย ่ ว เชิงความรู้

ในยุ ค ประเทศไทย 4.0 การท่องเที่ยวไม่อาจเป็นเพี ยง การพั กผ่อนหย่อนใจอีกต่อไป แต่ ยั ง ต้ อ งมี บ ทบาทสนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต โดย น� ำ เสนอทั้ ง ความสนุ ก สนาน ความรู้ และความท้ า ทายใน เชิงประสบการณ์ในคราวเดียว

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 3

ท่องเทีย ่ วแบบไหนจึงได้มาซึ่ง ความรู้?

องค์ ก ารการท่ อ งเที่ ย วโลกแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations World Tourism Organization: UNWTO) ก�ำหนดรู ป แบบหลั ก ของการท่ อ งเที่ ย ว ไว้ ดังนี้

7/12/17 06:37


2

1

CULTURAL BASED TOURISM

NATURAL BASED TOURISM การท่องเที่ยว ในแหล่งธรรมชาติ

การท่องเที่ยว เชิงนิเวศทางทะเล เป็ น การท่ อ งเที่ ย วใน (Marine Ecotourism) เป็ น การท่ อ งเที่ ย วใน แหล่งธรรมชาติเฉพาะถิ่น และแหล่ ง วั ฒ นธรรมที่ แหล่งธรรมชาติทางทะเล เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ และแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ ทางทะเล การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร (Agro Tourism) การท่องเที่ยวเชิง เป็นการท่องเที่ยวไปยัง ดาราศาสตร์ พื้ น ที่ เ กษตรกรรม สวน (Astrological Tourism) WORD POWER

W

4

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)

การท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรม

การท่องเที่ยว เชิงธรณีวิทยา (Geo-Tourism) เป็ น การท่ อ งเที่ ย วใน แหล่งธรรมชาติทเ่ี กีย่ วข้อง กับหิน ดิน แร่ และฟอสซิล รวมถึงภูมิทัศน์ที่เกิดจาก การเปลี่ ย นแปลงของ พืน้ ผิวโลก การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism)

เกษตร วนเกษตร สวน เป็นการท่องเที่ยวเพื่อ เป็นการท่องเที่ยวเพื่อ สมุ น ไพร และ ฟา ร์ ม ชมปรากฏการณ์ ท าง อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ ห รื อ ปศุสตั ว์ ดาราศาสตร์ในวาระต่างๆ ช่วยลดภาวะโลกร้อน

การท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Tourism) เป็นการท่องเที่ยวใน แหล่ ง โบราณคดี แ ละ ประวัติศาสตร์

การท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมและ ประเพณี (Cultural and Traditional Tourism)

3

SPECIAL INTEREST TOURISM การท่องเที่ยวใน ความสนใจพิเศษ

การท่องเที่ยวเพื่อศึกษา การท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ กลุ่มชาติพันธุ์หรือ (Health Tourism) วัฒนธรรมกลุ่มน้อย (Ethnic Tourism) เป็ น การท่ อ งเที่ ย วใน เป็นการท่องเที่ยวเพื่อ แหล่งธรรมชาติและแหล่ง เรี ย นรู ้ วั ฒ นธรรมและ วัฒนธรรมเพือ่ การพักผ่อน วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของ และรักษาสุขภาพกายใจ ชนกลุ ่ ม น้ อ ยหรื อ ชนเผ่ า ต่างๆ

การท่องเที่ยวแบบโฮม สเตย์และฟาร์มสเตย์ (Home Stay & เป็นการท่องเที่ยวทาง Farm Stay) เ ป ็ น ก า ร ท  อ ง เ ที่ ย ว ธรรมชาติทมี่ ลี กั ษณะพิเศษ ท�ำให้เกิดความสนุกสนาน เพื่ อ ใช้ ชี วิ ต ใกล้ ชิ ด กั บ ตื่ น เต้ น หวาดเสี ย ว และ ครอบครัวในท้องถิ่น เพื่อ การเรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาและ ผจญภัย วัฒนธรรมท้องถิ่น

การท่องเที่ยวพ�ำนัก ระยะยาว (Long-Stay)

การท่องเที่ยวเพื่อการ ประชุม (MICE: Meeting / Incentive / Conference / Exhibition)

การท่องเที่ยวแบบ ให้รางวัล (Incentive เป็ น การท่ อ งเที่ ย วที่ มี Travel) วั น พ�ำนั ก ยาวนาน เช่ น เป็นการจัดน�ำเทีย่ วให้แก่ การท่ อ งเที่ ย วของกลุ ่ ม พนักงาน/ลูกค้าของบริษัท ผู้เกษียณอายุ ที่มีผลงานตามเป้าหมาย หรือเกินเป้าหมาย

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 4

การท่องเที่ยว แบบผจญภัย (Adventure Travel)

เป็นการจัดน�ำเที่ยวให้ แก่ผู้เข้าร่วมประชุม หรือ ผูร้ ว่ มเดินทางกับผูป้ ระชุม

การท่องเที่ยวอนุสรณ์ สถานแห่งสงคราม (War Tourism)

การท่องเที่ยว ชมวิถีชีวิตในชนบท (Rural Tourism/ Village Tourism) เป็ น การท่ อ งเที่ ย วใน ชนบทที่ มี วิ ถี ชี วิ ต และ ผลงานสร้ า งสรรค์ ที่ มี เอกลักษณ์โดดเด่น เ ป ็ น ก า ร ท  อ ง เ ที่ ย ว ชมวั ฒ นธรรมและงาน ประเพณีในท้องถิ่น รวม ถึงการเรียนรู้และเคารพ พิ ธี ก รรม สั ง คม และ วัฒนธรรมท้องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Tourism) เป็นการท่องเที่ยวเพื่อ เล่ น กี ฬ าตามความถนั ด และความสนใจ

การท่องเที่ยวเชิง ทัศนศึกษาและศาสนา (Edu-Meditation Tourism) เป็ น การเดิ น ทางเพื่ อ หาความรูแ้ ละแลกเปลีย่ น เรียนรูด้ า้ นปรัชญา ศาสนา และฝึกสมาธิ เป็นต้น การท่องเที่ยวแบบ อาสาสมัคร (Volunteer Tourism)

เป็นการท่องเที่ยวเพื่อ เป็นการท่องเทีย่ วพร้อม สั ม ผั ส กั บ อดี ต ในสมั ย กับการเป็นอาสาสมัครใน สงคราม กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์

7/12/17 06:37


สรุป

จากรู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วข้ า งต้ น แม้มีความหลากหลายของลักษณะหรือ วัตถุประสงค์ของการท่องเทีย่ ว แต่ทกุ รูปแบบ ล้วนน�ำไปสูค่ วามรูแ้ ละประสบการณ์ใหม่ จากการท่องเทีย่ วทัง้ สิน้ เช่น การท่องเทีย่ ว เชิงดาราศาสตร์ท�ำให้เกิดการเรียนรูร้ ะบบ สุ ริ ย จั ก รวาล การท่ อ งเที่ ย วตามแหล่ ง วัฒนธรรมท�ำให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจใน ประวัติศาสตร์และโบราณคดี และได้รับ ความรูใ้ หม่เกีย่ วกับการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ท้องถิน่ เป็นต้น

5

เที่ยวไป เรียนรูไ้ ป

W Word Power

เทรนด์ใหม่ของนักท่องเทีย ่ วยุค 4.0 ปั จ จุ บั น เทรนด์ ก ารท่ อ งเที่ ย วเปลี่ ย น จากการเดินทางเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ เป็นการค้นหาความรู้ แรงบันดาลใจ และ ประสบการณ์แปลกใหม่ในพื้นที่การเรียนรู้ เชิงประสบการณ์ที่สัมผัสได้จริง อาจเรียก ได้ ว ่ า เป็ น การเรี ย นรู ้ น อกห้ อ งเรี ย นที่ ผู ้ ค น ทุ ก กลุ ่ ม และทุ ก ช่ ว งวั ย สามารถเข้ า ถึ ง ได้ ในขณะที่ ไ ด้ รั บ ความเพลิ ด เพลิ น ความ ผ่อนคลาย และความสนุกสนานไปพร้อมกัน เทรนด์ ก าร “เที่ ย วไปเรี ย นรู ้ ไ ป” ส่ ว นหนึ่ ง เป็นผลจากการสร้างสังคมเพื่อการเรียนรู้ (Knowledge Society) ซึง่ สอดรับกับยุคแห่ง Internet of Things ในปัจจุบัน ซึ่งทุกคน (Anyone) สามารถหาข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ ได้ทกุ ที่ (Anywhere) และทุกเวลา (Anytime) ข้อมูลจากการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) ระบุว่า คนรุ่นใหม่มีการใช้สื่อเพื่อ ค้ น หาข้ อ มู ล แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วหลากหลาย รู ป แบบ เพื่ อ วางแผนการท่ อ งเที่ ย วและ ค้ น คว้ า หาความรู ้ ททท. จึ ง จั ด โครงการ “Edu Tour” หรือ Educational Tourism เพือ่ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเรียนรู้ ภายใต้กลยุทธ์

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 5

“Digital Marketing” โดยเฉพาะในกลุ ่ ม คนรุ่นใหม่ซึ่งคาดว่าจะกลายเป็นกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพที่ส�ำคัญในอนาคต รั ฐ บาลเองเห็ น ความส�ำคั ญ และให้ การส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง ใน ฐานะแหล่งรายได้หลักที่มีศักยภาพสูงของ ประเทศ ดังนัน้ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์การบูรณาการ ด้านพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ระยะ 20 ปี จัดท�ำโดย “คณะกรรมการบูรณาการด้าน พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้” ที่ส�ำนักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (okmd) เป็น ฝายเลขานุ ก ารคณะกรรมการฯ จึ ง มี ก าร ก�ำหนดโครงการส�ำคัญ (Flagship Project) ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเสริ ม สร้ า งวั ฒ นธรรม การท่องเที่ยวเชิงแหล่งเรียนรู้ รวมถึงการ น�ำเสนอเชิ ง นโยบายในการขั บ เคลื่ อ น กลยุทธ์การเสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ผ่านการท่องเทีย่ ว ด้วยเล็งเห็นว่าประเทศไทย มีจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูด นั ก เดิ น ทางชาวไทยและชาวต่ า งชาติ ที่ ต้องการสัมผัสแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งทางธรรมชาติ วัฒนธรรม และวิถีชีวิต

