กินเค็มน้อยลงพิชิตโรงคความดัน

Page 1


ที่ปรึกษา

ดร.นายแพทยพรเทพ ศิริวนารังสรรค อธิบดีกรมอนามัย นายแพทยณรงค สายวงศ รองอธิบดีกรมอนามัย แพทยหญิงนภาพรรณ วิรยิ ะอุตสาหกุล ผู้อาํ นวยการสํานักโภชนาการ

คณะผูจัดทํา

นางกุลพร นางสาวณัฏฐิรา นางสาววีระนันท นางวสุนธรี นางสาววรรณชนก นางสาวสุทธาศินี

บรรณาธิการ

นางกุลพร นางวสุนธรี นางสาววีระนันท

สุขุมาลตระกูล ทองบัวศิริไล กรมงคลลักษณ เสรีสุชาติ บุญชู จันทรใบเล็ก

นักโภชนาการชํานาญการพิเศษ นักโภชนาการชํานาญการพิเศษ นักโภชนาการชํานาญการ นักโภชนาการชํานาญการ นักวิทยาศาสตรการแพทยปฏิบัติการ นักโภชนาการ

สุขุมาลตระกูล เสรีสุชาติ กรมงคลลักษณ

นักโภชนาการชํานาญการพิเศษ นักโภชนาการชํานาญการ นักโภชนาการชํานาญการ

คณะทดสอบการยอมรับ

นางนิรมล เกลอแก้ว และคณะ นางสินีนาถ สุริยกาญจน และคณะ

ฝายโภชนาการ สถาบันบําราศนราดูร ฝายโภชนาการ โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า

คณะตบแตงอาหารเพื่อถายภาพ

ผศ.ชนะจิต ติยัพเสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (พระนครใต้) นักศึกษาคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (พระนครใต้) ปรับปรุงและพิมพครั้งที่ 2 : พฤษภาคม 2557 จํานวน 3,570 เลม พิมพที่ : สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก จัดพิมพและเผยแพรโดย : กลุมโภชนาการประยุกต สํานักโภชนาการ กรมอนามัย ลิขสิทธิ์ภาพถายอาหารกลุมตางๆ ตามธงโภชนาการและตํารับอาหารความดันโลหิตสูงเป็นของสํานักโภชนาการ ISBN : 978-616-11-1309-4


เกริ่นนํา เปนที่ทราบกันดีวาโรคความดันโลหิตสูง เปนโรคไมติดตอเรื้อรังที่พบมากในกลุม ประชากรวัยสูงอายุ แตในปจจุบนั พบโรคนีใ้ นกลุม วัยทํางานมากขึน้ นับเปนปญหาสําคัญทีท่ วั่ โลก กําลังเผชิญอยู จากขอมูลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปขึ้นไป ในประเทศไทยพบวา ป 2554 มีผูปวยเปนโรคความดันโลหิตสูงรายใหมกวา 800,000 คน คิดเปนรอยละ 4 และมีผูเสี่ยงจะเปนโรคอีก 3.7 ลานคน คิดเปนรอยละ 1 สํานักโภชนาการ ตระหนักดีวา อาหารเปนปจจัยที่สําคัญอย่างหนึ่งซึ่งสงผลตอภาวะสุขภาพโดยตรง โดยเฉพาะ การกินเค็มเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะความดันโลหิตสูง หากผูปวยมีความรูดานอาหาร และโภชนาการ และรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสม จะทําใหผูปวยนั้นสามารถดูแลตนเองเพื่อลด การเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคอื่นๆ ได สํานักโภชนาการ จึงไดจดั ทําตํารับ “กินเค็มนอยลงสักนิด พิชติ โรคความดันฯ” ซึง่ เปน ตํารับอาหารที่มีการน�ำขอมูลเชิงวิชาการมาประยุกต์ใช้ใหเขากับอาหาร เพื่อให้สามารถปรุงและ หารั บ ประทานได ง  า ยในชี วิ ต ประจํ า วั น นอกจากนี้ ช ่ ว ยให ผู  อ  า นทราบถึ ง ปริ ม าณพลั ง งาน โซเดียม ใยอาหารและสารอาหารอื่นๆ ในแตละจานที่มีความสําคัญตอสุขภาพ คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งวา หนังสือเลมนี้จะมีสวนชวยใหประชาชนที่รักสุขภาพ และผูปวยโรคความดันโลหิตสูงใช้เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพ เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น และทํา คุณประโยชนใหแกประเทศชาติตอไป สํานักโภชนาการ กรมอนามัย

.................................................................... ................................... • 1


สารบัญ รูจักความดันโลหิตสูง

อันตรายจากความดันโลหิตสูง สาเหตุของความดันโลหิตสูง อาการของความดันโลหิตสูง ความดันกับความเค็ม ตัวอย่างอาหารที่มีโซเดียม หลักการควบคุมอาหารของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง เทคนิคง่ายๆในการลดเค็ม ลดโซเดียมในแต่ละมื้อ การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมเพือ่ ลดโรคความดันโลหิตสูง ปริมาณอาหารทีแ่ นะนําให้บริโภคต่อวัน ธงโภชนาการ ตัวอย่างนํ้าสมุนไพรทีไ่ ม่หวานมีสรรพคุณลดความดันโลหิต พืชผักผลไม้ที่แนะนําสําหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ตํารับอาหารสําหรับผูปวยความดันโลหิตสูง

n

n

n

n

n

n

n

n

ตัวอยางรายการอาหารสําหรับดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงใน 5 วัน ขาวกลองต้มหมูทรงเครื่อง กวยเตี๋ยวไกฉีกใสโหระพา นํ้าคื่นฉาย สาคูเปยกมะพราวออน ตมซุปไกมะเขือเทศ ปลานึ่งขิงลูกเดือย แกงจืดเลือดหมู

2 •...................................

หน้า

5 6 6 7 7 9 10 11 12 13 14 20 20 22 25 27 29 30 32 33 36


หน้า

ฟักทองผัดไข่ ลูกเดือยนมสด (พร่องมันเนย) ข้าวผัดผักรวมมิตร นํ้าใบบัวบก ยำ�มะระจีนกุ้งสด แกงจืดแตงกวาไก่สับ ข้าวต้มทรงเครื่องธัญพืช ถั่วห้าสีต้มนํ้าตาล ก๋วยเตี๋ยวผัดเต้าหู้ นํ้ากระเจี๊ยบแดง ลาบเต้าหู้ ต้มข่ามังสวิรัติ ปลาช่อนผัดคื่นฉ่าย ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง เมี่ยงข้าวกล้อง นํ้าพริกมะเขือเทศ ผักสด แกงป่าปลาช่อน ข้าวกล้องต้มปลาใส่ขิง ถั่วแดงเย็น ข้าวไก่อบแครอท แกงผักหวานใส่ปลาย่าง เต้าหู้ผัดฉ่า

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

37 38 40 41 43 44 47 49 51 52 54 55 58 59 61 63 64 67 69 71 73

n

................................... • 3


หน้า

ภาคผนวก

ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของตํารับอาหาร ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของผลไม ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของเครื่องดื่มและของวาง ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของอาหารจานเดียว ตารางแสดงปริมาณโซเดียมในอาหารและเครื่องปรุงรสต่างๆ ตารางแสดงปริมาณแรธาตุในอาหารจานเดียว ตารางแสดงปริมาณคอเลสเตอรอลในอาหาร ตารางแสดงนํ้าหนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการและสวนสูง ความสําคัญของฉลากโภชนาการ สัญลักษณทางโภชนาการรูปแบบ GDA GDA มีประโยชน์อย่างไร ข้อแนะนำ�กิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำ�ลัง

75 76 76 77 77 78 83 85 89 92 94 94 95

หนังสืออ้างอิง

96

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

n

ในภาวะที่มีความดันโลหิตสูง

4 •...................................


รูจักโรคความดันโลหิตสูง ความดันโลหิต (Blood pressure) คือแรงดันเลือดที่มีตอผนังหลอดเลือดแดงซึ่ง เกิดจากการบีบของหัวใจเพื่อสงเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย เมื่อหัวใจบีบและคลายตัว เพื่อสงเลือดไปเลี้ยงทั่วรางกายนั้นทําใหเกิดแรงดันขึ้น ซึ่งแสดงค่าได 2 คา คือ แรงดันใน หลอดเลือดขณะที่หัวใจบีบตัว เรียกวา ความดันซิสโตลิก (Systolic) และแรงดันในหลอดเลือด ขณะที่หัวใจคลายตัว เรียกวา ความดันไดแอสโตลิก (Diastolic) ความดันโลหิตสูง จึงหมายถึง “ภาวะของการมีความดันในหลอดเลือดแดงสูง” โดยกําหนดไวดังนี้

ระดับของความดันโลหิต ระดับปกติ ระดับเสี่ยงตอความดันโลหิตสูง ระดับความดันโลหิตสูง ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3

ความดันซิสโตลิก ความดันไดแอสโตลิก (มม. ปรอท) (มม. ปรอท) < 120 < 80 120-139 80-89 140-159 160-179 > 180

90-99 100-109 > 110

* < หมายถึง น้อยกว่า > หมายถึง เท่ากับหรือมากกว่า ................................... • 5


อันตรายจากความดันโลหิตสูง

การมีภาวะความดันโลหิตสูงเปนระยะเวลานานจะสงผลเสียตอระบบประสาทและ ปลายประสาท เชน ตาและสมอง โดยเฉพาะหากหลอดเลือดแดงแคบลง ทําใหเลือดไหลจาก หัวใจไปสู่อวัยวะสวนอื่นไดยากสงผลใหหัวใจจะตองสูบฉีดแรงขึ้นเพื่อสงเลือดไปเลี้ยงทั่วรางกาย แรงดันทีเ่ กิดจากการทีห่ วั ใจบีบตัวแรงขึน้ ทําใหผนังของหลอดเลือดเกิดแผล และบริเวณรอบแผล ทีผ่ นังเลือดจะกลายเปนทีส่ ะสมของไขมันจนเกิดการอุดตัน และเปนการเพิม่ ความเสีย่ งตอการเกิด โรคอืน่ ๆ ได เชน โรคหัวใจ โรคไต โรคอัมพฤกษอมั พาตจากโรคหลอดเลือดสมองแตก ตีบหรือตัน เป็นต้น

สาเหตุของความดันโลหิตสูง

1. ร้อยละ 90 ของโรคความดั น โลหิ ต สู ง นั้ น ไม ท ราบสาเหตุ เรี ย กว า Primary hypertension ปจจัยทีเ่ ชือ่ วาเกีย่ วของและเหนีย่ วนําใหเกิดโรคได คือ กรรมพันธุ อายุทม่ี ากขึน้ เชื้อชาติ ความเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล ความอวน นอกจากนี้การบริโภคเกลือ มากเกินไปก็เปนอีกปจจัยที่สําคัญตอการเกิดโรค 2. ร้อยละ 10 ที่ทราบสาเหตุ เรียกวา Secondary hypertension ซึง่ สาเหตุมาจาก การเจ็บปวยตางๆ ไดแก โรคไต หลอดเลือดแดงทีไ่ ตผิดปกติ ตอมหมวกไตผิดปกติ กลุมอาการ หยุดหายใจขณะหลับในคนอวน ความผิดปกติของหัวใจแตกําเนิด หลอดเลือดแดงใหญผิดปกติ หรือการไดรับยาบางชนิด เชน ยาคุมกําเนิด ยาสเตอรอยด์ ยาบา โคเคน และภาวะครรภ เปนพิษ ตารางสรุปปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรค ปจจัยเสี่ยง ตัวอยาง ดานสรีระวิทยา ภาวะอวน โรคอ้วนลงพุง ดานสิ่งแวดลอม ความเครียด ขาดการออกกําลังกาย ดานอาหาร โซเดียม แคลเซียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม ไขมัน แอลกอฮอล 6 •...................................


อาการของความดันโลหิตสูง

ผูปวยความดันโลหิตสูงจํานวนไมนอยมักไมแสดงอาการ สวนในรายที่แสดงอาการมักมีอาการปวดศีรษะ มึนงง ตาพรา เหนื่อยงาย แนนหนาอก คลื่นไส หรืออาจมีเลือดกําเดาไหล

ความดันกับความเค็ม

มีการศึกษาจากประเทศญี่ปุนพบวา ประชากรที่อาศัยแถบตอนบนของเกาะฮอนชูมีอัตรา การบริโภคเกลือในปริมาณที่สูง ซึ่งมีความสัมพันธกับ จํานวนผูปวยโรคความดันโลหิตสูงทีม่ มี ากกวาประชากรในแถบอืน่ ของประเทศอยางเห็นไดชดั ขอมูลดังกลาวตรงกับการศึกษาในประเทศอเมริกาเชนกัน จากขอมูลเหลานี้รวมทั้งผลการศึกษาวิจัยจากหลายแหลงบงชี้ชัดวาความดันโลหิตสูงเกี่ยวของ อย างยิ่งกับการกินเค็ม ตั ว การสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให อ าหารรสเค็ ม ซึ่ ง เชื่ อ ว า ก อ ให เ กิ ด ป ญ หาความดั น โลหิ ต สู ง คื อ โซเดียม แมวาจะยังไมมีการรายงานชัดเจนวากลไกที่โซเดียมทําใหความดันโลหิตเพิ่มขึ้นนั้น เกิดไดอยางไร แตสามารถอธิบายตามหลักเคมีฟสิกสไดวา การกินอาหารที่มีโซเดียมสูงจะ ทําใหปริมาณเลือดเพิม่ ขึน้ ซึง่ จะสงผลตอใหผนังหลอดเลือดตึงไปดวย จึงทําใหความดันเลือดสูง ขึ้นได การกินอาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปจะเปนอันตรายตอรางกายและมีความสัมพันธกับ การเกิดโรคความดันโลหิตสูง การได้รับโซเดียมมากในรางกายยังทําใหมีการสะสมของนํ้า ตามสวนตางๆของรางกาย เกิดภาวะบวมนํ้า ระดับเกลือแรในเลือดสูงเกินไปจะทําใหเลือด แข็งตัวได และนําไปสูภาวะตางๆ ที่เปนอันตรายตอรางกาย เชน เสนเลือดในสมองตีบตัน ไตวาย หัวใจวาย จากการศึกษาพบวา ถากินเกลือแกงมากกวา 1 ชอนชา (6 กรัม) ตอวัน จะมีโอกาสเสีย่ งตอความดันโลหิตสูงและการกินเค็มจัดมีโอกาสเปนมะเร็งในกระเพาะอาหารดวย ................................... • 7


การกินอาหารทีผ่ า นการแปรรูปนอยๆ หรืออาหารจากธรรมชาติ เชน ผักสดใบเขียวในแตละวัน ใหมาก เนื่องจากผักใบเขียว ผลไม้สดจะมีสารอาหารในกลุมวิตามินบี ที่เรียกวา กรดโฟลิค ชวยลดความเสี่ยงของสมองภาวะหลอดเลือดในสมองอุดตันได ร้อยละ 20 และโรคหัวใจได ร้อยละ 15 นอกจากนี้ยังมีธาตุโพแทสเซียม ชวยรักษาความเปนกรด ดาง ในรางกาย การกิน ผักใบเขียวสดเปนประจําในปริมาณที่มากเพียงพอทําใหรางกายไดรับวิตามินและแรธาตุเหลานี้ ช่วยปองกันโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดอุดตันและโรคอัมพาตได

8 •...................................


