หน่วยที่ 2.4 การกระทำทางตรรกศาสตร์

Page 1

เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ข้ อมูลในเครื่ องคอมพิวเตอร์ OR

AND

การกระทาทาง ตรรกศาสตร์

NOT

XOR 108


11102 มีค่าเท่ าใดในระบบตรรกศาสตร์

109


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

นักเรียนนาคาถามที่เตรียมไว้ แล้ ว คนละ 1 คาถาม มาร่ วมกันสนทนา

110


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

การกระทาทางตรรกศาสตร์ หน่วยเก็บข้อมูลพื้นฐานของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ คือ บิต (Bit) ประกอบไปด้วย ตัวเลขสองตัว คือ 0 และ 1 ซึ่ งสอดคล้องกับค่าตรรกะ คือ เท็จ (False) และจริ ง (True) สามารถแทน 0 ด้วย เท็จ และแทน 1 ด้วย จริ ง

ทาให้มีการใช้ตรรกะ ในการประมวลผลข้อมู ล ของเครื่ องคอมพิ ว เตอร์ ดั ง นั้ น 1001 2 จึ ง เท่ า กั บ จริ ง เท็จ เท็จ จริ ง

111


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

• ในหนึ่งวันมีแสงสว่ างตลอดเวลา มีค่าเท่ากับเท็จ แทนค่าด้วย 0

• พระอาทิตย์ ขนึ้ ทางทิศตะวันออก มีค่าเท่ากับจริ ง แทนค่าด้วย 1

• โลกมีขนาดใหญ่ กว่ าดวงจันทร์ ดวงจันทร์ มีขนาดใหญ่ กว่ า ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ ใหญ่ กว่ าโลก และดวงดาวทุกดวง มีขนาดเท่ ากัน มีค่าเท่ากับ จริ ง เท็จ จริ ง เท็จ แทนค่า 1010 112


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

ตัวเชื่ อมของตรรกะ (Logical Operations)

ตัวเชื่ อมของตรรกะขั้นพืน้ ฐาน มี 4 ตัวกระทา คือ

AND

OR

NOT

XOR 113


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

1. ตัวกระทา AND ข้ อมูลทั้งสองมีค่าเป็ นจริง ค่ าที่ได้ จะเป็ นจริง

จริ ง เท็จ

ข้ อมูลใดข้ อมูลหนึ่งเป็ นเท็จ ค่ าที่ได้ จะกลายเป็ นเท็จ ตัวอย่างตัวกระทา AND

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก AND ในหนึ่งวันมีแสงสว่างตลอดเวลา มีค่าเป็ นจริ ง AND เท็จ หรื อ 1 AND 0 มีค่าเป็ นเท็จ หรื อ 0 จริ ง

AND

เท็จ

เท็จ 114


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

ตัวอย่างตัวกระทา AND

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก AND พระอาทิตย์ให้ความร้อน มีค่าเป็ นจริ ง AND จริ ง หรื อ 1 AND 1 มีค่าเป็ นจริ ง หรื อ 1 จริ ง

AND

จริ ง

จริ ง

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันตก AND ในหนึ่งวันมีแสงสว่างตลอดเวลา มีค่าเป็ นเท็จ AND เท็จ หรื อ 0 AND 0 มีค่าเป็ นเท็จ หรื อ 0 เท็จ

AND

เท็จ

เท็จ 115


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

2. ตัวกระทา OR ข้ อมูลใดข้ อมูลหนึ่งเป็ นจริง ค่ าที่ได้ จะเป็ นจริง

จริ ง เท็จ

หากไม่ มขี ้ อมูลใดเป็ นจริงเลย ค่ าที่ได้ น้ันจะเป็ นเท็จ ตัวอย่างตัวกระทา OR

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก OR ในหนึ่งวันมีแสงสว่างตลอดเวลา มีค่าเป็ นจริ ง OR เท็จ หรื อ 1 OR 0 มีค่าเป็ นจริ ง หรื อ 1 จริ ง

OR

เท็จ

จริ ง 116


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

ตัวอย่างตัวกระทา OR  พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก OR พระอาทิตย์ให้ความร้อน มีค่าเป็ นจริ ง OR จริ ง หรื อ 1 OR 1 มีค่าเป็ นจริ ง หรื อ 1 จริ ง

OR

จริ ง

จริ ง

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันตก OR ในหนึ่งวันมีแสงสว่างตลอดเวลา มีค่าเป็ นเท็จ OR เท็จ หรื อ 0 OR 0 มีค่าเป็ นเท็จ หรื อ 0 เท็จ

