หน่วยที่ 3.3 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 1

เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวโน้ ม ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 72


เทคโนโลยีสารสนเทศที่นักเรียน นิยมใช้ มีอะไรบ้ าง

73


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

นักเรียนนาคาถามที่เตรียมไว้ แล้ ว คนละ 1 คาถาม มาร่ วมกันสนทนา

74


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปัจจุบันเทคโนโลยีเจริ ญก้ าวหน้ าอย่ างรวดเร็ ว ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข องเทคโนโลยี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพิ่ ม มากขึ้น แต่ ร าคาลดลง ท าให้ มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยีอ ย่ าง แพร่ หลาย อีกทั้งรั ฐบาลมีนโยบายที่จะสนั บสนุ น และ ส่ งเสริ ม ให้ ป ระชาชนได้ ใ ช้ เทคโนโลยี เ พื่ อ สนั บ สนุ น การทางานและการเรี ยนรู้ ในด้ านต่ าง ๆ ทาให้ แนวโน้ ม ของเทคโนโลยีมีการพัฒนาขึน้ อย่างต่ อเนื่อง 75


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิภาพสู ง เครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิภาพสู ง จากอดีตที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีราคาแพง ขนาดใหญ่ และทางานได้อย่างจากัด ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ในปั จจุบนั เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีราคาถูก มีขนาดเล็ก ลง มีรูปทรงที่ทนั สมัย สวยงาม และสามารถทางานได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมี การประยุกต์ใช้ร่วมกับเครื่ องใช้อื่น ๆ ด้วย โดยชิ ปที่ อยู่ภายในหน่ วยประมวลผล ที่อยูภ่ ายในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิ ภาพสู ง (High Performance Computer: HPC) จะมี ขนาดเล็กลง และมี ปริ มาณความจุ ของหน่ วยความจาเพิ่มขึ้ น รวมถึ งมี การพัฒนา ระบบการท างานหรื อ การประมวลผลให้ส ามารถท างานหลาย ๆ อย่างพร้ อ มกันได้ ซึ่ งเรี ยกว่า เครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบมัลติโพรเซสเซอร์ 76


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิภาพสู ง ตัวอย่ างเครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิภาพสู ง

77


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.2 เทคโนโลยีสื่อประสม เทคโนโลยีสื่อประสม (Multimedia) สื่ อ ประสมหรื อสื่ อ หลายรู ปแบบ (Multimedia) เป็ นเทคโนโลยี ที่ ช่ ว ยให้ คอมพิวเตอร์ สามารถนาเสนอหรื อแสดงข้อมูลได้หลายรู ปแบบพร้อม ๆ กัน ทั้งข้อความ ข้ อ มู ล ตั ว เลข ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อ นไหว และเสี ยง ตลอดจนระบบโต้ ต อบกั บ ผูใ้ ช้ (Interactive) มาผสมผสานเข้า ด้วยกัน ซึ่ งการนาเครื่ อ งคอมพิ วเตอร์ เข้ามาใช้ใน การประมวลผลหรื อควบคุมอุปกรณ์หลาย ๆ อย่างนั้น ต้องอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) และอุปกรณ์ต่าง ๆ (Hardware) ประกอบกัน

78


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.2 เทคโนโลยีสื่อประสม ตัวอย่ างเทคโนโลยีสื่อประสม

79


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.3 อุปกรณ์ พกพาและไร้ สาย อุปกรณ์ พกพาและไร้ สาย อุ ป กรณ์ เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ ใช้งานในปั จ จุ บ ัน นิ ย มออกแบบให้ส่ งเสริ ม ความสามารถในการพกพาของผูใ้ ช้งาน อุปกรณ์ต่าง ๆ จึ งมี ขนาดเล็กลง น้ าหนักเบา และทนทานมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยงั มีการพัฒนาให้สามารถเชื่ อมต่อข้อมูลกับระบบ เครื อข่ายได้โดยไม่ตอ้ งอาศัยสายส่ งสัญญาณอีกด้วย อุปกรณ์พกพาและไร้สายที่ใช้งาน อย่างแพร่ หลายในปั จจุบนั มีการทางานด้วยระบบแลนไร้สาย (Wireless LAN) ซึ่ ง จะต้อ งเชื่ อ มต่ อ อุ ป กรณ์ เ ข้า สู่ เ ครื อ ข่ า ยด้ว ยสั ญ ญาณวิ ท ยุ นิ ย มใช้ใ นการเชื่ อ มต่ อ สั ญ ญาณกับ อุ ป กรณ์ ค อมพิ วเตอร์ มี การใช้งานระบบบลู ทูท (Bluetooth) เช่ น หู ฟั ง สาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 80