ตัวอย่างอาหารที่มีโซเดียม

อาหารที่มีโซเดียมเปนสวนประกอบ ที่มีรสเค็ม ไดแก เกลือแกง เครื่องปรุงรสตางๆ และที่ไมมีรสเค็ม ไดแก ผงชูรส ผงฟู สารกันบูดและอาหารประเภทเนย เนยเทียม นํ้าสลัด ชนิดครีมและใส n เครื่องปรุงรส เชน เกลือ นํา ้ ปลา ซอสปรุงรส ซีอิ๊ว นํ้ามันหอย นํ้าบูดู นํ้าปลารา ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก ผงหรือกอนปรุงรสตางๆ n สารปรุงแตงอาหารที่ไมมีรสเค็ม เชน ผงชูรส ผงฟูที่ใชทําเบเกอรี่ แปงที่ใชชุบ เนื้อหรือผักทอด สารกันบูด สารกันเชื้อราในขนมปง n อาหารหมักดอง อาหารแปรรูป ดังนี้ u ประเภทผัก เชน ผักกาดดอง หัวผักกาดดอง ตั้งฉาย มะนาวดอง ขิงดอง กระเทียมดอง หนอไมดอง ผักเสี้ยนดอง เปนตน u ประเภทผลไม เช น ผลไม ก ระป อ ง ลู ก บ ว ยเค็ ม ลู ก บ ว ยหวาน ฝรั่ ง ดอง ลูกสมอดอง มะมวงดอง มะยมดอง มะขามแชอิ่ม มะดันแชอิ่ม เปนตน u ประเภทเนื้อสัตว เชน ไขเค็ม เนื้อเค็ม ปลาเค็ม ปูเค็ม ปลาแหง กุงแหง กะป ปลารา ปลาจอม หมูยอ หมูแฮม เบคอน ไสกรอก ปลาหวาน เนือ้ สวรรค หมูแผน หมูหยอง กุงหวาน ไสกรอกอีสาน แหนม สมฟก ปลาเจา ปลาสม ปลากระปอง เนยแข็งชนิดเค็ม เปนตน u ประเภทถั่ว เชน เตาเจี้ยว ถั่วเนา เตาหูยี้ เปนตน ................................... • 9


n นํ้าจิ้มชนิดตางๆ เชน นํ้าจิ้มสุกี้ นํ้าจิ้มไก นํา ้ ปลาหวาน เปนตน n นํ้ า พริ ก ต า งๆ เชน นํ้าพริกเผา นํ้าพริกปลายาง นํ้าพริกปลารา นํ้าพริกหนุม นํา้ พริกกะป นํา้ พริกแกงทุกชนิด เปนตน n อาหารประเภทขนม เชน ขนมกรุบกรอบ ขาวเกรียบ ขาวตังเสวย ขนมครองแครง ขนมที่ใสกะทิ รวมทั้งขนมหรืออาหารแปรรูปอื่นๆ เปนตน n เครื่องดื่มและนํ้าดื่ม เชน เครื่องดื่มเกลือแร นํา ้ แร นํา้ ผลไม เปนตน n อาหารธรรมชาติ เชน ขาว เนื้อสัตว ผัก ผลไม ซึ่งมีโซเดียมนอยมาก

หลักการควบคุมอาหารของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง

1. ลดการกินอาหารทีม่ โี ซเดียมสูง เชน งดอาหารรสเค็มจัด ปริมาณโซเดียมทีแ่ นะนำ� ต่อวันสําหรับผูใ้ หญ่ให้นอ้ ยกว่า 2,000 มิลลิกรัม (เกลือ 1 ชอ้ นชา มีโซเดียม 2,000 มิลลิกรัม, นํา้ ปลา 1 ชอนโตะ มีโซเดียม 1,160-1,490 มิลลิกรัม) ซีอวิ๊ ขาว 1 ชอ้ นโตะ๊ มีโซเดียม 1,200 มิลลิกรัม 2. ลดการกินอาหารแปรรูปทุกชนิด อาหารกึ่งสําเร็จรูป รวมทั้งอาหารกระปอง 3. เพิ่มผักสด ผลไมรสไม่หวาน ที่ใหสารโพแทสเซียม ดื่มนมและผลิตภัณฑนม ที่ มี ไ ขมั น ตํ่าที่ ใ ห แ คลเซี ย ม กิ น ข า วกล อ ง/ธั ญ พื ช และถั่ ว เปลื อ กแข็ ง ที่ ใ ห แ มกนี เ ซี ย มและ เสนใยอาหาร 4. ลดการกิน อาหารที่มีไ ขมันสู ง โดยเฉพาะอย า งไขมั น อิ่ ม ตั ว กะทิ เนื้ อติ ด มั น หนังสัตว และลดการกินอาหารที่ใชนํ้ามันทอดซํ้า เช่น ปาท่องโก๋ ไก่ทอด กล้วยแขก เป็นต้น อาหารที่ปรุงดวยเนยขาว มาการีน เช่น เค้ก คุ้กกี้ ขนมปัง เป็นต้น 5. เพิ่มการกินเนื้อสัตวที่มีไขมันตํา่ เชน ปลานึ่ง ปลาต้ม 6. ลดหรืองดเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล และงดสูบบุหรี่ 10 •...................................


เทคนิคง่ายๆ ในการลดเค็ม ลดโซเดียมในแตละมื้อสามารถทำ�ได้ ดังนี้

1. ลดการใชเครื่องปรุงรสในอาหาร เชน ผงปรุงรส นํ้าปลา ซีอิ๊ว เกลือ ซอสปรุงรส เตาเจี้ยว และผงชูรส รวมทั้งไม่วางถ้วยพริกนํ้าปลา ไว้บนโต๊ะอาหาร 2. ชิมอาหารกอนเติมทุกครั้ง 3. เลือกกินอาหารสดหรืออาหารที่ผานการแปรรูปนอยที่สุด เชน กินเนื้อหมูดีกวา กินไสกรอก แฮม หมูยอ กุนเชียง 4. ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่ใชนํ้าจิ้ม เชน นํ้าจิ้มสุกี้ หมูกระทะ และลด การกินนํ้าพริกและอาหารที่ใสเครื่องแกงตางๆ ที่ใสเกลือ 5. ลดการกินขนมหวานทีม่ เี กลือ เชน ขาวเหนียวกะทิ ขาวหลาม ขนมจาก ผลไมแชอม่ิ ขนมอบทุกชนิดที่ใสผงฟู เชน เคก คุ้กกี้ โดนัท เปนตน 6. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัด อาหารหมักดอง อาหารสําเร็จรูป อาหารกระปอง ผงปรุงบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปและขนมขบเคี้ยวและควรอานฉลากโภชนาการทุกครั้ง ถาจําเปนเลือก ก็เลือกชนิดที่มีโซเดียมนอยที่สุด 7. อาหารที่ออนเค็มเพิ่มการปรุงรสดวยสมุนไพร เครื่องเทศ เช่น พริก ยี่หร่า ตะไคร้ ใบมะกรูด อาจจะใชรสเปรี้ยวหรือเผ็ดนํา

................................... • 11


การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อแนะนํา

ความดันที่ลด

น�้ำหนัก F รักษาน�้ำหนักให้ดัชนีมวลกายไม่เกิน 22.9 กก.ต่อ ตร.ม ต่อน�้ำหนัก 10 กก.ที่ลด F รักษารอบพุงให้น้อยกว่า 80 ซม.ในผู้หญิง และน้อยกว่า 90 ซม.ในผู้ชาย

5-20 มม.ปรอท

F รับประทานผัก ผลไม้ให้มาก การรับประทานอาหาร F ลดอาหารที่มัน และไขมันอิ่มตัว งดเค็ม/อาหารที่มีโซเดียมสูง F จ�ำกัดอาหารที่มีปริมาณโซเดียม น้อยกว่า 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน การออกก�ำลังกาย F ออกก�ำลังกายวันละ 30 นาที อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์

8-14 มม.ปรอท

ลดการดื่มเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์

หมายเหตุ*

ผู้ชายน้อยกว่า 2 ดื่มมาตรฐาน* F หญิงน้อยกว่า 1 ดื่มมาตรฐาน* F

2-8 มม.ปรอท

4-9 มม.ปรอท 2-4 มม.ปรอท

1 ดื่มมาตรฐาน หมายถึง เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ประมาณ 10 กรัม = เหล้าแดง 35 ดีกรี 2 ฝาใหญ่ หรือ 30 มิลลิลิตร = เหล้าขาว 40 ดีกรี 30 มิลลิลิตร = น�้ำขาว อุ กระแช่ 10 % : 3 เป๊ก/ตอง/ก๊ง หรือ 150 มิลลิลิตร = สาโท สุราแช่ สุราพื้นเมือง 6% : 4 เป๊ก/ตอง/ก๊ง หรือ 200 มิลลิลิตร = เบียร์ 5 % เช่น สิงห์ ไฮเนเกน เชียร์ ไทเกอร์ ช้างดราฟ 240 มิลลิลิตร = เบียร์ 6.4 % เช่น ช้าง 1/2 กระป๋อง หรือ 1/3 ขวดใหญ่ = ไวน์ 12 % : 1 แก้ว 100 มิลลิลิตร = ไวน์คูเลอร์ 1 ขวด

12 •...................................


ปริมาณอาหารที่แนะนําใหบริโภคตอวัน

ปริมาณอาหารที่ควรกินในแตละวัน ใชปริมาณอาหารตามธงโภชนาการที่แนะนําให บริโภคในระดับพลังงานตางๆ ใน 1 วันดังนี้ กลุมอาหาร

หนวย

พลังงาน (กิโลแคลอรี) 1,200* 1,600 2,000

ขาว-แปง ทัพพี 6 8 ผัก ทัพพี 6 6 ผลไม สวน 3 4 เนื้อสัตว ชอนกินขาว 5 6 นม แกว 1 1 นํ้ามัน ชอนชา 3 5 นํ้าตาล ชอนชา 2 4 เกลือ กินแตนอยเทาที่จําเปน

10 5 4 9 1 7 6

2,400 12 6 6 12 1 9 8

หมายเหตุ* สําหรับผูที่มีภาวะโภชนาการเกินและตองการลดนํ้าหนัก

1,600 กิโลแคลอรี สําหรับหญิงวัยทํางานอายุ 25-60 ป ผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 2,000 กิโลแคลอรี สําหรับวัยรุนหญิง-ชายอายุ 14-25 ป ชายวัยทํางานอายุ 25-60 ป 2,400 กิโลแคลอรี สําหรับหญิง-ชายทีใ่ ชพลังงานมากๆ เชน เกษตรกร, ผูใ ชแรงงาน, นักกีฬา ตามตารางขางตน หนวยตวงวัดที่ใชเปนหนวยที่ใชในครัวเรือน เชน ทัพพี ชอนกินขาว และ แกว ยกเวนผลไมแนะนําเปน สวน ................................... • 13


ธงโภชนาการ ชั้นที่ 1 กลุมขาว-แปง กินปริมาณมากที่สุด ใหสารอาหารหลัก คือ คารโบไฮเดรต เปนแหลงพลังงาน ชั้นที่ 2 กลุมผักและกลุมผลไม กินปริมาณมาก รองลงมามีวิตามิน แรธาตุ และใยอาหาร ชั้นที่ 3 กลุมเนื้อสัตว ถั่ว ไขและกลุมนม กินปริมาณพอเหมาะเพื่อใหไดโปรตีนคุณภาพดี เหล็ก และแคลเซียม ชั้นที่ 4 กลุมนํ้ามัน นํ้าตาล เกลือ กินแตนอย เทาที่จําเปน

อาหารในกลุมเดียวกัน สามารถกินทดแทนกันได

อาหารในกลุมเดียวกันใหพลังงานและคุณคาทางโภชนาการเทากันหรือใกลเคียงกัน ดังนั้น อาหารในกลุมเดียวกัน สามารถกินทดแทนกันได แต่ไม่สามารถใช้อาหารต่างกลุ่ม ทดแทนได้ เนื่องจากพลังงานและปริมาณสารอาหารไมเทากัน ดังตัวอยาง 14 •...................................


กลุมขาว - แปง เช่น ขาวสุก 1 ทัพพี = กวยเตี๋ยว 1 ทัพพี = ขาวเหนียว 1/2 ทัพพี = ขนมจีน 1 จับ = ขนมปง 1 แผน = บะหมี่ 1/2 กอน

เลือกกินขาวกลอง ขาวขัดสีนอย ขนมปงโฮลวีท ลูกเดือย ขาวโอต กินกลุมขาว-แปง มื้อละ 2-3 ทัพพี

................................... • 15


กลุมผัก เช่น ฟกทองสุก 1 ทัพพี = ผักคะนาสุก 1 ทัพพี = ผักบุงจีนสุก 1 ทัพพี = แตงกวาดิบ 2 ผลกลาง

เลือกกินพืชผักใหไดมื้อละ 2 ทัพพี และเลือกกินสมุนไพรที่มีสรรพคุณลดความดันโลหิต เชน กระเจี๊ยบแดง กระถินไทย (ยอด+ฝกออน) เม็ดกระถินคั่ว กระเทียม กะเพราแดง/ขาว ขิงสด คื่นฉ่าย ตะไคร ใบบัวบก ใบผักกาดหอม ผักชีฝรั่ง พริกหยวก ใบมะกรูด ใบมะกอก ใบสะระแหน หอมใหญ โหระพา

16 •...................................


กลุมผลไม ตัวอย่างผลไม้ 1 สวน = เงาะ 4 ผล = ฝรั่ง 1/2 ผลกลาง = มะมวงดิบ 1/2 ผล = กลวยนํ้าวา = 1 ผล = สมเขียวหวาน 1 ผลใหญ = มะละกอหรือสับปะรด หรือแตงโม 6-8 ชิ้นคํา = ลองกองหรือลําไยหรือองุน 6-8 ผล

เลือกกินกลวย เชน กลวยนํ้าวา กลวยไข กลวยหอม กลวยหักมุก กลวยเล็บมือนาง สม มะละกอ ฝรั่ง หรือผลไมที่มีรสไมหวานจัด มื้อละ 1 สวนหลังอาหารหรือกินปนอาหารวาง ................................... • 17


กลุมเนื้อสัตว เช่น ปลาทู 1 ชอนกินขาว (1/2 ตัวขนาดกลาง) = เนื้อหมู 1 ชอนกินขาว = ไขไก 1/2 ฟอง = เตาหูแข็ง 1/4 ชิ้น = ถั่วเมล็ดแหงสุก 2 ชอนกินขาว

เลือกกินเนื้อสัตวที่มีไขมันตํ่า และไมติดมัน เชน เนื้อปลา ไก (ไมติดหนัง) ถั่วดํา ถั่วแดง ถั่วเหลือง รวมทั้งผลิตภัณฑ เชน เตาหู โปรตีนเกษตร โดยเลือกกินเนื้อสัตวมื้อละ 2-3 ชอนกินขาว

18 •...................................


กลุมนม เช่น นมสด 1 แกว = โยเกิรต 1 ถวย = นมพรองมันเนย 1 แกว = นมขาดมันเนย 1 แกว ขนาด 200 มิลลิลิตร

ดื่มนมรสจืด หรือผลิตภัณฑนมเปนอาหารวาง วันละ 1 แกว กรณีที่มีไขมันในเลือดสูง หรือนํ้าหนักเกินควรดื่มนมขาดมันเนย

หมายเหตุ : ปริมาตรหน่วยตวงวัด

หน่วยเทียบนํ้าหนัก 1 กิโลกรัม 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนชา นม / นํ้า 1 แก้ว

= = = =

1,000 กรัม = 10 ขีด 3 ช้อนชา = 15 กรัม 5 กรัม 200 มิลลิลิตร ................................... • 19


ตัวอย่างนํ้าสมุนไพรที่ไมหวานมีสรรพคุณลดความดันโลหิต นํ้ากะเพราแหง นํ้าขิง นํ้าคื่นฉ่าย นํ้าใบชา นํ้าดอกคําฝอย นํ้าลูกเดือย นํ้าตะไคร นํ้าถั่วดํา นํ้านมถั่วเหลือง

นํ้าทับทิม นํ้าใบบัวบก นํ้าผักชีฝรั่ง นํ้าใบมะกรูด นํ้าใบมะขาม นํ้ามะเฟอง นํ้าใบสะระแหน นํ้าองุน

พืชผักผลไม้ที่แนะนำ�สำ�หรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง คื่นฉ่าย หอมใหญ่ ขิงสด กระเทียม กะเพราแดง/ขาว

20 •...................................

ใบบัวบก ใบผักกาดหอม กะเพรา โหระพา ใบสะระแหน่

กระถินไทย (ยอด ฝักอ่อน เม็ด) ผักชี ผักชีฝรั่ง มะกอก (ใบ ผล) ดีปลี ตะไคร้ ใบผักกาดนํ้า พริก พริกหยวก ใบมะกรูด กล้วย


................................... • 21


ตัวอยางรายการอาหารสําหรับดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงใน 5 วัน มื้อ

เชา

• ขา วกลองตมหมู ทรงเครือ่ ง • กลวยหอม

วางเชา กลางวัน

วางบาย

เย็น

ข้าว-แป้ง เนือ้ สัตว์ ผัก ผลไม้ นม นํา้ มันทีใ่ ช้ปรุง

วันจันทร

วันอังคาร • ขาวกลอง • แกงจืดเลือดหมู • ฟกทองผัดไข • ฝรัง่

วันพุธ • ขาวตมทรงเครือ่ ง ธัญพืช • กลวยนํา้ วา

วันพฤหัสบดี

วันศุกร

• ขาวกลอง • ขาวกลองตมปลา ใสขงิ • ปลาชอนผัดคืน่ ฉาย • สมเขียวหวาน • ไขตนุ ทรงเครือ่ ง • แตงโม

• นมพรองมันเนย • ลูกเดือยนมสด (พรองมันเนย) • กวยเตีย๋ วไกฉกี • ขาวผัดผักรวมมิตร ใสโหระพา • มะมวงนํา้ ดอกไมสกุ • สับปะรด

• ถัว่ ห้าสีตม นํา้ ตาล • ขาวโพดตม • นํา้ ชาตะไคร-ใบเตย • นํา้ ตําลึง

• ถัว่ แดงเย็น • นํา้ ใบสะระแหน

• กวยเตีย๋ วผัดเตาหู • เมีย่ งขาวกลอง

• ขาวไกอบแครอท

• เงาะ

• สับปะรด

• แอปเปล

• นํา้ คืน่ ฉ่าย • นํา้ ใบบัวบก • สาคูเปยก มะพราวออน

• นํา้ กระเจีย๊ บ

• นมพรองมันเนย • นมพรองมันเนย

• ขา วกลอง • ขาวกลอง • ตม ซุปไกมะเขือเทศ • ยํามะระกุง สด • ปลานึง่ ขิงลูกเดือย • แกงจืดแตงกวา ยัดไสไกสบั • ชมพู • มะละกอสุก

• ขาวกลอง • ลาบเตาหู • ตมขามังสวิรตั ิ • มังคุด

• ขาวกลอง • แกงปาปลาชอน • นํา้ พริกมะเขือเทศ ผักสด • สมโอ

8 ทัพพี 9 ช้อนกินข้าว 5 ทัพพี 3 ส่วน 1.5 แก้ว 2 ช้อนชา

22 •...................................

