สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

Page 1

“เรามุ ่ง สร้า งวั ฒ นธรรมชุ ม ชนท้อ งถิ่ น ให้ส ามารถใช้ทุ น และศั ก ยภาพของตนเอง อย่า งเต็ ม ที่ แ ละสร้า งสรรค์ ด้ว ยการจั ด การ ข้อ มู ล ชุ ม ชนในหลากหลายด้า น ซึ่ ง ถื อ เป็น ‘แก่น’ และ ‘กลไก’ ส�ำคัญ ในการเอาพื้นที่เป็น ฐานในการพั ฒ นา อั น เป็น หนทางเดี ย วที่ จ ะ สามารถพัฒนาชุมชนท้องถิน ่ ได้อย่างยัง่ ยืนและ มีประสิทธิภาพ ภายใต้อัตลักษณ์และตัวตน ของชุมชน”

ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.)

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 1


สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน สุทธิโชค จรรยาอังกูร

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สุทธิโชค จรรยาอังกูร. สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน.-- กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), 2559. 112 หน้า. 1. การพัฒนาชุมชน. 2. การท่องเที่ยวโดยชุมชน. I. ชื่อเรื่อง. 307.14 ISBN 978-616-393-037-8 เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ 978-616-393-037-8 พิมพ์ครั้งที่ 1     มีนาคม 2559 บรรณาธิการอ�ำนวยการ     ดวงพร เฮงบุณยพันธ์     ทวี ณ ล�ำพูน บรรณาธิการ     กฤตพจน พงศ์ถริ ประสิทธิ์ กองบรรณาธิการ     อารีวรรณ บุญอุดม     ณัฐฐาพร ยะอะนันต์     พรทิวา ไวยครุฑธา ช่างภาพ     กฤตพจน พงศ์ถริ ประสิทธิ์ ศิลปกรรม     พรทิวา ไวยครุฑธา ออกแบบปก     อรกุล แก้วหิรัญ พิสูจน์อักษร     วรรณรัตน์ กล�ำ่ สมบัติ ประสานงานการผลิต     ชัชฎาพร ณ บางช้าง จัดพิมพ์โดย     ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ     โดยส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก 3) อาคารเรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-343-1500 www.thaihealth.or.th www.punsook.org, www.facebook.com/punsook ด�ำเนินการผลิตโดย หจก. จู๊ซ อัพ มีเดีย แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น เลขที่ 7 ซอยรามค�ำแหง 44 แยก 2 ถนนรามค�ำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 10240 2 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ค�ำน�ำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ อาจเป็นเฟือง ตั ว เล็ ก ๆ ภายในกลไกอั น สลั บ ซั บ ซ้อ นของ การปกครองในประเทศไทย เฟืองตัวเล็กแต่มี จ�ำนวนมากย่อมส่งผลต่อการขับเคลือ ่ นพัฒนา ลองเฟืองเหล่านีไ้ ม่มค ี ณ ุ ภาพ หรือมีข้อบกพร่อง ผลกระทบก็น่ากลัวไม่น้อย ตรงกั น ข้า มหากเฟือ งตั ว เล็ ก ๆ เหล่า นี้ ท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพ มีประสิทธิผลที่ดี ย่อมส่งให้คณ ุ ภาพชีวต ิ ความเป็นอยู่ของคนไทย ดีขึ้นอย่างแน่นอน เช่นนั้น องค์กรปกครอง ส่ว นท้อ งถิ่ น ทั่ ว ประเทศจึ ง ต้อ งตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการท� ำ งานร่ว มกั น เป็น องคาพยพใหญ่ ความเสื่อมของเฟืองตัวหนึ่ง อาจสะเทือนถึงระบบทั้งหมด นัน ่ เป็นทีม ่ าให้สำ� นักงานกองทุนสนับสนุน การสร้า งเสริ ม สุ ข ภาพ โดยส� ำ นั ก สนั บ สนุ น สุ ข ภาวะชุ ม ชนได้เ ข้า มาสนั บ สนุ น ส่ง เสริ ม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ ช่วย ถอดบทเรียน ส�ำรวจทุนและศักยภาพ เพือ่ กระจาย องค์ความรู้เหล่านั้นต่อให้กับเพื่อนเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ

นอกจากนี้ ยั ง ต้อ งให้ค วามส� ำ คั ญ กั บ ประชาชน ดั ง ที่ ดวงพร เฮงบุ ณ ยพั น ธ์ ผู ้อ� ำ นวยการส� ำ นั ก สนั บ สนุ น สุ ข ภาวะชุ ม ชน ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้า งเสริ ม สุ ข ภาพ ได้ก ล่า วไว้ว ่า หั ว ใจส� ำ คั ญ ในการ ขั บ เคลื่ อ นงานพั ฒ นาชุ ม ชนท้อ งถิ่ น อยู ่ที่ ประชาชนฐานราก หากประชาชนฐานราก ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ ได้มีโอกาส แสดงศักยภาพในการพัฒนาบ้านเกิดเมืองนอน ของตนเองภายใต้ค วามร่ว มมื อ ระหว่า ง 4 เสาหลักที่ประกอบด้วย ประชาชน ท้องที่ ท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐในแต่ละพื้นที่ กระบวนการเช่นนี้ย่อมน�ำไปสู่ความเข้มแข็ง ของบ้านเมืองในที่สุด ดังนัน ้ เมือ ่ ท้องถิน ่ สร้างกระบวนการเรียนรู้ จนถ่ายทอดได้ ประชาชนมีศก ั ยภาพ เป็นเฟือง ที่แข็งแกร่งในตัวเอง ผสานกับตัวหล่อลื่นจาก องค์กรวิชาการที่เข้ามาช่วยสนับสนุนส่งเสริม นั่ น คงท� ำ ให้ป ระเทศชาติ เ ข้ม แข็ ง และเป็น ค�ำตอบว่าท�ำไม เราจึงต้องให้ความส�ำคัญกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...


6 | บทน�ำ ‘สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน’ 10 | สัมภาษณ์

ทวี ณ ล�ำพูน นายกเทศมนตรีตำ� บลแม่แรง: ทุนที่เข้มแข็ง สร้าง ‘แม่แรง’ ให้ยั่งยืน

16 | ‘บ้านป่ าบุ ก’ หมู่บ้านจัดการตนเอง

18 | จุดเริ่มต้นแห่งการเป็นหมู่บ้านจัดการขยะ 21 | สร้างสรรค์นวัตกรรมสู่ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) 23 | ที่ว่างสร้างอาหาร 26 | ปุ๋ย & โฟม ต�ำราแปรขยะ ฉบับอาจารย์นพ 30 | ก้านตาลแปลงร่าง 32 | ‘นกฮูก’ สร้างรายได้ 34 | กลุ่มออมทรัพย์วันละบาท บ้านป่าบุก

36 | สวัสดิการดีๆ ที่เรามีให้แก่กัน 38 | สถาบันการเงินชุมชน บ้านหนองเงือก 42 | กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลต�ำบลแม่แรง 45 | กองทุนบุญผู้สูงอายุ

48 | สุขภาพ

50 | กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต�ำบลแม่แรง 53 | ขยะกินได้ 54 | ชมรมรักษ์สุขภาพบ้านหนองเงือก 58 | สุขภาพดีวิถีไทย 60 | อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ 62 | โรงเรียนผู้สูงอายุ ต�ำบลแม่แรง

4 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


64 | เศรษฐกิจชุมชน

66 | ศูนย์รวมผลิตภัณฑ์เครือข่ายกลุ่มทอผ้า     หัตถกรรมพื้นบ้าน บ้านดอนหลวง 69 | ผ้าฝ้ายทอมือ บ้านหนองเงือก 72 | กลุ่มทอผ้าพิณฝ้าย

74 | ห้องเรียนชุมชน

76 | อุทยานสมุนไพรและเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง

78 | การศึกษา ‘วิชาชี วิต’ 80 | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัดแม่แรง

84 | วัฒนธรรม

86 | ศูนย์วัฒนธรรมสายใยชุมชน วัดป่าเหียง 90 | วงลูกยอง 92 | บ้านหัวตุง

94 | อาหารการกิน 96 | ก๋วยเตี๋ยวเรือป้ารวย

98 | พักผ่อนหย่อนกาย 100 | โฮมสเตย์ป้าทองสุข 102 | โฮมสเตย์สองพี่น้อง

104 | ท่องเที่ยวชุมชน

106 | วัดหนองเงือก 110 | พิพิธภัณฑ์ไทยยอง บ้านหนองเงือก

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 5


บทน�ำ

‘สุIntroduction ขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน’...

6 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ช่วงวิกฤตต้มย�ำกุ้งในปี 2540 ชาวต�ำบล แม่แ รงที่ อ อกไปรั บ จ้า งต่า งได้รั บ ผลกระทบ โซซัดโซเซกลับมาบ้าน ยังจุดเริม ่ ต้นเดิมอีกครัง้ แต่นั่นกลับเป็นโอกาสที่ท�ำให้พวกเขาค่อยๆ สร้า งรากฐานใหม่ข องตั ว เองขึ้ น มา อาศั ย ภู มิ ป ัญ ญา ทั ก ษะ และความช� ำ นาญด้า น การทอผ้า จนท�ำให้แม่แรงมีวันนี้ วันที่ชื่อเสียง ของผ้าทอเลือ ่ งลือไปไกล และสามารถหล่อเลีย ้ ง ชีวิตคนต�ำบลแม่แรงได้เป็นอย่างดี

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 7


แน่นอนว่าส่วนหนึง่ ยังคงปลูกล�ำไย ควบคู่ กั บ การทอผ้า เป็น เศรษฐกิ จ ในครั ว เรื อ น ที่มีความเข้มแข็ง ผู้คนอยู่ดีมีสุขบนเส้นทาง การพั ฒ นาของตั ว เอง ที่ ผ ลิ ด อกออกผลให้ ชื่ น ชม ยามเมื่ อ มองย้อ นกลั บ ไปเกิ ด เป็น ความภาคภูมิใจในความพากเพียรของตัวเอง ต�ำบลแม่แรงเป็นต�ำบลเล็กๆ ในอ�ำเภอ ป่า ซาง จั ง หวั ด ล� ำ พู น แต่เ ศรษฐกิ จ ของที่ นี่ ไม่ได้ด้อยไปกว่าต�ำบลในเขตเมืองแม้แต่น้อย ที่ส�ำคัญคือพวกเขาด�ำเนินงานในลักษณะของ ครัวเรือน หมู่บ้าน ชุมชน กระจายชิ้นงานและ เม็ ด เงิ น อย่า งครอบคลุ ม อย่า ว่า แต่ต� ำ บล แม่แรงเองเลย ต�ำบลข้างเคียงก็ได้รับอานิสงส์ จากที่นี่ พวกเขาท�ำงานอยู่กับบ้าน และแม้วันนี้ เส้น ทางอ� ำ เภอป่า ซางจะไม่ใ ช่เ ส้น ทางหลั ก เฉกเช่นอดีต แต่ชื่อของผ้าทอต�ำบลแม่แรงก็ ท�ำให้ใครต่อใครเดินทางมา เลาะเลี้ยวเข้าสู่ ชุ ม ชนที่ ดู ผิ ว เผิ น ไม่ต ่า งจากชุ ม ชนชนบท ทั่วไป แต่ภายในประตูรั้วที่แลดูธรรมดา ยังมี ความงดงามทีใ่ ครต่อใครพากันแสวงหา ซึง่ เรา จะบอกเล่าให้ฟังในภายหลัง นอกจากเรื่ อ งเศรษฐกิ จ แล้ว เราได้ยิ น มาก่อนแล้วว่า ที่นี่สร้างการมีส่วนร่วมในเรื่อง สิ่ ง แวดล้อ ม จากหมู ่บ ้า นเล็ ก ๆ ที่ ท� ำ งาน ด้า นการจั ด การขยะอย่า งจริ ง จั ง จนได้รั บ

8 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

รางวัลชนะเลิศชุมชน Zero Waste ระดับ ประเทศ และขยายผลต่อ ไปยั ง ชุ ม ชนอื่ น ๆ อีกทั่วทั้งต�ำบล สิ่ ง ที่ น ่า สนใจคื อ นวั ต กรรมที่ พ วกเขา รั ง สรรค์ขึ้ น เพื่ อ ลดขยะในชุ ม ชน มี ทั้ ง ที่ น� ำ กลับมาใช้ใหม่ มีทั้งที่น�ำมาประดิษฐ์ประดอย ชวนให้ฉ งนไปกั บ ความมุ ง่ มั่ น ตั้ ง ใจ ขณะที่ บางส่ว นแปรเปลี่ ย นเป็น เม็ ด เงิ น ไหลเวี ย น กลับเข้าสู่ชุมชน ดูแลคนจ�ำนวนมากมาย และ หลากหลายกลุ่มประชากรด้วยกัน ทีส ่ ำ� คัญสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน ้ ทีน ่ ี่ เป็นเรือ ่ งราว ของคนตัวเล็กๆ ที่ไม่ได้มีความส�ำคัญขนาด เอ่ยนามแล้วใครต่อใครต้องพากันรู้จก ั พวกเขา เป็นเพียงชาวบ้านธรรมดา ข้าราชการวัยเกษียณ แม่บ ้า น เกษตรกร ฯลฯ แต่ค วามคิ ด และ การท� ำ งานของพวกเขาต่า งเติ ม เต็ ม ซึ่ ง กั น และกัน ยอมรับซึ่งกันและกัน จึงท�ำให้แม่แรง มี ก ้า วย่า งที่ น ่า จั บ ตา กระทั่ ง อาจเรี ย กว่า สมบูรณ์พูนพร้อมในทุกด้าน ทุ ก จั ง หวะเรื่ อ งราวชี วิ ต ของผู ้ค นต� ำ บล แ ม ่แ ร ง จึ ง มี ค ว า ม น ่า ส น ใ จ ไ ม ่เ พี ย ง วิ ถี ความเป็นอยู่ในปัจจุบันเท่านั้น เมื่อเราสืบค้น ความเป็นมา ก็ได้ร้วู ่า ทีน ่ เี่ ป็นแหล่งวัฒนธรรม ที่เข้มข้นระดับหนึ่ง และเปี่ยมด้วยเอกลักษณ์ ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่ของที่นี่บอกว่า เป็นเพราะพื้นเพ ที่เป็นคนไทยองกันยกต�ำบล


จากอดีตจนปัจจุบันมีเรื่องราวที่น่าสนใจ รออยู่ จึงไม่อยากรีรอบอกเล่าเก้าสิบ เรื่อยไป จนร้อย เพือ ่ ให้ใครต่อใครได้ร้จู ก ั แม่แรง ต�ำบล ที่มีความสุขอยู่ในวิถี ซึ่งมีความพอดิบพอดี และยั่งยืนอยู่ในตัว เรามาถึ ง ต� ำ บลแม่แ รงในช่ว งต้น เดื อ น ธั น วาคม ที่ นี่ เ พิ่ ง ผ่า นงานยี่ เ ป็ง ไป บริ เ วณ หน้า บ้า นยั ง คงมี ซ ากของเจดี ย ์ท รายให้เ ห็ น เรานึ ก เสี ย ดายที่ ม าไม่ต รงช่ว งเทศกาล แต่ ประตู ข องต� ำ บลแม่แ รงไม่เ คยปิด ยั ง คง เปิดกว้างรอให้เรากลับมาใหม่ ทีส ่ ำ� คัญไม่ได้มี แค่เทศกาลเดียว ด้วยที่ต�ำบลแม่แรงมีหลาย เทศกาลทีไ่ ด้รบ ั การระบุในปฏิทน ิ ท่องเทีย ่ วของ จังหวัดล�ำพูน โด่งดังยิ่งกว่างานประจ�ำจังหวัด เสียอีก แต่ก่อนจะถึงเวลานั้น ยังมีประสบการณ์ มากมายที่เราได้เรียนรู้จากที่นี่ รวมถึงรอยยิ้ม อันน่าจดจ�ำจากใบหน้าของผู้คน ที่เรายังนึก ไม่ออกว่าจะบรรยายอย่างไร ยังดีที่เราถ่าย ภาพของพวกเขาไว้ม าก ใช้ป ระกอบควบคู ่ กันไปก็แล้วกัน อาจจะหล่อสวยน้อยกว่าตัวจริง ไปบ้าง ก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ เพราะเรา ไม่สามารถบันทึกรอยยิ้มของพวกเขาได้ดีกว่า วิถีที่ดำ� รงอยู่ ณ กาลปัจจุบันของพวกเขา...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 9


สัInterview มภาษณ์

10 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ก่อนจะเดินทางลัดเลาะไปยังทุกซอก ทุ ก มุ ม ของต� ำ บลแม่แ รง เราถื อ โอกาส นัง่ ลงพูดคุยกับนายกเทศมนตรีตำ� บลแม่แรง เพื่อรับฟังภาพรวมของต�ำบลแห่งนี้ ก่อน จะลงไปเจาะลึกกับของจริง...


ทุนที่เข้มแข็ง สร้าง ‘แม่แรง’ ให้ย่งั ยืน ทวี ณ ล�ำพูน นายกเทศมนตรีต�ำบลแม่แรง ‘ดินแดนหัตถกรรม เลิศล�้ำผ้าฝ้ายทอมือ เลื่ อ งลื อ บาติ ก มั ด ย้อ ม งามพร้อ มประเพณี ของดี ล� ำ ไยหวาน สื บ สานต� ำ นานไทยอง แผ่นดินทองหริภุญไชย’ คือค�ำขวัญของต�ำบล แม่แรง ซึง่ อดีตนายธนาคารหนุ่ม ทวี ณ ล�ำพูน ผู้ผันตัวมาท�ำงานการเมืองท้องถิ่น และได้รับ เลือกเข้ามาเป็นนายกเทศมนตรีต�ำบลแม่แรง เอ่ยขึ้น เพื่อฉายภาพกว้างๆ ของต�ำบลแม่แรง ที่เขาได้เข้ามาบริหาร ตั้งแต่ปี 2556 นายกฯ ทวีฉายภาพของเทศบาลต�ำบล แม่แรงให้เราฟังว่า มีพื้นที่ในการดูแลทั้งหมด 16.191 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็น 11 หมู่บ้าน โ ด ย ย ก ฐ า น ะ ขึ้ น ม า จ า ก อ ง ค ์ก า ร บ ริ ห า ร ส่วนต�ำบลแม่แรง เมือ ่ วันที่ 3 มิถน ุ ายน 2548 มีประชากรตามข้อมูลทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 จ�ำนวน 7,401 คน โดย ประชาชนร้อยละ 95 เป็นคนไทยอง โดดเด่น เรือ ่ งของวัฒนธรรม ประเพณีซงึ่ สืบทอดกันมา รุ่นต่อรุ่น โดยมีอต ั ลักษณ์สำ� คัญอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1) มือ คือศิลปะ เพราะคนยองสมัยก่อน สร้างบ้านยกใต้ถน ุ สูง และทีใ่ ต้ถน ุ นีใ้ ช้เป็นพืน ้ ที่ หัตถกรรม ทอผ้าพืน ้ บ้าน 2) ปาก คือภาษายอง ที่มีเอกลักษณ์ และ 3) จิตใจ คือเป็นคนเรียบ ง่าย มีศีลธรรม โอบอ้อมอารี คนต�ำบลแม่แรงส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีพืชเศรษฐกิ จ ส� ำคั ญ คื อ ล� ำไย คิดเป็นประมาณร้อยละ 40 สร้างรายได้ไม่ตำ�่ กว่า 30 ล้านบาทต่อปี รองลงมาคื อ ข้าว มะเขือ และพริก ทว่าอุปสรรคทีส ่ ำ� คัญคือเรือ ่ ง ชลประทาน เนื่ อ งจากไม่มี แ ม่น�้ ำ สายหลั ก 12 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ไหลผ่าน ด้วยเหตุนท ี้ ก ุ บ้านจึงต้องขุดบ่อใต้ดน ิ ซึง่ แก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึง่ อย่างไรก็ดเี พือ ่ แก้ไขปัญหาระยะยาว ทางผู้บริหารมีโครงการ จะผันน�้ำจากแม่น�้ำปิง เวลานี้อยู่ระหว่างการ รวบรวมข้อมูลพืน ้ ทีก ่ ารเกษตร เพือ ่ ใช้ประกอบ การของบประมาณจากกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ “ตอนนี้ ก ารท� ำ ล� ำ ไยหรื อ ผลไม้ต ่า งๆ ชาวบ้านจะเน้นท�ำนอกฤดูกาลเป็นหลัก โดย เขาจะดูว่าเทศกาลอยู่ช่วงไหน เช่น ตรุษจีน ช่วงกลางเดือนธันวาคมผลต้องออกแล้ว เพื่อ ว่า เดื อ นมกราคม คนที่ รั บ ซื้ อ จะได้มี เ วลา เตรียมตัวขายในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ เนือ ่ งจาก ผลไม้ส่วนใหญ่ ที่นี่ส่งออกไปเมืองนอก ทั้งจีน มาเลเซีย สิงคโปร์ จึงต้องใช้เวลาในการจัดการ พอสมควร โดยเมื่อปี 2557 ราคาผลผลิต ดี ม าก ขายได้ 60-70 บาทต่อ กิ โ ลกรั ม นอกจากตรุษจีนแล้วก็มส ี งกรานต์ ขึน ้ อยู่กบ ั ว่า เกษตรกรจะจัดการสวนของตัวเองอย่างไร โดย ความรู้เหล่านี้ เราได้เกษตรอ�ำเภอ ตลอดจน ผู้มีประสบการณ์มาสอนเทคนิควิธีการต่างๆ ให้ จากนั้นชาวบ้านก็ด�ำเนินการกันเอง” ไม่ใช่เพียงเกษตรกรรมเท่านั้นที่เฟื่องฟู ภู มิ ป ัญ ญาดั้ ง เดิ ม ของชาวบ้า นตั้ ง แต่ส มั ย บรรพบุรุษอย่างการทอผ้า วันนี้ได้กลายเป็น เศรษฐกิจส�ำคัญ ซึ่งคนจ�ำนวนมากไม่รู้ ว่าที่นี่ คือแหล่งผลิตผ้าพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ของประเทศ ทั้ ง ผ้า บาติ ก ผ้า มั ด ย้อ ม และ ผ้า ฝ้า ย สร้า งรายได้ต ่อ ปีเ ป็น ร้อ ยล้า นบาท เม็ ด เงิ น ในวงจรนี้ ไ หลเวี ย นสู ่ทุ ก ครั ว เรื อ น