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.3 อุปกรณ์ พกพาและไร้ สาย ตัวอย่ างอุปกรณ์ พกพาและไร้ สาย

81


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.4 ปัญญาประดิษฐ์ ปัญญาประดิษฐ์ ปั ญญาประดิษฐ์หรื อเอไอ (AI: Artificial Intelligence) เป็ นการพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์ ให้มีความสามารถและพฤติ กรรมเลี ยนแบบมนุ ษย์ รู ้ จัก การใช้เ หตุผล และมีการเรี ยนรู ้ ทาให้สามารถตอบสนองความต้องการของมนุ ษย์ได้มากยิง่ ขึ้น เช่น การเข้าใจภาษามนุษย์ การรับรู ้และตอบสนองพฤติกรรมของมนุษย์

82


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.4 ปัญญาประดิษฐ์ ปั ญญาประดิษฐ์ประกอบด้วยสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนี้

วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics)

4

1

ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)

ปัญญาประดิษฐ์

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)

3

2

โครงข่ ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) 83


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.4 ปัญญาประดิษฐ์ ภาษาธรรมชาติ

โครงข่ าย ประสาทเทียม

ระบบผู้เชี่ยวชาญ

วิทยาการหุ่นยนต์

กระบวนการภาษา ธรรมชาติ มีหลักการทางาน แบบง่ าย ๆ คื อ แยกภาษา ของมนุ ษ ย์อ อกเป็ นค า ๆ จากนั้ นแปลเป็ นภาษาที่ เครื่ องคอมพิ วเตอร์ เข้าใจ แล้ว จึ ง โต้ต อบกลับ มายัง มนุษย์อีกครั้งด้วยภาษาของ มนุษย์เอง

การสร้างคอมพิวเตอร์ โดยจ าลองวิ ธี ก ารท างาน เหมื อ นสมองของมนุ ษ ย์ ท าให้เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ รู ้ จ ั ก คิ ด และจดจ าข้ อ มู ล สามารถฟั ง อ่ า น และจ า ภาษามนุษย์ได้

การเก็บรวบรวมข้อมู ล จากผู ้ เ ชี่ ย วชาญในสาขา วิ ช าต่ า ง ๆ ให้ เ ป็ นระบบ สารสนเทศเพื่ อสนับสนุ น การแก้ปัญหา โดยใช้เครื่ อง คอมพิวเตอร์ คน้ หาคาตอบ และแก้ปัญหาในสาขาวิชา นั้ น ๆ ซึ่ งจั ด เก็ บ ไว้ ใ น รู ปแบบของฐานความรู ้

ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี ด้า นหุ่ น ยนต์ ม าประยุ ก ต์ ร่ วมกับเครื่ องจักร เพื่อใช้ ทางานต่าง ๆ แทนมนุษย์ที่ ต้ อ ง เ สี่ ย ง ภั ย แ ล ะ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ สุ ขภาพ ซึ่ ง หุ่ นยนต์สามารถทางานได้ รวดเร็ ว ถู ก ต้อ ง แม่ น ย า และมีความเที่ยงตรงมาก 84


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.4 ปัญญาประดิษฐ์ ตัวอย่ างปัญญาประดิษฐ์

85


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.5 ทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศ ทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศ เทคโนโลยีทาให้มนุษย์สามารถสื่ อสารและรับข้อมูลสารสนเทศจากทุกสถานที่ ได้สะดวกรวดเร็ ว และทันเวลา ทาให้เกิดยูบิควิตสั เทคโนโลยี (Ubiquitous Technology) สังคมยูบิควิตสั (Ubiquitous Society) หรื อยูบิคอมป์ (Ubicomp)

