ป่า ของประเทศไทย

Page 1

ธวัชชัย สันติสุข

ISBN 978-616-316-015-7

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ธวัชชัย สันติสุข

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คํานําในการพิมพครั้งที่ 3 หนังสือ “ปาของประเทศไทย” ฉบับพิมพครั้งแรก พ.ศ. 2549 และฉบับพิมพครั้งที่สอง พ.ศ. 2550 โดยกรม อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื ไดรบั ความสนใจจากผูอ า นจํานวนมาก จนมีจาํ นวนไมเพียงพอกับความตองการ สํานักงานหอพรรณไมซงึ่ ในปจจุบนั สังกัดสํานักวิจยั การอนุรกั ษปา ไมและพันธุพ ชื กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุ พืช จึงไดจดั พิมพหนังสือ “ปาของประเทศไทย” ขึน้ เปนครัง้ ทีส่ าม โดยมีภาพประกอบและเนือ้ หาสาระเชนเดิม แตมกี าร แกไขเฉพาะคําผิดเทาทีป่ รากฏเพิม่ เติมเทานัน้ นอกจากนัน้ ยังไดปรับปรุงรูปเลมใหมใหดสู วยงามและเปนสัดสวนมากขึน้ ผูเ ขียนขอเรียนย้าํ วาเกณฑการจําแนกประเภทปาไมและสังคมพืชของประเทศไทยของหนังสือเลมนีอ้ ยูใ นกรอบกวางตาม แนวคิดที่วา ปาไมและสังคมพืชไดพัฒนาขึ้นมาตามธรรมชาติในชวงระยะเวลาอันยาวนานภายใตอิทธิพลของปจจัยสิ่ง แวดลอมในเขตรอนจนอยูในภาวะสมดุลสุดยอด (climax) เกือบสุดยอด (subclimax) หรืออยูในภาวะสุดยอดอันเนื่อง มาจากชีวปจจัย (disclimax) ในอดีตจนถึงปจจุบัน มีความสับสนเปนอยางมากในการเรียกชื่อและจําแนกประเภทปา ไมและสังคมพืชของประเทศไทย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากการนําแนวคิดและเกณฑการจําแนกปาไมและสังคมพืชตาม แบบนักการปาไมชาวตะวันตกมาใชกบั ปาไมเขตรอน (tropical forest) ซึง่ มีปจ จัยสิง่ แวดลอม โครงสรางของปาและองค ประกอบของพรรณพฤกษชาติในปาแตกตางโดยสิน้ เชิงจากปาไมเขตอบอุน (temperate forest) ปาผสมผลัดใบเขตรอน (tropical mixed deciduous forest) และปาผสมผลัดใบเขตอบอุน (temperate mixed deciduous forest) มีความ แตกตางกันอยางชัดเจน เนือ่ งจากถูกควบคุมโดยปจจัยหลักเกีย่ วกับอุณหภูมทิ แี่ ตกตางกัน การจําแนกปาไมออกเปนปา ไมเนือ้ ออน (softwood) และปาไมเนือ้ แข็ง (hardwood) ตามเกณฑการจําแนกประเภทปาเขตอบอุน จึงไมสามารถนํา มาประยุกตใชกบั ปาเขตรอนของประเทศไทย ซึง่ สวนใหญเปนปาไมเนือ้ แข็งแทบทัง้ สิน้ ผูเ ขียนไดนาํ ความรูด า นนิเวศปา ไมและพฤกษศาสตรปา ไมทไี่ ดศกึ ษาจากมหาวิทยาลัยทัง้ ในและตางประเทศ ตลอดจนความเชีย่ วชาญและประสบการณ ในการปฏิบัติงานภาคสนาม ในปาทั่วทุกภาคในประเทศไทยติดตอกันเปนเวลานานกวาสี่ทศวรรษ มาประมวลขึ้นเปน หนังสือ “ปาของประเทศไทย” ผูเขียนหวังวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนไมมากก็นอยตอผูอานที่มีความสนใจดาน พฤกษนิเวศ นิเวศปาไม พฤกษศาสตรปาไมและธรรมชาติวิทยาทั่วไปของประเทศไทย และขอนอมรับขอผิดพลาดอัน พึงจะบังเกิดและขอวิจารณสําหรับแกไขปรับปรุงในการจัดพิมพครั้งตอไป และขอขอบคุณกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ที่ไดสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ “ปาของประเทศไทย” ขึ้นใหมเปนครั้งที่สาม

ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ธวัชชัย สันติสุข, ราชบัณฑิต ที่ปรึกษาดานพฤกษศาสตรปาไมและความหลากหลายทางชีวภาพ สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรกฎาคม ๒๕๕๕

3


สารบัญ

4

หนา

คํานํา

5

บทนํา

7

ปาของประเทศไทยและปจจัยที่เกี่ยวของกับชนิดของปาไม ลมฟาอากาศ (climatic) ชนิดของดิน-หิน (edaphic) ความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง (elevation) ชีวปจจัย (biotic)

9 9 9 13 13

ชนิดปาของประเทศไทย ปาไมผลัดใบ (evergreen forest) ปาดิบชื้น (tropical evergreen rain forest หรือ tropical rain forest) ปาดิบแลง (seasonal rain forest, semi-evergreen forest หรือ dry evergreen forest) ปาดิบเขาต่ํา (lower montane rain forest) ปาไมกอ (lower montane oak forest) ปาไมกอ-ไมสน (lower montane pine-oak forest) ปาไมสนเขา (lower montane coniferous forest) ปาละเมาะเขาต่ํา (lower montane scrub) ปาดิบเขาสูงหรือปาเมฆ (upper montane rain forest หรือ cloud forest) ปาละเมาะเขาสูง (upper montane scrub) แองพรุภูเขา (montane peat bog หรือ sphagnum bog) ปาชายเลนหรือปาโกงกาง (mangrove forest) ปาพรุ (peat swamp forest หรือ coastal peat swamp forest) ปาบึงน้ําจืด หรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest) สังคมพืชชายหาด (strand vegetation) ปาผลัดใบ (deciduous forest) ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบ (mixed deciduous forest) ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest หรือ dry dipterocarp forest) ปาเต็งรัง-ไมสน (pine-deciduous dipterocarp forest) บรรณานุกรม ดรรชนีชื่อพรรณไม

13 13 14 21 33 39 45 48 48 56 59 63 65 71 73 78 81 81 91 99 104 105


บทนํา ประเทศไทยตั้งอยูระหวางเสนละติจูด (เสนรุง) 5 ํ–21 ํ เหนือ และระหวางเสนลองจิจูด (เสน แวง) ที่ 97 ํ–106 ํ ตะวันออก มีเนื้อที่ท้งั หมดประมาณ 320,696,888 ไร หรือประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร มีระยะทางจากเขตแดนใต ดานทิศเหนือถึงใตสดุ ประมาณ 1,620 กิโลเมตร สวนกวาง ทีส่ ดุ จากเขตแดนทิศตะวันออกถึงเขตแดนทิศตะวันตกประมาณ 750 กิโลเมตร พืน้ ทีต่ งั้ ของประเทศไทย จึงอยูในภูมิอากาศเขตรอน (tropic) เนื่องจากมีระยะหางของเสนละติจูดไมมากนัก อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีเทือกเขาสูงตามภูมิภาคตางๆ ที่กอใหเกิดความแตกตางของลมฟาอากาศเฉพาะแหลง (microclimate) นอกจากนีย้ ังมีความแตกตางของสภาพดินหิน และภูมิประเทศ เหลานีเ้ ปนปจจัยรวมที่ กอใหเกิด ความหลากหลายทางชีวภาพในอัตราสูงขึ้นไดในประเทศ ไดแก ความหลากหลายของระบบ นิเวศหรือถิ่นที่อยู หรือชนิดปาที่หลากหลาย (habitat diversity) ความหลากหลายของชนิด (species diversity) ตลอดจนความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) เมื่อป พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีปาปกคลุมพื้นที่ถึง 171 ลานไร (หรือประมาณรอยละ 53) เนือ้ ทีป่ า ของประเทศ ไดถกู ทําลายและใชประโยชนจากการเพิม่ ของประชากร และการพัฒนาสังคมและ เศรษฐกิจของประเทศอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในชวงหาทศวรรษที่ผานมา จนในป พ.ศ. 2551 เนือ้ ที่ปา ของประเทศลดลงเหลือเพียง 96 ลานไร (หรือประมาณรอยละ 30) พื้นที่ปาที่เหลือสวนใหญกระจาย ตามเทือกเขาแนวชายแดนไทย-พมา เขตจังหวัดเชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน ตาก กาญจนบุรี และ เพชรบุรี ลงไปถึงภาคใตในเขตจังหวัด ระนอง พังงา สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช จนสุดชายแดนไทยมาเลเซีย ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีเนื้อที่ปาเหลือนอยที่สุด จะพบปากระจายอยูเฉพาะในเขต จังหวัดชัยภูมิ เลย อุดรธานี สกลนคร นครราชสีมา และอุบลราชธานี นอกจากนั้นมีปาอยูบางในบริเวณ รอยตอ 5 จังหวัด ไดแก สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และจันทบุรี พืน้ ทีป่ า และสังคมพืชตามธรรมชาติทเี่ หลือในปจจุบนั สวนใหญอยูใ นพืน้ ทีเ่ ขตปาอนุรกั ษ ไดแก อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และพื้นที่ตนน้ําลําธาร ซึ่งไดรับความคุมครองดวยกฎหมายปา ไมหลายฉบับ ปาและสังคมพืชทุกชนิด ทีเ่ คยมีอยูต งั้ แตดงั้ เดิม ในปจจุบนั ยังคงเหลืออยูบ า งตามพืน้ ทีป่ า อนุรักษทั่วประเทศ ถึงแมวาพื้นที่ปาบางประเภทจะถูกรบกวนและอยูในภาวะถดถอย ปาและสังคมพืช เหลานี้เปนถิ่นที่อยูที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการดํารงอยูของพืช สัตว และจุลินทรีย การบริหารและ การจัดการปาอนุรักษในยุคปจจุบันจึงตองการความเขาใจอยางถองแทเกี่ยวกับ ลักษณะโครงสราง และ องคประกอบของพรรณพืชของปาชนิดตางๆ เพื่อใหปาอํานวยประโยชนอยางยั่งยืนและการอนุรักษ ทรัพยากรปาไมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แนวคิดในการจําแนกประเภทปาไมและสังคมพืชของประเทศไทยในอดีตเปนไปอยางกวางๆ ปา และสังคมพืชบางชนิดถูกจําแนกโดยขาดหลักเกณฑ ทําใหเกิดความสับสนในการเรียกชื่อหรือระบุชนิด ปาและสังคมพืชของประเทศไทย วัตถุประสงคของหนังสือเลมนี้ก็เพื่อหาเกณฑยุติหรือเกณฑที่ยอมรับ กันทัว่ ไป ในการจําแนกประเภทปาและสังคมพืชในเขตรอนโดยเฉพาะของประเทศไทย โดยเนนถึงสภาพ ปาหรือสังคมพืชดัง้ เดิมตามธรรมชาติ ทีไ่ ดพฒ ั นาขึน้ มาในชวงเวลาอันยาวนานจนกลายมาเปนปาสุดยอด (climax forest) โดยใชขอ มูลดานองคประกอบของพรรณพฤกษชาติ (floristic composition) ในปาเปนพืน้ ฐานในการวิเคราะห 5



»†Ò¢Í§»ÃÐà·Èä·Â »˜¨¨Ñ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñºª¹Ô´»†ÒäÁŒ ปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลกอใหเกิดปาและสังคมพืชชนิดตางๆ ในประเทศไทย ไมไดเกิดจากปจจัยหนึ่งปจจัยใดโดยเฉพาะ แตเกิดจากปฏิกิริยารวมกัน ระหวางปจจัยมากนอยแตกตางกันไป (ตารางที่ 1) ปจจัยสําคัญที่กอให เกิดปาหรือสังคมพืชชนิดตางๆ ในประเทศไทย พอสรุปไดอยางกวางๆ คือ 1. ลมฟาอากาศ (climatic) โดยเฉพาะฤดูกาลและปริมาณของฝนเฉลี่ยรายป ตลอดจนการกระจายของฝน (จํานวนวันที่ฝนตก) ในแตละป เนื่องจากประเทศไทยตั้ง อยูในแนวเขตที่มีการแบงแยกฤดูกาลระหวางฤดูฝนและฤดูแลงชัดเจน (seasonal) ไดแก พื้นที่ภาคกลาง (ตั้งแตบริเวณเหนือจังหวัดชุมพร) ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี ปริมาณฝนเฉลีย่ รายปประมาณ 1,050–1,470 มม. จํานวนวันฝนตกเฉลีย่ รายป ระหวาง 75–97 วัน สวนใหญฝนตก ในชวงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม ปาสวนใหญของภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนปาชนิดที่ผลัดใบ (deciduous forest) ในฤดู แลง (พฤศจิกายน–เมษายน) แทบทั้งสิ้น ไดแก ปาเบญจพรรณ หรือ ปาผสมผลัดใบและ ปาเต็งรัง ยกเวนพื้นที่บริเวณหุบเขาที่ชุมชื้น พื้นที่ริมลําธาร แมน้ํา ซึ่งมีความชุมชื้นตลอด ป ปาที่ขึ้นอยูจะเปลี่ยนสภาพไปเปนปาชนิดที่ไมผลัดใบ (evergreen forest) ไดแก ปาดิบ แลง (seasonal rain forest หรือ semi-evergreen forest หรือ dry evergreen forest) พื้นที่ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีปริมาณฝนเฉลี่ยรายปประมาณ 1,760–3,140 มม. จํานวนวันฝนตกเฉลี่ยรายป ระหวาง 102–150 วัน ในเขตจังหวัด ระนอง และตราด บางปปริมาณฝนเฉลี่ยรายปสูงถึง 4,000 มม. ปาสวนใหญของภาคดัง กลาวเปนปาชนิดที่ไมผลัดใบ (evergreen) บริเวณที่มีฝนตกชุกและมีชวงฤดูแลงที่คอน ขางสัน้ หรือเกือบจะไมมฤี ดูกาลทีแ่ บงแยกเปนฤดูแลงและฤดูฝนชัดเจน (everwet) ปาสวน ใหญเปนปาดิบชื้น (tropical evergreen rain forest) ไดแก บริเวณภาคใตตอนลางและ จังหวัดตราด บริเวณอื่นที่มีชวงฤดูแลงชัดเจน (3–4 เดือน) จะมีไมผลัดใบ (deciduous tree) ขึ้นแทรกกระจายในหมูไมไมผลัดใบ (evergreen tree) ปาประเภทนี้จึงมีลักษณะ โครงสรางคลายปาดิบแลงของภาคอืน่ ๆ แตจะแตกตางกันบางในองคประกอบชนิดพรรณ ไม (floristic composition) กลาวไดวา ลมฟาอากาศเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดที่กอใหเกิด ปาชนิดตางๆ (climatic formation) ในประเทศไทย


ภาพที่ 1 แสดงปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายปในประเทศไทยในชวงเวลา 30 ป (พ.ศ. 2494–2523) แหลงขอมูล : กรมอุตุนิยมวิทยา (2525)

8


ภาพที่ 2 แผนภาพ 2-มิติ ของพื้นที่ประเทศไทย ตั้งแตระดับทะเลปานกลาง จนถึงระดับสูงสุดที่ดอย อินทนนท (2,565 เมตร) แสดงการกระจายของปาชนิดตางๆ ในแผนดินที่ไมใชพ้ืนที่ชุมน้ํา (wetland) ทั้งในเขตพื้นที่ระดับต่ํา (lowland zone) ไดแก ปาดิบชื้น TERF, ปาดิบแลง SRF, ปาเบญจพรรณ MDF และปาเต็งรัง DDF และปาในเขตพื้นที่ระดับสูงบนภูเขา (montane zone) ไดแกปาดิบเขาต่ํา LMF และปาดิบเขาสูง UMF ที่มีความสัมพันธกับปจจัยสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะความชุมชื้นในดินและบรรยากาศ (moisture gradient) ในสภาพชุมชื้น (mesic) และสภาพแลง (xeric) เหลานีม้ อี ทิ ธิพลตอชวงเวลาการรวงหลนของใบไม (leaf duration) แบบ ไมผลัดใบ (evergreen) หรือผลัดใบ (deciduous) ลักษณะเรือนยอดชั้นบนของตนไมในปา (main canopy) อาจจะมีเรือนยอดชิดตอเนือ่ งกัน (closed) หรือเรือนยอดเปด (open) ทัง้ นีจ้ ะสัมพันธ กับการปรากฏของพืชพื้นลาง โดยเฉพาะพืชจําพวกหญาและไผ (graminoid undergrowth) ที่ อาจจะมีนอ ยหรือไมปรากฏ (few or none) จนถึงหนาแนน (abundant) ปาเต็งรังบางทองที่ จะมีสนสองใบและสนสามใบ (pines) ขึ้นปะปน (DDF + P) เชนเดียวกับปาดิบเขาต่ําที่ถูก รบกวนหรือปาดิบเขาต่ําแบบทุติยภูมิ (secondary) จะพบ pines ขึ้นปะปนทั่วไป (LMF + P) 9


ตารางที่ 1 ปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอการกระจายของสังคมพืชและปาธรรมชาติชนิดตางๆ ของประเทศไทย

ชนิดปา ปาไมผลัดใบ EVERGREEN FOREST

1. ปาดิบชื้น Tropical evergreen rain forest 2. ปาดิบแลง Seasonal rain f. / Dry evergreen forest 3. ปาดิบเขาต่ํา Lower montane rain forest 4. ปาไมกอ Lower montane oak forest 5. ปาไมกอ-ไมสน Lower montane pine-oak forest 6. ปาไมสนเขา Lower montane coniferous forest 7. ปาละเมาะเขาต่ํา Lower montane scrub 8. ปาดิบเขาสูง Upper montane rain forest 9. ปาละเมาะเขาสูง Upper montane scrub 10. แองพรุภูเขา Montane peat bog or sphagnum bog 11. ปาชายเลน Mangrove forest 12. ปาพรุ Peat swamp forest 13. ปาบึงน้ําจืด, ปาบุง-ทาม Freshwater swamp forest 14. สังคมพืชชายหาด (หาดทรายและโขดหิน) Strand vegetion (sand strand, sand dune & rock strand) ปาผลัดใบ DECIDUOUS FOREST 15. ปาเบญจพรรณ, ปาผสมผลัดใบ Mixed deciduous forest 16. ปาเต็งรัง Deciduous dipterocarp forest 17. ปาเต็งรัง-ไมสน Pine-deciduous dipterocarp forest 10

ปจจัย ลมฟาอากาศ สภาพดิน-หิน ชีวปจจัย

ความสูงจากระดับน้ําทะเล

++

+

–800 (–900)

++

+

–800 (–900)

++

+

(900–) 1000–1800 (–1900)

++

+

+

(700–) 1000–2000

++

++

++

(700–) 1000–1400 (–1800)

++

++

++

++

++

+

++

++

+

1900–2300

++

++

+

1200–2500

+

++

0–20

++

++

0–30

+

++

5–200

+

++

0–20

+

++

++

800 (–900)

+

++

++

–600 (–900)

+

++

++

(70–) 150–1200 (–1350)

1100–1500 +

1200–1800 (1900–) 2000–2565


2. ชนิดของดินหิน (edaphic) บริเวณที่มีดินลึกอุดมสมบูรณ เก็บความชุมชื้นไวไดมากหรือนอยตลอดป จะเปน ปจจัยกําหนดชนิดปาที่ขึ้นอยูแตกตางกันไปไดอยางมาก จากปาบนพื้นที่มีดินตื้น ไมสมบูรณ แหงแลงและไมสามารถเก็บ ความชุม ชืน้ ในดินไวในฤดูแลงได ในทองถิน่ ทีม่ ีฤดูฝนและฤดูแลงแยกกันชัดเจน ปาสวนใหญ จะเปนประเภทปาผลัดใบดัง กลาวแลว ในบริเวณนีห้ ากพืน้ ทีม่ ดี นิ ดีคอ นขางอุดมสมบูรณกจ็ ะเปนปาผสมผลัดใบหรือปาเบญจพรรณ (mixed deciduous forest) โดยเฉพาะถาเปนดินที่สลายมาจากหินปูน (limestone) มักจะพบไมสักขึ้นเปนกลุมๆ หนาแนน สวนในที่ดินตื้น หรือดินปนทราย ดินปนลูกรัง มักจะเปนปาเต็งรัง ปาแดง หรือปาแพะ (deciduous dipterocarp forest) เปนที่นาสังเกต วา ปาเต็งรังชอบดินที่มีสภาพเปนกรด จะไมพบปาเต็งรังตามภูเขาหินปูนทั่วไป จะพบแตเพียงรัง Shorea siamensis ที่ สามารถขึ้นอยูไดในปาผลัดใบตามภูเขาหินปูน พืน้ ทีต่ ามชายฝง ทะเลมีนา้ํ ทะเลทวมถึงเปนดินเลน จะพบปาโกงกางหรือปาชายเลน (mangrove forest) สวนพืน้ ที่ ริมฝงน้ําของแมน้ําหรือลําคลองใหญที่ในฤดูฝนน้ําจะลนตลิ่งเออทวมขังอยูบาง พื้นที่เปลี่ยนสภาพเปนพรุ ปาจะเปนชนิด ปาบึงน้ําจืด หรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest) บางพื้นที่ที่มีการขังของน้ําจืดอยางถาวร และมีการทับถมของ ซากอินทรียวัตถุที่ไมคอยผุสลาย ปาจะมีลักษณะเปนปาพรุ (peat swamp forest) 3. ความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง (elevation) มีความสัมพันธโดยตรงกับอุณหภูมิ (temperature) และความ ชุมชื้นในอากาศ (atmospheric humidity) ภูเขาในเขตรอนจะมีอุณหภูมิลดลง โดยเฉลี่ย 0.4–0.7 oC ตอระดับความสูง ที่เพิ่มขึ้นประมาณ 100 เมตร อุณหภูมิเฉลี่ยยิ่งลดลงมากบนภูเขาสูงประกอบกับความชุมชื้นที่มีมากขึ้น จากเมฆ/หมอก ที่มักจะปกคลุมสันเขาและยอดเขาที่สูงเกินกวา 1,000 เมตร ตั้งแตระดับความสูงประมาณ 1,900–2,565 เมตร จะอยู ในแนวเขตปกคลุมของเมฆ/หมอกเกือบตลอดป บางครั้งเรียกปาในเขตนี้วา “ปาเมฆ” หรือ “cloud forest” ปาสวนใหญ จะเปนประเภทปาไมผลัดใบ ประกอบดวยพรรณไมเขตอบอุน (temperate) และพรรณไมเขตภูเขา (montane) จํานวน มาก (ภาพที่ 3) ภูเขาสูงบางแหงที่มียอดเขาและสันเขาเปดโลงประกอบดวยหินกอนใหญมากกวาชั้นดิน จะมีพรรณไมใน เขตอบอุนขึ้นปกคลุมเปนหยอมเล็กๆ ตามซอกหิน ดูคลายสังคมพืชกลุมอัลไพน (subalpine vegetation) เชนบริเวณ สันเขาและยอดเขาระดับ 1,900–2,180 เมตร บนดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม 4. ชีวปจจัย (biotic) ไดแก ปาที่เกิดขึ้นจากมนุษยที่กอใหเกิดผลกระทบโดยทางตรงหรือทางออม ไฟปาที่เกิดขึ้น ประจําปในชวงฤดูแลงสวนใหญเกิดจากการจุดไฟเผานา-ไร หรือจุดเผาพืชพื้นลางในปา เพื่อลาสัตวหรือเก็บเห็ด ฯลฯ ไฟ ปาทีเ่ กิดขึน้ เปนประจําโดยเฉพาะในปาผลัดใบ ทําใหเกิดปาผสมผลัดใบหรือปาเบญจพรรณและปาเต็งรังขึน้ การเลีย้ งสัตว ในปาและการแผวถางปา ทําใหปาธรรมชาติดั้งเดิมเปลี่ยนสภาพเปนปารุน ปาใสออนหรือปาเหลา (secondary growth) อันทําใหเกิดความสับสนในการระบุสังคมพืชประเภทนี้ที่จัดเปนสังคมพืชในชวงระยะทดแทน (successional stage) ไฟ ปาจัดเปนปจจัยสําคัญทีม่ สี ว นทําใหชนิดปาและสังคมพืชเปลีย่ นแปลงไปได โดยเฉพาะปาผลัดใบทีม่ เี ศษไม ใบไมรว งหลน เปนเชื้อเพลิงอยูมาก จึงเกิดไฟไหมลุกลามไปตามพื้นลางของปาเปนประจําทุกป พรรณไมในปาประเภทนี้ จําเปนจะตอง ปรับตัวใหเขากับไฟปา กลาวคือ มีเปลือกหนา ระบบรากแข็งแรง ทนไฟ เชน พรรณไมในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ซึ่งจัด เปนปาประเภทที่อยูควบคูกับไฟ เรียกวาเปน fire climax community ถาหากปองกันไฟปาไดติดตอกันนานหลายป ชนิด พรรณไมและลักษณะโครงสรางในปาผลัดใบดังกลาวจะเปลี่ยนไป