เพราะกระบวนท�ำผ้ามีหลายขั้นตอน จึงมีการ จ่ายงานออกไปในชุมชน ตั้งแต่เด็ก แม่บ้าน พ่อบ้าน ไปจนถึงผู้สูงอายุ “คนต�ำบลอืน ่ ก็ได้อานิสงส์ ล�ำพังคนแม่แรง แห่งเดี ยวไม่พอ เพราะสินค้ากระจายไปทั่ ว โดยเฉพาะภาคเหนื อ ตอนบน อย่า งผ้า แม้ว บนดอยก็ ผ ลิ ต ที่ แ ม่แ รง คื อ ชาวบ้า นเขา พยายามขยายตลาดกันไปเรือ ่ ย บางทีเอาแบบ มาให้ดู เขาก็ท�ำให้ แล้วเวลานี้ตลาดของเรา ใหญ่ม าก ลองคิ ด ดู ทุ ก วั น จะมี ร ถนิ่ ม ซี่ เ ส็ ง 2 คั น มารั บ ผ้า จากที่ นี่ ไ ป เพื่ อ ส่ง ไปยั ง กรุงเทพฯ เพราะผ้าที่โบ๊เบ๊ส่วนใหญ่มาจาก บ้านกองงาม ต�ำบลแม่แรงทั้งนั้น” ปัจ จุ บั น ต� ำ บลแม่แ รงมี ก ลุ ่ม ที่ เ กี่ ย วกั บ การทอผ้า มากมาย ซึ่ ง ทางเทศบาลเอง พยายามเสริมความเข้มแข็ง ด้วยการให้ยม ื เงิน ปลอดดอกเบี้ย เพื่อกระตุ้นให้ชาวบ้านลงทุน ท�ำงาน ทั้งยังจัดเทศกาลผ้าประจ�ำปี ไล่มา ตั้งแต่ศุกร์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ เป็นงาน ‘บาติกงามพร้อม มัดย้อมงามตา งานผ้ากองงาม’ จัดขึ้นที่บ้านกองงาม หมู่ที่ 1 ต่อเนื่อง 3 วัน ตั้ ง แต่ป ี 2554 โดยผ้า บาติ ก เป็น ที่ นิ ย มใน หน่วยงานราชการและส�ำนักงาน บางแห่งสัง่ ซือ ้ จ�ำนวนมาก เพือ ่ ตัดเป็นชุดพนักงานเลยก็มี ซึง่ งานนี้สร้างรายได้ไม่ต�่ำกว่า 2 ล้านบาทต่อปี ต่อ มาพอถึ ง ศุ ก ร์แ รกของเดื อ นเมษายน ก็ ถึ ง คิ ว ของงาน ‘แต่ง สี อ วดลาย ผ้า ฝ้า ย ดอนหลวง’ ที่หมู่ที่ 7 บ้านดอนหลวง จัดมา ตั้งแต่ปี 2546 ต่อเนื่อง 5 วัน 5 คืน จุดเด่น ของงานนี้ นอกจากจะเป็น การแสดงสิ น ค้า สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 13


พืน ้ เมืองแล้ว ยังตรงกับช่วงทีผ ่ ้ค ู นนิยมออกมา จับจ่ายซื้อของ โดยเฉพาะผ้าฝ้าย ผ้าขาวม้า เ พื่ อ น� ำ ไ ป เ ค า ร พ ด� ำ หั ว ผู ้มี พ ร ะ คุ ณ ต า ม ประเพณีของชาวเหนือ งานนีถ ้ อ ื เป็นงานทีใ่ หญ่ ที่สุดในจังหวัดล�ำพูน สร้างรายได้ไม่ต�่ำกว่า 20 ล้านบาทต่อปี และยังได้รับการบรรจุไว้ ในปฏิทินท่องเที่ยวประจ�ำจังหวัดอีกด้วย “คนมางานที่บ้านดอนหลวงมากกว่างาน ทีจ่ งั หวัดเสียอีก แน่นขนัดจนต้องเดินเอียงข้าง เชื่ อ ว่า มาจากทั้ ง ภาคเหนื อ ตอนบน ตั้ ง แต่ ก�ำแพงเพชรขึ้นมา คนต่างชาติก็มาก ทั้งฝรั่ง ทั้งคนจีน โดยสินค้าที่นี่มีทุกรูปแบบ บางคน ไม่ได้มาวันเดียว วันนี้หิ้วไปถุงใหญ่ อีกวันมา เก็บของที่ยังไม่ซื้อ และนอกจากเรื่องผ้าแล้ว เรื่ อ งวิ ถี ชี วิ ต ก็ เ ด่น คื อ ถ้า หากอยากเห็ น ว่า ป่าซางเมื่อ 40 ปีที่แล้วเป็นอย่างไร ต้องมาที่ งานนี้ เพราะเรามีจัด ‘กาดมั่วครัวแลง’ ซึ่ง คัดเฉพาะอาหารพื้นเมืองดั้งเดิม อย่างไข่ป่าม น�้ำพริก มาขายกันที่ใต้ถุนบ้าน” ต่อ จากงานที่ บ ้า นดอนหลวงคื อ ‘งาน สื บ สานต� ำ นาน ฝ้า ยงามหนองเงื อ ก’ จั ด ที่ บ้านหนองเงือก หมู่ที่ 5 ประมาณ 3-4 วัน สร้างรายได้แก่ประชาชนในพื้นที่มากกว่า 10 ล้า นบาทต่อ ปี รู ป แบบของงานนี้ จ ะเน้น ที่ เอกลั ก ษณ์ข องผ้า ที่ บ ้า นหนองเงื อ ก ซึ่ ง มี 14 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ลวดลายแบบไทยอง และมีนวัตกรรมเคลือบ นาโน ท�ำให้ซักแล้วสีไม่ตก ไม่มีกลิ่นอับชื้น ไม่ต้องรีด เวลามีอะไรตกใส่เสื้อ สีไม่ติดเสื้อ ด้วย ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ที่น่าจับตา “ว่า กั น ตามจริ ง รายได้จ ากการท� ำ ผ้า นี้ สูงกว่าท�ำเกษตรแล้ว เพราะสินค้าเกษตรราคา ไม่แน่นอน ถ้าของมีน้อยราคาก็แพง แต่ถ้ามา ชนกันราคาก็ถก ู ฉะนัน ้ เขาเลยท�ำอาชีพทัง้ สอง อย่างนี้ควบคู่กันไป เว้นแต่บ้านไหนที่เขาท�ำ เป็น อุ ต สาหกรรมในครั ว เรื อ น ก็ จ ะท� ำ กั น ต่อเนื่องทั้งปี เพราะถ้าว่ากันตามตรง แม่แรง ยั ง ถื อ ว่า เป็น เขตชนบทอยู ่ แต่เ ศรษฐกิ จ ค่อ นข้า งดี โดยเฉพาะเมื่ อ เที ย บกั บ ต� ำ บล ป่าซาง วัดกันครัวเรือนต่อครัวเรือน แม่แรง ไม่เป็นรอง เพราะคนแม่แรงรวยไล่เลีย ่ กันหมด ช่องว่างระหว่างคนจนกับคนรวยมีไม่มาก ต่าง จากป่าซางที่รวยก็รวยมาก ถ้าจนก็จนไปเลย” นอกจากเรื่องเศรษฐกิจและปากท้องของ พี่น้องประชาชนแล้ว เรื่องโครงสร้างพื้นฐาน ทั้ ง เรื่ อ งน�้ ำ กิ น น�้ ำ ใช้ ไฟฟ้า ถนนหนทาง ค่อนข้างเพียบพร้อม ทุกหมู่บ้านมีประปาหมู่บ้าน ของตั ว เอง และมี ก ารของบประมาณจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกรณีที่ไม่เพียงพอต่อ ความต้อ งการของประชาชน ขณะที่ ถ นน หนทางเข้าถึงเกือบทุกพื้นที่ พร้อมกับมีการ


ซ่อ มแซมถนนคอนกรี ต ที่ ท รุ ด โทรมอย่า ง สม�่ำเสมอ เช่นเดียวกับไฟฟ้าเพื่อการเกษตร ซึ่ ง เวลานี้ มี ก ารขยายไปยั ง สวนหรื อ นาของ ชาวบ้า น เพื่ อ ใช้ใ นการสู บ น�้ ำ โดยเป็น การ ลงทุนร่วมระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัด ล�ำพูน ร้อยละ 60 กับเทศบาลต�ำบลแม่แรง ร้อยละ 40 อีกเรื่องที่ต�ำบลแม่แรงโดดเด่นไม่แพ้ใคร คือการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ หมู่ที่ 10 บ้านป่าบุก ถือเป็นต้นแบบการจัดการ ขยะที่ท�ำมาต่อเนื่องหลายปี และทางเทศบาล ก็ น� ำ ความส� ำ เร็ จ ตรงนี้ ไ ปต่อ ยอดทั้ ง ต� ำ บล มี ก ารท� ำ ข้อ ตกลงและประกาศเจตนารมณ์ ร่วมกันทั้งระดับจังหวัด อ�ำเภอ ต�ำบล หมู่บ้าน และชุมชน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม โ ด ย แ น ว ท า ง ที่ ว า ง ไ ว ้ก็ มี ตั้ ง แ ต ่ก า ร แ ย ก ขยะในครั ว เรื อ น รั บ บริ จ าคขยะพลาสติ ก เพื่ออัดก้อนแล้วน�ำส่งขาย โดยเงินที่ได้น�ำมา ใส่ใ นกองทุ น สิ่ ง แวดล้อ ม เพื่ อ ช่ว ยพั ฒ นา สิ่ ง แวดล้อ มในพื้ น ที่ หรื อ สมทบองค์ก ร สาธารณกุ ศ ลในพื้ น ที่ อย่า งกองทุ น บุ ญ ผู้สูงอายุ “หลังจากเราท�ำ MOU แล้ว เกิดความ เปลี่ยนแปลงในพื้นที่อย่างมาก เพราะเท่ากับ ว่า เราไปกระตุ ้น ไปสร้า งความตระหนั ก ให้

ชาวบ้า น เพราะเขาเห็ น แล้ว ว่า แต่ก ่อ น ทุกอย่างถูกทิ้งรวมในถุงด�ำ แต่พอเราบอกว่า พลาสติกควรจัดการอย่างนี้ เศษอาหารควร จัดการอย่างนี้ ชาวบ้านท�ำ จากเมื่อก่อนขยะ ต� ำ บลแม่แ รงมี เ ดื อ นละเป็น แสนกิ โ ลกรั ม แต่เวลานี้เหลือประมาณ 80,000 กิโลกรัม และถ้าเป็นขยะในงานศพ เหลือเพียงร้อยละ 20 จากเดิมเท่านั้น” สุ ด ท้า ยคื อ เรื่ อ งการศึ ก ษา นายกฯ ทวี บอกว่าเรือ ่ งนีท ้ างเทศบาลพยายามด�ำเนินการ อยู ่เ ช่นกั น โดยเฉพาะการโอนย้ายโรงเรียน ภายในต�ำบลให้มาอยู่ในการดูแลของเทศบาล ท ว ่า ยั ง มี อุ ป ส ร ร ค บ า ง อ ย ่า ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ความพร้อมของบุคลากร แต่กเ็ ชือ ่ ว่าอีกไม่เกิน 5-6 ปี จะเห็นความคืบหน้า เนือ ่ งจากการรวม จะท� ำ ให้เ ราจั ด การศึ ก ษาได้ง ่า ย เป็น ระบบ มากกว่า ส่วนที่ท�ำได้ในเวลานี้ คือมุ่งเน้นไปที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 แห่งเป็นหลัก “วั น นี้ ค นแม่แ รงมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี เต็ ม เปี่ยมด้วยความสุขกาย สุขใจ สุขทางสังคม และสุขทางเศรษฐกิ จ ซึ่งทั้งหมดนี้ก็เป็นการ ตอบสนองวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลแม่แรง ที่ว่า ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์วัฒนธรรม ก้าวน�ำ หัตถกรรมสิ่งทอ” นายกฯ ทวี สรุป... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 15


‘บ้านป่ าบุ ก’

หมู่บ้านจัดการตนเอง Self-managed village

16 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


บ้านป่าบุก หมู่ที่ 10 เป็นหมู่บ้านเล็ก มีเพียง 88 หลังคาเรือน ที่นี่เป็นหมู่บ้านจัดการตนเอง ด้านสิง่ แวดล้อม มีการสร้างนวัตกรรมหลากหลาย เพื่อมาจัดการกับขยะในชุมชน ซึ่งบางนวัตกรรม ได้ส่งผลไปไกลกว่าการจัดการสิ่งแวดล้อม ด้วย ต่อ ยอดไปสู ่ก ารพั ฒ นาด้า นเศรษฐกิ จ ก็ ดี หรื อ สุขภาพก็ดี เกิดเป็นความเชือ ่ มโยงทีน ่ ่าสนใจ แล้ว ให้อยากรู้เหลือเกินว่า ที่นี่เขาท�ำอะไร และท�ำได้ อย่างไร...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 17


จุ ดเริ่มต้นแห่งการเป็นหมู ่บ้านจัดการขยะ

สนั่น สมจันทร์

ทันทีที่เข้าเขตของบ้านป่าบุก หมู่ที่ 10 ภูมิทัศน์ที่ปรากฏสู่สายตาเป็นเครื่องยืนยันได้ อย่างดีว่า ทีน ่ เี่ ป็นหมู่บ้านทีม ่ ก ี ารจัดการดีเยีย ่ ม บ้า นแต่ล ะหลั ง สะอาดสะอ้า น ไม่มี ถั ง ขยะ ให้เห็น มีพน ื้ ทีส ่ เี ขียวผ่อนคลายสายตา บ้างอยู่ บริเวณริมรั้วหน้าบ้าน บ้างอยู่ภายในรั้วบ้าน บ้า งอยู ่ใ นขวดเรี ย งอยู ่บ นก� ำ แพง ที่ ส� ำ คั ญ พื้นที่สีเขียวเหล่านี้สามารถกินได้ ทันทีที่ สนั่น สมจันทร์ เข้ามารับหน้าที่ ผู ้ใ หญ่บ ้า นป่า บุ ก หมู ่ที่ 10 เมื่ อ ปี 2548 สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ขาคิ ด จะด� ำ เนิ น การอย่า งเร่ง ด่ว น 18 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

คื อ การจั ด การปัญ หาขยะ เพราะถึ ง แม้ บ้านป่าบุกเป็นหมู่บ้านเล็กๆ บนพื้นที่ขนาด 0.82 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรเพียง 88 ครัวเรือน แต่กลับมีปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่พึงประสงค์มากมาย ทั้งการทิ้งขยะไม่เป็น ระบบระเบียบและการเผาขยะ เป็นปัญหาที่ สะสมมานาน “แต่ละเดือนทีบ ่ ้านเรามีขยะมากถึง 7 ตัน” พ่อหลวงสนั่นว่า จนในปี 2549 พ่อหลวงจึงระดมก�ำลังพล ทั้งคณะกรรมการหมู่บ้าน อสม. กลุ่มแม่บ้าน เพื่ อ ท� ำงานด้า นสิ่ ง แวดล้อ มในชุ ม ชน โดยมี เป้าหมายอยู่ที่การจัดการปัญหาขยะในพื้นที่ “โดยให้แต่ละฝ่ายคิดในส่วนที่ตัวเองถนัด เช่น อสม. วิเคราะห์ถึงต้นสายปลายเหตุของ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือไข้เลือดออก ส่ว นคณะกรรมการหมู ่บ ้า นคอยตรวจดู พฤติกรรมของชาวบ้าน เราพบว่า โรคภัยต่างๆ มีที่มาจากขยะ และขยะก็เกิดจากพฤติกรรม อันไม่พึงประสงค์” หลั ง จากปรึ ก ษาหารื อ กั น ได้ข ้อ สรุ ป เป็นการจัดการขยะ 4 ประเภท แบ่งเป็นขยะ ในครัวเรือน ขยะในงานศพ ขยะในสวน และ ขยะตามถนน แต่กว่าจะท�ำอย่างจริงจังก็ราวปี 2551 โดยมี เ ทศบาลต� ำ บลแม่แ รงคอยให้ การสนับสนุน ขยะแต่ล ะประเภทมี ที่ ม าแตกต่า งกั น กระบวนการจัดการจึงแตกต่างกันตามไปด้วย “อย่างขยะในครัวเรือน หมู่บ้านมีนโยบาย ให้ทุ ก ครั ว เรื อ นมี ถั ง คั ด แยก ส� ำ หรั บ ใส่ เศษอาหาร รวมถึงขยะอินทรีย์ต่างๆ เพื่อให้


ย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ยส�ำหรับใส่ต้นไม้ และ พืชผักสวนครัว อีกส่วนเป็นขยะขายได้ เช่น ขวด พลาสติก กระดาษ และโลหะต่างๆ ให้ ครัวเรือนคัดแยกไว้ แรกๆ ขายให้รถรับซื้อ ของเก่า แต่ภายหลังตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมา ได้มีกาดนัดรีไซเคิลของหมู่บ้าน โดยพ่อหลวง ประสานให้ทุกบ้านน�ำขยะมาขายทุกวันที่ 5 ของเดือน ณ จุดรับซือ ้ ทีว่ ด ั ป่าบุก ซึง่ จะมีพ่อค้า มารั บ ซื้ อ ถึ ง ที่ เงิ น ที่ ไ ด้ช าวบ้า นส่ว นใหญ่ เก็บออมกับกลุ่มออมทรัพย์ของหมู่บ้าน ซึ่ง เปิดท�ำการวันเดียวกัน” พ่อหลวงอธิบาย ส่วนถุงพลาสติกใช้การจัดการอีกแบบ โดย ให้ทุ ก ครั ว เรื อ นรวบรวมเอาไว้ จากนั้ น ทาง กองสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อมจะให้พนักงาน มาเก็บ เพื่อน�ำไปอัดก้อน จ�ำหน่ายให้บริษัท ทีม ่ ารับซือ ้ ในราคากิโลกรัมละ 2 บาท ส่วนขยะ อั น ตราย ทางชุ ม ชนมี จุ ด ทิ้ ง เฉพาะ และ ประสานเทศบาลด�ำเนินการต่อไป

ต่อมาคือขยะในงานศพ ซึ่งถือเป็นปัญหา ที่ แ ก้ย าก เพราะชุ ม ชนทางภาคเหนื อ มี วัฒนธรรมประเพณีเฉพาะของตน “งานศพของบ้านเรา เจ้าภาพนิยมเลี้ยง ขันโตก แต่ละขันโตกมีอาหารประมาณ 4-5 อย่าง ส�ำหรับรองรับแขกประมาณ 2-3 คน ถื อ ว่า เยอะเกิ น ไป แขกรั บ ประทานไม่ห มด เหลื อ ทิ้ ง เป็น จ� ำ นวนมาก กลายเป็น ภาระที่ คณะกรรมการหมู่บ้านต้องจัดการ” พ่อหลวงเล่า นั่ น จึ ง เ ป ็น ที่ ม า ข อ ง ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น พฤติ ก รรมใหม่ มี ก ารเรี ย กประชุ ม ชาวบ้า น และสร้างมติร่วมกันว่า ต่อไปจะเลี้ยงอาหาร จานเดียว ให้ทก ุ คนตักเอง ตักแค่พอรับประทาน ผู้สูงอายุคนไหนตักไม่ไหว จะมีกลุ่มแม่บ้าน คอยบริการ ถ้าไม่อิ่ม ลุกไปเติม “ช่วงแรกๆ คนไม่ยอม แต่ต้องท�ำให้เป็น ตัวอย่าง อย่างงานแรกที่ทำ� ตอนนั้นปี 2554 เป็นญาติของพ่อหลวงเอง ผลคือขยะลดลงไป

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 19


มาก จากเกือบ 100 ถุง ถุงละ 20 กิโลกรัม ปัจจุบันเหลือไม่ถึง 10 ถุง โดยแนวคิดนี้ขยาย ทัว่ ต�ำบลแล้ว เพราะไม่เพียงจัดการปัญหาขยะ เท่า นั้ น แต่ยั ง รวมถึ ง ภาระค่า ใช้จ ่า ยของ เจ้าภาพ บางบ้านมีงานศพ ต้องซื้อจนเป็นหนี้ ตอนนี้ ไ ม่ต ้อ งมากมายเหมื อ นก่อ นแล้ว ” พ่อหลวงสนั่นฉายภาพให้เห็น ส�ำหรับขยะในสวน ส่วนมากเป็นใบล�ำไย ทีต ่ กเกลือ ่ นกลาดหลังจากเก็บเกีย ่ วผลผลิต ซึง่ วิ ธี ก� ำ จั ด ดั้ ง เดิ ม คื อ การเผา เกิ ด เป็น ปัญ หา หมอกควั น และมี ค ่า มลพิ ษ ในอากาศเกิ น มาตรฐาน คณะกรรมการหมู่บา้ นจึงพยายาม รณรงค์ใ ห้ป ระชาชนเลิ ก เผา และเปลี่ ย น เศษใบไม้นั้นให้เป็นปุ๋ยหมักแทน “เราประสานไปยังมหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ เพื่อขอยืมเครื่องบดย่อยกิ่งไม้ ซึ่ง ทางมหาวิทยาลัยอนุเคราะห์มาให้เครื่องหนึ่ง ตัง้ แต่วน ั นัน ้ ชาวบ้านจึงมีป๋ย ุ หมักจากเศษใบไม้ กิง่ ไม้ใช้เรือ ่ ยมา จนวันนีห ้ มู่บ้านป่าบุกกลายเป็น หมู่บ้านปลอดการเผาโดยสิ้นเชิง” สุดท้ายคือขยะตามถนน ส่วนใหญ่ขยะนี้ ไม่ได้เกิดขึน ้ จากชาวชุมชน แต่เป็นผู้สญ ั จรไปมา ที่ชอบโยนแก้วน�้ำ ถุงพลาสติกออกมานอกรถ เริ่ ม แรกจึ ง ท� ำ หนั ง สื อ ขอความร่ว มมื อ ไปยั ง กลุ่มรถตู้รับส่งนักเรียน ให้ช่วยเตือนเด็กๆ ว่า อย่าทิง้ ขยะริมทาง ให้เก็บไว้ในรถ แล้วค่อยไป