นอกจากนี้ เพือ่ ให้สอดรับกับวาระที่ UNWTO ก�ำหนดให้ปี พ.ศ. 2560 เป็น “ปีสากลแห่งการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อการพัฒนา : The International Year of Sustainable Tourism for Development” okmd เห็นว่า หากเพิม่ มิติของการท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้ ด้านต่างๆ ด้วยการน�ำเสนอกิจกรรมที่ มีอตั ลักษณ์ น่าสนใจ และหลากหลาย ไม่ ว ่ า จะเป็ น ในแง่ ธ รรมชาติ ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ไปจนถึง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม น่าจะช่วยท�ำให้นักท่องเที่ยวใช้เวลา ในพื้นที่มากขึ้น มีการใช้จ่ายเพิ่มขึ้น น�ำรายได้ แ ละการพั ฒ นามาสู ่ พื้ น ที่ อย่างยัง่ ยืน

7/12/17 06:37


A Airbnb

TOURISM

A-Z

แพลตฟอร์ ม ส�ำหรั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการให้ เช่าบ้านหรือห้องว่างแก่นักท่องเที่ยว พร้อมด้วยบริการจองที่พักและช�ำระเงิน ค่าที่พักผ่านทางเว็บไซต์

B

C

D

Cruise

Denied Boarding เมื อ งที่ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาเยื อ น การท อ งเที่ ย วเรื อ ส�ำราญ Compensation

มากที่สุดประจ�ำปี พ.ศ. 2559 โดย แนวใหม ที่ ผ สานเวิ ร ์ ก ช็ อ ป เข้ากับการล่องเรือในมหาสมุทร มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 21.47 ล้านคน เช่น Voyages to Antiquity

ONE OF A KIND

O

6

Bangkok

F Fare Aggregator

แพลตฟอร์มเปรียบเทียบราคา ตั๋ ว เครื่ อ งบิ น ห้ อ งพั ก และ รถเช่าของบริษัทต่างๆ ส่วนมาก มาพร้ อ มบริ ก ารจองผ่ า นหน้ า เว็บไซต์ เช่น Agoda Trivago

J Jet Lag Calculator แอปพลิ เ คชั น ที่ ช ่ ว ยออกแบบ ช่วงเวลาและชั่วโมงการนอนที่ ถูกต้อง เพือ่ ป้องกันนักท่องเทีย่ ว จากภาวะเจ็ตแล็ก

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 6

G Grand Tour

รูปแบบการท่องเทีย่ วในศตวรรษ ที่ 17-19 ซึง่ บุตรหลานของตระกูล ร�่ำรวยในยุโรปต้องออกเดินทาง ร่วมกับครูไปยังประเทศต่างๆ เพือ่ ศึกษาหาความรู้

K Knowledge Based Tourism การท่องเทีย่ วทีม่ งุ่ เน้นการพักผ่อน หย่อนใจควบคูก่ บั การได้รบั ความ รูห้ รือประสบการณ์ใหม่

การจ่ายเงินสดหรือตั๋วเครื่องบิน ชดเชยให้ แ ก่ ผู ้ โ ดยสารที่ ไ ม่ สามารถขึ้นเครื่องได้เนื่องจาก ความผิดพลาดของสายการบิน

E Epiphany Eyewear

แว่นตาอัจฉริยะทีส่ ามารถบันทึก วิ ดี โ อความละเอี ย ดสู ง ได้ น าน สูงสุด 8 ชั่วโมง และอัพโหลดไป เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ หรือแชร์ ให้ผู้อื่นชมผ่านสื่อสังคม

H Housekeeping Work and Travel

การเดิ น ทางเพื่ อ เก็ บ เกี่ ย ว ประสบการณ์การท�ำงาน พร้อม เรี ย นรู ้ ภ าษาและวั ฒ นธรรม ผ่านการท�ำงานแม่บ้านหรืองาน อืน่ ๆ ในต่างประเทศ

I Ili

อุปกรณ์แปลภาษาแบบพกพา มีจดุ เด่นคือใช้งานได้โดยไม่ตอ้ ง เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและรองรับ ภาษาไทย

L Luggage Scooter

นวัตกรรมซึง่ ผนวกกระเป๋าล้อลาก เข้ า กั บ สกู ๊ ต เตอร์ สามารถใช้ เป็นกระเป๋าเดินทางและพาหนะ ในเวลาเดียวกัน

M MAPS.ME แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น แ ผ น ที่ อิเล็กทรอนิกส์บนสมาร์ทโฟน มี จุดเด่นตรงที่สามารถใช้งานได้ แม้ไม่มีอินเทอร์เน็ต

7/12/17 06:37


N

O

New York Times Student Journeys

ทริ ป ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ยาวชนจะได้ เดินทางร่วมกับนักข่าวของ New York Times พร้อมเรียนรู้เรื่อง ราวที่ ก�ำลั ง เป็ น ประเด็ น ทั้ ง ใน ระดับประเทศและโลก

Oceanarium

สถานแสดงพั น ธุ ์ สั ต ว์ น�้ ำ ซึ่ ง จั ด แสดงสิ่ ง มี ชี วิ ต ทางทะเล เป็ น หลั ก มั ก ตั้ ง อยู  บ ริ เ วณ ชายทะเล จึงเป็นทั้งแหลงเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของ พื้นที่

R

P ParkWhiz

แอปพลิเคชันที่ช่วยค้นหาและ จองที่ จ อดรถในสหรั ฐ อเมริ ก า พร้อมระบบช�ำระเงินค่าทีจ่ อดรถ แบบออนไลน์

S

Q Queen Sirikit Museum of Textiles

แหล่ ง เรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ผ้ า ไทย ประวัตศิ าสตร์เครือ่ งแต่งกายไทย รวมทั้งฉลองพระองค์ในสมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรม ราชินนี าถในวโรกาสต่างๆ

U

T

7 O

SeatGuru

ตู ้ เ อที เ อ็ ม ส�ำหรั บ ผู ้ ใ ช้ ส กุ ล เงิ น บิ ท คอยน์ ใช้ เ พี ย งหมายเลข โทรศัพท์ พิน และการสแกนฝ่ามือ ในการท�ำธุรกรรม จึงเหมาะส�ำหรับ นักเดินทางทีไ่ ม่ชอบพกบัตร

เว็ บ ไซต ที่ ใ ห้ ข ้ อ มู ล แผนผั ง ที่นั่งบนเครื่องบิน พร้อมแนะน�ำ ต�ำแหน่งของทีน่ งั่ ทีด่ แี ละไม่ดบี น เที่ยวบินแต่ละเที่ยว

V Virgin Galactic

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 7

บล็ อ กหรื อ เว็ บ ไซต์ ที่ น�ำเสนอ ภาพถ่าย วิดีโอ และบทความ เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเป็นหลัก

W

เที่ ย วบิ น ท่ อ งอวกาศรายแรก ของโลก ส�ำหรับบุคคลทั่วไปที่ ต้องการเปิดประสบการณ์ใหม่ แห่งการท่องเที่ยวในอวกาศ

Z

Travelogue

Wallet Ninja

อุปกรณ์อเนกประสงค์ 16 in 1 ส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว ประกอบด้วย มีดพับ ไขควง ทีเ่ ปิดขวด และอืน่ ๆ ในขนาดเท่าบัตรเครดิต

X XE Currency แอปพลิ เ คชั น ตรวจสอบอั ต รา แลกเปลีย่ นเงินตราแบบเรียลไทม์ พร้ อ มช่ ว ยค�ำนวณจ�ำนวนเงิ น โดยไม่ต้องพึ่งเครื่องคิดเลข

Uber แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ ส�ำหรั บ การค้ น หาผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร รถรับ - ส่ง พร้อมบริการเรียกรถ และช�ำระเงินผ่านบัตรเครดิต

ONE OF A KIND

Robocoin Kiosk

Y Yield Management กลยุ ท ธ์ ก ารจั ด การรายได้ ใ น ธุรกิจการบินและโรงแรม โดย การตั้งราคาสูงในฤดูท่องเที่ยว และวันหยุดยาว และลดราคา ลงมาในช่วงวันธรรมดา

ZipEvent

แอปพลิเคชันทีร่ วบรวมข้อมูลเกีย่ วกับงานอีเวนต์ภายในประเทศ แจ้งเตือนเมื่อมีงานอีเวนต์ที่ตรงกับความสนใจ รวมถึงสามารถ ลงทะเบียนออนไลน์ ค้นหาบูธ และโปรโมชั่นภายในงานอีเวนต์ ผ่านระบบ Interactive Indoor Map

7/12/17 06:37


8 D DECODE

ท่องเที่ยวไทย… พัฒนาอย่างไร ให้ย่ง ั ยืน?

จากสถิตขิ ององค์การการท่องเทีย่ วโลก ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทย มีรายได้จากการท่องเที่ยวระหว่างประเทศสูงเป็นอันดับ 6 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา จีน สเปน ฝรั่งเศส และสหราชอาณาจักร สูงกว่าประเทศยักษ์ใหญ่ด้านการท่องเที่ยวอย่างอิตาลีและเยอรมนี ด้วยซ�้ำ โดยมีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติสูงถึง 30 ล้านคน แต่ใน อีกด้านหนึง่ อันดับขีดความสามารถการแข่งขันด้านการเดินทางและ การท่องเที่ยว (Travel and Tourism Competitiveness) ของไทย ซึ่ง ประเมินโดยทีป่ ระชุมเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) กลับตำ�่ กว่าประเทศในอาเซียนอย่างสิงคโปร์และมาเลเซีย โดยจัดอยู่ ในอันดับที่ 34 จากทั้งหมด 136 ประเทศ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น?

ที่มา : World Economic Forum (2560)

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 8

7/12/17 06:37


2. จ�ำนวนและรายได้ การท่องเทีย ่ วยังกระจุกตัว อยูใ่ นจังหวัดหลักๆ

DECODE

ในปี พ.ศ. 2558 จ�ำนวนนักท่องเที่ยว จากภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเติ บ โตถึ ง 36.07% แต่นักท่องเที่ยวจากยุโรปและ โอเชี ย เนี ย กลั บ ลดลง กล่ า วได้ ว ่ า การ เติ บ โตของอุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วไทย ส่วนหนึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยอุปสงค์จาก นักท่องเที่ยวชาวจีน ซึ่งในปี พ.ศ. 2558 มีจ�ำนวนเกือบ 10 ล้านคน มากกว่าตลาด เดิมอย่างยุโรปทัง้ ทวีป น�ำมาซึง่ ค�ำถามว่า ในขณะที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวจี น เพิ่ ม ขึ้ น เรื่อยๆ นักท่องเที่ยวชาวเยอรมนี อังกฤษ หรื อ สแกนดิ เ นเวี ย หายไปไหน หาก บางส่วนเลือกเดินทางไปสถานทีท่ สี่ ดใหม่ กว่า ท�ำไมเราไม่น�ำเสนอสิ่งที่เรามีแต่ยัง ไม่เป็นที่รู้จักแก่กลุ่มคนเหล่านี้?