86


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.5 ทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศ ยูบิควิตัสเทคโนโลยี เป็ นการจัดสภาพแวดล้อมของการสื่ อสารใหม่และเป็ นแนวโน้มของสังคมแห่ งข้อมูล สารสนเทศ โดยการนาคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ เครื่ องและระบบเครื อข่ายมาใช้รวมกัน ทาให้เกิด จุ ด เด่ น ในการเชื่ อ มโยงผู ้ใ ช้ง านกับ เครื อข่ า ยในทุ ก สถานที่ มี ก ารใช้บ ริ การที่ ส ามารถ ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ท้ งั สถานที่ อุปกรณ์ และปั จจัยทางกายภาพ นอกจากนี้ ยงั สร้าง ภาพการใช้งานที่ไม่จากัดเพียงเครื่ องคอมพิวเตอร์อีกด้วย เช่น

ตูเ้ ย็น อินเทอร์เน็ต

เตาไมโครเวฟ อินเทอร์เน็ต โทรทัศน์ ดิจิทลั

โฮมเซิร์ฟเวอร์ บ้านอัจฉริ ยะ

เทคโนโลยี เซ็นเซอร์ 87


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

เรื่ องน่ ารู้ ยูบิควิตัส ยูบิควิตสั เป็ นภาษาละติน หมายถึง อยู่ในทุกแห่ งหรื อมีอยู่ทุกหนทุกแห่ ง

88


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

3.5 ทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศ ตัวอย่ างทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศ

89


3. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่ อ)

กิจกรรม คำชี้แจง นาตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือเติมลงในช่องว่างหน้าข้อความ ทางซ้ายมือที่สัมพันธ์กนั ซ 1. ชิปที่อยูใ่ นซีพียมู ีขนาดเล็กลง ข 2. สัง่ งานคอมพิวเตอร์ดว้ ยเสี ยง ค 3. มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ ช 4. เชื่อมต่อเครื่ องใช้กบั ระบบเครื อข่าย ก 5. รับข้อมูลสารสนเทศได้จากทุกสถานที่ ฉ 6. การวิเคราะห์และสร้างรู ปพรรณคนร้าย ฌ 7. จาลองวิธีการทางานเหมือนสมองมนุษย์ จ 8. นาหุ่นยนต์มาประยุกต์ร่วมกับเครื่ องจักร ง 9. ค้นหาคาตอบและแก้ปัญหาจากฐานความรู ้ ญ 10. ตอบสนองการทางานหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน

ก บ้านอัจฉริ ยะ ข ภาษาธรรมชาติ ค ปัญญาประดิษฐ์ ง ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ จ วิทยาการหุ่นยนต์ ฉ โครงข่ายประสาทเทียม ช ทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ ซ เครื่ องคอมพิวเตอร์ประสิ ทธิภาพสู ง ฌ ประโยชน์จากโครงข่ายประสาทเทียม ญ เครื่ องคอมพิวเตอร์แบบมัลติโพรเซสเซอร์ 90


สรุปความรู้ แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ด้ ว ยความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ท าให้ แนวโน้ ม ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ในอนาคตมี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ที่ มี ร ะบบ การประมวลผลแบบขนาน เพื่ อ ให้ สามารถประมวลผลค าสั่ ง หลายค าสั่ ง พร้ อม ๆ กั น เทคโนโลยีสื่อประสมทีส่ ่ งข้ อมูลหลากหลายรู ปแบบ อุปกรณ์ พกพาและไร้ สายที่มีขนาดเล็กลง และน้าหนักเบา ปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีที่ ทาให้ เครื่ องจักรหรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางาน คิด และวิเคราะห์ เหมือนมนุษย์ และทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศที่นามาใช้ กับเครื่ องใช้ ประจาวันเพื่อให้ มนุษย์ สามารถรับและส่ งข้ อมูลได้ สะดวก รวดเร็ว และใช้ งานได้ ตลอดเวลา 91


แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ 92


เลือกคาตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคาตอบเดียว ข้ อใดคือผลกระทบด้ านบวกจากการใช้ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อสั งคม ก ลดปั ญหาการละเมิดลิขสิ ทธิ์ ข ลดปัญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

ค ทาให้เข้าถึงข้อมูลของผูอ้ ื่นได้โดยไม่ตอ้ งขออนุญาต ง ทาให้รับรู ้ข่าวสารและติดต่อสื่ อสารกันได้สะดวกยิง่ ขึ้น คาอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะปัจจุบนั มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างแพร่ หลายในทุกสังคม ส่ งผลให้ผคู ้ นใน สังคมรับรู ้ ข่าวสารและสามารถติ ดต่อสื่ อสารกันได้สะดวกรวดเร็ วมากยิ่งขึ้ น ดังนั้น ทาให้รับรู ้ ข่าวสารและ ติดต่อสื่ อสารกันได้สะดวกยิง่ ขึ้นจึงเป็ นผลกระทบด้านบวกจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อสังคม 93


2.