11


ª¹Ô´»†Ò¢Í§»ÃÐà·Èä·Â

ประเทศไทยประกอบดวยปาหลายชนิด จําแนกออกไดเปนสองประเภทใหญๆ คือ ปาไมผลัด ใบ (evergreen forest) และปาผลัดใบ (deciduous forest) ปาไมผลัดใบ มีเรือนยอดที่ดูเขียวชอุมตลอดป เนื่องจากตนไมแทบทั้งหมดที่ข้นึ เปนประเภท ไมผลัดใบ เชน ปาดิบชืน้ อยางไรก็ตาม จะพบไมตน ผลัดใบขึน้ แทรกในชัน้ เรือนยอดทีเ่ ขียวชอุม อยูบ า ง ขึน้ อยูก บั ดินฟาอากาศและความชุมชื้นในดิน พื้นที่ใดที่มีความชุมชื้นไมสม่ําเสมอตลอดปหรือมีชวงฤดู แลงนาน จะพบไมตนผลัดใบขึ้นปะปน กระจายอยูใ นชัน้ เรือนยอดมากขึน้ เชน ปาดิบแลง แตกลาว โดยรวมแลว เรือนยอดของปาดิบแลงยังคงปรากฏ เปนสีเขียวตอเนื่องตลอดทั้งป ปาไมผลัดใบใน ประเทศไทย จําแนกออกเปนชนิดหลัก ได 14 ชนิด ดังนี้ 1. ปาดิบชื้น (tropical evergreen rain forest หรือ tropical rain forest) 2. ปาดิบแลง (seasonal rain forest หรือ semi-evergreen forest หรือ dry evergreen forest) 3. ปาดิบเขาต่ํา (lower montane rain forest) 4. ปาไมกอ (lower montane oak forest) 5. ปาไมกอ-ไมสน (lower montane pine-oak forest) 6. ปาไมสนเขา (lower montane coniferous forest) 7. ปาละเมาะเขาต่ํา (lower montane scrub) 8. ปาดิบเขาสูงหรือปาเมฆ (upper montane rain forest หรือ cloud forest) 9. ปาละเมาะเขาสูง (upper montane scrub) 10. แองพรุภูเขา (montane peat bog หรือ sphagnum bog) 11. ปาชายเลนหรือปาโกงกาง (mangrove forest) 12. ปาพรุ (peat swamp forest) 13. ปาบึงน้ําจืด หรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest) 14. สังคมพืชชายหาด (strand vegetation) ตามหาดทราย (sand strand) และโขดหิน (rock strand)

12


»†ÒäÁ‹¼ÅÑ´ãº

(evergreen forest)

13


1

»†Ò´Ôºª×é¹

(tropical evergreen rain forest ËÃ×Í tropical rain forest)

ปาดิบชื้นจัดเปนปาฝนในเขตรอน (tropical rain forest) บนพื้นที่ที่ มีฝนตกชุกเกือบตลอดป และมีความชุม ชืน้ ในดินคอนขางสูงสม่าํ เสมอทัง้ ป ไดแก ภาคใตตอนลางตั้งแตจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง ลงไป ปาดิบชื้น ในเขตจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส มีลักษณะคลายคลึงกับปาดิบ ชื้นในประเทศมาเลเซีย ปาดิบชื้นขึ้นปกคลุมเทือกเขาที่มีความชุมชื้น เชน ปาดิบชืน้ ในอุทยานแหงชาติเขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปาดิบชืน้ ใน เขตรักษาพันธุส ตั วปา เทือกเขาบรรทัด จังหวัดตรัง และพัทลุง และปาดิบชืน้ ในเขตรักษาพันธุสัตวปาฮาลาบาลา จังหวัดยะลา และนราธิวาส นอกจาก นี้ยังพบปาดิบชื้นในเขตพื้นที่ฝนตกชุกปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายปสูง บริเวณ จังหวัดจันทบุรีตอนลาง ตลอดเขตจังหวัดตราด ปาดิบชื้นมีลักษณะโครงสรางเปนปารกทึบ ประกอบดวยพรรณไมหลายรอยชนิด ไมตนของเรือนยอดชั้นบน สวนใหญเปนไมวงศยาง-ตะเคียน (Dipterocarpaceae) มี ลําตนสูงใหญเปลาตรงตั้งแต 30–50 เมตร ถัดลงมาเปนไมตนขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งสามารถขึ้นอยูใตรมเงาของไมใหญไดรวมทั้งตนไมชนิดตางๆ ในวงศหมากหรือปาลม (Palmae) พื้นลางของปารกทึบระเกะระกะไปดวยไมพุม พืชลมลุก ระกํา หวาย ไผตางๆ เถาวัลยหลากชนิด ตามลําตนไมและกิง่ ไมมกั จะมีพชื อิงอาศัย (epiphyte) จําพวกเฟน และ มอส ขึ้นอยูทั่วไป พรรณไมเดนของวงศ Dipterocarpaceae ที่สําคัญ เชน ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii, ยางยูง D. grandiflorus, ยางเสียน D. gracilis, ยางวาด D. chartaceus, ยางกลอง D. dyeri, ยางเกลีย้ ง D. hasseltii, กะบาก Anisoptera curtisii, ตะเคียนชันตาแมว Neobalanocarpus heimii, เคีย่ ม Cotylelobium lanceolatum, ไขเขียว Parashorea stellata,ตะเคียนทอง Hopea odorata, ตะเคียนขาว H. pedicellata, ตะเคียน แกว H. sangal, ตะเคียนราก H. latifolia, แอก Shorea glauca, สยา S. laevis, กาลอ S. faguetiana, ตะเคียนสามพอน S. gratissima, กะบากหิน S. hypochra, สยาเหลือง S. 14


ปาดิบชื้น เขตรักษาพันธุ สัตวปาฮาลาบาลา จังหวัด นราธิวาส-ยะลา

เรือนยอดชั้นบนของปาดิบชื้นทางภาค ใตตอนลาง สวนใหญเปนพรรณไมวงศ ยาง (Dipterocarpaceae) ในภาพ เปนกลุมไมสยาเหลือง Shorea curtisii ขึ้นตามไหลเขาและสันเขาใน ปาดิบชื้น (ระดับสูง) บางครั้งเรียกวา hill dipterocarp forest

15


curtisii, มารันตี S. dasyphylla, สยาขาว S. leprosula, ชันหอย S. macroptera, สยาเหลือง S. parvifolia, มารันตี-เสงวาง S. singkawang, พันจําดง Vatica lowii, พันจํา V. odorata พรรณไม ใ นวงศ อื่ น ที่ สํ า คั ญ เช น หลุ ม พอ Intsia palembanica, สะตอ Parkia speciosa, เหรียง P. timoriana, แซะ Callerya atropurpurea, เนียง Archidendron jiringa, มะคะ Cynometra malaccensis, แมงคะ C. ramiflora, ยวน Koompassia excelsa, ยวนผึ้ง K. malaccensis, หยี Dialium indum, หยีทองบึ้ง D. platysepalum, โสกเหลือง Saraca thaipingensis, มะคะขานาง Sindora echinocalyx (Leguminosae–Mimosoideae), พรรณไมหลายชนิดของสกุล คางคาว Aglaia spp., คางคาวอีลิด Dysoxylum spp., สังเครียด Chisocheton spp. (Meliaceae), อินทนิล น้ํา Lagerstroemia speciosa (Lythraceae), ยางนอง Antiaris toxicaria, ขนุนปาน Artocarpus lanceifolius, หาดรุม A. dadah, เอาะ A. elastricus, ขนุนปา A. rigidus (Moraceae), เยลูตง Dyera costulata, ทุงฟา Alstonia macrophylla, สัตบรรณ A. scholaris (Apocynaceae), ทุเรียนดอน Durio lowianus, ทุเรียนนก D. griffithii, ชางแหก Neesia altissima (Bombacaceae), รักปา Semecarpus curtisii, เปรียง Swintonia floribunda, ชันรูจี Parishia insignis, เตยนะ Pentaspadon velutinus, พระเจาหา พระองค Dracontomelon dao (Anacardiaceae), ทายเภาขาว Scaphium linearicarpum, พุงทะลาย S. scaphigerum (Sterculiaceae) และไมตนหลายชนิดของสกุล Syzygium spp. (Myrtaceae), สกุล Goniothalamus spp., Polyalthia spp., Pseuduvaria spp. (Annonaceae) ปาลมตนที่สําคัญ ไดแก ชางไห Borassodendron machadonis, ปาลม บังสูรย Johannesteijsmannia altifrons, หมากพน Orania sylvicola, หลาวชะโอนเขา Oncosperma horridum, ปาลมเจาเมืองตรัง Licuala elegans, ชิง L. distans, หลังกับ Arenga westerhoutii, คอ Livistona speciosa, เตาราง Caryota spp. และหวายอีกหลายชนิด ของสกุล Calamus spp., Daemonorops spp., Korthalsia spp. (Palmae) ปาดิบชืน้ ในเขตจังหวัดจันทบุรตี อนลางและตราด มีไมตน ทีเ่ ดน เชน พระเจาหาพระองค Dracontomelon dao (Anacardiaceae), จันทนชะมด Aglaia silvestris (Meliaceae), มะหาด Artocarpus lacucha (Moraceae), ยางขนุนนก Palaquium obovatum (Sapotaceae), รง Garcinia hanburyi (Guttiferae), พุงทะลาย Scaphium scaphigerum, ทองสุก Heritiera javanica, เสียดชอ H. sumatrana (Sterculiaceae), ชันภู Hopea recopei, ตะเคียนราก H. pierrei, ยางขน Dipterocarpus baudii, ยางกลอง D. dyeri, ชันดํา Shorea guiso, พนอง S. hypochra (Dipterocarpaceae), หยอง Archidendron quocense, เนียง A. jiringa (Leguminosae-Mimosoideae), ปาลมทีพ่ บมากไดแก ระกํา Salacca wallichiana (Palmae)

16


หลังกับ Arenga westerhoutii ใน ปาดิบชื้น อุทยาน แหงชาติเขาหลวง

โสกเหลือง Saraca thaipingensis

ยวน Koompassia excelsa ไมตนผลัดใบใน ปาดิบชื้น ภาคใตตอนลาง ไมหอม Aquilaria malaccensis

17


รักขาว Semecarpus cochinchinensis กอบาน Castanopsis wallichii

ชอผลของชันรูจี Parishia insignis

ปาดิบชื้นฝงทะเลเกาะสุรินทร เรือนยอดสีแดง ไดแก เปรียง Swintonia floribunda ในชวงที่มีชอผล 18


ชมพูน้ํา Syzygium megacarpum

ปาหนันชาง Goniothalamus giganteus

แคฝอย Stereospermum fimbriatum พบมาก ตามปาดิบชื้นและปารุนปาเหลาทางภาคใต

พระเจาหาพระองค Dracontomelon dao

ชันที่ผลิตเปนการคาจากตนตะเคียนชันตาแมว ในปาดิบชื้นภาคใตตอนลาง

ตะเคียนชันตาแมว Neobalanocarpus heimii

ประ Elateriospermum tapos

ยางกลอง Dipterocarpus dyeri

19


2

»†Ò´ÔºáÅŒ§

(seasonal rain forest, semi–evergreen forest ËÃ×Í dry evergreen forest)

ปาดิบแลงพบกระจัดกระจายทั่วไปตามที่ราบ เชิงเขา ไหลเขา และ หุบเขาที่ชมุ ชื้นจนถึงพื้นที่ระดับความสูงไมเกิน 950 เมตร ทางภาคกลาง (ตัง้ แตจงั หวัดชุมพรขึน้ มา) ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงใต ถึงจังหวัดจันทบุรี ในปาผลัดใบที่มีลําน้ําสายใหญมีน้ํา ไหลหรือความชุม ชืน้ ตลอดป บริเวณสองฟากริมฝง น้าํ จะเปลีย่ นเปนปาดิบ แลงริมฝงหรือ gallery forest ประกอบดวยไมตนขึ้นเปนกลุมๆ เพียงไมกี่ ชนิด เชน ยางนา Dipterocarpus alatus, ยางแดง D. D turbinatus, ตะเคียน ทอง Hopea odorataa (Dipterocarpaceae), ประดูส ม Bischofia javanica (Euphorbiaceae), ทองหลางปา Erythrina subumbranss (LeguminosaePapilionoideae) และยมหอม Toona ciliataa (Meliaceae) เปนตน ปาดิบแลงมีลักษณะโครงสรางคลายกับปาดิบชื้น กลาวคือ เรือนยอดของปาจะดู เขียวชอุมมาก หรือนอยตลอดป แตในปาดิบแลงจะมีไมตนผลัดใบ (deciduous tree) ขึ้น แทรกกระจายมากหรือนอยขึน้ อยูก บั สภาพลมฟาอากาศและความชุม ชืน้ ในดิน ปาดิบแลง ในบริเวณทีม่ คี วามชุม ชืน้ ในดินนอยหรือไมสม่าํ เสมอตลอดป ก็จะปรากฏไมผลัดใบมากขึน้ ในชัน้ เรือนยอด ปาดิบแลงในทีม่ คี วามชุม ชืน้ สูงจะมีไมผลัดใบปะปนอยูเ ปนจํานวนไมมากนัก ไมตนผลัดใบของปาดิบแลงที่สําคัญ เชน สมพง Tetrameles nudiflora (Datiscaceae), ปออีเกง Pterocymbium tinctorium (Sterculiaceae), ซอ Gmelina arborea (Labiatae), มะมือ Choerospondias axillaris (Anacardiaceae), ยมหิน Chukrasia tabularis (Meliaceae), ยมปา Ailanthus triphysa (Simaroubaceae), สะเดาชาง Acrocarpus fraxinifolius (LeguminosaeCaesalpinioideae), กระเชา Holoptelea integrifolia (Ulmaceae), สอม Crypteronia paniculata (Crypteroniaceae), คงคาเดือด Arfeuillea arborescens (Sapindaceae), 20


ตะแบกใหญ Lagerstroemia calyculata, ตะแบกเกรียบ L. balansae และ เสลาดอกขาว L. tomentosa (Lythraceae) เปนตน ไมตนที่พบทั่วไปในปาดิบแลง ไดแกตะเคียนหิน Hopea ferrea, ตะเคียนทอง H. odorata, เคีย่ มคะนอง Shorea henryana, พะยอม S. roxburghii, ยางแดง Dipterocarpus turbinatus, ยางนา D. alatus,

ยางปาย D. costatus, กระบาก Anisoptera costata, กระบากขาว A. scaphula, ซีหรือเต็งดง Vatica harmandiana, ยางหนู V. odorata (Dipterocarpaceae), มะปน Pterygota alata (Sterculiaceae), กะบก Irvingia malayana (Irvingiaceae), ตาเสือ Aphanamixis polystachya, กระทอน Sandoricum koetjape, คางคาว Aglaia spp., สังเครียด Chisocheton spp., คางคาวอีลดิ Dysoxylum spp., กัดลิน้ Walsura trichostemon (Meliaceae), ยางนอง Antiaris toxicaria, มะหาด Artocarpus lacucha, มะเดือ่ อุทมุ พร Ficus racemosa (Moraceae), โพบาย Balakata baccata, ตาตุม บก Falconeria insignis, ดีหมี Cleidion spiciflorum, ประคําไก่ Drypetes roxburghii, มะไฟปา Baccaurea ramiflora, มะคาย Mallotus philippensis (Euphorbiaceae), กา้ น เหลือง Gonocaryum lobbianum (Icacinaceae), ลําไย Dimocarpus longan, คอแลน Nephelium hypoleucum, ลําไยปา Paranephelium xestophyllum, สาย Pometia pinnata (Sapindaceae), มะดูก Siphonodon celastrineus (Celastraceae), แสนคํา Terminalia triptera,

ปาดิบแลงบนไหลเขาระดับสูง มี กลุมไมยางปาย Dipterocarpus costatus หนาแนนตามสันเขาที่ ลาดชันระดับความสูงประมาณ 700–1,000 เมตร

21


2,565 m

1,000 m

MONTANE ZONE

LOWLAND ZONE 0m

ACERACEAE (กวม, เมเปล) BETULACEAE (กําลังเสือโครง) FAGACEAE (กอ) HAMAMELIDACEAE (โพสามหาง) LAURACEAE (ตะไครตน) MAGNOLIACEAE (มณฑาดอย) PROTEACEAE (เหมือดดอย) SYMPLOCACEAE (เหมือดหอม) THEACEAE (สารภีดอย) etc.

ANACARDIACEAE (มะมวง) ANNONACEAE (กระดังงา) DILLENIACEAE (สาน) DIPTEROCARPACEAE (ยาง, ตะเคียน) GUTTIFERAE (มะพูด) MELIACEAE (เลี่ยน) SAPINDACEAE (ลําใย) SAPOTACEAE (ละมุดสีดา) ZINGIBERACEAE (ขิง-ขา-ไพล) etc.

ภาพที่ 3 ผังแสดงการกระจายของพรรณไมวงศตางๆ ที่พบมากในเขตพื้นที่ระดับตตํา (lowland zone) และ เขตพื้นที่ภูเขา (montane zone) ในประเทศไทย 22


ปาดิบแลงที่มีกลุมไม ยางแดง Dipterocarpus turbinatus ริมฝงน้ําแม กลาง อุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนท ระดับ ความสูงประมาณ 600–800 เมตร

แกนมอ Rhus succedanea ในปาดิบแลง (ระดับสูง)

กลุมตะแบกใหญ Lagerstroemia calyculata ในปาดิบแลง เขตรักษาพันธุสัตวปา หวยขาแขง

23


ปาดิบแลงที่มีตนไมแคระ แกร็นบนภูเขาหินปูนใกล ชายฝงทะเล ถ้ําเสือ จังหวัดกระบี่

ปาดิบแลงชายฝงทะเล ตามเขาหินปูน อุทยาน แหงชาติเขาสามรอยยอด

24


กระบาก Anisoptera costata ในปาดิบแลง

หุบเขาน้ําโจน เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร สองฟากฝงลําน้ําโจนเปนปาดิบแลง ริมฝงลําน้ํา (gallery forest) ตามไหลเขาที่ลาดชัน ปกคลุมดวยปาเบญจพรรณ

ปาดิบแลงที่มีกลุมพรรณไมยางปะปนกัน (Dipterocarpus spp.) เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว ระดับความสูงประมาณ 200 เมตร

25


มะเนียงน้ํา Aesculus assamica ริมลําธารในปาดิบแลง เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง ใบเปลี่ยนเปนสีเหลืองในชวงผลัดใบ

26

ยมปา Ailanthus triphysa ไมตนขนาดใหญพรอมชอผล พบทั่วไปในปาดิบแลง


สะเดาชาง Acrocarpus fraxinifolius พบใน ปาดิบแลงทั่วไป

สบ Altingia excelsa ขึน้ เปนกลุม ริมลําธารใน ปาดิบแลง (ระดับสูง)

สําเภา Chaetocarpus castanocarpus พบใน ปาดิบแลงทั่วไป

เขลง Dialium cochinchinensis

ผลยางปาย Dipterocarpus costatus พบตาม สันเขาในปาดิบแลง (ระดับสูง)

ตะโกสวน Diospyros malabarica var. malabarica ขึ้นตามปาดิบแลง (ฝงทะเล)

27


ขี้หนอนควาย Gironniera nervosa พบทั่วไปใน ปาดิบแลง

เลือดนก Horsfieldia glabra ขึ้นริมลําธารใน ปาดิบแลง

มะหอ Spondias lakonensis ในปาดิบแลง

ทองหลางปา Erythrina subumbrans ชอบขึ้น ตามริมลําธารในปาดิบแลง

ขาตน Cinnamomum ilicioides ในปาดิบแลง 28 (ระดับสูง)

เฉียงพรานางแอ Carallia brachiata


ลําดวน Melodorum fruticosum พบมากในปาดิบ แลงภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง

มะปวน Mitrephora vandaeflora พบในปาดิบแลง

มหาพรหม Mitrephora winitii ขึ้นตามเขา หินปูนในปาดิบแลง

ปบทอง Radermachera hainanensis ริมลําธารใน ปาดิบแลง

สะตอปา Parkia leiophylla ริมลําธารในปาดิบ แลง

ลูกดิ่ง Parkia sumatrana ssp. streptocarpa ขึ้น ตามริมลําธารในปาดิบแลง 29


30

ขี้หนอน Scleropyrum wallichianum ขึ้นทั่วไป ในปาดิบแลง

โสกเขา Saraca declinata

พันจํา Vatica odorata

ขี้หนอน หรือขี้มอด Zollingeria dongnaiensis

เลียงผึ้ง Ficus albipila ริมลําธารในปาดิบแลง ผึง้ ชอบจับทํารังตามคาคบไมสงู

เงาะปา Nephelium melliferum ในปาดิบแลง (ระดับสูง)


ตะแบกกราย T. pierrei (Combretaceae), สีเสือ้ Homalium ceylanicum, พิกลุ ปา H. grandiflorum, ขานาง H. tomentosum, กะเบากลัก Hydnocarpus ilicifolia, กระเบาใหญ H. anthelminthica (Flacourtiaceae), มะกลํา่ ตน Adenanthera pavonina, สะตอปา Parkia leiophylla, อีเฒา P. sumatrana subsp. streptocarpa, มะคาโมง Afzelia xylocarpa, เขลง ลูกหยี Dialium cochinchinense, โสกนํ้า Saraca indica, โสกเขา S. declinata (Leguminosae-Mimosoideae), เชียด Cinnamomum iners, อบเชย C. bejolghota, ขาตน C. glaucescens, สุรามะริด C. subavenium, สะทิบ Phoebe paniculata, แหลบุก P. lanceolata, กะทัง Litsea monopetala (Lauraceae), จําปาปา Michelia champaca (Magnoliaceae), เฉียงพรานางแอ Carallia brachiata (Rhizophoraceae), มะมวงปา Mangifera spp., มะปริง Bouea oppositifolia, รักขาว Semecarpus cochinchinensis, มะกอก Spondias pinnata, มะกัก S. bipinnata, มะหอ S. lakonensis (Anacardiaceae), พลอง Memecylon spp. (Melastomataceae), กาสะลองคํา Radermachera ignea, แคฝอย Stereospermum fimbriatum, แคหัวหมู Markhamia stipulata var. stipulata (Bignoniaceae), กอมขม Picrasma javanica (Simaroubaceae), มหาพรหม Mitrephora spp., ยางโอน Polyalthia spp., สังหยู Pseuduvaria spp., สะบันงาดง Cyathocalyx martabanicus var. harmandii, สะแกแสง Cananga latifolia, สะบันงาปา Goniothalamus spp., สาเหลาตน Desmos spp., ลําดวน Melodorum fruticosum, (Annonaceae), เลือดมา Knema spp., มะพราวนกกก Horsfieldia spp., (Myristicaceae) ปาลมตนในปาดิบแลง เชน หมากลิง Areca triandra, ตาว Arenga pinnata, เตาราง Caryota mitis, คอ Livistona speciosa เปนตน ปาดิบแลงบนภูเขาหินปูนในเขต จ.ประจวบคีรีขันธ จะพบจันทนขาวหรือจันทนพมา Mansonia gagei (Sterculiaceae) ขึ้นหนาแนน ปาดิบแลงตามชายฝงทะเลและตามเกาะในอาวไทยและฝงทะเลอันดามัน โดยเฉพาะเกาะที่เปนหินปูน มี ลักษณะเรือนยอดแนนทึบและไมสงู มากนัก (10–20 เมตร) ดานทีร่ บั ลมทะเลเปนประจําเรือนยอดมีลกั ษณะลูล ม ลําตน แคระแกร็น บางครั้งเรือนยอดสูง ไมเกิน 10 เมตร พรรณไมหลายชนิดมีใบหนาแข็ง เชน เกด Manilkara hexandra (Sapotaceae), พลอง Memecylon spp. (Melastomataceae), ดูกคาง Psydrax dicocca var. impolitum (Rubiaceae) หรือตามลําตนและกิง่ มีหนาม เชน มะนาวผี Atalantia monophylla (Rutaceae), ตะขบปา Flacourtia indica (Flacourtiaceae), ขอยหนาม Streblus ilicifolius (Moraceae) เปนตน อาจเรียกปาดิบแลงตามชายฝงทะเล เหลานีว้ า ปาดิบแลงฝง ทะเล (littoral seasonal rain forest) อันมีลกั ษณะโครงสรางแตกตางไปจาก สังคมพืชชายหาด หรือฝงทะเล (strand forest) ที่อยูใกลเคียงกัน เมื่อกอนมักจะเกิดความสับสน บางเรียกปาดิบแลงชายฝงทะเล วา ปาชายหาด หรือ beach forest ซึ่งมีความหมายที่กวางครอบคลุมสังคมพืชชายฝงหลายประเภท