การคิดเป็นหมวดอาหารตามธงโภชนาการ 7 9 7 3 1 2

ทัพพี ช้อนกินข้าว ทัพพี ส่วน แก้ว ช้อนชา

6.5 ทัพพี 8 ช้อนกินข้าว 4.5 ทัพพี 3 ส่วน 0.25 แก้ว 5 ช้อนชา

6.5 ทัพพี 9 ช้อนกินข้าว 7 ทัพพี 3 ส่วน 1 แก้ว 5 ช้อนชา

• ขาวกลอง • แกงผักหวานปลา • เตาหูผ ดั ฉา • แกวมังกร 7 8 6 3 1 4

ทัพพี ช้อนกินข้าว ทัพพี ส่วน แก้ว ช้อนชา


รายการอาหารสําหรับวันจันทร วางเชา : นมพรองมันเนย เชา : ขาวกลองตมหมูทรงเครื่อง, กลวยหอม

วางบาย : นํ้าคื่นฉ่าย, สาคูเปยกมะพราวออน กลางวัน : กวยเตี๋ยวไกฉีกใสโหระพา, มะมวงนํ้าดอกไมสุก

เย็น : ขาวกลอง, ตมซุปไกมะเขือเทศ, ปลานึ่งขิงลูกเดือย, ชมพู

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 60 : 19 : 21 คุณคาทางโภชนาการทัง้ วันสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน

1,480 กิโลแคลอรี โพแทสเซียม 3,006.0 มิลลิกรัม 221.6 กรัม ใยอาหาร 19.4 กรัม 71.6 กรัม แคลเซียม 713.3 มิลลิกรัม 34.2 กรัม โซเดียม 1,798.8 มิลลิกรัม

การคิดเป็นหมวดอาหาร ตามธงโภชนาการ

ขาว-แปง เนื้อสัตว ผัก ผลไม นม นํ้ามันที่ใชปรุง

8 ทัพพี 9 ชอนกินขาว 5 ทัพพี 3 สวน 1.5 แกว 2 ชอนชา

................................... • 23


มื้อเช้า

• ขาวกลองตมหมูทรงเครื่อง • กลวยหอม

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 57 : 20 : 23 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

295

14.6 7.5

24 •...................................

42.4

431.0

480.5

55.0

2.9


ขาวกลองตมหมูทรงเครื่อง สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

วิธีทํา

ขาวกลอง 6 ทัพพี 360 กรัม เนื้อหมูแดงสับ 4 ชอนกินขาว 80 กรัม ไขไก 4 ฟอง 200 กรัม ขิงออนซอย 2 ชอนกินขาว 20 กรัม คื่นฉายหั่นละเอียด 2 ชอนกินขาว 20 กรัม เห็ดหอม 2 ชอนกินขาว 20 กรัม แครอท 2 ชอนกินขาว 20 กรัม กานคะนา 2 ชอนกินขาว 20 กรัม พริกไทยปน น้อยกว่า 1 ช้อนชา 4 กรัม 12 กรัม ซีอิ๊วขาว 2 1/2 ชอนชา

สูตรน้ีปรับ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

1. เปลี่ยนข้าวขาวเป็น ข้าวกล้อง 2. ใช้ซีอิ๊วขาวแทนน�้ำปลา 3. เพิ่มเห็ดหอมและ แครอทลงไป เพือ่ ให้ได้ รับวิตามินและเส้นใย อาหารเพิ่มขึ้น

1. ขาวกลองตมใหสุก บานเล็กนอย 2. ตมนํ้าซุปกระดูกหมู พอเดือดใสหมูสับ ปนเปนกอนเล็กๆ ใส่เห็ดหอม แครอท ก้านคะน้า ปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว พริกไทยปน ตามดวยขาวกลอง พอเดือด ใสไขไกรอจนสุก ยกลง 3. เทใสชาม โรยหนาดวยขิง คื่นฉาย

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

233 238

29.7 29.1

14.0 6.4 53.4 13.9 7.4 52.5

280.3 319.0

667.3 0.9 420.5 2.0

................................... • 25


มื้อกลางวัน

• กวยเตี๋ยวไกฉีกใสโหระพา • มะม่วงน้ำ�ดอกไม้สุก

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 64 : 18 : 18 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

397

17.6 8.0

26 •...................................

63.6

437.1

565.6

131.9

4.7


กวยเตี๋ยวไกฉีกใสโหระพา สวนประกอบ (สําหรับ 1 คน)

กวยเตี๋ยวเสนเล็ก 2 ทัพพี 80 กรัม อกไกตม 2 ชอนกินข้าว 40 กรัม ถั่วงอกดิบ 1 ทัพพี 67 กรัม ผักกาดหอมสด 1 ทัพพี 62 กรัม โหระพา 1 ทัพพี 40 กรัม นํ้ามันถั่วเหลือง 1 ชอนชา 5 กรัม กระเทียบสับละเอียด 1 ชอนชา 5 กรัม ซีอิ๊วขาว นอยกวา 1 ชอนชา 3 กรัม

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ สูตรน้ีปรับ 1. เพิม่ โหระพาและถัว่ งอก ซึ่งเป็นสมุนไพรที่ช่วย ลดความดัน จาก 1/2 ทัพพีเป็น 1 ทัพพี 2. ใช้ซีอิ๊วขาวแทนน�้ำปลา และลดปริมาณลง

วิธีทํา 1. ตมไกพอสุก ฉีกเปนฝอย 2. ลวกเสนกวยเตี๋ยว คลุกกระเทียมเจียว ลวกถั่วงอก หั่นผักเตรียมไว 3. ทำ�นํ้าซุปโดยตั้งนํ้าให้เดือด ปรุงรสดวย ซีอิ๊วขาว 4. นําสวนผสมทุกอยางจัดใสในชาม พอจะรับประทาน ใส่ใบโหระพา ผักกาดหอม ใหนําไปเติมนํ้าซุปรอนๆ

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

323 337

48.1 49.5

15.1 7.7 72.7 16.9 7.8 127.4

299.2 457.6

633.2 2.1 434.9 3.8

................................... • 27


มื้อว่างบ่าย

• นํ้าคื่นฉาย • สาคูเปียกมะพร้าวอ่อน

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 64 : 9 : 27 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

231

5.0 7.1

28 •...................................

37.0

92.1

336.0

176.7

2.4


นํ้าคื่นฉาย สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

คื่นฉาย 3 ทัพพี 120 กรัม นํ้าตาลทรายแดง 1/2 ชอนกินข้าว 8 กรัม นํ้าเปลาตมสุก 4 แก้ว 800 มิลลิลิตร

วิธีทํา 1. ตมนํ้าให้เดือด แบ่งนํ้าใส่นํ้าตาล ทำ�เปนนํ้าเชื่อม เตรียมไว้ 2. ลางคื่นฉายใหสะอาด แลวหั่นเปนทอนสั้นๆ 3. ปั่นคื่นฉายกับนํ้าที่ต้มเตรียมไว้ให้ละเอียด 4. เทกรองเอาแตนํ้า เติมนํ้าเชื่อม ผสมให้เข้ากัน เก็บในตู้เย็นพร้อมดื่ม

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน (กิโลแคลอรี) 16 คารโบไฮเดรต (กรัม) 3.4 โปรตีน (กรัม) 0.5 ไขมัน (กรัม) 0.1 แคลเซียม (มิลลิกรัม) 45.3 โพแทสเซียม (มิลลิกรัม) 105.6 โซเดียม (มิลลิกรัม) 37.5 ใยอาหาร (กรัม) 0.8 คื่ น ฉ่ า ย อุ ด มไปด้ ว ยสารต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระจำ � พวกฟลาโวนอยด์ และยั ง เป็ น แหล่ ง วิ ต ามิ น เอ เค รวมทัง้ แร่ธาตุโพแทสเซียมที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความดันโลหิต และอัตราการเต้นของหัวใจ

................................... • 29


สาคูเปยกมะพราวออน สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

สาคูเม็ดเล็ก 0.8 ขีด 80 กรัม นํ้าตาลทราย 2 ชอนกินข้าว 30 กรัม นมพรองมันเนย 2 กลอง 400 กรัม มะพราวออนขูดเปนเสน 0.8 ขีด 80 กรัม

สูตรน้ีปรับ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

1. เปลี่ยนจากกะทิเป็นนม พร่องมันเนย 2. ไม่ใส่เกลือแต่งรสชาติ

วิธีทํา 1. ลางสาคู ใสลงในนํ้าเดือด ต้มจนสาคูเริ่มใส 2. จากนั้นใสนํ้าตาลทราย มะพราวออน และนมพร่องมันเนย คนเบาๆ พอเดือดทั่ว ยกลง พร้อมเสิรฟ

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

536 215

37.3 33.7

5.4 43.3 20.9 4.5 7.0 131.4

94.7 230.4

ใช้นมพร่องมันเนยแทนกะทิ จะให้พลังงานต่�ำ เหมาะสำ�หรับผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงที่ต้องการเลี่ยงการรับประทานไขมัน

30 •...................................

397.1 54.6

2.4 1.6


มื้อเย็น

• ขาวกลอง 2 ทัพพี • ต้มซุปไก่มะเขือเทศ • ปลานึ่งขิงลูกเดือย • ชมพู่ การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 59 : 23 : 18 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

457

26.8 9.0

67.2

736.6

1,287.9

103.7

9.4

................................... • 31


ตมซุปไกมะเขือเทศ สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

เนื้ออกไก (ไม่ใช้หนัง) 12 ชอนกินขาว พริกไทยปน น้อยกว่า 1 ชอนชา มันฝรั่ง 1 หัวใหญ หอมหัวใหญ 1 ลูก มะเขือเทศสีดาผาครึ่ง 8 ลูกกลาง คื่นฉาย 4 ตน ซีอิ๊วขาว 1 ชอนกินขาว นํ้า 4 แก้ว

180 กรัม สูตรน้ีปรับปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ 4 กรัม 1. ไม่ใช้ผงปรุงรสแต่ท�ำ 240 กรัม น�ำ้ ซุป และปรุงรสน�ำ้ ซุป 80 กรัม ด้วยซีอิ๊วขาวในปริมาณ 80 กรัม ที่พอเหมาะ คือ 40 กรัม 1 ช้อนกินข้าว 15 กรัม 800 มิลลิลิตร

วิธีทํา 1. ทํานํ้าซุป โดยหั่นหอมหัวใหญ ใสนํ้า ตมดวยไฟกลาง 2. ใสมันฝรั่ง ตมใหสุกจนนิ่ม ใสเนือ้ ไก มะเขือเทศ ตมตอจนไกสกุ 3. ปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว ใสคื่นฉาย ตมตอเล็กนอย แลวยกลง ตักใสชาม โรยพริกไทยปน พรอมเสิรฟ

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

134 133

32 •...................................

13.1 13.0

11.6 4.0 41.3 11.4 4.0 41.3

769.8 769.8

781.2 354.2

4.4 4.4


ปลานึ่งขิงลูกเดือย สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

เนื้อปลากะพงขาว ขิงแกหั่น ลูกเดือย ถั่วเหลือง ซีอิ๊วขาว พริกไทยปน ตนหอม พริกชี้ฟาแดงเม็ดใหญ

4 ชิ้น 160 กรัม 4 แผน 40 กรัม 1 ทัพพี 60 กรัม 2 ชอนกินข้าว 20 กรัม 2 ชอนชา 10 กรัม 1 ชอนชา 4 กรัม 1/2 ทัพพี 20 กรัม 4 เม็ด 20 กรัม

สูตรน้ีปรับ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

1. ใส่ลูกเดือยเพิ่มให้ได้ รับใยอาหารเพิ่มขึ้น 2. ใส่ถั่วเหลือง ท�ำให้ได้รับ โปรตีนและไฟโตเอส โตรเจนเพิ่มขึ้น 3. ลดปริมาณซีอิ๊วขาวจาก 1 ช้อนโต๊ะเหลือ 2 ช้อนชา

วิธีทํา 1. นําเนื้อปลามาคลุกกับขิง ซีอิ๊วขาว และพริกไทยปน จัดเรียงในภาชนะ นําไปนึ่งไฟแรงประมาณ 5-7 นาที 2. เติมลูกเดือย ถั่วเหลือง และนึ่งตอ ประมาณ 5 นาที หรือจนสุก 3. โรยหนาดวยตนหอมและพริกชี้ฟา แลวยกลง

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

70 111

3.1 8.7

8.8 2.3 11.2 3.3

27.7 46.0

131.6 211.1

503.5 267.2

0.7 1.8

................................... • 33


รายการอาหารสําหรับวันอังคาร

เชา : ขาวกลอง, แกงจืดเลือดหมู, ฟกทองผัดไข, ฝรั่ง

วางเชา : ลูกเดือยนมสด (พรองมันเนย)

กลางวัน : ขาวผัดผักรวมมิตร, สับปะรด

วางบาย : นํ้าใบบัวบก

เย็น : ขาวกลอง, ยํามะระกุงสด, แกงจืดแตงกวายัดไสไกสับ, มะละกอสุก

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 64 : 18 : 18 คุณคาทางโภชนาการทัง้ วันสําหรับ 1 คน พลังงาน 1,646 กิโลแคลอรี คารโบไฮเดรต 263.4 กรัม โปรตีน 75.6 กรัม ไขมัน 32.8 กรัม

34 •...................................

โพแทสเซียม 2,661.9 มิลลิกรัม ใยอาหาร 29.8 กรัม แคลเซียม 729.5 มิลลิกรัม โซเดียม 1,798.9 มิลลิกรัม

การคิดเป็นหมวดอาหาร ตามธงโภชนาการ

ขาว-แปง เนือ้ สัตว ผัก ผลไม นม นํา้ มันทีใ่ ชปรุง

7 ทัพพี 9 ชอนกินขาว 7 ทัพพี 3 สวน 1 แกว 2 ชอนชา


มื้อเช้า

• • • •

ขาวกลอง 2 ทัพพี แกงจืดเลือดหมู ฟกทองผัดไข ฝรั่ง

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 53 : 17 : 30 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

512

23.6 16.4

67.9

765

979

182.8

12.2

................................... • 35


แกงจืดเลือดหมู สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

หมูสับ 8 ชอนกินข้าว 160 กรัม 80 กรัม เลือดหมูตม ขนาด 3x3x2 ซม. 4 ชิ้น ยอดและใบออนตําลึง 4 ทัพพี 120 กรัม ผักกาดเขียว 4 ทัพพี 180 กรัม คื่นฉาย 4 ตน 40 กรัม ซีอิ๊วขาว 2 ชอนชา 10 กรัม พริกไทยป่น น้อยกว่า 1 ชอนชา 4 กรัม กระเทียม 2 หัวใหญ่ 20 กรัม

สูตรน้ีปรับ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

1. ลดปริมาณซีอิ๊วขาว จาก 1 ช้อนโต๊ะ เหลือ 2 ช้อนชา 2. ใส่ผักกาดเขียวเพิ่ม ช่วยระบบขับถ่าย

วิธีทํา 1. โขลกกระเทียม พริกไทยใหเขากัน นําไปหมักกับหมูบด แล้วปั้นหมูเป็นก้อนกลม 2. ตมนํ้าให้เดือด ใสหมูกอน เลือดหมู ปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว พอเดือดจึงใสต าํ ลึง ผักกาดเขียว โรยหนา ดว ยพริกไทยปน่ และคืน่ ฉ่าย ตำ�ลึง มีสรรพคุณช่วยลดน้�ำ ตาลในเลือด คอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ในเลือด

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

138 146

36 •...................................

4.7 5.6

13.9 7.1 14.8 7.2

72.8 144

289.0 399.8

566.2 384.4

2.7 3.7


ฟกทองผัดไข สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ฟกทองหั่นเปนชิ้นพอคํา 4 ทัพพี ไขไก 2 ฟอง นํ้ามันพืช 4 ชอนชา กระเทียมสับ 2 หัวใหญ ซีอิ๊วขาว นอยกวา 1 ชอนกินข้าว 1/2 ชอนกินข้าว นํ้าตาลทราย

160 100 20 20 12 8

กรัม ฟอง กรัม กรัม กรัม กรัม

วิธีทํา 1. ใสนํ้ามันพืชลงในกระทะ ใสกระเทียมเจียวพอเหลือง 2. ใสฟกทองผัดจนสุก ใสไขผัดใหเขากัน 3. ปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว นํ้าตาลทราย คนพอทั่ว ยกลง เลือกฟกทองที่มีนํ้าหนักมาก ผิวเปลือกขรุขระ เนื้อจะแนน

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

118

8.6

4.3

7.4

14.3

176.0

335.3 1.2

................................... • 37


ลูกเดือยนมสด (พรองมันเนย) สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน) ลูกเดือยดิบ 120 กรัม นมพรองมันเนย 4 กลอง 800 มิลลิลิตร นํ้าตาลทรายแดง 4 ชอนชา 20 กรัม

วิธีทํา

1. แชลูกเดือยในนํ้าคางคืน 2. ตมลูกเดือยจนสุกนิ่ม เทนํ้าออก เติมนมพรองมันเนย ตมไฟออน ใหพอรอน ใส่นํ้าตาลทรายแดง คนให้ละลาย วิธีล้างลูกเดือยไม่ให้มีกลิ่น : หลังจาก แช่ ทิ้ งไว้ ค้างคืน เอาไปต้มในน้ำ�เดือด ประมาณ 10 นาที จากนั้นเทน้�ำ ทิ้งล้าง ให้สะอาดอีกครั้ง แล้วก็ต้มใหม่ ทำ�ซ้ำ� 2-3 ครั้ง จึงนำ�ไปต้มด้วยไฟอ่อนๆ จน ลูกเดือยนุ่ม

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 75 : 21 : 4 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

265

49.7

38 •...................................

