AD8 Selected Works 2022

Page 1

Bachelor of Architecture Program in Architecture (B.Arch.) Faculty of Architecture, Kasetsart University First Semester, Academic Year 2022

Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces | Space Syntax: Re-formality of Urban Interstices Typological reinterpretation 1 | Typological reinterpretation 2 Re-formality in Architectural Rehabilitation | Re-formality in Architecture and Ecology Re-Formality: A New Third
in Satellite City
| Re-Formality: Learning
Revisited—Beyond Architectural Symbolism
Place
(Muang Thong Thani)
from Las Vegas

Bachelor of Architecture Program in Architecture (B.Arch.)

Faculty of Architecture, Kasetsart University

01240514 ARCHITECTURAL DESIGN VIII 4 (0-8-4)

First Semester, Academic Year 2022

Practice in in depth architectural design with emphasis on development of individual interest and expertise through specific program and issues. Creation and application of design theories based on individual process and concept. Design responsive to relationship of various dimensions of built environment towards the holistic sustainability.

Module 1 Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces Module 2 Space Syntax: Re-formality of Urban Interstices Module 3 Typological reinterpretation 1 Module 4 Typological reinterpretation 2 Module 5 Re-formality in Architectural Rehabilitation
6 Re-formality in Architecture and Ecology
7 Re-Formality: A New Third Place in
8 Re-Formality:
SELECTIVE MODULES
Module
Module
Satellite City (Muang Thong Thani) Module
Learning from Las Vegas Revisited— Beyond Architectural Symbolism

Module 1

Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces

Instructor Sarut Phosai, Ph.D. Fields Urban morphology and Space Syntax Methods Natural movement; Spatial configuration; Axial/Segment analysis

Modules 1 and 2 focus on gaining personal experience and skills through urban morphology study and research, with a pilot study incorporating issues of interest from the thesis outline. Students are trained to observe and analyze any type of spatial transience, which refers to the physical change of a period or space that overlaps with social, cultural, and economic factors at the time. Everyday spaces, which include living spaces, livelihoods, recreation, and leisure, are discussed, as are urban interstices, which are fragmented or transient spaces. Interstices are frequently associated with a period's physical change or with a space that overlaps with social, cultural, and economic factors during that period, a phenomenon known as spatial transience. Space syntax theory and techniques are used to analyze the form and structure of these two spatial relationships, which leads to an understanding of natural movement and accessibility. Spatial data and movement patterns (including socio-economic aspects of land use) are considered in conjunction with other morphological and physical variables from the computation in the space syntax model.

The course begins with a theoretical lecture and a study of urban morphology research methods, observation tools, and techniques. Students were tasked with surveying the study area and collecting relevant data for analysis of physical, social, and economic changes. Finally, students use the analysis results to develop hypotheses and architectural program proposals that are consistent with the thesis pilot study. The four study areas were the BMA Bangkok City Hall and Lan Khon Mueang Town Square, the old market area around the Khlong San Pier and Charoen Nakhon Road, the Saphan Khieu elevated green urban corridor linking Lumpini Park to Benjakitti Park, and the Muslim community along the Saen Saeb Canal near Lam Sali Intersection and Bang Kapi Pier.

The four selected works are as follows: 1) Lan Khon Mueang Civic Center Project in Phra Nakhon District, which creates a proposal for a democratic space to support the expression of ideas and new possibilities for the historical area and the public area of the city; 2) The Learning and Community Center Project, Bang Khun Sai Community, Ban Laem, Phetchaburi Province, which presents an architecture program that serves as a self-reliant community economic learning center and a cultural attraction for a 200-year-old fishing community in harmony with the mangrove ecosystem; 3) The Housing in Bridge Project, which is a proposal for low-income housing that merges with urban infrastructure around the Saphan Khieu, Polo Community, and Ruamrudee Community, connecting spaces and providing support for various groups' public events; and 4) The Bangkapi Lifestyle Mall Project, which combines the area's identity through religious and economic activities that meet the lifestyle of urban people in Bangkapi, creating connections for urban transportation networks and pedestrian flow.

Module
Space
Instructor
โมดูลที่ 1 และโมดูลที่ 2 มุงเนนการสรางประสบการณและทักษะสวนบุคคลผานการศึกษา และวิจัยทางสัณฐานวิทยาเมือง (urban morphology) โดยนำเอาประเด็นความสนใจจากเคาโครง วิทยานิพนธของนิสิตมาทำการศึกษานำรอง (pilot study) นำไปอธิบายลักษณะการกลายรูปของ พื้นที่สองลักษณะ คือ 1) พื้นที่ในชีวิตประจําวัน (everyday spaces) ในที่นี้คือพื้นที่ในการอยูอาศัย การทํามาหากิน นันทนาการ และการพักผอนหยอนใจ และ 2) พื้นที่สงผานในเมือง (urban interstices) ที่มีลักษณะเปนพื้นที่ชิ้นเล็กชิ้นนอย (fragmented space or transient space) พื้นที่สงผานนี้มักเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของในชวงเวลาหนึ่งหรือมีขอบเขตที่ ซอนทับกับปจจัยทางสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจในระหวางชวงเวลานั้น หรือเรียกวา ชวงรอยตอ ของการเปลี่ยนแปลง (transience) ทฤษฎีและเทคนิคสเปซซินแท็กซจะนำมาใชในการวิเคราะห รูปทรงและโครงสรางความสัมพันธของพื้นที่ทั้งสองลักษณะ นําไปสูความเขาใจพฤติกรรมการสัญจร อิสระ (natural movement) และความสามารถในการเขาถึง (accessibility) ขอมูลเชิงพื้นที่และ รูปแบบการสัญจร (รวมถึงการใชประโยชนที่ดิน) จะนํามาพิจารณาประกอบกับตัวแปรทางสัณฐาน วิทยาและตัวแปรทางกายภาพอื่นๆ จากการคํานวณในแบบจําลองของสเปซซินแท็กซ ในชวงตนของกิจกรรมการเรียนการสอนเปนการบรรยายภาคทฤษฎี การศึกษาจากงานวิจัย ทางสัณฐานวิทยาเมือง วิธีการ เครื่องมือ และเทคนิคในการสำรวจ จากนั้นจึงนำนิสิตลงพื้นที่ ทำการ สำรวจภาคสนาม เก็บบันทึกขอมูลที่เกี่ยวของนำมาวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม และ เศรษฐกิจ นำไปสรางสมมติฐานและขอเสนอโปรแกรมทางสถาปตยกรรมที่สอดคลองกับประเด็น ความสนใจทางวิทยานิพนธ โดยพื้นที่ทั้ง 4 พื้นที่ที่คัดเลือกมาเปนกรณีศึกษา ไดแก ลานคนเมือง (บริเวณศาลาวาการกรุงเทพมหานคร) พื้นที่ตลาดและทาเรือคลองสาน (บริเวณถนนเจริญนคร) สะพานเขียว (บริเวณตอเนื่องจากสวนลุมพินีไปยังสวนเบญจกิติ) และชุมชนมุสลิมริมคลองแสนแสบ (บริเวณแยกลำสาลีและทาเรือบางกะป) ผลงานทั้ง 4 ชิ้นที่คัดเลือกมานำเสนอ ไดแก 1) โครงการ Civic Center ลานคนเมือง เขตพระนคร เปนการสรางขอเสนอของพื้นที่ประชาธิปไตยเพื่อรองรับการแสดงออกทางความคิด บนพื้นที่เชิงประวัติศาสตรและความเปนไปไดใหมๆ ของพื้นที่สาธารณะเมือง 2) โครงการ Learning and Community Center ชุมชนบางขุนไทร บานแหลม จังหวัดเพชรบุรี เปนการนำเสนอโปรแกรม สถาปตยกรรมที่ทำหนาที่เปนแหลงเรียนรูเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเองและแหลงทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรมของชุมชนประมงเกาแกอายุกวา 200 ป ในระบบนิเวศปาชายเลน 3) โครงการ Housing in Bridge เปนการนำเสนอที่พักอาศัยของผูมีรายไดนอยผสานกับสาธารณูปโภคเมืองบริเวณสะพานเขียว ชุมชนโปโล และชุมชนรวมฤดี สรางการเชื่อมตอพื้นที่กิจกรรมในชุมชนและการรองรับกิจกรรม สาธารณะของกลุมคนที่หลากหลาย และ 4) โครงการ Bangkapi Lifestyle Mall เปนโครงการที่ ผสมผสานอัตลักษณของพื้นที่ผานกิจกรรมทางศาสนาและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ตอบสนองวิถีชีวิต คนเมืองยานบางกะป เชื่อมตอกับโครงขายการเดินทางรถ-ราง-เรือ และกระแสการเดินเทา
2
Syntax: Re-formality of Urban Interstices
Sarut Phosai, Ph.D. Fields Urban morphology and Space Syntax Methods Natural movement; Spatial configuration; Axial/Segment analysis

Typological reinterpretation 1

Instructor Assistant Professor Narongpon Laiprakobsup, Ph.D. Fields Design methods; Design process; Place-making Methods Spatial diagramming; Form deconstructing; Spatial sequence; Typological analysis

Architectural creativity can be emerged out of functional and contextual constraints. Terms and conditions of “re-programming” and “place-type” potentially, on the ground of the previous assumption, drive challenges on design inquiries on re-functionality and environmental reinterpretation in relation to 2022 Architectural Design Studio IIIV’s theme of “Re-formality”. Selected student design projects for this E-Book make an endeavor to explore possibilities of architectural creativity of configurations, based on both themes of “re-programming” and “place-type,” in a variety of scales and morphology: urban, communal, and natural settings. Re-programming, based upon typological challenges, focuses on design investigation of how programmatic reconsideration influences spatial reorganization and combined programs against existing structures and typical building types, respectively. For instance, reorganizing typical functions of the program collaborating with cultural space leads to modification for the existing structures and spatial arrangement. In this way, merging programmatic conditions as trans-programming develop spatial management which presents itself as a unique node through public interface. Rather than building scales, programmatic challenges on typology with a context of community contribute to urban renewal through recreating public space and linkages to bond functional fragments into the whole.

On another view of contextual dynamics, “place-type” paves the way for reinterpreting multi-layers of the environments—natural, cultural, communal, and archetypal— into contemporary form in which architecture serves for ever-changing circumstance. As architecture of place, topography produces place characters. An insertion of the built form into natural place relies on the comprehensively reinterpreting process of topographical insights. Integrating humbly tectonic form with intrinsic topography generates modest form of presence lending itself to meaningful and respectful experience to specific place. Moreover, reinterpreting process is employed to figure out suitable scales of harmonious form to coexist in traditional communities. In terms of urban scale, spatial typology of movement patterns in place can be implemented into new urban program as retaining place identity in a new form.

In conclusion, both program and place as fundamental constraints of architecture are able to raise design issues of interest worthwhile to be explored in the process. The process of reorganizing spatial management enables for “re-programming” as well as new configuration and functionality to responding to challenging scenarios. The reinterpreting process of pre-existing typologies in place allows for reconnecting contemporary physical form with the particular context as cultural venues.