20 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ทิ้งในถังขยะที่โรงเรียน ขณะเดียวกันก็จัดท�ำ ป้ายขอความร่วมมือ อย่าทิง้ ขยะตามจุดต่างๆ ในพื้นที่ ซึ่งก็ได้ผลตอบรับที่ดีระดับหนึ่ง จากการจัดการอย่างจริงจังและได้ผลลัพธ์ ที่ ดี ร ะดั บ หนึ่ ง ในปี 2554 เทศบาลต� ำ บล แม่แรงจึงส่งบ้านป่าบุกเข้าประกวดโครงการ ลดเมื อ งร้อ นด้ว ยมื อเรา ปีที่ 7 ซึ่งมีบ ริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิ สถาบั น สิ่ ง แวดล้อ มไทยจั ด ขึ้ น ปรากฏว่า บ้านป่าบุกได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 จากชุมชนทีเ่ ข้าร่วมกว่า 200 แห่ง ทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลนวัตกรรมดีเด่น จาก โครงการลดปริมาณขยะในงานศพด้วย ในปี 2555 บ้า นป่า บุ ก ได้ส มั ค รเข้า โครงการชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ ม ได้รั บ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 พร้อมเงินรางวัล 30,000 บาท “เราน� ำ เงิ น มาเก็ บ ไว้เ ป็น กองทุ น ของ หมู่บ้าน เพื่อใช้บริหารจัดการชุมชน ต่อมา ในปี 2556 บ้านป่าบุกเข้าประกวดอีกครั้ง ก็ ยังได้รองชนะเลิศอันดับ 2 อีก จนกระทัง่ มาได้ รับรางวัลชนะเลิศ ในโครงการชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) เฉลิมพระเกียรติ 87 พรรษา ปี 2557” พ่อหลวงกล่าวด้วยความภาคภูมใิ จ


สร้างสรรค์นวัตกรรมสู่ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste)

จากจุดเริม ่ ต้น ทางคณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านป่าบุกได้รวบรวมนวัตกรรมต่างๆ ที่เกิด ขึน ้ ในหมู่บ้าน เพือ ่ น�ำเสนอให้ผ้ป ู ระเมินเห็นว่า บ้านป่าบุกสร้างสรรค์นวัตกรรมดีๆ ทีต ่ อบโจทย์ การจัดการขยะไว้อย่างเป็นระบบ นอกจากเปลี่ยนมาเลี้ยงอาหารจานเดียว แล้ว ในงานศพจะมี ก ารมอบต้น ไม้แ ทน พวงหรีด ด้วยความที่ใช้พวงหรีดเสร็จก็ต้อง เผา กลายเป็นการสร้างมลพิษ เช่นเดียวกับ ปราสาทที่ใช้ครอบโลงศพ ก็เปลี่ยนเป็นเต็นท์ แทน เพราะน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ สามารถลด ค่าใช้จ่ายได้มากกว่า 20,000 บาท “ที่บ้านเรายังมีนักบิณฑ์พิชิตโลกร้อน ซึ่ง ความจริงแล้วเป็นวัตรปฏิบัติที่พระภิกษุสงฆ์ ของวัดป่าบุกยึดถือมากว่า 30 ปี คือการน�ำ ภาชนะและตู ้กั บ ข้า วไปรั บ บิ ณ ฑบาตจาก ญาติโยมในชุมชนทุกเช้า พระท่านจะปฏิเสธ

อาหารทีใ่ ส่ถงุ พลาสติก นีถ ่ อ ื เป็นคุณค่าดัง้ เดิม ที่ยังคงอยู่จนถึงวันนี้” พ่อหลวงว่า ยังมีโครงการที่ว่างสร้างอาหาร ซึ่งเริ่มท�ำ มาตั้งแต่ปี 2549 ด้วยการชักชวนให้ชาวบ้าน ใช้พน ื้ ทีว่ ่างในบ้าน ริมถนนสาธารณะหน้าบ้าน ปลูกผักไว้รบ ั ประทาน โดยใช้ป๋ย ุ จากเศษอาหาร หรือปุ๋ยหมัก เพือ ่ ลดค่าใช้จ่าย และยังได้อาหาร ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพอีกด้วย นอกจากนี้ ในปี 2556 เมื่ อ เยาวชน โรงเรียนวัดป่าบุกเห็นผู้ใหญ่ท�ำงานเรื่องขยะ อย่า งขะมั ก เขม้น จึ ง อยากมี ส ว่ นร่ว ม โดย รวมกันประมาณ 15 คน เป็นกลุ่มสารวัตรขยะ “ทุกวันอาทิตย์เวลาเก้าโมงเช้า เด็กๆ จะ รวมตัวกันปั่นจักรยาน มีซาเล้งหนึ่งคัน เก็บ ขวดแก้ว พลาสติก กระดาษ และขยะอื่นๆ จากนั้นไปคัดแยก จนวันนี้แทบไม่เหลือขยะ ให้เก็บแล้ว” พ่อหลวงเล่าด้วยรอยยิ้ม สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 21


แต่เหนืออื่นใด สิ่งที่ท�ำให้การจัดการขยะ ของบ้านป่าบุกเป็นระบบระเบียบมากทีส ่ ด ุ คือ การท� ำ ธรรมนู ญ บ้า นป่า บุ ก ในปี 2556 ประกอบด้วย 12 ข้อ คือ 1) ไม่เผาขยะและ เศษใบไม้ 2) คัดแยกขยะ 3) ใช้วัสดุธรรมชาติ แทนโฟมพลาสติก 4) ไม่ใช้หลอดไฟแบบไส้ 5) งดใช้ปราสาท งดพวงหรีด และงดจุดธูป ในงานศพ 6) ลดใช้สารเคมี 7) ก�ำจัดแหล่ง เพาะพั น ธุ ย ์ ุ ง ลาย 8) ท� ำ ที่ ว ่า งสร้า งอาหาร 9) เลี้ ย งอ าห าร จ านเ ดี ย ว ใ น งาน ต ่า งๆ 10) ลดการรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม 11) หมู่บ้านปลอดอบายมุข และ 12) ติ้วถุงผ้า ไปกาด บ๊ะต้องปิ๋นก๋าน เอาถุงแซ่วปิ๊กเฮือน (หิ้วถุงผ้าไปตลาด) “ธรรมนูญนีเ้ กิดจากการทีเ่ รามีการประชุม ประชาคม และรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน เกิดเป็นข้อตกลงจากทุกคนในหมู่บา้ น ทีส ่ ำ� คัญ การประชาคมนี้คือเหตุผลที่ท�ำให้เราจัดการ เรื่องขยะได้ส�ำเร็จ เพราะตอนที่เริ่ม เราก็ใช้ วิ ธี นี้ ให้ช าวบ้า นยกมื อ ว่า อยากท� ำ หรื อ ไม่ แรกๆ ก็ยกไม่ครบ แต่พอท�ำไปเรื่อยๆ เหมือน กลายเป็นวิถี คนหมู่มากท�ำ คนหมู่น้อยก็เลย ต้องพลอยท�ำ ท�ำแล้วมันดี กระทั่งปี 2555

22 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ทุกครัวเรือนก็เข้าร่วมจัดการขยะ ฉะนั้นในปี 2556 การผ่านธรรมนูญนี้จึงไม่ใช่เรื่องยาก และเป็น ข้อ ตกลงร่ว มกั น ว่า เราจะท� ำต่อ ไป” พ่อหลวงอธิบาย งบประมาณในการด� ำ เนิ น กิ จ กรรมของ บ้า นป่า บุ ก มาจากกองทุ น ที่ ห มู ่บ ้า นสะสม เอาไว้ โดยเฉพาะเงินรางวัลจากการประกวด รวมไปถึ ง อุ ป กรณ์ต ่า งๆ จากกรมส่ง เสริ ม คุณภาพสิ่งแวดล้อม ปัจ จุ บั น กิ จ กรรมการจั ด การขยะของ บ้านป่าบุกได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง มี สื่ อ ม ว ล ช น ทั้ ง โ ท ร ทั ศ น ์ ห นั ง สื อ พิ ม พ ์ และนิ ต ยสารจ� ำ นวนมากเข้า มาถ่า ยทอด กระบวนการท�ำงานของชุมชน เช่น รายการ ข่า วสามมิ ติ ข องไทยที วี สี ช ่อ ง 3 รายการ Green Report ของช่อง 7 สี รวมไปถึงช่อง NBT ด้วย ทั้งหมดนี้คือเหตุผลว่าท�ำไมบ้านป่าบุกจึง มีภูมิทัศน์อย่างที่เห็น ด้วยทุกคนตระหนักว่า การจั ด การขยะเป็น หน้า ที่ ที่ ต ้อ งร่ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบ และต่อ จากนี้ เราจะพาไปดู นวัตกรรมอืน ่ ๆ ทัง้ ทีก ่ ล่าวถึงและยังไม่ได้กล่าว ถึง รับรองว่าต้องทึง่ กับภูมป ิ ัญญาของคนทีน ่ .ี่ ..


ที่ว่างสร้างอาหาร

“ปลู ก ผั ก ฮื้ อ งาม เฮาใส่ใ จ๋ เฮาบ่อ ใส่ สารพิษ” ถ้อยค�ำสั้นๆ นี้ปรากฏอยู่ท่ามกลาง แปลงผั ก ขนาดย่อ ม บริ เ วณหน้า บ้า นของ สายสุภาพ มณีกรรณ์ แห่งบ้านป่าบุก ทีน ่ เี่ ปลีย ่ นทีว่ ่างให้เป็นพืน ้ ทีส ่ เี ขียวทีก ่ ินได้ กั น ทุ ก บ้า น แต่บ ้า นที่ ไ ด้รั บ การยอมรั บ ให้เป็นที่สุดแห่งการจัดการพื้นที่ และไอเดีย สุดสร้างสรรค์ คือบ้านของสายสุภาพ “เริ่มแรกเราไปท�ำงานข้างนอกบ้าน แล้ว ข้างนอกนี่ไม่มีตลาดขายผักสดเลย จะมาซื้อ แถวบ้านก็ไม่ได้ เพราะกลับมาก็คำ�่ แล้ว เวลา จะท�ำกับข้าวก็เลยขาดผักชีบ้าง ต้นหอมบ้าง เลยแก้ปัญหาด้วยการปลูกผักกินเองทีละนิดๆ” สายสุภาพย้อนนึกถึงเหตุการณ์เมื่อปี 2549 ทว่าด้วยความที่มีพื้นที่จ�ำกัด ขนาดไม่ถึง 100 ตารางวา รวมตัวบ้านด้วยแล้ว การจะท�ำ แ ป ล ง ป ลู ก เ ห มื อ น ที่ อื่ น จึ ง ลื ม ไ ป ไ ด ้เ ล ย ความจ� ำ กั ด ด้า นพื้ น ที่ ไ ด้รั บ การทดแทนด้ว ย ความคิดสร้างสรรค์ เมื่อเธอเห็นเศษตะกร้า สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 23


24 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


สายสุภาพ มณีกรรณ์

กระเช้าของขวัญ ยางรถยนต์ ขวดน�ำ้ อัดลมที่ ไม่ใ ช้แ ล้ว จั ด แจงท� ำ เป็น กระถางห้อ ยตาม รั้วบ้าง ผนังบ้านบ้าง นับว่าเป็นไอเดียที่แปลก แหวกแนว ได้ทงั้ ผักปลอดสารพิษไว้รบ ั ประทาน และเป็นการตกแต่งบ้านไปในตัว “พอปลูกมาเรื่อยๆ เห็นว่าดี เลยตัดสินใจ ขยาย เอาพืชผักใหม่ๆ มาลง ตอนนี้มี 40 กว่าอย่างแล้ว ทัง้ หัวไชเท้า ผักกาดขาว แครอท ถัว่ ฝักยาว ผักชี พริก ขิง ข่า ตะไคร้ สตรอว์เบอร์รี พี่ก็มี ปลูกแบบหมุนเวียน” สายสุภาพว่า ส ่ว น เ ค ล็ ด ลั บ ก า ร ป ลู ก ใ ห ้ไ ด ้ผ ล ง า ม เจ้าของบ้านบอกว่า ต้องใส่ใจ รดน�้ำทุกวัน พรวนดิ น หมั่นใส่ปุ๋ย เน้นปุ๋ย หมั ก เป็นหลั ก ส่วนปุ๋ยเคมี ใช้บางตัวเล็กน้อย แล้วก็มน ี ำ�้ หมัก ชีวภาพที่ท�ำเองมาผสม จากบ้านหลังเล็กๆ เพียงหลังเดียว วันนี้ ที่ว่างสร้างอาหารขยายไปจนทั่วหมู่บ้าน และ กลายเป็นสิ่งที่ชาวบ้านป่าบุกถือปฏิบัติ และ ได้มี ร ะบุ ไ ว้ใ นธรรมนู ญ ของหมู ่บ ้า นเป็น ที่ เรียบร้อย

“คนในชุ ม ชนผ่า นไปผ่า นมาเห็ น ก็ มี ม า ขอบ้าง ซื้อบ้าง เพราะผักเราปลอดสารพิษ อยู่แล้ว ที่ส�ำคัญเรากินไม่หมด เลยแบ่งขาย แต่ทุกวันนี้ทุกบ้านปลูกทิ้งไว้ ไม่ต้องมาขอซื้อ พี่อีกแล้ว” สายสุภาพกล่าวด้วยรอยยิ้ม ถึงแม้ว่าการปลูกผักแบบนี้ ท�ำให้ค่าใช้จ่าย ในครัวเรือนลดลงเพียง 5-6 บาท แต่เมื่อคิด เป็น เดื อ นเป็น ปีแ ล้ว ถื อ เป็น จ� ำ นวนเงิ น ที่ สามารถน�ำไปท�ำประโยชน์อน ื่ ๆ ให้กบ ั ครอบครัว ได้อีกมาก ที่ส�ำคัญยังถือเป็นการดูแลสุขภาพ ด้วย เพราะอาหารคือยา “พี่ ท� ำ ตรงนี้ ข องพี่ ม า จนหมู ่บ ้า นเริ่ ม รณรงค์ส ่ง เสริ ม การจั ด การขยะ บ้า นพี่ จึ ง เป็นต้นแบบด้านการจัดการขยะในครัวเรือน และการใช้พื้ น ที่ ส่ว นผลลั พ ธ์ที่ ไ ด้ เราได้ มากกว่า หนึ่ ง เรื่ อ ง ทั้ ง สิ่ ง แวดล้อ ม สุ ข ภาพ เศรษฐกิจ สังคม จนวันนี้เชื่อมต่อไปถึงเรื่อง ของการศึกษา ทั้งเด็กและเยาวชน รวมไปถึง คนต่า งชุ ม ชนที่ เ ข้า มาดู บ ้า นป่า บุ ก ของเรา” สายสุภาพสรุป... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 25


ปุ๋ ย & โฟม ต�ำราแปรขยะ ฉบับอาจารย์นพ

26 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


นพรัตน์ อุพงค์

ฤดูกาลผันผ่าน ธรรมชาติก็เช่นกัน ต้นไม้ ผลัดใบตามวัฏจักร ช่วงฤดูนี้ เศษใบไม้ร่วงหล่น หลายคนกวาดสุมกองรวมกัน แล้วจุดไฟเผา จากกองหนึ่งไปจนถึงสิบกอง เกิดเป็นควันพิษ ที่แม้แต่เจ้าตัวเองมิได้ตระหนักถึงผลร้าย นพรั ต น์ อุ พ งค์ ข้า ราชการครู บ� ำ นาญ จึ ง พยายามสรรหาวิ ธี ก ารก� ำ จั ด เศษใบไม้ จนเป็นที่มาของการท�ำปุ๋ยหมัก “ผมเริ่ ม มาก่อ นที่ บ ้า นป่า บุ ก จะท� ำ เรื่ อ ง การจัดการขยะอย่างเป็นล�ำ่ เป็นสัน” ลุงนพรัตน์ เริ่มเล่าถึงที่มาของการท�ำปุ๋ยในปี 2544 อาจารย์นพรัตน์เริ่มต้นน�ำกองใบไม้จาก สวน จากบ้าน และบ้านใกล้เรือนเคียง จ�ำนวน 500 กิ โลกรัม มาท�ำปุ๋ยส�ำหรับใส่ต้นล�ำไย ในสวนของตัวเอง “ ส ว น ล� ำ ไ ย ข อ ง ผ ม เ ป ็น ที่ รั บ ฝ า ก ร ถ จั ก รยานยนต์ เนื่ อ งจากสวนของผมอยู ่ต รง ทางเข้า ตลาดนั ด พอรถมาจอดมากๆ เลย ท�ำให้ดินแน่น เวลามีนำ�้ ก็เอ่อขัง ไม่ซึมลง จะ พรวนดินก็ล�ำบาก ปุ๋ยเคมีผมก็ไม่ใช้ ต้องใช้ ปุ๋ยหมักเท่านัน ้ เพือ ่ ให้มไี ส้เดือนขึน ้ มา เชือ ่ ไหม

พอปีแรกทีท ่ ำ� หน้าฝนนีล ้ งสวนไม่ได้เลย เพราะ ไส้เดือนขึ้นมาเยอะมาก ดินร่วนซุยหมดเลย” อาจารย์นพรัตน์เล่า ส� ำ หรั บ สู ต รในการท� ำ ปุ ๋ย นั้ น เริ่ ม จาก การน�ำมูลวัวมาลง จากนั้นก็นำ� ใบไม้มากองไว้ ประมาณ 30 เซนติเมตร ท�ำแบบนี้สลับกันไป เรื่อยๆ ให้มากชั้นที่สุดเท่าจะท�ำได้ รดใบไม้ ด้วยน�ำ้ หมักจุลน ิ ทรีย์ พอผ่านไปสักระยะก็ค่อย พลิ ก กองปุ ๋ย เพื่ อ ให้จุ ลิ น ทรี ย ์ที่ ห มั ก เอาไว้ เริ่มท�ำงาน “วิ ธี สั ง เกตที่ ผ มใช้ คื อ เอาไม้เ สี ย บไว้ที่ กองปุ๋ย ถ้าดึงออกมาแล้วไม้ร้อน ก็เริม ่ พลิกได้เลย การพลิกกองปุ๋ยนี้ ผมใช้จอบมาสับ คลุกเคล้า ให้แต่ละส่วนผสมกัน แล้วแต่ความขยัน ถ้า พลิกทุก 10 วัน เพียงหนึ่งเดือนครึ่งก็จบ ใช้ได้ แต่ถ้าไม่พลิกต้องใช้เวลานานหน่อย พอท�ำ เสร็จ ก็ให้น�้ำ ราดบนกอง ไม่ต้องพรวน แค่นี้ก็ เรียบร้อย” เจ้าของสวนล�ำไยนักคิดอธิบาย ต่อ มาในปี 2554 อาจารย์น พรั ต น์ เกิดไอเดียสร้างสรรค์ ริเริ่มท�ำคันหินเบาจาก เศษโฟม สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 27


28 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


“ทุ ก บ้า นมี ข ยะประเภทนี้ ติ ด มากั บ เครือ ่ งใช้ไฟฟ้าทีซ ่ อ ื้ มา ซึง่ ทีผ ่ ่านมาชาวบ้านจะ เก็บไว้ รอเทศบาลมารับไปจัดการ หรือน�ำไป ขายต่อ ให้กั บ บริ ษั ท เอกชนที่ รั บ ซื้ อ โฟม” อาจารย์นพรัตน์ว่า จนวันหนึ่งอาจารย์นพรัตน์เกิ ดความคิด สร้า งสรรค์ ด้ว ยการน� ำ โฟมมาย่อ ยเป็น ชิ้ น เล็ ก ๆ โดยใช้ไ ม้ต อกตะปู เ ป็น เครื่ อ งมื อ ขั ด จากนั้นน�ำไปผสมกับปูนซีเมนต์และทราย ใน อัตราส่วน โฟม 1 ส่วน ปูน 1 ส่วน และทราย 4 ส่วน แต่ถ้าอยากเพิ่มความแข็งแรงให้เพิ่ม ปูนอีก 1 ส่วน ใส่นำ�้ คลุกเข้าด้วยกัน หยอดลง พิมพ์ เพียงเท่านี้ก็ได้คันหินเบาที่มีคุณภาพ ไอเดียนีไ้ ด้รบ ั การการันตีด้วยรางวัลอันดับ ที่ 3 ของโครงการสิ่งประดิษฐ์ภายในบ้านจาก วัสดุเหลือใช้ ระดับประชาชนทั่วไป ประจ�ำปี 2558 โดยส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม จังหวัดล�ำพูน ซึ่งอาจารย์นพรัตน์ ใช้ชื่อนวัตกรรมนี้ว่า ‘โฟมจ๋าหายไปไหน?’