OR

เท็จ

เท็จ 117


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์

เท็จและจริงทางตรรกศาสตร์ สามารถแทน การเปิ ดและปิ ดของกระแสไฟฟ้ าได้ อย่ างไร

เท็ จ แทน 0 ซึ่ งเท่ า กั บ การปิ ดกระแสไฟฟ้ า และจริ ง แทน 1 ซึ่ งเท่ า กั บ การเปิ ด กระแสไฟฟ้า 118


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

3. ตัวกระทา NOT การทาให้ ข้อมูลทีม่ ไี ด้ ผลตรงกันข้ าม กล่าวคือ ถ้ าเดิมเป็ นจริง ผลทีไ่ ด้ กจ็ ะกลายเป็ นเท็จ พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก

มีค่าเป็ นจริ ง หรื อ 1

พระอาทิตย์ NOT ขึ้นทางทิศตะวันออก

จริ ง

มีค่าเป็ น NOT 1 : เท็จ หรื อ 0

เท็จ

119


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

ตัวอย่างการกระทา NOT

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก

มีค่าเป็ นจริ ง หรื อ 1

พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก  พระอาทิตย์ NOT ขึ้นทางทิศตะวันออก

NOT

จริ ง

จริ ง มีค่าเป็ น NOT 1 : เท็จ หรื อ 0 เท็จ

120


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

4. ตัวกระทา XOR ข้ อมูลใดข้ อมูลหนึ่งเป็ นจริง ค่ าที่ได้ จะเป็ นจริง

จริ ง

หากข้ อมูลนั้นจริงหรื อเท็จทั้งหมด ค่ าที่ได้ จะเป็ นเท็จ

เท็จ

ตัวอย่างตัวกระทา XOR  พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก XOR ในหนึ่งวันมีแสงสว่างตลอดเวลา มีค่าเป็ นจริ ง XOR เท็จ หรื อ 1 XOR 0 มีค่าเป็ นจริ ง หรื อ 1

จริ ง

XOR

เท็จ

จริ ง 121


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

ตัวอย่างตัวกระทา XNOR  พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันออก XOR พระอาทิตย์ให้ความร้อน มีค่าเป็ นจริ ง XOR จริ ง หรื อ 1 XOR 1 มีค่าเป็ นเท็จ หรื อ 0

จริ ง

XOR

จริ ง

เท็จ

 พระอาทิตย์ข้ ึนทางทิศตะวันตก XOR ในหนึ่งวันมีแสงสว่างตลอดเวลา มีค่าเป็ นเท็จ XOR เท็จ หรื อ 0 XOR 0 มีค่าเป็ นเท็จ หรื อ 0 เท็จ

XOR

เท็จ

เท็จ 122


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

จากการกระทาทางตรรกศาสตร์ ดงั กล่าว สามารถสรุ ปเป็ นตารางแสดงค่าตรรกะได้ ดังนี้ ข้ อมูลที่ 1

ข้ อมูลที่ 2

AND

OR

XOR

จริ ง (1)

จริ ง (1)

จริ ง (1)

จริ ง (1)

เท็จ (0)

จริ ง (1)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

จริ ง (1)

จริ ง (1)

เท็จ (0)

จริ ง (1)

เท็จ (0)

จริ ง (1)

จริ ง (1)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

123


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

ตารางแสดงค่าตรรกะ NOT ข้ อมูล

NOT

จริ ง (1)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

จริ ง (1)

124


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

กิจกรรม คำชี้แจง เติมค่าตรรกะของตัวกระทาลงในตารางให้สมบูรณ์ แล้วตอบคาถาม ตารางแสดงค่ าตรรกะของ AND OR และ XOR ข้ อมูลที่ 1 จริ ง (1) จริ ง (1) เท็จ (0) เท็จ (0)

ข้ อมูลที่ 2 จริ ง (1) เท็จ (0) จริ ง (1) เท็จ (0)

AND จริ ง (1)

OR

XOR เท็จ (0)

เท็จ (0) เท็จ (0)

จริ ง (1) จริ ง (1) จริ ง (1)

จริ ง (1) จริ ง (1)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

เท็จ (0)

ตารางแสดงค่ าตรรกะของ NOT ข้ อมูล จริ ง (1) เท็จ (0)

NOT เท็จ (0) จริ ง (1) 125


4. การกระทาทางตรรกศาสตร์ (ต่ อ)

กิจกรรม (ต่อ) คาถาม 1. สัตว์เลื้อยคลานไม่มีขา AND ไก่เป็ นสัตว์ปีก มีค่าเป็ นอะไร จริ ง (1) 2. โทรศัพท์ใช้สาหรับติดต่อสื่ อสาร XOR ในหนึ่งวันมี 24 ชัว่ โมง มีค่าเป็ นอะไร เท็จ (0)