D

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 9

1. โครงสร้างของ นักท่องเทีย ่ วเปลีย ่ นแปลง ไปตามตลาดใหม่

9

ด้วยข้อได้เปรียบด้านทรัพยากรการ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ซึ่ ง ไทยอยู ่ ล�ำดับที่ 7 และ 37 ของโลก ตามล�ำดับ ประกอบกับความพร้อมของ โครงสร้างพื้นฐานทางการท่องเที่ยว ซึ่ง ไทยติดอันดับที่ 16 จึงไม่น่าแปลกใจที่ ประเทศไทยจะได้ รั บ ความนิ ย มในหมู ่ นักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักท่องเที่ยวจากตลาดใหม่ เช่น จีน และ อินเดีย ทีก่ �ำลังเติบโตอย่างก้าวกระโดดใน ปัจจุบนั จนเราอาจลืมสังเกตว่ายังมีปจั จัย พืน้ ฐานและสภาพแวดล้อมอีกหลายด้าน ที่ยังต้องการการปรับปรุงแก้ไข ปัจจัยอุปทานดังกล่าวสะท้อนผ่าน ดัชนีตัวชี้วัดความสามารถของประเทศ ในด้านสุขภาพและอนามัย ความมั่นคง ปลอดภัย และความยัง่ ยืนของสิง่ แวดล้อม ซึ่ ง อยู ่ ใ นอั น ดั บ ที่ 90, 118 และ 122 ของโลก เห็นได้ว่าปัญหาภายในประเทศ เช่น อาชญากรรม การก่อความไม่สงบ สุ ข อนามั ย ด้ า นอาหาร หรื อ การแพร่ ระบาดของโรคเอดส์ ไม่เพียงส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทยโดย ทั่ ว ไป แต่ ยั ง เป็ น ปั ญ หาที่ ก ระทบต่ อ ความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวอีกด้วย ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ เ ลยว่ า หนทางในการ พัฒนาการท่องเที่ยวในระยะยาวจะต้อง ไม่ยดึ ติดกับตัวชีว้ ดั อันผิวเผิน เช่น จ�ำนวน และรายได้จากนักท่องเที่ยว ซึ่งแน่นอน ว่าเป็นผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการจ้ า งงาน แต่ ใ นบางครั้ ง สถิ ติ ดังกล่าวอาจเป็นภาพลวงตา เพราะอาจ ไม่สะท้อนประเด็นดังต่อไปนี้

ถึ ง แม้ ว ่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยจะ เดิ น ทางไปเยี่ ย มเยื อ นบรรดา “เมื อ ง ต้องห้าม… พลาด” มากขึน้ แต่นกั ท่องเทีย่ ว ต่ า งชาติ ที่ เ ดิ น ทางไปยั ง ภาคอี ส านซึ่ ง มีประชากร 1 ใน 3 ของประเทศ กลับ ต�่ ำ กว า 5% อั น สะท  อ นว า ความ ไม่เสมอภาคของรายได้การท่องเที่ยวยัง เป็นประเด็นท้าทายส�ำหรับภาครัฐ หากเรา ไม่ส ามารถดึ ง ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ ใ นพื้ น ที่ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยว/แหล่งเรียนรู้ ทางธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ ศิลปวัฒนธรรม รวมไปถึงองค์ความรู้ ภูมิปัญญา และ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี เ ฉพาะถิ่ น อั น มี เ อกลั ก ษณ์ มาใช้ ส ่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การ ท่องเทีย่ วและการเรียนรูใ้ หม่ๆ ยกตัวอย่าง เช่ น การน�ำวั ฒ นธรรมอาหารของภาค ตะวันออกที่มีทั้งเส้นจันท์ แกงหมูชะมวง และอาหารที่ ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ พื้ น บ้ า นอย่ า ง กระวานหรือทุเรียน อันสะท้อนลักษณะ เฉพาะทางภู มิ ศ าสตร์ แ ละภู มิ ป ั ญ ญา ชาวบ้ า น มาน�ำเสนอให้ ช าวต่ า งชาติ ได้ รู ้ จั ก และเข้ า ใจความแตกต่ า งของ อาหารแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น ก็ ค งไม่ ส ามารถ สร้ า งความสดใหม่ น ่ า สนใจให้ แ ก่ ก าร ท่องเที่ยวในประเทศ และปัญหาช่องว่าง รายได้ระหว่างเมืองหลักกับเมืองรองจะ ยังคงเรื้อรังอยู่ต่อไป

สรุป

ดัชนีข้างต้นคงสะท้อนให้เห็นแล้วว่า ประเทศไทยยังคงต้องการการพัฒนาสภาพ แวดล้อมทางการท่องเที่ยวอีกมาก เช่นเดียวกับค�ำกล่าวที่ว่า “เราบริโภคอาหาร อย่างไร เราก็จะเป็นอย่างนั้น” (You are what you eat) หากเปรียบประสบการณ์ การท่องเทีย่ วในแต่ละจุดหมายปลายทางเป็นรสชาติเปรีย้ วหวานมันเค็ม เราจัด เตรียมแหล่งท่องเทีย่ วในประเทศให้มรี สชาติอย่างไร นักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางเข้า มาก็จะเป็นอย่างนั้น!

7/12/17 06:37


10 K THE KNOWLEDGE

นักท่องเที่ยว

4.0

เท่าทันข้อมูล เข้าถึงเทคโนโลยี

กระแสข่ า วลู ก ทั ว ร์ ไ ทยถู ก “เท” สะท้ อ นว่ า บางคนไม่ ก ล้ า เดินทางเอง อาจเพราะกังวลเรือ่ งการหาข้อมูลท่องเทีย ่ ว การจัดทริป หรือการสื่ อสารภาษาต่างประเทศ จึงยอมซื้อความสะดวกจาก บริ ษั ท ทั ว ร์ ทั้ ง ที่ ใ นปั จจุ บั น ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ไ ด้ สรรค์สร้างแพลตฟอร์มใหม่ๆ ในการเชื่อมโยงและบริหารจัดการ ข้อมูลท่องเที่ยว ท�ำให้การวางแผนและการเดินทางเป็นเรื่องง่าย และสนุก okmd ขอยกตัวอย่างเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่จะท�ำให้คุณ มั่นใจในการท่องโลกมากขึ้น

ก่อนเดินทาง 1. ใช้โหมดไม่ระบุตัวตน (Incognito Mode) เคยไหมที่คุณเช็คราคาตั๋วเครื่องบิน ซ�้ำๆ แต่พอจะกดจอง ราคาตั๋วกลับแพง ขึ้ น แบบไม่ น ่ า เชื่ อ นั่ น เพราะเว็ บ ไซต์ สายการบินสอดแนมประวัติการค้นหา จากคุ ก กี้ ใ นคอมพิ ว เตอร์ ข องคุ ณ แต่ การใช้โหมดไม่ระบุตัวตนจะช่วยปกป้อง คุณจากสายสืบเหล่านี้ได้ Google Chrome @ Windows Google Chrome @ Mac

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 10

2. ใช้เว็บไซต์เปรียบเทียบ

3. เลือกไป-กลับต่างเมือง

ไม่ รู ้ จ ะไปเที่ ย วที่ ไ หน? ปั จ จุ บั น เว็ บ ไซต์ อ ย่ า ง Kayak, Skyscanner หรือ Google Flights ให้คุณค้นหาและ เปรียบเทียบราคาตัว๋ เครือ่ งบินโดยไม่ตอ้ ง ระบุสถานที่ ท�ำให้คุณรู้ว่าในสัปดาห์หน้า เดือนหน้า หรือปีหน้า ตั๋วเดินทางไปที่ใด มีราคาถูกทีส่ ดุ โดยสามารถเลือกให้แสดง ผลบนแผนที่ได้ด้วย ในทางตรงข้าม หาก คุ ณ มี จุ ด หมายปลายทางในใจอยู ่ แ ล้ ว ก็สามารถตรวจสอบได้ว่าวัน - เวลาใดที่ ตั๋วราคาถูกที่สุด โดยอาจเลือกสนามบิน ใกล้เคียง (Nearby Airports) ได้ด้วย

ถ้ า คุ ณ ไม มี ข ้ อ จ�ำกั ด เรื่ อ งเวลา บางครั้งคุณอาจเดินทางได้ถูกกว่าด้วย การบินออกจากเมืองหนึ่งแต่กลับจากอีก เมืองหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น คุณต้องการไป ปารีสหรือมิลาน แทนทีจ่ ะหาตัว๋ ไป - กลับ จากกรุงเทพฯ ลองเลือกเดินทางเทีย่ วเดียว จากกรุงเทพฯ ไปยังกัวลาลัมเปอร์หรือ ฮ่ อ งกง ก่ อ นต่ อ เครื่ อ งไปยั ง จุ ด หมาย ปลายทางที่ต้องการ ส่วนเที่ยวกลับบิน ตรงมาที่สุวรรณภูมิ ซึ่งอาจช่วยประหยัด เงินได้นับหมื่นบาทในชั้นประหยัด หรือ หลายหมื่นบาทในชั้นธุรกิจ

7/12/17 06:37


4. ใช้ตัวช่วยวางแผนการเดินทาง

ระหว่าง เดินทาง

อยากรู้ว่าควรแวะที่ไหนก่อน-หลัง? หมดยุ ค ที่ ต ้ อ งพกไกด์ บุ ๊ ก เล่ ม โตไป ท่องเที่ยว เพราะเว็บไซต์/แอปพลิเคชัน อย่ า ง Inspirock สามารถช่ ว ยคุ ณ จั ด ทริ ป ในฝั น โดยคุ ณ เป็ น ผู ้ ก�ำหนดว่ า อยากแวะที่ เ มื อ งหรื อ ประเทศใดบ้ า ง