14.0 1.2 305.2

N/A

124

N/A

*หมายเหตุ N/A หมายถึง ไม่มขี อ้ มูล


มื้อกลางวัน

• •

ขาวผัดผักรวมมิตร สับปะรด

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 65 : 16 : 19 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

485

80.9

19.8

9.4

87.8

912.5

259.3

11.3

................................... • 39


ขาวผัดผักรวมมิตร สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน) ขาวกลองสุก 6 ทัพพี 360 กรัม เนื้อหมูหั่นชิ้นเล็กๆ 1.2 ขีด 120 กรัม ถั่วแดงตมสุก 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม ถั่วเขียวตมสุก 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม 40 กรัม ถัว่ ฝกยาวหัน่ ยาว 1 ซม. 1 ทัพพี ฟกทองดิบหั่นเล็กๆ 1 ทัพพี 40 กรัม มะเขือเทศหั่นเล็กๆ 1 ทัพพี 20 กรัม

ลูกเดือย 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม ถั่วเหลือง 1/3 ถวยตวง 40 กรัม ซีอิ๊วขาว 2 ชอนชา 10 กรัม นํ้าตาลทราย 4 ชอนชา 20 กรัม 20 กรัม กระเทียมสับ 1/2 ทัพพี นํ้ามันพืช 2 ชอนกินข้าว 20 กรัม หอมหัวใหญ 1 ทัพพี 40 กรัม

สูตรน้ีปรับ

วิธีทํา

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

ใส่ถวั่ แดง ถัว่ เขียว ลูกเดือย ถัว่ เหลือง เพือ่ เพิม่ ใยอาหาร โปรตีนและพลังงาน

ผัดหอมหัวใหญและกระเทียมสับกับนํ้ามัน พอสุก ใสเนือ้ หมูลงผัดตอ ใสขาวสุก ถั่วแดงตม ถั่วเขียวตม ถั่วฝกยาว ฟกทอง มะเขือเทศ ถั่วเหลือง ลูกเดือย ผัดใหเขากัน ปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว และนํ้าตาลทราย จนสุก ตักใสจาน

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

245 393

40 •...................................

35.9 58.8

10.1 6.9 19.2 9.2

17.2 71.3

337.3 734

431.7 251.8

2.3 9.5


นํ้าใบบัวบก สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ใบบัวบก 3 ขีด นํ้าตาลทราย 1 ชอนกินข้าว นํ้าเปลาตมสุก 3 แก้ว

300 กรัม 15 กรัม 600 มิลลิลิตร

วิธีทํา 1. ต้มน้ำ�ให้เดือด แบ่งน้ำ�ทำ�นํา้ เชือ่ ม ทีม่ คี วามหวาน ร้อยละ 5 2. นําตนใบบัวบก ลางใหสะอาดแลว หั่นเปนทอนสั้นๆ ปนกับน้ำ�ที่ต้มเตรียมไว้ 3. เทกรองเอาแตนํ้า เติมนํ้าเชื่อม ผสมให้เข้ากัน ใสตเู ย็นพรอมดื่ม ใบบัวบก มีสรรพคุณแก้ร้อนใน ช่วยบำ�รุงสมอง และชะลออาการสมองเสื่อม และทำ�ให้หลอดเลือด แข็งแรง

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 86 : 7 : 7 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

32

0.5 0.3

*หมายเหตุ N/A หมายถึง ไม่มขี อ้ มูล

7.1

N/A

N/A

43.8

0

................................... • 41


มื้อเย็น

• ขาวกลอง 2 ทัพพี • ยํามะระกุงสด • แกงจืดแตงกวายัดไสไกสับ • มะละกอสุก การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 65 : 20 : 15 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

352

17.7 5.5

42 •...................................

57.8

650.6

770.4

109.9

6.3


ยํามะระจีนกุงสด สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ สูตรน้ีปรับ

มะระจีน 4 ทัพพี 160 กรัม กุงกุลาดํา 4 ชอนกินข้าว 80 กรัม นํ้ามะนาว 4 ชอนชา 20 กรัม พริกขี้หนู 2 เม็ด 4 กรัม 3 ชอนชา 15 กรัม ซีอิ๊วขาว กระเทียมหั่นบางๆ 2 หัวใหญ 20 กรัม ใบสะระแหน 8 ชอ 10 กรัม

1. เพิ่มมะระจีนจาก 2 ทัพพี เป็น 4 ทัพพี 2. เปลี่ยนจากการใช้ น�้ำปลา 1 1/2 ช้อนกินข้าว เป็นซีอิ๊วขาว 3 ช้อนชา

วิธีทํา

1. ลางมะระ ผาครึ่งตามยาว แลวหั่น ตามขวางเปนชิ้นบาง ลวกในนํ้าเดือด ลางดวยนํ้าเย็น พักให้สะเด็ดนํ้า 2. ตมกุงใหสุก ใสมะระ ใสกระเทียม 3. ปรุงรสดวยนํ้ามะนาว ซีอิ๊วขาว พริกขี้หนูหั่น คนใหทั่ว ตักใสจาน แตงดวยใบสะระแหน มะระจีน มีวิตามินซีและโฟเลท วิธีเก็บมะระให้สดเขียว คือ ผ่าครึ่ง ควักเนื้อภายในออก ห่อพลาสติก แล้วเก็บไว้ในตู้เย็น

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

35 39

3.2 4.2

5.2 5.0

0.3 0.3

56.0 57.9

79.5 118.1

398.7 312.8

1.2 1.8

................................... • 43


แกงจืดแตงกวายัดไสไกสับ สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

แตงกวา 2 ลูก 160 กรัม ไกสับ (ไม่มีหนัง) 10 ชอนกินข้าว 160 กรัม พริกไทยปน 1 ชอนชา 5 กรัม ซีอิ๊วขาว ประมาณ 2 ชอนชา 10 กรัม รากผักชี 1 ราก 2 กรัม ผักชี 1 ตน 4 กรัม กระเทียม 1 หัวเล็ก 5 กรัม ตนหอม เล็กนอย

สูตรน้ีปรับ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

1. ลดปริมาณซีอิ๊วขาว จากเดิม 1 ช้อนโต๊ะ เหลือ 2 ช้อนชา 2. เลือกใช้อกไก่สบั ไม่มหี นัง แทนหมูสับเพื่อลดไขมัน

วิธีทํา

1. ลางแตงกวาใหสะอาด หั่นเป็นแว่นแลวควักไสออก 2. เอาเนื้อไกสับผสมกับกระเทียม พริกไทยป่น และรากผักชี ที่โขลกรวมกัน ยัดแทนไส้แตงกวา จนเต็ม 3. ตมนํ้าจนรอนใสแตงกวาที่ยัดไสไก แลวปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว โรยตนหอม และผักชี ตักใส่ถ้วย

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

109 81

44 •...................................

3.5 3.8

8.1 8.6

6.9 3.4

19.6 20.0

193.7 150.1

422.0 279.0

0.9 0.9


รายการอาหารสําหรับวันพุธ

เชา : ขาวตมทรงเครื่องธัญพืช, กลวยนํ้าวา

วางเชา : ถั่วห้าสีตมนํ้าตาล, นํ้าชาตะไคร-ใบเตย

กลางวัน : กวยเตี๋ยวผัดเตาหู, เงาะ

วางบาย : นํ้ากระเจี๊ยบ

เย็น : ขาวกลอง, ลาบเตาหู, ตมขามังสวิรัติ, มังคุด

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 60 : 13 : 27 คุณคาทางโภชนาการทัง้ วันสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน

1,585 กิโลแคลอรี โพแทสเซียม 1,978.8 22.1 240.8 กรัม ใยอาหาร แคลเซียม 371.7 52.3 กรัม โซเดียม 1,741.5 46.3 กรัม

การคิดเป็นหมวดอาหาร ตามธงโภชนาการ

ขาว-แปง 6.5 ทัพพี เนือ้ สัตว 8 ชอนกินขาว 4.5 ทัพพี มิลลิกรัม ผัก 3 สวน กรัม ผลไม นม 0.25 แกว มิลลิกรัม ชอนชา มิลลิกรัม นํา้ มันทีใ่ ชปรุง 5

................................... • 45


มื้อเช้า

• ขาวตมทรงเครื่องธัญพืช • กลวยนํ้าวา

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 55 : 9 : 36 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

488

11.4 19.4

46 •...................................

67.4

451.6

606.5

66.9

8.0


ขาวตมทรงเครื่องธัญพืช สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน) ขาวกลองสุก 6 ทัพพี 360 กรัม นํ้ามันพืช 4 ชอนกินข้าว 60 กรัม ถั่วลิสงสุก 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม กระเทียมสับ 2 หัวใหญ 20 กรัม ถั่วแดงสุก 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม ซีอ๊วิ ขาว 1 ชอนกินข้าว 15 กรัม ถั่วลันเตา 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ สูตรน้ีปรับ ลูกเดือย 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม 1. ใช้ข้าวขาวเป็นข้าวกล้อง ขาวโพดสุกแกะเมล็ด 4 ชอนกินข้าว 40 กรัม 2. ใช้ข้าวโพดต้มน�้ำซุป 1/2 แผน เตาหูแข็ง 80 กรัม แทนกระดูกสัตว์ แครอทหั่นลูกเตา 2 ทัพพี 80 กรัม ลดปริมาณไขมัน คื่นฉาย 4 ตน 40 กรัม ที่ไม่จ�ำเป็น ผักชี 1/2 ทัพพี 20 กรัม

วิธีทํา 1. เจียวกระเทียมใหหอมเหลือง จากนั้น นําสวนประกอบทั้งหมดลงผัด ใสซีอิ๊วขาว ผัดจนเขากันดี 2. ตมนํ้าใหเดือด ใสขาวกลองที่เตรียมไว ผสมรวม กับสวนประกอบในขอ 1 คนใหเขากัน ยกลง 3. ตักใสจาน โรยดวยผักชี และคื่นฉ่าย

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

383 390

44.8 44.2

10.5 18.2 58.7 10.7 19.2 58.9

369.4 408.1

453.3 447.6

5.0 6.1

................................... • 47


มื้อว่างเช้า

• ถั่วห้าสีต้มน้ำ�ตาล • นํ้าชาตะไคร้- ใบเตย การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 68 : 23 : 9 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

110

6.3 1.2

48 •...................................

18.9

8.2

327.6

42.5

4.9


ถั่วห้าสีตมนํ้าตาล สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ถั่วเขียว 2 ชอนกินข้าว 20 ถั่วแดง 2 ชอนกินข้าว 20 ถั่วดํา 2 ชอนกินข้าว 20 ถั่วขาว 2 ชอนกินข้าว 20 ถั่วเขียวเลาะเปลือก (ถั่วทอง) 2 ชอนกินข้าว 20 นํ้าตาลทราย 4 ชอนชา 20 นํ้า 4 แก้ว 800

กรัม กรัม กรัม กรัม กรัม กรัม มิลลิลิตร

วิธีทํา 1. แชถั่วเขียว ถั่วแดง ถั่วดํา ถั่วขาว ถั่วทอง 3 ชั่วโมง นำ�มาตม ใหสุกเปอย รินนํ้าออก 2. ตมนํ้าใสนํ้าตาลทราย ตั้งไฟพอเดือด ใสถั่วตางๆ คนแลวตักใสถวย พร้อมเสิร์ฟ

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

110

18.9

6.3 1.2

42.5

327.6

8.2

4.9

................................... • 49


มื้อกลางวัน

• ก๋วยเตี๋ยวผัดเต้าหู้ • เงาะ

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 50 : 14 : 36 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

460

57.2

50 •...................................

16.2 18.5

64.1

394.7 454.3 1.6


กวยเตี๋ยวผัดเตาหู สวนประกอบ (สําหรับ 1 คน)

กวยเตี๋ยวเสนใหญ 2 ทัพพี 120 กรัม ไขไก 1 ฟอง 50 กรัม 1/4 แผ่น 40 กรัม เตาหูขาวแข็ง หั่นแผนบางๆ ถั่วงอก 1 ทัพพี 40 กรัม กุยชาย 3-4 ตน 10 กรัม นํ้ามันพืช 2 ชอนชา 10 กรัม 1/2 ชอนชา 2 กรัม ซีอิ๊วขาว 5 กรัม กระเทียมสับ 1/2 หัว

สูตรน้ีปรับ

วิธีทํา

1. นํากระทะตั้งไฟ ใสนํ้ามันพืช นําเตาหูขาวแข็ง ลงผัดพอเหลือง ตักขึ้นพักไว 2. เจียวกระเทียมใหหอมเหลือง กับนํ้ามันสวนที่เหลือ จากนั้นใส กวยเตี๋ยวเสนใหญ ไขไก ถั่วงอก กุยชาย เต้าหู้ทอด 3. ปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว ตักขึ้นพรอมเสิรฟ

ปรุงจากสูตรท่ัวไป คือ

เปลี่ยนจากการเติม น�้ำปลา 1 ช้อนชา เป็นซีอิ๊วขาว 1/2 ช้อนชา เพื่อลดปริมาณโซเดียม กินเตาหูแข็ง มีโปรตีนที่ชวยซอมแซม กลามเนื้อใหแข็งแรง มีแรธาตุแคลเซียม ชวยปองกันโรคกระดูกพรุน

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

414 413

46.3 46.3

16.0 18.4 56.6 15.6 18.4 55.1

312.5 312.5

623.1 441.1

1.6 1.6

................................... • 51


นํ้ากระเจี๊ยบแดง สวนประกอบ (สําหรับ 1 คน)

ดอกกระเจี๊ยบสด 30 กรัม นํ้าตาลทรายแดง 1/2 ชอนกินข้าว 8 กรัม 3/4 แก้ว 150 มิลลิลิตร นํ้าเปลา เกลือปนเสริมไอโอดีน เล็กนอย 1 กรัม

วิธีทํา

1. ตมกระเจี๊ยบกับนํ้าให้เดือด ประมาณ 15 นาที 2. กรองเอากากออก แลวใสนํ้าตาลทราย เกลือป่น คนใหเขากัน เสิรฟกับนํ้าแข็ง

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 100 : 0 : 0

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน (กิโลแคลอรี) 33 คารโบไฮเดรต (กรัม) 8.3 โปรตีน (กรัม) N/A ไขมัน (กรัม) 0 แคลเซียม (มิลลิกรัม) 5.0 โพแทสเซียม (มิลลิกรัม) N/A โซเดียม (มิลลิกรัม) 5.0 ใยอาหาร (กรัม) 0.1

*หมายเหตุ N/A หมายถึง ไม่มขี อ้ มูล

กระเจี๊ยบแดง ลดไขมันในเส้นเลือด รวมทั้งความดันโลหิตสูง ทำ�ให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง

52 •...................................


มื้อเย็น

• ขาวกลอง 2 ทัพพี • ลาบเตาหู • ตมขามังสวิรัติ • มังคุด

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 72 : 15 : 13 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

494

89.0

18.4

7.2

193.2

650.0

822.4

7.5

................................... • 53


สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ลาบเตาหู

เตาหูแข็งขาว 1 1/2 แผน 240 กรัม 1. ลดปริมาณน�้ำปลาจาก 2 1/2 เห็ดเข็มทอง 1 ทัพพี 40 กรัม ช้อนกินข้าวเหลือ 4 ช้อนชา หอมหัวใหญ 1 หัวใหญ 40 กรัม 2. ลดปริมาณนำ�้ มะนาวจาก 2 1/2 (ขนาด7x4.5ซม.) ช้อนกินข้าวเหลือ 4 ช้อนชา หอมแดง 4 หัวใหญ 40 กรัม 3. เพิม่ เห็ดเข็มทองซึง่ ให้ทงั้ โปรตีน ใบสะระแหน 10 ชอ 10 กรัม และใยอาหาร และเพิ่มหอม ผักชีฝรั่ง 3 ตน 15 กรัม หัวใหญ่ ซึ่งมีสรรพคุณ 1/2 ทัพพี ขาวคั่ว 30 กรัม ลดความดันโลหิต นํ้าปลา 4 ชอนชา 20 กรัม นํ้ามะนาว 4 ชอนชา 20 กรัม วิธีทํา พริกปน 1 ชอนชา 5 กรัม 1. หั่นเตาหูเปนชิ้นเล็กๆ แลวนําไปลวก นํ้ารอนใหสุก ตักพักไว 2. จากนั้นนําเห็ดเข็มทองลวกนํ้ารอนใหสุก ใสรวมกับเตาหู แลวปรุงรสดวยนํ้าปลา มะนาว พริกปน และขา วคัว่ เคล้าให้เข้ากัน 3. ใสหอมแดง หอมหัวใหญ ใบสะระแหน และผักชีฝรั่งลงไปแลวคลุกเคลาใหเขากัน ตักใสจานพร้อมเสิรฟ

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

150 136

18.5 15.0

10.3 4.1 9.7 4.1

44.0 43.9

196.0 213.8

1,024.8 561.2

1.6 1.8

รับประทานสะระแหน่สด จะได้รบั สารพฤกษเคมี สารต้านอนุมลู อิสระ ทีอ่ ยูใ่ นสะระแหน่ครบถ้วน

54 •...................................