Module 3

Instructor Assistant Professor Narongpon Laiprakobsup, Ph.D. Fields Design methods; Design process; Place-making Methods Spatial diagramming; Form deconstructing; Spatial sequence; Typological analysis

Module 4 Typological
การสรางสรรคทางสถาปตยกรรมสามารถพัฒนาขึ้นจากอิทธิพลของฟงกชั่น บนพื้นฐานของ ขอสันนิษฐานขางตน ไดทำใหศัพทและเงื่อนไขของ “การสรางโปรแกรมใหม” และ “สถานที่-ประเภท” สามารถเปนแรงขับเคลื่อนการทาทายการคนหาทางการออกแบบในการพัฒนาปรับเปลี่ยนศักยภาพ ประโยชนใชสอย และการตีความใหมทางสภาพแวดลอม ซึ่งมีความสัมพันธกับหัวขอ “การสราง แบบแผนใหม” ของสตูดิโอการออกแบบสถาปตยกรรม IIIV ในปการศึกษา 2565 โครงการของนิสิต ที่ไดรับคัดเลือกลงในหนังสือออนไลนฉบับนี้ไดพยายามในการสำรวจและคนหาความเปนไปไดของ การสรางสรรคทางสถาปตยกรรมของโครงสราง องคประกอบ และรูปทรงใหม ในทั้ง 2 ประเด็น ของ “การสรางโปรแกรมใหม” และ “สถานที่-ประเภท” บนความหลากหลายของขนาดโครงการ และสัณฐาน ทั้งบริบทของเมือง ชุมชน และธรรมชาติ “การสรางโปรแกรมใหม” ซึ่งเปนการทาทายเชิงแบบลักษณไดใหความสำคัญกับการคนหา ทางการออกแบบของประเด็นคำถามที่วา การพิจารณาโปรแกรมใหมมีอิทธิพลอยางไรกับการจัดการ องครวมใหมเชิงที่วางตอโครงสรางทางสถาปตยกรรมเดิม รวมทั้งการควบรวมโปรแกรมกับประเภท อาคารเดิม ดังเชน การจัดการองครวมใหมของฟงกชั่นพื้นฐานของโปรแกรมรวมกับที่วางเชิงวัฒนธรรม ไดนำมาการปรับเปลี่ยนการเรียบเรียงความสัมพันธของที่วางกับโครงสรางที่มีอยูเดิม ในวิถีทางดังกลาว ไดทำใหเกิดการควบรวมเงื่อนไขของโปรแกรมที่แตกตางกันซึ่งเปน “การเปลี่ยนถายเชิงโปรแกรม” และนำไปสูการพัฒนาการจัดการที่วางซึ่งเปดเผยกลไกของโครงการเพื่อเปนพื้นที่รวมกิจกรรมที่มี เอกลักษณเฉพาะผานการประสานรวมกับสาธารณะนอกเหนือจากขนาดของอาคาร การทาทาย เชิงโปรแกรมกับแบบลักษณ รวมกับบริบทขดงชุมชนไดนำไปสูการปรับปรุงชุมชนเมือง โดยการสราง ที่วางและการเชื่อมตอเชิงสาธารณะ เพื่อหลอมรวมการแยกตัวของฟงกชั่นใหประสานเปนหนึ่งเดียว บนมุมมองของพลวัตเชิงบริบท “สถานที่-ประเภท” เปนการวางวิถีทางเพื่อการตีความใหม ตอมิติที่หลายหลายของสภาพแวดลอม ทั้งเชิงธรรมชาติ วัฒนธรรม ชุมชน และแบบแผนตนแบบ ไปสู การกอรูปทรงรวมสมัยของสถาปตยกรรมที่ตอบรับกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สัณฐาน ภูมิประเทศซึ่งเปรียบเปนสถาปตยกรรมของสถานที่ ไดสรางคุณลักษณะเฉพาะของสถานที่ การสอดแทรก ของรูปทรงสรรคสรางสูสถานที่ธรรมชาติตองอาศัยกระบวนการการตีความใหมในการทำความเขาใจ สัณฐานภูมิประเทศอยางลึกซึ้ง การประสานรูปทรงเทคทอนิกที่ถอมตนกับสัณฐานธรรมชาติของ ภูมิประเทศไดนำไปสูประสบการณที่มีความหมายและเคารพตอสถานที่นั้นๆ และที่สำคัญอยางยิ่ง กระบวนการตีความใหมเปนวิธีการของการคนหาขนาดสวนที่เหมาะสมของรูปทรงที่กลมกลืนเพื่อการ อยูรวมกับชุมชนทองถิ่น ขณะที่ แบบลักษณเชิงที่วางของแบบแผนการเคลื่อนที่ในสถานที่ของมิติ ของเมือง สามารถพัฒนาสูโปรแกรมใหมของชุมชนเมือง ขณะที่ยังคงสืบสานอัตลักษณของสถานที่ ในแบบแผนใหม ในบทสรุปสามารถกลาวไดวา ทั้งโปรแกรมและสถานที่ซึ่งเปนอิทธิพลที่สำคัญของงาน สถาปตยกรรมสามารถพัฒนาประเด็นการออกแบบที่นาสนใจและควรคากับกระบวนการคนหา กระบวนการสรางความสัมพันธขององครวมใหมของการจัดการที่วางไดทำใหเกิดการสรางโปรแกรมใหม รวมถึงสัณฐานรูปทรงและศักยภาพทางฟงกชั่นเพื่อตอบรับฉากทัศนที่ทาทาย ขณะเดียวกัน กระบวนการ การตีความใหมของแบบลักษณที่ดำรงอยูในสถานที่ไดเปดโอกาสตอการเชื่อมโยงความสัมพันธในมิติใหม ของแบบแผนทางกายภาพรวมสมัยกับบริบทเฉพาะ ซึ่งจะทำหนาที่เปนสถานที่เชิงวัฒนธรรม
reinterpretation 2

Rehabilitation

Assistant Professor Thitiwoot Chaisawataree Fields Architectural conservation; Ecological approach in architecture Methods Project-based learning; Design process

Module 5 Re-formality
จากวัตถุประสงคของการเรียนรูเนื้อหาทางสถาปตยกรรมและบริบทพื้นที่เกี่ยวกับรูปแบบ และการใชงานของสถาปตยกรรมเดิมเพื่อกำหนดแนวทางการออกแบบปรับปรุงสถาปตยกรรมรวมกับ การออกแบบสถาปตยกรรมใหม โดยใชเทคนิคแนวคิดและวิธีการออกแบบสถาปตยกรรมที่สามารถ นำไปสูการเชื่อมโยงรากฐานและพัฒนาการทางสถาปตยกรรมที่ผสมผสานระหวางความเกาและ ความใหมในบริบทปจจุบันได กระบวนการคิดและการออกแบบในเนื้อหาของกลุมจะตองอาศัยการศึกษาคนควาและ การสำรวจเพื่อใหเขาใจบริบททางสถาปตยกรรมอยางถองแทเพื่อนำไปสูการกำหนดโปรแกรมหรือ ลักษณะของโครงการที่ชัดเจน ซึ่งงานนิสิตในกลุมอยูในเกณฑดีถึงดีมาก โดยเฉพาะการศึกษาและ ทำความเขาใจกับงานสถาปตยกรรมเดิมและบริบทรอบดานโครงการเพื่อเสนอแนวทางและวิธีการ ออกแบบสถาปตยกรรมใหมที่ยังคงเห็นความเชื่อโยงและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม แตเนื่องจากเนื้อหาของกลุมมีความเฉพาะอาจทำใหงานออกแบบบางโครงการไมสามารถตอบสนอง การเรียนรูไดตามวัตถุประสงคที่ตั้งใจไว แมวาจะไดงานออกแบบสถาปตยกรรมที่นาสนใจ
in Architectural
Instructor

and Ecology Instructor Assistant Professor Thitiwoot Chaisawataree Fields Architectural conservation; Ecological approach in architecture Methods Project-based learning; Design process

Module 6
จากวัตถุประสงคของการเรียนรูทางดานเนื้อหาของงานสถาปตยกรรมที่จะตองเชื่อมโยง อาศัย และแทรกตัวอยูกับสภาพแวดลอมธรรมชาติเพื่อสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมในพื้นที่ไดอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการการอนุรักษรักษาและการใชทรัพยากรที่มีอยูในพื้นที่อยางเหมาะสมและยั่งยืน อีกทั้งวิถีชีวิตความเปนอยูคติความเชื่อและการปฏิบัติตัวยังสะทอนใหเห็นการอยูรวมกับธรรมชาติ ซึ่งการออกแบบงานสถาปตยกรรมมีความจำเปนที่จะตองรักษาและตีความองคประกอบทั้งหมดนี้ ออกมาไดอยางเปนรูปธรรมไดในเนื้อหาของกลุมนิสิตแตละคนมีประเด็นสนใจที่เกี่ยวของเชื่อโยงกับสภาพแวดลอมและ ทรัพยากรในพื้นที่ที่มีความตางกัน ซึ่งบางสวนเปนการออกแบบเพื่อสงเสริมคุณคาและรักษาทรัพยากร ทางธรรมชาติ รวมทั้งวิถีชีวิตความเปนอยู โดยใชงานสถาปตยกรรมเปนตัวขับเคลื่อน อีกสวนเปนการ นำทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่มาใชประโยชนกับกิจกรรมที่ตอบสนองความตองการของคนในดานตางๆ โดยกำหนดเปนโปรแกรมใหม แตทั้งหมดจะตองคำนึงถึงการเลือกใชวิธีการในการออกแบบงาน สถาปตยกรรมอยางเหมาะสม ซึ่งโดยภาพรวมแลวงานนิสิตโดยรวมอยูในเกณฑพอใชถึงดี โดยขอสังเกต หนึ่งที่เปนปญหาหรือขอจำกัดของบางโครงการคือการกำหนดรูปแบบและเทคนิคทางดานงานโครงสราง ของงานสถาปตยกรรมที่ยังไมสามารถเชื่อมโยงหรือประสานไปกับสภาพแวดลอมไดอยางลงตัวและ ยังขาดการคิดเรื่องรายละเอียดตางๆ ของการนำทรัพยากรมาใชเปนสวนสำคัญของโครงการมากกวา การใหรูปแบบของสถาปตยกรรมเปนใหญกวา
Re-formality in Architectural

High Rise Condominium, Office Building และการใชประโยชนอื่นๆ เชน มหาวิทยาลัย, โรงเรียน,วัด, ตึกแถว และ ลอนเทนนิส สมาคม โดยแงมุมในการศึกษาพัฒนายานเมืองทองของ