มีเวลารวมกี่วัน และกิจกรรมที่ชื่นชอบ คืออะไร เช่น ซือ้ ของ ศึกษาประวัตศิ าสตร์ เล่นกีฬาทางน�้ำ Inspirock จะช่วยจัด เส้นทางท่องเที่ยวให้คุณ โดยเชื่อมโยงกับ ฐานข้อมูลของเว็บไซต์ TripAdvisor

5. ใช้ “วุ้นแปลภาษา”

11 K

ภาพ : www.spinlister.com

6. ใช้ประโยชน์จาก เศรษฐกิจแบ่งปั น (Sharing Economy) หลายคนคงเคยใช้ บ ริ ก าร Uber หรื อ Airbnb มาบ้ า ง ปั จ จุ บั น แนวคิ ด เศรษฐกิ จ แบ่ ง ปั น ขยายไปถึ ง การให้ เช่าจักรยาน เซิร์ฟบอร์ด บอร์ดยืนพาย สโนว์ บ อร์ ด และสกี แ ล้ ว ดั ง นั้ น ไม่ ว ่ า คุ ณ จะเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วในฤดู ก าลใด ก็สามารถหาเช่าอุปกรณ์เหล่านี้ได้ทาง ออนไลน์ โดยไม่ตอ้ งไปหาซือ้ หรือเช่าจาก ร้านอีกต่อไป ในปัจจุบนั บริการนีย้ งั จ�ำกัด เฉพาะในสหรัฐอเมริกาและยุโรป

ภาพ : www.iphonefaq.org/archives/974165 www.waverlylabs.com/pilot-translation-kit

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 11

7. นั่งเฉยๆ ก็ไปเทีย ่ วได้

THE KNOWLEDGE

เบื่ อ ไหมเวลาที่ เ ข้ า พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ห รื อ ร้านอาหารแล้วต้องส่งภาษามือ เพราะ อ่านป้ายหรือเมนูไม่รเู้ รือ่ ง เดีย๋ วนี้ Google Translate ได้พัฒนาแอปพลิเคชันให้มี ความสามารถอีกขั้น โดยน�ำเทคโนโลยี ความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality : AR) มาใช้ ร ่ ว มกั บ กล้ อ งถ่ า ยรู ป ของ สมาร์ ต โฟน เพี ย งส อ งกล้ อ งไปยั ง ค�ำที่ ต้องการโดยไม่ต้องถ่ายรูป แอปพลิเคชัน จะแปลความหมายออกมาทั น ที โ ดย ไม่จ�ำเป็นต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แล้ ว ถ้ า ฟั ง ภั ณ ฑารั ก ษ์ ห รื อ บริ ก ร ไม่รู้เรื่องล่ะ? Waverlylabs ได้ผลิตหูฟัง แปลภาษาออกมาแล้ว ขณะนี้ครอบคลุม 15 ภาษา แต่ ยั ง ไม่ ร องรั บ ภาษาไทย ส่ ว นในประเทศญี่ ปุ  น มี ก ารน�ำโทรโข่ ง แปลภาษามาใช้สื่อสารกับชาวต่างชาติที่ สนามบิ น และสถานี ร ถใต้ ดิ น แต่ น ่ า เสียดายที่ยังไม่รองรับภาษาไทยเช่นกัน

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีความ เป็นจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) ท�ำให้ Google Expeditions Pioneer Programme สามารถพาเด็ ก นั ก เรี ย น ในสหราชอาณาจักรกว่า 1 ล้านคนไป ทัศนศึกษายังจุดหมายปลายทางที่มีให้ เลือกกว่า 600 เส้นทาง โดยไม่ต้องลาก กระเป๋าออกจากห้องเรียน ลองคิ ด ถึ ง อากงอาม่ า ที่ อ ยากเห็ น ก�ำแพงเมืองจีนสักครัง้ ในชีวติ สุดท้ายคุณ อาจใช้ VR ช่วยให้ท่านสมหวังเสียที

ภาพ : Google Expeditions Pioneer Programme

7/12/17 06:37


NEXTPERT

N

12

THE BACKPACKING MILLIONAIRE ถ้าพู ดถึงการท่องเที่ยว สิ่ งที่นักเดินทางคิดถึงเป็นอันดับแรกนอกจากจุดหมาย ปลายทางและงบประมาณแล้ว คงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องวางแผนเรื่องยานพาหนะ ที่พักอาศัย และแน่นอน เรื่องใหญ่ที่สุดก็คืออาหารการกิน เมื่ อ อาหารกั บ การท่ อ งเที่ ย วเป็ น สิ่งที่แยกจากกันไม่ได้ เพราะคนเราต้อง กิ น ทุ ก วั น ไม่ ว ่ า จะอยู ่ ที่ ไ หน มู ล ค่ า ทาง การตลาดของอุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย ว จึ ง มี เ รื่ อ งของอาหารเป็ น องค์ ป ระกอบ หลักเสมอ และคงไม่ใช่เรือ่ งแปลกหากจะ มีอาชีพเกิดใหม่ที่ต่อยอดจากการ “เที่ยว ไปชิมไป” ตัง้ แต่บล็อกเกอร์สายท่องเทีย่ ว ไปจนถึงนักชิมหน้าใหม่ (Foodies)

Blogger อาชีพเก่าทีไ่ ม่เก่า บล็อกเกอร์ (Blogger) คือนักเขียน ในเว็บบล็อกหรือเว็บไซต์ เปรียบได้กับ คอลั ม นิ ส ต์ ข องนิ ต ยสารหรื อ นั ก ข่ า ว หนังสือพิมพ์ ยิง่ ในยุคปัจจุบนั ทีส่ อื่ สิง่ พิมพ์ เกือบทั้งหมดเปลี่ยนรูปแบบการน�ำเสนอ จากการตีพิมพ์ลงบนกระดาษมาเป็นการ รายงานข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 12

สื่ อ สั ง คมและเว็ บ ไซต์ ยิ่ ง ท�ำให้ อ าชี พ บล็อกเกอร์กลับมาเป็นทีน่ ยิ มอีกครัง้ ในบรรดาบล็อกเกอร์ยอดนิยมของ โลกต้ อ งมี บ ล็ อ กเกอร์ ส ายท่ อ งเที่ ย ว รวมอยู ่ ด ้ ว ย เนื่ อ งจากคนรุ ่ น ใหม่ นิ ย ม หาข้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ เดิ น ทาง ด้วยตัวเองมากขึ้น ในขณะเดียวกัน สื่อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มี ส ่ ว นส�ำคั ญ ที่ ช ่ ว ยให้ บล็ อ กเกอร์ น�ำเสนอเนื้ อ หาได้ ห ลาย รูปแบบ ในหลายมิติ ด้วยสือ่ ทีห่ ลากหลาย (Multimedia) รวมทั้งสามารถเข้าถึงและ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ อ ่ า นแบบเรี ย ลไทม์ (Real Time) ต่างจากนักเขียนในอดีตที่ มีเพียงภาพถ่ายประกอบบทความ หรือ รายการสารคดีท่องเที่ยวทางโทรทัศน์ที่มี ขัน้ ตอนมากมายกว่าจะได้ออกอากาศ อีก ทัง้ กระบวนตอบรับจากผูช้ มก็ท�ำได้จ�ำกัด ยิ่งในยุคปัจจุบันที่สมาร์ตโฟนกลาย เป็นช่องทางการส่งสารและรับสื่ออย่าง

สมบูรณ์แบบ การท�ำงานของบล็อกเกอร์ จึงง่ายยิง่ ขึน้ เพียงมีสมาร์ตโฟนก็สามารถ ผลิตสื่อมัลติมีเดียได้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะ เป็นข้อเขียน ภาพนิ่ง วิดีโอ รวมถึงการ ถ่ายทอดสดภาพ เสียง และบรรยากาศจริง จากสถานที่ท่องเที่ยว ที่ชวนให้ผู้ชมรู้สึก เป็นส่วนหนึง่ ของเนือ้ หายิง่ กว่าเดิม ปั จ จุ บั น มี บ ล็ อ กเกอร์ ม ากมายทั้ ง ชาวไทยและชาวต่างประเทศหันมาจับ กระแสตลาดการท่องเทีย่ ว และเน้นสร้าง คอนเทนต์ทกี่ อ่ ให้เกิดรายได้ โดยการเปิด พืน้ ทีบ่ นเว็บไซต์ เว็บบล็อก หรือ YouTube เพือ่ แนะน�ำสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สายการบิน ทีพ่ กั รถเช่า ร้านอาหาร ไปจนถึงให้บริการ น�ำเที่ยวแก่ผู้สนใจ บล็อกเกอร์หลายราย มีรายได้นบั ล้านบาทจากสปอนเซอร์ รวม ถึงส่วนแบ่งรายรับจากค่าโฆษณา กรณีทมี่ ี ผูต้ ดิ ตามช่อง YouTube จ�ำนวนมาก

7/12/17 06:37


จาก Michelin Guide และ เชลล์ชวนชิม ถึง

FOODIES ถ้าจะบอกว่า “Michelin Guide” คือ ต้นแบบของ “เชลล์ชวนชิม” ก็คงไม่ผิด สิ่งที่เหมือนกันคือ ทั้งสองสถาบันมีส่วน ส�ำคั ญ ในการสร้ า งคน สร้ า งงาน และ สร้ า งรายได้ ใ ห้ อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย ว โดยเฉพาะธุรกิจภัตตาคาร อย่างไรก็ดี เมื่ อ 3-4 ปี ก ่ อ น ได้ เ กิ ด อาชี พ ใหม่ ใ น อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วซึ่ ง แม้ จ ะฟั ง ดู ใกล้เคียงกับ Michelin Guide ทว่าเข้าถึง คนรุน่ ใหม่ได้งา่ ยกว่า

อาชีพที่ว่าก็คือ “นักชิมหน้าใหม่” นักชิมหน้าใหม่เหล่านี้แม้มีรสนิยม ด้ า นอาหารเป็ น เลิ ศ แต่ พ วกเขาเป็ น กลุ่มชนไร้สังกัด จากการที่ต้องเดินทาง ไปลองชิมอาหารตามค�ำเชิญ หรือบางครัง้ ก็ ไ ม มี ใ ครเชิ ญ ในร้ า นอาหารและ ภัตตาคารชัน้ น�ำทัว่ ทุกมุมโลก ซึง่ เรือ่ งราว