ตมขามังสวิรัต

สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

วิธีทํา

เห็ดนางฟา 4 ทัพพี 160 กรัม 4 เม็ดใหญ 80 กรัม พริกหยวก 20 กรัม ขาทุบพอแตก 20 แผน นมพรองมันเนย 1 กลอง 200 กรัม นํ้าซุปตมขาวโพด 2 แก้ว 400 มิลลิลิตร นํ้ามะนาว 4 ชอนชา 20 กรัม 8 ใบ 5 กรัม ใบมะกรูด 40 กรัม ตะไครหั่นแฉลบ 4 ตน ซีอิ๊วขาว 2 ชอนกินข้าว 10 กรัม พริกขี้หนูทุบ 8-10 เม็ด 5 กรัม

1. ล้างเห็ดให้สะอาด หั่นเป็นชิ้น วางให้ สะเด็ดนํ้า 2. ตมนํ้าซุปขาวโพดใหเดือด ใสขา ตะไคร ลงไป ตมใหเดือด ประมาณ 3 นาที แลวเติมเห็ดนางฟา พริกหยวก พอเดือดเติมนมพร่องมันเนย 3. ปรุงรสดวยมะนาว ซีอิ๊วขาว ฉีกใบมะกรูด และพริกขี้หนูทุบ พอเดือดปดไฟยกลง

1. เปลี่ยนจากการเติมน�้ำปลา 2 ช้อนกินข้าวเป็นซีอิ๊วขาว 2 ช้อนชา 2. ใช้นมพร่องมันเนยแทนการใช้กะทิ เห็ด เปนผักที่มีรสชาติอรอย และมี เสนใยอาหารมากชว ยลดไขมันในกระแสเลือด

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

128 74

7.1 10.8

2.9 4.6

9.8 31.9 1.3 126.3

144.3 278.7

389.2 238.4

1.6 1.5

................................... • 55


รายการอาหารสําหรับวันพฤหัสบดี

เชา : ขาวกลอง, ปลาชอนผัดคื่นฉาย, ไขตุนทรงเครื่อง, แตงโม

วางเชา : ขาวโพดตม, นํ้าตําลึง

กลางวัน : เมี่ยงขาวกลอง, สับปะรด

วางบาย : นมพรองมันเนย

เย็น : ขาวกลอง, แกงปาปลาชอน, นํ้าพริกมะเขือเทศ ผักสด, สมโอ

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 60 : 16 : 24 คุณคาทางโภชนาการทัง้ วันสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน

1,509 กิโลแคลอรี โพแทสเซียม 2,579.5 มิลลิกรัม 224.9 กรัม ใยอาหาร 21.5 กรัม 61.8 กรัม แคลเซียม 881.1 มิลลิกรัม 39.6 กรัม โซเดียม 1,589.8 มิลลิกรัม

56 •...................................

การคิดเป็นหมวดอาหาร ตามธงโภชนาการ

ขาว-แปง เนือ้ สัตว ผัก ผลไม นม นํา้ มันทีใ่ ชปรุง

6.5 ทัพพี 9 ชอนกินขาว 7 ทัพพี 3 สวน 1 แกว 5 ชอนชา


มื้อเช้า

• • • •

ขาวกลอง 2 ทัพพี ปลาชอนผัดคื่นฉาย ไขตุนทรงเครื่อง แตงโม

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 45 : 20 : 35 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

446

50.4

21.9 16.9

167.3

643.1

548.5

4.1

................................... • 57


ปลาชอนผัดคืวิ่นธฉีทําาย

สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ปลาชอนหั่นเปนชิ้น 4 ชิ้น 160 กรัม คื่นฉายหั่นเปนทอน 4 ทัพพี 160 กรัม นํ้ามันพืช 1 ชอนกินข้าว 15 กรัม กระเทียมสับ 2 หัวใหญ 20 กรัม ซีอิ๊วขาว 2 ชอนชา 10 กรัม พริกไทยปน น้อยกว่า 1 ชอนชา 4 กรัม นํ้าตาลทราย 1 ชอนชา 4 กรัม นํา้ มันพืช (สําหรับทอด) 1 ชอนกินข้าว 15 กรัม นํ้า 2 ชอนกินข้าว 30 กรัม

1. ทอดปลาชอนใหเหลืองกรอบ ตักขึ้นใหสะเด็ดนํ้ามัน 2. ใสนํ้ามันเจียวกระเทียม ใหเหลืองหอม ปรุงรสดวย ซีอิ๊วขาว นํ้าตาล พริกไทย เติมนํ้า ผัดใหเขากัน 3. ใสปลาชอนที่ทอดแลว ใสคื่นฉาย ผัดใหเขากัน แลวยกลง

1. เพิม่ คืน่ ฉ่ายจากเดิม 1/2 ทัพพี เป็น 1 ทัพพี 2. ลดปริมาณซีอิ๊วขาวจาก 3 ช้อนกินข้าว เหลือ 1 ช้อนชา 3. ลดปริมาณน�้ำมันส�ำหรับทอด และผัดจาก 10 ช้อนกินข้าว เหลือ 3 ช้อนกินข้าว 4. ไม่ใส่ซอสหอยนางรม

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

288 130

58 •...................................

5.5 4.9

8.6 25.3 79.1 8.2 8.3 78.4

295.4 292.8

888.3 307.4

1.5 1.5


ไขตุนทรงเครื่อง สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ไขไก กุงสับ เห็ดเข็มทอง ฟกทอง หอมหัวใหญ ซีอิ๊วขาว นํ้ามันรำ�ข้าว ถั่วแขก นํ้า

3 ฟอง 150 กรัม 8 ตัวขนาดกลาง 80 กรัม 1 ทัพพี 40 กรัม 1 ทัพพี 40 กรัม 1 หัว 40 กรัม 1 ชอนชา 5 กรัม 1 ชอนกินข้าว 15 กรัม 1 ทัพพี 40 กรัม 3 แก้ว 600 มิลลิลิตร

วิธีทํา

1. ตีไขไกกับนํ้ามันรำ�ข้าวใหเขากัน ใสนํ้า และซีอิ๊วขาวลงไป 2. เทใสถวยสําหรับนึ่ง ใสเห็ดเข็มทอง ฟกทอง หอมหัวใหญ กุงสับ และถั่วแขก 3. นําไปนึ่ง ประมาณ 15 นาที (ไฟออน) พอสุกแลวยกขึ้น

1. ลดปริมาณซีอวิ๊ ขาวจาก 1 ช้อนกินข้าว เหลือ 1 ช้อนชา 2. มีเครือ่ งปรุงรสเพียงชนิดเดียวคือซีอวิ๊ ขาว ไม่เติมนำ�้ มัน หอยหรือน�้ำปลาเพิ่มเหมือนสูตรทั่วไป 3. เพิ่มถั่วแขก ท�ำให้ได้รับแคลเซียมและใยอาหารเพิ่มขึ้น 4. เพิ่มฟักทอง ท�ำให้ได้รับวิตามินเอและสารต้านอนุมูล อิสระเพิ่มขึ้น 5. เพิ่มหอมหัวใหญ่ ซึ่งมีสรรพคุณลดความดันโลหิต

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

106 116

1.5 3.5

9.4 9.7

7.0 7.0

57.4 67.5

66.2 99.2

554.7 211.1

0.0 0.6

................................... • 59


มื้อกลางวัน

• เมี่ยงขาวกลอง

• สับปะรด การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 65 : 11 : 24 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

470

76.9

60 •...................................

13.5 12.3

222.5

795.4

275.0

8.4


เมี่ยงขาวกลอง

สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ขาวกลอง 6 ทัพพี 360 กรัม แครอท 3 ทัพพี 120 กรัม ถั่วฝกยาว 4 ทัพพี 160 กรัม สับปะรด 3.6 ขีด 360 กรัม ขิงออนซอยละเอียด 1 ทัพพี 40 กรัม ดอกอัญชัญ 7 ดอก 3 กรัม ตะไครหั่นซอย 1/2 ทัพพี 20 กรัม งาดําคั่วบด 1 ชอนชา 5 กรัม เตาหูแข็ง 1 1/4 แผน 200 กรัม นํ้ามันรำ�ข้าว 4 ชอนชา 20 กรัม ใบชะพลู 1 ขีด 100 กรัม

สวนประกอบนํ้าเมี่ยง (สําหรับ 4 คน)

นํ้ามะขามเปยก 1/2 แก้ว 100 กรัม นํ้าตาลทรายแดง 1 1/5 ชอนกินข้าว 18 กรัม 1/2 ทัพพี ตะไครซอย 20 กรัม พริกขี้หนู 5 เม็ด 5 กรัม ซีอิ๊วขาว 1 ชอนชา 5 กรัม

วิธีทํานํ้าเมี่ยง ใสนํ้าตาลทรายแดง ซีอิ๊วขาว ตะไครซอย พริกขี้หนูในนํ้ามะขามเปยก เคี่ยวไฟออนๆ คนจนเขากันแลวยกลง

วิธีทํา 1. หั่นเตาหูเปนลูกเตา นํามาผัดกับนํ้ามันรำ�ข้าว ใชไฟ ปานกลางจนเตาหูเปนสีเหลืองออน 2. ตักขาวกลอ งสุกใสถ ว ย แลว โรยดว ยงาดําคัว่ ทีโ่ ขลกแลว 3. ลางแครอท ถั่วฝกยาว ขิงออน สับปะรด และตะไคร้ แลวนํามาหั่นเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมเล็กๆ แลวจัดใสภาชนะ 4. ลางใบชะพลู และดอกอัญชัญ แลวจัดลงภาชนะ 5. เสิร์ฟพร้อมข้าวกล้อง และนํ้าเมี่ยง

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

1. ไม่ใส่กะปิลงในน�้ำเมี่ยง 2. เพิ่มผักหลากสี หลากชนิด ได้แก่ อัญชัญ แครอท และ เพิ่มธัญพืช ได้แก่ งาด�ำ เพื่อเพิ่มใยอาหารแทนการใช้ ถั่วลิสง 3. ดัดแปลงเป็นเมี่ยงเจ โดยใช้ เต้าหู้เป็นแหล่งโปรตีนผัดกับ นำ�้ มันร�ำข้าว

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป 584 สูตรปรับปรุง 409

42.7 62.2

26.5 36.5 204.4 13.1 12.2 211.5

464.2 676.4

475.5 270.0

3.9 7.2

................................... • 61


มื้อเย็น

• ขาวกลอง 2 ทัพพี • แกงปาปลาชอน • นํ้าพริกมะเขือเทศ ผักสด • สมโอ

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 67 : 17 : 16 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

418

69.5

62 •...................................

17.5

7.3

179.3

805.0

664.3

6.8


นํ้าพริกมะเขือเทศ ผักสด สวนประกอบนํ้าพริก (สําหรับ 4 คน) มะเขือเทศ 12 ลูก 120 กรัม หอมแดง 9 หัว 80 กรัม กระเทียม 9 หัว 80 กรัม นํ้าปลา 2 ชอนชา 10 กรัม นํ้ามะขามเปยก 1 1/2 ชอนกินข้าว 20 กรัม 3 เม็ดใหญ 20 กรัม พริกชี้ฟา

วิธีทํา 1. ปงหรืออบ หอมแดง กระเทียม พริกชี้ฟา และมะเขือเทศ 2. โขลกหอมแดง กระเทียม พริกชี้ฟา ใหละเอียด ใสมะเขือเทศ โขลกใหเขากัน 3. ปรุงรสดวยนํ้าปลา นํ้ามะขามเปยก คนใหเขากัน รับประทานกับผักสด

ผักสด ถั่วฝักยาว ใบบัวบก ดอกกะหลํ่า แตงกวา

1 ขีด 1 ขีด 1 ขีด 1 ขีด

มะเขือเทศ หากปรุงผ่านความร้อนแล้วจะ ให้สารไลโคปีนมากกว่ากินสด สารไลโคปีน ช่ ว ยลดความเสี่ ย งในการเกิ ด มะเร็ ง ได้ หลายชนิด เช่น มะเร็งต่อมลูกหมาก

100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม

1. เปลี่ยนจากการเติมน�้ำปลา 1 ช้อนกินข้าวเป็นซีอิ๊วขาว 2 ช้อนชา

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

84 89

15.5 16.5

3.9 4.3

0.7 0.6

89.1 70.5

322.2 390.6

365.8 251.8

2.5 3.5

................................... • 63


แกงปาปลาชอน

สวนประกอบเครื่องแกง

สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

20 เม็ด 10 กรัม ปลาชอน 4 ชิ้น 160 กรัม พริกแหง ใบกะเพรา 2 ทัพพี 40 กรัม (แกะเมล็ดออกแชนํ้า) 1/2 ทัพพี 20 กรัม ใบมะกรูดฉีก 10 ใบ 5 กรัม ขาหั่นละเอียด พริกชี้ฟาเขียว แดง 2 เม็ดใหญ 12 กรัม ตะไครหั่นฝอย 1/2 ทัพพี 20 กรัม นํ้าปลา 1 ชอนกินข้าว 15 กรัม ผิวมะกรูดหั่นฝอย 2 ชอนชา 10 กรัม 1 ชอนกินข้าว 15 กรัม นํ้ามันพืช วิธีทํา 5 หัว 40 กรัม หอมแดง 1. ลางปลาใหสะอาด หั่นเปนชิ้น 5 หัว 20 กรัม กระเทียม 2. ตั้งกระทะ ใสนํ้ามัน พอรอน กระชายหั่นบาง 2 ทัพพี 40 กรัม ใสเครื่องแกงที่โขลกละเอียดลงไป 8 กรัม รากผักชีหั่นละเอียด 4 ราก ผัดใหห อม ตักใสห มอ น้ำ�ทีเ่ ตรียมไว้ นํ้าสะอาด 2 แก้ว 400 มิลลิลิตร ตั้งไฟพอเดือด 3. ใสปลา และเครื่องทุกอยางลงไป ปรุงรสดวยนํ้าปลา พอเดือดยกลง

ไม่เติมเกลือลงไปในเครื่องแกง

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป 78.6 สูตรปรับปรุง 122

64 •...................................

9.5 9.5

9.3 9.3

4.7 4.7

87.6 87.3

258.3 257.2

781.5 389.7

1.1 1.1


รายการอาหารสําหรับวันศุกร วางเชา : ถั่วแดงเย็น, นํ้าใบสะระแหน เชา : ขาวกลองตมปลาใสขิง, สมเขียวหวาน

ว่างบาย : นมพรองมันเนย

กลางวัน : ขาวไกอบแครอท, แอปเปล

เย็น : ขาวกลอง, แกงผักหวานปลา, เตาหูผัดฉา, แกวมังกร

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 57 : 18 : 25 คุณคาทางโภชนาการทัง้ วันสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน

1,646 กิโลแคลอรี 237.5 กรัม 73.8 กรัม 44.5 กรัม

โพแทสเซียม 2,4999 มิลลิกรัม ใยอาหาร 29.2 กรัม แคลเซียม 580.5 มิลลิกรัม โซเดียม 1,685.3 มิลลิกรัม

การคิดเป็นหมวดอาหาร ตามธงโภชนาการ ขาว-แปง เนือ้ สัตว ผัก ผลไม นม นํา้ มันทีใ่ ชปรุง

7 ทัพพี 8 ชอนกินขาว 6 ทัพพี 3 สวน 1 แกว 4 ชอนชา

................................... • 65


มื้อเช้า

• •

ขาวกลองตมปลาใสขิง สมเขียวหวาน

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 68 : 21 : 11 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

238

12.5 2.9

66 •...................................

40.1

277.6

464.7 72.6

3.6


ขาวกลองตมปลาใสขิง สวนประกอบ (สําหรับ 1 คน)

ปลากระพงขาวหั่นชิ้น 1 ชิ้น 40 กรัม ขาวกลองสุก 1 1/2 ทัพพี 90 กรัม คื่นฉาย 1 ตน 5 กรัม ขิงออน 1 ชอนชา 5 กรัม ผักชี 1 ชอนชา 5 กรัม พริกไทยปน เล็กนอย 1 กรัม 1/2 ชอนชา 2 กรัม ซีอิ๊วขาว

1. เปลี่ยนจากข้าวขาวเป็น ข้าวกล้อง 2. ลดปริมาณซีอิ๊วขาวจาก 1 ช้อนชา เหลือ 1/2 ช้อนชา

วิธีทํา 1. ตมนํ้าใสหมอ ตั้งไฟจนเดือด ใสปลากะพง 2. รอจนปลาสุก ใสขาวกลองสุก และคื่นฉาย ปรุงรสด้วยซีอิ๊วขาว 3. ตักใสชาม โรยหนาดวยผักชี ขิงอ่อน และพริกไทยปน

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

177 184

28.9 28.2

11.0 11.3

1.7 2.7

36.1 37.8

231.6 270.3

536.1 238.0

0.8 1.8

................................... • 67


มื้อว่างเช้า

• ถั่วแดงเย็น • นํ้าใบสะระแหน

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 76 : 18 : 6 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

151

7.1 1.0

68 •...................................