Module 7 Re-Formality: A New Third Place in Satellite City (Muang Thong Thani) Instructor
ในโมดูลที่ 7 และ 8 นี้ ไดใชเมืองทองธานีแจงวัฒนะ เปน Contextual Background เพื่อการศึกษาและพัฒนา โดยเมืองทองธานีแจงวัฒนะซึ่งเปรียบเสมือนเปน satellite city ของ กรุงเทพมหานคร มีองคประกอบความเปนเมืองใหญที่ครบถวนอยูแลว มีขอบเขตและความหลากหลาย ของบริบทที่เหมาะสม ในการเริ่มตนของโครงงาน นิสิตไดรับโอกาสใหลงพื้นที่จริง รับทราบถึงประวัติ ที่มาของเมืองทองธานี ศึกษาถึงการใชพื้นที่ในบริเวณตางๆ อาณาเขตของเมืองทองแจงวัฒนะ ดานทิศใตเชื่อมตอกับถนนแจงวัฒนะ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือเชื่อมถนนติวานนท ทิศตะวันออก ติดถนนเลียบคลองประปา พื้นที่หลักๆจะถูกแบงออกเปน 2 ฝง ดวยแนวทางพิเศษอุดรรัถยา และ อนาคตรถไฟฟาสวนตอขยายสายสีชมพู ฝงทิศตะวันออกจะเปนพื้นที่ Commercial และ High Density Residential ประกอบดวยศูนยประชุม, หางสรรพสินดา,
ฝงทิศตะวันตกสวนใหญเปนบานเดี่ยว,
2 modules นี้จะศึกษาประเด็นรายละเอียด โดยอางอิงจากโครงงานวิทยานิพนธของนิสิต การเรียนรูในการสรางประเด็นทางสถาปตยกรรมผานทาง แนวความคิดและปรัชญาที่เกี่ยวกับเมือง เชน นิสิต Module 7 ศึกษาผานแนวคิดเรื่อง Third Place และนิสิต Module 8 ศีกษามุมมองของเมืองผานหนังสือ Learning from Las Vegas และฝกฝน การมองภาพสถาปตยกรรมผาน Social Media และสื่อใหม ประเด็นในการออกแบบที่นิสิตไดใหความสนใจและสืบคนตามการอางอิงจากองคความรู และขอบเขตการศึกษาจากที่กลาวมาดานบนประกอบดวย 1) ปญหาของเมือง เชน คุณภาพชีวิตในเมืองที่มีความหนาแนนสูง ปญหาน้ำทวม และ การระบายน้ำฝน โครงงานที่นิสิตนำเสนอคือ o Re-formality: Popular Condominium โดย นายเปรื่องบุญ วีระศร ปรับปรุงและพัฒนา Popular Condominium ที่เปนที่อยูอาศัยความหนาแนนสูง โดยเพิ่ม พื้นที่สาธารณะใหเปนสวนหนึ่งกับอาคารเดิมและปรับปรุงผนัง Facade โดยเพิ่มพื้นที่ใหแตละ Unit สำหรับกิจกรรมที่สามารถปรับแตงใหเขากับผูอยูอาศัยในปจจุบันและอนาคต o The common Muang Thong Thani โดย นายภคพงษ วงศวรรณวัฒนา นำเสนอแนวทางการจัดการปญหาน้ำทวมในจุดที่มีน้ำทวมสูงที่สุดในเมืองทองแจงวัฒนะ โดยสรางโปรแกรมเพื่อเติมเต็มใหเกิดกิจกรรมที่ขาดหายในเมือง o Popular Condominium Recreation Center โดย นางสาวอรณิชา ศรีศรกำพล แกปญหาการขาดแคลนพื้นที่สันทนาการและพื้นที่สวนกลางในบริเวณ Popular Condominium โดยปรับปรุงพื้นที่สาธารณะเดิมใจกลางพื้นที่ Condominium ใหตอบรับกับปริมาณ คนและกิจกรรมทั้งปจจุบันและอนาคต 2) พัฒนาพื้นที่รกรางและขาดคุณภาพใหตอบสนองการใชสอยในยุคปจจุบันและอนาคต เพื่อสรางใหเกิดการเปน Sustainable Community เพื่อไมใหเกิดการสิ้นเปลืองในการใชทรัพยากร
Yuthadanai Somjitchob, CHAAN A&D Fields Professional practice; Sustainable in architecture; Workplace design Methods Project-based learning; Design process
Outlet Malls, Popular Condominium และ Office Building
Module 8 Re-Formality: Learning
Las
Beyond Architectural Symbolism Instructor
o Street Culture Space โดย นางสาวศุภนุช ศรคุม ใชโอกาสจาก Condominium รางในเมืองทองที่มีการแอบใชโดยศิลปน Graffiti ใหเกิด เปนพื้นที่กิจกกรมทางศิลปะใหมในเมือง o Muang Thong Cycling โดย นายชนพงศ ใชประโยชนพื้นที่ทิ้งรางใตทางดวนใหเกิดประโยชนพูนเฉลียวเชื่อมตอ node สำคัญเชนสถานีรถไฟฟา ในอนาคต เขากับโครงขายสันทนาการของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร 3) พัฒนาใหเกิดพื้นที่สวนกลางของเมืองที่สามารถเชื่อมตอสวนตางๆ ของเมืองใหสมบูรณ มากยิ่งขึ้น และสงเสริมกิจกรรมของเมืองที่หลากหลาย ใหเกิดเมืองที่นาอย โดยใชบริบทเดิมเปนตัวตั้งตน และสรางเงื่อนไขใหสัมพันธกับโครงการวิทยานิพนธหรือโครงการที่สนใจ o Extreme Sport Center โดย นายปฎิภาณ หมื่นอาจ ใชประโยชนจากทะเลสาบใหเกิดกิจกรรมใหมที่สามารถใชงานไดจากทั้งสองฝงของเมืองทองธานี o Fashion Incubate and Creative Space โดน นายอาชวิน กานตานนท สรางโปรแกรมที่เชื่อมกิจกรรมและการใชสอยในพื้นที่เดิมที่เปน Fashion Outlet Mall, หางสรรพสินคา, มหาวิทยาลัย และ Condominium ใหเกิดกิจกรรมใหมเพื่อสงเสริมใหเกิดความ หลากหลายในบริบท o Nursing Home and Memory Care โดย นายภพธร พฤกษปติกุล สรางโปรแกรมเพื่อสนับสนุนใหผูสูงอายุในพื้นที่ที่ไมมีคนดูแลในชวงกลางวันและเปนที่พักประจำ สำหรับผูปวยความจำเสื่อม 4) ความสัมพันธของเมืองสองฝงที่ถูกตัดขาดดวยระบบถนนทางยกระดับและระบบขนสง สาธารณะขนาดใหญ สรางเงื่อนไขของโครงการใหสัมพันธกับพื้นที่บริเวณชายขอบของทั้งสองฝงโดยใชโครงงานวิทยานิพนธหรือนำเสนอกิจกรรมหรือธุรกิจใหมเปนตัวตั้งตน o Herbal Medicine: Medical Center โดย นางสาวณัฐมน สืบพิมาย ศูนยการแพทยสมุนไพรทางเลือก ใชประโยชนจากพื้นที่ริมทะเลสาบ เพื่อสรางใหเกิดกิจกรรม ที่สงเสริม Healthy Activities เพื่อการปองกันนอกเหนือจากการรักษา o Museum of Diversity โดย นายศดิศ ชางจันทร พิพิธภัณฑความขัดแยง ตั้งบริเวณริมทะเลสาบเชื่อมตอกับสถานีรถไฟฟา(ในอนาคต) และ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร o Elderly Home โดย นายสุเมธ จงจิรพงษ บานพักผูสูงอายุริมทะเลสาบ พัฒนาพื้นที่ริมทะเลสาบใหเปนที่อยูอาศัยของผูสูงอายุ o Buffalo Learning Center โดย นาย ณัฐนน กิตติรัตนรังสี ใชประโยชนพื้นที่ติดกับสวนสมเด็จพระศรีนครินทรและเปนพื้นที่ทุงนาเดิม ผานการเลาเรื่อง ที่สัมพันธกับประวัติศาสตรการใชควายและประโยชนในดานอื่นๆเชนพลังงาน o The Bay Community Center โดย นางสาว บุญสิตา ศรีภา สรางพื้นที่สวนกลางริมทะเลสาบใหคนจากทั้ง 2 ฝงของเมืองทองไดใชประโยชน
from
Vegas Revisited—
Yuthadanai Somjitchob, CHAAN A&D Fields Professional practice; Sustainable in architecture; Workplace design Methods Project-based learning; Design process
Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces | Space Syntax: Re-formality of Urban Interstices Typological reinterpretation 1 | Typological reinterpretation 2 Re-formality in Architectural Rehabilitation | Re-formality in Architecture and Ecology Re-Formality: A New Third Place in Satellite City (Muang Thong Thani) | Re-Formality: Learning from Las Vegas Revisited—Beyond Architectural Symbolism
Learning and Community Center ชุมชนบางขุนไทร บานแหลม จังหวัดเพชรบุรี Charinee CHAICHANA | นางสาวชารินี ชัยชนะ ชุมชนตำบลบางขุนไทร เปนชุมชนเกาแกมีอายุยาวนานกวา 200 ป ประกอบดวยคน หลายเชื้อชาติ ทั้งจีนแตจิ๋ว มลายู ลาวเวียง และไทย ตำบลบางขุนไทรนั้นมีผืนปาชายเลนที่มีความ หลากหลายของระบบนิเวศสูง เปนแหลงกำเนิดหอยแครงธรรมชาติแหลงใหญที่สุดของประเทศไทย แตเดิมผูคนไดพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และสรางระบบเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเอง บริเวณในพื้นที่บางขุนไทรมีการใชงาน 3 สวนหลักๆ จะเปนพื้นที่ทางดานใกลปากทะเล Commercial zone เปนพื้นที่รวมกลุมวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น และเพื่อนำสงสินคาประมงตอพอคาคนกลาง Residential zone สวนใหญทำอาชีพประมงและการหาหอยเปนหลักของชุมชนนี้ ความตองการ ในพื้นที่ยังขาดพื้นที่ Tourism ในการรองรับกิจกรรมในชุมชนและการทองเที่ยว จึงไดเล็งเห็นพื้นที่ โครงการที่จะนำมาสงเสริมกิจกรรมความเปนอยูในชุมชน พื้นที่ตัวโครงการเปนพื้นที่โลง มีถนนตัดผานของคนในพื้นที่ 3 เสนทาง คือพื้นที่ถนนหลัก พื้นที่ถนนรองของคนในุมชน พื้นที่ทางเรือออกปากทะเล สวนบริเวณขาง Site เปนโรงงานแปรรูปประมง มีการปดบังตัวเองและยังมีกระบวนการที่ยังไมไดมาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) หลักเกณฑวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ตัวโครงการจึงไดนำเสนอถึงโปรแกรมสถาปตยกรรมที่ทำหนาที่ ในการรองรับชวงเวลาการรวมกลุมถายจำนวนการเขาถึงแทนบริเวณพื้นที่ศาลเจาที่มีการเขาถึง หนาแนนและการ re-process ในตัวโรงงาน เพื่อเปดรับใหคนภายนอกเขามาโดยมีบทบาทเปนพื้นที่ Learning และ Community ใหคนในชุมชน (Processing factories and Fishing tourism center) สวนตัว Program ในตัวโครงการจะเปนเรื่องของ Cultural รองรับกิจกรรม Cooperative / Fishing OTOP products พื้นที่เปดโอกาสชุมชนและ Learning Workshop Meeting สงเสริมคนภายนอก เขามาเรียนรู ความเปนมา วิถีชีวิตชุมชน Museum เปนตัวเลาความสำคัญและการยกยองบุคคล กลุมอนุรักษ ชั้นลางเปดเปนโถงโลง โดยมีแนวคิดมาจากใตถุนบานของชุมชน การเปดพื้นที่ในการเปน พื้นที่ public space และการสรางแกนมุมมองใหเห็นถึงตัวปากทะเลและพื้นที่ศาลเจาใหมีการเชื่อมตอ ถึงกันอยูเมื่อมีกิจกรรม โครงสรางอาคารตัวโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑชุมชนใชเปนโครงสรางเหล็ก Long span และการใช วัสดุผนังเปน polycarbonate ในการเปดรับแสงและทำใหตัวอาคารดูเบา โปรงแสง สวนอาคารรองรับนักทองเที่ยว/ชุมชน จะใชโครงสรางแบบผสม คือชั้นลางใชโครงสรางคอนกรีต เสริมเหล็ก ชั้นบนใชโครงสรางไม เพื่อสะทอนความเปนชุมชนและบริบทรอบขาง