“ผมเคยไปศึ ก ษาดู ง านหลายแห่ง เช่น เมืองแกลง และโรงงานโตโยต้าทีบ ่ ้านโพธิ์ พอดู เสร็จ ผมก็กระตือรือร้นอยากกลับมาท�ำที่บ้าน คือเขาไม่ได้สอนวิธจี ด ั การให้ผมนะ แต่เขาชีใ้ ห้ เห็นว่า การจัดการสภาพแวดล้อมเป็นสิง่ ส�ำคัญ ของชุ ม ชน” อาจารย์น พรั ต น์ย ้อ นความถึ ง แรงบันดาลใจ นอกจากคันหินเบาแล้ว อาจารย์นพรัตน์ ยังน�ำเศษโฟมเหล่านี้ ละลายในน�้ำมันเบนซิน ผลที่ได้คือสารที่เหนียวคล้ายกาว สามารถน�ำ ไปอุดรอยรั่วของหลังคาสังกะสี ซึ่งมีอายุการ ใช้งานประมาณ 10 ปี กิจกรรมมากมายขนาดนี้ ภายในบริเวณ บ ้า น ข อ ง อ า จ า ร ย ์น พ รั ต น ์จึ ง มี ข ้า ว ข อ ง เครือ ่ งใช้มากมาย ส�ำหรับประดิษฐ์นน ั่ ท�ำนีม ่ ไิ ด้ อยู่ว่าง ตามประสาของนักคิดนักสร้างสรรค์ แต่ก ระนั้ น อาจารย์ยั ง ไม่ลื ม ที่ จ ะแบ่ง ที่ ว ่า ง ไว้ส ร้า งอาหารตาและอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ กับเขาด้วยเหมือนกัน... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 29


ก้านตาลแปลงร่าง

สวัสดิ์ ปาระมี

30 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


การเดินทางที่ผ่านมา เราไม่ค่อยได้พาน พบต้น ตาลในภาคเหนื อ เท่า ไรนั ก ผิ ด กั บ ภาคกลาง ซึ่งเวลาเข้าไปเรือกสวนไร่นา ก็มัก พบก้านตาลนอนแผ่อยู่บนคันดิน ไม่ร้วู ่าจะเอา ไปใช้ทำ� อะไร ที่ต�ำบลแม่แรงเองมีก้านตาลเหลือทิ้งเป็น จ�ำนวนมาก และไม่น่าเชื่อว่า เคยเป็นเรื่อง พิพาทระหว่างต�ำบลมาแล้ว เราเดินทางมาที่หอ ้ งท�ำงานของ สวัสดิ์ ปาระมี ชายสูงวัยผู้มีอายุล่วงเลยเข้าสู่ขวบปี ที่ 72 ใต้เพิงพักอันสมถะที่มีผ้าใบปูให้ร่มเงา เขายังคงนัง่ อยู่บนเก้าอีต ้ วั เก่า ท�ำจากก้านตาล ด้วยฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ของแกเอง นอกจากเป็นห้องท�ำงานแล้ว นี่ยังเป็นโชว์รูม ขนาดย่อมของแกด้วย “ตัวทีน ่ งั่ อยู่นไี้ ม่ขาย ส่วนทีว่ างอยู่มค ี นจอง หมดแล้ว” ตาสวัสดิ์ตอบค�ำอย่างอารมณ์ดี ย้อนกลับไปเมื่อราว 10 ปีก่อน ความที่ ท�ำนามานานหลายทศวรรษ จึงท�ำให้ร่างกาย ของลุงสวัสดิท ์ รุดโทรมไปตามกาลเวลา เขาจึง ตัดสินใจเปลี่ยนชีวิตหันมาเป็นชาวสวนล�ำไย ระหว่า งนั้ น เองที่ เ ขาได้พ บงานอดิ เ รก ซึ่ ง สร้างรายได้แก่ตัวเอง แม้จะไม่เคยท�ำเฟอร์นเิ จอร์มาก่อนในชีวต ิ แต่ด ้ว ยพรสวรรค์ด ้า นงานช่า ง ตาสวั ส ดิ์ จึ ง ค่อยๆ สร้างชิ้นงานของตัวเอง เก้าอี้ตัวแรก ใช้เวลาท�ำอยู่ 3 วันเต็มจึงแล้วเสร็จ เป็นเก้าอีน ้ ง่ั นอนได้ มีความแข็งแรง ปะติดชนต่อจนพอดี ไม่มีเศษเสี้ยนมาต�ำสร้างความร�ำคาญ “เวลาคนมาเอาปลี เอาลูกตาลไปกิน ก็มก ั ฟันก้านทิ้งไว้ข้างนาข้างล�ำเหมือง ลอยตาม กระแสไปขวางปิดกั้นทางไหลของน�้ำ สร้าง ความเดื อ ดร้อ นให้ช าวบ้า นชุ ม ชนข้า งเคี ย ง แล้วก็เลยมาร้องเรียนที่เทศบาล ทางเทศบาล

ก็ตด ิ ต่อให้ลงุ มาช่วยจัดการกับก้านตาลพวกนี”้ ผู้น�ำทางของเราขยายความ จากชิ้นที่ 1 สู่ชิ้นที่ 2 ชิ้นที่ 3 แม้จะไม่ได้ ป่าวประกาศให้ใครรู้ แต่ของดีย่อมประจักษ์แก่ สายตา ผู้พบเห็นอดถามไถ่ไม่ได้ ท�ำให้กิจการ เปลี่ยนก้านตาลเป็นเฟอร์นิเจอร์มิได้หยุดพัก คุ ณ สมบั ติ ข องก้า นตาลนั้ น แม้จ ะทิ้ ง ไว้ กลางแจ้งก็ไม่เปราะ แถมปลอดจากปลวกและ มอด นอกจากสานเก้าอี้แล้ว อีกกิจกรรมหนึ่ง ที่ตาสวัสดิ์ท�ำอย่างต่อเนื่อง คือการสานเข่ง ส� ำ หรั บ ใส่ข ยะร่ว มกั บ ผู ้สู ง อายุ ค นอื่ น ๆ ใน หมู ่บ ้า น ถื อ เป็น กิ จ กรรมยามว่า งและเป็น โอกาสในการสังสรรค์ของผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน ในปีๆ หนึ่ง ก้านตาลจะร่วงในช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคมเท่านั้น ช่วงเวลานี้จึงเป็น ช่วงเสาะหาวัตถุดิบ เมื่อได้มาก็ต้องตากแดด ไว้อีก 3 เดือนถึงจะแห้งดี เฉลี่ยแล้วปีหนึ่ง ตาสวั ส ดิ์ ผ ลิ ต ชิ้ น งานได้ป ระมาณ 100 ตั ว ซึ่งน้อยกว่าคนที่ต้องการมากนัก “อย่า งในช่ว งนี้ มี ค นมาดู ง าน ก็ สั่ ง จอง สินค้ากัน เพราะทางเราก็พามาเยี่ยมตาสวัสดิ์ ประจ�ำ ถ้าอยากได้ต้องต่อคิว” ผู้น�ำทางเรา ว่าเช่นนัน ้ ชวนให้ทงึ่ ไปกับความคิดสร้างสรรค์ ของตาแก ตาสวัสดิส ์ ำ� ทับว่า การสัง่ ซือ ้ สินค้ายึดหลัก สัง่ ก่อนได้ก่อน ไม่มก ี ารแซงคิว แม้ผ้ท ู ม ี่ าสัง่ ซือ ้ ทีหลังจะยอมจ่ายเงินมากกว่า แต่ก็ไม่เป็นผล ที่ส�ำคัญตาขายในราคา 500 และ 600 บาท ตามความยากง่าย “อยู่ไป ท�ำไป ไม่ตอ ้ งเครียด” ตาสวัสดิ์ ทิ้งท้ายพร้อมเสียงหัวเราะ เราอยากบันทึกรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ นัน ้ ไว้ แต่พอยกกล้องประจันหน้า ตาสวัสดิก ์ ลับ หน้านิ่ง ขรึมสู้กล้องไปในทันใด... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 31


‘นกฮู ก’ สร้างรายได้

32 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

“กระเป๋า นกฮู ก ของที่ นี่ ส ร้า งงานสร้า ง รายได้ให้กบ ั คนในชุมชน” ผู้นำ� ทางบอกกับเรา เช่นนั้น “ที่ส�ำคัญ กระเป๋านกฮูกนี้แทบจะเป็น สัญลักษณ์ของต�ำบลแม่แรงไปแล้ว” เราเดินทางมาทีบ ่ ้านของ จรรยา กันทาทรัพย์ หรือ ป้าเครือ ตัวบ้านที่ซุกอยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่ มีชน ิ้ งานมากมายรอส่งออก สามีปา้ เครือนัง่ ติด ลู ก ตาให้กั บ กระเป๋า ขณะที่ ป ้า เครื อ จั ด แจง น�้ำดื่มไว้ให้เราพร้อมสรรพ จุ ด เริ่ ม ต้น ของกระเป๋า เหล่า นี้ คื อ เศษผ้า ชิ้นเล็กชิ้นน้อยหลายสี หรือถ้าจะเรียกว่า ขยะ ก็ไม่ผิด “ตอนนั้ น ปี 2554 บ้า นป่า บุ ก มี ร ้า น ตัดเสือ ้ ผ้าเยอะ อย่างตัวป้าเองตัดผ้าเหมือนกัน เลยมี เ ศษผ้า เหลื อ ทิ้ ง เต็ ม ไปหมด บางคน ไม่รู ้จ ะจั ด การอย่า งไร ก็ เ ผา ควั น โขมงเลย มาช่ว งหลั ง พ่อ หลวงกั บ ทางเทศบาลจั ด ประชาคม เพื่อหาวิธีลดขยะเศษผ้า จึงเป็น ที่ ม าให้คิ ด หาวิ ธี น� ำ เศษผ้า มาใช้ป ระโยชน์” ป้าเครือเริ่มต้นเล่าที่มา เริ่มแรกท�ำเป็นผ้าเช็ดเท้า น�ำมาต่อเป็น กางเกงเล แต่ผลตอบรับไม่ดี


จรรยา กันทาทรัพย์

“ของไม่ทน ขายก็ไม่ดี ก็เลยเปลีย ่ นมาเป็น หมวก แต่ก็ยังขายไม่ได้เหมือนเดิม จนวันหนึ่ง ลูกชายเปิดคอมพิวเตอร์แล้วเห็นกระเป๋ารูป สัตว์หลายๆ อย่าง ท�ำไมเราไม่ทำ� ก็เริม ่ เอามา ต่อกันจนกลายเป็นกระเป๋า ตอนแรกท�ำช้าง กระต่าย แต่ว่าต้องใช้ผ้าผืนใหญ่ ซึ่งเราไม่มี เลยคิ ด นกฮู ก เพราะใช้ผ ้า ชิ้ น เล็ ก ๆ ได้ และปรากฏว่าขายดีที่สุดด้วย” ป้าเครือเล่า ด้วยรอยยิ้ม ปัจจุบน ั ป้าเครือเลิกอาชีพตัดผ้า หันมาซือ ้ เศษผ้าจากชาวบ้าน กิโลกรัมละ 5-10 บาท ชิน ้ ส่วนต่างๆ ทีม ่ าเย็บกันเป็นกระเป๋า ป้าเครือ ใช้การกระจายงานไปทีก ่ ลุ่มต่างๆ เช่น คิว้ ของ นกฮู ก อาศั ย จ้า งเด็ ก นั ก เรี ย นมาช่ว ยท� ำ ใน วันหยุดหรือช่วงปิดเทอม ส่วนตากับขาของ นกฮู ก ก็ ใ ห้ผู ้เ ฒ่า ผู ้แ ก่ไ ปท� ำ เสร็ จ น� ำ มาส่ง คิดค่าจ้างให้ “ต้นทุนของกระเป๋านี้มีแค่เศษผ้า ฟองน�้ำ แล้วก็ยางแผ่นส�ำหรับท�ำตา แผ่นหนึ่งท�ำได้ 2,000-3,000 ดวง โดยหลักการท�ำงานของ เราคือ เน้นการกระจายรายได้ให้ชม ุ ชน ทีมงาน ทุกคนจึงเป็นคนแม่แรงหมดเลย และขั้นตอน

การท�ำก็ไม่ได้ยากอะไร ท�ำเดี๋ยวเดียวก็เสร็จ แล้ว” ป้าเครือว่า ส่วนราคาขายของกระเป๋าขึ้นอยู่กับขนาด ของกระเป๋า หากเป็นตัวใหญ่ ขายปลีก 150 บาท ขายส่ง 100 บาท ส่วนตัวกลาง ขายปลีก 70 บาท ขายส่ง 60 บาท ส่วนตัวเล็ก ขาย ปลีก 35 บาท ขายส่ง 30 บาท นอกจากนี้ ยังมีกระเป๋าย่าม พวงกุญแจ หมอน เป็นสินค้า ทางเลือกอีกด้วย “เชื่อไหม ป้าเครือไปเที่ยวกรุงเทพฯ ก็ไป เจอนกฮูกของเรานี่แหละ ก็เลยถามเขาว่าตัว เท่าไร เขาบอกว่า 299 บาท เอาไปฝากลูก หลานซิ” เจ้าของผลงานกล่าวอย่างอารมณ์ดี ผลงานจากการสร้างสรรค์ของป้าเครือนัน ้ นอกจากจะสร้างงานสร้างอาชีพสร้างรายได้แก่ คนป่าบุกแล้ว ยังได้รับการการันตีด้วยรางวัล ระดับจังหวัด คือรางวัลอันดับ 2 ของโครงการ สิง่ ประดิษฐ์ของใช้ภายในบ้านจากวัสดุเหลือใช้ ระดับประชาชนทั่วไป ประจ�ำปี 2558 โดย ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จั ง หวั ด ล� ำ พู น นั บ ว่า เป็น ภู มิ ป ัญ ญาที่ ท� ำ ได้ ง่ายๆ แต่ส่งผลแก่ชม ุ ชนอย่างมหาศาลจริงๆ... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 33


กลุ่มออมทรัพย์วันละบาท บ้านป่ าบุ ก จากนโยบายของ ดิเรก ก้อนกลีบ อดีต ผู ้ว ่า ราชการจั ง หวั ด ล� ำ พู น เมื่ อ ปี 2551 ที่ ต้องการสนับสนุนให้ทุกชุมชนออมเงินวันละ บาท หรือเดือนละ 30 บาท หากหมู่บ้านใดที่ ท�ำตามนโยบายนีไ้ ด้ ทางจังหวัดพร้อมอุดหนุน งบประมาณให้ ท�ำให้ชาวบ้านป่าบุกตัดสินใจ ตั้ ง กลุ ่ม ออมทรั พ ย์วั น ละบาทขึ้ น มา โดยมี ก�ำจัด ปันล้อง ท�ำหน้าที่ประธานกลุ่ม ขวบปีแ รกของการก่อ ตั้ ง นั้ น ทางกลุ ่ม มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ชาวบ้านหันมา ออมทรัพย์กับกลุ่ม โดยชี้ให้เห็นว่าการออม มี ผ ลดี อ ย่า งไรต่อ ชี วิ ต เริ่ ม แรกมี ช าวบ้า น เข้าร่วมประมาณ 80 คน จนกระทั่งปี 2552 กลุ่มออมทรัพย์วันละบาท ได้รับเงินส่วนหนึ่ง จากโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและ ชุมชน (SML) จ�ำนวน 20,000 บาท เพื่อเป็น ทุ น เริ่ ม แรกในการจั ด สวั ส ดิ ก าร จนท� ำ ให้มี สมาชิ ก เพิ่ ม ขึ้ น เป็น 248 คน เปิด ท� ำ การ ทุกวันที่ 5 ของเดือน พร้อมกับกาดนัดรีไซเคิล 34 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

“สวัสดิการทีเ่ ราจัดมีหลากหลาย เช่น หาก เข้าโรงพยาบาล เราจ่ายให้คืนละ 100 บาท แต่ไม่เกิน 3 คืนต่อปี เสียชีวต ิ ได้ 300 บาทต่อ ศพ ท�ำบุญขึ้นบ้านใหม่ ได้รับ 300 บาท หาก สมาชิ ก คลอดบุ ต ร เราเปิด บัญชีใหม่ให้เด็ก เป็นเงินก้นถุง 30 บาท และให้พ่อแม่รบ ั ผิดชอบ ออมต่อไป โดยที่นี่เราไม่ส่งเสริมให้มีการกู้ยืม คือให้ออมไปเรื่อยๆ ขั้นต�่ำเดือนละ 30 บาท แต่จะฝากมากกว่านั้นก็ได้ และพอสิ้นปีมา เรา จะให้ถอนได้ 1 ครัง้ ไม่เกิน 70 เปอร์เซ็นต์ของ เงินออม เพราะบางคนต้องถอนไปช�ำระหนี้ ของกองทุ น หมู ่บ ้า น โดยเงิ น ออมนี้ ไม่ใ ห้ ดอกเบี้ย เพราะถือว่าเราจัดสวัสดิการให้แล้ว” ประธานสาธยาย เงินที่กลุ่มออมทรัพย์วันละบาทน�ำมาจัด สวัสดิการ ไม่เกีย ่ วกับเงินออมของชาวบ้านเลย แต่เป็นการน�ำดอกผลทีไ่ ด้จากธนาคาร และเงิน สมทบจากภาครัฐมาจัดสวัสดิการ


ก�ำจัด ปันล้อง

นอกเหนือจากเงินทั้งสองส่วนที่กล่าวมา กองทุนหมู่บ้านประจ�ำบ้านป่าบุกยังได้จัดสรร ผลก�ำไรร้อยละ 5 สมทบเข้ากลุ่มต่อเนือ ่ งทุกปี ท� ำ ให้ก ลุ ่ม มี ค วามเข้ม แข็ ง จนวั น นี้ ก ลุ ่ม ออมทรัพย์วันละบาทบ้านป่าบุก มีเงินออมสูง ถึง 700,000 กว่าบาท “ปัจจุบน ั คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นกับ กลุ่มออมทรัพย์คอ ื ชุดเดียวกัน การทีเ่ ราจัดสรร เงิ น จากกองทุ น หมู ่บ ้า นก็ เ พื่ อ ให้ค นสมั ค ร เข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มเยอะๆ เพราะอย่าง กองทุนหมู่บ้าน เราให้ก้ย ู ม ื ส่วนสวัสดิการก็ใช้ กลุ่มออมทรัพย์วน ั ละบาท และกองทุนหมู่บ้าน ที่นี่ก็เข้มแข็ง ไม่มีหนี้เสีย ด้วยเราส่งเสริมให้ ชาวบ้านมีวินัยการเงิน ไม่มีการเพิ่มยอดเงินกู้ เด็ดขาด เน้นการช่วยเหลือตัวเองเป็นหลัก” ก�ำจัดอธิบาย อ ย ่า ง ไ ร ก็ ดี ท า ง ก ลุ ่ม มี ก า ร ก� ำ ห น ด คุ ณ สมบั ติ ข องสมาชิ ก และผู ้มี สิ ท ธิ ไ ด้รั บ

สวัสดิการว่า จะต้องเป็นประชาชนในเขตบ้าน ป่าบุก และต้องเป็นสมาชิกไม่ตำ�่ กว่า 3 เดือน มียอดเงินฝากสม�่ำเสมอ เพราะหากขาดฝาก เกิ น 3 เดื อ น กลุ ม ่ จะตั ด สิ ท ธิ ก ารได้รั บ สวัสดิการชั่วคราว นอกจากนี้ยังมีการเปิดจ�ำหน่ายหุ้นให้แก่ สมาชิก หุ้นละ 10 บาท โดยคนหนึ่งต้องซื้อหุ้น ไม่ตำ�่ กว่า 10 หุ้น แต่ไม่เกิน 100 หุ้น โดยทุก สิน ้ ปีจะมีการปันผลก�ำไร โดยคณะกรรมการจะ น�ำเงินทีไ่ ด้ซอ ื้ ของขวัญมาแจก เช่น ผงซักฟอก ถุ ง ใหญ่ ถุ ง เล็ ก ซึ่ ง จะได้ข องขวั ญ อะไรนั้ น ก็ขน ึ้ อยู่กบ ั ปริมาณหุ้นทีส ่ มาชิกแต่ละคนถืออยู่ แม้จ ะเป็น เพี ย งหมู ่บ ้า นเล็ ก ๆ แต่ด ้ว ย ระบบการบริ ห ารเงิ น ที่ เ น้น ความชั ด เจน เน้นออมไม่เน้นสร้างหนี้ ส่งผลให้ประชาชน ในบ้า นป่า บุ ก มี ค วามมั่ น คงทางการเงิ น เช่นเดียวกับที่มีความมั่นคงทางด้านสุขภาพ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมนั่นเอง... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 35


สวัสดิการดีๆ ที่เรามีให้แก่กัน Welfare

36 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ไม่มี ใ ครจะเข้า ใจชุ ม ชนที่ เ ราอาศั ย อยู ่ดี ไปกว่าคนในชุมชนนัน ้ ๆ ทัง้ ปัญหา ความต้องการ และอี ก หลากสารพั น เรื่ อ งราว เราเองเป็น คนต่างถิ่น ผู้แวะเวียนผ่านมาท�ำความรู้จักกับ ผู้คนต�ำบลแม่แรง แลกเปลี่ยนเรื่องราวของ กันและกัน ซึ่งที่ตำ� บลแม่แรงนี้ คนในชุมชนได้ เรียนรู้และรู้ว่าพวกเขาต้องการอะไร เค้าโครง หลากหลายจึงได้รับการเขียนขึ้นมาระดับหนึ่ง แล้ว เราเองขออาสาเป็นผู้บอกเล่าเรื่องของ พวกเขาให้พวกคุณได้รับรู้...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 37