28.9

9.3

336.6

30.6

8.3


ถั่วแดงเย็น สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

ถั่วแดงดิบ นํ้าเปลา นํ้าตาล นมสดรสจืด

1.2 3 4 2 1/2

ขีด แก้ว ชอนกินข้าว ชอนกินข้าว

120 กรัม 600 มิลลิลิตร 40 กรัม 40 กรัม

วิธีทํา 1. ต้มถั่วแดงให้สุกนิ่ม ใสนํ้าตาลทราย ตมตอสักครู ยกลง 2. ตักถั่วแดงใสถวย ราดดวยนมสดรสจืด

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

151

28.8

7.1

1.0

30.6

336.6

9.3

8.3

................................... • 69


มื้อกลางวัน

• ขาวไกอบแครอท • แอปเปล

การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 57 : 18 : 25 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

529

22.2 18.0

70 •...................................

70.1

524.3

661.0

60.5

5.5


ขาวไกอบแครอท สวนประกอบ (สําหรับ 1 คน)

ขาวกลอง 2 1/2 ทัพพี 150 กรัม อกไก (ไม่มีหนัง) 4 ชอนกินขาว 80 กรัม แครอท 1 ทัพพี 40 กรัม 1 ขาวโพดออน /2 ทัพพี 20 กรัม หอมหัวใหญ 1/2 ทัพพี 20 กรัม ตมหอม ผักชี 1 ชอนชา 5 กรัม ซอสมะเขือเทศ 2 ชอนกินข้าว 30 กรัม พริกไทยปน เล็กนอย 1 กรัม ซีอิ๊วขาว 1 ชอนชา 5 กรัม นํ้ามันพืช 2 ชอนชา 10 กรัม

วิธีทํา 1. ซาวขาวใหสะอาด ทําใหสะเด็ดนํ้าแลว นําใสลงในหมอที่เตรียมไวเพื่อหุง 2. ใสสวนผสมตางๆ คือ ไก แครอท หอมหัวใหญ ขาวโพดออน ซอสมะเขือเทศ พริกไทยปน ซีอิ๊วขาว นํ้ามันพืช ลงในหมอที่เตรียมไวหุง 3. เติมนํ้าลงไป คนสวนผสมทุกอยาง ใหเขากัน แลวนําไปหุง 4. รอจนขาวขึ้นหมอ แลวคนใหเขากัน ตักใสจานเสิรฟ โรยด้วยต้นหอม ผักชี

1. เปลี่ยนข้าวขาว 2 ทัพพี เป็นข้าวกล้อง 2. เปลี่ยนน่องไก่ติดสะโพก เป็นอกไก่ 3. เพิ่มแครอทเพื่อให้ได้รับ วิตามินเอและซีเพิ่มขึ้น

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

511 481

61.1 58.4

17.7 22.2 39.1 22.1 18.0 50.9

323.8 563.4

859.3 473.1

1.7 5.0

................................... • 71


มื้อเย็น

• ขาวกลอง 3 ทัพพี • แกงผักหวานปลา • เตาหูผัดฉา • แกวมังกร การกระจายตัวของพลังงาน คารโบไฮเดรต : โปรตีน : ไขมัน = 55 : 16 : 29 คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน พลังงาน โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม ใยอาหาร (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

628

24.4 20.0

72 •...................................

87.0

772.1

700.7

170.8

11.8


แกงผักหวานใสปลายาง สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน) ผักหวานเด็ดใบออน 2 ขีด 1/2 ตัว ปลาชอนยาง นํ้า 2 แก้ว

สวนประกอบเครื่องแกง พริกขี้หนูแหง หรือพริกขี้หนูสด หอมแดงซอย เกลือปน

5 เม็ด

200 กรัม 120 กรัม 400 มิลลิตร

1. ลดปริมาณน�้ำจาก 3 แก้ว เหลือ 2 แก้ว เพื่อจะได้ไม่ต้องเติม น�้ำปลา เนื่องจากมีความ เค็มจากเครื่องแกงแล้ว

3 กรัม

5 หัว 20 กรัม 1 ชอนชา 4 กรัม

วิธีทํา 1. ใสนํ้า ตั้งไฟพอเดือด ใสนํ้าพริกแกงที่โขลก ฉีกปลายางใสเปนชิ้นๆ ใสผักหวาน คนพอทั่ว ลดไฟลง 2. ปรุงรสดวยนํ้าปลา ตั้งจนเดือดอีกครั้ง ปดไฟ ตักใสถวย เสิรฟ

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

90 87

5.3 5.2

8.8 8.3

3.4 3.4

53.5 51.9

128.4 128.4

766.6 418.0

2.8 2.8

................................... • 73


เตาหูผัดฉา สวนประกอบ (สําหรับ 4 คน)

วิธีทํา

ใบกะเพราแดง 1 ทัพพี 30 กรัม กระชายหั่นฝอย 1 ทัพพี 40 กรัม พริกชีฟ้ า แดงหัน่ แฉลบ 5 เม็ดใหญ 30 กรัม พริกหยวกหั่นแฉลบ 3 เม็ดเล็ก 72 กรัม แขนงกะหลํ่า 4 ทัพพี 160 กรัม เตาหูข าวแข็งหัน่ บางพอควร 1 1/2 แผน 200 กรัม ซีอว๊ิ ขาว 2 ชอ นชา 10 กรัม นํา้ มันพืช น้อยกว่า 3 ช้อนกินข้าว 40 กรัม กระเทียมสับ 2 หัวใหญ 20 กรัม พริกไทยออน 5 ชอ กลาง 20 กรัม ใบโหระพา 1 ทัพพี 30 กรัม 1/2 ช้อนกินข้าว 8 กรัม นํา้ ตาลทราย

1. ลวกแขนงกะหลํ่า ตักใสนํ้าเย็น ใหผักกรอบ วางใหสะเด็ดนํ้า 2. ทอดเตาหูใหเหลือง วางพักไว 3. นํากระเทียม พริกไทยออน โขลกหยาบ ลงผัดในนํ้ามัน ที่เหลือจนหอม ใสเตาหู กระชาย พริกหยวก พริกชี้ฟา ใบกะเพรา ใบโหระพา ปรุงรสด้วยซีอิ๊วขาว นํ้าตาลทราย ผัดใหเขากัน ตักใสจาน 1. น�้ำเต้าหู้เป็นแหล่งโปรตีน แทนเนื้อสัตว์ที่อาจติดมัน 2. ลดปริมาณซีอิ๊วขาวจาก 1 ช้อนโต๊ะ เหลือ 2 ช้อนชา 3. ใส่แขนงกะหล�ำ่ เข้าไป ท�ำให้ ได้รับวิตามิน เอ และซี โฟเลท และสารอินโดล ช่วยต้านมะเร็ง

คุณคาทางโภชนาการสําหรับ 1 คน ตำ�รับ

พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม)

สูตรทั่วไป สูตรปรับปรุง

241 200

74 •...................................

8.7 12.4

11.0 18.1 48.0 9.3 12.6 93.0

296.9 336.5

573.6 319.9

1.6 3.1


ภาคผนวก

................................... • 75


ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของตํารับอาหาร (สําหรับ 1 คน)

ตำ�รับ

พลังงาน

(กิโลแคลอรี)

ตมซุปไกมะเขือเทศ ปลานึ่งขิงลูกเดือย แกงจืดเลือดหมู ฟกทองผัดไข ยํามะระกุงสด แกงจืดแตงกวายัดไสไกสับ ลาบเตาหู ตมขามังสวิรัติ ปลาชอนผัดคื่นฉาย ไขตุนทรงเครื่อง แกงปาปลาชอน นํ้าพริกมะเขือเทศ ผักสด แกงผักหวานใสปลายาง เตาหูผัดฉา

133 111 146 118 39 81 136 74 130 116 122 89 87 200

คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม)

(กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม)

13.0 8.7 5.6 8.6 4.2 3.8 15.0 10.8 4.9 3.5 9.5 16.5 5.2 12.4

11.4 11.2 14.8 4.3 5.0 8.6 9.7 4.6 8.2 9.7 9.3 4.3 8.3 9.3

4.0 3.3 7.2 7.4 0.3 3.4 4.1 1.3 8.3 7.0 4.7 0.6 3.4 12.6

41.3 46.0 144.0 14.3 57.9 20.0 43.9 126.3 78.4 67.5 87.3 70.5 51.9 93.0

(มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

769.8 211.1 399.8 176.0 118.1 150.1 213.8 278.7 292.8 99.2 257.2 390.6 128.4 336.5

354.2 267.2 384.2 335.3 312.8 279.0 561.2 238.4 307.4 211.1 389.7 251.8 418.0 319.9

4.4 1.8 3.7 1.2 1.8 0.9 1.8 1.5 1.5 0.6 1.1 3.5 2.8 3.1

ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของผลไม 1 สวน (สําหรับ 1 คน)

ขนาด พลังงาน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร ตำ�รั บ (กรัม) (กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

กลวยหอม 50 มะมวงนํ้าดอกไมสุก 75 แคนตาลูป 150 128 ฝรั่ง สับปะรด 108 มะละกอสุก 100 ชมพู 150 มังคุด 160 100 แตงโม สมโอ 100 สมเขียวหวาน 120 แกวมังกร 120

76 •...................................

57 60 36 67 66 41 42 122 25 46 54 79

13.4 14.1 7.65 15.5 15.9 9.5 9.9 29.5 5.4 9.9 11.9 14.9

0.7 0.7 0.9 0.9 0.4 0.5 0.8 0.8 0.6 0.7 1.2 1.7

0.1 0.2 0.2 0.1 0.1 0.1 0 0.2 0 0.4 0.2 1.4

2.5 4.5 22.5 12.8 11.9 15.0 3.0 14.4 10.0 15.0 34.8 10.8

161.5 108 285.0 209.9 128.5 230.0 N/A N/A 75.0 N/A 194.4 N/A

10.5 2.3 9.0 19.2 5.4 24.0 N/A N/A 6.0 N/A 39.6 N/A

1.0 0.9 1.1 4.7 1.3 1.3 N/A 2.7 0.3 0.7 1.8 3.1

* หมายเหตุ N/A หมายถึง ไม่มีข้อมูล


ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของเครื่องดื่มและของวาง (สําหรับ 1 คน)

ตำ �รับ

นมพรองมันเนย นํ้าคื่นฉ่าย สาคูเปยกมะพราวออน ลูกเดือยนมสด (พรองมันเนย) ถั่วหาสีตมนํ้าตาล นํ้าใบบัวบก นํ้ากระเจี๊ยบแดง ขาวโพดตม ถั่วแดงเย็น

พลังงาน

(กิโลแคลอรี)

คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม)

(กรัม)

(กรัม) (มิลลิกรัม)

100 16 357 265

11.4 3.4 51.7 49.7

7.6 0.5 8.9 14.0

2.6 0.1 13.0 1.2

110 32 33 134 151

18.9 7.1 8.3 28.6 28.8

6.3 0.5 0 2.6 7.1

1.2 42.5 0.3 43.8 0 5.0 1.0 8.0 1.0 30.6

246.0 45.3 259.2 305.2

(มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

336.0 102.0 0 105.6 37.5 0.8 429.6 107.4 2.4 N/A 124.0 N/A 327.6 N/A N/A N/A 336.6

8.2 N/A 5.0 N/A 9.3

4.9 0 0.1 4.0 8.3

ตารางแสดงคุณคาทางโภชนาการของอาหารจานเดียว (สําหรับ 1 คน)

ตำ�รับ

โจกขาวกลองหมู กวยเตี๋ยวไกฉีกใสโหระพา ขาวผัดผักรวมมิตร ขาวตมทรงเครื่องธัญพืช กวยเตี๋ยวผัดเตาหู เมี่ยงขาวกลอง ขาวกลองตมปลาใสขิง ขาวไกอบแครอท

พลังงาน

(กิโลแคลอรี)

238 337 456 390 413 379 184 481

คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียม ใยอาหาร (กรัม)

(กรัม) (กรัม) (มิลลิกรัม)

(มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (กรัม)

29.1 49.5 69.5 44.2 46.3 60.8 28.2 58.4

13.9 16.9 19.9 10.7 15.7 12.4 11.3 22.1

319.0 457.6 740.5 408.1 312.5 666.5 270.3 563.4

7.4 7.8 11.1 19.2 18.4 9.9 2.7 18.0

52.5 127.4 75.4 58.9 55.1 163.5 37.8 50.9

420.5 434.9 543.3 447.6 630.9 473.8 332.9 473.1

2.0 3.8 10.3 6.1 1.6 6.9 1.8 5.0

* หมายเหตุ N/A หมายถึง ไม่มีข้อมูล

................................... • 77


ตารางแสดงปริมาณโซเดียมในอาหารและเครื่องปรุงรสต่างๆ ตางรางที่ 1 แสดงปริมาณโซเดียมในอาหารประเภทแกงเผ็ด* ลำ�ดับที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

รายการอาหาร

มัสมั่นไก แกงเขียวหวานไก แพนงหมู แกงเขียวหวานปลากราย แกงขี้เหล็กปลายาง แกงหมูเทโพ แกงคั่วสับปะรดหอย แกงลาว แกงสมผักรวม แกงโฮะ แกงเหลืองหนอไมดองปลา แกงไตปลา

ปริมาณเฉลี่ยต่อ 100 กรัม (มิลลิกรัม)

438.8 443.1 483.2 555.4 558.8 583.8 618.1 659.0 680.1 681.0 722.7 794.0

ตารางที่ 2 แสดงปริมาณโซเดียมในอาหารประเภทผัดเผ็ด* รายการอาหาร ปริมาณเฉลี่ยต่อ 100 กรัม ลำ�ดับที่ (มิลลิกรัม) 1 ผัดกะเพราหมู 596.3 2 ผัดกะเพราไก 618.3 3 ผัดพริกขิงถั่วฝกยาว 635.2 4 ผัดเผ็ดปลาดุก 742.5 78 •...................................


ตารางที่ 3 แสดงปริมาณโซเดียมในอาหารประเภทแกงจืด* ลําดับที่

1 2 3 4 5 6 7

รายการอาหาร

ตมเลือดหมู ตมมะระกระดูกหมู แกงจืดเตาหูหลอดหมูผักกาดขาว แกงเลียง ตมขาไกเห็ดนางฟา ตมผักกาดดองกระดูกหมู ไขพะโล

ปริมาณเฉลี่ยต่อ 100 กรัม (มิลลิกรัม)

339.5 377.5 386.1 417.2 463.9 377.6 674.4

ตารางที่ 4 แสดงปริมาณโซเดียมในอาหารประเภทผัดจืด* ลําดับที่ รายการอาหาร ปริมาณเฉลี่ยต่อ 100 กรัม (มิลลิกรัม) 1 ผัดฟกทองไข 395.6 2 ผัดถั่วงอกเตาหู 399.5 3 ผัดดอกไมกวาด 482.1 4 ไขลูกเขย 572.1 5 ผัดผักรวม 582.9 6 ผัดขิงไก 584.7 7 ผัดหนอไมไข 634.9 8 ผัดผักบุง 765.9 9 ผัดผักกาดดองไข 1,054.3 * ตารางที่ 1-4 : กลุมวิจัยอาหารเพื่อโภชนาการ สํานักโภชนาการ กรมอนามัย

................................... • 79


ตารางที่ 5 แสดงปริมาณโซเดียมในอาหารจานเดียว* อาหาร 1 หนวยบริโภค นํ้าหนัก (กรัม) กวยเตี๋ยวเสนเล็กแหง, หมู 215

กวยเตี๋ยวผัดไทยใสไข กวยเตี๋ยวราดหนา, หมู กวยเตี๋ยวราดหนากุง กวยเตี๋ยวเสนหมี่ลูกชิ้น, เนื้อวัว บะหมี่ตมยำ� กวยเตี๋ยวเสนใหญนํ้าเย็นตาโฟ ขาวยําปกษใต ขาวราดหนากะเพรา, ไก ขาวคลุกกะป ขาวหมกไก ขาวหมูแดง ขนมจีนแกงเขียวหวาน, ไก ขนมจีนนํ้ายา ขนมจีนนํ้าเงี้ยว ตมยํากุง ผัดผักบุงไฟแดง บะหมี่ตมยำ� บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูปพรอมเครื่องปรุงรส วุนเสนกึ่งสําเร็จรูปพรอมเครื่องปรุงรส สมตําอีสาน นํ้าพริกกะป ปลาทูทอด ไขตม แฮมเบอรเกอร (บิ๊คแม็ค) ไกกรอบ 2 ชิ้น (นอง, ปก) ขนมปง

80 •...................................