CIVIC CENTER ลานคนเมือง เขตพระนคร Tanaporn PANSI | นางสาวธนภรณ พันธสี ปจจุบันกรุงเทพฯมีปริมาณพื้นที่สาธารณะที่ไมเพียงพอและจำเปนที่จะตองเพิ่มเพื่อให เพียงพอตอประชากร และพื้นที่สาธารณะสวนใหญในประเทศไทย โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ มีความ กีดกันเฉพาะกลุมและจำกัดการเขาใชอยูมาก หลายพื้นที่ที่เรียกวาเปนพื้นที่สาธารณะสำคัญของเมือง เชน ลานคนเมือง ลานหนาศูนยการคาขนาดใหญหลายแหง ฯลฯ คนบางกลุมบางประเภทมักไมได “รับอนุญาต” ใหเขาใช หรืออีกนัยหนึ่ง พื้นที่เหลานี้อาจไมไดเปนพื้นที่สาธารณะสำหรับทุกคน อยางแทจริง ถึงแมจะเปนพื้นที่รองรับกิจกรรมสำคัญ โดยเฉพาะพิธีกรรม พิธีการ กิจกรรมเชิงพาณิชย หรือนันทนาการ แตก็ไมไดเปดโอกาสใหคนที่ตองการทำกิจกรรมอีกหลายอยางมากมายที่เปนไปได ในเมืองเขาใชพื้นที่ดวย เกิดปญหาการขาดแคลนพื้นที่สำหรับแสดงออกบนพื้นที่สาธารณะ กรุงเทพฯ จึงกำลังขาดแคลนพื้นที่สาธารณะและขาดพื้นที่แสดงออกทางการเมืองเปนเวลานาน และพื้นที่สาธารณะ ที่มีอยูแลวก็ไม Practical ทั้งคุณภาพและฟงกชั่นของพื้นที่สาธารณะที่มีอยุแลวและของใหมที่ตองเพิ่ม ดังนั้นเราจะสามารถทำใหพื้นที่สาธารณะที่มีอยูแลว Practical ไดมากกวานี้ไดอยางไร โดยพื้นที่ สาธารณะที่สนใจคือ “ลานคนเมือง” เขตพระนคร ซึ่งในปจจุบันกรุงเทพฯ มีนโยบายประกาศพื้นที่ เพื่อใชในการชุมนุม ซึ่งเปนพื้นที่เชิงนโยบายที่จะเปนพื้นที่ทางประชาธิปไตยและพื้นที่สาธารณะ ของเมือง โดย กทม. มีแผนยายศาลาวาการ 1 เสาชิงชา ไปยังศาลาวาการ 2 เขตดินแดง โดยศาลา วาการ 1 เสาชิงชา จะถูกปรับเปลี่ยนเปนพิพิธภัณฑเมือง ที่จากเดิมเปนที่จอดรถขาราชการจะโลงขึ้นทั้งบนลานและใตดินจึงทำใหในอนาคตพื้นที่บนลานและใตดิน บทบาทของลานคนเมืองในอดีตเคยเปนทั้งตลาดเสาชิงชา
และเปนลานอเนกประสงค (2498) ซึ่งเปนพื้นที่สาธารณะที่ประสบความสำเร็จทั้งการใชงานและโปรแกรม แตพอพื้นที่นี้ ถูกปรับเปลี่ยนเปนลานคนเมืองกลับไมประสบความสำเร็จทั้งฟงกชั่นการใชงานและโปรแกรม กลายเปน เพียงพื้นที่เปลี่ยนผานและที่จอดรถของขาราชการ เราจึงไมคอยเห็นลานคนเมืองมีการใชงานอยางคึกคัก หรือใชประโยชนไดอยางเต็มที่ หากมีกิจกรรมก็เปนกิจกรรมที่รัฐหรือ กทม. จัดให แตไมคอยมีกิจกรรม ที่ประชาชนจะออกมาใชพื้นที่บนลานกันเอง และบทบาทของลักษณะกายภาพของลานกลายเปนเพียง หลังคาจอดรถใตดิน จึงไมสามารถที่จะทำอะไรบนพื้นที่นี้ไดมากนัก แตลานคนเมืองมีศักยภาพทั้งเปน Network ของพื้นที่สาธารณะ และมีศักยภาพในการมองเห็นและเขาถึงสูง และเปนพื้นที่สาธารณะ ที่อยูใจกลางเมือง แตจากการสำรวจจะพบวาผูคนมักไปใชพื้นที่ everyday space ในพื้นที่สาธารณะ อื่นมากกวาตัวลาน ดวยลักษณะทางกายภาพของลานที่มันไมเอื้อใหเกิดกิจกรรม everyday space เปน hardscape ไมมีโครงสรางบังหรือสิ่งที่ใหรมเงา จึงทำใหลานคนเมืองเปนเพียงพื้นที่เปลี่ยนผาน ของผูคนมากกวาพื้นที่ที่คนตั้งใจจะมาทำกิจกรรมแบบ everyday space แตดวยความที่ลานมีศักยภาพ ในการเปนพื้นที่สาธารณะที่ดีสูง จึงเสนอการเปลี่ยนบทบาทของลานเปนพื้นที่ลานคนเมืองจึงมีศักยภาพที่จะเปนพื้นที่ที่ไมใชแคพื้นที่สาธารณะใดๆ Civic space ของเมือง พื้นที่สาธารณะที่คนทุกกลุมสามารถ แสดงออกทางความคิดบนพื้นที่นี้ไดทุกรูปแบบ หลากหลายเวลา และเปนพื้นที่เชื่อมปฎิสัมพันธของผูคน ในพื้นที่ เชื่อมกับบริบทเมือง และสามารถใชงานหลายกิจกรรมไดในพื้นที่นี้ ไมวาจะมีกิจกรรม event การแสดงออกพื้นที่นี้ก็สามารถที่จะเปนพื้นที่สำหรับกิจกรรม everyday space ของคนในยานนี้ได จึงเปนการสรางความเปนไปไดใหมๆ ของพื้นที่ Civic space ของเมือง
(2444)
Housing in Bridge สะพานเขียว ชุมชนโปโล และชุมชนรวมฤดี Preechaya CHANMAK | นางสาวปรีชญา จันทรมาก อนาคตพื้นที่ชุมชนที่เชาอยูบนพื้นที่ของสำนักงานทรัพยสินฯ อาจถูกขึ้นคาเชา หรือถูกไลรื้อ เพื่อพัฒนาที่ดินใหคุมคา โดยไดเลือกชุมชนโปโลและชุมชนรวมฤดีในการทดลองศึกษาและออกแบบ ที่พักอาศัยเพื่อรองรับการอยูอาศัย การเชาของคนในชุมชน และผูเชารายใหมที่มีรายไดนอย เชน คนงานตามไซตกอสรางบริเวณสวนเบญจกิตติและถนนพระรามสี่ การทดลองศึกษาและออกแบบไดเลือกสะพานเขียวที่ตัดผานชุมชนเปนพื้นที่ออกแบบ โดยสะพานเขียวเดิมเปนเพียงเสนทางในการสัญจร ไมมีการเชื่อมตอกับพื้นที่ชุมชน และก็มีการเขาถึง ที่ยาก คนในชุมชนยังมีการปรับเปลี่ยนและเพิ่มประโยชนใชสอยใตสะพานใหเปนรานคาและอื่นๆ โดยตำแหนงการใชงานใตสะพานจะเปนเงื่อนไขในการเลือกตำแหนงของชวงสะพานในการออกแบบ และทำการออกแบบพื้นที่ใต/บนสะพานใหมใหตอบสนองวิถีชีวิตและความเปนอยูมากขึ้น โดยแบงพื้นที่ เปนสองสวน สวนแรกคือ พื้นที่ชั้นลางจนถึงชั้นสองที่เปน skywalk ของสะพานเขียวจะเปน community space และ urban flow access จะมีการสรางระดับที่แตกตางกันเพื่อเพิ่มเนื้อที่ของที่วางมากขึ้น และ สวนที่สองคือ การออกแบบพื้นที่เหนือสะพานเขียวจะเปน housing space สำหรับผูมีรายไดนอย ประเภทของ housing จะมีสองประเภทซึ่งมีที่มาจากเงื่อนไข
และระดับความสูงที่เหนือพนจากบานใกลเคียง และ การประกอบ unit ของ housing ยังคำนึงถึงเรื่องโครงสรางที่ตองมีความสมมาตรและเวนชองวางเพื่อ เชื่อมตอกับพื้นที่ community space ใหมีปฏิสัมพันธกัน นอกจากนั้นยังเชื่อมตอกับบริบทและสราง open space อีกทั้งเพิ่ม access ใหมากขึ้น เพื่อใหคนในพื้นที่สัญจรสะดวกมากขึ้น โดยมีเปาหมาย เพื่อเชื่อมตอพื้นที่เศษกิจกรรมในชุมชน สรางสภาพแวดลอมและพื้นที่ใชสอยใหเหมาะสมและตอบโจทย กับกลุมคนที่หลากหลาย
existing ที่มีสายไฟจากเสาไฟฟาแรงสูง บนสะพาน ระยะการยื่นที่ไมไปบดบังถนนดานลาง
Bangkapi Lifestyle Mall วิถีชีวิตคนเมืองยานบางกะปกับโครงขายรถ-ราง-เรือและการเดินเทา Piratch INTARACHAI | นายพิรัช อินทรชัย โครงการ Bangkapi Lifestyle Mall มีแนวคิดในการสรางความเปนอัตลักษณของพื้นที่ ที่แสดงถึงวิถีชีวิต ตอบสนองการใชประโยชนของวิถีชีวิตคนเมือง ยานบางกะป โดยโครงการนี้จะ ปรับตัวใหสอดคลองกับกระแสการเดินทางทั้งทางเดินเทา การเชื่อมตอกับ Transportation node ตางๆ อยางเชน ปายรถโดยสารประจำทาง, ทาเรือคลองแสนแสบ, BTS สายสีน้ำตาล โดยพื้นที่ยาน บางกะปเปนจุดเชื่อมตอสำคัญเปนบริเวณรอยตอในการเชื่อมตอกรุงเทพฯ ฝงตะวันออกและตะวันตก เชื่อมตอพื้นที่ทางประวัติศาสตร (ตะวันตก) และพื้นที่ทางอุตสาหกรรม (ตะวันออก) เขาหากัน และ เปนพื้นที่ผสมผสานระหวางวัฒนธรรม 2 ศาสนา คือ พุทธและมุสลิม ซึ่งมีจำนวนประชากรอยูเปน จำนวนมาก จึงจะเห็นไดถึงความสัมพันธของกิจกรรมทางศาสนาและทางเศรษฐกิจ โดยตัวโครงการ จะเปนพื้นที่รองรับกิจกรรมที่ขาดหายไปที่ไปตอบสนองตอวิถีชีวิตคนในยานซึ่งมีลักษณะกิจกรรมในชวง เวลาเชาเขาสูเมืองเพื่อทำงานโดยใช Transportation node และชวงเวลาเย็นกลับเขาที่พัก ซึ่ง 85% ของพื้นที่เปนที่อยูอาศัยแนวตั้งซึ่งทำใหกิจกรรมทางสาธารณะขาดหายไป เชน
เพื่อตอบสนองตอวัตถุประสงคบางประการ ในบางโอกาสและชวงเวลา เชน กิจกรรมการรวมตัวกันในวันสำคัญทางศาสนา
เพื่อที่จะเดินทางตอไปทำกิจกรรมตางๆ ในยาน เนื่องดวยในรัศมี 5 กิโลเมตรโดยรอบสถานี มีกิจกรรม ที่หมุนเวียนในพื้นที่สำคัญตลอดทั้งป Bangkapi Lifestyle Mall จึงออกแบบมาเพื่อตอบสนองตอ Lifestyle ของยาน และผนวกรวมไปกับอัตลักษณวัฒนธรรมของพื้นที่
พื้นที่พักผอนหยอนใจ พื้นที่พบปะสังสรรคกับครอบครัว สังสรรคในชวงเวลาหลังเลิกงาน พื้นที่ออกกำลังกาย co-working space รวมถึงพื้นที่รวมตัวกันของ community
การเปนพื้นที่รวมตัวกัน
01240514 Architectural Design VIII | Re-formality | First Semester, Academic Year 2022
Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces | Space Syntax: Re-formality of Urban Interstices Typological reinterpretation 1 | Typological reinterpretation 2 Re-formality in Architectural Rehabilitation | Re-formality in Architecture and Ecology Re-Formality: A New Third Place in Satellite City (Muang Thong Thani) | Re-Formality: Learning from Las Vegas Revisited—Beyond Architectural Symbolism
Reprogramming of Mega Plaza เมกา พลาซา สะพานเหล็ก Sirirat CHATPRASOP | นางสาวสิริรัตน ชาติประสพ โครงการเพื่อศึกษาหาความเปนไปไดในการพัฒนาอาคาร เมกา พลาซา สะพานเหล็ก ที่เปนศูนยรวมของการขายของเลนและเกม เพื่อใหเกิดการใชงานอาคารในดานการขายอยางมี ประสิทธิภาพและตอบรับกับพฤติกรรมของกลุมผูใชงานซึ่งเปนกลุมเฉพาะ คือนักสะสม และสามารถ ขยายฐานไปยังกลุมนักเลนเกมสออนไลนที่ปจจุบันไดรับความนิยมและสามารถทำรายไดใหกับ โครงการเพิ่มมากขึ้น ในการเริ่มตนพัฒนาไดเก็บโครงสรางบางสวนของตัวอาคารไวคือสวน Service ดานทิศ ตะวันตกที่ติดกับตึกแถวดานหลัง และไดทำการแบงตัวฟงกชั่นดานในใหแยกเปน 3 สวนหลักๆ ตามลักษณะของพฤติกรรมของผูซื้อและประเภทของสินคา ไดแก 1) สวนของ Figure/Model/ และของสะสมอื่นๆ 2) สวนของการดเกม และ 3) สวนของกีฬา E-Sport และฟงกชั่นเสริมอื่นๆ ที่เพิ่มเขามา ทำใหเห็นวาหางเมกา พลาซารูปแบบใหมนี้ สามารถตอบรับกับความตองการของ กลุมนักเลนเกมและนักสะสมได เมื่อแยกฟงกชั่นแนวทางในการออกแบบจึงคำนึงถึง การทำใหแตละฟงกชั่นมองเห็น กันไดทั้งในตัวอาคารเองและจากดานนอกโครงการที่มองเขามา การเพิ่มพื้นที่ใหกับชุมชนที่อาจ มีสวนรวมกับโครงการ และการทำใหผูใชในแตละ towerสามารถเห็นและเรียนรูกิจกรรมของ กันและกันได นอกจาก tower ของทั้งสามกิจกกรรมหลัก ยังเพิ่มในสวนของสนามแขงและทดลอง รถวิทยุบังคับชั้น Rooftop และสวน Arena hall ที่ดานบนเพื่อรองรับการแขงขันหรือกิจกรรมตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต อีกทั้ง Façade ยังออกแบบเพื่อใหเขากับกิจกรรมของ เมกา พลาซาที่เปน สถานที่ขายของเลน หุนยนต เพื่อบงบอกถึงเอกลักษณของกิจกรรมหลักของโครงการ