ของบรรดานักชิมหน้าใหม่ได้รับการน�ำ เสนอในภาพยนตร์สารคดีเรือ่ ง Foodies Foodies คื อ กรณี ศึ ก ษาหนึ่ ง ซึ่ ง น่ า สนใจ หากจะพู ด ถึ ง อุ ต สาหกรรม ท่องเที่ยวยุคใหม่ที่มีธุรกิจร้านอาหารเป็น หนึง่ ในผูเ้ ล่นหลัก โดยภาพยนตร์ได้พาเรา ไปรูจ้ กั ภัตตาคารและร้านอาหารเมนูอร่อย ทัว่ ทุกมุมโลก ผ่านสายตานักชิมหน้าใหม่ จ�ำนวน 5 คน อันประกอบไปด้วย

13 N NEXTPERT

Andy Hayler

Katie Keiko

“นักชิมบันลือโลก” เจ้าของ เว็บไซต์ andyhayler.com ซึ่งเดินทางไปทัว่ ทุกมุมโลก เพื่อพิสูจน์ “ต�ำนาน 117 ปี” ของ Michelin Guide ก่อนวิพากษ์วจ ิ ารณ์การให้ ดาวของ Michelin Guide ซึ่งมีทงั้ เห็นด้วยและไม่เห็น ด้วย รวมทัง้ แนะน�ำร้าน อาหารใหม่ๆ ทีย ่ อดเยีย ่ มกว่า ให้นก ั ท่องเทีย ่ วได้ตามรอย

เจ้าของเว็บไซต์ k-luxedining.com สาวนักชิมทีก ่ า้ วขึ้นมาเป็น คนดัง จากความเห็นเรือ ่ ง อาหารอันเฉียบคมและ การถ่ายภาพอาหารสไตล์ ญีป ่ น ุ่ ทีส ่ วยงามราวศิลปะ จนทีไ่ ด้รบ ั ความนิยมจาก นักชิมทัว่ ทุกมุมโลก

Steven Plotnicki “นักชิมฝีปากกล้า” ซึ่งรวบรวม สมั ค รพรรคพวกตั้ ง เป็ น ชมรม “นั ก ชิ ม หน้ า ใหม่ ” ผ่ า นเว็ บ ไซต์ opinionatedaboutdining.com โดยเสนอตั ว เป็ น ทางเลื อ กใหม่ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ บ รรดานั ก ชิ ม ยึ ด ติ ด กั บ Michelin Guide อีกต่อไป

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 13

Aiste Miseviciute นางแบบแถวหน้าของยุโรป ทีฝ ่ า่ ฟั นอุปสรรคนานัปการ เพื่อเดินข้ามพรมแดงของ แคทวอร์กมาสู่ พรมแดนของ นักชิมหน้าใหม่ จนปั จจุบน ั ได้ รับการยอมรับจากบรรดา นักชิมหน้าใหม่ รวมทัง้ คนดัง ในแวดวงบันเทิงและ วงการนางแบบ

เพิ่ ม ไพทยวัฒน์ นักชิมชาวไทยเจ้าของบล็อก @theskinnybib ซึ่งตระเวน ชิมอาหารกว่า 60 ประเทศใน เวลาเพียงปีเดียว โดยมี จุดเด่นอยูท ่ ก ี่ ารน�ำเสนอ อาหารอันแปลกตา ตัง้ แต่ อาหารริมทางไปจนถึงอาหาร สุ ดหรูในร้าน Michelin Star ซึ่งท�ำให้ชายหนุม ่ ธรรมดาๆ กลายเป็นทีร่ จ ู้ ก ั และยอมรับ จากนักชิมทัว่ โลก

ปั จจุบัน นักชิมหน้าใหม่ทั้ง 5 คน ยังคง เดินสายเพื่อไปชิมเมนูใหม่ตามภัตตาคารและ ร้านอาหารทัว่ ทุกมุมโลก โดยไม่เพียงได้ชม ิ ฟรี แต่บางร้านยังออกค่าตัว๋ เครือ ่ งบิน ทีพ ่ ัก และ ยังมีคา่ ตอบแทนก้อนใหญ่ให้อก ี ด้วย เรียกได้วา่ นักชิมหน้าใหม่กลายเป็นอาชีพทีส ่ ามารถสร้าง The Backpacking Millionaire หรือเถ้าแก่นอ้ ย ได้ไม่ยาก หากจับทางได้ถก ู ต้อง

7/12/17 06:37


รวมมิตรตัวเลขการท่องเที่ยว แหล่งท่องเทีย ่ ว เพื่อการเรียนรู้

เครือข่าย เมืองสร้างสรรค์

จ�ำนวนสมาชิก จาก

116

54

ราย

ประเทศ

เมืองแห่งการออกแบบ (Design)

เมืองแห่งงานศิลปะ และงานฝีมอ ื

เมืองแห่งวรรณกรรม (Literature)

22 เมือง

(Craft & Folk Art)

เมืองแห่งดนตรี

เมืองแห่งอาหาร

เมืองแห่งสื่ อศิลปะ

เมืองแห่งภาพยนตร์

19

18

9

8

20 เมือง

DIGITONOMY

D

14

แบ่งเป็น

20 เมือง

(Music)

เมือง

(Gastronomy)

เมือง

(Media Arts)

เมือง

(Film)

เมือง

ที่มา : UNESCO (2560)

แหล่งมรดกโลก ในอาเซียน ประเทศ เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย มาเลเซีย กัมพู ชา ลาว เมียนมา สิ งคโปร์

มรดกโลกทางวัฒนธรรม

มรดกโลกทางธรรมชาติ

มรดกโลกแบบผสมผสาน

5 4 3 3 2 2 2 1 1

2 4 3 2 2 -

1 -

ที่มา : UNESCO (2560)

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 14

7/12/17 06:37


มูลค่าทางเศรษฐกิจ

การท่องเทีย ่ วกับ เศรษฐกิจโลก

262.39

10.2%

ล้านล้านบาท

มูลค่าทางเศรษฐกิจ จากการท่องเทีย ่ วโลก พ.ศ. 2559

ของมูลค่า เศรษฐกิจโลก

9

การใช้จา่ ยของ นักท่องเทีย ่ ว ชาวจีน ล้านล้านบาท

ตัวเลขนักท่องเทีย ่ ว จ�ำนวนนักท่องเทีย ่ วทัว่ โลก ในปี พ.ศ. 2559

การจ้างงาน

1,236

292

ล้านคน

ล้านคน

ที่มา : UNWTO (2560), World Travel & Tourism Council (2560)

สั ดส่ วนรายได้จากการ ท่องเทีย ่ วต่อ GDP ของ ประเทศไทย

10%

ของการจ้างงานทัว่ โลก

จ�ำนวนนักท่องเทีย ่ วต่างชาติทเี่ ดินทาง เข้าประเทศไทย (คน)

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว (2560)

15

13.58%

D

2558

12.15% ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿

11.85%

2557

2556

DIGITONOMY

฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿

10.92%

฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿

฿ ฿ ฿ ฿ ฿

2558

2555

ที่มา : ปรับปรุงจาก กรมการท่องเที่ยว และ ส�ำนักงาน คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2559)

2557

2550

2545

อาเซียน

7,886,136

6,641,772

3,520,051

2,474,523

จีน

7,934,791

4,636,298

907,117

797,976

ยุโรป

5,629,122

6,161,893

3,905,271

2,650,992

อเมริกา

1,235,095

1,099,709

920,366

730,402

อื่นๆ

7,195,947

6,270,011

5,211,423

4,145,174

รวม

29,881,091 24,809,683 14,464,228 10,799,067

การใช้จา่ ยของนักท่องเทีย ่ วภายในประเทศ ปี พ.ศ. 2558 ประเทศ

จ�ำนวนนักท่องเที่ยว (คน)

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย (บาท/คน/วัน)

จ�ำนวนวันพ�ำนักเฉลี่ย (วัน)

รายได้ (ล้านบาท)

นักท่องเที่ยวชาวไทย

106,841,284

2,535

2.61

803,073

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ

52,350,068

4,081

4.10

1,053,938

รวม

159,191,352

3,524

3.10

1,857,011

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว (2560)

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 15

7/12/17 06:37


NEXT

N

16

ต่อยอดการท่องเที่ยว เพื่อความยั่งยืน การเติบโตของเศรษฐกิจ และความก้ า วหน้ า ในการ ติ ด ต่ อ เ ชื่ อ ม โ ย ง ข อ ง โ ล ก ผ่ า นเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร ที่ ทั น สมั ย ในปั จจุ บั น ท� ำ ให้ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว ของโลกมี ก ารเปลี่ ย นแปลง และเติ บ โตอย่ า งที่ ไ ม่ เ คยมี มาก่อน

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 16

จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยว โลกแห่งสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2557 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวโลกสร้างรายได้ รวมมากกว่า 52.51 ล้านล้านบาท โดยในปี พ.ศ. 2558 มีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทาง ข้ามประเทศมากกว่า 1,184 ล้านคน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4 หรือราว 50 ล้านคน เมื่อเทียบกับ ปก อ่ นหน้า โดยเฉพาะในทวีปยุโรป อเมริกา และเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก ซึ่ ง เติ บ โตเฉลี่ ย กว่ า ร้ อ ยละ 4 และมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง โดยในส่ ว นของภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก มี จ�ำนวนนั ก ท อ งเที่ ย วจาก ต่างประเทศกว่า 278 ล้านคนในปี พ.ศ. 2558 และคาดว่าจะเติบโตระหว่างร้อยละ 4-5 ในปี พ.ศ. 2559 แนวโน้ ม การเพิ่ ม ขึ้ น ของจ�ำนวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากต่ า งประเทศท�ำให้ ผู ้ ที่

เกี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว ต้ อ งกลั บ มาตั้ ง ค�ำถามเกี่ ย วกั บ ประเด็ น ความยั่ ง ยื น ของธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย ว ไม่ ว่าจะเป็นความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว ทั้ ง ในเชิ ง พื้ น ที่ แ ละเชิ ง ภู มิ ป ั ญ ญา ความ ยั่งยืนของการบริโภคและการผลิต ตลอด จนความยั่ ง ยื น ของการจ้ า งงาน ซึ่ ง ขึ้ น อยู่กับหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นแนวทาง และบทบาทการสนั บ สนุ น ของภาครั ฐ การอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาต่ อ ยอดทาง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ นวัตกรรมในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว การ พัฒนาเมืองให้มีความเหมาะสม และการมี ส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องอาศัย การท�ำงานอย่างใกล้ชดิ และชัดเจนระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