244 254 355 490 420 494 189 265 296 316 320 314 435 323 172 150 420 55 55 100 2 ชอนกินขาว 100 1 ฟอง 212 นอง 1 ชิ้น ปก 1 ชิ้น 1 แผน

โซเดียม (มิลลิกรัม) 1,483 1,008 739 815 794 1,776 1,417 1,010 1,280 1,514 988 812 846 1,750 985 524 894 1,776 1,320 1,790 1,006 550 1,081 90 990 250 130


ตางรางที่ 6 แสดงปริมาณโซเดียมในเครื่องปรุงรส* อาหาร หนึ่งหนวยบริโภค นํ้าปลา 1 ชอนโตะ ซอสปรุงรส ซีอิ๊วขาว ซอสหอยนางรม กะป เกลือ ผงชูรส ผงปรุงรส ซอสมะเขือเทศ นํ้าจิ้มไก เครื่องปรุงผงหมูแดง

โซเดียม (มิลลิกรัม) 1,160 - 1,420 1 ชอนโตะ 1,150 1 ชอนโตะ 960 - 1,420 1 ชอนโตะ 420 - 490 1 ชอนโตะ 1,430 - 1,490 1 ชอนชา 2,000 1 ชอนชา 492 1 ชอนชา 815 1 ชอนโตะ 170 2 ชอนโตะ 410 - 455 1 ชอนโตะ 1,130

ตางรางที่ 7 แสดงปริมาณโซเดียมในอาหารประเภทนํ้าพริกคลุกขาวและนํ้าพริกแกง*

อาหาร นํ้าพริกเผา นํ้าพริกตาแดง นํ้าพริกนรก นํ้าพริกปลารา นํ้าพริกแกงเขียวหวาน นํ้าพริกแกงสม นํ้าพริกแกงมัสมั่น นํ้าพริกแกงกะหรี่ นํ้าพริกแกงเหลือง นํ้าพริกแกงเลียง

หนึ่งหนวยบริโภค 1 ชอนโตะ 1 ชอนโตะ 1 ชอนโตะ 1 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ

โซเดียม (มิลลิกรัม) 410 560 230 360 550 720 620 1,290 1,500 880

* ตารางที่ 5-7 : สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

................................... • 81


ตารางที่ 8 แบง กลุม อาหารตามปริมาณโดยเฉลีย่ ของโซเดียมทีม่ อี ยูใ นอาหารนัน้ ตอ หนึง่ หนว ยบริโภค* อาหารที่มีโซเดียม อาหารที่มีโซเดียม โดยเฉลี่ย 50 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค โดยเฉลี่ย 750 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค ขาวสวย 2 ทัพพี เนื้อหมู/ไก (ไมปรุงรส) 2 ชอนโตะ ผักสด ผลไมสด ผลไมอบกรอบ 30 กรัม

โดยเฉลี่ย 120 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค

ขนมปงปอนด 1 แผน ไขตม 1 ฟอง นมสด 1 แกว เนื้อปลา (ไมปรุงรส) 2 ชอนโตะ เนย/มารการีน 1 ชอนโตะ ถั่วอบกรอบ 30 กรัม

โดยเฉลี่ย 250 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค

ไขเค็ม 1 ฟอง นํ้าพริกเผา 1 ชอนโตะ กุง (ไมปรุงรส) 2 ชอนโตะ ไสกรอก/หมูยอ 30 กรัม ขนมปงไสตางๆ 1 ชิ้น (80 กรัม) ขาวเกรียบกุง 30 กรัม โดยเฉลี่ย 500 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค เตาหูยี้ 1 ชอนโตะ ปลาทูนึ่ง 1 ตัว (50 กรัม) ปลาแผนอบ 1 ซอง (30 กรัม) ยําถั่วพู 1 จาน (110 กรัม) หอยแครงลวก 100 กรัม เนยแข็ง (ชีส) 30 กรัม นํ้าผัก/นํ้ามะเขือเทศ 1 กระปอง (180 มล.) * ตารางที่ 8 : นิตยสารหมอชาวบ้าน, 393 (2555)

82 •...................................

ตั้งฉาย ปลาเสน ปลาทูนา/ซารดีน ขนมจีนซาวนํ้า ยําวุนเสน ลาบปลาดุก

1 ชอนโตะ 1 ซอง (30 กรัม) 1 กระปอง 1 จาน 1 จาน (110 กรัม) 1 จาน (150 กรัม)

โดยเฉลี่ย 1,000 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค ขาวหมกไก ขาวหมูแดง ขาวยํา หนอไมดอง ผักกาดดอง โจกกึง่ สําเร็จรูป พรอมเครือ่ งปรุง

1 1 1 100 100 1

จาน จาน จาน กรัม กรัม ถวย

โดยเฉลีย่ 1,500 มิลลิกรัมตอหนึง่ หนวยบริโภค นํ้าปลา/ซีอิ๊ว 1 ชอนโตะ บะหมีส่ าํ เร็จรูป 1 ซอง พรอมเครือ่ งปรุง ขาวผัดกะเพรา 1 จาน ขาวคลุกกะป 1 จาน กวยเตี๋ยวเนื้อสับ 1 ชาม ขนมจีนนํ้ายา 1 จาน ยําหมูยอ 1 จาน (120 กรัม) หอยลายทอดบรรจุกระปอง 100 กรัม โดยเฉลี่ย 2,000 มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวยบริโภค เกลือ 1 ชอนชา ปลารา 30 กรัม ปลา-กุงจอม 100 กรัม เสนเล็กเนื้อเปอยนํ้า 1 ชาม ขาวเหนียว สมตํา ไกยาง 1 ชุด


ตารางที่ 9 แสดงปริมาณแรธาตุในอาหารจานเดียว*

ชื่ออาหาร

ขาวราดไขเจียวหมูสับ

ขาวราดคะนาหมูกรอบ ขาวราดแกงไตปลา ขาวกลองราดตมจับฉาย ขาวกลองราดลาบเห็ด ขาวราดทอดมันปลา ขาวราดมะระผัดไข ขาวราดพะแนงหมู ขาวราดผัดผักรวม ขาวราดไขเจียวสมุนไพร ขาวราดผัดฟกทอง ขาวราดผัดถั่วงอก ขาวราดผัดเผ็ดปลาดุกสด ขาวราดผัดมะเขือยาว ขาวราดกะเพราไก ขาวราดผัดฉาปลากระเบน ขาวราดผัดฉาปลาดุก ขาวราดตมกะทิสายบัว ขาวราดแกงเหลือง ขาวราดยําหมูยอ ขาวราดหอยแมลงภูผัดเผ็ด ขาวราดตมพะโล

นน./จาน แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม โซเดียม (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม)

370.0 54.4 353.0 36.9 335.0 19.0 395.0 140.6 279.0 24.1 334.0 21.0 328.0 61.4 288.0 22.3 303.0 28.6 276.0 37.7 362.0 24.4 325.0 43.3 345.0 109.1 304.0 35.5 270.0 31.1 315.0 38.3 442.0 126.2 373.0 45.6 331.0 44.5 338.0 31.3 308.0 6.7 347.0 58.7

33.8 36.5 24.1 130.7 87.1 28.5 29.7 37.0 26.3 16.8 48.3 81.9 69.0 46.0 50.6 56.5 88.4 43.1 26.4 45.4 61.2 10.1

397 740 463 1,038 130 1,124 528 620 265 654 279 974 314 462 371 1,220 239 1,352 180 266 559 1,116 179 1,581 598 1,903 369 823 379 1,880 921 1,416 793 2,013 405 1,706 191 988 287 1,699 98 1,283 273 1,305

................................... • 83


ชื่ออาหาร

ขาวราดกะเพราตับ หมูกระเทียมราดขาว ขาวราดหมูสับผัดแม็กกี้ ขาวราดแกงคั่วสับปะรด(ขาวกลอง) ขาวราดแกงจืดเตาหูหมูสับราดขาว ขาวราดผัดฉาปลากะพง ขาวราดแกงมัสมั่นไก ขาวราดแกงขี้เหล็ก ขาวราดยําไขดาว ขาวราดฉูฉี่ปลาทู ขาวราดแกงเขียวหวานไก ขาวราดหอยลายผัดเผ็ด ขาวราดไกผัดเผ็ดหนอไม ขาวราดคั่วกลิ้งหมู ขาวราดเตาหูไขทรงเครื่อง ขาวราดผัดพริกขิงถั่ว ขาวราดแกงสมชะอมทอด ขาวราดแกงสมผักรวม ขาวแกงเทโพหมูสามชั้น ขาวราดยํามะเขือยาวกับไขดาว

นน./จาน แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม โซเดียม (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (กรัม)

262.0 26.3 248.0 17.1 267.0 12.9 321.0 33.7 503.0 45.9 233.0 31.6 384.0 20.4 306.0 40.3 347.0 71.6 252.0 51.4 278.0 28.7 279.0 432.6 268.0 29.1 238.0 27.8 355.0 29.5 283.0 26.2 370.0 77.0 371.0 75.4 350.0 24.0 316.0 29.8

* ตารางที่ 9 : กลุมวิจัยอาหารเพื่อโภชนาการ สํานักโภชนาการ กรมอนามัย

84 •...................................

27.8 24.3 21.8 78.3 25.9 41.6 45.6 46.1 28.2 37.3 27.3 46.8 32.5 40.8 22.8 49.2 38.8 54.0 40.3 26.6

291 264 434 369 387 360 520 277 241 281 221 297 352 335 351 301 308 356 332 234

783 662 2,232 1226 1363 1328 1,133 1,547 1,624 1,082 472 1,092 1,147 604 1,692 833 1,428 1,487 1,215 1,026


ตารางที่ 10 แสดงปริมาณคอเลสเตอรอลในอาหาร* ลําดับ ที่

ตัวอยาง

ปริมาณตัวอยาง คอเลสเตอรอล (มิลลิกรัม) ปริมาณ (กรัม)

คอเลสเตอรอล และกรดไขมันในไก, เปด, หาน

1 ไก,อก(ไมติดมัน) 1 ชต. 2 ไก,อก,หนัง 1 ชต. 3 ไก,นอง 1 ชต. 4 ไก,ตับ 1 ชต. 5 เปด,เนื้อ 1 ชต. 6 เปด,เนื้อ,หนัง 1 ชต. 7 หานพะโล,เนื้อหนัง 1 ชต. คอเลสเตอรอลและกรดไขมันในกุง

8 กุงกุลาดำ� 1 ชต 9 กุงแชบ๊วย 1 ชต. 10 กุงฝอย 1 ชต. 11 มันกุง ตลาด 1 ชต.

ไขมัน (กรัม)

กรดไขมันอิ่มตัว (มิลลิกรัม)

100 15 100 15 100 15 100 17 100 15 100 15 100 9

63 9 70 10 100 15 336 57 82 12 76 11 110 10

1.51 0.23 14.18 2.19 9.98 1.50 7.86 1.34 2.19 0.33 26.92 4.04 25.63 2.31

489 73 4,482 672 2,957 444 3,333 567 680 102 7,239 1,086 7,671 690

100 16 100 16 100 10 100 10

175 28 192 31 196 20 107 11

1.18 0.19 0.91 0.14 3.37 0.34 18.05 1.8

373 60 280 45 1,055 106 6,520 652

................................... • 85


ลําดับ ที่

ตัวอยาง

ปริมาณตัวอยาง คอเลสเตอรอล (มิลลิกรัม) ปริมาณ (กรัม)

คอเลสเตอรอลและกรดไขมันในไข 12 ไขไก,ไขแดง 100 1 ฟอง 15 13 ไขไก,ทั้งฟอง 100 1 ฟอง 50 14 ไขเปด,ทั้งฟอง 100 1 ฟอง 60 15 ไขนกกระทา 100 1 ฟอง 10 16 ไขปลาสลิด,แหง 100 1 ชต. 20 คอเลสเตอรอลและกรดไขมันในวัว 17 วัว,ตับ 100 1 ชต. 17 18 วัว,ผาขี้ริ้ว 100 1 ชต. 18 19 วัว,มาม 100 1 ชต. 18 20 วัว,สันใน 100 1 ชต. 17 คอเลสเตอรอลและกรดไขมันในปูและอื่นๆ 21 นกกระทา,เนื้อ 100 1 ตัว 70 22 ปูทะเล,มัน 100 1 ชต. 10 86 •...................................

ไขมัน (กรัม)

กรดไขมันอิ่มตัว (มิลลิกรัม)

1,250 188 427 214 543 326 508 51 504 101

30.03 4.5 8.76 4.38 16.09 9.65 13.2 1.32 51.21 10.24

10,468 1,570 3,125 1,562 4,568 2,741 4,942 494 3,180 636

218 37 60 11 273 49 55 9

4.63 0.79 5.54 1 1.93 0.35 3.26 0.55

1,914 325 3,429 617 819 147 1,193 203

201 141 361 36

4.69 3.28 4.68 0.47

1,584 1,109 1,721 172


ลําดับ ที่

ตัวอยาง

ปริมาณตัวอยาง คอเลสเตอรอล (มิลลิกรัม) ปริมาณ (กรัม)

23 ปูมา,ไข 1 ชต. 24 ปูมา,เนื้อ 1 ตัว คอเลสเตอรอลและกรดไขมันในหมู 25 กุนเชียง,ทอด 1 ชต. 26 เบคอน,ทอด 1 ชิ้น 27 ไสกรอกหมู,คอกเทล 1 ชต. 28 ไสกรอกหมู,ทอด 1 ชต. 29 หนังหมู,สด 1 ชต. 30 หมู,กระเพาะ 1 ชต. 31 หมู,ขา 1 ชต. 32 หมู,ตับ 1 ชต. 33 หมู,นํ้ามัน 1 ชต. 34 หมู,สันใน 1 ชต.

100 10 100 95

ไขมัน (กรัม)

กรดไขมันอิ่มตัว (มิลลิกรัม)

275 28 90 86

4.45 0.44 0.49 0.46

1,447 145 128 122

100 9 100 12 100 10 100 7 100 15 100 14 100 15 100 17 100 10 100 15

71 6 81 10 49 2 77 5 34 5 181 25 66 10 364 62 89 9 49 7

35.9 3.23 42.45 5.09 18.42 1.84 28.81 2.02 5.13 0.77 5.66 0.79 17.99 2.7 5.17 0.88 100 10 2.38 0.36

11,416 1,027 13,975 1,677 6,071 607 8,974 628 1,526 229 2,562 359 5,291 794 2,125 361 32,300 3,230 878 132

................................... • 87


ลําดับ ที่

ตัวอยาง

ปริมาณตัวอยาง คอเลสเตอรอล (มิลลิกรัม) ปริมาณ (กรัม)

35 หมู,ไสตัน 100 1 ชต. 15 36 แฮม 100 1 ชิ้น 30 37 แฮม,ทอด 100 1 ชิ้น 19 1 ชต. 11 คอเลสเตอรอลและกรดไขมันในเนยและนํ้าสลัด 38 เนยแข็ง 1 แผน 100 39 เนย 100 1 ชต. 12 40 นํ้าสลัด,รานคา 100 1 ชต. 13 41 นํ้าสลัด,มายองเนส 100 1 ชต. 13

ไขมัน (กรัม)

140 21 52 16 66 12 27

0.85 0.13 2.5 0.75 7.87 1.5 1.58

290 44 835 250 2,192 416 484

94 186 22 412 54 190 25

29.74 82.4 9.89 53.78 6.99 90.27 11.74

18,207 53,848 6,462 11,724 1,524 13,865 1,802

* ตารางที่ 10 : กลุมวิจัยอาหารเพื่อโภชนาการ สํานักโภชนาการ กรมอนามัย

88 •...................................

กรดไขมันอิ่มตัว (มิลลิกรัม)


ตารางแสดงนํ้าหนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการและสวนสูง* สวน สูง (cm.) 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158

น้ำ�หนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการ (กิโลกรัม) ทวม ผอม น้ำ�หนัก อวน อวนมาก (BMI = เหมาะสม ปานกลาง (BMI (BMI นอยกวา 18.5) 23.0-24.9) (BMI = ตั้งแต 30.0 ขึ้นไป) (BMI = 25.0-29.9) 18.5-22.9) นอยกวาหรือเทากับ 36.2 36.3 - 45.0 45.1 - 48.9 49.0 - 58.7 มากกวาหรือเทากับ 58.8 นอยกวาหรือเทากับ 36.7 36.8 - 45.6 45.7 - 49.6 49.7 - 59.5 มากกวาหรือเทากับ 59.6 นอยกวาหรือเทากับ 37.2 37.3 - 46.3 46.4 - 50.3 50.4 - 60.4 มากกวาหรือเทากับ 60.5 นอยกวาหรือเทากับ 37.7 37.8 - 46.9 47.0 - 51.0 51.1 - 61.2 มากกวาหรือเทากับ 61.3 นอยกวาหรือเทากับ 38.3 38.4 - 47.6 47.7 - 51.7 51.8 - 62.1 มากกวาหรือเทากับ 62.2 นอยกวาหรือเทากับ 38.8 38.9 - 48.2 48.3 - 52.4 52.5 - 62.9 มากกวาหรือเทากับ 63.0 นอยกวาหรือเทากับ 39.3 39.4 - 48.9 49.0 - 53.2 53.3 - 63.8 มากกวาหรือเทากับ 63.9 นอยกวาหรือเทากับ 39.9 40.0 - 49.6 49.7 - 53.9 54.0 - 64.7 มากกวาหรือเทากับ 64.8 นอยกวาหรือเทากับ 40.4 40.5 - 50.2 50.3 - 54.6 54.7 - 65.6 มากกวาหรือเทากับ 65.7 นอยกวาหรือเทากับ 41.0 41.1 - 50.9 51.0 - 55.4 55.5 - 66.5 มากกวาหรือเทากับ 66.6 นอยกวาหรือเทากับ 41.5 41.6 - 51.6 51.7 - 56.1 56.2 - 67.4 มากกวาหรือเทากับ 67.5 นอยกวาหรือเทากับ 42.1 42.2 - 52.3 52.4 - 56.9 57.0 - 68.3 มากกวาหรือเทากับ 68.4 นอยกวาหรือเทากับ 42.6 42.7 - 53.0 53.1 - 57.6 57.7 - 69.2 มากกวาหรือเทากับ 69.3 นอยกวาหรือเทากับ 43.2 43.3 - 53.7 53.8 - 58.4 58.5 - 70.1 มากกวาหรือเทากับ 70.2 นอยกวาหรือเทากับ 43.8 43.9 - 54.4 54.5 - 59.1 59.2 - 71.0 มากกวาหรือเทากับ 71.1 นอยกวาหรือเทากับ 44.3 44.4 - 55.1 55.2 - 59.9 60.0 - 71.9 มากกวาหรือเทากับ 72.0 นอยกวาหรือเทากับ 44.9 45.0 - 55.8 55.9 - 60.7 60.8 - 72.9 มากกวาหรือเทากับ 73.0 นอยกวาหรือเทากับ 45.5 45.6 - 56.5 56.6 - 61.5 61.6 - 73.8 มากกวาหรือเทากับ 73.9 นอยกวาหรือเทากับ 46.1 46.2 - 57.3 57.4 - 62.3 62.4 - 74.7 มากกวาหรือเทากับ 74.8

*สํานักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ.2553

................................... • 89


ตารางแสดงนํ้าหนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการและสวนสูง* สวน สูง (cm.)