E-Sport Arena

Ground Floor Traning room

Page 4/4 6111201026 Sirirat Chatprasop
Connecting pathway
Home, temple, and school at Wat Dusidaram Worawiharn “บวร” ณ วัดดุสิดารามวรวิหาร Pattrakarun KOJANAT | นายภัทรการัณย โกญจนาท ประเทศไทยในอดีตนั้น มีการตั้งถิ่นฐานติดกับแมน้ำโดยปรกติ เนื่องจากเปนการสัญจรหลัก และมีการประกอบอาชีพอยางการประมงในแมน้ำ ซึ่งในภายหลังจะเกิดจากเชื่อมโยงกับศาสนามากขึ้น ตามยุคสมัย จึงเกิดเปนวัดที่สรางขึ้นทามกลางชุมชน โดยในเวลาตอมาวัดไดมีความสำคัญมากขึ้น จนกลายเปนพื้นที่สาธารณะของชุมชนไป ทั้งการเปนโรงเรียน ศาลตัดสินความ หรือแมแตโรงพยาบาล เองก็ตาม ทำใหวัดกลายเปนสวนสำคัญที่ขาดไมไดในสังคมไทย จึงกลายมาเปนคำกลาววา “บวร” หรือ บาน วัด โรงเรียน ที่ทำให ชุมชน กลายเปนชุมชนที่สมบูรณได แตเนื่องจากในปจจุบันมีหลาย องคประกอบที่ทำใหวัดและชุมชนไมเชื่อมตอกัน เชน การหมดความศรัทธาหรือการเวนคืนที่ดินก็ตาม จึงเกิดเปนความตองการที่จะปรับปรุงโครงการของวัดดุสิดารามวรวิหาร ใหกลายเปน “บวร” ได อีกครั้งหนึ่ง ภายในวัดดุสิดารามวรวิหาร ประกอบไปดวย 2 ชุมชนคือ ชุมชนหนาวัดและชุมชนหลังวัด, 2 โรงเรียน คือโรงเรียนวัดดุสิตารามฝายมัธยมและประถม,วัดภุมรินทรราชปกษีกับวัดนอยทองอยู ที่เปนวัดราง และวัดหลักคือวัดดุสิดารามวรวิหาร โดยที่ทางวัดนั้นมีแผนการรื้อถอนชุมชนหนาวัด อยูแลว แตชุมชนไดเจรจาขอยายเขาอยูในหอพักที่อยูขางกัน ซึ่งเปนพื้นที่ของวัดดุสิดารามวรวิหาร เชนกัน และไดรื้อถอนอูเรือขนาดใหญที่อยูติดกับแมน้ำเจาพระยา จึงมีพื้นที่เปดโลงบริเวณริมน้ำ ที่สามารถรับนักทองเที่ยวเขามาในโครงการเพิ่มเติมได และไดยายกุฏิพระใหมีความเชื่อมตอกับ บริเวณอื่นๆของวัดมากขึ้น โดยโครงการนี้มุงเนนใหคนในชุมชน คนในโรงเรียน และคนที่ใชงานในวัด ไดใชพื้นที่ตางๆ รวมกัน และชวยใหคนในชุมชนไดประกอบอาชีพเพื่อรองรับนักทองเที่ยวที่จะเขามา ภายในตัวโครงการได
Bang Khun Non Intersection แยกบางขุนนนท Kunchanok NGAMKHAM | นางสาวกัณฐชนก งามขำ แยกบางขุนนนท เปนจุดบรรจบของถนนจรัญสนิทวงศและถนนบางขุนนนท ซึ่งอยูในพื้นที่ ระหวางกรุงเทพฯ ชั้นในและกรุงเทพฯ ชั้นนอก ประวัติของบางขุนนนทนั้นเดนในเรื่องสวนผลไม เชน ทุเรียนบางขุนนนท ซึ่งในปจจุบันพื้นที่ยานบางขุนนนท มีบทบาทเปนบริเวณที่พักอาศัยหนาแนน และการคาขายแบบชุมชนดั้งเดิม รวมทั้งเปนสถานียอยของรถไฟอีกดวย พื้นที่บริเวณบางขุนนนท มีเอกลักษณเปนรานอาหารชื่อดัง เชน รานกวยเตี๋ยวตมยำ รานลูกชิ้นปลานายเงี๊ยบ เปนตน ผูคน ในชุมชนสวนใหญจะเดินทางเขาไปทำงานในเมือง โดยรถเมล รถสองแถว รถกะปอ เปนจำนวนมาก เมื่อความเจริญเริ่มแผขยายเขามาในบริเวณชานเมืองมากขึ้น ทำใหเริ่มมีการสราง โครงการรถไฟฟาสวนตอขยายสายสีน้ำเงินฝงเตาปูน-ทาพระซึ่งผานถนนจรัญสนิทวงศและผานยาน บางขุนนนท ทั้งการเชื่อมตอทั้งเหนือดินจึงเล็งเห็นศักยภาพของบริเวณแยกบางขุนนนทวามีศักยภาพดานการเชื่อมตอสูงมาก บนดิน และกำลังจะมีรถไฟเชื่อมตอทางใตดิน
สถาปตยกรรม จะสามารถสนับสนุนศักยภาพเหลานี้ไดอยางไรบาง
ทำใหเกิดจราจรติดขัด และมีปญหา เรื่องมลพิษอื่นๆ ตามมา ดังนั้น จึงเริ่มจากการจัดการกับระบบขนสงสาธารณะเปนอยางแรก เพื่อให เกิดเปนศูนยการเชื่อมตอขนาดยอม (URBAN TRANSIT) เพื่อมารองรับกิจกรรมของผูคนในชุมชน ใหเกิดความสะดวกสบายมากขึ้น โดยจัดหาโปรแกรมที่สอดคลองกับ USER ไดแก นักเรียน พนักงาน ออฟฟศ เจาหนาที่และบุคลากรจากโรงพยาบาลศิริราช และนักทองเที่ยวซึ่งมาจากการวิเคราะห USER ในอนาคต ซึ่งโปรแกรมจะแบงออกเปน 3 สวนใหญๆ ไดแก สวน PLAZA&FOOD COURT สวน STUDENT HUB และสวน SERVICE APARTMENT
จากศักยภาพของพื้นที่บริเวณนี้ทำใหเกิดคำถามทางสถาปตยกรรมวา
เนื่องจากในปจจุบัน พื้นที่เกือบทั้งหมดเปนที่ตั้ง ของตึกแถว ระบบสัญจรที่มีในปจจุบันก็มีการเบียดเสียดกัน
Trekking schoolโรงเรียนนักเดินปา Thirachart TADDEE | นายธีรชาติ ทัดดี “การเดินปาไมใชการเขาไปเพื่อลำบาก แตเปนการเขาไปสัมผัสและเรียนรู โดยมีธรรมชาติเปนหองเรียน” หากเปลี่ยนทัศนคติที่วามนุษยเปนสิ่งแปลกปลอมเมื่อเขาสูธรรมชาติเปน ‘มนุษยเปนสวนหนึ่ง กับธรรมชาติ’ จะพบวามนุษยนั้นมีอิทธิพลอยางมากในการเรียนรู ทำลาย และอนุรักษธรรมชาติ สิ่งที่ โปรเจคนี้ทำคือการเรียนรูธรรมชาติผานสถาปตยกรรม “ขอมูลการเดินปาและระบบนิเวศปาไมหาในอินเทอรเน็ตก็ได แตสิ่งที่ในนั้นไมมี อยูใน สถาปตยกรรมชิ้นนี้หมดแลว” หองเรียนดงไมยักษซิบะดุเปนตนไมยักษที่หาไดยากในประเทศไทย ดวยลักษณะทางกายภาพที่โดดเดนเรื่องความมหึมาที่มีความสูงระดับ 20-25 เมตรและมีเสนผาน ศูนยกลางที่ 2.54 เมตร ทำใหจุดนี้ในเสนทางโรงเรียนนักเดินปาพิเศษเปนอยางมาก แนวคิดของ การออกแบบเกิดจาก ‘การกาวขามมิติของการฟง นำไปสูการใหนักเดินปาไดสัมผัสดวยตัวเอง’ สิ่งที่ จะเรียนรูในจุดดงไมยักษนี้คือเรื่องโครงสรางของปาดิบเขาที่มีหนาที่ชวยชะลอน้ำฝนลงสูดินไดทัน ทำให ไมเกิดน้ำปาไหลหลากที่หนาดิน โดยการทำงานของตนไมปาดิบเขาจะทำงานกันเปนระบบชั้นหลังคา เรือนยอดไม โดยการปะทะกับน้ำฝนทำใหน้ำนั้นเบาลงและไหลลงสูดิน สิ่งที่นาสนใจถูกซอนไวในแตละ ชั้นเรือนยอดทั้ง 3 ระดับคือเรื่องของอุณหภูมิ ปริมาณแสงเงาและความชื้น มีความแตกตางกันซึ่งเปน สิ่งที่ตองใชการสัมผัสโดยตรง ไมสามารถอธิบายเพื่อใหเกิดความรูสึกได จึงเกิดการออกแบบที่ทำให นักเดินปาเดินขึ้น-ลงไปเรียนรูและไดสัมผัสเอฟเฟคของธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปผาน ‘กรอบหรือเฟรม’ ที่วางตามแนวลาดลงของ Topography ภูเขา โดยเฟรมจะทำหนาที่ชวยในการโฟกัสแตละชั้นเรือนยอด และทำงานรวมกันกับการใหความรูจากคุณครูนักเดินปา ทำใหนักเรียนเห็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และ มีการออกแบบใหมีความโปรงของโครงสรางโดยใชวิธีตีระแนงไมเวนรอง เพื่อที่จะไดสัมผัสอุณหภูมิ ปริมาณแสงเงาที่เปลี่ยนแปลงไปในแตละระดับชั้นเรือนยอดไม ทั้งหมดนี้เพื่อเปนการสรางใหเกิด สภาพแวดลอมที่จะชวยกระตุนและสงเสริมการเรียนรูรวมกันกับธรรมชาติ
MASS
Page 2/4 6111200755 Thirachart Taaddee CONCEPT
DEVELOP SECTION
eeddaT trahcarihT 5570021116 4/3

Public space and guest house Om

Non Khlong, Bangkok

The banks of the Om Non Khlong are littered with traditional Thai houses, temples, a few markets, modern villas... Built so close to the water, these constructions must anticipate flooding due to the tide and heavy rain. Most of them are therefore raised on high stilts while others are built on thick concrete slabs. In a few places, concrete platforms are abandoned and perhaps require to be reused in the respect of the local way of life.