7/12/17 06:37


ในการประชุมของ UNWTO ในปี พ.ศ. 2558 ได้มก ี ารกล่าวถึง แนวทางเพื่อน�ำไปสู่ความยัง่ ยืนของอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ ว ในหลายประเด็น อาทิ 1. การก�ำหนดรูปแบบ ความสั มพั นธ์ใหม่ ระหว่างการท่องเทีย ่ ว กับภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม

เพื่อการเติบโตและพัฒนาไปพร้อมกัน ซึ่ ง รวมถึ ง คนในพื้ น ที่ ที่ ต ้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว ม และได้รับผลจากการเติบโตและพัฒนา ดั ง กล่ า ว (Inclusive Growth) อาทิ การจ้ า งงาน การประกอบธุ ร กิ จ และ การพัฒนาชุมชน

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 17

เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์อย่างสร้างสรรค์ โดยการพั ฒ นาเมื อ งให้ มี ค วามพร้ อ ม ที่จะอ�ำนวยความสะดวกและให้บริการที่ เหมาะสมแก่นักท่องเที่ยวตามบริบทของ แต่ละพืน้ ที่ ไม่วา่ จะเป็นด้านการคมนาคม ขนส่ง การสื่อสารสารสนเทศ บุคลากร การท่ อ งเที่ ย ว การบริ ก ารทางการเงิ น รวมถึงการแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อ การท่องเที่ยวและความเป็นอยู่ของคน ในชุมชน

ออนไลน์ ธุรกิจออกแบบบริการ และธุรกิจ การเงินรูปแบบใหม่ ซึง่ จะช่วยอ�ำนวยความ สะดวกและพัฒนารูปแบบการให้บริการที่ แปลกใหม่ น่าสนใจ และตอบสนองความ ต้ อ งการของนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ม ากและ ซับซ้อนขึน้ ในปัจจุบนั เห็นได้วา่ เมือ่ โลกก้าวสูก่ ารเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ แนวโน้มการท่องเที่ยวได้ เปลี่ยนเป็นการท่องเที่ยวที่ให้คุณค่ากับ ประสบการณ์เชิงภูมิปัญญา วัฒนธรรม และองค์ความรู้มากขึ้น แน่นอนว่าพื้นที่ ยั ง คงมี ส ่ ว นส�ำคั ญ ในการดึ ง ดู ด ความ สนใจของนักท่องเที่ยว แต่ประสบการณ์ ที่ได้สัมผัสและความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ที่ได้รับจากบริบทแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็น

6. การสร้าง ความร่วมมือ ภายในภูมิภาค

ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ส�ำคั ญ ในการ พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดย เฉพาะในภู มิ ภ าคที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ เชื่อมโยงกัน รวมถึงมีรูปแบบภูมิปัญญา และวัฒนธรรมที่มีทั้งความเหมือนและ ความแตกต่างกัน เพราะเป็นการสร้าง ทางเลือกในการท่องเที่ยวที่หลากหลาย และคุ ้ ม ค่ า มากขึ้ น ช่ ว ยลดต้ น ทุ น การ ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างความร่วมมือใน การพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ รวมถึงช่วยลดการแข่งขันที่ส่งผลกระทบ โดยรวมแก่การท่องเที่ยวภายในภูมิภาค

NEXT

ในส ว นของผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ท่องเทีย่ วต้องคอยติดตามการเปลีย่ นแปลง และแนวโน้มการท่องเที่ยวของโลกอยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้สามารถวางกลยุทธ์ และบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะหากสามารถสร้ า งความ ร่ ว มมื อ กั บ ผู ้ เ ล่ น รายอื่ น ตลอดห่ ว งโซ่ การท่องเที่ยวจะท�ำให้เข้าใจภาพรวมของ ธุรกิจได้ชดั เจน และสามารถด�ำเนินธุรกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงาน การศึกษาด้านการบริหารจัดการ ปราชญ์ หรื อ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นภู มิ ป ั ญ ญาและ วัฒนธรรม รวมไปถึงธุรกิจรูปแบบใหม่ที่ เชือ่ มโยงกับการท่องเทีย่ ว เช่น ธุรกิจสือ่ สาร

5. การผลักดันให้การ ท่องเทีย ่ วมีบทบาทใน การยกระดับการพั ฒนา ชุมชนและเมือง

N

เพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยว รู ป แบบใหม อาทิ การท อ งเที่ ย ว เชิ ง อุ ต สาหกรรม เช่ น การเยี่ ย มชม อุ ต สาหกรรมไวน์ หรื อ การเยี่ ย มชม อุตสาหกรรมเกษตรอินทรีย์ การท่องเทีย่ ว ในพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจ�ำ เช่น การท่องเทีย่ ว ตามรอยบุคคลส�ำคัญ หรือ การเยี่ยมชม สมรภูมิรบในอดีต และการท่องเที่ยวที่มี ลักษณะเฉพาะ เช่น การท่องเทีย่ วใต้ทอ้ ง ทะเล หรือ การท่องเทีย่ วด้วยจักรยาน

โดยใช้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวใน การสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าของ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

โดยการเชื่ อ มโยงภู มิ ป ั ญ ญาและ วัฒนธรรมของพื้นที่ท่องเที่ยวเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจเป็นเส้นทางภายในประเทศหรือ ภายในภู มิ ภ าคที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ แ ละ ความสั ม พั น ธ์ ใ นมิ ติ ต ่ า งๆ ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึงปัจจุบัน

17

4. การสนับสนุน ความเชือ ่ มโยงระหว่าง อุตสาหกรรมท่องเทีย ่ ว

2. การอนุรักษ์ และ การส่ งเสริมภูมิปัญญา และวัฒนธรรม

3. การพั ฒนา เส้ นทางท่องเทีย ่ ว เชิงภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม

ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและวิ ถี ชี วิ ต อั น เป็ น เอกลักษณ์ องค์ความรู้และภูมิปัญญา พืน้ ถิน่ ทีม่ คี ณ ุ ค่าและน่าสนใจ รวมถึงการ บริการที่ได้มาตรฐาน มีความปลอดภัย มี ค วามเป็ น มิ ต ร และเปิ ด โอกาสให้ นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วม สิ่งเหล่านี้จะช่วย สร้างความประทับใจและความทรงจ�ำทีด่ ี ให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว ซึง่ เป็นเป้าหมายสูงสุด ของผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมบริการ โดยเฉพาะในกลุม่ ธุรกิจการท่องเทีย่ ว โดย เฉพาะในยุคที่โลกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ สือ่ สังคมออนไลน์และการติดต่อสือ่ สารที่ เป็นไปอย่างรวดเร็วและครอบคลุม

7/12/17 06:37


ความรู้ กิ นได้

N

18

“ของฝาก - ของที่ระลึก” การท่องเที่ยวกินได้ ธุรกิจของฝาก - ของที่ระลึก เกิดขึ้นจากภูมิปัญญาของ คนในท้องถิ่นในการน�ำวัตถุดิบหรือของดีในพื้นที่มาประยุกต์เป็น สิ นค้าต่างๆ ซึ่งช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ทรัพยากร และ สร้างรายได้ให้แก่คนท้องถิ่น โดยได้รับแรงกระตุ้นจาก การเติบโตของการท่องเที่ยวในพื้นที่ Technavio ได้ท�ำการศึกษาตลาด ของขวัญและของทีร่ ะลึกในภูมภิ าคต่างๆ และระบุไว้ในรายงานชื่อ Global Gifts Novelty and Souvenirs Market 2016-2020 (พ.ศ. 2559-2563) โดยประมาณการว่า ตลาดของขวัญและของที่ระลึกทั่วโลกมี แนวโน้มขยายตัวในอัตราร้อยละ 4.82 ในระหว่างปี พ.ศ. 2559-2563 โดยหนึ่ง ในปัจจัยส�ำคัญที่เอื้อต่อการเติบโตของ ตลาด คื อ ช่ อ งทางการขายทั้ ง ร้ า นค้ า ปลีกและร้านค้าปลีกออนไลน์ที่สามารถ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย ทัง้ เป็นของขวัญ ของฝาก และของทีร่ ะลึก โดยปัจจุบนั มีผเู้ ล่นส�ำคัญในตลาด ได้แก่ Alibaba Amazon Carrefour Costco JC Penney Tesco และ Walmart ด้วยเหตุนี้ผู้บริโภคจึงไม่จ�ำเป็นต้อง

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 18

เดินทางไปยังพืน้ ทีน่ นั้ ๆ เพือ่ ซือ้ สินค้าของ ฝาก - ของที่ระลึกอีกต่อไป แต่สามารถ ซื้อจากผู้ขายโดยตรง (B2C) ผ่านร้านค้า ปลี ก ออนไลน์ (E - Retailer/Online Marketplace) รวมถึงงานแสดงสินค้าท้อง ถิน่ งานแสดงเพือ่ เผยแพร่วฒ ั นธรรมและ การท่องเที่ยวของประเทศ หรือแม้แต่ที่ สนามบินและสถานีรถไฟ ซึง่ ล้วนเป็นช่อง ทางส�ำคัญที่น�ำมาสู่การเติบโตของตลาด ของฝาก - ของทีร่ ะลึกในปัจจุบนั ส�ำหรับประเทศไทย กรมส่งเสริมการค้า ระหว่ า งประเทศ สมาพั น ธ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไลฟ ์ ส ไตล์ ไ ทย และสมาคมของขวั ญ ของช�ำร่ ว ยไทยและของตกแต่ ง บ้ า น คาดการณ์วา่ ในปี พ.ศ. 2560 ตลาดสินค้า กลุ่มไลฟ์สไตล์ ของขวัญ และของช�ำร่วย จะยังเติบโตต่อเนื่องที่ระดับ 2% โดยมี

อ้างอิง : กรมการค้าระหว่างประเทศ (2559), Technavio (2559), thumbsup (2558)

ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ อาเซียน และยุโรป ตามล�ำดับ ส�ำหรับตลาดในประเทศคาดว่าจะ เน้ น ไปที่ สิ น ค้ า ของที่ ร ะลึ ก จึ ง นั บ เป็ น โอกาสดี ข องผู ้ ป ระกอบการสิ น ค้ า ของ ที่ ร ะลึ ก ไทยที่ จ ะได้ มี ก ารปรั บ แผนใน การพัฒนาสินค้าของที่ระลึกท้องถิ่นด้วย ความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ เพิม่ ยอดจ�ำหน่าย ในประเทศและเพิ่มโอกาสในการส่งออก ให้ ม ากขึ้ น โดยเน้ น การออกแบบเพื่ อ เพิ่มมูลค่าและคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ น�ำศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยมาใช้ เพื่อสร้างความแตกต่างให้แก่ผลิตภัณฑ์ และปรับรูปแบบให้ตรงตามความต้องการ ของผูบ้ ริโภคให้มากทีส่ ดุ