31


3

»†Ò´Ôºà¢ÒμèÓ

(lower montane rain forest)

ปาดิบเขาต่ํา พบบนภูเขาที่สูงกวาระดับทะเลปานกลางตั้งแตประมาณ 1,000 เมตร จนถึง 1,900 เมตร สภาพปามีเรือนยอดแนนทึบ มีไมพ้นื ลาง หนาแนนคลายคลึงกับปาดิบชื้นและปาดิบแลงบนที่ต่ํา แตแตกตางกันในองค ประกอบของพรรณไม ปาดิบเขาต่าํ ประกอบดวยพรรณไมเขตอบอุน (temperate species) และพรรณไมภูเขา (montane species) ที่ตองการอากาศคอนขาง หนาวเย็นตลอดป สวนใหญไดแก ไมกอ นอกจากนี้ยังมีพรรณไมในระดับต่ํา (lowland species) ที่เปนพรรณไมเดนของปาดิบชื้นและปาดิบแลงขึ้นปะปน อยูดวย พรรณพืชจําพวกหมากปาลมที่เปนตน กอ หรือหวาย มีนอยเมื่อเปรียบ เทียบกับปาดิบชืน้ และปาดิบแลง เชนเดียวกับเถาวัลยชนิดตางๆ จะพบขึน้ อยูค อ น ขางนอยในปาดิบเขาต่ํา ความสูงของเรือนยอดชั้นบนของปาดิบเขาต่ํา ประมาณ 20–35 เมตร ความสูงของเรือนยอดจะลดลงตามระดับความสูงของพื้นที่เพิ่ม ขึ้น ปจจุบันปาดิบเขาต่ําที่สมบูรณเหลืออยูนอยมาก สวนใหญจะถูกชาวเขาแผว ถางทําไรเลื่อนลอย พื้นที่ปาดิบเขาตามธรรมชาติ เมื่อถูกทําลายแลวทิ้งรางไว นานๆ จะเปลีย่ นสภาพไปเปนปาดิบเขาต่าํ รุน สอง เชน ปาไมกอ หรือปาไมกอ -ไม สน พื้นที่ปาดิบเขาต่ําดั้งเดิมในปจจุบัน พบเหลือเปนหยอมๆ บนภูเขา เชน ดอย อินทนนท ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม, ดอยภูคา จังหวัดนาน, เทือกเขาสูง ในปาทุงใหญ จังหวัดกาญจนบุรี, เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี, บนภูเขาหินทราย ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูหลวง จังหวัดเลย และบนภูเขาสูงทางภาค ใต เชน เขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ไมตนที่พบทั่วไปในปาดิบเขาต่ํา เชน ไมกอชนิดตางๆ ของวงศ Fagaceae เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอหรั่ง C. armata, กอน้ํา C. calathiformis, กอแปน C. diversifolia, กอหนาม C. echidnocarpa, กอแหลม C. ferox, กอตาหมู C. fissa, กอตี C. indica, 32


ปาดิบเขาต่ําบริเวณเขา เขียว อุทยานแหงชาติ เขาใหญ ระดับความสูง ประมาณ 1,300 เมตร

ตําแยชาง Girardinia diversifolia ชอบขึ้นตามที่โลงชายปาดิบเขาสูงและ ปาดิบเขาต่ํา

33


34

กายอม Rhododendron veitchianum ในปาดิบ เขาต่ําและปาดิบเขาสูง

เมี่ยงผี Pyrenaria diospyricarpa ในปาดิบเขา ต่ําและปาดิบเขาสูง

มะขามปอมดง Cephalotaxus mannii

ฮอมชาง Phlogacanthus curviflorus ไมพุมขึ้น ริมลําธารในปาดิบเขาต่ํา

มณฑา Magnolia liliifera

มณฑาดอย Manglietia garrettii

จุมป Michelia baillonii ไมตนขนาดใหญใน ปาดิบเขาต่ํา

จําปหลวง Michelia rajaniana


เหมือดคนแดง Helicia vestita กวมแดง Acer calcaratum ในปาดิบเขาต่ํา ใบไมเปลี่ยนสี ในชวงผลัดใบ

ชอดอกชมพูภพู าน Wightia speciosissima ในปาไมกอ ปาดิบ เขาต่ํา ปาดิบเขาสูง ชมพูภพู าน Wightia speciossisimah (ดอกสีชมพู) ในปาดิบเขาสูง ดอยอินทนนท

35


กอตลับ Quercus rex ไมขนาดใหญในปาดิบเขาต่ํา

กอตาหมู Quercus semiserrata ไมขนาดใหญในปาดิบเขาต่ํา

กอตลับ Quercus ramsbottomii

กระโถนพระษี Sapria himalayana พืชเบียน รากบนพื้นลางของปาดิบ เขาต่ําเปนพืชดรรชนีบง ถึงลักษณะดั้งเดิมของปา ธรรมชาติ

36


กอหิน C. piriformis, กอดาน C. purpurea, กอขีห้ มู C. rhamnifolia, กอใบเลือ่ ม C. tribuloides, กอหมี Lithocarpus auriculatus, กอผัวะ L. dealbatus, กอหมน L. elegans, กอพวง L. fenestratus, กอเลือด L. garrettianus, กอดาง L. lindleyanus, กอแงะ L. polystachyus, กอหัวหมู L. sootepensis, กอหมน L. thomsonii, กอดํา L. truncatus, กอหนุน Quercus brandisiana, กอตลับ Q. rex, กอตาคลอย Q. lenticellata, กอดาง Q. myrsinifolia, กอหมวก Q. oidocarpa, กอสีเสียด Q. poilanei, กอตาหมูหลวง Q. semiserrata, กอแอบ Q. vestita พรรณไมชนิดอืน่ เชน จําปหลวง Michelia rajaniana, แกวมหาวัน M. floribunda, จําปปา M. baillonii, มณฑา ดอย Manglietia garrettii, ตองแข็ง Magnolia hodgsonii, จําปดง M. henryi (Magnoliaceae), ทะโล Schima wallichii (Theaceae), ตองลาด Actinodaphne henryi, แกง Cinnamomum tamala, เชียดขาว Lindera pulcherrima, สะ หมี่ Litsea monopetala, หมี่บง L. semecarpifolia, ทัง L. beusekomii, เมียดตน L. martabanica, ทัน Phoebe tavoyana (Lauraceae), จันทรทอง Fraxinus floribundus, มวกกอ Olea salicifolia (Oleaceae), มะกอกเลื่อม Canarium subulatum (Burseraceae), ลูบลีบ Ulmus lanceifolia (Ulmaceae), กวมแดง Acer calcaratum, กวม ขาว A. laurinum, กวม A. oblongum (Aceraceae), มะมือ Choerospondias axillaris, แกนมอ Rhus succedanea, มะมวงขี้ใต Mangifera sylvatica (Anacardiaceae), ประสงค Aglaia chittagonga, ยมหอม Toona ciliata, ขี้อาย Walsura robusta (Meliaceae), สารภีดง Mammea harmandii, กะนวน Garcinia merguensis (Guttiferae), มุน ดอย Elaeocarpus braceanus, กุนเถื่อน E. floribundus, มุนดอย E. prunifolius, กอเรียน Sloanea sigun, สตี S. tomentosa (Elaeocarpaceae), มะซัก Sapindus rarak (Sapindaceae), ตีนจําดง Adinandra integerrima, เมี่ยง อาม Camellia connata, เหมือดเม็ก C. oleifera var. confusa, ขีผ้ งึ้ Gordonia dalglieshiana, เมีย่ งอีอาม Pyrenaria cochinchinensis (Theaceae), เหมือดหอม Symplocos racemosa, เหมือดปลาซิว S. sumuntia (Symplocaceae), มะเนียงน้ํา Aesculus assamica (Hippocastanaceae), คางคาก Nyssa javanica (Nyssaceae), ชาสาน Saurauia nepaulensis, สานเห็บ S. roxburghii (Actinidiaceae), มะยมหิน Meliosma pinnata (Sabiaceae), ตะเกราน้ํา Eriobotrya bengalensis forma bengalensis (Rosaceae), เหมือดคนดง Helicia formosana var. oblanceolata, เหมือดคน Heliciopsis terminalis (Proteaceae), หวาเขา Syzygium angkae (Myrtaceae), ขางขาว Xanthophyllum virens (Xanthophyllaceae), นองขาว Alstonia rostrata (Apocynaceae) ไมตนเนื้อออนจําพวกสนเขา (conifer) ไดแก มะขามปอมดง Cephalotaxus mannii (Cephalotaxaceae), พญาไม Podocarpus neriifolius และขุนไม Nageia wallichianus (Podocarpaceae) บนพื้นที่ลาดชันดานทิศตะวัน ออกของภูเขาหินปูนดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม ที่ระดับความสูงระหวาง 1,500–1,900 เมตร จะพบมะขามปอมดง C. mannii ขึ้นเปนไมเดนแทรกอยูตามเรือนยอดชั้นบนของปา ปาลมที่พบขึ้นกระจัดกระจายไดแก เตารางภูคา Caryota obtusa, เตาราง C. maxima, เขือง Wallichia caryotoides, คอ Livistona speciosa (Palmae) บริเวณพื้นที่ชุมแฉะในปาดิบเขาต่ําจะพบมะเกี๋ยง Pandanus furcatus (Pandanaceae), กูดตน หรือเฟนตน Cyathea spp. (Cyatheaceae), เฟนบัวแฉก Dipteris conjugata (Dipteridaceae), มะพราวเตา Cycas micholitzii var. simplicipinna (Cycadaceae) ขึ้นกระจัดกระจาย

37


4

»†ÒäÁŒ¡‹Í

(lower montane oak forest)

ปาไมกอเปนปาที่พบทั่วไปบนภูเขาทางภาคเหนือ และพบเปนกลุมบน ภูเขาหินทรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตระดับความสูง 900 เมตร ขึ้นไป ความสูงของเรือนยอดชั้นบนจะแตกตางกันอยางมาก ระหวาง 10–25 เมตร เรือนยอดอาจจะชิดติดกันหรือเวนชองวางมากหรือนอย ลักษณะของ เรือนยอด โดยทั่วไปจึงคอนขางโปรง ไมชิดติดกันแนนทึบดังเชนเรือนยอด ของปาดิบเขาต่ํา เนื่องจากลมพัดผานเรือนยอดชั้นบนได โดยสะดวก ตามกิ่ง ของตนไมชั้นบนจึงมีไลเคนจําพวกฝอยลม Usneaa spp. (Usneaceae) หอย ระยา ปาไมกอสวนใหญ เปนปารุนสองเกิดจากการฟนตัวของปาดิบเขาต่ํา ที่ถูกแผวถางทําไรเลื่อนลอย พื้นที่ไรเกาบางตอนถูกทิ้งรางไวเปนเวลานาน เกิดการทดแทนสังคมพืชอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดเปนปาไมกอขึ้นมา ปาไม กอเหลานี้มักจะถูกรบกวนซ้ําไมมากก็นอย จากการตัดไมสําหรับใชสอย การ เก็บหาของปา การเลี้ยงสัตว ไฟปา การพังทลายตามไหลเขา ฯลฯ ทําใหการ ทดแทน สังคมพืชหยุดชะงักไมตอ เนือ่ ง ดังนัน้ ปาไมกอ จึงมีลกั ษณะโครงสราง ที่แตกตางกันไปในแตละพื้นที่เปนอยางมาก แตองคประกอบของไมตนในปา ไมกอมักจะคลายกัน สวนใหญประกอบดวย พรรณไมวงศไมกอ (Fagaceae) ชาหรือเมี่ยง (Theaceae) และอบเชย (Lauraceae) บางครั้งเรียกปาชนิดวา oak-tea-laurel forest ไมตนที่พบทั่วไป เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอหยุม C. argyrophylla, กอหรั่ง C. armata, กอน้ํา C. calathiformis, กอแปน C. diversifolia, กอหนาม C. echidnocarpa, กอตาหมู C. fissa, กอผา C. hystrix, กอดาน C. purpurea, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอผัวะ Lithocarpus dealbatus, กอหมน L. elegans, กอเลือด L. garrettianus, กอดาง L. lindleyanus, กอแงะ L. polystachyus, กอแดง L. trachycarpus, กอดํา L. truncatus, 38


กอหิน Quercus semecarpifolia ขึ้นตามชายปาดิบเขา ภูเขาหินปูน ระดับความสูง 1,900 เมตร ดอย เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

กอขาว Quercus lanata ใน ปาไมกอ บนภูเขาหินปูน ระดับความสูง 1,600 เมตร เขตรักษาพันธุสัตวปาดอย เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

กอหัวหมู Lithocarpus sootepensis ขึ้นเปนกลุมๆ ในปาไมกอ อุทยานแหง ชาติดอยสุเทพ จังหวัด เชียงใหม 39


ชอดอกคําขาว Rhododendron moulmeinense

คําขาว Rhododendron moulmeinense

กอเดือย Castanopsis acuminatissima ไมเดนในปาไมกอ พรอมชอดอก

กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides พบมากในปาไมกอและปาไมกอ-ไมสน

ปาไมกออุทยานแหงชาติดอยสุเทพ ระดับความสูง 1,500 เมตร 40

กอพวง Lithocarpus fenestratus พบมากในปาไมกอและปาไมกอ-ไมสน


ชมพูภูพิงค Prunus cerasoides ในปาไมกอบนภูเขาหินปูน ดอยเชียงดาว

ชมพูภูพิงค Prunus cerasoides

เนาใน Ilex umbellulata ในปาไมกอและปาไมกอ-ไมสน

เหมือดคน Heliciopsis terminalis ในปาไมกอ

41


42

สะเม็ก Agapetes lobbii ในปาดิบเขาต่ํา ปาดิบ เขาสูง และปาไมกอ

กอสรอย Carpinus viminea พบทั่วไปในปาไมกอ

กําปองหลวง Clematis buchananiana

สนใบพาย Podocarpus polystachyus

กําลังเสือโครง Betula alnoides พรรณไมเบิกนํา ของปาดิบเขาต่ําพบทั่วไปในปาไมกอ

ขุนไม Nageia wallichiana

ชันตามเปลือกของตนกํายาน Styrax benzoides ในปาไมกอ

กลวยษี Diospyros glandulosa ในปาไมกอ-ไมสน


กอเตี้ย Quercus aliena, กอหนุน Q. brandisiana, กอขาว Q. franchetii, ก อ แอบหลวง Q. helferiana, ก อ แดง Q. kingiana, กอแอบ Q. lamellosa, กอขาว Q. lanata, กอ ขาว Q. lineata, กอแงะ Q. mespilifolia, กอตาหมูหลวง Q. semiserrata, กอหิน Q. semecarpifolia (Fagaceae), สารภีดอย Anneslea fragrans, ไกแดง Ternstroemia gymnanthera, ทะโล Schima wallichii (Theaceae), หนวยนกงุม Beilschmiedia gammieana, อินทวา Persea gamblei, สะทิบ Phoebe spp. (Lauraceae), เหมือดคน ตัวผู Helicia nilagirica, เหมือดคน Heliciopsis terminalis (Proteaceae), คาหด Engelhardtia spicata var. spicata (Juglandaceae), กําลังเสือโครง Betula alnoides, กอสรอย Carpinus viminea (Betulaceae), เอีย้ บวย Myrica esculenta (Myricaceae), นางพญาเสือโครง Prunus cerasoides (Rosaceae), จันทรทอง Fraxinus floribundus (Oleaceae), คางฮุง Albizia chinensis (Leguminosae-Mimosoideae), กระพี้ เ ขาควาย Dalbergia cultrata (LeguminosaePapilionoideae), เสี้ ย วขาว Bauhinia variegata (Leguminosae–Caesalpinioideae), กาว Tristaniopsis burmanica var. rufescens (Myrtaceae), แข ง กวาง Wendlandia tinctoria (Rubiaceae), เมาสรอย Antidesma acidum, โลด Aporosa villosa, มะขามปอม Phyllanthus emblica (Euphorbiaceae), กํายาน Styrax benzoides (Styracaceae), มะยมภู Craibiodendron stellatum, เมาแดง Lyonia ovalifolia, คําขาว Rhododendron moulmeinense, ส ม ป Vaccinium sprengelii (Ericaceae), เหมื อ ดดง Symplocos cochinchinensis Subsp. cochinchinenesis, เหมื อ ดหอม S. racemosa (Symplocaceae), แคหาง คาง Markhamia stipulata var. kerrii (Bignoniaceae), มะขม Pittosporopsis kerrii (Icacinaceae), ปรงเขา Cycas pectinata (Cycadaceae) และ เปงดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae) พื้นลางของปาไมกอมักมีพืชจําพวกหญาและพืชลมลุก ของเขตอบอุน ขึ้นกระจัดกระจาย


5

»†ÒäÁŒ¡‹Í-äÁŒÊ¹

(lower montane pine-oak forest)

ปาไมกอ-ไมสน เกิดจากปาไมกอที่ถูกรบกวนบอยๆ จากมนุษย เชน การแผวถางปา ตัดไม เลี้ยงสัตว ฯลฯ ปจจัยที่สําคัญ ไดแก ไฟปาในฤดู แลง (มกราคม–มีนาคม) ที่เกิดจากการจุดอยางตั้งใจหรือไมตั้งใจ ทําให เกิดชองวางในปาชนิดนี้ สนเขาโดยเฉพาะสนสามใบจึงแพรพันธุไดดีในปา ไมกอ พืน้ ทีป่ า บางตอนเปดโลงมากจากการถูกทําลาย จะพบสนสามใบขึน้ เปนกลุม (stand) หนาแนน บางครัง้ จะพบสนสามใบขึน้ เกือบเปนกลุม เดียว ลวนๆ โดยเฉพาะพื้นที่ตามสันเขาและไหลเขาที่คอนขางลาดชันเนื่องจาก การพังทลาย ดังนั้นจํานวนของไมสนในปาไมกอ จึงขึ้นอยูกับอัตราการถูก รบกวน การพังทลายของดินตามไหลเขา-สันเขา สภาพภูมิประเทศและ สภาพดินทีม่ คี วามชุม ชืน้ ในดิน คอนขางนอยโดยเฉพาะดินปนกรวดหรือดิน ทราย นอกจากสนสามใบแลว ปาไมกอ -ไมสนบางพืน้ ทีอ่ าจมีสนสองใบขึน้ แทรกหางๆ โดยเฉพาะบนภูเขาหินทรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูกระดึง และภูหลวง จ.เลย จะพบกลุมสนสองใบและสนสามใบขึ้นเกือบ เปนกลุมเดียวลวนๆ แทรกดวยไมตน (ไมใบกวาง) เพียงไมกี่ตน พื้นที่ปา เปดโลง มีพชื พืน้ ลางจําพวกหญา-กกขึน้ หนาแนน สภาพภูมปิ ระเทศดูคลาย ปาไมสน (pine savanna) ของเขตอบอุน ปาไมกอ-ไมสนแตกตางจากปา เต็งรัง-สนเขา (pine-deciduous dipterocarp forest) อยางชัดเจน ทาง ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใตที่มีฝนชุก จะไมพบปาไมกอ-ไมสนหรือ ปาสนเขาตามธรรมชาติ บนภูเขาหินปูนทั่วไปก็จะไมพบไมสน (pine) เชน กัน ถึงแมวาจะอยูในชวงระดับความสูงที่ไมสนขึ้นไดเนื่องจากไมสนชอบ สภาพดินที่เปนกรด (calcifuge)

44


กลุมไมสนสามใบ ในปาไมกอ-ไมสนที่ ถูกรบกวนจากไฟปาเปนประจํา เขต รักษาพันธุสัตวปาภูหลวง

ปาไมกอ-ไมสน (สามใบ) บริเวณ บานวัดจันทร จังหวัดเชียงใหม ระดับความสูงประมาณ 1,000 เมตร 45


พรรณไมทพ่ี บมากในปาไมกอ -ไมสน เชน สนสามใบ Pinus kesiya, สนสองใบ P. merkusii (Pinaceae) ไมใบ กวางที่พบทั่วไป เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอหยุม C. argyrophylla, กอหนาม C. echidnocarpa, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอแปน C. diversifolia, กอผัวะ Lithocarpus dealbatus, กอเตี้ย Quercus aliena, กอ หนุน Q. brandisiana, กอแอบหลวง Q. helferiana, กอแดง Q. kingiana, กอแงะ Q. mespilifolia (Fagaceae), สารภี ดอย Anneslea fragrans, ปลายสาน Eurya acuminata, ทะโล Schima wallichii (Theaceae), เหมือดคนตัวผู Helicia nilagirica (Proteaceae), คาหด Engelhardtia spicata var. spicata (Juglandaceae), หวา Syzygium cumini, กาว Tristaniopsis burmanica var. rufescens (Myrtaceae), มะยมภู Craibiodendron stellatum, เมาแดง Lyonia ovalifolia, สมป Vaccinium sprengelii (Ericaceae), กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata (Leguminosae), เหมือดหอม Symplocos racemosa (Symplocaceae), แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Rubiaceae), กํายาน Styrax benzoides (Styracaceae), มะขามปอม Phyllanthus emblica (Euphorbiaceae), ปรงเขา Cycas pectinata (Cycadaceae), เปง ดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae)

ปาไมกอ-ไมสน (สามใบ) อุทยานแหงชาติภูกระดึง ระดับ ความสูงประมาณ 1,300 เมตร

46


กลุมไมสนสามใบ ขึ้นหนา แนนตามสันเขาในปาไม กอ-ไมสน อุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนท

ตีนฮุงดอย Paris polyphylla พบตามพื้นลางของปาไมกอ-ไมสน

47


6

»†ÒäÁŒÊ¹à¢Ò

(lower montane coniferous forest)

ดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae)