สถาบันการเงินชุ มชน บ้านหนองเงือก

จากแนวคิ ด “วิ ถี ค รู บ า งานหน้า หมู ่” คือคิดร่วมกัน ท�ำร่วมกัน ของพระนักปฏิบัติ แห่งล้านนา ‘ครูบาศรีวิชัย’ ได้กลายมาเป็น แนวทางส� ำ คั ญ ของสถาบั น การเงิ น ชุ ม ชน แห่งบ้านหนองเงือก แหล่งเงินทุนส�ำคัญของ ชาวบ้านหมู่ที่ 5 เทศบาลต�ำบลแม่แรง ในการ สร้างสรรค์อาชีพและรายได้มาอย่างต่อเนื่อง นับ 10 ปี ณรงค์ สุรย ิ ะรังษี ประธานสถาบันการเงิน ชุ ม ชน ย้อ นความให้ฟ ัง ว่า สถาบั น การเงิ น 38 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ชุมชนแห่งนีม ้ จี ด ุ เริม ่ ต้นมาจากนโยบายกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองของรัฐบาลในปี 2544 ที่ ต ้อ งการให้ป ระชาชนอยู ่ดี กิ น ดี จึ ง ให้เ งิ น อุดหนุนหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ล้านบาท โดย หมู่บ้านหนองเงือกได้รับงบประมาณในวันที่ 21 กันยายน 2544 และก่อตั้งเป็นกองทุน หมู่บ้านอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2544 เริ่ ม แรกมี ส มาชิ ก 254 คน โดยมี ข้อ ก� ำ หนดว่า สมาชิ ก จะต้อ งซื้ อ หุ ้น กองทุ น อย่างน้อย 10 หุ้น หุ้นละ 10 บาท


ณรงค์ สุริยะรังษี

การบริ ห ารจั ด การนั้ น มี ก ารคั ด เลื อ ก คณะกรรมการมาก�ำกับดูแล โดยคัดเลือกตาม ระเบียบของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง “เริ่มแรกกองทุนฯ อนุญาตให้สมาชิกกู้ได้ คนละไม่เกิน 20,000 บาท แต่ช่วงหลังปรับ เพดานขึ้นเป็น 30,000 บาท เปิดให้กู้ปีละ 1 ครั้ง โดยสมาชิกต้องยื่นกู้ในเดือนมกราคม และส่งคืนในเดือนธันวาคม มีสมาชิกค�ำ้ ประกัน 2 คน อัตราดอกเบี้ยคิดร้อยละ 6 บาทต่อปี ในเดื อ นมิ ถุ น ายนต้อ งจ่า ยดอกเบี้ ย ครึ่ ง หนึ่ ง ก่อน ส่วนที่เหลือจ่ายตอนสิ้นปี ทั้งนี้สมาชิก ที่มีสิทธิกู้ จะต้องช�ำระเงินกู้เดิมให้เรียบร้อย เสียก่อน ที่ส�ำคัญผู้กู้ต้องชี้แจงให้ชัดเจนว่าจะ น� ำ เงิ น กู ้ไ ปใช้ท� ำ อะไร ถ้า เป็น ด้า นอาชี พ กองทุนฯ สนับสนุนอยู่แล้ว แต่ถ้าน�ำไปซื้อของ เช่น รถเครื่ อ ง ก็ ต ้อ งพิ จ ารณากั น อี ก ที ” อาจารย์ณรงค์กล่าว

ต่อมาในปี 2548 เริม ่ มีการท�ำบัญชีทส ี่ อง เพิ่มเติมขึ้นมา คือบัญชีเงินออม เพื่อฝึกให้ สมาชิกมีนส ิ ย ั รักการออม และเป็นหลักประกัน ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ก อ ง ทุ น ฯ โ ด ย ส ม า ชิ ก กองทุ น หมู ่บ ้า นทุ ก คนต้อ งฝากออม ขั้ น ต�่ ำ 30 บาทต่อเดือน เมือ ่ มีการออมเกิดขึน ้ ทางกองทุนหมู่บ้าน บ้านหนองเงือกจึงเปิดท�ำการทุกวันที่ 5 ของ เดือน โดยมีบริการ ฝาก-ถอน และปล่อยกู้ยืม “ส� ำ หรั บ เงิ น ฝากนั้ น คณะกรรมการคิ ด อัตราดอกเบีย ้ ให้ร้อยละ 3 ต่อปี ส่วนการกู้เงิน จากบัญชีเงินออมนี้ มี 2 ประเภท คือกู้แบบ ปกติ 10 เดือน โดยสมาชิกต้องออมต่อเนื่อง 6 เดือนขึ้นไป กู้ครั้งแรกไม่เกิน 5,000 บาท ส่วนครั้งต่อๆ ไป ไม่เกิน 20,000 บาท โดย ผู้ที่ประสงค์จะกู้แต่ละครั้ง จะต้องช�ำระเงินกู้ และดอกเบี้ยให้ครบเสียก่อน ส่วนอีกประเภท สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 39


คื อ กู ้ฉุ ก เฉิ น ระยะเวลากู ้ไ ม่เ กิ น 3 เดื อ น คิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย ร้อ ยละ 1 ต่อ เดื อ นทั้ ง 2 ประเภท” อาจารย์ณรงค์ว่า หลั ง ตั้ ง กองทุ น หมู ่บ ้า นมาระยะหนึ่ ง ปรากฏว่า ผลการด� ำ เนิ น การดี ทางกรม การพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ซึง่ เข้ามา เป็น ผู ้ป ระเมิ น จึ ง แนะน� ำ ให้ย กระดั บ กองทุ น หมู ่บ ้า นขึ้ น เป็น สถาบั น การเงิ น ชุ ม ชน ตาม นโยบายของรัฐบาล เมือ ่ เดือนมกราคม 2552 พร้อมกับส่งตัวแทนของกองทุนไปเข้าอบรมที่ จังหวัดเชียงใหม่เป็นเวลา 3 วัน จากนั้นก็กลับ มาเปิดสถาบันการเงินชุมชนอย่างเป็นทางการ สุ ภ าพร อุ ด ตึ ง ปฏิ ค มสถาบั น การเงิ น ชุ ม ชนบ้า นหนองเงื อ ก เสริ ม ว่า หลั ง จาก ยกระดั บ แล้ว สถาบั น การเงิ น ชุ ม ชนบ้า น หนองเงือกเปิดท�ำการทุกวันที่ 20 ของเดือน ขณะทีก ่ องทุนหมู่บ้านก็ยงั คงเปิดฝากออมและ

40 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ปล่อ ยกู ้ทุ ก วั น ที่ 5 โดยสมาชิ ก ของสถาบั น การเงินชุมชน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือสมาชิก กองทุนหมู่บ้าน ซึ่งจะเป็นสมาชิกของสถาบัน โดยอั ต โนมั ติ กั บ สมาชิ ก ที่ ไ ม่ไ ด้เ ป็น สมาชิ ก กองทุนหมู่บ้าน แต่ทำ� การฝากเงินกับสถาบันฯ “สมาชิกหลายคนมาจากหมู่บ้านอื่นๆ ที่ ไม่มีสถาบันการเงินในหมู่บ้านตัวเอง แล้วเขา มีเงินไม่มาก จะไปฝากธนาคารข้างนอกก็คง ไม่ไหว เพราะมีค่าเดินทาง ไปแล้วไม่คุ้ม เดิน มาฝากทีส ่ ถาบันการเงินชุมชนบ้านหนองเงือก ง่า ยกว่า และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ไม่จ� ำ เป็น ต้อ งฝาก ทุ ก เดื อ นเหมื อ นกั บ เงิ น ออมของกองทุ น หมู่บ้าน เพียงแค่ขอเปิดบัญชีครัง้ แรก 50 บาท และครั้ งต่อ ไปจะฝากเท่าใดก็ได้ โดยเราให้ ดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี ที่ผ่านมามีคนมาฝาก เยอะ อย่างชาวบ้านที่เก็บล�ำไยมา พอขายได้ เขาก็มาฝาก 50,000-60,000 บาท” สุภาพรเล่า


สุภาพร อุดตึง

ป ัจ จุ บั น ก อ ง ทุ น ห มู ่บ ้า น แ ล ะ ส ถ า บั น การเงินชุมชนบ้านหนองเงือก บริหารงานโดย คณะกรรมการชุดเดียวกัน จ�ำนวน 15 คน โดย กองทุนหมู่บ้าน ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล 2,500,000 บาท มี เ งิ น หุ ้น จากสมาชิ ก 194,580 บาท และมีเงินออมตามข้อมูล ณ สิน ้ ปี 2557 จ�ำนวน 3,180,825.41 บาท โดย จั ด สรรผลตอบแทน คื อ น� ำ สมทบกองทุ น ร้อ ยละ 5 ประกั น ความเสี่ ย ง ร้อ ยละ 5 ค่าใช้จ่ายส�ำนักงาน ร้อยละ 5 ค่าด�ำเนินงาน กรรมการ ร้อยละ 30 เงินสาธารณประโยชน์ ร้อ ยละ 20 ค่า ตอบแทนสวั ส ดิ ก ารสมาชิ ก ผู ้ถื อ หุ ้น ร้อ ยละ 20 และค่า ใช้จ ่า ยตามที่ คณะกรรมการเห็นชอบ ร้อยละ 20 ส่ว นสถาบั น การเงิ น ชุ ม ชน ปัจ จุ บั น มี

สมาชิ ก อยู ่ 587 คน มี เ งิ น หมุ น เวี ย นอยู ่ 2,482,469.95 บาท โดยคณะกรรมการได้ น� ำ เงิ น จ� ำ นวนหนึ่ ง ไปลงทุ น ความเสี่ ย งต�่ ำ ด้วยการซือ ้ หุ้นของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำ� พูน ซึง่ ให้อต ั ราดอกเบีย ้ ร้อยละ 3.50 ต่อปี “เราไม่เคยมีหนีเ้ สียเลยตัง้ แต่ก่อตัง้ กองทุน หมู่บ้านขึ้นมา ซึ่งที่เป็นแบบนี้ เพราะเรายึด หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน ทัง้ กรรมการ และผู ้ใ ช้บ ริ ก าร ซึ่ ง ต่า งรั บ รู ้ถึ ง หน้า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบของตัวเอง และตระหนักว่า ความเข้มแข็งขององค์กรในพื้นที่ต้องมาจาก ทุ ก คน ดั ง เช่น ปณิ ธานที่ ค รู บ าศรี วิ ชั ย ได้ พร�ำ่ สอนมาตลอดชีวต ิ ของท่าน” อาจารย์ณรงค์ ทิ้ ง ท้า ยด้ว ยกุ ญ แจแห่ง ความส� ำ เร็ จ ของ องค์กรการเงินชุมชนแห่งนี้... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 41


กองทุนสวัสดิการชุ มชนเทศบาลต�ำบลแม่แรง

ประเสริฐ เบ็งกาสิทธิ์

ไม่มี สิ่ ง ใดจะจรรโลงสั ง คมได้ดี ก ว่า การ แบ่งปัน ชุมชนใดทีผ ่ ้ค ู นมีความเอือ ้ เฟื้อเผือ ่ แผ่ มีน�้ำใจไมตรีต่อกัน ชุมชนนั้นย่อมเปี่ยมด้วย ความสุข ปราศจากความขัดแย้งแตกแยก กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนเทศบาลต� ำ บล แม่แรงนับเป็นกิ จกรรมหนึ่งที่มีหลักคิดเรื่อง การแบ่ง ปัน ด้ว ยแต่ล ะชุ ม ชนนั้ น ยั ง มี ค วาม ขาดพร่องในหลายด้าน การมีกิจกรรมแบบนี้ จึ ง เป็น เสมื อ นหยาดน�้ ำ ค้า งที่ ม าเติ ม เต็ ม ความชุ่มชื้นงดงามให้กับชีวิต 42 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ลุงเสย มูลชีพ

จุ ด เริ่ ม ต้น ของกองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน เทศบาลต�ำบลแม่แรงก่อร่างมาตั้งแต่ปลายปี 2550 จากการที่ ลุงเสย มูลชีพ ประธาน ชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 5 บ้านหนองเงือก และ ศรีนวล เบ็งค�ำตา ผู้น�ำกลุ่มสตรีของต�ำบล แม่แรง มีความคิดที่จะสร้างความมั่นคงให้แก่ ผู ้เ ฒ่า ผู ้แ ก่ใ นต� ำ บลแม่แ รง จึ ง ได้ชั ก ชวน ประธานชมรมผู้สูงอายุอีก 5 หมู่บ้าน รวมตัว กันเป็นกลุ่มสวัสดิการชุมชน


“ห้ว งเวลานั้ น เรามี ส มาชิ ก ประมาณ 400-500 คน เก็บเงินคนละ 60 บาทต่อปี ในเดือนธันวาคม สมาชิกมาจาก 6 หมู่บ้าน ที่อยู่ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลบ้านดอนหลวง*” ศรีนวลว่า ขณะที่ลุงเสยเสริมว่า ผู้สูงอายุที่นี่รวมตัว กันเป็นเครือข่ายอยู่แล้ว คิดเองท�ำเอง “เวลานั้ น เราจั ด สวั ส ดิ ก ารให้ 2 กรณี กรณี แ รกคื อ การเจ็ บ ป่ว ย หากต้อ งนอน โรงพยาบาล 2 คืนขึ้นไป กลุ่มสวัสดิการชุมชน มอบให้ 200 บาท ปีหนึ่งไม่เกิน 2 ครั้ง และ หากเสียชีวิต กลุ่มฯ ให้ 500 บาท” ลุงเสย ซึ่ ง ปัจ จุ บั น เป็น รองประธานคณะกรรมการ กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลต�ำบลแม่แรง อธิบายให้ฟัง ต่อมาไม่นาน รัฐบาลมีโครงการส่งเสริม สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน ผ่า นความร่ว มมื อ ของ สามฝ่าย ทัง้ รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ และประชาชน ร่วมกันสมทบเงิน ในลักษณะ กองทุนสวัสดิการ 3 ขา ซึ่งต�ำบลแม่แรงได้ใช้ กลุ ่ม สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนนี้ ใ นการต่อ ยอดเป็น กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลแม่แรง “กลุ่มสวัสดิการผู้สงู อายุของเรา เข้าเกณฑ์ ที่ รั ฐ บาลก� ำ หนด ทางรั ฐ บาลจึ ง จั ด สรร งบประมาณก้อนแรกผ่านสถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (องค์การมหาชน) เมื่อปลายปี 2551 เป็นจ�ำนวน 55,000 บาท” หลังจากนั้น 1 ปี กองทุนสวัสดิการชุมชน ต� ำ บ ล แ ม ่แ ร ง จึ ง เ ป ด ิ รั บ ส ม า ชิ ก เ พิ่ ม อี ก 4 หมู ่บ ้า น ซึ่ ง อยู ่ใ นเขตรั บ ผิ ด ชอบของ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลแม่แรง** โดยมี ประเสริฐ เบ็งกาสิทธิ์ ผู้น�ำชุมชนที่ บ้า นป่า เบาะ ซึ่ ง ปัจ จุ บั น เป็น รองประธาน คณะกรรมการฯ รับหน้าที่ประชาสัมพันธ์ “ผมอาสาสมทบทุนประเดิมให้แก่ผ้ส ู งู อายุ ในพื้นที่ที่อายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 146 คน เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์” ประเสริฐว่า กระนั้น แม้กองทุนฯ จะมีเงินมากขึ้น แต่ก็ ยังไม่เพียงพอต่อการจัดสวัสดิการให้ครอบคลุม กระทั่งในปี 2554 จึงเกิดการปฏิรูปกองทุนฯ ครัง้ ใหญ่ ในครานี้ วิเชษฐ์ ปราดเปรือ ่ ง ก�ำนัน ต� ำ บลแม่แ รงจึ ง ได้ป ระสานงานผ่า นผู ้น� ำ กองทุนฯ ให้กำ� นันเป็นผู้ดแู ลกองทุนฯ นี้ พร้อม กั บ ปรั บ เปลี่ ย นเกณฑ์ข องสมาชิ ก จากเดิ ม ที่มีเฉพาะผู้สูงอายุใน 10 หมู่บ้าน ให้เป็นคน ทุ ก เพศทุ ก วั ย ทั้ ง 11 หมู ่บ ้า น รวมถึ ง เพิ่ ม เงิ น ออมเป็น ปีล ะ 120 บาท โดยเก็ บ เงิ น ทุกเดือนกันยายน “กองทุนของผู้สงู อายุจงึ กลายเป็นเค้าโครง ของกองทุ นฯ ในปัจจุบัน กระนั้น ผู้สูงอายุ บ้านหนองเงือก หมู่ที่ 5 ได้ตงั้ กองทุนใหม่ โดยใช้ กติกาเดิม ฉะนัน ้ ใครเป็นผู้สงู อายุบ้านหนองเงือก ก็ได้รับสิทธิประโยชน์สองต่อ” ลุงเสยว่า ขณะที่ ป ระเสริ ฐ เสริ ม ว่า จุ ด เปลี่ ย น ดังกล่าวเป็นเรื่องดี เพราะมีความครอบคลุม ทุกกลุ่มคนในต�ำบล ตั้งแต่เกิ ดจนตาย และ ยังได้เพิ่มสวัสดิการใหม่ๆ จากเดิม 2 ข้อ เป็น 5 ข้อ กระทั่งในปีล่าสุด (2558) ก็เพิ่มขึ้น อีก 5 ข้อ รวมเป็น 10 ข้อ ซึ่งดูแลชีวิตของ คนต�ำบลแม่แรงได้อย่างครอบคลุม

* โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดอนหลวง ดูแลรับผิดชอบ 7 หมู่บ้าน ** โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลแม่แรง ดูแลรับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 43


ปัจจุบันกองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาล ต�ำ บลแม่แ รง มีส มาชิก 2,103 คน โดยมี ประสงค์ แสนเขือ ่ น เป็นประธานคณะกรรมการฯ จัดสวัสดิการทั้งหมด 10 ข้อ ประกอบด้วย 1) การคลอดบุตรคนแรก ได้รับเงิน 1,000 บาท 2) นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล คืนละ 100 บาท ไม่เกิน 5 คืนต่อคนต่อปี 3) กรณี เสียชีวิต เป็นสมาชิก 1 ปี ได้รับ 500 บาท ถ้า 2 ปี ได้รับ 1,000 บาท ถ้า 3 ปี ได้รับ 1,500 บาท และ 4 ปีขึ้นไป ได้รับ 2,000 บาท 4) ทุนการศึกษา เป็นสมาชิกครบ 3 ปี รับ 300 บาท และครบ 5 ปี รับ 500 บาท 5) บ�ำเหน็จ ตามทีค ่ ณะกรรมการเห็นสมควร โดยส่วนใหญ่ กรรมการจะคืนเงินต้นทัง้ หมดทีส ่ มาชิกจ่ายมา ส ม ท บ ร ว ม กั บ ส วั ส ดิ ก า ร เ รื่ อ ง เ สี ย ชี วิ ต 6) เงินบ�ำนาญเมือ ่ เป็นสมาชิกครบ 15 ปีขน ึ้ ไป รับ 200 บาทต่อเดือน 7) ช่วยเหลือไฟไหม้ ครอบครั ว ละ 1,000 บาทต่อ ครั้ ง ไม่เ กิ น 1 ครั้งต่อปี 8) สุขภาพดีไม่เจ็บป่วย ไม่เคยพึ่ง สวัสดิการในทุก 5 ปี ได้รับสิทธิเว้นจ่ายเงิน สมทบ 1 ครัง้ 9) เลิกเหล้า/เลิกบุหรี่ ได้รบ ั สิทธิ เว้นจ่ายเงินสมทบ 1 ปี และ 10) ช่วยเหลือ ผู้ยากไร้ ปีละ 2 คน โดยสิทธิต่างๆ เหล่านี้จะ

44 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ใช้ได้เมื่อเป็นสมาชิกครบ 1 ปี “นอกจากเงินก้อนแรก 55,000 บาทแล้ว ทางรัฐบาลยังได้จ่ายสมทบในปี 2555 อีก 100,000 บาท และในปีเดียวกันเทศบาล สมทบเพิ่ ม เติ ม 37,000 บาท ต่อ มาในปี 2556 รัฐบาลให้ 160,000 บาท เทศบาล สมทบ 70,000 บาท และปี 2557 รัฐบาล ให้ 230,000 บาท เทศบาลสมทบอี ก 70,000 บาท ส่วนของปี 2558 ก�ำลังท�ำเรือ ่ ง ยื่นขอรับการสมทบ” ประเสริฐว่า เราพบว่า เงิ น เพี ย งเดื อ นละ 10 บาท สามารถสะทอ ้ น ผ ่า น รู ป แ บ บ ส วั ส ดิ ก า ร หลากหลาย ตกกระทบถึงคนจ�ำนวนมากใน ชุมชน แม้จะไม่ครบถ้วนทั้งหมดทุกคน แต่ก็ ถือว่าเป็นก้าวย่างที่ส�ำคัญของการสร้างชุมชน ให้มีความเข้มแข็ง ผ่านการเอื้อเฟื้อแบ่งปัน เราเห็นชายที่นั่งอยู่ตรงข้าม ภาพสะท้อน แห่งความจริง เราต้องแก่ชราไปตามกาล แต่ นั่นไม่ใช่ข้ออ้างที่จะใช้ในการจ�ำนนต่อสังขาร ด้วยความคิดและหัวจิตหัวใจที่เข้าใจเรื่องราว ต่างๆ เป็นก�ำลังใจให้ใครต่อใครสร้างสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ ให้กั บ ผู ้ค นรอบข้า ง ตลอดจนชุ ม ชน สังคมที่อาศัยอยู่


กองทุนบุ ญผู ้สูงอายุ

ลุงเสย มูลชีพ

ชีวิตที่แบ่งปัน คือหนทางหนึ่งในการสร้าง ความสุขของคนต�ำบลแม่แรง นั่นจึงเป็นที่มา ให้เกิดกองทุนบุญผู้สูงอายุ ซึ่งมีหลักคิดเรื่อง ของการแบ่ง ปัน ที่ ส� ำ คั ญ ยั ง เป็น การสร้า ง คุ ณ ค่า ของผู ส ้ ู ง อายุ และลดความเสี่ ย งจาก ภาวะซึมเศร้าด้วย “เงินที่ได้มาก็จะกลับคืนสู่ชุมชน แบ่งปัน ช่วยเหลือ และสร้างรอยยิ้ม” ลุงอมร ใจซาว เหรัญญิกคณะกรรมการด�ำเนินงานกองทุนบุญ ผู้สูงอายุต�ำบลแม่แรงว่าเช่นนั้น