159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177

น้ำ�หนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการ (กิโลกรัม) ทวม ผอม น้ำ�หนัก อวน อวนมาก (BMI = เหมาะสม ปานกลาง (BMI (BMI นอยกวา 18.5) 23.0-24.9) (BMI = ตั้งแต 30.0 ขึ้นไป) (BMI = 25.0-29.9) 18.5-22.9) นอยกวาหรือเทากับ 46.7 46.8 - 58.0 58.1 - 63.1 63.2 - 75.7 มากกวาหรือเทากับ 75.8 นอยกวาหรือเทากับ 47.3 47.4 - 58.7 58.8 - 63.8 63.9 - 76.6 มากกวาหรือเทากับ 76.7 นอยกวาหรือเทากับ 47.9 48.0 - 59.5 59.6 - 64.6 64.7 - 77.6 มากกวาหรือเทากับ 77.7 นอยกวาหรือเทากับ 48.5 48.6 - 60.2 60.3 - 65.5 65.6 - 78.6 มากกวาหรือเทากับ 78.7 นอยกวาหรือเทากับ 49.1 49.2 - 60.9 61.0 - 66.3 66.4 - 79.5 มากกวาหรือเทากับ 79.6 นอยกวาหรือเทากับ 49.7 49.8 - 61.7 61.8 - 67.1 67.2 - 80.5 มากกวาหรือเทากับ 80.6 นอยกวาหรือเทากับ 50.3 50.4 - 62.5 62.6 - 67.9 68.0 - 81.5 มากกวาหรือเทากับ 81.6 นอยกวาหรือเทากับ 50.9 51.0 - 63.2 63.3 - 68.7 68.8 - 82.5 มากกวาหรือเทากับ 82.6 นอยกวาหรือเทากับ 51.5 51.6 - 64.0 64.1 - 69.6 69.7 - 83.5 มากกวาหรือเทากับ 83.6 นอยกวาหรือเทากับ 52.1 52.2 - 64.7 64.8 - 70.4 70.5 - 84.5 มากกวาหรือเทากับ 84.6 นอยกวาหรือเทากับ 52.7 52.8 - 65.5 65.6 - 71.2 71.3 - 85.5 มากกวาหรือเทากับ 85.6 นอยกวาหรือเทากับ 53.4 53.5 - 66.3 66.4 - 72.1 72.2 - 86.5 มากกวาหรือเทากับ 86.6 นอยกวาหรือเทากับ 54.0 54.1 - 67.1 67.2 - 72.9 73.0 - 87.5 มากกวาหรือเทากับ 87.6 นอยกวาหรือเทากับ 54.6 54.7 - 67.9 68.0 - 73.8 73.9 - 88.6 มากกวาหรือเทากับ 88.7 นอยกวาหรือเทากับ 55.3 55.4 - 68.7 68.8 - 74.6 74.7 - 89.6 มากกวาหรือเทากับ 89.7 นอยกวาหรือเทากับ 55.9 56.0 - 69.5 69.6 - 75.5 75.6 - 90.6 มากกวาหรือเทากับ 90.7 นอยกวาหรือเทากับ 56.6 56.7 - 70.3 70.4 - 76.4 76.5 - 91.7 มากกวาหรือเทากับ 91.8 นอยกวาหรือเทากับ 57.2 57.3 - 71.1 71.2 - 77.3 77.4 - 92.7 มากกวาหรือเทากับ 92.8 นอยกวาหรือเทากับ 57.9 58.0 - 71.9 72.0 - 78.1 78.2 - 93.8 มากกวาหรือเทากับ 93.9

*สํานักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ.2553

90 •...................................


ตารางแสดงนํ้าหนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการและสวนสูง* น้ำ�หนักตัวตามระดับภาวะโภชนาการ (กิโลกรัม) สวน ทวม ผอม น้ำ�หนัก อวน อวนมาก สูง (BMI = เหมาะสม ปานกลาง (BMI (BMI นอยกวา 18.5) 23.0-24.9) BMI = (BMI = ตั ง ้ แต 30.0 ขึ้นไป) ( (cm.) 25.0-29.9) 18.5-22.9) 178 นอยกวาหรือเทากับ 58.5 58.6 - 72.7 72.8 - 79.0 79.1 - 94.9 มากกวาหรือเทากับ 95.0 179 นอยกวาหรือเทากับ 59.2 59.3 - 73.5 73.6 - 79.9 80.0 - 95.9 มากกวาหรือเทากับ 96.0 180 นอยกวาหรือเทากับ 59.8 59.9 - 74.3 74.4 - 80.8 80.9 - 97.0 มากกวาหรือเทากับ 97.1 181 นอยกวาหรือเทากับ 60.5 60.6 - 75.2 75.3 - 81.7 81.8 - 98.1 มากกวาหรือเทากับ 98.2 182 นอยกวาหรือเทากับ 61.2 61.3 - 76.0 76.1 - 82.6 82.7 - 99.2 มากกวาหรือเทากับ 99.3 183 นอยกวาหรือเทากับ 61.9 62.0 - 76.8 76.9 - 83.5 83.6 - 100.3 มากกวาหรือเทากับ 100.4 184 นอยกวาหรือเทากับ 62.5 62.6 - 77.7 77.8 - 84.4 84.5 - 101.4 มากกวาหรือเทากับ 101.5 185 นอยกวาหรือเทากับ 63.2 63.3 - 78.5 78.6 - 85.4 85.5 - 102.5 มากกวาหรือเทากับ 102.6 186 นอยกวาหรือเทากับ 63.9 64.0 - 79.4 79.5 - 86.3 86.4 - 103.6 มากกวาหรือเทากับ 103.7 187 นอยกวาหรือเทากับ 64.6 64.7 - 80.2 80.3 - 87.2 87.3 - 104.7 มากกวาหรือเทากับ 104.8 188 นอยกวาหรือเทากับ 65.3 65.4 - 81.1 81.2 - 88.1 88.2 - 105.8 มากกวาหรือเทากับ 105.9 189 นอยกวาหรือเทากับ 66.0 66.1 - 81.9 82.0 - 89.1 89.2 - 106.9 มากกวาหรือเทากับ 107.0 190 นอยกวาหรือเทากับ 66.7 66.8 - 82.8 82.9 - 90.0 90.1 - 108.1 มากกวาหรือเทากับ 108.2 *สํานักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ.2553

................................... • 91


ความสําคัญของฉลากโภชนาการ

ฉลากโภชนาการเปนสวนหนึ่งของขอมูลเกี่ยวกับคุณคาทางโภชนาการของอาหารใน ผลิตภัณฑนั้นๆ ตอ 1 หนวยบริโภค และมีการแสดงถึงบริมาณรอยละของสารอาหารนั้นๆ ที ่รางกายควรไดรับในหนึ่งวันดวย ทําใหผูบริโภคไดประโยชนในการอานฉลากโภชนาการ ดังนี้ 1. เลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีได โดยทราบปริมาณสารอาหารและรอยละของ ปริมาณที่ไดรับตอ 1 หนวยบริโภค เชน ปริมาณสารอาหารที่แนะนําใหบริโภคตอวันกําหนด ไววา ผูท ต่ี อ งการพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี ควรไดรบั ไขมันวันละไมเกิน 65 กรัม (รอยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด) บนฉลากโภชนาการจะมีขอมูลปริมาณไขมันเปนกรัม และแสดงคาเปน รอยละของปริมาณที่แนะนําใหบริโภคตอวัน ตัวอยาง นมพรอมดื่ม 1 หนวยบริโภค = 1 กลอง (200 มล.) มีไขมันทั้งหมด 8 กรัม คิดเปนรอยละ 12 ของปริมาณที่แนะนําตอวัน แสดงวา ผูบริโภคดื่มนม 1 กลอง ไดรับไขมันรอยละ 12 ของปริมาณไขมันทั้งหมด (65 กรัม) 2. เปรียบเทียบสินคาได ผูบ ริโภคอานฉลากโภชนาการแลว สามารถเลือกผลิตภัณฑ ตามที่ตองการไดโดยการเปรียบเทียบสินคาชนิดเดียวกัน ตัวอยางเช่น ตองการลดการบริโภค ไขมันลง ผูบริโภคสามารถอานฉลาก เลือกนมที่มีไขมันตํ่าหรือ นมพรองมันเนย นมพรองมันเนย 1 หนวยบริโภค = 1 กลอง (200 มล.) มีไขมันทั้งหมด 2.5 กรัม คิดเปนรอยละ 4 ของปริมาณที่แนะนําตอวัน แสดงวา ผูบริโภคดื่มนมที่มีไขมันตํ่า หรือ นมพรองมันเนย 1 กลอง ไดรบั ไขมันรอยละ 4 ของปริมาณไขมัน ทัง้ หมด (65 กรัม)

92 •...................................


ตัวอยาง ฉลากโภชนาการของนมพรอมดื่มพาสเจอรไรส ขอมูลโภชนาการ หนึ่งหนวยบริโภค : 1 กลอง (200 มล.) จํานวนหนวยบริโภคตอกลอง : 1 คุณคาทางโภชนาการตอหนึ่งหนวยบริโภค พลังงานทั้งหมด กิโลแคลอรี (พลังงานจากไขมัน 70 กิโลแคลอรี) รอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน* 12 % ไขมันทั้งหมด 8 ก. 25 % ไขมันอิ่มตัว 5 ก. 5 % โคเลสเตอรอล 15 มก. โปรตีน 6 ก. 2 % คารโบไฮเดรต 6 ก. 0 % ใยอาหาร 0 ก. นํ้าตาล 6 ก. 3 % โซเดียม 75 มก. รอยละของปริมาณที่แนะนําตอวัน* วิตามินเอ 10 % วิตามินบี 1 6 % วิตามินบี 2 20 % แคลเซียม 25 % เหล็ก 0 % * รอยละของปริมาณสารอาหารที่แนะนําใหบริโภคตอวันสําหรับคนไทย อายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป (Thai RDI)โดยคิดจากความตองการพลังงาน วันละ 2,000 กิโลแคลอรี ความตองการพลังงานของแตละบุคคลแตกตางกัน ผูที่ตองการพลังงาน วันละ 2,000 กิโลแคลอรี ควรไดรบั สารอาหารตางๆ ดังนี้ นอยกวา 65 ก. ไขมันทั้งหมด นอยกวา 20 ก. ไขมันอิ่มตัว นอยกวา 300 มก. โคเลสเตอรอล 300 ก. คาร์โบไฮเดรต 25 ก. ใยอาหาร นอยกวา 2,400 มก. โซเดียม พลังงาน(กิโลแคลอรี)ตอกรัม : ไขมัน = 9 ; โปรตีน = 4 ; คารโบไฮเดรต = 4

................................... • 93


สัญลักษณทางโภชนาการรูปแบบ GDA เปนการแสดงสัญลักษณทางโภชนาการเพิม่ เติม จากฉลากโภชนาการ โดยระบุคา พลังงาน นํา้ ตาล ไขมัน และโซเดียม ที่มีอยูจริงในผลิตภัณฑ อาหารนั้นตอ หนึ่ ง หน ว ยบรรจุภัณฑบนฉลาก ดานหนาบรรจุภัณฑ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเตือนผูบริโภคที่ควรจํากัดปริมาณ พลังงาน น้ำ�ตาล ไขมัน และโซเดียม จากอาหารวาง ถื อ เป น การใหขอมูลด า นโภชนาการแก ผู  บ ริ โ ภคและ สนับสนุนมาตรการปองกันปญหาดานโภชนาการตอไป สําหรับในเบือ้ งตนมีการบังคับใชสญ ั ลักษณทางโภชนาการกับอาหารสําเร็จรูปพรอมบริโภคทันที 5 ชนิด ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 305) พ.ศ.2550 เรื่อง การแสดงฉลาก อาหารสําเร็จรูปที่พรอมบริโภคทันทีบางชนิด ไดแก มันฝรัง่ ทอดหรืออบกรอบ, ขาวโพดคัว่ ทอด หรืออบกรอบ, ขาวเกรียบ หรืออาหารขบเคีย้ วชนิดพอง, ขนมปงกรอบหรือแครกเกอรหรือบิสกิต และเวเฟอรสอดไส ทั้งนี้จะมีการขยายผลสําหรับอาหารอื่นๆ ตอไป

GDA มีประโยชนอยางไร

1. แสดงขอมูลโภชนาการอยางตรงไปตรงมา ซึ่งทําใหผูบริโภคอานและเขาใจงายกวา กรอบขอมูลโภชนาการ 2. ผูบริโภคสามารถเปรียบเทียบคุณคาทางโภชนาการของผลิตภัณฑเดียวกันไดทันที จากตัวเลขและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีความหวาน มัน เค็มลดลง 3. สงเสริมใหผบู ริโภครับผิดชอบตัวเองในดานสุขภาพและสงเสริมการบริโภคอาหารสมดุล 4. ใชเปนสื่อในการสอน กระตุนใหเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับโภชนาการ รวมทั้งปลูกฝง พฤติกรรม การบริโภคที่เหมาะสมเปนแนวทางใหผูประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑที่มีคุณคาทาง โภชนาการทีด่ ขี น้ึ และนําไปสู การลด หวาน มัน เค็ม อันจะนําไปสูก ารแกไขปญหาภาวะโภชนาการ เกินทีย่ ง่ั ยืนตอไป (ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)

94 •...................................


ข้อแนะนำ�กิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำ�ลัง ในภาวะที ่มีความดันโลหิตสูง*

ควรออกก�ำลังทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวรา่ งกายซำ�้ ๆ หรือทีเ่ รียกวา่ การออกก�ำลังกาย แบบแอโรบิก เชน่ การเดิน วิง่ เหยาะ ว่ายน�ำ้ จักรยาน ไทขิ ชีก่ ง F ควรเคลือ ่ นไหวในชีวติ ประจ�ำวันให้มากขึน้ เช่นการท�ำงานบ้าน ท�ำสวน F ควรออกก�ำลังไมห ่ นักมากจนเกินไป ให้มคี วามรูส้ กึ เหนือ่ ยหายใจเร็ว หัวใจเตน้ แรงขึน้ หายใจถีเ่ ร็วแต่ไม่ถงึ กับเหนือ่ ยหอบ F ระยะเวลาในการออกก�ำลังแตล ่ ะครัง้ 30-60 นาที F ออกก�ำลังใหไ ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3-5 วันต่อสัปดาห์ F การออกก�ำลังทีม ่ แี รงตา้ น เชน่ การยกน�ำ้ หนัก ยกของหนัก ไมค่ วรกลัน้ หายใจ เพราะจะท�ำให้ระดับความดันโลหิตสูงได้

F

ข้อบ่งชี้ที่ต้องหยุดออกกำ�ลังกาย F แขนขาอ่อนเปลีย ้ F ชีพจรเต้นเร็วหรือใจสัน ่ มาก F เจ็บแนน ่ หน้าอก หายใจล�ำบาก F ความดันโลหิตลดลงต�ำ่ มาก หนา้ ซีด ตัวเย็น F หัวใจเต้นไม่สม�ำ่ เสมอ

*ข้อมูล : กองออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ พ.ศ.2555

................................... • 95


หนังสืออางอิง 1. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คอเลสเตอรอลและกรดไขมัน ในอาหารไทย, 2541 2. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือธงโภชนาการ, 2552 3. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. เมนูหุนสวย, 2552 4. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. อาหารเฉพาะโรคสาํ หรับผูส งู อายุ, 2550 5. สมาคมความดันโลหิตสูงแหงประเทศไทย แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงใน เวชปฏิบัติทั่วไป, 2555 6. ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ปริมาณแร่ธาตุในอาหารจานเดียว, 2553 7. นิตยสารหมอชาวบ้าน. ฉบับที่ 393, 2555

96 •...................................



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.