ปาไมสนเขาเปนปาไมที่มีกลุมไมเนื้อออนจําพวก conifer หรือไมสน เขา ขึน้ บนทีร่ าบสูงของภูเขาหินทรายยอดตัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตระดับความสูงประมาณ 1,100–1,300 เมตร เชน ภูหลวง ภูกระดึง พืน้ ดินเปนดินทรายถึงประมาณรอยละ 65–90 โครงสรางของปาดัง้ เดิมตาม ธรรมชาติ มีไมสนเขาขนาดใหญ ไดแก แปกลม Calocedrus macrolepis (Cupressaceae) ขึ้นเปนไมเดนของเรือนยอดชั้นบน มีความสูงตั้งแต 25–33 เมตร แปกลมบางตนสูงถึง 48 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง 70–95 เซนติเมตร แตจะพบแปกลมในปาสนเขาบนภูหลวงเทานัน้ ไมสนเขา ชนิดอื่นในปาไมสนเขา ไดแก พญาไม Podocarpus neriifoliuss สนใบพาย P. polystachyuss และสนสามพันป Dacrydium elatum m (Podocarpaceae) ไมสนเขาที่มีขนาดรองลงมา ไดแก ซางจีน Nageia motleyi และขุนไม N. wallichianaa (Podocarpaceae) พรรณไมดอกอืน่ ๆ ทีเ่ ปนองคประกอบ ของปาไมสนเขา ไดแก กอตลับ Quercus spp., กอพวง Lithocarpus fenestratuss (Fagaceae) เข็มปา Aidia parvifoliaa (Rubiaceae) และ มะหา Syzygium oblatum m (Myrtaceae) พื้นที่ตามสันเขาบางแหงที่เปน ดินทราย ทางภาคใตตอนลาง จะพบกลุม สนสามพันป Dacrydium elatum ถึงระดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร

48


พญาไม Podocarpus neriifolius ในปาไมสนเขาและปาไมกอ

สามพันป Dacrydium elatum ในปาไมสนเขา ภูกระดึง สนสามพันป Dacrydium elatum ในปาไมสนเขา

แปกลม Calocedrus macrolepis เปนไม สนเขาขนาดใหญใน ปาไมสนเขา บนภูเขา หินทรายเขตรักษา พันธุสัตวปาภูหลวง

49


7

»†ÒÅÐàÁÒÐà¢ÒμèÓ (lower montane scrub)

ปาละเมาะเขาต่าํ พบเปนหยอมเล็กๆ ตามลานหินบนภูเขาหินทราย ยอดตัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูกระดึง และภูหลวง จ.เลย ทีร่ ะดับความสูงระหวาง 1,000–1,500 เมตร พืน้ ทีล่ าดเล็กนอย สวนใหญ เปนชัน้ ดินทรายตืน้ ๆ มีหนิ ทรายกอนใหญนอ ยโผลระเกะระกะทัว่ ไปสภาพ ปาโลง มีไฟปารบกวนเปนครัง้ คราว ไมตน มีความสูงจํากัด ตนไมมลี กั ษณะ แคระแกร็น สูงระหวาง 2–8 เมตร สลับกับไมพุมเตี้ยนานาพรรณ ความ สูงระหวาง 0.30–3 เมตร ปาไดรับแสงแดดตลอดเวลาที่ไมมีเมฆหมอก ปกคลุมและไดรับอิทธิพลจากกระแสลมแรงพัดผานเปนเนืองนิจ พรรณไมที่พบทั่วไป เชน กอเตี้ย หรือกอดํา Lithocarpus recurvatus, กอพวง L. fenestratus (Fagaceae), กุหลาบขาว Rhododendron lyi, กุหลาบแดง R. simsii, ชอไขมุก Vaccinium eberhardtii var. pubescens, สมป V. sprengelii, สมแปะ Lyonia foliosa, เหงาน้ําทิพย Agapetes saxicola, สะเม็ก A. lobbii (Ericaceae), สายฝน Ilex triflora (Aquifoliaceae), กุหลาบหิน Rhamnus crenata (Rhamnaceae), สารภีดอย Anneslea fragrans, ทะโล Schima wallichii, ไกแดง Ternstroemia gymnanthera (Theaceae), ชมพูภูพาน Wightia speciosissima (Scrophulariaceae), พวงตุมหู Ardisia pilosa (Myrsinaceae), เข็มเขา Tarenna sp. (Rubiaceae), เหมือดคนตัวผู Hilicia nilagirica (Proteaceae), สนทราย Baeckea frutescens (Myrtaceae), อาหลวง Melastoma sanguineum, เอ็นอา M. malabathricum var. normale, เอ็นอานอย Osbeckia stellata (Melastomataceae), มือพระนารายณ Schefflera subintegra (Araliaceae), งวนภู Viburnum foetidum (Caprifoliaceae), ปดเขา Sorbus granulosa (Rosaceae), อินทวา Persea gamblei (Lauraceae), กูดเกี๊ยะ Pteridium aquilinum subsp. aquilinum var. wightianum (Dennstaedtiaceae)

50


ปาละเมาะเขาต่ํา เขต รักษาพันธุสัตวปาเขา บรรทัด จังหวัดตรัง ระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร

ปาละเมาะเขาต่ําบนภูเขา หินทราย เขตรักษาพันธุ สัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย

ปาละเมาะเขาต่าํ พบบางตามพืน้ ทีเ่ ปนหินปูนระหวาง 1,000–1,700 เมตร มักจะพบเปนหยอมเล็กๆ ตามภูเขา หินปูนที่ไมปรากฏชั้นดินชัดเจน มีแคโขดหินระเกะระกะ พรรณไมขึ้นอยูไดตามซอกหรือแองหินปูนที่มีการทับถม ของ ซากอินทรียวัตถุ พรรณไมสวนใหญมีใบหนาอุมน้ํา หรือลําตนและกิ่งกานมีหนามแหลม เชน สลัดไดปา Euphorbia spp. (Euphorbiaceae), จันทนผา หรือจันทนแดง Dracaena spp. (Dracaenaceae)

51


ปาละเมาะเขาต่ํา บนภูเขาหินปูน ดอยตุง จังหวัด เชียงราย ระดับ ความสูงประมาณ 1,300 เมตร

ปาละเมาะเขาต่ํา บนภูเขาหินปูน ดอยหัวหมด อําเภออุมผาง จังหวัดตาก ระดับ ความสูงประมาณ 1,000 เมตร

ปาละเมาะเขาต่ํา เขตรักษาพันธุ สัตวปาภูหลวง ระดับความสูง ประมาณ 1,300 เมตร

52


สารภีดอย Anneslea fragrans ในปาไมกอ-ไมสน วานแมยับ Iris colletii ในปาไมกอ-ไมสน

หนาดดอย Anaphalis margaritacea พบตามปาไมกอ และปาไมกอ-ไมสน

กุหลาบแดง Rhododendron simsii พบเปนกลุมในปาละเมาะเขาต่ําบนภูหลวง

เตามด Debregeasia wallichiana ในปาละเมาะเขาต่ํา

ตาเหินไหว Hedychium ellipticum ในปาละเมาะเขาต่ํา

หัวยาขาวเย็น Smilax micro-china ในปาละเมาะเขาต่ํา 53


8

»†Ò´Ôºà¢ÒÊÙ§ËÃ×Í»†ÒàÁ¦

(upper montane rain forest ËÃ×Í cloud forest) ปาดิบเขาสูงขึ้นปกคลุมตามสันเขาและยอดเขา ที่สูงกวา 1,900 เมตร ขึน้ ไป สวนใหญจะมีเมฆ/หมอกปกคลุมเปนประจํา เรียกอีกชือ่ หนึง่ วา “ปาเมฆ” ปาดิบเขาสูงตามธรรมชาติทส่ี มบูรณ พบขึน้ ปกคลุมสันเขาและยอดดอยอินทนนท เปนผืนใหญ ปาดิบเขาสูงมีลักษณะเดนของเรือนยอดชั้นบนระหวาง 16–23 เมตร แนนทึบ เรือนยอดของไมชนั้ บนแตละตนจดกันตอเนือ่ งเปนลอนสม่าํ เสมอ ชัน้ ไมในปาเกือบจะเปนชัน้ เดียว ไดแกชนั้ เรือนยอดเทานัน้ เนือ่ งจากเรือนยอดที่ แนนทึบมากและการปกคลุมของเมฆ/หมอก ทําใหพน้ื ลางของปารมครึม้ ตลอด วัน ไมชนั้ รองลงมา จึงมีขนาดเล็กมากและขึน้ หางๆ อยูต ามบริเวณทีม่ แี สงสวาง บางในปา เนื่องจากอากาศอันหนาวเย็นและความชุมชื้นในปาที่สูงมาก ตาม ลําตนและกิง่ ของไมตน จึงปกคลุมดวยพืชอิงอาศัยจําพวกมอสและไลเคนหนาแนน โดยเฉพาะมอสชนิดตางๆ จะปกคลุมลงมาถึงโคนตนและคลุมพื้นดินออกไป โดยรอบ ตามชายปาดิบเขาสูงจะปรากฏชัน้ ของไมพมุ สูง 1–2 เมตร ไดแก ฮอมดง Strobilanthes involucratuss (Acanthaceae) พรรณพืชจําพวกเฟนพบขึน้ ตาม พื้นปา (terrestrial fern) และอิงอาศัย (epiphytic fern) ตามลําตน และกิ่งไม หนาแนน บางครั้งเรียกปาดิบเขาสูงอีกชื่อหนึ่งวา mossy forest องคประกอบของพรรณไมในปาดิบเขาสูงจะแตกตางจากพรรณไมในปาดิบเขาต่าํ พรรณ ไมที่ชอบขึ้นในที่ต่ํา (lowland species) ซึ่งพบขึ้นปะปนอยูในปาดิบเขาต่ํา แทบจะไมปรากฏ อยูเลยในปาดิบเขาสูง เชน ยางนอง Antiaris toxicaria, ไทร-มะเดื่อ Ficus spp. (Moraceae), มะกอกเลื่อม Canarium spp. (Burseraceae), โพบาย Balakata spp. (Euphorbiaceae), สมอ Terminalia spp. (Combretaceae), คางคาว Aglaia spp., ยมหอม Toona spp. (Meliaceae), ขนาน Pterospermum spp. (Sterculaiceae) ฯลฯ พรรณไมเดนหลายชนิดของ ปาดิบเขาต่ํา เชน จําปหลวง Michelia rajaniana, มณฑาดอย Manglietia garrettii, ตองแข็ง Magnolia hodgsonii (Magnoliaceae), และไมกออีกหลายชนิดจะไมพบในปาดิบเขาสูง เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอหมน Lithocarpus grandifolius, กอแอบหลวง Quercus helferiana, กอแดง Q. kingiana เปนตน 54


ปาเมฆ (cloud forest) หรือปาดิบเขาสูง (upper montane rain forest) หรือปาละเมาะเขาสูง (upper montane scrub) บริเวณ กิว่ แมปาน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท แสดงการปกคลุมของเมฆ/หมอก ตามผังภาพบน ตัง้ แตระดับ ประมาณ 1,900 – 2,565 เมตร พื้นที่เขตภูเขา (montane) ระดับสูงในประเทศไทย จะอยูในแนวเขตการปกคลุมของเมฆ/หมอก (cloud belt) เกือบทั้งป 55


สกุลพรรณไมเขตอบอุน (temperate genera) ที่รูจักกันทั่วไป และชนิดพรรณไมเขตอบอุน (temperate species) ที่พบในประเทศไทยเชน สกุลพรรณไมเขตอบอุน

ตัวอยางชนิดที่พบในประเทศไทย

Acerr (maple) Aesculuss (horse chestnut) Asterr (daisy)

Acer laurinum m (กวมขาว)) Aesculus assamicaa (มะเนียงน้ํา) Aster ageratoidess ssp. alato-petiolata (หนาดดอยเชียงดาว) Betula alnoidess (กําลังเสือโครง) Carpinus vimineaa (กอสรอย) Castanopsis acuminatissimaa ((กอเดือย) Clematis smilacifoliaa (พวงแกวกุ​ุดั่น) Fraxinus floribundaa (จันทรทอง) Gentiana hesseliana var. lakshnakarae (ดอกหรีด) Hedera himalaicaa (กระจับเขา) Iris collettiii (วานแมยับ) Lilium primulinum m var. burmanicum m (แตรวง) Pinus kesiyaa (สนสามใบ) Pinus merkusiii (สนสองใบ) Primula siamensiss (ดอกหรีดอินทนนท) Prunus cerasoides (นางพญาเสือโครง, ชมพูภูพิงค) Quercus kerriii (กอแพะ) Rhododendron lyii (กุหลาบขาว) Rhododendron simsiii (กุหลาบแดง) Rosa odorata var. giganteaa (จีดง) Salix tetraspermaa (สนุนุ ) Ulmus lanceifolia (ดูชางยอย) Vaccinium sprengeliii (สมแปะ) Viola betonicifoliaa (ใบพาย)

Betulaa (birch) Carpinuss (hornbeam) Castanopsiss (chestnut) Clematiss (clematis) Fraxinuss (ash) Gentianaa (gentian) Hederaa (ivy) Iriss (iris) Lilium m (lily) Pinuss (pine) Primulaa (primrose) Prunuss (cherry, peach, apricot, nectarine) Quercuss (oak) Rhododendronn (azalea & rhododendron) Rosaa (rose) Salixx (willow) Ulmuss (elm) Vaccinium m (heather) Violaa (violet)

ไมตนที่พบทั่วไปในปาดิบเขาสูงเชน กอตลับ Quercus rex, กอจุก Lithocarpus aggregatus, กอดาน Castanopsis purpurea (Fagaceae), ทะโล Schima wallichii, แมงเมานก Eurya nitida var. nitida, ขี้ผึ้ง Gordonia dalglieshiana (Theaceae), เอียน Neolitsea foliosa, เมียดตน Litsea martabanica, มะเขือขืน่ Beilschmiedia spp., แกง Cinnamomum tamala, จวงหอม Neocinnamomum caudatum (Lauraceae), พันชุลี Mastixia euonymoides (Cornaceae), เอี้ยบวย Myrica esulenta (Myricaceae), เหมือดคนดง Helicia formosana var. oblanceolata, เหมือดคน Heliciopsis terminalis (Proteaceae), กวมขาว Acer laurinum, กวมแดง A. calcaratum (Aceraceae), โพสามหาง Symingtonia populnea (Hamamelidaceae), เหมือดดอย Myrsine semiserrata (Myrsinaceae), เข็ม ดอย Osmanthus fragrans (Oleaceae), เหมือดเงิน Symplocos dryophila (Symplocaceae), ตาง Macropanax dispermus (Araliaceae), มะกอม Turpinia cochinchinensis (Staphyleaceae) ตามชายปาดิบเขาสูง ที่เปนทุงโลง บนไหลเขาที่ลาดชันจะพบกลุมไมขนาดเล็ก ไดแก คําแดง Rhododendron arboreum ssp. delavayi (Ericaceae) และไมพุมจําพวกชามะยมดอย Gaultheria crenulata (Ericaceae) ไมพุมอิงอาศัยที่พบมาก เชน สะเภาลม Agapetes hosseana, กายอม Rhododendron veitchianum (Ericaceae) และโพอาศัย Neohymenopogon parasiticus (Rubiaceae) 56


ปาดิบเขาที่แคระแกร็น บริเวณกิ่ว แมปาน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท บริเวณทุงหญามักจะถูกไฟปารบกวน เปนครั้งคราว

ปาดิบเขาสูง บริเวณ ยอดดอย อุทยาน แหงชาติดอยอินทนนท ระดับความสูง 2,400– 2,500 เมตร

57


ปาละเมาะเขาสูง ดอย เชียงดาว จังหวัด เชียงใหม

กุหลาบขาว เชียงดาว Rhododendron ludwigianum

ปาละเมาะเขาสูง ตามสันเขาและ ยอดเขาดอยเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม ระดับความสูง 1,900– 2,200 เมตร

58


9

»†ÒÅÐàÁÒÐà¢ÒÊÙ§ (upper montane scrub)

ปาละเมาะเขาสูง เปนสังคมพืชที่เปนเอกลักษณ พบเฉพาะบนพืน้ ที่โลง ตามสันเขาและยอดเขาของภูเขาหินปูน ดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม ทีร่ ะดับความ สูงประมาณ 1,900–2,200 เมตร สภาพปาสวนใหญประกอบดวยไมพุมเตี้ย และพืชลมลุก ขึน้ ตามซอกหรือแองหินปูนทีม่ กี ารสะสมของอินทรียว ตั ถุ พืน้ ที่ ทั้งหมดประกอบดวยแทงและกอนหินปูน ที่แหลมคมขนาดตางๆ ไมปรากฏ ชั้นดิน สภาพปาตามธรรมชาติดูคลายสวนหินที่ประดิษฐขึ้น ไมมีไมตนที่เดน ชัด นอกจาก คอเชียงดาว Trachycarpus oreophiluss (Palmae) สูงประมาณ 3–10 เมตร ขึ้นกระจัดกระจายหางๆ องคประกอบ พรรณไมของปาละเมาะ เขาสูง สวนใหญเปนพรรณไมเขตอบอุน หลายชนิดเปนพรรณไมถิ่นเดียวของ ประเทศไทย (endemic species) กลุมไมพุม เชน กุหลาบเวียงเหนือ Rosa helenae, ไขแดง Cotoneaster franchetii (Rosaceae), พิมพใจ Luculia gratissima var. glabra (Rubiaceae), เข็มเชียงดาว Viburnum atro-cyaneum (Caprifoliaceae), มะแขน Zanthoxylum acanthopodium (Rutaceae), ขมิ้นดอย Mahonia siamensis (Berberidaceae), เปรมนา Premna interrupta var. smitinandii (Labiatae), กุหลาบขาวเชียงดาว Rhododendron ludwigianum (Ericaceae), อูนตน Cornus oblonga (Cornaceae), ครามดอย Indigofera dosua, ครามเชียงดาว Lespedeza harmsii, ถั่วพุมดอย Sophora dispar (Leguminosae-Papilionoideae), ฮอม ดอย Strobilanthes chiangdaoensis (Acanthaceae) ไมพุมเกาะอาศัยตามซอกหินและกิ่ง ไม ไดแก โพอาศัย Neohymenopogon parasiticus และสะเภาลม Agapetes hosseana พืชลมลุกสวนใหญเปนพรรณไมเขตอบอุน เชน แอสเตอรเชียงดาว Aster ageratoides ssp. alato-petiolata, Camchaya calcarea, ไขขาง Senecio craibianus (Compositae), ฟอง หินเหลือง Sedum susanae (Crassulaceae), พวงแกวเชียงดาว Delphinium siamense,

59


พวงหิน Thalictrum calcicola (Ranunculaceae), ขาวปน Pterocephalodes siamensis (Dipsacaceae), ดอก หรีดเชียงดาว Gentiana australis (Gentianaceae), แสงแดง Colquhounia coccinea, ปน สินไชย Leucosceptrum canum (Labiatae), บัวทอง Hypericum uralum (Guttiferae), ชมพูเชียงดาว Pedicularis siamensis (Scrophulariaceae), สรอยไทรทอง Silene burmanica (Caryophyllaceae), พิมสาย Primula siamensis (Primulaceae), ผักชี หอม Geranium lambertii subsp. siamense (Geraniaceae), ฟองหินดอย Saxifraga gemmipara var. siamensis (Saxifragaceae), วานหอม Veratrum chiangdaoense (Melanthiaceae) เปนตน

กุหลาบขาวเชียงดาว Rhododendron ludwigianum พบตามปาละเมาะเขาสูง ดอย เชียงดาว

พิมพใจ Luculia gratissima var. glabra พบตามปาละเมาะเขาสูง ดอยเชียงดาว 60


คําแดง Rhododendron arboreum subsp. delavayi ตามชายปาดิบเขาสูงและปาละเมาะเขาสูง

กุหลาบเวียงเหนือ Rosa helenae

โพสามหาง Symingtonia populnea ในปาดิบ เขาสูง ไขขาง Senecio craibiana

61


10

áÍ‹§¾ÃØÀÙà¢Ò

(montane peat bog ËÃ×Í sphagnum bog) แองพรุภเู ขามีลกั ษณะเปนแองหรือทีล่ มุ บนยอดเขา หรือบนทีร่ าบสูงกวา ระดับน้ําทะเลตั้งแตประมาณ 1,200 เมตรขึ้นไป เชน แองพรุบนยอดดอยอิน ทนนท จ.เชียงใหม แองพรุบนสันเขาที่ราบของปาบาลาฮาลาทางภาคใตตอน ลาง ซึ่งเปนแองขนาดเล็ก และแองพรุขนาดใหญบนภูเขาหินทราย ภูกระดึง และภูหลวง จังหวัดเลย ที่มีสภาพอากาศหนาวเย็นและความชุมชื้นสูงตลอด ป สภาพของแองทีช่ มุ แฉะเปนเนืองนิจ มีการทับถมของซากอินทรียว ตั ถุทไี่ มผุ สลาย ดินชั้นอินทรียปกคลุมดวยขาวตอกฤๅษี (sphagnum mosses) คลาย ผืนพรมคลุมผิวดินตอเนือ่ ง บนพืน้ ทีเ่ ปนทุง โลง จะพบไมตน ขนาดเล็กขึน้ นอย มาก บริเวณแองพรุทเี่ ปนพืน้ ทีด่ อนขึน้ มา เชน พืน้ ทีต่ ามขอบแอง จะพบไมพมุ หรือไมตนขนาดเล็ก ขึ้นอยูประปราย สวนใหญเปนพรรณไมของวงศ กุหลาบ ดอย (Ericaceae) เชน กุหลาบขาว-กุหลาบแดง Rhododendronn spp., สม แปะ Lyoniaa spp., ชอไขมกุ Vaccinium m spp., ชามะยมดอย Gaultheriaa spp.