ลุงอมร ใจซาว

หลักการของกองทุนบุญผู้สูงอายุนั้น คือ การให้ผู้สูงอายุบริจาคเงินครั้งละ 1 บาทหรือ มากกว่าตามศรัทธา ในวันรับเบีย ้ ผู้สงู อายุและ คนพิการ ซึ่งจะจัดขึ้นทุกวันที่ 3 ของเดือน ตามศาลาประชาคมของแต่ละหมู่บ้าน “ผู ้สู ง อายุ ช อบท� ำ บุ ญ กั น แต่บ างคน ชอบคิดว่าต้องท�ำเยอะๆ ซึง่ ความจริงแล้วไม่ใช่ แค่ 1 บาทก็เรียกว่าท�ำบุญเหมือนกัน ถ้าให้มาก จนตั ว เองเดื อ ดร้อ น ก็ จ ะเป็น บาปเสี ย เปล่า เพราะถื อ ว่า เบี ย ดเบี ย นตั ว เอง ครอบครั ว ” ลุงอมรพูดด้วยรอยยิ้ม สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 45


46 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


กองทุ น บุ ญ ผู ้สู ง อายุ นี้ เ ริ่ ม ต้น ขึ้ น ในปี 2553 โดยน� ำ เงิ น ส่ว นหนึ่ ง จากกองทุ น สวัสดิการชุมชนต�ำบลแม่แรง ซึ่งเป็นเงินของ ผู ้สู ง อายุ ม าเป็น ทุ น ตั้ ง ต้น โดยได้เ ทศบาล ต�ำบลแม่แรงเป็นผู้ช่วยในการบอกบุญ ให้มาก หรื อ ให้น ้อย ถือว่าให้เหมือนกั น ตามก� ำลั ง ฐานะ หรือจะไม่ร่วมเลยก็ไม่มก ี ารต�ำหนินน ิ ทา เป็นสิทธิส่วนบุคคล ข ณ ะ ที่ ลุ ง เ ส ย มู ล ชี พ ป ร ะ ธ า น คณะกรรมการด�ำเนินงานกองทุนบุญผู้สูงอายุ เสริมว่า ทุกวันที่ 3 ของเดือน ทางคณะกรรมการ ผู ้สู ง อ า ยุ จ ะ น� ำ บ า ต ร ไ ป ตั้ ง ไ ว ้ต า ม จุ ด รั บ เบี้ยยังชีพ หมู่บ้านใดคนน้อยวางบาตรเพียง 1-2 ใบ แต่ถ้าหมู่บ้านใดมีคนเยอะ ก็วางบาตร หลายใบ “อย่า งที่ บ ้า นหนองเงื อ ก หมู ่ที่ 5 นั้ น ต้องตั้งบาตรไว้ถึง 7 ใบ แบ่งตามช่วงอายุ อายุขึ้นต้นด้วยเลข 6 จ�ำนวน 2 ใบ เลข 7 อีก 2 ใบ ส่วนเลข 8 กับ 9 ช่วงอายุละ 1 ใบ และ สุดท้ายคนพิการอีก 1 ใบ” ลุงเสยว่า หลั ง จากปิด บาตรของแต่ล ะรอบแล้ว ในวันที่ 4 ของทุกเดือน ประธานผู้สูงอายุของ ทุกหมู่บ้านจะมารวมตัวกัน เพื่อนับเงินท�ำบุญ “ในปีแ รกๆ ได้เงิน ท� ำบุญ ค่อ นข้างน้อ ย ประมาณ 10,000 บาทเท่า นั้ น แต่ท� ำ ไป เรื่อยๆ คนเริ่มให้เยอะขึ้น กระทั่งในปี 2557 เป็นต้นมา มียอดเงินบุญเกิน 20,000 บาท” เงิ น ที่ ไ ด้ม านั้ น ทางกลุ ่ม ผู ้สู ง อายุ จ ะ น�ำไปใช้ในกิ จสาธารณประโยชน์ ซึ่งมีตั้งแต่

การช่วยเหลือผู้ยากไร้ ให้ทน ุ การศึกษาส�ำหรับ นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน ทุนการศึกษาของ สามเณร ช่ว ยเหลื อ ค่า น�้ ำ ค่า ไฟของวั ด ทั้ ง 10 แห่งในต�ำบล ร่วมท�ำบุญในงานประเพณี ต่า งๆ ร่ว มท� ำ บุ ญ ช่ว ยเหลื อ งานศพของ ผู ้สู ง อายุ ที่ ย ากไร้ ร่ว มจั ด กิ จ กรรมวั น เด็ ก แห่ง ชาติ จั ด ซื้ อ ถั ง ออกซิ เ จนมอบให้แ ก่ โรงพยาบาลส่ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บลในพื้ น ที่ ต�ำบลแม่แรง จัดซื้อของอุปโภคบริโภคให้แก่ ผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาและมีฐานะยากจน การช่วยเหลือแต่ละครัง้ ทางคณะกรรมการ จะมี ก ารพู ด คุ ย กั น และให้ส มาชิ ก รั บ ทราบ ทุกครั้ง เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น จากจุ ด เริ่ ม ต้น ในเดื อ นตุ ล าคม 2553 จนถึงเดือนตุลาคม 2558 กองทุนบุญผู้สงู อายุ ได้เ งิ น บริ จ าคแล้ว ทั้ ง หมด 99,713 บาท โดยจ� ำ นวนนี้ ไ ด้บ ริ จ าคช่ว ยเหลื อ ไปแล้ว 68,164 บาท ซึ่งทางคณะกรรมการได้บันทึก ไว้เ ป็น หลั ก ฐานชั ด เจน ส่ว นเงิ น ที่ เ หลื อ ก็ จ ะ ฝากธนาคารเอาไว้ เพื่อให้มีดอกเบี้ยเพิ่มพูน เล็กๆ น้อยๆ นอกจากกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มคนพิการ แล้ว กองทุนบุญฯ นี้ ยังเปิดโอกาสให้เหล่า ผู้มีจิตศรัทธา ทั้งเด็กทั้งผู้ใหญ่ หรือแม้แต่แขก ซึ่งมาเยี่ยมเยือนต�ำบลแม่แรงได้ท�ำบุญด้วย “ถื อ ว่า เป็น การท� ำ บุ ญ ร่ว มกั น และ ช่วยหนุนกิจกรรมดีๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ในชุมชน ให้เดินหน้าต่อไปได้” ลุงเสยสรุป…

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 47


สุขภาพ   Health หลั ง จากรู ้จั ก ต� ำ บลแม่แ รงระดั บ หนึ่ ง ได้เห็นว่าที่นี่มีขุมทรัพย์อยู่มาก มิใช่เงินทองที่ เราก� ำ ลั ง พู ด ถึ ง หากแต่เ ป็น พลั ง ของการ สร้างสรรค์เรื่องราวดีๆ ที่ส�ำคัญคนที่นี่มีพลัง ความเป็นพลเมืองอยู่เปี่ยมล้น ไม่วา่ จะท�ำอะไร พวกเขาดูจะท�ำไปด้วยกัน เราเห็นเป็นประจักษ์ แก่สายตาตัวเอง เราเดินทางลัดเลาะต่อไปยังตรอกซอกซอย เพื่อไปค้นหาค�ำตอบถึงเรื่องราวด้านสุขภาพ เรารู้ว่าที่นี่มีผู้สูงอายุเยอะ แต่จากที่ผ่านมา ผู้สูงอายุที่นี่ดูมีความสุขดี เลยไม่รู้ว่า มีปัญหา กับเขาบ้างหรือเปล่า แล้วอื่นๆ อีกเล่า ยังคง เป็นช่องว่างให้เราลงไปค้นหาค�ำตอบ...

48 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 49


กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต�ำบลแม่แรง ท้องถิ่นวันนี้เปลี่ยนไปแล้ว ด้วยศักยภาพ ความสามารถมิได้เป็นรองใครที่ไหน ที่สำ� คัญ ใครเล่าจะเข้าใจบริบทของชุมชนดีกว่าคนที่ อาศัยอยู่ในชุมชนนัน ้ ดังนัน ้ กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับต�ำบลจึงเป็นเครือ ่ งมือหนึง่ ในการ ขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพ เกี่ยวพันไปถึงการ รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู และเสริมสร้างสุขภาพ เ ท ศ บ า ล ต� ำ บ ล แ ม ่แ ร ง เ ข ้า ร ่ว ม กั บ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เมื่อปลายปี 2551 หลังจากที่ทาง สปสช. ได้ เข้า มาท� ำ กิ จ กรรมน� ำ ร่อ งในหลายพื้ น ที่ ข อง จังหวัดล�ำพูน ตั้งแต่ปี 2549 อารีวรรณ บุญอุดม ผู้อ�ำนวยการกอง สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลต�ำบล แม่แรง เล่าว่า ทางต�ำบลแม่แรงเข้าร่วมกับ สปสช. เพราะมั่ น ใจว่า ประชาชนจะได้รั บ ประโยชน์โดยตรง “แต่ก ่อ นงบประมาณด้า นสาธารณสุ ข ทุ ก อย่า ง จะถู ก ส่ง ผ่า นมาทางสาธารณสุ ข จั ง หวั ด แล้ว ค่อ ยมาถึ ง โรงพยาบาลประจ� ำ อ�ำเภอ ซึ่งงบประมาณนี้ กว่าจะมาถึงชาวบ้าน ก็ใช้เวลานาน ตอนหลังเมื่อกระจายอ�ำนาจสู่ ท้อ งถิ่ น โดยตรง ก็ ท� ำ ให้ก ารจั ด การง่า ยขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพขึ้ น และครอบคลุ ม มากขึ้ น ” ผู้อำ� นวยการกองสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อมว่า สปสช. สมทบงบประมาณต่อหัวประชากร หั ว ละ 45 บาท ซึ่ ง เทศบาลจะต้อ งสมทบ ไม่น ้อ ยกว่า ร้อ ยละ 50 แต่ท างเทศบาล ต�ำบลแม่แรงสมทบถึงร้อยละ 80 50 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ในส่วนของรูปแบบการบริหารจัดการนั้น ทาง สปสช. มีโครงสร้างของคณะกรรมการ กองทุนฯ ก�ำหนดไว้ มีนายกเทศมนตรีเป็น ประธานโดยต� ำ แหน่ง มี ป ลั ด เทศบาลเป็น เลขานุ ก ารโดยต� ำ แหน่ง เช่น กั น มี ที่ ป รึ ก ษา กองทุนฯ ประกอบด้วยสาธารณสุขอ�ำเภอ และ ผู ้อ� ำ นวยการโรงพยาบาลป่า ซาง ส่ว นตั ว กรรมการ เลือกจากผู้น�ำชุมชน 5 คน ตัวแทน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) 2 คน สมาชิกสภาเทศบาล 2 คน ผู้อำ� นวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 2 คน และ ผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ 2 คน ของที่ ต� ำ บลแม่แ รง คือก�ำนัน และผู้ใหญ่บ้านอีก 1 หมู่บ้าน จุดเด่นของกองทุนฯ ที่นี่ คือการท�ำแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข ซึ่งเป็น แนวทางที่ นพ.อมร นนทสุ ต อดี ต ปลั ด กระทรวงสาธารณสุข ผู้ได้รับการยกย่องให้ เป็น บิ ด าแห่ง การสาธารณสุ ข มู ล ฐาน เคย น� ำ เสนอไว้เ มื่ อ ปี 2551 โดยวิ เ คราะห์จ าก ประสบการณ์ด้านสาธารณสุขตลอด 5 ทศวรรษ ซึ่ ง สิ่ ง ที่ ท ่า นเล็ ง เห็ น คื อ ระบบสาธารณสุ ข มู ล ฐานถื อ เป็น ค� ำ ตอบของแนวคิ ด เรื่ อ ง ความเสมอภาค และการมีคนเป็นศูนย์กลาง ของการพั ฒ นา ฉะนั้ น การวางยุ ท ธศาสตร์ สาธารณสุ ข มู ล ฐานยุ ค หลั ง ๆ จึ ง ต้อ งอาศั ย การวิ เ คราะห์แ ละสั ง เคราะห์อ งค์ป ระกอบ ต่างๆ ที่มีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จ ดังนี้ 1) ความเข้าใจ คือเข้าใจว่ากลุ่มเป้าหมายคือใคร และปัญหาอยู่ที่ใด 2) การเข้าถึง โดยมี อสม.


เป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง และ 3) การพัฒนา โดยอาศั ย อสม. ตลอดจนองค์ก รปกครอง ส่ว นท้อ งถิ่ น เน้น ไปที่ ก ารสร้า งสุ ข ภาพและ ป้องกันโรค รวมถึงการพัฒนาทักษะของชุมชน และบุคคล ในเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพ ที่นี่รับแนวทางดังกล่าวมาปรับใช้ มีการ สร้า งแผนปฏิ บั ติ ก ารของกองทุ น ฯ โดยอิ ง ระเบี ย บของส� ำ นั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพ แห่งชาติ แบ่งออกเป็น 5 ภารกิจ ครอบคลุม ทุ ก กลุ ่ม เป้า หมายตั้ ง แต่เ ด็ ก ในครรภ์จ นถึ ง ผู้สงู อายุ ดังนี้ 1) สนับสนุนหน่วยบริการภายใน พื้นที่ คือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 2 แห่ง โดยจัดสรรงบประมาณให้ร้อยละ 30 ของเงินกองทุนฯ 2) สนับสนุนกิจกรรมของ ภาคประชาชน ร้อยละ 40 3) สนับสนุนการ ด�ำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผู้สูงอายุ

ร้อยละ 15 4) บริหารจัดการกองทุน ร้อยละ 15 และ 5) รับมือการบริหารจัดการภัยพิบัติ ต่า งๆ โดยข้อ 5 นี้ อาศั ย เงิ น งบประมาณ ที่เหลือในแต่ละปี อย่า งไรก็ ดี เนื่ อ งจากแผนที่ ท างเดิ น ยุ ท ธศาสตร์นั้ น ใช้ร ะยะเวลาการด� ำ เนิ น งาน แผนละ 4 ปี ซึ่ ง อาจจะไม่ส อดคล้อ งกั บ สถานการณ์ท างด้า นสุ ข ภาพที่ เ ปลี่ ย นแปลง ตลอดเวลา กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลต� ำ บลแม่แ รง จึ ง พยายามสร้า ง แผนด�ำเนินงานของกองทุนปีต่อปีขน ึ้ มารองรับ อีกแผนหนึ่ง ส่วนวิธก ี ารขอใช้งบประมาณจากกองทุนฯ จะมี ก ารนั ด ประชุ ม เพื่ อ จั ด ท� ำ แผน โดย เปิด โอกาสให้ผู ้มี ส ่ว นร่ว มน� ำ เสนอโครงการ เข้ามา โดยมีคณะอนุกรรมการอีก 3 คณะ คือ

อารีวรรณ บุญอุดม

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 51


อนุ ก รรมการฝ่า ยเลขานุ ก าร อนุ ก รรมการ ฝ่ายการเงินและบัญชี และอนุกรรมการฝ่าย กลั่นกรองแผนงานโครงการและประเมินผล ท�ำหน้าที่คัดเลือกโครงการที่เหมาะสม เพื่อ ด�ำเนินการอนุมัติงบประมาณต่อไป “คนที่ยื่นส่วนใหญ่ก็จะเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล อสม. แล้วก็ชุมชนทั้ง 43 ชุมชน ซึ่งโครงการที่เด่นๆ ก็มีโครงการ ชุมชนสุขภาพดี คือแรกๆ เวลาที่เราเปิดให้ ชุ ม ชนส่ง โครงการ ไม่มี ใ ครกล้า ส่ง แต่ว ่า แต่ละชุมชนก็จะมีคณะกรรมการของตัวเอง เราเลยไปสนับสนุนให้เขาท�ำโครงการนี้ขึ้นมา โดยมีโจทย์ว่าต้องท�ำให้คนในชุมชนมีสุขภาพ ดี ภายใต้ 5 มิติ คือมิติความปลอดภัย มิติของ ความสะอาดและสิ่ ง แวดล้อ มดี มิ ติ ด ้า น คุณภาพชีวิต มิติเรื่องวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการ มี สุ ข ภาพดี และมิ ติ เ รื่ อ งธรรมาภิ บ าลและ ความโปร่งใส ต้องท�ำให้ครบ หรืออย่างปีล่าสุด

52 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ก็มีโครงการต่อยอดด้านสิ่งแวดล้อม เพราะ ปัจ จุ บั นเรามี บ ้านป่าบุก เป็นหมู่บ ้านต้นแบบ ของชุ ม ชนปลอดขยะ เราก็ เ ลยอยากท� ำ ให้ ทั้ ง ต� ำ บลปลอดขยะอย่า งยั่ ง ยื น จึ ง ชวนทุ ก ชุมชนมาท�ำโครงการนี้ร่วมกัน แต่ละชุมชนจะ ได้รบ ั งบประมาณตามขนาดของชุมชน โดยเอา หลังคาเรือนเป็นตัวตัง้ ” ผอ.อารีวรรณสาธยาย ป ัจ จุ บั น ก อ ง ทุ น หลั ก ป ร ะ กั น สุ ข ภาพ เทศบาลต� ำ บลแม่แ รงมี เ งิ น หมุ น เวี ย นอยู ่ใ น กองทุนปีละ 580,000 บาท โดยปีหนึ่งจะ อนุมัติราวๆ 60 โครงการ เน้นการกระจาย ไปยังกลุ่มคนที่หลากหลาย ภายใต้หลักการ ท�ำงานทีเ่ น้นคุณภาพและมาตรฐานเป็นส�ำคัญ จึ ง ไม่ใ ช่เ รื่ อ งแปลกว่า ท� ำ ไมที่ นี่ จึ ง ได้รั บ การประเมินจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ให้เป็นกองทุนระดับ A+ และได้เป็น ศูนย์เรียนรู้ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ...


ขยะกินได้

พระครูประภัศร์สาธุการ

ขยะกินได้ ไม่ได้หมายความว่า ให้กินขยะ แต่เป็นการน�ำขยะมาเปลี่ยนเป็นอาหาร ซึ่ง เป็น แนวคิ ด ของ พระครู ป ระภั ศ ร์ส าธุ ก าร เจ้าอาวาสวัดกอม่วง หมู่ที่ 8 บ้านป่าเบาะ ตั้งแต่ปี 2553 ที่ต้องการสร้างนิสัยการแยก ขยะแก่ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะในชุมชน กอม่วง เนื่องจากที่นี่มีขยะในปริมาณมาก ท่า นพระครู เ ล่า ให้ฟ ัง ว่า วิ ธี ก ารจั ด การ ไม่ย่งุ ยากซับซ้อน หลักๆ คือประชาสัมพันธ์ให้ ชาวบ้านน�ำขยะทีแ่ ยกไว้มารวมกันทีว่ ด ั จากนัน ้ วัดจะน�ำขยะเหล่านีไ้ ปขาย เงินทีไ่ ด้จะน�ำไปซือ ้ เมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว ทั้งผักกาดขาว ผักชี ผักบุ้ง น�ำแจกจ่ายให้ชาวบ้านไปปลูกที่บ้าน “อาตมาได้รั บ แรงบั น ดาลใจจากการไป ศึกษาดูงาน เห็นเป็นกิจกรรมที่น่าสนใจ และ ยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนด้วย เน้น การพึ่ ง พาตนเอง โดยทุ ก วั น พระก็ จ ะมี ประชาชนจ�ำนวนมากน�ำขยะมาบริจาค ถือว่า ชาวบ้านที่นี่ก็ให้ความร่วมมือดี” ปัจจุบันพระครูประภัศร์สาธุการได้ส่งต่อ

หน้าที่นี้ไปยังกลุ่ม อสม. รวมไปถึงกรรมการ หมู ่บ ้า นให้ช ่ว ยด� ำ เนิ น การแทน ทั้ ง ยั ง ได้รั บ ความร่วมมือจาก รพ.สต.แม่แรงมาให้ความรู้ ในการน� ำ ขยะมาแปรรู ป เป็น ภาชนะปลู ก ผั ก เนื่องจากทางวัดเองมีภารกิจค่อนข้างมาก นอกจากการแจกเมล็ ด พั น ธุ ์พื ช อี ก กิจกรรมที่ท�ำต่อเนื่อง คือการแจกปุ๋ยชีวภาพ ซึ่ง อสม.รับหน้าที่เป็นแกนหลักในการหมัก เศษอาหารเหลือทิ้งในชุมชน เมื่อได้เป็นปุ๋ย เรียบร้อยแล้ว จะน�ำไปแจกจ่ายให้ชาวบ้าน บ้านละ 2-3 ถุ ง จ�ำ นวน 212 ครอบครัว ส่วนทีเ่ หลือน�ำไปขาย เป็นรายได้สำ� หรับจัดซือ ้ อุปกรณ์ในการท�ำปุ๋ยต่อไป “ตอนนี้อาตมาไม่ต้องแจกเมล็ดพันธุ์แล้ว เพราะชาวบ้านเขาปลูกผักสวนครัวเป็นนิสัย เช่น เดี ย วกั บ เรื่ อ งแยกขยะ ในชุ ม ชนเขามี จุดคัดแยก พอถึงเวลาเขาก็ขายกันเอง ไม่ต้อง มาผ่า นวั ด อี ก แล้ว สิ่ ง ที่ พ ระท� ำ เหมื อ นการ เพาะพันธุ์ความดีไว้ให้เท่านั้นเอง” เจ้าอาวาส ทิ้งท้าย... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 53