7/12/17 06:37


GOOGLE SIGHTSEEING แบบอย่างของ Tourism KM อ้างอิง : William Davis (2555)

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 19

INSIDE OKMD

วิลเลียม เดวิส (William Davis) ซึ่ง ท�ำการศึกษาเรื่อง Knowledge Tourism หรื อ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ความรู ้ ระบุ ว ่ า Knowledge Tourism แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ Active หรือการแลกเปลีย่ นข้อมูลเชิง วัฒนธรรมการท่องเทีย่ ว กับ Exploitation หรื อ การน�ำข้ อ มู ล เชิ ง วั ฒ นธรรมการ ท่องเที่ยวมาจัดระบบให้กลายเป็นการ จัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ย องค์ความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยว และ การจัดการความรูใ้ นประเด็นการท่องเทีย่ ว เชิงความรู้ โดยมีการเชือ่ มโยงองค์ความรู้ ระหว่างหน่วยงานทีก่ �ำกับดูแลการท่องเทีย่ ว ทั่วโลกกับบรรดานักท่องเที่ยวต่างๆ ทั้ง นักท่องเที่ยวในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว ระหว่างประเทศ

K

ภาพ : http://googlesightseeing.com

เห็นได้ว่า Knowledge Tourism ใน ความหมายของเดวิสแตกต่างจากความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ความรู ้ ทั่ ว ไปที่ มั ก เข้ า ใจกั น ว่ า เป็ น การ ท่องเทีย่ วตามพิพธิ ภัณฑ์หรือแหล่งเรียนรู้ ตัวอย่างของ Knowledge Tourism ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมและเป็ น ต้ น แบบอั น ยอดเยีย่ ม (Best Practice) ได้แก่ Google Sightseeing เว็บไซต์ทเี่ ก็บรวมรวมข้อมูล และเชื่ อ มโยงองค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ การ ท่องเที่ยว โดยมีนักท่องเที่ยวเป็นผู้บรรจุ เรือ่ งราวการท่องเทีย่ ว ซึง่ ประกอบด้วยข้อมูล สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว รายละเอียดการเดินทาง และภาพถ่ายสถานที่จริง โดยน�ำเสนอใน รู ป แบบสตรี ท วิ ว (Street View) ผ่ า น แอปพลิเคชันและซอฟต์แวร์ของ Google คือ Google Maps และ Google Earth Google Sightseeing จึงตอบโจทย์ แนวคิ ด Knowledge Tourism ของ เดวิสทั้งด้าน Active และ Exploitation

19

ในยุค 4.0 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เข้ามามีส่วนช่วยอ�ำนวยความสะดวกและสร้างความก้าวหน้า ในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในด้านการจัดการความรู้ การ ท่องเทีย ่ วเองก็เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งซึ่งใช้ประโยชน์จากนวัตกรรม และ ICT เพื่อยกระดับการจัดการความรูด ้ า้ นการท่องเทีย ่ ว และ สร้างสังคมแห่ง Knowledge Tourism ทีเ่ ข้มแข็งยิง่ ขึ้น จากกิ จ กรรมการแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล เชิ ง วั ฒ นธรรมการท่ อ งเที่ ย วของเหล่ า นั ก ท อ งเที่ ย ว และการน�ำข้ อ มู ล เชิ ง วัฒนธรรมการท่องเที่ยวมาจัดระบบตาม รูปแบบการจัดการองค์ความรู้ เพื่อสร้าง ศูนย์กลางข้อมูลการท่องเที่ยวที่ช่วยให้ ผูเ้ ข้าชมรูส้ กึ เหมือนได้เดินทางรอบโลกโดย ไม่ตอ้ งออกจากบ้าน ทีส่ �ำคัญคือเป็นการรวบรวมองค์ความรู้ เกี่ยวกับการเดินทางจากตัวนักท่องเที่ยว เอง ท�ำให้ได้ขอ้ มูลทีแ่ ตกต่างไปจากข้อมูล ทีอ่ ตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ วเคยน�ำเสนอไว้ เป้ า หมายสู ง สุ ด ของ Google Sightseeing จึงไม่เพียงตอบโจทย์ทฤษฎี Knowledge Tourism อย่ า งครบถ้ ว น และรอบด้าน แต่ยังหวังจะสถาปนาเป็น ระบบการจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management System ด้านการท่องเทีย่ ว อย่างสมบูรณ์แบบยิง่ ขึน้ ต่อไปในอนาคต

7/12/17 06:37


ภาพ : https://projectfandom.com/i-cried-atthe-museum-of-pop-culture/

5

เมืองน่าเรียนรู้รอบโลก

ใ น บ ร ร ด า ก า ร เ รี ย น รู้ รูปแบบต่างๆ หนึ่งในการเรียนรู้ ที่ ส นุ ก สนาน ผ่ อ นคลาย และ น่ า สนใจที่ สุ ด คงหนี ไ ม่ พ้ น การ “เที่ยวไปเรียนรู้ไป” ตามแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วต่ า งๆ ด้ ว ยรู ป แบบ การท่ อ งเที่ ย วที่ แ ต่ ล ะคนสนใจ ไม่ ว่ า จะเป็ น การเดิ น ทางเพื่ อ เรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต และวั ฒ นธรรม ท้องถิ่น การเที่ยวชมธรรมชาติ การท่องเทีย ่ วผจญภัย การเทีย ่ ว ชมสถาปั ตยกรรม การเดินทาง เข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรี และ อืน ่ ๆ อีกมากมาย ฉบั บ นี้ ข อแนะน� ำ 5 เมื อ ง น่าสนใจที่สามารถท่องเที่ยวเชิง ความรู้ ช่วยเปิดหูเปิดตา เปิดสมอง และเปิดประสบการณ์ชวี ต ิ ใหม่ๆ ให้แก่นก ั ท่องเทีย ่ วทีม ่ าเยือน

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 20

เทีย ่ ว | สร้างสรรค์ Seattle, USA ซีแอตเทิล (Seattle) เป็นเมืองทีม่ ชี อื่ เสียงด้านดนตรี ศิลปะ และเทคโนโลยี เห็นได้จากการมีไนต์คลับเพลงแจ๊สจ�ำนวนมาก เป็นบ้านเกิดของต�ำนาน เพลงร็ อ ก จิ ม มี เฮนดริ ก ซ์ (Jimi Hendrix) เป็ น ต้ น ก�ำเนิ ด ของแนวเพลง อัลเทอร์เนทีฟร็อกที่รู้จักในชื่อ “กรันจ์” (Grunge) และยังถือเป็นศูนย์กลาง ภูมภิ าคในด้านศิลปะการแสดง (Performing Art) จึงสามารถท่องเทีย่ วเชิงความรู้ ได้หลากหลาย เช่น เทีย่ วพิพธิ ภัณฑ์และห้องสมุดอย่าง The Museum of Pop Culture (MoPOP) ซึง่ จะช่วยเติมเต็มแรงบันดาลใจในด้านวัฒนธรรมร่วมสมัย ต่างๆ ในรูปแบบนิทรรศการ เวิร์กช็อป และแคมป์ หรือเรียนรู้ไปกับ Seattle Central Library ซึ่งเป็นห้องสมุดสาธารณะระดับเมืองที่มีความทันสมัยจนได้ รับการขนานนามให้เป็น “ห้องสมุดต้นแบบแห่งศตวรรษที่ 21”

เทีย ่ ว | วัฒนธรรม Kanazawa, Japan คานาซาวะ (Kanazawa) เป็นเมืองทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะหลายอย่าง ที่น่าสนใจ เน้นน�ำเสนอแง่มุมความเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่ต้องการให้ผู้คนได้ร่วมประสบการณ์และเป็นส่วนหนึ่งของเมืองผ่าน การเทีย่ วชมสถานทีแ่ ละผลงานสร้างสรรค์ตา่ งๆ อาทิ สถานทีส่ �ำคัญทาง ประวัตศิ าสตร์ พิพธิ ภัณฑ์ศิลปะ งานหัตถกรรมดัง้ เดิม วรรณคดี และ อาหาร โดยมีการวางระบบการทัศนาจรทางรถรอบเมืองไปยังแหล่ง ศิลปวัฒนธรรมทัง้ เก่าและใหม่ เพือ่ ให้เกิดการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ ตรงทีไ่ ด้จากการเดินชม ลองท�ำ ลองเล่น และลองชิม ในปี พ.ศ. 2552 คานาซาวะได้รับการจัดให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ด้าน “หัตถกรรมและ ศิลปะพื้นบ้าน” จากเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ (Creative Cities Network) ของยูเนสโก (UNESCO)

ภาพ : http://yamatopeople.blogspot.com/2015/02/ photo-tour-kanazawa-cityishikawa_16.html

5IVE

5

20

เที่ยวไป เรียนรู้ไป ใน

7/12/17 06:37


เทีย ี วี ต ิ ่ ว | วิถช Ban Mae Kampong, CHIANG MAI

21

หมู่บ้านแม่ก�ำปอง เป็นชุมชนเล็กๆ ที่โอบล้อมด้วยธรรมชาติอันสมบูรณ์ อากาศบริสทุ ธิ์ และวิถชี วี ติ เรียบง่ายซึง่ ได้รบั การอนุรกั ษ์จากคนในชุมชน จึงเหมาะ ส�ำหรับการเที่ยวชมธรรมชาติและเรียนรู้วิถีชีวิตชาวบ้านไปพร้อมกัน โดยมีทั้ง แหล่งศึกษาธรรมชาติ เช่น น�ำ้ ตก ถ�ำ้ และเส้นทางเดินป่า ไปจนถึงแหล่งเรียนรู้ ด้านการเกษตร เช่น ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงตีนตก ซึง่ เป็นแหล่งพัฒนา สาธิต และส่งเสริมการเพาะเห็ดหอมและกาแฟ ศูนย์การเรียนรู้บ้านวังปลา ศูนย์ผลิต หมอนใบชาบ้านป๊อก ศูนย์ผลิตหมอนใบชาบ้านก�ำปอง และหมูบ่ า้ นเชิงอนุรกั ษ์ เป็นต้น