สภาพแองพรุภูเขา บน ภูกระดึง พื้นลางปกคลุมดวย Sphagnum mosses ดอก สามสี Rhododendron lyi และหมอขาวหมอแกงลิง Nepenthes thorelli

62

แองพรุภูเขาปาบาลาฮาลา อําเภอเบตง จังหวัดยะลา ปกคลุมหนาแนนดวยเฟน บัวฺแฉก Dipteris conjugata


แองพรุภูเขา Sphagnum mosses ภูหลวง จังหวัดเลย จะมีกลุมไมขนาดเล็กของสกุล Vaccinium spp. ขึ้น กระจัดกระจาย

แองพรุภูเขาบนยอดดอยอินทนนท พื้นลาง ปกคลุมไปดวย Sphagnum mosses แวดลอม ดวยปาดิบเขาสูง หรือปาเมฆ

63


11

»†ÒªÒÂàŹËÃ×Í»†Ò⡧¡Ò§ (mangrove forest)

ปาชายเลนหรือปาโกงกางเนือ่ งจากมีไมโกงกางเปนพรรณไมเดน ขึน้ ตามฝง ทะเลทีเ่ ปนดินเลน พบมากตามปากแมนา้ํ ลําคลองใหญทไี่ หลออกสู ทะเล และรองน้ําริมทะเลทัง้ ฝงอาวไทยและทะเลอันดามันตามเกาะตางๆ พรรณไมปาชายเลน ขึ้นไดตามฝงแมนํ้าลําคลองที่มีนํ้าเค็มจนถึงน้ํากรอย ทวมถึง ปาชายเลนฝงทะเลอันดามันมีไมขนาดใหญ และอุดมสมบูรณกวา ฝง อาวไทย ปาชายเลนมีลกั ษณะโครงสรางของปาและองคประกอบของพรรณ ไมโดยเฉพาะ ตนไมบางชนิด เชน โกงกาง Rhizophoraa spp. มีรากค้ํายัน (buttress root หรือ stilt root) ออกมาจากโคนตน บางชนิด เชน แสม Avicenniaa spp., ลําพู Sonneratiaa spp., ประสัก Bruguieraa spp. มีราก อากาศโผลพนพื้นดินเลน เรียกวา รากหายใจ (pneumatophore)

64


ปาชายเลน เกาะพระทอง จังหวัดพังงา

ชะคราม Suaeda maritima บนพื้นที่โลงที่มีดิน เค็มและแข็ง ดานหลังปาชายเลน

โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata ที่มีระบบรากค้ํายัน (buttress roots)

65


พรรณไมในปาชายเลนจะขึ้นในแนวเขตที่แบงแยกกันชัดเจนแตกตางกันไปตามสภาพพื้นที่ที่น้ําทะเลทวมถึง มากหรือนอย ในแตละวันอัตราความเค็มของน้ําทะเลและลักษณะของดินเลนเขตปาชายเลนดานนอกติดทะเลจะ ไดรับอิทธิพลของคลื่นลมเสมอ จะพบแสมทะเล Avicennia marina, แสมขาว A. alba (Avicenniaceae), ลําแพน Sonneratia alba (Sonneratiaceae) ขึ้นเปนกลุมหนาแนน ถัดเขามาดานในจะพบโกงกางใบใหญ Rhizophora mucronata, โกงกางใบเล็ก R. apiculata ปะปนกับกลุมของประสัก, รุย ถั่วขาวหรือถั่วดํา Bruguiera spp. และ โปรง Ceriops spp. (Rhizophoraceae) ตะบูนขาว Xylocarpus granatum (Meliaceae) ขึ้นแทรกหางๆ อยูในแนว เขตนี้ ปาชายเลนดานใน ติดฝงมีดินเลนคอนขางแข็ง น้ํากรอย ตลิ่งสูงขึ้น จะพบตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis (Meliaceae), หงอนไกทะเล Heritiera littoralis (Sterculiaceae), หลุมพอทะเล Intsia bijuga (LeguminosaeCaesalpinioideae), ฝาด Lumnitzera spp. (Combretaceae), ลําพู Sonneratia caseolaris, ลําแพนหิน S. griffithii (Sonneratiaceae), ตาตุมทะเล Excoecaria agallocha (Euphorbiaceae), แคทะเล Dolichandrone spathacea (Bignoniaceae) บริเวณพืน้ ลางของปาชายเลนดานในมี เฟนหรือปรงทะเล Acrostichum spp. (Pteridaceae), เหงือก ปลาหมอ Acanthus spp. (Acanthaceae), จาก Nypa fruticans, เปงทะเล Phoenix paludosa (Palmae) ขึ้นทั่วไป

winding buttresses

ตะบูนขาว Xylocarpus granatum ในปาชายเลน


buttresses

pneum matophores

ตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis ในปาชายเลน

ตะบัน Xylocarpus rumphii ในสังคมพืชชายหาด

ภาพแสดงลักษณะลําตน เปลือก พูพอน (buttresses) และรากหายใจ (pneumatophores) ของ พรรณไมสกุล Xylocarpus วงศ Meliaceae ในปาชายเลนและสังคมพืชชายหาด 67


ปาชายเลน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง

ถั่วดํา Bruguiera parviflora

โกงกางใบใหญ Rhizophora mucronata

สมอทะเล Shirakiopsis indica ในแนวเขตดานหลังปาชายเลน เปงทะเล Phoenix paludosa แนวเขตดานหลังปาชายเลน 68


แสมทะเล Avicennia marina

ลําแพน Sonneratia alba ที่ปรากฏระบบรากหายใจ (pneumatophores) ชวงน้ําลด

ตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis

69


12 »†Ò¾ÃØ

(peat swamp forest ËÃ×Í coastal peat swamp forest)

ปาพรุเกิดในภูมิประเทศใกลฝง ทะเล (coastal) ทางภาคใตตอนลาง (เชน นราธิวาส) ทีม่ ฝี นชุกและ เปนพืน้ ทีล่ มุ ต่าํ อาจจะต่าํ กวาระดับน้าํ ทะเล ปานกลางหรือเปนทีด่ อนสูงขึน้ เหนือระดับน้าํ ทะเลถึงประมาณ 30 เมตร มี สภาพเปนแองน้าํ จืดขังติดตอกันชั่วนาตาป มีการสะสมของชัน้ อินทรียว ัตถุ หรือดินอินทรียท หี่ นามากหรือนอย อยูเ หนือชัน้ ดินแทๆ การสะสมของซาก พืชและอินทรียวัตถุเกิดขึ้นตอเนื่องกันในสภาวะน้ําทวมขังที่ไดจากฝนใน แตละป พืชพรรณสวนใหญจึงมีโครงสรางพิเศษเพื่อดํารงชีพในสภาพสิ่ง แวดลอมเชนนี้ได เชน โคนตนมีพูพอน ระบบรากแกวสั้น แตมีรากแขนง แผกวางแข็งแรง มีระบบรากพิเศษหรือระบบรากเสริม ไดแก รากค้ํายัน (buttress root หรือ stilt root) ออกตามโคนตน รากสวนบนจะโผลเหนือ ขึน้ ดินอินทรียท มี่ นี า้ํ หลออยูเ ปนเนืองนิจ ชวยระบายอากาศ ปลายรากหยัง่ ลงไปในดิน ชวยในการพยุงลําตน พบในไมขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ เชน ตังหน Calophyllum teysmannii, ยากา Blumeodendron kurziii ฯลฯ ไม ตนหลายชนิดมีรากหายใจ (pneumatophore) แตกตัง้ ฉากกับรากแขนงใน ชั้นดินอินทรีย สงปลายรากขึ้นเหนือชั้นดิน ชวยในการหายใจ เชน หลุมพี Eleiodoxa conferta, ชางไห Neesia malayanaa ฯลฯ ลักษณะโครงสรางของปาพรุที่สมบูรณไมถูกรบกวนดูคลายปาดิบชื้น แตชนิด พรรณไมจะแตกตางกันอยางมาก มีตนไมหลายขนาดและเรือนยอดชิดกันตอเนื่อง เรือน ยอดชั้นบนสูงถึง 24–37 เมตร เชน ชางไห Neesia malayana (Bombacaceae), ตัง หนใบใหญ Calophyllum teysmannii (Guttiferae), ชันรูจี Parishia insignis, ขี้หนอน พรุ Campnosperma coriaceum (Anacardiaceae), กาบออย Dacryodes incurvata (Burseraceae), สะเตียว Madhuca motleyana (Sapotaceae), เลือดควายใบใหญ 70


ปาพรุโต็ะแดงจังหวัดนราธิวาส

เงาะปา Nephelium maingayi

กลวยไม Polyalthia sclerophylla

71


Horsfieldia crassifolia, จันทนปา Myristica iners (Myristicaceae), ตันหยงปา Elaeocarpus macrocerus (Elaeocarpaceae), ชมพู เสม็ด Aglaia rubiginosa, สะทอนนก Sandoricum beccarianum (Meliaceae), อายบาว Stemonurus secundiflorus (Icacinaceae), กาแดะ Dialium patens (Leguminosae-Caesalpinioideae), ชมพูป า และหวาชนิดตางๆ Syzygium spp. (Myrtaceae) ฯลฯ ไม ต น ชั้ น รองลงมา เช น จั น ทน ม ว ง Myristica elliptica (Myristicaceae) ปาหนั น แดง Polyalthia lateriflora, กล้ ว ยไม้ P. sclerophylla, ทุเรียนนก Xylopia ferruginea (Annonaceae), ยากา Blumeodendron kurzii, ระไมปา Baccaurea bracteata (Euphorbiaceae), ซางจีน Nageia motleyi (Podocarpaceae), เข็ม ปา Ixora grandifolia (Rubiaceae), สังเครียด Chisocheton patens (Meliaceae) พื ช ล ม ลุ ก และปาล ม ที่ พ บทั่ ว ไป เช น รั ศ มี เ งิ น , ลิ้ น กะทิ ง Aglaonema spp., เอาะ Alocasia spp., บอน Homalomena spp., ผักหนาม Lasia spinosa (Araceae), หมากแดง Cyrtostachys renda, หลุมพี Eleiodoxa conferta, กะพอแดง Licaula longecalyculata, รอก Livistona saribus, หมากงาชาง Nenga pumila, หมากลิง Pinanga riparia, หวายสะเดาน้ํา Korthalsia laciniosa, หวายตะคา ทอง Calamus caesius (Palmae) บริเวณชายปาพรุหรือปาพรุที่ถูกรบกวนใหมๆ จะพบพรรณไม เบิกนํา (pioneer species) จําพวก มะฮังใหญ Macaranga pruinosa (Euphorbiaceae) ขึ้นเปนกลุมๆ บริเวณพื้นที่โลงมีไมขนาดเล็ก ไดแก เที้ยะ Alstonia spathulata (Apocynaceae) ขึ้นกระจัดกระจาย ปา พรุที่ถูกแผวถางและถูกรบกวนซ้ําซากมีไฟไหมเปนประจํา ในชวง ฤดูแลง เสม็ด Melaleuca cajuputi (Myrtaceae) จะขึ้นปกคลุม พื้นที่เกือบเปนกลุมเดียวลวนๆ พื้นที่เปนที่ดอนบางตอน จะพบสน ทราย Baeckea frutescens, เมา Syzygium grande และเสม็ดแดง S. gratum (Myrtaceae) ขึ้นแทรกหางๆ

72


ปารุนสองของปาพรุที่ถูก ไฟปารบกวนเปนประจํา มีไมเสม็ด Melaleuca cajuputi ขึ้นเกือบเปน กลุมเดียวลวนๆ เรียกวา “ปาเสม็ด” หมายถึง ปา พรุที่เสื่อมสภาพ

ปาพรุ หลังไฟปา หมากแดง Cyrtostachys renda เหลืออยูบาง แตจะลมตายลงในระยะเวลาตอมา 73


13

»†ÒºÖ§¹éӨ״ËÃ×Í»†ÒºØ‹§-·ÒÁ (freshwater swamp forest)

ปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม แตกตางจากปาพรุอยางสําคัญ กลาวคือ ปาพรุเกิดบนพื้นที่เปนแองรูปกระทะ ที่มีการสะสมอยางถาวรของซากพืช หรืออินทรียวัตถุที่ไมผุสลาย แชอยูในน้ําจืดที่ไดรับจากฝนเปนสวนใหญ ในฤดูน้ําหลากปริมาณน้ําสวนเกินในพรุจะเออลนไหลลงสูทะเลหรือแมน้ํา ลําคลอง โดยที่ช้นั อินทรียวัตถุ ไมไดรับความกระทบกระเทือน สวนปาบึง น้าํ จืดเกิดตามบริเวณทีร่ าบสองฝง แมนา้ํ และลําน้าํ สายใหญทางภาคใต เชน แมน้ําตาป, ภาคกลาง เชน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําสะแกกรัง, ปาบึงน้ําจืด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน แมนา้ํ มูล ชี เรียกวา ปาบุง -ทาม พืน้ ทีเ่ ปน แองมีน้ําขังเรียกวาบุง พื้นที่ดอนมีตนไมใหญนอยเรียกทาม ปาบึงน้ําจืดได รับน้ําจืด ที่เออลนตลิ่งลําน้ําในฤดูน้ําหลาก บนพื้นปาไมมีการสะสมของ อินทรียว ตั ถุอยางถาวร เนือ่ งจากซากพืชถูกน้าํ พัดพาไปกับกระแสน้าํ หลาก ที่แปรปรวนอยูเสมอ ปจจุบันปาบึงน้ําจืดไดถูกทําลายไปมากเพื่อเปลี่ยน เปนพื้นที่ตั้งชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม เชน สวนยางพารา สวนปาลมน้ํามัน สวนผลไม นาขาว ฯลฯ นอกจากนีย้ ังพบปาบึงน้ําจืดขนาดเล็ก ในบริเวณที่ มีตาน้าํ ใตดนิ หรือแหลงน้าํ ซับ ตามพืน้ ทีเ่ ขาหินปูนทางภาคกลางและภาคใต ลักษณะโครงสรางของปาบึงน้ําจืดในแตละทองที่จะแตกตางกันไปอยางมากขึ้น อยูกับภูมิประเทศริมฝงแมน้ํา ปริมาณน้ําในฤดูน้ําหลากและสภาพของดิน ปาบึงน้ําจืด บนฝงที่เปนที่ราบในฤดูน้ําหลากระดับน้ําคอนขางสูง จะมีตน ไมปกคลุม พื้นที่เปนกลุมๆ กระจัดกระจายและตนไมมีความสูงไมมากนัก พื้นลางเปนพืชจําพวกหญาและกก สวน พื้นที่ดอนที่น้ําทวมถึงเปนครั้งคราวในระยะเวลาสั้นๆ จะพบกลุมไมตนขนาดกลาง-ใหญ ปกคลุมพื้นที่หนาแนน ติดตอกันเปนผืนใหญ ไมตนที่พบทั่วไปในปาบึงน้ําจืด เชน กรวยสวน Horsfieldia irya (Myristicaceae), 74


ปาบุง-ทาม ในฤดูแลง ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

ปาบุง-ทาม ลุมน้ํามูล

ปาบึงน้ําจืด ธารโบกขรณี อําเภออาวลึก จังหวัด กระบี่ ในชวงฤดูน้ําหลาก

75


ปาบึงน้ําจืด ที่มีกลุมไมจันทนกะพอ (Vatica diospyroides) เขตหามลาสัตวปาหนองทุงทอง อ.เคียนซา จ.สุราษฎรธานี

ปาบึงน้ําจืด ริมฝงแมน้ําตาป อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรธานี

76

ปาบุง-ทาม ลุมน้ํามูล ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


แฟบน้ํา Hymenocardia wallichii ไมพุมพบทั่วไป ในปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม

ชอดอกจันทนกะพอ Vatica diospyroides สักน้ํา Vatica pauciflora

จันทนกะพอ Vatica diospyroides ในปาบึงน้ําจืด จ.สุราษฎรธานี 77


กระเบาใหญ Hydnocarpus anthelminthicus ขึ้นตามปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม และริมธารในปาดิบแลง

กระทุมน้ํา Nauclea orientalis พบมากในปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม

มะมวงปาน Mangifera gedebe

สนุน Salix tetrasperma พบในปาบึงน้ําจืด และริม ลําธารในปาไมกอ

78


กันเกรา Fagraea fragrans (Gentianaceae), สีเสื้อน้ํา Homalium foetidum, กระเบาใหญ Hydnocarpus anthelminthicus, ตะขบน้ํา Scolopia macrophylla (Flacourtiaceae), จิกสวน Barringtonia racemosa (Lecythidaceae), สักน้ํา Vatica pauciflora (Dipterocarpaceae), ชุมแสง Xanthophyllum lanceatum (Xanthophyllaceae), สะแก Combretum quadrangulare (Combretaceae), มะมวงปาน Mangifera gedebe (Anacardiaceae), กระทุมบก Anthocephalus chinensis, กระทุมหรือ กระทุมน้ํา Nauclea orientalis, เงาะหนู N. subdita, กระทุมนา Mitragyna diversifolia, กระทุมน้ํา Ochreinauclea maingayi (Rubiaceae), เฉียงพรา นางแอ Carallia brachiata (Rhizophoraceae), อินทนิลน้าํ Lagerstroemia speciosa (Lythraceae), พิกลุ พรุ Elaeocarpus griffithii (Elaeocarpaceae), นาวน้ํ า Artabotrys spinosus, กลึ ง กล อ ม Polyalthia suberosa (Annonaceae), ชะมวงกวาง Ploiarium alternifolium (Guttiferae), ส า นน้ํ า Dillenia pulchella (Dilleniaceae), ระกํ า ป า Cathormion umbellatum, คาง Albizia lebbekoides (Leguminosae-Mimosoideae), หวา Syzygium cumini (Myrtaceae), แฟบน้ํา Hymenocardia wallichii, สําเภา Chaetocarpus castanocarpus (Euphorbiaceae), ตังหนใบเล็ก Calophyllum pisiferum, มะดัน Garcinia schomburgkiana (Guttiferae), ขอย Streblus asper (Moraceae), บริเวณพื้นที่โลงเปนที่ดอนมีไมพุมออก เปนกอหนาแนน ไดแก กางปลาขาว Phyllanthus reticulatus, เสียวนอย P. taxodiifolius, เสียวใหญ P. polyphyllus var. siamensis (Euphorbiaceae) ไผที่พบมากออกเปนกอใหญ ไดแก ไผปา หรือไผหนาม Bambusa bambos (Gramineae)

79


14

Êѧ¤Á¾×ªªÒÂËÒ´ (strand vegetation)

สังคมพืชชายหาด พบตามชายฝ งทะเลที่เป นหาดทราย (sand strand), แนวสันทราย (sand dune) หรือโขดหิน (rock strand) พืช พรรณไมขึ้นเปนแนวแคบๆ หรือเปนหยอมๆ เลาะไปตามแนวหาดทราย ที่ราบหรือชายฝงที่คอนขางชัน ทางฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต ภาค กลาง และภาคใต สังคมพืชมีตง้ั แตทงุ โลงปกคลุมดวยหญาลอยลม Spinifex littoreuss และผักบุง ทะเล Ipomoea pes-capraee หากสภาพเปนปาจะโปรง สวนใหญเปนตนไมขนาดเล็ก ไมตนที่มีขนาดใหญ มักจะแตกกิ่งต่ําระเกะ ระกะ เรือนยอดแผกวาง ตนคอนขางเตี้ย ไมตนขนาดใหญในปาชายหาดที่ มีขนาดสูงตรง ไดแก สนทะเล Casuarina equisetifoliaa (Casuarinaceae) พบขึ้นเปนกลุมตามชายหาดที่ไมถูกรบกวนมากนัก ไมตนชนิดอื่น เชน กระทิงหรือสารภีทะเล Calophyllum inophyllum m (Guttiferae), ปอทะเล Hibiscus tiliaceus, โพทะเล Thespesia populneaa (Malvaceae), หูกวาง Terminalia catappaa (Combretaceae), เทียนทะเล Pemphis acidula (Lythraceae), โกงกางหูชาง Guettarda speciosaa (Rubiaceae), ตีน เปดทราย Cerbera manghass (Apocynaceae), เมา Syzygium grande (Myrtaceae), จิกทะเล Barringtonia asiaticaa (Lecythidaceae), งาไซ Pouteria obovataa (Sapotaceae), หมันทะเล Cordia subcordata (Boraginaceae), ตะบัน Xylocarpus rumphiii (Meliaceae), โพกริ่ง Hernandia nymphaeifoliaa (Hernandiaceae), หยีทะเล Derris indica (Leguminosae-Papilionoideae) 80


ไม พุ ม ที่ พ บทั่ ว ไป เช น รั ก ทะเล Scaevola taccada (Goodeniaceae), สํามะงา Clerodendrum inerme, ชาเลือด Premna obtusifolia, คนทิสอทะเล Vitex trifolia (Labiatae), หนามพุงดอ Azima sarmentosa (Salvadoraceae), เตยทะเล Pandanus tectorius (Pandanaceae), หนามพรม Carissa spinarum (Apocynaceae) ไมเถาที่พบทั่วไป เชน ผักบุงทะเล Ipomoea pes-caprae (Convolvulaceae), ถั่วคลา Canavalia rosea (Leguminosae-Papilionoideae), ดองดึง Gloriosa superba (Colchicaceae), จั่นดิน Asparagus acerosus (Asparagaceae)

สังคมพืชชายหาด(ทราย) บริเวณเนิน ทราย บานบางเบิด จังหวัดชุมพร มี เมา Syzygium grande และมะคาแต Sindora siamensis var. siamensis เปนไมเดน

81


หญาลอยลม Spinifex littoreus

ดองดึง Gloriosa superba

82

งวงชางทะเล Argusia argentea


จิกทะเล Barringtonia asiatica พบในสังคมพืชชายหาดที่เปนโขดหิน

ผักบุงทะเล Impomoea pes-caprae หมันทะเล Cordia subcordata

83


ปาผลัดใบ

(deciduous forest) ปาผลัดใบ เปนปาไมที่ผลัดใบตามฤดูกาล (seasonal) พบทั่วไปทุก ภาคที่มีชวงฤดูแลงยาวนานชัดเจน ระหวาง 4–7 เดือน ยกเวนภาคใตและ ภาคตะวันออกเฉียงใต (จันทบุรี-ตราด) เมื่อถึงฤดูแลงที่มีปริมาณความชุม ชื้นในดินและบรรยากาศลดลงอยางมาก ตนไมในปาประเภทนี้จะผลัดใบ รวงลงสูพ น้ื ดินและเตรียมผลิใบออนขึน้ มาใหม เมือ่ ถึงตนฤดูฝนหรือเมือ่ ปา มีความชุมชืน้ มากขึน้ พืชพรรณในปาผลัดใบสวนใหญเปนพรรณไมผลัดใบ (deciduous species) แทบทัง้ สิน้ ปาผลัดใบในชวงฤดูฝนมีเรือนยอดเขียว ชอุมเชนเดียวกับปาไมผลัดใบในฤดูแลง (มกราคม–มีนาคม) ใบไมแหงจะ กองทับถมบนพื้นปาทําใหเกิดไฟปาลุกลามในปาผลัดใบไดงายแทบทุกป ปาผลัดใบขึ้นทั่วไปบนที่ราบเชิงเขา และบนภูเขาสูงที่ไมเกินระดับ 1,000 เมตร (ยกเวนปาเต็งรัง-ไมสน) จําแนกออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ 1. ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบ (mixed deciduous forest) 2. ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest หรือ dry dipterocarp forest) 3. ปาเต็งรัง-ไมสน (pine-deciduous dipterocarp forest)

84


15

»†ÒàºÞ¨¾Ãó ËÃ×Í»†Ò¼ÊÁ¼ÅѴ㺠(mixed deciduous forest)

ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบมีอยูมากทางภาคเหนือ ภาคกลางและ พบกระจัดกระจาย เปนหยอมเล็กๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนทาง ภาคใตไมพบปาชนิดนี้เลย ปาเบญจพรรณมีลักษณะเปนปาโปรงมากหรือนอย ประกอบดวยไมตนขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็กปนกันหลากชนิดโดย เฉพาะ พรรณไมของวงศ Leguminosae, Combretaceae และ Labiatae แต จะไมปรากฏพรรณไมกลุมยาง-เต็ง-รัง ที่ผลัดใบ (deciduous dipterocarp) บาง แหงมีไมไผชนิดตางๆ ขึน้ เปนกอสูงๆ แนนหรือกระจัดกระจาย พืน้ ดินมักเปนดิน รวนปนทราย มีความชุมชื้นในดินปานกลาง หากเปนดินที่สลายมาจากหินปูน หรือดินตะกอนทีอ่ ุดมสมบูรณตามฝง แมนา้ํ มักจะพบไมสักขึน้ เปนกลุม ๆ เชน ปา เบญจพรรณในภาคเหนือลงมาถึงภาคตะวันตกเฉียงใต ในเขตจังหวัดกาญจนบุรี ซึง่ ประกอบดวยภูเขาหินปูนเปนสวนใหญ ในชวงฤดูแลง (มกราคม–มีนาคม) ตนไม สวนใหญ จะผลัดใบทําใหเรือนยอดของปาดูโปรงมาก เมื่อเขาฤดูฝนตนไมจึงผลิ ใบเต็มตนและปาจะกลับเขียวชอุมเชนเดิม ปาเบญจพรรณในทองที่มีดินตื้นหรือดินเปนกรวดทราย คอนขางแหงแลง (xeric) และมี ไฟปาในฤดูแลง เปนประจํา ตนไมจะมีลักษณะแคระแกร็น เรือนยอดเปนพุมเตี้ยๆ ตามลําตน และกิ่งมักจะมีหนามแหลม เชน กระถินพิมาน Acacia tomentosa, A. harmandiana, แฉลบ แดง A. leucophloea (Leguminosae-Mimosoideae), สีฟนคนฑา Harrisonia perforata (Simaroubaceae), มะสัง Feroniella lucida, กระแจะ Naringi crenulata (Rutaceae), แจง Maerua siamensis (Capparaceae), ตะขบปา Flacourtia indica (Flacourtiaceae) เปนตน 85


ปาเบญจพรรณที่มีพรรณไม หลากชนิด บริเวณเขตรักษา พันธุสัตวปาหวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี (ภาพบน) และปาเบญจพรรณ ที่มีกลุม ไมไผหนาแนน อุทยานแหง ชาติขุนแจ จังหวัดเชียงราย (ภาพลาง)

86


ปาเบญจพรรณบนภูเขาหินปูน อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

วานหาวนอน Kaempferia rotunda ขึ้นตามพื้นลางของปาเบญจพรรณ

ไผหก Dendrocalamus hamiltonii มีลําขนาดใหญ ขึ้นในปาเบญจพรรณ ระดับสูง ปาเบญจพรรณบนพื้นที่แหงแลงลักษณะเปนปาหนาม ตนไมแคระเกร็นมักจะมีหนาม 87


ปาเบญจพรรณที่มีไมสักในชวงฤดูฝน อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน

ปาเบญจพรรณที่มีกลุมไมสัก ขึ้นเปนไมเดน ในชวงฤดู ผลัดใบ อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน

88


ปาเบญจพรรณหลังไฟปาในฤดูรอน เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง

แนวรอยตอ (ecotone) ที่ชัดเจนระหวางปา เบญจพรรณ (หลังไฟปา) และปาดิบแลงริมลําธาร (gallery forest) เขต รักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ นเรศวร