The study area is crossed by a frequently used road bridge and is likely to become urbanized in the coming years. At the moment, the settlements along the river are traditional private houses, furniture shops or local restaurants. In the background, the area is full of coconut, banana and durian orchards. According to me, it's very important to offer a programme that respects the customs while inviting outsiders to enjoy it. The programme is built on an abandoned concrete platform and is organized in three main units. The central unit forms a free plan to accommodate both locals and tourists for various events. The second unit, also dedicated to all, offers a 24-hour grocery shop and a rooftop coffee shop to enjoy a direct view of the river. These two public spaces are sheltered by a translucent fabric drawn into the wooden framework allowing natural lighting. Finally, a small inn allows outsiders to enjoy the local rhythm and landscape. The whole project follows the curves of the two entrances to the site: from the road and the canal. The elements are arranged in such a way as to admire the landscape and preserve the main existing trees. The journey inside the project is established from a reflection about the transition spaces in traditional Thai houses. Thus, the spaces are progressively sequenced from the public exterior spaces to the private interior spaces, passing through the semi-open, semi-public…

Arriving from the road or by boat from the river, people are first sheltered by an overhanging roof. A row of tall wooden poles guides them to a public space. This outdoor space is sheltered throughout but is completely open from north to south, in a free plan (this design allows free use, day and night, and can be adapted to any future use). As people move towards the western and eastern sides of the project, they enter a closed or private space. This sequential route is established both in one direction and in the other, from the north and south entrances: this central outdoor covered place is the main transition between all the spaces of the project. The transition is also visual thanks to the brick walls with aperture and theirs different patterns. It goes without saying that the project aims to be appropriated by people in space and especially time, with the least possible impact.

Boat Yard along the Khlong Ohm Non Khlong

Ohm Non, Bangkok

Beyond the temples and traditional Thai houses that litter the banks of the Om Non River, the landscape is characterized by the daily use of boats. The river is used every day by locals and outsiders alike. The challenge of the project is therefore to create a humble settlement that respects the habits and customs of the inhabitants. The focus is on the interpretation and enhancement of a historically rooted cultural landscape. The relationship to water, the choice of materials and the structural composition are inspired by local buildings : wooden shingles, stilts.

Particular attention is paid to the discretion of the project and the contribution of the natural elements present in the project. The presence of residences near the plot requires the project to be equipped with massive parrots to reduce noise pollution. The decomposition of the programme according to the long form of the project requires a central circulation axis.

Ventilation is provided by this «tunnel» aspect, which may be open from one end to the other. The use of curtains allows both modularity of spaces and a good diffusion of light. All the modular functions, curtains and lifts, are controlled by cable suspensions, which also ensure the rigidity of the structure and the bracing.

FARMING ALONG THE RIVER Project for the community around Khlong

Om Non

The reflection of this project begins with an intention to link two communities living near the canal Om Non. The first one is a traditional community, living close to the water and in connection with its surroundings. The other one is the new population living in the gated community, which for the moment turns its back to the canal.

Through this educational farm project, Thai residents, schools and tourists can enjoy a unique setting along the canal. The program offers workshops and exhibitions related to traditional Thai agriculture, but also community sharing spaces such as a covered market place and a harbor. The gardens can be walked through freely, and consist of two parts: one is organized around a water-based culture, and the other around a more traditional culture. The crops are used to supply the surrounding schools, and are also processed into unique products. Finally the fields are punctuated with huts which are used for the storage of the tools, the drying of the plants on the roofs and also for the rest of the workers or the visitors thanks to the shade which they produce.

The main building is on stilts to prevent flooding and includes buildings with wooden structure and offset effects, which bring framing on the opposite bank and allow to create shade to avoid overexposure to the sun. The center of these different pavilions (kitchen, exhibition, workshop, greenhouse...) is the terrace. It connects all the functions but also allows the interior spaces to expand and the different activities to share.

Finally, with these elevated platforms and buildings on stilts, the project aims to have a lower impact on the ground, leaving the orchards and crops that are the essence of the project to develop.

Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces | Space Syntax: Re-formality of Urban Interstices Typological reinterpretation 1 | Typological reinterpretation 2 Re-formality in Architectural Rehabilitation | Re-formality in Architecture and Ecology Re-Formality: A New Third Place in Satellite City (Muang Thong Thani) | Re-Formality: Learning from Las Vegas Revisited—Beyond Architectural Symbolism
Digital Learning Centerอาคารหอสัญญาณกรุงเทพ (สถานีรถไฟกรุงเทพ) Thitirat AUSAYO | นางสาวฐิติรัตน อัสโย โครงการ Digital Learning Center โดยปรับปรุงอาคารหอสัญญาณกรุงเทพ เนื่องจาก อยูในแผนแมบทสถานีรถไฟกรุงเทพ อาคารจึงตองถูกเปลี่ยนฟงกชันการใชงานจากเดิมที่ใชเพื่อเปน ที่ทำงานบังคับการใหสัญญาณรถไฟ พื้นที่พักผอนสำหรับพนักงาน และที่เก็บแทงคน้ำ ซึ่งอาคารมี ความสำคัญในเชิงพื้นที่ทางดานคุณคาทางประวัติศาสตร คุณคาทางสถาปตยกรรมสมัยใหม และ คุณคาเทคโนโลยีการสื่อสารในอดีต ไดมีแนวคิดในการปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยใหม โดยแบงเปน 1. การเก็บคุณคาของอาคารเดิมในสวนของ tower ที่เก็บแทงคน้ำและโครงสรางเสาคอนกรีต เสริมเหล็ก 2. การสรางภาพลักษณใหมที่ไมทำลายของเกา โดยมีการเจาะพื้น tower และสรางพื้นที่ ครอบที่เก็บแทงคน้ำเพื่อสรางมุมมองภายในอาคาร 3. สรางการไหลเวียนใหมของผูใชงานเพื่อขึ้นไป ยัง tower จากเดิมอาคารถูกกั้นดวยหองน้ำและเขาถึงไดจาก core เทานั้น โดยมีการอนุรักษความเปน ตัวแทนของยุคที่ยังคงมีการใชระบบอาณัติสัญญาณบังคับดวยสัมพันธรีเลย ใหมีโปรแกรมการเรียนรู ผานการจัดแสดงดวยเทคโนโลยีสมัยใหมรวมกับการจัดแสดงวัตถุที่เปนองคประกอบในการบังคับ การใหสัญญาณรถไฟในสมัยกอน และ 4. การเพิ่มการรับรูคุณคาของอาคารเดิม โดยในสวนของ การสรางใหมใหเปน bar รานอาหารที่มีระดับความสูงต่ำกวาของเกาถูกเชื่อมตอกันดวยพื้นที่สาธาณะ บนดาดฟาที่คอยๆ ลดระดับ สามารถเปนจุดชมวิวเมืองและสรางมุมมองกลับไปยัง tower เดิม ดวยลักษณะเดิมของอาคารพักผอนที่มีชวงกวางที่แคบและยาว จึงไดมีการดันพื้นที่บางสวนและสราง แนวขอบเขตเปลือกอาคารใหมออกมาจากชวงเสาเดิมที่ไดมีการเก็บรักษาไว
Khlong San คลองสาน Prompron WIKAIKUL | นางสาวพรหมพร วิกัยกุล พื้นที่คลองสานเปนพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติจากการมีทั้งวัด ศาลเจา และมัสยิด ซึ่งในอดีตพื้นที่นี้มีการคาขายที่สำคัญของทั้งชาวจีนและคนอินเดียชาวมุสลิม โซนที่คาขายที่สำคัญนี้ เรียกวาจัตุรัสมุสลิม อยูที่บริเวณมัสยิดตึกขาวและตึกแดง มีการคาขายผาเปนหลัก กอนที่จะมีการ เปลี่ยนแปลงไปคาขายผาที่พาหุรัด ซึ่งปจจุบันผาภารตะที่นำมาหอใบลานถูกซอมแซมและจัดเก็บไว ที่วัดทองนพคุณ สวนผาภาระตะยังรอการระดมทุนเพื่อนำไปอนุรักษและจัดแสดงเพื่อการเรียนรู จากการสำรวจพื้นที่พบวาพื้นที่นี้มีการทำเสนทางเพื่อทองเที่ยวไวอยูแลว โดยจุดเริ่มตนการทองเที่ยว จะอยูที่สวนสมเด็จยา และเสนทางทองเที่ยวจะเชื่อมผานไปจุดสุดทายที่คาเฟ Deep root ซึ่งเสนทาง ทองเที่ยวจะผานอาคารเกาที่สำคัญคือโรงเกลือแหลมทอง ในอดีตเปนแหลงคาขายเกลือที่สำคัญ ปจจุบันจากการเปลี่ยนแปลงการสัญจรจากทางน้ำเปนทางบก ทำใหการเขาถึงยากขึ้น ปจจุบันการคา ที่โรงเกลือจึงเปนการแพ็คเกลือขายขนาดเล็ก โครงสรางของโรงเกลือในปจจุบันเปนโครงสรางเปน อาคารไม มี Wood truss ที่นาสนใจ จึงจะทำการ Reconstruction โดยเก็บกริดเสาหนาอาคาร ที่เปนโซนแพ็คเกลือและขายเกลือเดิมไว นอกจากนี้โรงเกลือยังมีมุมมองที่สำคัญที่สามารถเชื่อมมุมมอง ไปสูมัสยิดเซฟได (มัสยิดตึกขาว) จึงนำโปรแกรมการจัดแสดงผาภาระเพื่อการศึกษามาใสที่โรงเกลือ ใหเกิดการใชพื้นที่ระหวางการจัดแสดงผาภารตะกับการคาเกลืออยูดวยกัน
ปจจุบันอาคารนี้ เปนหองแถวปลอยเชาไวทำเปนโรงงานเย็บผา จึงมีแนวคิดในการปรับอาคารโดยการใชความเปน หองแถวกลับสูโรงงานเย็บผาเดิม เกิดเปนพื้นที่เรียนรูการทำผาภาระตะ โดยใชระนาบเพื่อใหความเปน หองแถว 15 หองยังคงอยู และจุดสุดทายคือตัวคาเฟ Deep root ที่เปนจุดทองเที่ยวในเสนทางปจจุบัน เอกลักษณของคาเฟนี้คือเปนคาเฟที่อยูกับศาลเจา จากการที่จะใชการเชื่อมมุมมองของโรงเกลือไปสู มัสยิด จึงมีการปรับเปลี่ยนคาเฟเพื่อใหสามารถเชื่อมมุมมองไดจากการใช Material ตางๆ
โดยใชเพลนสรางมุมมอง ใหนำไปสูมัสยิดเซฟ ซึ่งจากเสนทางทองเที่ยวก็มีอาคารที่นาสนใจคืออาคารหองแถว
Page 2/4 6111200844 Prompron Wikaikul 2.-478.0 90":$% ;57$5/ 90":$%
Page 4/4 6111200844 Prompron Wikaikul 1st FLOOR PLAN 2nd FLOOR PLAN 1st FLOOR PLAN 2nd FLOOR PLAN 02.551020 02.551020 4.60 4.80 2.40 1 2 3 4 5 6 7 5.10 13.65 4.60 35.15 4.60 4.80 2.40 1 2 3 4 5 6 7 5.10 13.65 4.60 35.15 5.00 2.00 11.80 3.00 7.40 7.40 3.10 4.00 4.00 3.40 5.00 2.00 11.80 3.00 7.40 7.40 3.10 4.00 4.00 3.40