ชมรมรักษ์สุขภาพบ้านหนองเงือก

เป็นเวลาย�่ำค�่ำ ณ ลานหน้าที่ท�ำการของ ศู น ย์ส าธารณสุ ข มู ล ฐานชุ ม ชน บริ เ วณบ้า น หนองเงือก ด้านหน้าอาคารมีต้นมะขามใหญ่ แผ่กงิ่ ก้าน แสงไฟสปอตไลท์สาดส่องท่ามกลาง ลมหนาวที่พัดมาเสียดผิว ชาวบ้านหนองเงือก นั บ สิ บ ชี วิ ต ม า ร ว ม ตั ว กั น ณ ที่ แ ห ่ง นี้ เตรี ย มความพร้อ มที่ จ ะขยั บ เขยื้ อ นร่า งกาย ตามจังหวะเพลง นีเ่ ป็นทีน ่ ด ั พบอย่างรู้กน ั ของชาวบ้าน เป็น ฟลอร์ร�ำวงย้อนยุค และเวทีแอโรบิก ที่มีเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ทั้งหญิงทั้งชาย มารวมตัวกัน ภายใต้การขับเคลือ ่ นงานของชมรมรักษ์สขุ ภาพ บ้านหนองเงือก ซึ่งมี สวัสดิ์ ศรีเนตร เป็น ประธาน และมีสมาชิกจากกลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน หรือ อสม. จ�ำนวน 51 คน เป็นพลังหนุนมาตั้งแต่ปี 2548 “เราท�ำชมรมนีข้ น ึ้ มา เพราะผู้คนในหมู่บ้าน 54 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ไม่ค่อยได้ออกก�ำลังกาย และถึงจะมีก็ยังไม่มี การท�ำอย่างเป็นสัดเป็นส่วน ต่างคนต่างท�ำ ทาง อสม. เลยร่วมแรงร่วมใจตั้งชมรมนี้ขึ้นมา เพื่ อ ส่ง เสริ ม ให้ช าวบ้า นได้อ อกก� ำ ลั ง กาย ด้วยการเต้นแอโรบิก ซึ่งช่วงแรกได้หาครูมา ฝึก สอนให้ ชื่ อ ครู โ ต้ง เป็น ต� ำ รวจ เคยมี ประสบการณ์สอนในพืน ้ ทีอ ่ น ื่ ๆ มาแล้ว พอเขา ถ่า ยทอดจนพวกเราเต้น เป็น ก็ เ ริ่ ม ปัก หลั ก ท�ำกันเองจนถึงปัจจุบัน โดยเราพยายามหาวิธี ชักชวนชาวบ้านมาออกก�ำลังกายเยอะๆ อย่าง เวลานี้เราก็พัฒนารูปแบบการออกก�ำลังกาย ใหม่ๆ ท�ำเป็นร�ำวงย้อนยุคบ้าง ไทเก๊กบ้าง” ประธานชมรมกล่าว ส่วนเวลาออกก�ำลังกายนั้นจะเริ่มตั้งแต่ 6 โมงเย็น หรือ 1 ทุ่ม แล้วแต่ความสะดวก โ ด ย ช ่ว ง แ ร ก ไ ด ้รั บ ค ว า ม ช ่ว ย เ ห ลื อ จ า ก สิงห์ทอง มูลชีพ ซึง่ เป็นเกษตรกรชาวสวนล�ำไย


สวัสดิ์ ศรีเนตร

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 55


ที่ เ ห็ น ดี เ ห็ น งามกั บ กิ จ กรรมของชมรมและ อยากมีส่วนร่วมด้วย อนุเคราะห์พน ื้ ทีล ่ านกว้าง หน้าบ้านให้ รวมถึงให้ใช้เครื่องเสียง ซึ่งพอ ชาวบ้านเห็น อสม.ไปเต้น มีผลตอบรับด้าน สุขภาพทีด ่ ี ก็ตน ื่ ตัวและอยากร่วมกิจกรรมด้วย ทว่าด้วยความเกรงใจเจ้าของพื้นที่ ซึ่งใช้ พืน ้ ทีบ ่ ริเวณนัน ้ ท�ำเป็นโกดังล�ำไย ทางชมรมจึง ค่อยๆ รวบรวมเงินออมของสมาชิก เงินทีเ่ หลือ ของกลุ ่ม อสม. ซึ่ ง ได้รั บ จั ด สรรทุ ก ปี ปีล ะ 10,000 บาท รวมไปถึ ง ขอบริ จ าคจาก ผู้มีส่วนร่วม และทางวัดหนองเงือกยังแบ่งเงิน ผ้าป่าส่ว นหนึ่ ง เพื่ อเป็นงบประมาณในการ จัดซื้อเครื่องเสียงของตัวเอง และย้ายกิจกรรม มาท� ำ ที่ บ ริ เ วณหน้าศูนย์สาธารณสุขมูล ฐาน ตั้งแต่ปี 2550 “เราเต้นทุกวัน จะหยุดบ้างช่วงหน้าฝน ช่ว งเกี่ ย วข้า ว หรื อ มี ง านในหมู ่บ ้า น อย่า ง งานศพ งานท�ำบุญ เพราะไม่อยากรบกวนเขา 56 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


แล้วเราก็ต้องเอาแรงของตัวเองไปช่วยเขาด้วย วันหนึง่ มีผ้เู ข้าร่วมประมาณ 30 คน ทัง้ ชาวบ้าน และ อสม. เต้นกันประมาณ 1-2 ชั่วโมง โดย จะเริ่มจากการเล่นไทเก๊กก่อน แต่ว่าทุกวันนี้ เล่นน้อยแล้วเหลือแต่ผู้สูงอายุเท่านั้น จากนั้น แอโรบิ ก แล้ว ถึ ง เต้น ร� ำ วงย้อ นยุ ค ซึ่ ง ได้รั บ ความนิยมมาก เพราะว่ามีเพลงใหม่ๆ มาเสมอ และทางเทศบาลเองก็สนับสนุนด้วย” ปัจจุบน ั ชมรมรักษ์สข ุ ภาพบ้านหนองเงือก ได้รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากกองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพ เทศบาลต� ำ บลแม่แ รง ในการจ้า งครู ส อนแอโรบิ ก ส� ำ หรั บ สอนท่า ใหม่ๆ รวมไปถึงครูสอนไทเก๊ก ซึ่งเป็นวิชาที่ ต้อ งอาศั ย ผู ้เ ชี่ ย วชาญ นอกจากนี้ ยั ง ใช้ซื้ อ แผ่นซีดี ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วกับการ ออกก�ำลังกาย จากความตั้งใจดีที่จะส่งเสริม สุขภาพแก่ชาวบ้าน ท�ำให้ชมรมแห่งนี้ได้รับ

รางวัลมากมาย เช่น รางวัลสุขภาพดีถ้วนหน้า ของส� ำ นั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ง ชาติ เกือบทุกปี รวมถึงได้ไปแสดงการร�ำวงย้อนยุค ทัง้ ระดับท้องถิน ่ จนถึงระดับจังหวัดด้วย “ชาวบ้านที่นี่ส่วนใหญ่ป่วยเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การออกก�ำลังกายช่วยได้ มาก สั ด ส่ว นคนเป็น โรคลดลงไปเรื่ อ ยๆ นอกจากนี้ ยั ง พยายามให้ช าวบ้า นได้เ รี ย นรู ้ เรือ ่ งการกินอาหาร อย่างพืชผักปลอดสารเคมี เพราะจะช่ว ยทุ เ ลาอาการของโรค และลด ความเสี่ยงของโรคมะเร็ง นอกจากนี้เรายังมี ศูนย์ข่าวประจ�ำหมู่บ้าน โดยผมจะคอยพูดถึง เรื่องการบริโภคและออกก�ำลังกาย ซึ่งไม่ใช่ แค่การรวมกลุ่มตอนเย็นเท่านั้น แต่ยังแนะน�ำ การเดิ น วิ่ ง ปั่น จั ก รยาน เพื่ อ ให้ทุ ก คนได้ เลือกท�ำตามอัธยาศัย เพราะถือว่าเป็นภารกิจ ของเรา” สวัสดิ์กล่าวทิ้งท้าย... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 57


สุขภาพดีวิถีไทย จริงๆ แล้ว ขบวนการรักสุขภาพไม่ได้มี เพี ย งชาวบ้า นหนองเงื อ กเท่า นั้ น แต่มี อ ยู ่ ทุกหนแห่งในต�ำบลแม่แรง จากบ้านหนองเงือก เราเดินทางไปทีช่ ม ุ ชน กอม่วง บ้านป่าเบาะ หมู่ที่ 8 เพื่อไปดูให้เห็น กับตาว่า ที่นี่เขาไม่ได้ออกก�ำลังกายกันเล่นๆ บุ ญ หลง ปัน ดอนตอง ประธานชุ ม ชน กอม่วง และ เทศ รัตนพงศ์ ประธานกลุ่ม อสม. โรงพยาบาลส่ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บลแม่แ รง ร่ว มกั น ฉายภาพที่ ไ ปที่ ม าว่า เมื่ อ ปี 2553 ทางเทศบาลต� ำ บลแม่แ รงได้เ รี ย กประชุ ม แกนน�ำหมู่บ้านต่างๆ ว่าจะท�ำโครงการสุขภาพดี วิถีไทย เทศ ในฐานะประธานกลุ่ม อสม. จึงน�ำ ประเด็นนี้ไปคุยต่อกันที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุ ข ภาพต� ำ บลแม่แ รง เพื่ อ ร่ว มด้ว ยช่ว ยกั น หาแนวทางการปฏิ บั ติ เพราะนอกจากจะ สอดคล้องกับภารกิจขององค์กรแล้ว ยังตอบ โจทย์ของชุมชน ที่ผู้คนประสบปัญหาสุขภาพ นานัปการ ทั้งโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง “บางคนอายุเพียงยีส ่ บ ิ ต้นๆ ก็เป็นความดัน เบาหวานแล้ว เราจึ ง เห็ น พ้อ งต้อ งกั น ท� ำ กิ จ กรรมเชิ ง รุ ก รณรงค์ใ ห้อ อกก� ำ ลั ง กาย” ประธานกลุ่ม อสม. รพ.สต.แม่แรง ว่า จากการหารือ ตกผลึกเป็นแนวนโยบาย 2 เรื่อง เรื่องแรกคืออาหาร เรื่องที่สองคือ การออกก�ำลังกาย ว่ากันที่อาหาร ทางวัดกอม่วง (วัดประจ�ำ หมู่บ้านป่าเบาะ) มีโครงการขยะกินได้อยู่แล้ว ทางแกนน�ำจึงขับเคลื่อนร่วมกับกิจกรรมเดิม 58 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ส่วนเรื่องการออกก�ำลังกาย ทางกลุ่ม อสม. ทั้ง 25 คน พิจารณาตรงกันแล้วว่า การท�ำตัว เป็นแบบอย่างน่าจะเป็นค�ำตอบที่ดีที่สุด “เราวิเคราะห์ปัญหาว่า ท�ำไมคนถึงไม่ยอม ออกก� ำ ลั ง กาย ส่ว นใหญ่ไ ม่มี เ วลา มั ว แต่ ท�ำงาน แล้วก็มีข้อมูลจาก รพ.สต.แม่แรง ว่ามี ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันอยู่มาก เราอยากดึง คนที่ยังไม่ป่วย และป่วย เข้ามาออกก�ำลังกาย ทาง รพ.สต. เลยท�ำป้ายเล็กๆ ให้แผ่นหนึ่ง เรียกว่า ชมรมสวยใสไร้พุง แล้วจ้างคนที่สอน เต้นแอโรบิกมาสอนที่หน้าวัดกอม่วงนี่แหละ วันหนึง่ 200-300 บาท แต่ว่าเรามีงบประมาณ ค่อ นข้า งน้อ ย เนื่ อ งจากเป็น งบของ อสม. สุดท้ายจ้างได้แค่ 4-5 วัน หลังจากนั้นก็ใช้ คนของเราที่ พ อเต้น ได้ม าสอนแทน เพราะ ตอนที่เราจ้างเขา เรามีถ่ายวิดีโอเก็บไว้ด้วย ส่วนพวกเครื่องเสียงผมมีให้ยืมใช้” บุญหลง ประธานชุมชนกอม่วงเล่า นอกจากนีเ้ พือ ่ ประชาสัมพันธ์ จึงประกาศ เสียงตามสาย โดยน�ำข้อมูลที่ได้จาก รพ.สต. แม่แรง มาอธิบายให้ทุกคนเห็นภาพชัดเจน ทว่าด้วยความที่สิ่งเหล่านี้ยังเป็นนามธรรมอยู่ ชาวบ้านจึงยังไม่ให้ความส�ำคัญเท่าไรนัก จนเวลา ผ่านไปประมาณ 1-2 ปี คนทีม ่ าออกก�ำลังกาย ต่อ เนื่ อ งมี สุ ข ภาพดี ขึ้ น แข็งแรงขึ้น น�้ำหนัก ลดลง ชาวบ้านหลายคนก็เริม ่ หันมาสนใจ และ เข้ามาร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น “ตอนแรกเราจัดกิจกรรมประมาณห้าโมง เย็น แต่ว่าคนยังไม่เลิกงานกัน เลยเลื่อนเป็น หกโมงเย็ น แต่เ วลานี้ ส ่ว นใหญ่เ พิ่ ง ถึ ง บ้า น ท�ำอาหาร สุดท้ายเลยเปลี่ยนเป็นหนึ่งทุ่มตรง


บุญหลง ปันดอนตอง และ เทศ รัตนพงศ์

นอกจากเวลา กิจกรรมก็ปรับเปลี่ยนไปตาม กาลเวลา จากยุคแรกแอโรบิก ปัจจุบน ั เป็นการ เต้นร�ำวงย้อนยุค วันหนึ่งคนมาร่วมประมาณ 10-20 คน และยังมีกิจกรรมอื่นๆ เช่น ปั่น จักรยาน ที่จะปั่นกันตอนตีสี่ตีห้า แต่ที่นิยม ทุกเพศทุกวัย คือเปตอง เพราะในต�ำบลแม่แรง มีสนามเปตองทุกชุมชน โดยมีเทศบาลเป็น ผู้สนับสนุนในการซือ ้ ลูกเปตองปีละชุด และทุก วันที่ 12 สิงหาคม ที่นี่ก็จะมีการแข่งขัน เป็น ทีมครอบครัว ทีมชนะได้ถ้วยรางวัลจากทางวัด แล้วตอนเที่ยงก็มีการเลี้ยงก๋วยเตี๋ยว ถือเป็น กลยุทธ์ในการดึงคนเข้ามาร่วม” ประธานกลุ่ม อสม. รพ.สต.แม่แรง กล่าว นอกจากนี้ ยั ง มี อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมที่ เ สริ ม เข้ามา คือการบัญชีครัวเรือน ซึ่งบุญหลงเล่า ว่า จุดเริ่มต้นมาจากการที่แต่ละครัวเรือนมี ค่าใช้จ่ายสูง และส่วนมากไม่รู้สาเหตุ จึงท�ำ บัญชีครัวเรือนเพื่อให้เห็นว่า อะไรคือส่วนเกิน หรือไม่จ�ำเป็น ซึ่งผลลัพธ์ที่ปรากฏมีตั้งแต่ ค่า บุหรี่ ค่าสุรา ค่าหวย หรือแม้แต่ค่าโทรศัพท์ ซึง่ ทีม อสม.ก็พยายามรณรงค์ให้ลดค่าใช้จ่าย เหล่านี้ หรือเลิกได้ก็ยิ่งดี เพื่อให้มีเงินเก็บไว้ บ้าง

“แรกๆ ไม่เข้าใจ แต่วน ั นีเ้ ริม ่ เห็นประโยชน์ ของการท� ำ บั ญ ชี และพร้อ มที่ จ ะช่ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ซึ่ ง ต้อ งขอบคุ ณ ท่า นพระครู ประภั ศ ร์ส าธุ ก าร เจ้า อาวาสวั ด กอม่ว ง ที่ คอยเทศน์คอยสอน เปลี่ยนใจชาวบ้าน เพราะ ท่านรู้ปัญหาเหล่านี้หมด” บุญหลงว่า จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทยของชุมชน กอม่ว ง ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ ห็ น ได้ชั ด คื อ สุ ข ภาพของชาวบ้า น ผู ้ป ่ว ยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีสุขภาพที่ดีขึ้น ส่วนคนที่ ไม่เป็นก็มีภูมิต้านทาน อัตราผู้ดื่มสุรา สูบบุหรี่ น้อยลง โดยเฉพาะบุหรี่นั้นเหลือไม่ถึง 10 คน จากเดิ ม ที่ มี ม ากถึ ง 40-50 คน ที่ ส� ำ คั ญ เมื่ อ ปี 2556 ที่ นี่ ยั งรับ โล่พ ระราชทานจาก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ระดั บ รองชนะเลิ ศ จากโครงการสุ ข ภาพดี วิ ถี ไ ทย ในฐานะพื้ น ที่ ดี เ ด่น ซึ่ ง สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพี่น้องประชาชนได้ “เหล้า บุหรี่ หลายคนบอกเลิกยาก แต่ผม ไม่เ ชื่ อ หรอก บางคนทั้ ง สู บ ทั้ ง ดื่ ม มาเกื อ บ ตลอดชี วิ ต ยั ง เลิ ก ได้ ของแบบนี้ มั น อยู ่ที่ ใ จ” ประธานชุมชนบุญหลงทิ้งท้าย...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 59


อาสาสมัครดูแลผู ้สูงอายุ สั ง คมไทยก� ำ ลั ง ก้า วสู ่ก ารเป็น สั ง คม ผู้สูงอายุทุกขณะ ทว่าการดูแลผู้สูงอายุให้มี ประสิทธิภาพยังเป็นเรือ ่ งยากของหลายๆ พืน ้ ที่ ด้วยเหตุนี้เองทางเทศบาลต�ำบลแม่แรงจึงมี นโยบายส่ง เสริ ม การพั ฒ นาความสามารถ ของอาสาสมัครสาธารณสุขขึน ้ เป็นอาสาสมัคร ผู้สูงอายุ ความจริงแล้วกิจกรรมนี้เป็นนโยบายของ กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คง ของมนุษย์ ซึ่งด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2553 ด้ว ยตั ว เลขสถิ ติ ฟ ้อ งว่า มี จ� ำ นวนประชากร ผู้สูงอายุสูงขึ้นเรื่อยๆ ณั ฐ ฐาพร ยะอะนั น ต์ เจ้า หน้า ที่ ก อง สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เล่าว่า ที่ต�ำบล แม่แรงมี รพ.สต. 2 แห่ง คือ รพ.สต.แม่แรง ซึ่งดูแล 4 หมู่บ้าน และ รพ.สต.บ้านดอนหลวง ดูแล 6 หมู่บ้าน เฉพาะผู้สูงอายุที่อยู่ภายใต้ การดู แ ลของ รพ.สต.บ้า นดอนหลวงก็ มี ประมาณ 1,000 คนแล้ว คิดเป็น 1 ใน 4 ของ ประชากรทั้ ง หมด แบ่ง เป็น ผู ้ป ่ว ยติ ด บ้า น 60 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ติดเตียง บางคนเป็นโรคเบาหวาน ความดัน โลหิ ต สู ง หลอดเลื อ ดสมอง หรื อ อั ม พฤกษ์ อัมพาต ในตอนนั้ น ทางกองสาธารณสุ ข และ สิ่งแวดล้อมได้ท�ำการคัดเลือก อสม. 5 คน ไป อบรมการเป็นอาสาสมัครผู้สูงอายุ หรือ อผส. ที่ ตั ว จั ง หวั ด ล� ำ พู น พออบรมกลั บ มาแล้ว ได้มี ก ารลงพื้ น ที่ เพื่ อ หาดู ว ่า มี ผู ้สู ง อายุ ที่ ต้องเยี่ยมเท่าไร “สรุปว่ามีเยอะมาก เลยอยากขยาย อผส. ให้ม ากขึ้ น โดยต� ำ บลแม่แ รงมี 11 หมู ่บ ้า น 43 ชุมชน เราต้องการให้มี อผส. ชุมชนละ 1 คน ทางเทศบาลต�ำบลแม่แรงจึงจัดอบรมเอง มีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ อาทิ นักจิตวิทยา นั ก กายภาพบ� ำ บั ด นั ก กิ จกรรมบ� ำ บั ด ” ณัฐฐาพรเล่า ต่อ มาในปี 2555 ทางเทศบาลต� ำ บล แม่แรงมีภาระงานล้นมือ จึงถ่ายโอนหน้าที่นี้ ไปให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทัง้ 2 แห่ง ดู แ ลต่อ โดยอาศั ย งบประมาณจาก


จิณนภัส ซัง

กองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ง ชาติ ซึ่ ง พอ มาอยู่ในมือ รพ.สต. แล้ว ก็ขยายผล ด้วยการ จัดอบรมเพิ่มเติมแก่ อผส. เกี่ยวกับการดูแล รั ก ษาพยาบาลผู ส ้ ู ง อายุ ใ นเบื้ อ งต้น เช่น การดูแลแผลกดทับ การท�ำแผล การดูแลผู้ป่วย เบาหวานที่ ถู ก ตั ด เท้า รวมไปถึ ง การฟื้น ฟู ด้วยการท�ำกายภาพบ�ำบัด ส� ำ หรั บ หน้า ที่ ข อง อผส. จิ ณ นภั ส ซั ง พยาบาลวิ ช าชี พ ช� ำ นาญการ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านดอนหลวง อธิบาย ว่า หลั ก ๆ คื อ การดู แ ลผู ้สู ง อายุ รวมไปถึ ง คนพิ ก าร เพื่ อ ให้เ ข้า ถึ ง บริ ก ารด้า นสุ ข ภาพ มากขึ้ น โดยทาง อผส.จะลงไปตรวจเยี่ ย ม เป็นประจ�ำทุกสัปดาห์ ตลอดจนรวบรวมข้อมูล เพื่อให้การดูแลรักษาเป็นระบบมากขึ้น “ในพืน ้ ทีบ ่ ้านดอนหลวงของเรา มีผ้ส ู งู อายุ ติดเตียงอยู่ประมาณ 5 คน และเป็นคนพิการ ติดเตียงอีก 6 คน แล้วก็มีผู้สูงอายุติดบ้าน อีก 70 กว่าคน ซึ่งในกลุ่มหลังนี้เราก็ไปช่วย วัดความดัน ดูแลเรื่องการกินยา พูดคุย โดย