89


ตนไมผลิใบใหมเต็มตนใน ปาเบญจพรรณ อุทยาน แหงชาติออบหลวง

ปรู Alangium salviifolium ssp. hexapetalum พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ พฤกษ Albizia lebbeck พบทั่วไปในปาเต็งรังและปา เบญจพรรณ

คูน Colocasia gigantea พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ 90


กระโดนหรือปุย Careya sphaerica พบทั่วไปในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ

ยมหิน Chukrasia tabularis พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ

กัลปพฤกษ Cassia bakeriana ในปาเบญจพรรณและชายปาดิบแลง

ซอ Gmelina arborea ขึ้นปะปนกับไมสักในปาเบญจพรรณ

สมปอย Acacia concinna ไมเถามีหนามพบมากตามปาเบญจพรรณและ ชายปาดิบแลง

วานนกคุม Gomphostemma strobilinum var. acaulis พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ

91


สานใบเล็ก Dillenia ovata พบตามปา เบญจพรรณ

สานใหญ Dillenia obovata ในปาเบญจพรรณ

สานชาง Dillenia pentagyna ในปาเบญจพรรณ ทุงใหญนเรศวร

ชอผลของไมสัก Tectona grandis ในปาเบญจพรรณ 92

มะกอก Spondias pinnata พบทัว่ ไปในปาเบญจพรรณ


อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa พบมากในปาเบญจพรรณและปาเต็งรังทางภาคเหนือ

ขวาว Haldina cordifolia ไมเดนในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ

ปอลมปม Thespesia lampas ไมพุมที่พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ

แคหิน Stereospermum colais

ไผผากมัน Gigantochloa hasskarliana ในปาเบญจพรรณ

พะยอม Shorea roxburghii พบทั่วไปในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณและชายปาดิบแลง

แจง Maerua siamemsis พบทั่วไปในปาเบญจพรรณที่แหงแลง 93


ไมตน ทีพ่ บทัว่ ไป เชน พฤกษ Albizia lebbeck, คาง A. odoratissima, ปนแถ A. lucidior, ถอน A. procera (Leguminosae-Mimosoideae), มะคาโมง Afzelia xylocarpa, สมเสี้ยว Bauhinia malabarica (Leguminosae-Caesalpinioideae), ทองกวาว Butea monosperma (Leguminosae-Papilionoideae), ราชพฤกษ Cassia fistula, แสมสาร Senna garrettiana (Leguminosae-Caesalpinioideae), กระพี้เขาควาย, เก็ดแดง, เก็ดดํา Dalbergia spp., ขะเจาะ, สาธรหรือปจั่น Millettia spp., ประดูปา Pterocarpus macrocarpus (LeguminosaePapilionoideae), แดง Xylia xylocarpa var. kerrii (Leguminosae-Mimosoideae), ปรู Alangium salviifolium ssp. hexapetalum (Alangiaceae), ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata var. lanceolata, สมอพิเภก Terminalia bellirica, สมอไทย T. chebula, ตะแบกเลือด T. mucronata, รกฟา T. alata, ปูเจา T. triptera (Combretaceae), แคหิน Stereospermum colais, แคทราย S. neuranthum, แคทุง Dolichandrone serrulata, ปป Millingtonia hortensis (Bignoniaceae), กระโดนหรือปุย Careya sphaerica (Lecythidaceae) เลียงมัน Berrya cordifolia, ปอเลียง B. mollis (Tiliaceae), คํามอก, ชันยอด Gardenia spp., กวาว Haldina cordifolia, อุโลก Hymenodictyon orixense, ตุมกวาว Mitragyna rotundifolia, ตุม M. hirsuta, ยอปา Morinda pubescens (Rubiaceae), ยมหิน Chukrasia tabularis, สะเดา Azadirachta indica var. siamensis, มะขามปอม Phyllanthus emblica, เลี่ยน Melia azedarach (Meliaceae), เปลาหลวง Croton roxburghii, ขันทองพยาบาท Suregada multiflora (Euphorbiaceae), สานใหญ Dillenia obovata, สานแข็ง D. aurea, สานนา D. pentagyna (Dilleniaceae), ถานไฟผี Diospyros montana, ตับเตา D. ehretioides, พลับดํา D. variegata (Ebenaceae), ตะคร้ํา Garuga pinnata, มะกอกเลื่อม Canarium subulatum, มะแฟน Protium serratum (Burseraceae), ตะครอไข Schleichera oleosa, ตะครอหนาม Sisyrolepis muricata (Sapindaceae), มะกอก Spondias pinnata, มะกัก S. bipinnata, มะมวงปา Mangifera spp., ออยชาง, กุก Lannea coromandelica (Anacardiaceae), ปอคาว Firmiana colorata, สําโรง Sterculia foetida, ปอขาว S. pexa, ปอตูบ S. villosa (Sterculiaceae), โมก ใหญ Holarrhena pubescens, โมกมัน Wrightia arborea (Apocynaceae), ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae, อินทนิลบก L. macrocarpa, เสลาดอกขาว L. tomentosa, เสลา ดํา L. venusta, เสามื่น L. villosa (Lythraceae), งิ้ว Bombax ceiba, งิ้วดอกขาว B. anceps (Bombacaceae), เลียงฝาย Kydia calycina (Malvaceae), ยาบใบยาว Colona flagrocarpa (Tiliaceae), สัก Tectona grandis, สักขี้ไก Premna tomentosa, ซอ Gmelina arborea, ผา เสีย้ น Vitex canescens, สวอง V. limonifolia, กาสามปก V. peduncularis, ตีนนก V. pinnata, หมากเล็กหมากนอย V. quinata (Labiatae), ขางหัวหมู Miliusa velutina, สะแกแสง Cananga latifolia (Annonaceae), มะดูก Siphonodon celastrineus (Celastraceae), พะยอม Shorea roxburghii (Dipterocarpaceae) ไมไผทพ่ี บทัว่ ไป เชน ไผปา Bambusa bambos, ไผหอม B. polymorpha, ไผบงดํา B. tulda, ไผหลวง B. vulgaris var. vulgaris, ไผขา วหลาม Cephalostachyum pergracile, ไผ หก Dendrocalamus hamiltonii, ไผซางนวล Bambusa membranacea, ไผซาง D. strictus, ไผรวก Thyrsostachys siamensis, ไผไร Gigantochloa albociliata, ไผไลลอ G. nigrociliata (Gramineae) 94


16

»†Òàμç§Ãѧ »†Òá¾Ð »†Òá´§ ËÃ×Í»†Ò⤡ (deciduous dipterocarp forest ËÃ×Í dry dipterocarp forest)

ปาเต็งรัง ปาแพะ ปาแดงหรือปาโคก พบมากทีส่ ดุ ในภาคตะวันออกเฉียง เหนือประมาณรอยละ 80 ของปาชนิดตางๆ ทีม่ อี ยูใ นภาคนีท้ ง้ั หมด นอกจาก นี้ยังพบทั่วไปในภาคเหนือ และคอนขางกระจัดกระจายลงมาทางภาคกลาง พบทั้งในที่ราบและเขาที่ต่ํากวา 1,000 เมตรลงมาขึ้นไดในที่ดินตื้น คอนขาง แหงแลงเปนดินทรายหรือดินลูกรัง ถาเปนดินทรายก็มคี วามรวนลึกระบายน้าํ ไดดี แตไมสามารถจะเก็บรักษาความชุม ชืน้ ไวไดเพียงพอในฤดูแลง ถาเปนดิน ลูกรัง ดินจะตื้นมีสีคอนไปทางแดงคล้ํา บางแหงจึงเรียกปาชนิดนี้วา “ปาแดง” ลักษณะของปาเต็งรัง เปนปาโปรง ประกอบดวยตนไมผลัดใบขนาดกลางและขนาด เล็กขึ้นหางๆ กระจัดกระจายไมคอยแนนทึบ พื้นปามีหญาและไผแคระจําพวกไผเพ็ก ไผโจด Vietnamosasa spp. ขึ้นทั่วไป มีลูกไม คอนขางหนาแนน ทุกปจะมีไฟปาเกิดขึ้นเปนประจํา ทําใหลูกไมบางสวนถูกไฟไหมตายทุกป จนกวาลูกไมนั้นๆ จะสะสมอาหารไวในรากไดเพียง พอ จึงจะเติบโตขึ้นสูงพนอันตรายจากไฟปาได บางพื้นที่ที่เปนที่ราบมีดินทรายคอนขางลึก ตนไมมักจะมีขนาดสูงและใหญขึ้นเปนกลุมๆ แนนคลายปาเบญจพรรณ เชน ปาเต็งรัง บน ที่ราบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางแหงมักจะพบกลุม ไมทมี่ ลี ักษณะสมบูรณ ไดแก ยาง กราด Dipterocarpus intricatus, เหียง D. obtusifolius และพลวง D. tuberculatus ปา เต็งรังทีค่ อ นขางแคระแกร็น พบบนภูเขาภาคเหนือทีม่ ดี นิ ตืน้ ตามไหลเขาและสันเขา บริเวณที่ แหงแลงมากที่สุดจะพบรัง Shorea siamensis ขึ้นเกือบเปนกลุมเดียวกันลวนๆ สวนเต็งจะ พบขึ้นปะปนกับ พรรณไม ทั้ง 4 ชนิดดังกลาว พรรณไมทั้ง 5 ชนิดเปนกลุมไมยาง-เต็ง-รัง ที่ ผลัดใบ (deciduous dipterocarp) พบเฉพาะในปาเต็งรังเทานั้น และไมในชั้นเรือนยอดจะ ประกอบดวยพรรณไมกลุมนี้ไมต่ํากวารอยละ 70 สวนยางกราด D. intricatus พบเฉพาะใน ปาเต็งรังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


สภาพปาเต็งรัง บริเวณเขานางรํา เขตรักษาพันธุสัตวปา หวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี

96


เหียง Dipterocarpus obtusifolius ไมเดนในปาเต็งรัง

ยางกราด Dipterocarpus intricatus พบเฉพาะในปาเต็งรังภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

หูใบและใบออนของพลวง Dipterocarpus tuberculatus ไมเดนในปาเต็งรัง

ปาเต็งรัง สะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา หลังจากไฟปา ตนกําลังผลิใบออน 97


ปาเต็งรังชวงฤดูฝน

และปาเต็งรัง เปลี่ยนเปนสีอิฐระหวางปลายเดือนธันวาคม ถึงตนเดือนมกราคม อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท 98


ทุงดอกไมปา (มณีเทวา Eriocaulon smitinandii)

สรอยสุวรรณา Utricularia bifida

กลุมพืชลมลุกประเภทพืชดักแมลง

สรัสจันทร Burmannia coelestis

หญาไฟตะกาด Drosera peltata

ทุงดอกไมปา (สรอยสุวรรณา)

สังคมพืชชื้นแฉะแบบผืนแผนบนพลาญหินในปาเต็งรัง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 99


กลุมไมรัง Shorea siamensis ชวงผลิใบออนในปาเต็งรัง เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง

กลุมไมรัง Shorea siamensis อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เปลี่ยนสีในชวงผลัดใบ ปลายเดือนธันวาคม–มกราคม 100


ชอดอกและใบออนของรัง Shorea siamensis ไมเดนในปาเต็งรัง

เกล็ดมังกร Dischidia nummularia ในปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง

รักใหญ Gluta usitata

เต็ง Shorea obtusa ไมเดนในปาเต็งรัง

101


พรรณไมเดนในปาเต็งรัง ไดแก กลุม deciduous dipterocarp 5 ชนิด ยางกราด Dipterocarpus intricatus, เหียง D. obtusifolius, พลวง D. tuberculatus, เต็ง Shorea obtusa, และรัง S. siamensis (Dipterocarpaceae) สวนพะยอม Shorea roxburghii เปนไมกึ่งผลัดใบ พบทั้งในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง พรรณไมเดนอื่นๆ เชน คํามอกหลวง Gardenia sootepensis, คํามอกนอย G. obtusifolia, กวาว Haldina cordifolia, ตุมกวาว Mitragyna rotundifolia, ระเวียง Catunaregam tomentosa, ยอปา Morinda pubescens (Rubiaceae), คาง Albizia odoratissima (Leguminosae-Mimosoideae), ซาก Erythrophleum spp. (Leguminosae-Caesalpinioideae), ประดูปา Pterocarpus macrocarpus (Leguminosae-Papilionoideae), มะคาแต Sindora siamensis var. maritima (Leguminosae-Caesalpinioideae), แดง Xylia xylocarpa var. kerrii (Leguminosae-Mimosoideae), มะมวงหัวแมงวัน Buchanania lanzan, ลันไชย B. siamensis, รักใหญ Gluta usitata (Anacardiaceae), มะกอกเลือ่ ม Canarium subulatum (Burseraceae), กระโดนหรือปุย Careya sphaerica (Lecythidaceae), จะบก Irvingia malayana (Irvingiaceae), มะพอก Parinari anamense (Chrysobalanaceae), มะขามปอม Phyllanthus emblica, โลด Aporosa villosa (Euphorbiaceae), โมกใหญ Holarrhena pubescens (Apocynaceae), อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa (Lythraceae), ติว้ , แตว Cratoxylum spp., (Guttiferae), ตะครอไข Schleichera oleosa, ตะครอหนาม Sisyrolepis muricata (Sapindaceae), มะตึ่ง, แสลงใจ Strychnos nux–vomica (Strychnaceae), สมอไทย Terminalia chebula, รกฟา T. alata, (Combretaceae), หวา Syzygium cumini (Myrtaceae), แคบิด Fernandoa adenophylla, แครกฟา Heterophragma sulfureum (Bignoniaceae), ชางนาว Ochna integerrima (Ochnaceae), ตับเตา Diospyros ehretioides, ถานไฟผี D. montana, ตะโก D. rhodocalyx (Ebenaceae), พลองใบเล็ก Memecylon scutellatum (Melastomataceae), มะกอกดอน Schrebera swietenioides (Oleaceae), ผักหวาน Melientha suavis (Opiliaceae), คํารอก Ellipanthus tomentosus var. tomentosus (Connaraceae) ไมพุมเดนที่พบทั่วไป ไดแก พุดผา Gardenia saxatilis (Rubiaceae), โคลงเคลง Melastoma spp., จุก นารี Osbeckia spp. (Melastomataceae), ตองหมอง Dendrolobium spp., ขางคันนา Desmodium spp., ชอย นางรํา Codariocalyx motorius, เกล็ดปลาชอน Phyllodium spp., ครามปา Indigofera spp., ไชหิน Droogmansia godefroyana (Leguminosae-Papilionoideae), ขีค้ รอก Urena lobata, ขีอ้ น Pavonia spp., หัวอีอกุ Decaschistia spp., ปอตอม Hibiscus spp., ครอบจักรวาล Abutilon spp., หญาขัด Sida spp. (Malvaceae) พืชพืน้ ลางทีส่ าํ คัญ เชน โจด หรือไผโจด Vietnamosasa ciliata, ไผเพ็ก หรือ หญาเพ็ก V. pusilla (Gramineae), ปรงปา Cycas siamensis (Cycadaceae)

102

ปาเต็งรังบนภูเขาหินทรายชวงปลายฤดูฝนตนฤดูหนาว พื้นลางของปาจะปกคลุมดวยสังคมพืชชุมน้ํา ตาม ฤดูกาล (seasonal wetland vegetation) ประเภทหนึ่ง เรียกวา สังคมพืชชื้นแฉะแบบผืนแผน (blanket marsh vegetation) ซึง่ เปนระบบนิเวศอันเปนเอกลักษณและเปราะบาง ขึน้ ปกคลุมพืน้ ทีโ่ ลงตามพลาญหินทรายทีค่ อ ยๆ ลาด ลงสูล าํ ธาร ประกอบดวยชัน้ อินทรียว ตั ถุทเี่ ปนผืนแผนบางๆ หลอเลีย้ งดวยนําท ไี่ หลรินลงสูล าํ ธาร ชวงตนฤดูหนาวจะ มีพชื ลมลุกประเภทพืชจับแมลง (insectivorous plant) นานาพรรณ ความสูงประมาณ 5–30 เซนติเมตร เชน พืชของ สกุลดุสิตา, สรอยสุวรรณา, ทิพเกสร Utricularia spp. (Lentibulariaceae), สกุลหยาดน้ําคาง, จอกบวาย Drosera spp. (Droseraceae), สกุลหมอขาวหมอแกงลิง Nepenthes spp. (Nepenthaceae), พืชกินซากของสกุลสรัสจันทร Burmannia spp. (Burmanniaceae) และพืชอืน่ ของสกุลหญารากหอม Salomonia spp. (Polygalaceae), สกุลมณี


เทวา Eriocaulon spp. (Eriocaulaceae), สกุลกระถินนา Xyris spp. (Xyridaceae) และดาวประดับ Oldenlandia arguta (Rubiaceae) ขึ้นปะปนกันเปนทุงดอกไมปาที่มีสีสัน จนถึงประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน พืชลมลุกเหลา นี้จะยุบตัวหลังจากออกผล เหลือแตผืนแผนชั้นอินทรียวัตถุที่แหงกรอบ สังคมพืชประเภทนี้เปราะบาง ถูกทําลายจน สิ้นสภาพไดงายเมื่อถูกรบกวนจากชีวปจจัยและไฟปาที่เกิดขึ้นเปนประจํา ในชวงฤดูรอน ทําใหพื้นลางของปาเต็งรัง บนภูเขาหินทรายสวนใหญ เหลือแตพลาญหินอันโลงเตียน ดังปรากฏทั่วไปในผืนปาเต็งรังในปจจุบัน

ชอผลและใบออนของรัง Shorea siamensis ในปาเต็งรัง

รัง Shorea siamensis ในปาเต็งรัง จ.สกลนคร

103


17

»†Òàμç§Ãѧ-äÁŒÊ¹

(pine-deciduous dipterocarp forest)

ปา เต็ง รั ง ที่ อ ยู บ นภู เ ขาสู ง จากระดับ น้ํ า ทะเลตั้ ง แต 700 เมตร ถึง 1,350 เมตร มักจะพบสนสองใบ Pinus merkusiii และสนสามใบ P. kesiya ขึน้ ปะปนในชัน้ เรือนยอดและมีขนาดสูงเดนกวาเรือนยอดชัน้ บน ของปาเต็งรังทั่วไป นอกจากนี้ยังมีพรรณไมของปาดิบเขาขึ้นแทรกอยูดวย เรียกปาชนิดวา ปาเต็งรัง-ไมสน พบมากในปาเต็งรังบนภูเขาทางภาคเหนือ ซึ่งมีไฟปารบกวนอยูเสมอ สวนใหญจะพบปาเต็งรัง-ไมสน (โดยเฉพาะสน สองใบ) ที่ระดับระหวาง 700–1,200 เมตร สนสองใบในปาเต็งรังภาค เหนือขึ้นไดในระดับต่ําถึงประมาณ 500 เมตร และระดับสูงสุดในอุทยาน แหงชาติดอยอินทนนท ประมาณ 1,350 เมตร ปาเต็งรัง-ไมสนทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) พบขึ้นบนภูเขาหินทราย ที่ระดับความสูง ประมาณ 750–900 เมตร สวนใหญจะเปนสนสามใบ เชน ในเขตรักษา พันธุสัตวปาภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และอุทยานแหงชาติน้ําหนาว จังหวัด เพชรบูรณ ปาเต็งรัง-ไมสนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนใต) ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และสุรนิ ทร ขึน้ อยูใ นทีร่ าบประมาณ 120–250 เมตร จะพบแตสนสองใบขึน้ หางๆ ในปา เต็งรังบนพืน้ ทีเ่ ปนดินทราย ปาเต็งรัง-ไมสน (สนสองใบ) ในภาคกลางจะพบบนเขาและเชิง เขาที่ระดับต่ํากวา 500 เมตร ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรีและเพชรบุรี ปาเต็งรัง-ไมสนที่ขึ้น ตามธรรมชาติบนพื้นที่ลุมต่ําใกลชายฝงชะอํา จังหวัดเพชรบุรี (ปาชุมชนเขาสน) มีระดับ ความสูงเพียง 70 เมตร แตปาอยูในสภาพทรุดโทรมอยางมากในปจจุบัน พรรณไมเดนในปาเต็งรัง-ไมสน เชน สนสองใบ Pinus merkusii, สนสามใบ P. kesiya (Pinaceae) นอกจากนี้มีพรรณไมเดนของปาเต็ง-รัง ทั่วไป และพรรณไมจากเขต ภูเขาสูงปะปนอยูดวย เชน เหียง Dipterocarpus obtusifolius, พลวง D. tuberculatus, 104


เต็ง Shorea obtusa, รัง S. siamensis (Dipterocarpaceae), สารภีดอย Anneslea fragrans, ทะโล Schima wallichii, ปลายสาน Eurya spp., ไก Ternstroemia gymnanthera (Theaceae), หนวยนกงุม Beilschmiedia spp., ทัง Litsea spp. (Lauraceae), มะยมภู Craibiodendron stellatum, สมป Vaccinium sprengelii (Ericaceae), กาว Tristsaniopsis burmanica var. rufescens, หวา Syzygium cumini (Myrtaceae), มะขามปอม Phyllanthus emblica, โลด Aporosa villosa (Euphorbiaceae), แคทราย Stereospermum neuranthum, แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Rubiaceae), คาหด Engelhardtia spicata (Juglandaceae), เหมือดหอม Symplocos racemosa (Symplocaceae), คาง Albizia odoratissima (Leguminosae-Mimosoideae), เสี้ยวขาว Bauhinia variegata (Leguminosae-Caesalpinioideae), สานแข็ง Dillenia aurea (Dilleniaceae), กอหยุม Castanopsis argyrophylla, กอหรั่ง C. armata, กอแปน C. diversifolia, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอหมน Lithocarpus elegans, กอแงะ L. polystachyus, กอแพะ Quercus kerrii, กอแดง Q. kingiana, กอแงะ Q. mespilifolia (Fagaceae), กํายาน Styrax benzoides (Styracaceae), เหมือดคนตัวผู Helicia nilagirica (Proteaceae) พื้นลางของปาเต็งรัง-ไมสน บนภูเขาทางภาคเหนือจะพบ เปงดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae) ขึ้นกระจัดกระจายทั่วไป

ปาเต็งรัง-ไมสน (สามใบ) บานวัดจันทร จังหวัดเชียงใหม

105


ปาเต็งรัง-ไมสน (สามใบและสองใบ) อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ระดับความสูงประมาณ 1,100-1,350 เมตร

ปาเต็งรัง-ไมสน (สองใบ) อุทยานแหงชาติดอย อินทนนท จังหวัด เชียงใหม

106


ปาเต็งรัง-ไมสน (สองใบ) ตามผาหินทราย ริมฝงโขง อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี

ปาเต็งรัง-ไมสน (สองใบ) บนที่ราบต่ํา บริเวณศูนยบํารุง พันธุไมสน อ. โขงเจียม จ. อุบลราชธานี ระดับ ความสูงประมาณ 150 เมตร

107


ปาเต็งรัง-ไมสน (สามใบ) ทุงกะมัง เขตรักษาพันธุ สัตวปาภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ

108


บรรณานุกรม 1. กรมปาไม. 2493 & 2505. ชนิดของปาไมในประเทศไทย กรมปาไม, กรุงเทพฯ. 2. กรมอุตนุ ิยมวิทยา. 2525. ขอมูลสภาพดินฟาอากาศของประเทศไทยในชวง 30 ป (ระหวาง พ.ศ. 2494– 2523) กรมอุตุนิยมวิทยา. กรุงเทพฯ. 3. ธงชัย จารุพพัฒน. 2543. สถานการณปาไมของประเทศไทยในชวงระยะเวลา 37 ป (พ.ศ. 2504-2541). สวนวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม. 116 หนา. 4. ธวัชชัย สันติสุข. 2534. ปาพรุ. หนังสือโครงการอนุรักษพื้นที่ชายฝงทะเล มูลนิธิคุมครองสัตวปาและ พรรณพืชแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ. 28 หนา. 5. . 2536. ปาเมฆ. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ฉบับผนวก สํานักวิทยาศาสตร เลม 1, เดือน สิงหาคม 2536. หนา 121–138. 6. . 2544. ชนิดของปาไมในประเทศไทย. หนังสือชุดพัฒนาสังคมตามแนว พระราชดําริ ชุดที่หนึ่ง ตอน 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ หนา 38–68. 7. Bunyavejchewin, S. 1983. Canopy structure of the dry dipterocarp forest of Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 14: 1–132. 8. . 1985. Analysis of the tropical dry deciduous forest of Thailand II. Vegetation in relation to topographic and soil gradients. Natural History Bulletin Siam Society. 33: 3–20. 9. . 1986. Ecological studies of tropical semi-evergreen rain forest at Sakaerat, Nakhon Ratchasima, Northeast Thailand I. Vegetation patterns. Natural History Bulletin Siam Society 34: 35–57. 10. Champion, H.G. 1936. A preliminary survey of the forest types of India & Burma. Ind. For. Rec., Silvic. 1. 11. Credner, W. 1935. Siam, das Land der Thai. Stuttgart. 12. Ogawa, H., Yoda, K. & Kira, T. 1961. A preliminary survey on the vegetation of Thailand. Nature & Life SE Asia, Kyoto. 13. Santisuk, T. 1988. An account of the vegetation of Northern Thailand. Geoecological Res. 5. Stuttgart. 14. Walker, E.H. & Pendleton, R.L. 1957. A survey of the vegetation of SE Asia : The IndoChinese Province of the Pacific Basin. Proc. Pacific Basin. Proc. Pacif. Sci.-Congr. 8 (4): 99–114. 15. Whitmore, T.C. 1984. Tropical rain forests of the Far East 2nd ed. Oxford.