5 5IVE

เทีย ่ ว | นิเวศ Hallstatt, Austria ฮัลล์ชตัทท์ (Hallstatt) ได้ชอื่ ว่าเป็นเมืองริมทะเลสาบทีส่ วยทีส่ ดุ ในโลก ทัง้ ยังขึน้ ชือ่ เรือ่ งเป็นแหล่งผลิต “ทองค�ำสีขาว” หรือ เกลือ มา ตัง้ แต่ในอดีต ปัจจุบนั เหมืองเกลือเก่าแก่อย่าง Salzwelten ทีม่ อี ายุ มากกว่า 7,000 ปี กลายเป็นจุดท่องเที่ยวส�ำคัญที่เปิดให้เที่ยวชม และเรียนรู้เกี่ยวกับความส�ำคัญของเกลือและการท�ำเหมืองเกลือ เปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ผ่านแหล่งเรียนรู้ของจริง ในปี พ.ศ. 2540 ฮัลล์ชตัทท์ ได้ขนึ้ ทะเบียนเป็นมรดกโลกประเภท Cultural Landscape จาก UNESCO ในฐานะเมืองทีม่ กี ารผสมผสานระหว่าง ภูมิประเทศสวยงาม วัฒนธรรมเก่าแก่ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทีส่ �ำคัญในอดีต

เทีย ่ ว | ผจญภัย Leh Ladakh, India เลห์ ลาดักห์ (Leh Ladakh) เป็นเมืองในวงล้อมของภูเขา หิมะ ด้วยภูมปิ ระเทศทีส่ งู ชัน ถนนทีท่ อดผ่านทิวทัศน์งดงามแต่ สมบุกสมบัน และภูมิอากาศทรหด ท�ำให้เป็นเมืองในฝันของ นักเดินทางที่ชอบการผจญภัยและแสวงหาการเรียนรู้วิถีชีวิต ผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวในอีกรูปแบบหนึ่ง ไม่ว่าจะ เป็นการเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ และวัฒนธรรมของชาวท้องถิน่ ซึง่ ส่วนใหญ่ เป็นชาวอารยันและทิเบต รวมถึงการศึกษาธรรมชาติและกิจกรรม แนวผจญภัย อาทิ ปีนภูเขาน�้ำแข็ง เดินป่า ล่องแก่ง และขี่อูฐ ข้ามทะเลทราย เป็นต้น

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 21

7/12/17 06:37


ภาพ : http://www.edtguide.com/ travel/382465/national-geological-museum

JAN SEP 2017 พิพิธภัณฑ์การเกษตร เฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดปทุมธานี

เกษตร-พอเพี ยง ท่ อ งเที่ ย วสุ ข สั น ต์ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ กษตรฯ พร้ อ มเรี ย นรู ้ พระอัจฉริยภาพด้านเกษตรและเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ผ่านการลงมือปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับ นวัตกรรมเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมชมนิทรรศการและ ภาพยนตร์แอนิเมชัน 3 มิติ ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 - 3 ของเดือน

ไดโนเสาร์ไทย พิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติธรณีวิทยา เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี

ท่องเที่ยวและเรียนรู้ด้านธรรมชาติวิทยาและธรณีวิทยา ผ่านการการจัดแสดงซากโครงกระดูกไดโนเสาร์และหุน่ จ�ำลอง ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทย อาทิ สยามโมไทรันนัส และ ภูเวียงโกซอรัส สิรนิ ธรเน พร้อมด้วยนิทรรศการประวัตไิ ดโนเสาร์ แบบ 3 มิติ และตัวอย่างหินจากยุคต่างๆ

ฉลาดใช้พลังงาน ภาพ : https://board.postjung. com/653524.html

WHAT’S GOING ON

W

22

ภาพ : http://oknation.nationtv.tv/blog/ countrygirl/2013/01/23/entry-1

WHAT’S GOING ON

อาคาร อนุรักษ์ พลังงาน เฉลิมพระเกียรติ เทคโนธานี จังหวัดปทุมธานี

15 SEP 2017

ภาพ : http://maemohmine.egat. co.th/museum/

กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา นครราชสี มา

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 22

28-30 NOV 2017 พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ ศึกษา-เหมืองแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง

ท่องเที่ยวและเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน และการใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ส�ำหรั บ ภาค อุตสาหกรรม ภาคอาคารธุรกิจ และประชาชนทั่วไป โดย สามารถเข้าเยี่ยมชมและศึกษาเรียนรู้ข้อมูลด้านการอนุรักษ์ พลังงานแบบไม่มคี า่ ใช้จา่ ย ในวันและเวลาราชการ

ดาวเสาร์ใกล้โลก ท่องเที่ยวและเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ผ่านการสัมผัส ประสบการณ์จริงในช่วงเวลาทีด่ าวเสาร์โคจรมาอยูใ่ นต�ำแหน่ง ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ในวันที่ 15 ก.ย. 2560 ณ จุดสังเกตการณ์ หลัก ได้แก่ สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กรุ ง เทพมหานคร และหอดู ด าวเฉลิ ม พระเกี ย รติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ใน 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา และ นครราชสีมา

รูเ้ รือ ่ งเหมืองถ่านหิน ท่องเทีย่ วและเรียนรูเ้ รือ่ งแหล่งทรัพยากรทีม่ คี า่ ต่อเศรษฐกิจ และสังคม โดยมีกิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยว อาทิ เยี่ยมชม พิพธิ ภัณฑ์ฯ นัง่ รถบัสชมทุง่ บัวตอง และชมขอบบ่อเหมือง เป็นต้น กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานเทศกาลท่องเที่ยวประจ�ำปี แม่เมาะ ครัง้ ที่ 15

7/12/17 06:37


ต้นแบบ

เมืองเศรษฐกิจ ความรู้ 23

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 23

กลยุทธ์ที่ได้รับความนิยมในการสร้างความ ยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคม และการเจริญ เติ บ โตของเมื อ งในศตวรรษที่ 21 ซึ่ ง เป็ น ยุคหลังอุตสาหกรรม ภายใต้กรอบแนวคิด ว่า องค์ความรู้เป็นปัจจัยหลักในการสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันในทุกๆ ด้าน และมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาประเทศ กระบวนการส�ำคัญคือการสร้างส�ำนึก ความเป็ น เจ้ า ของระบบนิ เ วศความรู ้ ข อง ประชาชนในจังหวัดล�ำปาง โดยใช้แนวคิด นวั ต กรรมแบบเปิ ด ในการถ่ า ยโอนข้ อ มู ล สารสนเทศ และองค์ ค วามรู ้ จ ากทุ ก ฝ่าย อั น น�ำไปสู ่ ก ารบริ ห ารและพั ฒ นาระบบ การเรียนรู้ที่พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ได้ ต ลอดเวลา ขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น ระบบ นิเวศที่พร้อมแบ่งปันและเกื้อกูลทรัพยากร ทางความรูร้ ว่ มกัน ผลลัพธ์ทไี่ ด้คอื เครือข่าย ทางความรู้ที่เ ข้มแข็งของจังหวัดล�ำปางที่ สามารถเชื่ อ มโยงความรู ้ ร ะหว่ า งภาครั ฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม

SPECIAL FEATURE

ประเทศไทยในยุ ค 4.0 เอง ก็ ก�ำลั ง มุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม รวมถึ ง การเสริ ม สร้ า งรากฐานที่ ส�ำคั ญ ก็คอื “องค์ความรู”้ การพัฒนาองค์ความรูใ้ ห้ สอดคล้องกับยุคศตวรรษที่ 21 ตามนโยบาย Thailand 4.0 จึงเป็นภารกิจทีส่ �ำคัญประการ หนึง่ ของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ซึง่ เป็นหน่วยงานทีม่ บี ทบาท ในด้ า นการพั ฒ นาความรู ้ แ ละความคิ ด สร้างสรรค์ของประชาชนผ่านกระบวนการ เรียนรู้สาธารณะทั้งในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค จึงได้จัดท�ำต้นแบบเมืองเศรษฐกิจ ความรู้จังหวัดล�ำปางขึ้น โดยผ่านการศึกษา เปรียบเทียบปัจจัยที่ก�ำหนดความส�ำเร็จของ 3 เมื อ งเศรษฐกิ จ ความรู ้ ใ นระดั บ Best Practice ได้แก่ กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ ชุมชนแห่งความรูว้ นั - นอร์ท ประเทศสิงคโปร์ และเมืองเกียวโต ประเทศญีป่ นุ่ การพัฒนาเมืองเศรษฐกิจความรูถ้ อื เป็น

S

Francisco Javier Carrillo (2006) ได้กล่าวถึง “เมืองแห่งความรู้” ไว้ในบทความวิชาการเรื่อง The Century of Knowledge Cities ว่า ศตวรรษที่ 21 เป็นยุคของเมืองแห่งความรู้ ซึ่งหมายถึงยุคเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร หรือยุคที่โลกขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ได้อย่างไม่สนิ้ สุด ต้นแบบเมืองเศรษฐกิจความรู้จังหวัด ล�ำปางจึงเป็นการบูรณาการความรู้ทั้งหมด ของจังหวัดล�ำปาง อันได้แก่ แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญ ั ญา และชุดข้อมูล จากกลุม่ เป้าหมาย เช่ น อุ ต สาหกรรมเซรามิ ก และรถม้ า การ ท่องเทีย่ ว แหล่งอารยธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสถานทีส่ �ำคัญ เป็นต้น ผ่านการรวบรวม เรียบเรียง วางโครงสร้าง และจัดเก็บด้วย ระบบสารสนเทศและเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนใน พืน้ ที่ และพัฒนาแนวทางขับเคลือ่ นต้นแบบ เมื อ งเศรษฐกิ จ ความรู ้ จั ง หวั ด ล�ำปาง ทั้ ง ระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว ต้นแบบเมืองเศรษฐกิจความรู้จังหวัด ล�ำปางจึงเป็นกรณีศกึ ษาทีส่ �ำคัญส�ำหรับการ ต่อยอดและพัฒนาเมืองเศรษฐกิจความรู้ใน จังหวัดอืน่ ๆ ต่อไปในอนาคต และทีส่ �ำคัญจะ เป็นการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงความรูเ้ พือ่ น�ำ มาซึง่ การพัฒนาเมืองอย่างยัง่ ยืนต่อไป

7/12/17 06:37


www.okmd.tv

OKMD Issue 05-FINAL 3.indd 24

และ www.facebook.com/OKMDinspire

7/12/17 06:37


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.