2. ออกแบบงานสถาปตยกรรมที่สามารถผลิตเกลือไดตลอดทั้งป 3. ออกแบบอาคารที่สนับสนุนใหเปนแหลงทองเที่ยว เชน รานคา อาคารพิพิธภัณฑเกลือ

The architecture reflects the
สถาปตยกรรมเพื่อสะทอนวิถีชีวิตชุมชน ผานกระบวนการฟนฟูระบบนิเวศแหลงผลิตเกลือ หมูบานทำเกลือ จ.สกลนคร Araya SOMPONGSORN | นางสาวอารญา สมพงษศร จากการศึกษาถึงผลกระทบของการผลิตเกลือที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ไดเลือกพื้นที่ การผลิตเกลือที่หมูบานทำเกลือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งพื้นที่การผลิตเกลือของที่นี่เปนทั้งแหลงวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นและพื้นที่สรางรายไดใหกับคนในชุมชน มีความสำคัญเสมือนเปนศูนยกลางของชุมชน แตปจจุบันพื้นที่ทำนาเกลือไดสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทำใหบางพื้นที่ถูกยกเลิกไมใหทำนาเกลือ อีกตอไป สงผลตอเศรษฐกิจและเสี่ยงที่ภูมิปญญาการผลิตเกลือจะเลือนหายไป โครงการนี้จึงเปนการเสนอแนวทางการออกแบบนาเกลือที่คำนึงถึงสิ่งแวดลอม เพื่อให ชุมชนสามารถผลิตเกลือไดอยางยั่งยืนโดยในการออกแบบ เชิงทดลองใน AD 8 นี้ เปนการศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาตอในวิทยานิพนธ เพื่อคนหาแนวทางในการผลิตเกลือที่ไมกระทบตอสิ่งแสดลอม รวมทั้งชุมชนสามารถเปนแหลงทองเที่ยวที่สรางเอกลักษณอันโดดเดนใหกับชุมชนแหลงผลิตเกลือ โดยในการออกแบบขั้นสุดทายของโครงการ แบงการออกแบบไดเปน 3 สวน คือ 1. ออกแบบพื้นที่ภูมิสถาปตยกรรมที่เปนกระบวนการบัดบำน้ำเสียจากการทำนาเกลือ ซึ่งน้ำที่ผานการบำบัดจะสามารถปลอยลงสูแหลงน้ำธรรมชาติขางเคียงกับพื้นที่โครงการได
และพื้นที่การแปรรูป ซึ่งในการออกแบบทั้งสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมที่กลาวมา จะถูก ออกแบบลอมรอบบริเวณนาเกลือเดิมของชุมชน เพื่อเปน Buffer zone ในการปองกันไมใหน้ำเค็ม จากพื้นที่นาเกลือกระจายไปยังพื้นที่ขางเคียง ซึ่งเปนหนึ่งในแนวทางที่ชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จากการทำนาเกลือ
local lifestyle through the process of salt-production ecological reclamation
Ban Kho YiSan Homestay ชุมชนปลูกปาโกงกางและทำถานไมบานเขายี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม Arongkorn YOMRAM | นายอลงกรณ โยมรัมย โครงการ Ban Kho YiSan Homestay เปนโครงการที่เกิดจากการวิเคราะหถึงปญหา ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ชุมชนบานเขายี่สาร ตำบลยี่สาร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม โดยใน ชุมชนบานเขายี่สารเปนชุมชนที่ปลูกปาโกงกางเพื่อนำมาทำเปนถานไมโกงกางดวยภูมิปญญา แบบดั้งเดิม ที่สงออกทั้งในและนอกประเทศ แตดวยปญหาการขาดการสืบทอดเทคนิควิธีการในการ ทำถาน ภูมิปญญาดั้งเดิมเหลานี้อาจจะหายไปพรอมกับสภาพแวดลอมปาชายเลนดวย ซึ่งในปจจุบัน ชาวบานเริ่มเปลี่ยนไปทำนากุงที่ไดผลผลิตที่เห็นผลไวกวา จากปญหาดังกลาวจึงทำใหเกิดแนวทาง สถาปตยกรรมที่จะเปนสื่อกลางในการบอกเลาเรื่องราววิถีชีวิตของชุมชนบานเขายี่สารที่มีแบบแผน ความสัมพันธกับสภาพแวดลอมปาโกงกางเพื่อใหคนที่สนใจหรือคนรุนใหมในพื้นที่ตระหนักเห็น คุณคาของภูมิปญญาการทำถานไมโกงกาง พื้นที่ของโครงการ Ban Kho YiSan Homestay เปนพื้นที่ที่ติดกับโรงเผาถานหลังที่ 5 ที่ยังมีการทำถานไมโกงกางอยูในพื้นที่ เนื่องจากพื้นที่มีลักษณะเปนเกาะการเขาถึงตองใชการเรือและดานหลังของโครงการยังติดกับปาปลูกโกงกางอีกดวย จากการวิเคราะหพื้นที่ตั้งโครงการพบวา พื้นที่โรงเผาถานไมโกงกางหลังที่5 แหงนี้เปนโรงเผาถานที่เจาของเลิกทำกิจการการเผาถานไมไปแลว แตยังเปดใหคนในชุมชนที่มีปาโกงกางสามารถนำไมมาเชาเตาในโรงเผาถานแหงนี้ได และพื้นที่ โรงเผาถานหลังที่5 ยังพบปญหาเรื่องการกัดเชาะพื้นที่ริมตลิ่งที่กินพื้นที่มามากกวา 6 เมตรจากพื้นที่ ริมคลอง ทำใหเกิดโปรแกรมในการปองกันการกัดเชาะตลิ่งริมคลองและโปรแกรมที่จะสามารถทำให โรงเผาถานยังสามารถทำงานไปพรอมกับสามารถเปดใหเปนพื้นที่เรียนรูการทำถานไมโกงกางไดดวย โดยสรุปโปรแกรมของโครงการจะมีในสวนของ 1. พื้นที่ทาเรือเพื่อปองกันการกัดเซาะริมตลิ่ง 2. พื้นที่การเรียนรูการทำถานไมโกงกาง 3. พื้นที่โฮมสเตย และ 4. พื้นที่การเรียนรูปาปลูกโกงกาง สวนที่ 1 พื้นที่ทาเรือเพื่อปองกันการกัดเซาะริมตลิ่ง เปนการออกแบบทาเรือเพื่อให สอดคลองกับการใชงานของชาวบานในการขึ้นไมโกงกางมาที่โรงเผาถาน โดยออกแบบใหเปนโปะ ที่สามารถจอดเรือไดชองละ 2 ลำ โปะจอดเรือจะสามารถลอยขึ้นลงไดตามระดับน้ำและจะชวยลด ปญหาการขึ้นไมของชาวบานไดเพราะสามารถขึ้นไมไดตลอดไมวาน้ำจะขึ้นหรือลง สวนที่ 2 พื้นที่การเรียนรูการทำถานไมโกงกาง เปนการออกแบบในโรงเผาถานเดิมที่ยัง มีการใชงานอยู โดยจะแบงเตาอบถานออกมา 2 เตาจาก 6 เตา สามารถใหนักทองเที่ยวหรือคนที่ สนใจเขาถึงได เตาแรกจะเปนการเรียนรูเรื่องของการเรียงไมเขาเตาอบถาน และเตาที่สองจะเปน การเรียนรูเรื่องของการกอเตาสำหรับอบไมออกมาใหเปนถานไม ซึ่งจะมีชาวบานคอยใหความรู สวนที่ 3 พื้นที่โฮมสเตย จะแบงออกเปน 2 โซน โดยในสวนของ Facilities Zone พื้นที่ จะอยูติดกับโรงเผาถานที่ยังทำงานอยู Lobby และ Reception ของโครงการจะออกแบบใหเปนเตา ที่ลอมาจากโรงเผาถานเดิมเพื่อใหนักทองเที่ยวคอยๆ เห็นถึงการปรับเปลี่ยนเตาที่ใชในการเผาถาน มาเปนพื้นที่ตอนรับในโครงการ มีแนวคิดในการออกแบบคือ การนำเอาพื้นที่วางเดิมของเตาเผาถาน มาตีความใหมใหเกิดเปนพื้นที่วางสำหรับการเปนพื้นที่สาธารณะ ในสวนของ Residential Zone เปนบานสองหลังที่มีชานตรงกลางสำหรับทำกิจกรรมรวมกัน และมีฉากหลังเปนพื้นที่ปาปลูกโกงกาง สวนที่ 4 พื้นที่การเรียนรูปาปลูกโกงกาง โดยเสนทางของพื้นที่การเรียนรูปาปลูกโกงกาง จะมีสถาปตยกรรมแทรกอยูซึ่งเปนทั้งจุดพักชมวิว ชมวิถีชีวิตการตัดไม และตัวสถาปตยกรรมยังเปน ที่เก็บไมโกงกางไมใหเปยก เพื่อรอเรือที่จะมาถายไมไปยังโรงเผาถานอีกดวย
Page 2/4 6111201085 Alongkorn Yomram
Page 4/4 6111201085 Alongkorn Yomram
01240514 Architectural Design VIII | Re-formality | First Semester, Academic Year 2022
Space Syntax: Re-formality in Everyday Spaces | Space Syntax: Re-formality of Urban Interstices Typological reinterpretation 1 | Typological reinterpretation 2 Re-formality in Architectural Rehabilitation | Re-formality in Architecture and Ecology Re-Formality: A New Third Place in Satellite City (Muang Thong Thani) | Re-Formality: Learning from Las Vegas Revisited—Beyond Architectural Symbolism
MEDICINE CENTER : THAI HARBAL BASED THERAPIES ศูนยการแพทยทางเลือกดานการรักษาดวยสมุนไพร Nattamon SUEBPIMAI | นางสาวณัฐมน สืบพิมาย แนวโนมทั่วโลกในปจจุบันเริ่มมีการตื่นตัวและหันมาสนใจกดับการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น เริ่มมีแนวคิดที่วา “การปองกันดีกวาการรักษา” ทำใหผูบริโภคทั่วโลกตางใหความสนใจในสุขภาพ ไมวาจะเปนการเลือกรับประทานอาหารที่เนนสุขภาพ การออกกำลังกาย หรือการใชผลิตภัณฑ สมุนไพรธรรมชาติมากขึ้น รวมถึงการมีแนวโนมที่จะรักษาโรคตางๆ ดวยวิธีการธรรมชาติแทนที่จะ รักษาดวยเคมีตางๆ ของแพทยแผนปจจุบัน “สมุนไพรไทย” เปนภูมิปญญาและทรัพยากรที่เปนเอกลักษณ สะทอนวัฒนธรรม รวมถึง ความเปนรากฐานเกษตรกรรมที่มีคุณคาของประเทศไทย ทั้งนี้สมุนไพรเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตและ สังคมไทยมาโดยตลอด จึงกำหนดใหมีการจัดทำแผนการพัฒนาที่เปนระบบอยางยั่งยืนขึ้นอยางไรก็ตามรัฐบาลไทยไดตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาสมุนไพรไทย มีการยกรางแผนแมบนแหงชาติ วาดวยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 (Herbal City) เพื่อสงเสริมและรักษาภูมิปญญาอันทรง คุณคาที่เกี่ยวกับสมุนไพรไทยแลวยังมีเปาหมายเพื่อการพัฒนาและการผลิตและการใชประโยชน สมุนไพรไทยอยางมีคุณภาพ เต็มประสิทธิภาพ และครบวงจร ซึ่งจะสงผลตอความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของสมุนไพรไทย และการสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจของไทย จากปจจัยที่กลาวมาขางตนนี้ จึงเกิดเปนที่มาของโครงการ ศูนยการแพทยเฉพาะทางดาน การรักษาดวยสมุนไพร เพื่อตอบสนองความตองการของรัฐและประชาชน เพื่อเปนสถานที่ที่มุงเนน ในเกิดการพัฒนาการรักษาดวยสมุนไพรอยางครบวงจรตั้งแตตนทาง กลางทาง ปลายทาง ทั้งการ เรียนรูการปลูกสมุนไพร การแปรรูป การรักษาดวยสมุนไพรและการแพทยทางเลือกที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีสภาวะแวดลอมที่ดีตอผูปวยและผูใชงานภายในโครงการ ซึ่งจะสงผลตอความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนของสมุนไพรไทย และการรักษาแพทยทางเลือก รวมถึงการสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย และสรางความนาเชื่อถือ เปนที่ยอมรับในระดับสากล