109


ดรรชนีชื่อพรรณไม (เครื่องหมาย * ใชช่อื วิทยาศาสตรตามระบบเกา เพื่อความสะดวกในการระบุชนิดพรรณไม) Abutilon spp. ครอบจักรวาล 102 Acacia harmandiana (Pierre) Gagnep. กระถินพิมาน 85 A. concinna (Willd.) DC. สมปอย 91 แฉลบแดง 85 A. leucophloea (Roxb.) Willd. A. tomentosa Willd. กระถินพิมาน 85 Acanthus spp. เหงือกปลาหมอ 66 Acer calcaratum Gagnep. กวมแดง 35, 37, 55 A. laurinum Hassk. กวมขาว 37, 55, 56 A. oblongum Wall. ex DC. กวม 37 Acrocarpus fraxinifolius Wight ex Arn. สะเดาชาง 20, 27 Acrostichum spp. ปรงทะเล 66 ตองลาด 37 Actinodaphne henryii Gamble Adenanthera pavonina L. มะกลํ่าตน 31 Adinandra integerrima T. Anderson ex Dyer y ตีนจําดง 37 Aesculus assamica Griff. มะเนียงนํ้า 26, 37, 56 Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib มะคาโมง 31, 94 Agapetes hosseana Diels สะเภาลม 56, 59 A. lobbii C.B. Clarke สะเม็ก 42, 50 A. saxicola Craib เหงานํ้าทิพย 50 Aglaia chittagonga Miq. ประสงค 37 A. rubiginosa (Hiern) Pannell ชมพูเู สม็ด 72 A. silvestris (M. Roem.) Merr. จันทนชะมด 16 Aglaia spp. คางคาว 16, 21, 54 Aglaonema spp. รัศมีเงิน ลิ้นกะทิง 72 Aidia parvifolia (King & Gamble) K.M. Wong เข็มปา 20, 48 ยมปา 26 Ailanthus triphysa (Dennst.) Alangium salviifolium (L.f.) Wangerin subsp. hexapetalum Wangerin ปรูู 90, 94 Albizia chinensis (Osbeck) Merr. คางฮุ​ุง 43 A. lebbeckk (L.) Benth. พฤกษ 90, 94 A. lebbekoides (DC.) Benth. คาง 79 A. lucidior (Steud.) I.C. Nielsen ปนแถ 94 A. odoratissima (L.f.) Benth. คาง 94, 102, 105 A. procera (Roxb.) Benth. ถอน 94 Alocasia spp. เอาะ 72 Alstonia macrophylla Wall. ex G.Don ทุงฟา 16 A. rostrata C.E.C. Fisch. นองขาว 37 A. scholaris (L.) R. Br. สัตบรรณ 16 Altingia excelsa Noranha สบ 27 Anaphalis margaritacea (L.) Benth. & Hook.f. หนาดดอย 53 Anisoptera costata Korth. กะบาก 21, 25 A. curtisiii Dyer ex King กะบาก 14 A. scaphula (Roxb.) Kurz กะบากขาว 21 Anneslea fragrans Wall. สารภีดอย 43, 46, 50, 53, 105 Anogeissus acuminata (Roxb. ex. DC.) Guill. & Pers var. lanceolata C.B. Clarke ตะเคียนหนู 94 Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich ex Walp. กระทุมบก 79 Antiaris toxicaria Lesch. ยางนอง 16, 21, 54 Antidesma acidum Retz. เมาสรอย 43


Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker ตาเสือ Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. โลด Aquilaria malaccensis Lam. ไมหอม Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen เนียง A. quocense (Pierre) I.C. Nielsen หยอง Ardisia pilosa Fletcher พวงตุมหู Areca triandra Roxb. หมากลิง Arenga pinnata (Wrumb) Merr. ตาว A. westerhoutiii Griff. หลังกับ Arfeuillea arborescens Pierre คงคาเดือด Argusia argentea (L.f.)) Heine งวงชางทะเล Artabotrys spinosus Craib นาวนํ้า Artocarpus dadah Miq. หาดรุม A. elastricus Rienw. ex Blume เอาะ A. lacucha Roxb. มะหาด A. lanceifolius Roxb. ขนุนปาน A. rigidus Blume ขนุนุ ปา Asparagus acerosus Roxb. จันดิน Aster ageratoides Turcz. subsp. alato-petiolata Kitam.แอสเตอรเชียงดาว Atalantia monophylla (DC.) Correa มะนาวผี Avicennia alba Blume แสมขาว A. marina Forssk. แสมทะเล Avicennia spp. แสม Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton สะเดา Azima sarmentosa (Blume) Benth. หนามพุงุ ดอ Baccaurea bracteata Müll. Arg. ระไมปา B. ramiflora Lour. มะไฟปา Baeckea frutescens L. สนทราย Balakata baccata (Roxb.) Esser โพบาย โพบาย Balakata spp. Bambusa bambos (L.) Voss ไผปา B. membranacea (Munro) C.M.A Stapleton & N.H. Xia ไผซางนวล B. polymorpha Munro ไผหอม B. tulda Roxb. ไผบงดํา B. vulgaris Schard. ex H. Wendl. var. vulgaris ไผหลวง จิกทะเล Barringtonia asiatica (L.) Kurz B. racemosa (L.) Spreng. จิกสวน Bauhinia malabarica Roxb. สมเสี้ยว B. variegata L. เสี้ยวขาว Beilschmiedia ggammieana Kingg ex Hook.f. หนวยนกงุ​ุม Beilschmiedia spp. มะเขื่อขื่น Berrya cordifolia (Willd.) Burret เลียงมัน B. mollis Wall. ex Kurz ปอเลียง Betula alnoides Buch.-Ham. ex G.Don กําลังเสือโครง Bischofia javanica Blume ประดูสม Blumeodendron kurziii (Hook.f.) Sm. ยากา Bombax anceps Pierre var. anceps งิ้วดอกขาว B. ceiba L. งิ้ว Borassodendron machadonis (Ridl.) Becc. ชางไห Bouea oppositifolia (Roxb.) Meisn. มะปริง Bruguiera parviflora (Roxb.) Wight & Arn. ex Griff. ถั่วดํา Bruguiera spp. ประสัก Buchanania lanzan Spreng. มะมวงหัวแมลงวัน

21 43, 102, 105 17 16 16 50 31 31 16, 17 21 82 79 16 16 16, 21 16 16 81 56, 59 31 66 66 64 94 81 72 21 50, 72 21 54 79, 94 94 94 94 94 80, 83 79 94 13, 105 43 55, 105 94 94 42, 43, 56 20 70, 72 94 94 16 31 68 66 102 111


Buchanania siamensis Miq. Burmannia coelestis D. Don Burmannia spp. Butea monosperma (Lam.) Taub. Calamus caesius Blume Calamus spp. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot Calocedrus macrolepis Kurz Calophyllum inophyllum L. C. pisiferum Planch. & Triana C. teysmanniii Miq. Camchaya calcarea Kitam. Camellia connata (Craib) Craib C. oleifera Abel. var. confusa ((Craib)) Sealyy Campnosperma coriaceum (Jack) Hall.f. ex Steenis Cananga latifolia f (Hook.f. & Thomson) Finet & Gagnep. g p Canarium spp. Canarium subulatum Guillaumin Canavalia rosea (Sw.) DC. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Carissa spinarum L. Carpinus viminea Wall. ex Lindl. Caryota maxima Blume C. mitis Lour. C. obtusa Griff. Caryota spp. Cassia bakeriana Craib C. fistula L. Castanopsis acuminatissima (Blume) A. DC. C. argyrophylla y Kingg ex Hook.f. C. armata Spach C. calathiformis (Skan) Rehder & Wilson C. diversifolia (Kurz) King C. echidnocarpa A. DC. C. ferox (Roxb.) Spach C. fissa (Champ.) Rehder & Wilson C. hystrixx A. DC. C. indica (Roxb.) A. DC. C. piriformis Hickel & A.Camus C. purpurea Barnett C. rhamnifolia (Miq.) A. DC. C. tribuloides (Sm.) A. DC. C. wallichiii King ex Hook.f. Casuarina equisetifolia J.R. & G. Forst. Cathormion umbellatum (Vahl) Kosterm. Catunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng. Cephalostachyum pergracile Munro Cephalotaxus manniii Hook.f. Cerbera manghas L. Ceriops spp. Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites Chisocheton patens Blume 112

ลันไชย สรัสจันทร ทองกวาว หวายตะคาทอง หวาย แซะ แปกลม กระทิง สารภีทะเล ตังหนใบเล็ก ตังหนใบใหญ เมี่ยงอาม เหมือดเม็ก ขี้หนอนพรุ สะแกแสง มะกอกเลื่อม มะกอกเลื่อม ถั่วคลา เฉียงพรานางแอ กระโดน ปุย หนามพรหม กอสรอย เตาราง เตาราง เตารางภู​ูคา เตาราง กัลปพฤกษ ราชพฤกษ กอเดือย กอหยุ​ุม กอหรั่ง กอนํ้า กอแปน กอหนาม กอแหลม กอตาหมู กอผา กอตี กอหิน กอดาน กอขี้หมู​ู กอใบเลื่อม กอบาน สนทะเล ระกําปา ระเวียง ไผขาวหลาม มะขามปอมดง ตีนเปดทราย โปรง สําเภา สังเครียด

102 99 102 94 72 16 16 48, 49 80 79 70 59 37 37 70 31, 94 54 37, 94, 102 81 28, 31, 79 91, 94, 102 81 42, 43, 56 37 31 37 16 91 94 32, 38, 40, 56 38,, 105 32,, 38, 105 32, 38 32, 38, 105 32, 48 32 32, 38 38 32 37 37,, 38, 55 32,, 37 37, 38, 40, 105 19 80 79 102 94 37 80 66 27, 79 72


Chisocheton spp. Choerospondias axillaris (Roxb.) B.L. Burtt & Hill Chukrasia tabularis A. Juss. Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet C. glaucescens (Nees) Drury C. iners Reinw. ex Blume C. ilicioides A. Chev. C. subavenium Miq. C. tamala (Hamilton) Nees & Eberm. Cleidion spiciflorum (Burm.f.) Merr. Clematis buchananiana DC. C. smilacifolia Wall. Clerodendrum inerme (L.) Gaertn. Codariocalyx motorius (Houtt.) Ohashi Colocasia gigantea Hook.f. Colona flagrocarpa (C.B. Clarke) Craib Colquhounia coccinea Wall. Combretum quadrangulare Kurz Cordia subcordata Lam. Cornus oblonga Wall. Cotoneaster franchetiii Bois Cotylelobium lanceolatum Craib Craibiodendron stellatum ((Pierre)) W.W. Sm. Cratoxylum spp. Croton roxburghiii N.P. Balakr. Crypteronia paniculata Blume Cyathea spp. Cyathocalyx martabanicus Hook.f. & Thomson var. harmandiii Finet & Gagnep. Cycas micholitziii Dyer var. simplicipinna Smitin. C. pectinata Griff. C. siamensis Miq. Cynometra malaccensis Meeuwen C. ramiflora L. Cyrtostachys renda Blume Dacrydium elatum (Roxb.) Wall. ex Hook. Dacryodes incurvata (Engl.) H.J. Lam Daemonorops spp. p Dalbergia cultrata Graham ex Benth. Dalbergia spp. Debregeasia wallichiana (Wedd.) Wedd. Decaschistia spp. Delphinium siamense (Craib) Munz Dendrocalamus hamiltoniii Nees & Arn. ex Munro D. strictus (Roxb.) Nees Dendrolobium spp. Derris indica Bennet Desmodium spp. Desmos spp. Dialium cochinchinense Pierre D. indum L. D. patens Baker D. platysepalum Baker

สังเครียด มะมือ ยมหิน อบเชย ขาตน เชียด ขาตน สุรามะริด แกง ดีหมี กําปองหลวง พวงแกวกุดั่น สํามะงา ชอยนางรํา คูนู ยาบใบยาว แสงแดง สะแก หมันทะเล อูนู ตน ไขแดง เคี่ยม มะยมภู​ู ติ้ว แตว เปลาหลวง สอม กูดตน เฟนตน

16, 21 20, 37 20, 91, 95 31 31 31 28 31 37, 55 21 42 56 81 102 90 94 60 79 80, 83 59 59 14 43,, 46, 105 102 94 21 37

สะบันงาดง มะพราวเตา ปรงเขา ปรงปา มะคะ แมงคะ หมากแดง สนสามพันป กาบออย

31 37 43, 46 102 16 16 72, 73 48, 49 70 16 43, 46 94 53 102 59 94 94 102 80 102 31 27, 31 16 72 16

กระพี้เขาควาย เก็ดแดง เก็ดดํา เตามด หัวอีอุก พวงแกวเชียงดาว ไผหก ไผซาง ตองหมอง หยีทะเล ขางคันนา สาเหลาตน เขลง ลูกู หยี หยี กาแดะ หยีทองบึ้ง

113


Dillenia aurea Sm. สานแข็ง D. obovata (Blume) Hoogland สานใหญ D. ovata Wall. ex Hook.f. & Thomson สานใบเล็ก D. pentagyna Roxb. สานนา D. pulchella (Jack) Gilg สานนํ้า Dimocarpus longan Lour. ลําไย Diospyros ehretioides Wall. ex G.Don ตั้บเตา กลวยษี D. glandulosa Lace D. malabarica (Desr.) Kostel. var. malabarica ตะโกสวน D. montana Roxb. ถานไฟผี D. rhodocalyx Kurz ตะโก D. variegata Kurz พลับดํา Dipteris conjugata Reinw. เฟนบัวแฉก Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don ยางนา D. baudii Korth. ยางขน D. chartaceus Symington ยางกวาด D. costatus C.F. Gaertn. ยางปาย D. dyerii Pierre ยางกลอง D. gracilis Blume ยางเสี้ยน D. grandiflorus ((Blanco)) Blanco ยางยงู D. hasseltiii Blume ยางเกลี้ยง D. intricatus Dyer ยางกราด D. kerriii King ยางมันหมู​ู D. obtusifolius Teijsm. ex Miq. เหียง Dipterocarpus spp. ยาง D. tuberculatus Roxb. พลวง D. turbinatus C.F. Gaertn. ยางแดง Dischidia nummularia R. Br. เกล็ดมังกร Dolichandrone serrulata (DC.) Seem แคทุง D. spathacea (L.f.) K. Schum. แคทะเล Dracaena spp. จันทนผา จันทนแดง Dracontomelon dao (Blanco) Merr. & Rolfe พระเจาหาพระองค Drosera peltata p Sm. หญ ญาไฟตะกาด Drosera spp. หยาดนํ้าคาง จอกบวาย Droogmansia godefroyana (Kuntze) Schindl. ไชหิน Drypetes roxburghiii (Wall.) Hurusawa ประคําไก ทุเุ รียนนก Durio griffithiii (Mast.) Bakh. D. lowianus Scort. ex King ทุเรียนดอน Dyera costulata (Miq.) Hook.f. เยลู​ูตง คางคาวอีลิด Dysoxylum spp. Elaeocarpus braceanus Watt ex C.B. Clarke มุ​ุนดอย E. floribundus Blume กุนเถื่อน E. griffithii (Wight) A. Gray พิกุลพรุ ตันหยงปา E. macrocerus (Turcz.) Merr. E. prunifolius Wall. ex C. Müll มุนดอย Elateriospermum tapos Blume ประ Eleiodoxa conferta (Griff.) Burret หลุมพี Ellipanthus tomentosus Kurz var. tomentosus คํารอก Engelhardtia spicata Blume var. spicata p คาหด Eriobotrya bengalensiss (Roxb.) Hook.f. forma bengalensisตะเกรานํ้า Eriocaulon spp. มณีเทวา ทองหลางปา Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. Erythrophleum spp. ซาก 114

79, 105 92, 94 92 92, 94 79 21 94, 102 42 27 94, 102 102 94 37, 63 20, 21 16 14 21, 27 14, 16, 19 14 14 14 95, 97, 102 14 95, 97, 102, 104 25 95, 97, 102, 104 20, 21, 23 101 94 66 51 16, 19 99 102 102 21 16 16 16 16, 21 37 37 79 72 37 19 70, 72 102 43, 46, 105 37 103 20, 28 102


Euphorbia spp. สลัดไดปา Eurya acuminata DC. var. acuminata ปลายสาน E. nitida Korth. var. nitida แมงเมานก Eurya spp. ปลายสาน ตาตุมทะเล Excoecaria agallocha L. Fagraea fragrans Roxb. กันเกรา Falconeria insignis Benth. ตาตุมบก Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis แคบิด Feroniella lucida ((Scheff.)) Swingle g มะสัง Ficus albipila (Miq.) q Kingg เลียงผึ้ง F. racemosa L. มะเดื่ออุทุ ุมพร Ficus spp. ไทร มะเดื่อ Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. ปอขาว Flacourtia indica (Burm.f.) Merr. ตะขบปา Fraxinus floribunda Wall. ex Roxb. จันทรทอง Garcinia hanburyii Hook.f. รง G. merguensis Wight กะนวน G. schomburgkiana Pierre มะดัน Gardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz คํามอกนอย G. sootepensis Hutch. คํามอกหลวง G. saxatilis Geddes พุดผา Gardenia spp. คํามอก ชันยอด Garuga pinnata Roxb. ตะครํ้า Gaultheria crenulata Kurz ชามะยมดอย Gaultheria spp. ชามะยมดอย Gentiana australis Craib ดอกหรีดเชียงดาว G. hesseliana Hosseus var. lakshnakarae (Kerr) Toyok. ดอกหรีด Geranium lambertiii subsp. siamense ผักชีหอม Gigantochloa albociliata (Munro) Munro ไผไร G. hasskarliana (Kurz) Backer ex K. Heyne ไผผากมัน G. nigrociliata (Buse)) Kurz ไผไลลอ Gironniera nervosa Planch ขี้หนอนควาย Gloriosa superba L. ดองดึง Gluta usitata (Wall.) Ding Hou รักใหญ Gmelina arborea Roxb. ซอ Gomphostemma strobilinum Wall. ex Benth. var. acaulisวานนกคุ​ุม Goniothalamus giganteus Hook.f. & Thomson ปาหนันชาง Goniothalamus spp. สะบันงาปา Gonocaryum lobbianum ((Miers)) Kurz กานเหลือง Gordonia dalglieshiana Craib ขี้ผึ้ง Guettarda speciosa L. โกงกางหูชู าง Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale กวาว Homalomena spp. บอน Harrisonia perforata (Blanco) Merr. สีฟนคนทา Hedera himalaica Tobler กระจับเขา Hedychium ellipticum Buch.-Ham. ex Sm. ตาเหินไหว Helicia formosana Hemsl. var. oblanceolata Sleumerเหมือดคนดง H. nilagirica Bedd. เหมือดคนตัวผูู H. vestita W.W. Sm. เหมือดคนแดง Heliciopsis terminalis (Kurz) Sleumer เหมือดคน Heritiera javanica (Blume) Kosterm. ทองสุ​ุก H. littoralis Dryand. หงอนไกทะเล H. sumatrana (Miq.) Kosterm. เสียดชอ

51 46 55 105 66 79 21 102 85 30 21 54 94 31, 85 37, 43, 56 16 37 79 102 102 102 94 94 56 63 60 56 60 94 93 94 28 81, 82 101, 102 20, 91, 94 91 19 16, 31 21 37, 55 80 93, 94, 102 72 85 56 53 37, 55 43, 46, 50, 105 35 37, 41, 43, 55 16 66 16 115


Hernandia nymphaeifolia (C. Presl) Kubitzki โพกริ่ง Heterophragma sulfureum Kurz แครกฟา Hibiscus spp. ปอตอม Hibiscus tiliaceus L. ปอทะเล Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don โมกใหญ Holoptelea integrifolia Planch. กะเชา Homalium ceylanicum (Gardner) Benth. สีเสื้อ H. foetidum (Roxb.) Benth. สีเสือนํ้า H. grandiflorum Benth. พิกุลปา H. tomentosum (Vent.) Benth. ขานาง Hopea ferrea Laness. ตะเคียนหิน H. latifolia Symington ตะเคียนราก H. odorata Roxb. ตะเคียนทอง H. pedicellata (Brandis) Symington ตะเคียนขาว H. pierrei Hance ตะเคียนราก H. recopei Pierrre ex Laness. ชันภู​ู H. sangal Korth ตะเคียนแกว Horsfieldia crassifolia (Hook.f. & Thomson) Warb. เลือดควายใบใหญ H. glabra (Blume) Warb. เลือดนก H. irya (Gaertn.) Warb. กรวยสวน Horsfieldia spp. มะพราวนกกก Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. กระเบาใหญ H. ilicifolia King กะเบากลัก Hymenocardia wallichiii Tul. แฟบนํ้า Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. อุโลก Hypericum uralum Buch.-Ham. ex D. Don บัวทอง Ilex triflora Blume สายฝน I. umbellulata Loes. เนาใน Indigofera dosua Buch.-Ham. ex D. Don ครามดอย Indigofera spp. ครามปา Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze หลุมพอทะเล I. palembanica Miq. หลุมุ พอ Ipomoea pes-caprae (L.) R. Br. ผักบุงทะเล Iris collettiii Hook.f. วานแมยับ Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. กะบก Ixora grandifolia Zoll. & Moritzi เข็มปา Johannesteijsmannia altifronss (Rchb.f. & Zoll.) H.E. Mooreปาลมบังสูรย Kaempferia rotunda L. วานหาวนอน Knema spp. เลือดมา Koompassia excelsa ((Becc.)) Taub. ยวน K. malaccensis Maingay ex Benth. ยวนผึ้ง Korthalsia laciniosa (Griff.) Mart. หวายสะเดานํ้า Korthalsia spp. Kydia calycina Roxb. เลียงฝาย Lagerstroemia balansae Koehne ตะแบกเกรียบ L. calyculata Kurz ตะแบกใหญ L. macrocarpa p Wall. อินทนิลบก L. speciosa (L.) Pers. อินทนิลนํ้า L. tomentosa C. Presl เสลาดอกขาว L. venusta Wall. เสลาดํา L. villosa Wall. ex Kurz เสามื่น Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. ออยชาง กุก Lasia spinosa (L.) Thwaites ผักหนาม 116

80 102 102 80 94, 102 21 31 79 31 31 21 14 14, 20, 21 14 16 16 14 72 28 74 31 31, 78, 79 31 77, 79 94 60 50 41 59 102 66 16 80, 81, 83 53, 56 21, 102 72 16 87 31 16 16 72 16 94 21, 94 21, 23 93,, 94, 102 79, 86 21, 94 94 94 94 72


Lespedeza harmsiii Craib Leucosceptrum canum Sm. Licuala distans Ridl. L. elegans Blume Licuala longecalyculata Furtado Lilium primulinum Baker var. burmanicum Stearn Lindera pulcherrima (Nees) Benth. ex Hook.f. Lithocarpus aggregatus Barnett. L. auriculatus Barnett L. deablatus (Hook.f. & Thomson.) Rehder L. elegans (Blume) Hatus. ex Soepadmo L. fenestratus (Roxb.) Rehder L. garrettianus (Craib) A. Camus L. lindleyanus (Wall.) A. Camus L. polystachyus (A. DC.) Rehder L. recurvatus Barnett L. sootepensis (Craib) A. Camus L. thomsoniii (Miq.) Rehder L. trachycarpus (Hickel & A.Camus) A. Camus L. truncatus (King) Rehder & Wilson Litsea beusekomiii Kosterm. L. martabanica (Kurz) Hook.f. L. monopetala (Roxb.) Pers. L. semecarpifolia Hook.f. Litsea spp. Livistona saribus (Lour.) Merr. ex Chev. L. speciosa Kurz Luculia gratissima (Wall.) Sweet var. glabra Fukuoka Lumnitzera spp. Lyonia foliosa (Fletcher) Sleumer L. ovalifolia (Wall.) Drude Lyonia spp. Macaranga pruinosa (Miq.) Müll.Arg. Macropanax dispermus (Blume) Kuntze Madhuca motleyana (de Vriese) Baehni Maerua siamensis (Kurz) Pax Magnolia henryii Dunn M. hodgsoniii Hook.f. & Thomson M. liliifera (L.) Baill. Mahonia siamensis Takeda ex Craib Mallotus philippensis Müll.Arg. Mammea harmandii Kosterm. Mangifera gedebe Miq. q M. sylvatica Roxb. Mangifera spp. Manglietia garrettii Craib* Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Markhamia stipulata Seem. var. kerriii Sprague Markhamia stipulata Seem. var. stipulata Mastixia euonymoides Prain Melaleuca cajuputi Powell Melastoma malabathricum L. subsp. normale (D. Don) F.K. Mey.