3. คอมพิวเตอร์เป็ นส่ วนหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศ OR ข้อมูลกลิ่นรับได้ดว้ ยอวัยวะหู มีค่า เป็ นอะไร จริ ง (1) 4. จานวนเลขคู่จะหารด้วย 3 ได้ทุกจานวน XOR ระบบเลขฐานสองมีสัญลักษณ์ 2 จานวน มีค่า เป็ นอะไร จริ ง (1) 5. NOT ของศีล 5 ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ การไม่ลกั ทรัพย์ การไม่ประพฤติผดิ ในกาม การไม่พดู โกหก และการไม่เสพสิ่ งของมึนเมา มีค่าเป็ นอะไร เท็จ (1) 126


สรุปความรู้ การกระทาทางตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์ มีค่าเพียง 2 ค่ า คือ เท็จและจริ ง ซึ่ งสอดคล้ องกับ ระบบเลขฐานสองที่ใช้ ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทาให้ เกิดการกระทาทาง ตรรกศาสตร์ ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีตัวเชื่ อมของตรรกะขั้นพื้นฐาน 4 อย่าง คือ AND OR NOT และ XOR

127


แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 ข้ อมูลในเครื่ องคอมพิวเตอร์ 128


เลือกคาตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงคาตอบเดียว 1. 448 อ่านว่ าอย่ างไร ก สี่ –สี่ –แปด ข สี่ –สี่ –ฐานแปด ค สี่ –สิ บ–สี่ –แปด ง สี่ –สิ บ–สี่ –ฐานแปด

คาอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะการอ่านตัวเลขในระบบเลขฐานแปด จะอ่านเรี ยงลาดับตัวเลข แล้วตามด้วยเลขฐาน เช่น 43678 อ่านว่า สี่ –สาม–หก–เจ็ด–ฐานแปด ดังนั้น 448 จึงอ่านว่า สี่ –สี่ –ฐานแปด

129


2. ข้ อใดไม่ ใช่ สัญลักษณ์ ของระบบเลขฐานแปด ก 3 ข 5 ค 7 ง 9

คาอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะระบบเลขฐานแปดมีสัญลักษณ์จานวน 8 ตัว ได้แก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 ดังนั้น 9 จึงไม่ใช่สญ ั ลักษณ์ของระบบเลขฐานแปด แต่คาตอบนี้สมั พันธ์กนั กับคาถาม

130


3.

ข้ อใดเป็ นหลักการแปลงเลขฐานสิ บให้ เป็ นเลขฐานแปด ก นา 8 ไปหารสั้นเลขฐานสิ บ แล้วนาผลลัพธ์และเศษมาเรี ยงต่อกัน จากด้านบนลงล่าง ข นา 8 ไปหารสั้นเลขฐานสิ บ แล้วนาผลลัพธ์และเศษมาเรี ยงต่อกัน จากด้านล่างขึ้นบน ค นา 10 ไปหารสั้นเลขฐานแปด แล้วนาผลลัพธ์และเศษมาเรี ยงต่อกัน จากด้านบนลงล่าง ง นา 10 ไปหารสั้นเลขฐานแปด แล้วนาผลลัพธ์และเศษมาเรี ยงต่อกัน จากด้านล่างขึ้นบน

คาอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะการแปลงเลขฐานสิ บให้เป็ นเลขฐานแปดสามารถคานวณได้จากการหารสั้นด้วยเลข ฐานที่ตอ้ งการแปลงค่า คือ 8 แล้วนาผลลัพธ์และเศษที่ได้มาเรี ยงต่อกันจากล่างขึ้นบน ดังนั้น นา 8 ไปหารสั้น เลขฐานสิ บ แล้วนาผลลัพธ์และเศษมาเรี ยงต่อกันจากด้านล่างขึ้นบนจึงเป็ นหลักการแปลงค่าเลขฐานสิ บให้เป็ น 131 เลขฐานแปด


4.