ข้ อใดเป็ นผลกระทบด้ านลบจากการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อสั งคม ก ค่านิยมและวัฒนธรรม ข ความเสมอภาคในสังคม ค ความปลอดภัยในการใช้

ง ขาดการปฏิสัมพันธ์กนั โดยตรง

คาอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะความปลอดภัยในการใช้เป็ นผลกระทบด้านลบจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ ง เกิดจากการกระทาผิดทางคอมพิวเตอร์ ของผูอ้ ื่น เช่น การหลอกลวงผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ ดังนั้น ความปลอดภัยใน การใช้จึงเป็ นผลกระทบด้านลบจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อสังคม 94


3.

ไวรัสคอมพิวเตอร์ ส่งผลกระทบต่ อสั งคมอย่างไร ก ทาให้เกิดความเสมอภาค ข ป้องกันปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ค ทาให้เกิดความเสี ยหายแก่ขอ้ มูล ง ช่วยเพิ่มจานวนผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์

คาอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะทาให้เกิดความเสี ยหายแก่ขอ้ มูลเป็ นผลมาจากการเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายและมีผไู ้ ม่ หวังดีปล่อยไวรัสคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ขอ้ มูลและเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่ งเป็ นผลกระทบของ เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสังคม ดังนั้น ไวรัสคอมพิวเตอร์ จึงส่ งผลกระทบต่อสังคม คือ ทาให้เกิดความเสี ยหาย 95 แก่ขอ้ มูล


4. ข้ อใดไม่ ได้ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน ก คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

ข การเรี ยนการสอนผ่านเว็บเพจ ค สื่ อการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ง การเรี ยนการสอนที่ผเู ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์กบั ผูส้ อนโดยตรง

คาอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้กบั การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ระบบสื่ อสารทางไกลหรื อโทรศึกษา การเรี ยนการสอนผ่านเว็บเพจ และสื่ อการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิ กส์ ดังนั้น การเรี ยนการสอนที่ผเู ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์กบั ผูส้ อนโดยตรงจึงไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรี ยน 96 การสอน แต่คาตอบนี้สมั พันธ์กนั กับคาถาม


5.

เครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิภาพสู งแตกต่ าง จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทั่วไปอย่ างไร ก ชิปมีคุณภาพดีและมีขนาดเล็ก ข สามารถใช้งานได้พร้อมกัน 2 คน ค มีการติดตั้งรวมกับเครื่ องใช้ไฟฟ้าอื่น

ง ผูใ้ ช้ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ดา้ นคอมพิวเตอร์

คาอธิ บาย: ก ถูกต้อง เพราะเครื่ องคอมพิวเตอร์ ประสิ ทธิ ภาพสู งจะมี ชิปขนาดเล็กและมีปริ มาณความจุของ หน่ ว ยความจาเพิ่มมากขึ้ นอยู่ในหน่ ว ยประมวลผลหรื อ ซี พี ยู ดังนั้น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ป ระสิ ทธิ ภ าพสู งจึ ง แตกต่างจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ทวั่ ไป คือ ชิปมีคุณภาพดีและมีขนาดเล็ก 97


ข้ อใดเป็ นผลกระทบด้ านลบที่เกิดจากการใช้ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศด้ านการเรียนการสอน ก สื่ อที่ใช้ขาดความน่าสนใจ

ข ผูเ้ รี ยนไม่มีสถานที่เรี ยนหนังสื อ ค มีอุปกรณ์และเครื่ องมือที่ทนั สมัย ง ผูเ้ รี ยนไม่สามารถสอบถามผูส้ อนได้

คาอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะผูเ้ รี ยนไม่สามารถสอบถามผูส้ อนได้ทาให้ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนขาดปฏิสัมพันธ์กนั โดยตรง ดังนั้น ผูเ้ รี ย นไม่ สามารถสอบถามผูส้ อนได้จึ งเป็ นผลกระทบด้านลบที่ เ กิ ด จากการใช้เ ทคโนโลยี สารสนเทศด้านการเรี ยนการสอน 98


7.