ครามเชียงดาว ปนสินไชย ชิง ปาลมเจาเมืองตรัง กะพอแดง แตรวง เชียดขาว กอจุ​ุก กอหมี กอผัวะ กอหมน กอพวง กอเลือด กอดาง กอแงะ กอเตี้ย กอดํา กอหัวหมู กอหมน กอแดง กอดํา ทัง เมียดตน กะทัง หมี่บง ทัง รอก คอ พิมพใจ ฝาด สมแปะ เมาแดง สมแปะ มะฮังใหญ ตาง สะเตียว แจง จําปดง ตองแข็ง มณฑา ขมิ้นดอย มะคาย สารภีดง มะมวงปาน มะมวงขี้ใต มะมวงปา มณฑาดอย เกด แคหางคาง แคหัวหมู​ู พันชุลุ ี เสม็ด

59 60 16 16 72 56 37 55 37 37, 38 37, 38, 105 37, 40, 48, 50 37, 38 37, 38 37, 38, 105 50 37, 39 37 38 37, 38 37 37, 55 31, 37 37 105 72 16, 31, 37 59, 60 66 50 43, 46 63 72 55 70 85, 93 37 37 34 59 21 37 79 37 31, 94 34, 37 31 43 31 55 72, 73

เอ็นอา

50 117


Melastoma sanguineum Sims Melastoma spp. Melia azedarach L. Melientha suavis Pierre Meliosma pinnata Walp. Melodorum fruticosum Lour. Memecylon scutellatum Naudin Memecylon spp. Michelia baillonii (Pierre) Finet & Gagnep.* M. champaca L.* M. floribunda Finet & Gagnep.* M. rajaniana Craib* Miliusa velutina ((Dunal)) Hook.f. & Thomson Millettia spp. Millingtonia hortensis L.f. Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil M. hirsuta Havil M. rotundifolia (Roxb.) Kuntze Mitrephora spp. Mitrephora vandaeflora Kurz M. winitiii Craib Morinda pubescens Sm. Myrica esculenta Buch.-Ham. ex G. Don Myristica elliptica Wall. ex Hook.f. & Thomson M. iners Blume Myrsine semiserrata Wall. Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze N. motleyii (C. Presl) de Laub. Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson Nauclea orientalis (L.) L. N. subdita (Korth.) Steud. Neesia altissima (Blume) Blume N. malayana Bakh. Nenga pumila (Mart.) H. Wendl. Neobalanocarpus heimii (King) P.S. Ashton Neocinnamomum caudatum Kosterm. Neohymenopogon parasiticus Wall. Neolitsea foliosa Gamble Nepenthes spp. Nepenthes thorellii Lecomte Nephelium hypoleucum Kurz N. maingayi Hiern N. melliferum Gagnep. Nypa fruticans Wurmb. Nyssa javanica (Blume) Wangerin Ochna integerrima (Lour.)) Merr. Ochreinauclea maingayii (Hook.f.) Ridsdale Oldenlandia arguta Hook.f. Olea salicifolia Wall. ex G. Don Oncosperma horridum (Griff.) Scheff. O. tigillarium (Jack) Ridl. Orania sylvicola (Griff.) H.E. Moore Osbeckia stellata Buch.-Ham. ex Ker Gawl. 118

อาหลวง โคลงเคลง เลี่ยน ผักหวาน มะยมหิน ลําดวน พลองใบเล็ก พลอง จําปปา จําปาปา แกวมหาวัน จําปหลวง ขางหัวหมู ขะเจาะ สาธร ปจั่น ปป กระทุ​ุมนา ตุมุ ตุมกวาว มหาพรหม มะปวน มหาพรหม ยอปา เอี้ยบวย จันทนมวง จันทนปา เหมือดดอย ขุนุ ไม ซางจีน กระแจะ กระทุม เงาะหนู​ู ชางแหก ชางไห หมากงาชาง ตะเคียนชันตาแมว จวงหอม โพอาศัย เอียน หมอขาวหมอแกงลิง หมอขาวหมอแกงลิง คอแลน เงาะปา เงาะปา จาก คางคาก ชางนาว กระทุมนํ้า ดาวประดับ มวกกอ หลาวชะโอนเขา หลาวชะโอน หมากพน เอ็นอานอย

50 102 94 102 37 29, 31 102 31 34,37 31 37 34, 37, 54 94 94 94 79 94 94, 102 31 29 29 94,, 102 43, 55 72 72 55 37, 42, 48 48, 72 85 78, 79 79 16 70 72 14, 18 55 56, 59 55 102 63 21 71 30 66 37 102 79 103 37 16 76 16 50


Osbeckia spp. Osmanthus fragrans Lour. Palaquium obovatum (Griff.) Engl. g Pandanus furcatus Roxb. Pandanus tectorius Blume Paranephelium xestophyllum Miq. Parashorea stellata Kurz Parinari anamense Hance Parishia insignis Hook.f. Parkia leiophylla Kurz P. speciosa Hassk. P. sumatrana Miq. subsp. sterptocarpa (Hance) H.C.F. Hopkins P. timoriana Merr. Pavonia spp. Pedicularis siamensis P.C. Tsoong Pemphis acidula J.R. & G. Forst. Pentaspadon velutinus Hook.f. Persea gambleii (Hook.f.) Kosterm. Phoebe lanceolata (Wall. ex Nees) Nees P. paniculata (Nees) Nees Phoebe spp. P. tavoyana (Meisn.) Hook.f. Phoenix loureiri Kunth var. loureirii P. paludosa Roxb. Phlogacanthus curviflorus Nees Phyllanthus emblica L. P. polyphyllus Willd. var. siamensis Airy Shaw P. reticulatus Poir. P. taxodiifolius Beille Phyllodium spp. Picrasma javanica Blume Pinanga riparia Ridl. Pinus kesiya Royle ex Gordon P. merkusiii Jungh. & de Vriese Pittosporopsis kerriii Craib Ploiarium alternifolium ((Vahl) Melchior P. neriifolius D. Don P. polystachyus R.Br. ex Endl. Polyalthia lateriflora (Blume) King P. sclerophylla Hook.f. & Thomson Polyalthia spp. P. suberosa (Roxb.) Thwaites Pometia pinnata J.R. & G. Forst. Pouteria obovata (R.Br.) Baehni Premna interrupta Wall. ex Schauer var. smitinandiii Moldenke P. obtusifolia R. Br. P. tomentosa Willd. Primula siamensis Craib Protium serratum Engl. Prunus cerasoides D. Don Pseuduvaria spp.

จุกุ นารี เข็มดอย ยางขนุ​ุนนก มะเกี๋ยง เตยทะเล ลําไยปา ไขเขียว มะพอก กราตา สะตอปา สะตอ

102 55 16 37 81 21 14 102 16, 18, 70 29, 31 16

อีเฒา เหรียง ขี้อน ชมพู​ูเชียงดาว เทียนทะเล เตยนะ อินทวา แหลบุก สะทิบ สะทิบ ทัน เปงดอย เปงทะเล ฮอมชาง มะขามปอม เสียวใหญ กางปลาขาว เสียวนอย เกล็ดปลาชอน กอมขม หมากลิง สนสามใบ สนสองใบ มะขม ชะมวงกวาง พญาไม สนใบพาย ปาหนันแดง กลวยไม ยางโอน กลึงกลอม สาย งาไซ

31 16 102 60 80 16 43, 50 31 31 43 37 43, 46, 105 66, 68 34 43, 46, 94, 102,105 79 79 79 102 31 72 56, 104 56, 104 43 79 37, 48, 49 42, 48 72 71, 72 16, 31 79 21 80

เปรมนา 59 ชาเลือด 81 สักขี้ไก 94 พิมสาย 56, 60 มะแฟน 94 นางพญาเสือโครง ชมพูภพู งิ ค41, 43, 56 ซังหยู 16, 31 119


Psydrax dicoccaa Gaertn. var. impolitum (Craib) K.M. Wongดูกคาง Pteridium aquilinum ((L.)) Kuhn subsp. p aquilinum q var. wightianum (J. Agardh) R.M. Trton กูดเกี๊ยะ Pterocarpus macrocarpus Kurz ประดู​ูปา Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. ปออีเกง Pterospermum spp. ขนาน Pterygota alata (Roxb.) R.Br. มะปน Pyrenaria cochinchinensis เมี่ยงอีอาม P. diospyricarpa Kurz เมี่ยงผี Quercus aliena Blume กอเตี้ย Q. brandisiana Kurz กอหนุนุ Q. franchetii Skan กอขาว Q. helferiana A.DC. กอแอบหลวง Q. kerriii Craib กอแพะ Q. kingiana Craib กอแดง Q. lamellosa Sm. กอแอบ Q. lanata Sm. กอขาว Q. lenticellata Barnett กอตาคลอย Q. lineata Blume กอขาว Q. mespilifolia Wall. กอแงะ Q. myrsinifolia Blume กอดาง Q. oidocarpa DC. กอหมวก Q. poilaneii Hick. & A. Camus กอสีเสียด Q. ramsbottomiii A. Camus กอตลับ Q. rex Hemsl. กอตลับ Q. semecarpifolia Sm. กอหิน Q. semiserrata Roxb. กอตาหมูหลวง Quercus spp. กอตลับ Q. vestita Rehder & Wills. กอแอบ Radermachera hainanensis Merr. ปปทอง R. ignea (Kurz) Steenis กาสะลองคํา Rhamnus crenata Siebold & Zucc. กุหุ ลาบหิน Rhizophora apiculata Blume โกงกางใบเล็ก R. mucronata Poir. โกงกางใบใหญ โกงกาง Rhizophora spp. Rhododendron arboreum Sm. subsp. delavayi (Franch.) Chamb. คําแดง R. ludwigianum Hoss. กุหลาบขาวเชียงดาว R. lyi H. Lev. กุหลาบขาว R. moulmeinense Hook.f. กุหลาบขาว R. simsiii Planch. กุหลาบแดง Rhododendron spp. กุหลาบขาว กุหลาบแดง R. veitchianum Hook. กายอม แกนมอ Rhus succedanea L. Rosa helenae Rehder กุหลาบเวียงเหนือ R. odorata (Andr.) Sweet var. gigantea (Crp.) Rehder & Wilson จีดง Salacca wallichiana C. Mart. ระกํา Salix tetrasperma Roxb. สนุนุ Salomonia spp. หญารากหอม Sandoricum beccarianum Baill. สะทอนนก S. koetjape (Burm.f.) Merr. กระทอน Sapindus rarakk DC. มะชัก 120

31 50 94, 102 20 54 21 37 34 43 37, 43, 46 43 43, 46, 55 56, 105 43, 46, 55, 105 43 43, 39 37 43 43, 46, 105 37 37 37 36 36, 37, 55 43, 39 36, 37, 43 48 37 29 31 50 65, 66 66, 68 64 56, 61 59, 60 50, 56, 63 40, 43 53, 56 63 34, 56 23, 37 59, 61 56 16 56, 58 102 72 21 37


Sapria himalayana Griff. Saraca declinata (Jack.) ( ) Miq. q S. indica L. Saraca thaipingensis Cantley ex Prain* Saurauia nepaulensis DC. S. roxburghiii Wall. Saxifraga gemmipara Flanch. var. siamensis Scabiosa siamensis Craib* Scaevola taccada (Gaertn.) Roxb. Scaphium linearicarpum (Mast.) Pierre S. scaphigerum (G. Don) Guib. & Planch. Schefflera subintegra (Craib) C.B. Shang Schima wallichiii (DC.) Korth. Schleichera oleosa (Lour.) Oken Schrebera swietenioides Roxb. Scleropyrum wallichianum ((Wight g & Arn.)) Arn. Scolopia macrophylla (Wight & Arn.) Clos Sedum susannae Raym.-Hamet Semecarpus cochinchinensis Engl. S. curtisii King Senecio craibianus Hosseus Senna garrettiana (Craib) Irwin & Barneby Shirakiopsis indica (Willd.) Esser Shorea curtisiii Dyer ex King S. dasyphylla Foxw. S. faguetiana F. Heim S. glauca King S. gratissima (Wall. ex Kurz) Dyer S. guiso (Blanco) Blume S. henryana Pierre S. hypochra Hance S. laevis Ridl. S. leprosula Miq. S. macroptera Dyer S. obtusa Wall. ex Blume S. parvifolia Dyer S. roxburghiii G. Don S. siamensis Miq.

กระโถนพระษี โสกเขา โสกนํ้า โสกเหลือง ชาสาน สานเห็บ ฟองหินดอย ขาวปน รักทะเล ทายเภาขาว พุงุ ทะลาย มือพระนารายณ ทะโล ตะครอไข มะกอกดอน ขี้หนอน ตะขบนํ้า ฟองหินเหลือง รักขาว รักปา ไขขาง แสมสาร สมอทะเล สยาเหลือง มารันตี กาลอ แอก ตะเคียนสามพอน ชันดํา เคีย่ มคะนอง กะบากหิน สยา สยาขาว ชันหอย เต็ง สยาเหลือง พะยอม รัง

S. singkawangg (Miq.) Miq. Sida spp. Silene burmanica Collett & Hemsl. Sindora echinocalyx Prain S. siamensis Teijsm. & Miq. var. siamensis S. siamensis Teijsm. & Miq. var. maritima (Pierre) K. & S.S. Larsen Siphonodon celastrineus Griff. Sisyrolepis muricata (Pierre) Leenh. Sloanea sigun (Blume) K. Schum. S. tomentosa (Benth.) Rehder & Wilson Smilax micro-china T. Koyama Sonneratia alba Sm. S. caseolaris (L.) Engl.

มารันตี-เสงวาง หญาขัด สรอยไทรทอง มะคะขานาง มะคาแต

36 30 31 16, 17 37 37 60 60 81 16 16 50 37 43, 46, 50, 55, 105 94, 102 102 30 79 59 18, 31 16 59, 61 94 68 14, 15 16 14 14 14 16 21 14, 16 14 16 16 101, 102, 105 16 21, 93, 94, 102 11, 95, 100, 101, 103, 102, 105 16 102 60 16 81

มะคาแต มะดู​ูก ตะครอหนาม กอเรียน สตี หัวยาขาวเย็น ลําแพน ลําพู

102 31, 94 94, 102 37 37 53 66, 69 66 121


Sonneratia griffithiii Kurz ลําแพนหิน Sonneratia spp. ลําพู​ู ลําแพน Sophora disparr Craib ถั่วพุมดอย Sorbus granulosa (Bertol.) Rehder var. granulosa ปดเขา Spinifex littoreus Merr. หญาลอยลม Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman มะกัก S. lakonensis Pierre มะหอ S. pinnata (L.f.) Kurz มะกอก Stemonurus secundiflorus Blume อายบาว Sterculia foetida L. สําโรง S. pexa Pierre ปอขาว S. villosa Roxb. ปอตูบ Stereospermum colais (Buch.-Ham. ex Dillwyn) Mabb.แคหิน S. fimbriatum (Wall. ex G. Don) A.DC. แคฝอย S. neuranthum Kurz แคทราย Streblus asperr Lour. ขอย S. ilicifolius (Vidal) Corner ขอยหนาม Strobilanthes chiangdaoensis H. Terao ฮอมดอย S. involucratus Blume ฮอมดง Strychnos nux-vomica L. มะตึ่ง แสลงใจ Styrax benzoides Craib กํายาน Suaeda maritima (L.) Dumort. ชะคราม Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. ขันทองพยาบาท Swintonia floribunda Griff. เปรียง Symingtonia populnea (R. Br. ex Griff.) Steenis โพสามหาง Symplocos cochinchinensis (Lour.) S. Moore subsp. cochinchinensis เหมือดดง S. dryophila C.B. Clarke เหมือดเงิน S. racemosa Roxb. เหมือดหอม S. sumuntia Buch.-Ham. ex D. Don เหมือดปลาซิว Syzygium angkae (Craib) Chantar. & J. Parn. หวาเขา S. cuminii (L.) Skeels หวา S. grande (Wight) Walp. var. grande เมา S. gratum (Wight)) S.N. Mitra var. ggratum เสม็ดแดง S. megacarpum (Craib) Rathakr. & N.C. Nair ชมพูนํ้า S. oblatum (Roxb.) Wall. ex A.M. Cowan & Cowan var. oblatum มะหา S. ripicola (Craib) Merr. & L.M. Perry หวาขี้นก Syzygium spp. ชมพู​ูปา หวาชนิดตาง ๆ Tarenna sp. เข็มเขา Tectona grandis L.f. สัก Terminalia alata Heyne ex Roth รกฟา T. bellirica (Gaertn.) Roxb. สมอพิเภก หูกู วาง T. catappa L. T. chebula Retz. var. chebula สมอไทย T. mucronata Craib & Hutch. ตะแบกเลือด T. pierreii Gagnep. ตะแบกกราย Terminalia spp. สมอ T. triptera Stapf แสนคํา Ternstroemia gymnathera (Wight & Arn.) Bedd. ไกแดง Tetrameles nudiflora R. Br. สมพง Thalictrum calcicola T. Shimizu พวงหิน Thespesia lampas (Cav.) Dalzell & A. Gibson ปอลมปม 122

66 64 59 50 81, 82 31, 94 31, 28 31, 92, 94 72 94 94 94 93, 94 19, 31 94, 105 79 31 59 54 102 42, 43, 46, 107 65 94 16, 18 55, 61 43 55 37, 43, 46, 105 37 37 46, 47, 102, 105 72, 80, 81 72 19 48 76 16, 72 50 92, 94 94, 102 94 80 94, 102 94 31 54 31, 94 43, 50, 105 20 60 93


Thespesia populnea (L.) Soland. ex Corr. โพทะเล Thyrsostachys siamensis Gamble ไผรวก Toona ciliata M. Roem. ยมหอม Toona spp. ยมหอม Trachycarpus oreophilus Gibbons & Spanner คอเชียงดาว Tristaniopsis burmanica (Griff.) Peter G. Wilson & J.T. Waterh var. rufescenss (Hance) J. Parn Nic Lughadha กาว Turpinia cochinchinensis (Lour.) Merr. มะกอม Ulmus lancifolia Roxb. ex Wall ลูบู ลีบ Urena lobata L. ขี้ครอก Usnea spp. ฝอยลม Utricularia bifida L. สรอยสุวรรณา Utricularia spp. ดุสุ ิตา Vaccinium eberhardtiii Dop var. pubescenss H.R. Fletcher ชอไขมุก Vaccinium spp. ชอไขมุก V. sprengeliii (G. Don) Sleumer สมป Vatica diospyroides Symington จันกะพอ V. harmandiana Pierre ซี เต็งดง V. lowiii King พันจําดง V. odorata (Griff.)) Symington y g ยางหนู​ู V. pauciflora (Korth.) Blume สักนํา Veratrum chiangdaoense K. Larsen วานหอม Viburnum atro-cyaneum C.B. Clarke & Diels เข็มเชียงดาว V. foetidum Wall. งวนภู​ู Vietnamosasa ciliata (A. Camus) Nguyen โจด ไผโจด V. pusilla (Chevalier & A. Camus) Nguyen ไผเพ็ก หญาเพ็ก Vietnamosasa spp. ไผเพ็ก ไผโจด Viola betonicifolia Sm. ใบพาย Vitex canescens Kurz ผาเสี้ยน V. limonifolia Wall. สวอง V. peduncularis Wall. ex Schauer กาสามปก V. pinnata L. ตีนนก V. quinata (Lour.) F.N. Williams หมากเล็กหมากนอย V. trifolia L. คนทิสอทะเล Wallichia caryotoides Roxb. เขือง Walsura robusta Roxb. ขี้อาย W. trichostemon Miq. กัดลิ้น Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. แขงกวาง Wightia speciosissima (D. Don) Merr. ชมพูภู ูพาน Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. โมกมัน Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J.J. Sm. ชุมแสง X. virens Roxb. ขางขาว Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen แดง Xylocarpus granatum Koenig ตะบูนขาว X. moluccensis (Lam.) M. Roem. ตะบูนดํา X. rumphiii (Kostel.) Mabb. ตะบัน Xylopia ferruginea (Hook.f. & Thomson) Hook.f. & Thomson ทุเรียนนก Xyris spp. กระถินนา Zanthoxylum acanthopodium DC. มะแขน Zollingeria dongnaiensis Pierre ขี้หนอน ขี้มอด

80 94 20, 37 54 59 43, 46, 105 55 37,, 56 102 38 99 102 50 63 43, 46, 50, 56, 105 76, 77 21 16 16,, 21, 30 77, 79 60 59 50 102 102 95 56 94 94 94 94 94 81 37 37 21 43, 46, 105 35, 50 94 79 37 94, 102 66 66, 67, 69 67, 80 72 103 59 31 123


¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·Ó เรื่อง

ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ธวัชชัย สันติสุข

บรรณาธิการ

ดร. ราชันย ภูมา

ภาพประกอบ

ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ธวัชชัย สันติสุข ดร. ชวลิต นิยมธรรม นายปรีชา การะเกตุ นางสาวสุคนธทิพย ศิริมงคล นายธรรมรัตน พุทธไทย

ประสานงาน

นางสาวนันทนภัส ภัทรหิรญ ั ไตรสิน

ออกแบบรูปเลม

นายปรีชา การะเกตุ

จัดทํารูปเลม

นางสาวนารี ศิลปศร

จัดพิมพโดย

สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พิมพครัง้ ที่ 3

จํานวนพิมพ 3,000 เลม สําหรับเผยแพร หามจําหนาย สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2555

พิมพที่ :

โรงพิมพสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ 314-316 ถนนบํารุงเมือง ปอมปราบศัตรูพาย กทม. 10100 โทร 0 2223 3351 โทรสาร 0 2621 2910

ดร. ราชันย ภูมา นางสาวนันทนภัส ภัทรหิรัญไตรสิน นายวิสูตร อยูคง นายมานพ ผูพัฒน

นางสาวเทพวลี คะนานทอง

สําหรับการอางอิง : ธวัชชัย สันติสุข. 2555. ปาของประเทศไทย. สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื . โรงพิมพสาํ นักงานพระพุทธศาสนา แหงชาติ, กรุงเทพฯ. 124 หนา. ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ ธวัชชัย สันติสุข. ปาของประเทศไทย.–– กรุงเทพฯ : กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื , 2555 124 หนา. 1. ปาไม––ไทย. I. ชื่อเรื่อง. 634.9 ISBN: 978-616-316-015-7


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.