ข้ อใดเป็ นหลักการแบ่ งกลุ่มเพื่อการแปลงค่า เลขฐานสองให้ เป็ นเลขฐานสิ บหก ก แบ่งกลุ่มละสี่ หลักจากด้านซ้ายไปด้านขวา ข แบ่งกลุ่มละสี่ หลักจากด้านขวาไปด้านซ้าย

ค แบ่งกลุ่มละสามหลักจากด้านซ้ายไปด้านขวา ง แบ่งกลุ่มละสามหลักจากด้านขวาไปด้านซ้าย คาอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะการแปลงค่าเลขฐานสองให้เป็ นเลขฐานสิ บหกสามารถคานวณได้จากการแบ่งกลุ่ม เลขฐานสอง กลุ่มละสี่ หลักจากด้านขวาไปด้านซ้าย แล้วแปลงเลขฐานสองแต่ละกลุ่มให้เป็ นเลขฐานสิ บ จากนั้น นาตัวเลขที่ ได้มาเรี ยงต่อกัน ดังนั้น แบ่งกลุ่ มละสี่ หลักจากด้านขวาไปด้านซ้ายจึ งเป็ นหลักการแบ่ งกลุ่ มเพื่อ 132 การแปลงค่าเลขฐานสองให้เป็ นเลขฐานสิ บ


5.

ข้ อใดเป็ นลักษณะของโปรแกรม Calculator ก คล้ายกับเครื่ องคิดเลข ข คล้ายกับตารางคานวณ

ค คล้ายกับกระดาษเอกสารเปล่า ง คล้ายกับอุปกรณ์สาหรับวาดภาพ

คาอธิบาย: ก ถูกต้อง เพราะโปรแกรม Calculator เป็ นโปรแกรมประยุกต์ที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบตั ิการ ของบริ ษทั ไมโครซอฟท์ มีลกั ษณะเหมือนเครื่ องคิดเลข ใช้ช่วยในการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ ดังนั้น คล้ายกับ เครื่ องคิดเลขจึงเป็ นลักษณะของโปรแกรม Calculator 133


ข้ อใดเป็ นรูปแบบของหน้ าต่ างโปรแกรม Calculator 6. เพื่อใช้ ในการหาค่ าในระบบเลขฐาน ก Standard ข Scientific ค Arithmetic

ง Thumbnail

คาอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะ Scientific เป็ นรู ปแบบหน้าต่างโปรแกรมเมื่อต้องการใช้งานโปรแกรม Calculator เพื่อแปลงค่าเลขฐาน ดังนั้น Scientific จึงเป็ นรู ปแบบของหน้าต่างโปรแกรม Calculator เพื่อใช้ในการหาค่าใน ระบบเลขฐาน 134


7.

สั ญลักษณ์ Oct ในโปรแกรม Calculator หมายถึงระบบเลขฐานใด ก เลขฐานสิ บ

ข เลขฐานสอง ค เลขฐานแปด ง เลขฐานสิ บหก

คาอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะระบบเลขฐานแปดในโปรแกรม Calculator ใช้สัญลักษณ์ Oct ดังนั้น สัญลักษณ์ Oct ในโปรแกรม Calculator จึงหมายถึงระบบเลขฐานแปด 135


8. 1012 มีค่าเท่ ากับตรรกะในข้ อใด ก จริ งเท็จจริ ง

ข เท็จจริ งเท็จ ค เท็จเท็จจริ ง ง จริ งจริ งเท็จ

คาอธิบาย: ก ถูกต้อง เพราะเลข 0 และ 1 จะสอดคล้องกับค่าตรรกะ คือ เท็จและจริ ง ซึ่ งสามารถแทน 0 ด้วยเท็จ และแทน 1 ด้วยจริ ง ดังนั้น 1012 จึงมีค่าเท่ากับตรรกะจริ งเท็จจริ ง

136


9.

ข้ อใดมีค่าเป็ นจริง ก 0 OR 0 ข 0 AND 0

ค 1 AND 0 ง 1 XOR 0

คาอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะ 1 XOR 0 มีค่าเท่ากับ 1 หรื อ จริ ง ดังนั้น 1 XOR 0 จึงมีค่าเป็ นจริ ง 137


10. การกระทาทางตรรกศาสตร์ ในข้ อใดมีค่าเท่ ากับ 0 ก พระจันทร์เป็ นบริ วารของโลก ข พระจันทร์ มีขนาดใหญ่กว่าโลก ค พระจันทร์ ข้ ึนทางทิศตะวันออก ง พระจันทร์ที่โคจรรอบโลกมีเพียง 1 ดวง

คาอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะพระจันทร์ มีขนาดใหญ่กว่าโลก มีค่าเป็ นเท็จหรื อเท่ากับ 0 เนื่ องจากพระจันทร์ มี ขนาดเล็กกว่าโลก ดังนั้น พระจันทร์มีขนาดใหญ่กว่าโลกเป็ นการกระทาทางตรรกศาสตร์ที่มีค่าเท่ากับ 0

138


คาถามเชื่ อมโยงสู่ บทเรียนต่ อไป นักเรียนนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในชีวติ ประจาวันอย่ างไร

ให้นกั เรี ยนไปศึกษาเนื้อหา ในหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ 139


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.