ข้ อใดหมายถึงเทคโนโลยีสื่อประสม ก การใช้เทคโนโลยีพร้อมกันหลายคน

ข การนาเสนอข้อมูลหลายรู ปแบบพร้อมกัน ค การจาลองวิธีการทางานเหมือนสมองมนุษย์ ง การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ร่วมกับเครื่ องใช้ไฟฟ้าอื่น

คาอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะเทคโนโลยีสื่อประสมเป็ นการนาเสนอข้อมูลหรื อสื่ อในหลายรู ปแบบพร้อม ๆ กัน ได้แก่ การนาเสนอข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลเสี ยง และข้อมูลภาพเคลื่อนไหว ดังนั้น การนาเสนอข้อมูลหลายรู ปแบบ พร้อมกันจึงหมายถึงเทคโนโลยีสื่อประสม 99


8. บลูทูทเป็ นแนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศด้ านใด ก ปัญญาประดิษฐ์ ข เทคโนโลยีสื่อประสม ค อุปกรณ์พกพาและไร้สาย ง เครื่ องคอมพิวเตอร์ประสิ ทธิภาพสู ง

คาอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะอุปกรณ์พกพาและไร้สายมีการทางานด้วยระบบแลนไร้สาย ซึ่ งจะต้องเชื่ อมต่อ อุปกรณ์เข้าสู่ เครื อข่ายด้วยสัญญาณวิทยุ นิ ยมใช้ในการเชื่ อมต่อสัญญาณกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มีการใช้งาน ระบบบลูทูทสาหรับส่ งข้อมูลในระยะใกล้ ๆ ซึ่ งปั จจุบนั นิ ยมใช้ร่วมกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ ดังนั้น บลูทูทจึงเป็ น 100 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศด้านอุปกรณ์พกพาและไร้สาย


9.

ข้ อใดเกิดจากทางด่ วนข้ อมูลสารสนเทศ ก สังคมยูบิควิตสั ข ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ

ค ศาสตร์ ดา้ นหุ่นยนต์ ง โครงข่ายประสาทเทียม

คาอธิบาย: ก ถูกต้อง เพราะสังคมยูบิควิตสั จัดเป็ นทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ ซึ่ งเป็ นเทคโนโลยีที่ทาให้มนุษย์ สามารถสื่ อสารและรับ ข้อมูลสารสนเทศจากทุกสถานที่ ได้สะดวก รวดเร็ ว และทันเวลา ทาให้เกิ ดยูบิควิตสั เทคโนโลยีหรื อสังคมยูบิควิตสั ดังนั้น สังคมยูบิควิตสั จึงเกิดจากทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ 101


การสั่ งงานด้ วยเสี ยงเป็ นแนวโน้ มของเทคโนโลยี 10. สารสนเทศด้ านใด ก ภาษาธรรมชาติ ข ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ

ค โครงข่ายประสาทเทียม ง เครื่ องคอมพิวเตอร์ประสิ ทธิภาพสู ง คาอธิบาย: ก ถูกต้อง เพราะภาษาธรรมชาติเป็ นภาษาธรรมดาที่มนุ ษย์ใช้งานในชีวิตประจาวัน เมื่ อเทคโนโลยี พัฒนามากขึ้น จึงมีผคู ้ ิดค้นที่จะนาภาษาธรรมชาติมาใช้สงั่ งานเครื่ องคอมพิวเตอร์หรื อฮาร์ดแวร์ที่เป็ นเทคโนโลยี อื่น ๆ เรี ยกว่า กระบวนการภาษาธรรมชาติ ได้แก่ การสั่งงานโทรศัพท์เคลื่ อนที่ ดว้ ยเสี ยงและการสั่งให้เครื่ อง คอมพิ ว เตอร์ ท างานด้ว ยเสี ย ง ดัง นั้น การสั่ ง งานด้ว ยเสี ย งจึ ง เป็ นแนวโน้ ม ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ 102 ด้านภาษาธรรมชาติ


คาถามเชื่ อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป คอมพิวเตอร์ มีบทบาทต่ อชีวติ ประจาวันของนักเรียนหรื อไม่ อย่ างไร

ให้นกั เรี ยนไปศึกษาเนื้อหา ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 คอมพิวเตอร์ 103


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.