ความหนาแนนของที่อยูอาศัยจึงทำใหพื้นที่สีเขียวที่ปลอยใหน้ำซึมผานนั้นลดลง ซึ่งตัวโครงการ พยายามที่จะบรรเทาปญหานี้ผานกระบวนการออกแบบทางสถาปตยกรรมที่ประยุกตนำวิธีการ

The Commons Muangthong Thani ถนนบอนดสตรีท เมืองทองธานี Phakhaphong WONGWANWATTANA | นายภคพงษ วงศวรรณวัฒนา “พื้นที่สาธารณะ” คือหนึ่งในสถานที่ที่สำคัญและมีบทบาทกับคนเมืองเปนอยางยิ่ง แตในปจจุบันกลับมีความขาดแคลนเปนอยางมากเนื่องจากการพัฒนาของเมืองและความคุมคา ในการใชประโยชนของที่ดิน พื้นที่สาธารณะนั้นสามารถถูกพัฒนาเพื่อรองรับการใชงานกิจกรรม และนันทนาการรวมถึงสามารถพัฒนากลยุทธตางๆ รวมกับการออกแบบทางสถาปตยกรรมที่ ตอยอดเพื่อแกปญหาตางๆที่หลากหลายของเมืองได The Commons Muangthong Thani ตั้งอยูที่สามแยก UOB ถนนบอนดสตรีท เมืองทองธานี โดยตัวโครงการเปนการออกแบบที่เนนกระบวนการในการแบงปนพื้นที่โครงการ ใหเปนพื้นที่สาธารณะและรองรับกิจกรรมสำหรับกลุมผูใชงานที่กำลังหาพื้นที่แฮงเอาทหรือ ปรับเปลี่ยนบรรยากาศของการทำงานรวมถึงเปนพื้นที่สำหรับหนวงน้ำในพื้นที่เพื่อการแกปญหา เรื่องของการระบายน้ำที่ในตัวไซตเองกำลังประสบปญหาเนื่องจากพื้นที่ดาดแข็งที่มากขึ้นจาก
ของธนาคารน้ำใตดินมาผนวกกับโครงสรางทางสถาปตยกรรมและการจัดการพื้นที่สีเขียวภายใน โครงการเพื่อใหพื้นที่ทั้งสวนของฟงกชันของโครงการทำงานรวมกับพื้นที่สาธารณะสำหรับชวย สนับสนุนการแกปญหาเรื่องของการระบายน้ำไปพรอมกับคืนพื้นที่กิจกรรมใหแกชุมชนโดยรอบ ซึ่งการมีอยูของตัวโครงการจะทำใหเกิดการรองรับสำหรับกิจกรรมที่หลากหลายขึ้นในแตละ ชวงเวลาจากการเขามาใชงานของผูคน ซึ่งสิ่งที่จะตามมาคือ การเปรียบสถานที่นี้เปนหูเปนตา คลายกับเปนยามเฝาระวังเหตุรายตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริเวณโดยรอบ เนื่องจากบริเวณโดยรอบนั้นเปนอาคารสำนักงานที่มีความเปลี่ยวของสถานที่ในยามที่ลวงเลยเวลาทำการ
Re-formality: Popular Condo ปอปปูลาร คอนโด เมืองทองธานี Prueangboon WEERASORN | นายเปรื่องบุญ วีระศร “พื้นผิวเปลือกอาคาร (Facade) สามารถเขาปรับเปลี่ยนที่วาง (Space) ในอาคาร” ในกระบวนการออกแบบสถาปตยกรรมมักมีการออกแบบเปลือกอาคาร (Facade) รูปดาน (Elevation) ในขั้นตอนทายของการออกแบบโครงการ Re-formality: Popular Condo เสนอการทดลองตอกระบวนการออกแบบ เริ่มตนดวยการออกแบบเปลือกอาคารที่เปนตัวการจัดการ ที่วางเดิมของอาคาร ใหเกิดที่วางใหตอบสนองตอบริบทที่เปนอยู และยังเปนการเปลี่ยนการสื่อสาร ไปจากเดิมผานสถาปตยกรรม ในเมืองทองธานีจะเห็นไดชัดเจนของการใชงานบนผังเมือง ที่แบงระหวางสวนของอาคาร สาธารณะ จำพวกอาคารราชการ อาคารพาณิชย และสวนของที่พักอาศัย หมูบาน บานเดี่ยว และ กลุมอาคารหนาแนน Popular Condo กลุมอาคารที่พักอาศัยที่มีความหนาแนนสูง มีพื้นที่สาธารณะ ภายในโครงการ 2.6% ของพื้นที่ทั้งหมด 76.3% ของพื้นที่สำหรับที่อยูอาศัย โดยถาเปรียบเทียบ สัดสวน 1 คน : 0.6 ตร.ม. (พื้นที่สาธารณะ) และภายในหองทุกประเภทมีลักษณะเดนคือไมมีระเบียง มีเพียงหนาตางเพียงเทานั้น โดยสรุปไดนำมาสูการออกแบบ 2 สวนของอาคารดังนี้ 1. พื้นที่สาธารณะ ดวยการลด จำนวนหองที่พักอาศัยและเปลี่ยนเปนพื้นที่สาธารณะแทน
เสมือนการเพิ่มพื้นที่สาธารณะของเมืองที่ขยายขึ้นสูอาคาร และ 2. พื้นที่สวนตัว จากการ ออกแบบเปลือกอาคารใหมไดดวยตัวเองและเปนตัวปรับพื้นที่หองเดิมที่ผูพักอาศัยสามารถเลือกเองได ดวยเปนระบบ Modules ที่ถอดประกอบบนโครงสรางเปลือกอาคารใหม
ที่เชื่อมกันตั้งแตชั้นลางสุดตอเนื่องขึ้นมา บนอาคาร
SPACE FOR STREET CULTURE อาคารราง เมืองทองธานี Supanoot SORNKOOM | นางสาวศุภนุช ศรคุม “STREET CULTURE” วัฒนธรรมที่แสดงออกความเชื่อ อารมณ ความรูสึก ความขบถ สไตล การฝกฝน สัญลักษณ และลักษณะที่เกี่ยวของกับกลุมบุคคลที่ใชชีวิตสวนใหญอยูบนถนน ในมหานครใหญ STREET CULTURE มีองคประกอบหลักคือMusic, Art (street art), Fashion และกิจกรรม Sport (skateboard), Performance (hip-hop) ซึ่งตึกรางเมืองทองตึกนี้แตเดิม เต็มไปดวย Graffiti และ Street Art ทำใหมีความนาสนใจแลวนำองคประกอบและแนวคิดของ STREET CULTURE มาพัฒนาเปนโครงการและเติมเต็มวัฒนธรรม ณ ที่แหงนี้ การแสดงออกของ ART (street art) ในพื้นที่เชิงทางสถาปตยกรรม ไดแก 1. ความเปน ถนนขางทางที่มีปฏิสัมพันธกับคนในเมือง 2. ความเปนซอยในเมืองที่มีคุณภาพพื้นที่คือการคนหา และ 3. ความซอนตัวจากภายนอกที่มักจะพนในตึกรางในที่ลับตาคน จากการตีความคุณภาพพื้นที่ ที่หลากหลายจึงนำไปสูแนวคิดการแสดงออกความยืดหยุน ซึ่งมี 3 รูปแบบคือ Scaffolding ที่ศิลปน พนสีดวยผืนผาใบซึ่งใหความเบาและการขายงานที่สามารถทำไดทันที รูปแบบ Precast
ลาดเอียงเพื่อดึงคนขึ้นไป อีกทั้งตรงลานมีความยืดหยุนการใชงานทั้งกิจกรรม skateboard และ performance และมีปฏิสัมพันธในเมือง สวน Permanent Concrete ที่มีอยูเดิมในตึกรางนั้น การพนสีบนผนังจริงเปนตัวสะทอนความเปนอยูและดับไปที่เกิดจากการพนสีทับไปเรื่อยๆ ยังเก็บ ความซอนตัวจากภายนอกและมีการปรับเปลี่ยนเติมความเปนโคงเขาไปเพื่อสอดรับกับกิจกรรม skateboard ที่อยูภายใน
Concrete ที่สามารถยกออกไปขายได นำผนังมากอตัวสรางความเปนซอยตรงลานดานหนาและยกระดับพื้น
Page 3/4 6111200984 Supanoot Sornkoom
Page 4/4 6111200984 Supanoot Sornkoom STREET CULTURE SPACE
01240514 Architectural Design VIII | Re-formality | First Semester, Academic Year 2022

Special thanks:

Department of Architecture

Faculty of Architecture, Kasetsart University

Instructors:

Yuthadanai SOMJITCHOB, CHAAN A&D

Assistant Professor Thitiwoot CHAISAWATAREE

École nationale supérieure d'architecture de Nantes

École nationale supérieure d'architecture et de paysage de Bordeaux

Assistant Professor Narongpon LAIPRAKOBSUP, Ph.D.

Sarut PHOSAI, Ph.D. (Course coordinator, Editor)

Students:

Mathis SAJJAPANICHKUL

Sumet JONGJIRAPONG

Napatsakorn KENTIVIT

Araya SOMPONGSORN

Kanokrak KHAODET

Kunchanok NGAMKHAM

Jittanan SAKUDOMCHAI

Nithit KIATKULANUSORN

Phopthorn PRUKPITIKUL

Varathep SAWANYANUPHAP Sadis CHANGJARN

Sirimongkol NGAMCHAD

Asallaya PONGKLAM

Kotchakorn SRIHAMONTREE

Kanyanun YAEMPHOEK

Kittikoon PHOONPHUETCHON

Jackrapat BENJASUPAWAN

Chanapong POONCHALIEW

Charinee CHAICHANA

Thitirat AUSAYO

Natapong BANGSRI

Nattanon KITTIRATRANGSEE

Nattamon SUEBPIMAI

Tanaporn PANSI

Thirachart TADDEE

Nadir SAMANG

Boonsita SRIPHA

Patipan MUENART

Praweena KIATPAIBOONPOL

Preechaya CHANMAK

Prueangboon WEERASORN

Prompron WIKAIKUL

Pimlaphat WICHAIDIT

Piratch INTARACHAI

Prewlada HIRUNWONG

Phakhaphong WONGWANWATTANA

Pattrakarun KOJANAT

Watchara CHAIYABAL

Sirorat BUAYAIRAKSA

Supanoot SORNKOOM

Supabenya BENJAPOLCHAI

Sirapat SANGSRINIL

Sirirat CHATPRASOP

Suphaporn TONGPAN

Aphirak NAKKHAROEK

Onnicha SRISONKOMPON

Arongkorn YOMRAM

Archawin KANTANON

Heron DEMONGEOT MARAIS Jade CHERIFI

Fanny BOSQ

Paul DEBAIG

Léa DEMONGEOT MARAIS Gabriel REMY

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.