เดือนหนึ่งเราจะไปเยี่ยมประมาณ 2-3 วัน” จิณนภัสเล่า จุดเด่นของอาสาสมัครผู้สงู อายุทน ี่ น ี่ น ั้ คือ เน้นการท�ำงานเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ ระหว่า งกั น โดยมี เ ป้า หมายเพื่ อ สร้า งเสริ ม สุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุ “อย่า งอาสาสมั ค รหลายคนมี ค วามรู ้ ความสามารถเกี่ยวกับแพทย์แผนไทย ฉะนั้น เวลามีกิจกรรมต่างๆ อย่างโรงเรียนผู้สูงอายุ ก็ จ ะมี ก ารเชิ ญ อผส. ไปให้ค วามรู ้ เพื่ อ ให้ ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตัวเอง และรู้จัก บริหารร่างกายของตัวเอง โดยไม่ต้องรอพึง่ พิง ผู้อื่นแต่เพียงอย่างเดียว” จิณนภัสสาธยาย ถ้ามองตามความเป็นจริงแล้ว อย่างน้อย การมีอาสาสมัครผู้สูงอายุ ก็ท�ำให้ประชาชน สามารถเข้า ถึ ง การแพทย์ม ากขึ้ น กล้า ที่ จ ะ เปิดใจและพูดคุยถึงเรือ ่ งราวเกีย ่ วกับสุขภาพที่ ตัวเองประสบ เสมือนมีเพือ ่ นคู่คด ิ มิตรใกล้บ้าน ไม่ใช่ครอบครัว แต่ก็พร้อมจะดูแลกัน...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 61


โรงเรียนผู ้สูงอายุ ต�ำบลแม่แรง

เมื่ อ รุ ่ง เช้า ของวั น พฤหั ส บดี เ วี ย นมาถึ ง ผู้สูงอายุทย ี่ ังมีแรงเดินเหินจะรู้จุดนัดหมายอยู่ ในใจ ก่อนจะเดิน หรือหยิบจับรถถีบ รถเครือ ่ ง บึ่งไปตามอัธยาศัย ถือเป็นวันพบเพื่อน และ วันแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ ต�ำบลแม่แรง หรือการ ขับเคลื่อนของเทศบาลต�ำบลแม่แรง ภายใต้ ความร่วมมือกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ โดยมีกองสวัสดิการ สังคมเป็นผู้รบ ั ผิดชอบ เปิดท�ำการครัง้ แรกเมือ ่ ปลายเดือนพฤศจิกายน 2557 ณ วัดแม่แรง อารี ว รรณ บุ ญ อุ ด ม ผู ้อ� ำ นวยการ กองสาธารณสุ ข และสิ่ ง แวดล้อ ม เทศบาล ต�ำบลแม่แรง ซึ่งถือเป็นหน่วยสนับสนุนของ โรงเรียนผู้สูงอายุ เล่าที่ไปที่มาของกิจกรรมนี้ ว่า เกิ ด จากการที่ ต� ำ บลแม่แ รงมี ผู ้สู ง อายุ มากถึง 1,600 คน ในจ�ำนวนนี้หลายคนต้อง อยู่เพียงล�ำพัง เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า 62 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

อันเป็นทีม ่ าของโรคและเหตุการณ์อน ั ไม่คาดฝัน ทางเทศบาลจึ ง หากลวิ ธี ใ นการสร้า งเสริ ม สุขภาพกาย สุขภาพใจให้แก่ผู้สูงอายุ ที่สุด เกิดเป็นหลักสูตรส�ำหรับผู้สูงอายุ พร้อมกับได้ น�ำแนวกิจกรรมที่ สสส.ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ อาทิ การพัฒนาสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ ้ ต่อผู้สงู อายุ การจั ด ตั้ ง กองทุ น หรื อ จั ด ให้มี ส วั ส ดิ ก าร ช่วยเหลือกันมาผสมผสาน เพื่อให้ผู้สูงอายุใน ต�ำบลแม่แรง มีคุณภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น “คนที่ร่างหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ ก็จะ เป็น พวกครู หรื อ ศึ ก ษานิ เ ทศก์ ซึ่ ง ในพื้ น ที่ ต�ำบลแม่แรงมีอยู่หลายคน โดยเราจะมีการจัด หลักสูตรเป็นหมวด เช่น หมวดสาธารณสุข หมวดนั น ทนาการ หมวดศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประเพณี” อารีวรรณเล่า โรงเรียนผู้สงู อายุเปิดสอนทุกวันพฤหัสบดี สัปดาห์เว้นสัปดาห์ ไม่มป ี ด ิ เทอม ไม่มรี ะดับชัน ้ ไม่มีสถานที่แน่นอน แต่ส่วนมากจะเป็นการ


เรียนตามวัด เวียนไปตามพื้นที่หมู่บ้านต่างๆ เพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่เข้าวัดอยู่แล้ว โดย ผู้สูงอายุจะมีสมุดประจ�ำตัวคนละเล่ม ถือเป็น หลักฐานในการมาเรียน หากผู้สูงอายุคนใด มาเรียนครบตามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด ทางเทศบาลจะ มอบประกาศนียบัตรให้เป็นรางวัลความตั้งใจ “เดิมเราตั้งใจใช้สถานที่ของศูนย์พัฒนา เด็ ก เล็ ก แต่ป ัญ หาคื อ ล� ำ พั ง แค่ร องรั บ เด็ ก ที่มีอยู่ก็ไม่พอแล้ว เลยไปใช้ไม่ได้ มาตอนหลัง ทางเทศบาลมี โ ครงการจะสร้า งอาคาร อเนกประสงค์ แต่ว ่า ยั ง ไม่ไ ด้ส ร้า ง ฉะนั้ น เลยต้องจัดกิจกรรมแบบสัญจร ซึ่งถือว่าเป็น เรือ ่ งดีเหมือนกัน เพราะท�ำให้เกิดการมีส่วนร่วม ของหมู่บ้านที่เป็นเจ้าภาพ อย่างเช่น ถ้ารู้ว่า จะมี ผู ้สู ง อายุ ม า ก็ จ ะมี ก ารท� ำ อาหารเลี้ ย ง มีการเตรียมตัวต้อนรับ” อารีวรรณสาธยาย ส�ำหรับเนือ ้ หาของการเรียน หลักๆ จะเป็น สิ่ ง ที่ สั ม พั น ธ์กั บ ผู ้สู ง อายุ เช่น เรื่ อ งสุ ข ภาพ

อย่างการดูแลรักษาตนเอง การท�ำกายภาพ บ� ำ บั ด ด้ว ยตนเอง รวมถึ ง มี ก ารฝึก อาชี พ ตลอดจนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ ให้ผู้สูงอายุมีทักษะและมีกิจกรรมยามว่างท�ำ สามารถสร้างรายได้เล็กๆ น้อยๆ แก่ครอบครัว นอกจากนีย ้ งั มีการสอนการใช้คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์มอ ื ถือ รวมไปถึงโซเชียล เน็ตเวิร์กต่างๆ อาทิ Facebook หรือ Line เพื่อให้ผู้สูงอายุสื่อสารกันได้แบบไม่ตกยุค “เราพยายามจัดกิจกรรมให้หลากหลาย เพราะคนที่มาเรียนไม่ได้มีเฉพาะผู้สูงอายุที่ อายุเกิน 60 ปีเท่านั้น บางคนอายุ 40-50 ปี ก็มาเรียน ด้วยหลายคนอยู่บ้านก็ไม่มีอะไรท�ำ ที่ ส� ำ คั ญ เ ข า ยั ง ส า ม า ร ถ ช ่ว ย เ ห ลื อ ดู แ ล ผู้สูงอายุที่มีอายุมากๆ เวลาเดินทางอีกด้วย ถือเป็นการประคับประคองกันภายในชุมชน” ผู้อ�ำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กล่าวทิ้งท้าย... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 63


เศรษฐกิจชุมชน Economy

64 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ต�ำบลแม่แรงมีเศรษฐกิจดีไม่แพ้เรือ ่ งสิง่ แวดล้อม หรือสุขภาพ โดยสินค้าทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของทีน ่ ค ี่ อ ื ผ้าทอพื้นเมือง ซึ่งท�ำกันเป็นล�่ำเป็นสัน บ้างเป็น อาชีพหลัก บ้างเป็นอาชีพเสริม จากเดิ ม ที่ ผ ลิ ต ภั ณฑ์ผ ้าจากแม่แ รงอยู่อย่าง สมถะ หรื อ ถู ก ตี ต ราประทั บ จนคนภายนอกก็ มิอาจรับรู้ กระทั่งเกิดงาน ‘แต่งสีอวดลาย ผ้าฝ้าย ดอนหลวง’ ในปี 2546 ชื่ อ ของต� ำ บลแม่แ รง เริม ่ เป็นทีร่ ้จู ก ั ของคนทัว่ ไปนับแต่นน ั้ จนวันนีไ้ ด้รบ ั การระบุไว้ในปฏิทินท่องเที่ยวประจ�ำจังหวัด และ ถึงแม้จะไม่มีงานเทศกาล ผ้าของแม่แรงก็ยังคง ส่งออกไปยังสถานที่ต่างๆ สร้างงานสร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชนอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 65


ศูนย์รวมผลิตภัณฑ์เครือข่ายกลุ่มทอผ้า หัตถกรรมพื้นบ้าน บ้านดอนหลวง บ้านดอนหลวง หมู่ที่ 7 เป็นแหล่งขายผ้า ขึ้นชื่อของต�ำบลแม่แรง แทบทุกหลังคาเรือน ต่า งท� ำ ผ้า ด้ว ยกั น ทั้ ง นั้ น แต่ล ะวั น จะมี ร ถ เวียนกันมาจอดในหมู่บ้าน เลือกซื้อหาผ้าตาม ความสนใจ และทุ ก ปีที่ นี่ จ ะมี ง าน ‘แต่ง สี อวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง’ ซึ่งถือเป็นงาน ประจ�ำปี จัดในวันศุกร์แรกของเดือนเมษายน ต่อเนื่อง 5 วัน 5 คืน โดยจัดมาตั้งแต่ปี 2546 และงานนี้ได้รับความนิยมจนมีการระบุไว้ใน ปฏิทน ิ ท่องเทีย ่ วของจังหวัดล�ำพูน สร้างรายได้ ไม่ต�่ำกว่าปีละ 20 ล้านบาท เราเดิ น ทางมาที่ ศู น ย์ร วมผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ค รื อ ข ่า ย ก ลุ ่ม ท อ ผ ้า หั ต ถ ก ร ร ม พื้ น บ ้า น บ้านดอนหลวง เป็นอาคารหลังใหญ่ใจกลาง หมู ่บ ้า น ภายในมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ผ ้า ทอมากมาย ทั้งเสื้อ กระโปรง กระเป๋า หมวก ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน ฯลฯ “ที่ นี่ เ ป็น แหล่ง รวบรวมสิ น ค้า ของคน บ้านดอนหลวง” อุไร ผ้าเจริญ ผู้ดแ ู ลศูนย์ฯ ว่า ก่อนเท้าความให้เราฟังต่อ “แต่เดิมที่ศูนย์ฯ 66 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


อุไร ผ้าเจริญ

เป็น ศาลาอ่า นหนั ง สื อ พิ ม พ์ข องคนบ้า น ดอนหลวง จนปี 2532 กลุ่มผู้นำ� และประชาชน ในพื้ น ที่ เ ห็ น ว่า ควรปรั บ ปรุ ง สถานที่ ใ ห้เ กิ ด ประโยชน์ก ว่า นี้ จึ ง เกิ ด แนวคิ ด สร้า งศู น ย์ การเรียนรู้ขน ึ้ มา โดยน�ำงบจากโครงการสร้างงาน ในชนบท หรือที่เรียกว่า โครงการมิยาซาวา จ� ำ นวน 300,000 บาท มาปรั บ ปรุ ง และ ซ่อมแซมสถานที่ ทว่าเงินดังกล่าวไม่เพียงพอ ทางผู้ใหญ่บ้านเวลานัน ้ จึงเชิญชวนให้ชาวบ้าน ท� ำ ผ้า ป่า เพิ่ ม เติ ม จนได้เ งิ น มาอี ก ประมาณ 17,000 บาท แล้ว น� ำ เงิ น ทั้ ง หมดมาสร้า ง อาคารอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน” ต่อมาในราวปี 2540 เพือ ่ ให้ประชาชนได้ ใช้อาคารอเนกประสงค์แห่งนีอ ้ ย่างคุ้มค่า จึงได้ มีการน�ำสินค้าของกลุ่มทอผ้าบ้านดอนหลวง เข้า มาจ� ำ หน่า ย ต่อ มาในปี 2542 บ้า น ดอนหลวงได้รับรางวัลหมู่บ้านอุตสาหกรรม ดี เ ด่น จากกระทรวงอุ ต สาหกรรม จึ ง น� ำ เงินรางวัลทีไ่ ด้มาปรับปรุงอาคารอเนกประสงค์

“ตอนนั้ น กลุ ่ม ทอผ้า ด� ำ เนิ น งานมาได้ ระยะหนึ่งแล้ว แต่ยังไม่ได้ด�ำเนินการเป็นชิ้น เป็นอันเท่าใดนัก ด้วยแต่ก่อนช่างฝีมอ ื ของกลุ่ม เป็น ลู ก จ้า งของร้า นทอผ้า นอกพื้ น ที่ แต่ ตอนหลังด้วยวิกฤตเศรษฐกิจบวกกับอายุของ แต่ล ะคน จึ ง กลั บ มาอยู ่ที่ บ ้า นดอนหลวง รวมกลุ่ม 5-6 คน ทอผ้าจ�ำหน่ายเล็กๆ น้อยๆ ตามโอกาส” อุไรย้อนความให้ฟัง กระทั่งเริ่มมีการรวมกลุ่มเป็นทางการขึ้น เมื่ อ ขอรั บ การฝึก อบรม หรื อ ขอรั บ การ สนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ เริม ่ ด�ำเนินงาน ในลักษณะกลุ่มอย่างจริงจังในราวปี 2544 จึง เปิดโอกาสให้คนที่ทอผ้าในหมู่บ้านมาลงหุ้น และพัฒนาให้อาคารอเนกประสงค์เป็นจุดวาง สินค้า พร้อมกับสร้างเครือข่ายภายในต�ำบล แม่แรง และอ�ำเภอป่าซาง ต่อมาเมือ ่ ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัด ล�ำพูนลงมาส�ำรวจ เห็นว่าทีน ่ พ ี่ อมีศก ั ยภาพ จึง ได้พฒ ั นาให้ทน ี่ เี่ ป็นถนนสายวัฒนธรรม พร้อม จัดงบประมาณส�ำหรับปรับภูมิทัศน์ให้ สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 67


อุ ไ รเสริ ม อี ก ว่า ปัจ จุ บั น กลุ ่ม ทอผ้า บ้า น ดอนหลวงมีสมาชิก 105 คน สมาชิกคนหนึ่ง สามารถซื้อหุ้น 50 บาท ได้ไม่เกิน 10 หุ้น โดย เงินที่ได้มา จะน�ำไปลงทุนกับกลุ่มออมทรัพย์ ของหมู่บ้าน เกิดเป็นดอกเบีย ้ น�ำกลับมาปันผล ให้ส มาชิ ก ทุ ก ๆ ปี ขณะเดี ย วกั น สมาชิ ก ยั ง ได้รับสิทธิในการน�ำของมาฝากขายด้วย “คือแต่ละบ้าน เขาก็มีกลุ่มก้อนของเขา ท� ำ งานเป็น เครื อ ข่า ยของศู น ย์ฯ มี ม ากมาย หลายกลุ่ม แต่ภายหลังบางกลุ่มเขาก็เปิดพืน ้ ที่ หน้าบ้านในบ้านขายเอง เพราะตั้งแต่มีงาน แต่งสีอวดลาย ที่นี่ก็เริ่มเป็นที่รู้จัก แต่ที่ศูนย์ฯ ก็ยังท�ำหน้าที่เป็นจุดรับฝากขายอยู่” อุไรเล่า การจัดการร้านนั้น แต่เดิมจะมีกรรมการ กลุ่มเข้ามาดูแล เพราะสมัยนั้นชาวบ้านจะน�ำ กี่ทอของตัวเองมาไว้ที่ศูนย์ฯ เวลาทอผ้าจะมา รวมตั ว ท� ำ แต่ภ ายหลั ง มี ก ารแยกไปท� ำ เอง ขายเอง จึงปรับเปลี่ยนเหลือเพียงคนเฝ้าร้าน เพียง 1-2 คนเท่านั้น “สมาชิกที่น�ำสินค้ามาฝากขาย ต้องแจ้ง ราคา จากนัน ้ ศูนย์ฯ จะบวกก�ำไรเข้าไปเล็กน้อย เพือ ่ เป็นทุนในการบริหารจัดการต่อไป เมือ ่ ของ ขายได้ ทางร้านจะลงบัญชีไว้ เพื่อให้สมาชิก สามารถตรวจสอบได้ และเมื่ อ ถึ ง สิ้ น เดื อ น สมาชิกถึงค่อยรับเงินไป” อุไรอธิบายวิธีการ ท�ำงาน

68 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

อย่างไรก็ดี ต้องยอมรับว่า เวลานีย ้ อดขาย ของศูนย์ฯ ไม่ดีเหมือนแต่ก่อน เพราะแต่ละ บ้านเปิดหน้าร้านของตัวเอง มีลก ู ค้าของตัวเอง ขายได้เ งิ น สด ไม่ต ้อ งโดนบวกราคา ดั ง นั้ น ในอนาคต อาจมีการปรับให้ศูนย์ฯ แห่งนี้ เป็น ศูนย์เรียนรู้และประชาสัมพันธ์ว่า สินค้าแต่ละชิน ้ มีที่มาจากบ้านไหน แล้วให้ผู้ซื้อไปติดต่อเอง เหมือนเป็นศูนย์กลางในการแนะน�ำสินค้า “แต่ตอนนีเ้ รามีงานแต่งสีอวดลาย ผ้าฝ้าย ดอนหลวง ที่จัดต่อเนื่องมา 13 ปีแล้ว ดั้งเดิม เป็น กุ ศ โลบายของเทศบาลต� ำ บลแม่แ รงที่ อยากให้ค นรู ้จั ก ที่ นี่ ม ากขึ้ น แต่วั น นี้ ง าน ติ ด ตลาดแล้ว ได้รั บ การบรรจุ ใ นปฏิ ทิ น วัฒนธรรมของจังหวัดล�ำพูน และในปี 2549 เราได้รั บ รางวั ล หมู ่บ ้า น OVC (OTOP Village Champion) จากกรมการพัฒนา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย โดยติด 1 ใน 5 ของ จั ง หวั ด ล� ำ พู น และ 1 ใน 8 ของประเทศ รวมทั้งได้รับการคัดเลือกให้เป็นย่านการค้า จังหวัดล�ำพูน เมื่อปี 2553 นอกจากนี้เรายัง มีการตั้งกองทุนหมู่บ้านท่องเที่ยว โดยศูนย์ฯ เป็นผู้ดูแล เวลาจัดงานจะมีการเก็บค่าบูท ซึ่ง เงินที่ได้ก็จะน�ำมาใช้ในกิจสาธารณประโยชน์ รวมไปถึงปรับภูมท ิ ศ ั น์ของพืน ้ ทีด ่ ้วย” ผู้จด ั การ ศู น ย์ร วมผลิ ต ภั ณ ฑ์เ ครื อ ข่า ยกลุ ่ม ทอผ้า หัตถกรรมพื้นบ้านกล่าวทิ้งท้าย...


ผ้าฝ้ายทอมือ บ้านหนองเงือก

เมื่ อ ผ้า ฝ้า ยดอนหลวงติ ด ตลาดแล้ว บ้า นหนองเงื อ กก็ ไ ม่น ้อ ยหน้า มี กิ จ กรรม ‘งานสื บ สานต� ำ นาน ฝ้า ยงามหนองเงื อ ก’ จัดที่บ้านหนองเงือก หมู่ที่ 5 ต่อจากงานที่ ดอนหลวง ครั้งหนึ่งประมาณ 3-4 วัน สร้าง รายได้แก่ประชาชนในพื้นที่กว่า 10 ล้านบาท และเป็นกิจกรรมซึ่งได้รับการระบุไว้ในปฏิทิน ท่องเที่ยวล�ำพูนเช่นกัน

ย้อนกลับไปสมัยที่ประเทศไทยต้องเผชิญ กั บ วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ต้ม ย� ำ กุ ้ง เมื่ อ ปี 2540 ชาวบ้า นหนองเงื อ กหลายสิ บ ชี วิ ต กลายเป็น ผู ้ว ่า งงานโดยฉั บ พลั น ด้ว ยแต่ล ะคนรั บ จ้า ง ทอผ้าส่งร้านต่างๆ ในอ�ำเภอป่าซาง เมือ ่ สินค้า ขายไม่ได้ ยอดการผลิตก็ลดลงจนไม่มียอดสั่ง มาอีก สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 69


ชื่นชม สุขร่องช้าง

“สมั ย นั้ น เรามี ก ลุ ่ม สั จ จะออมทรั พ ย์ ในหมู่บ้าน ออมเดือนละ 50 บาทขึ้นไป ส่วน สมาชิกก็มีประมาณ 200 กว่าคน ล้วนเป็น ช่างทอผ้ากันหมด ช่วงที่เกิดวิกฤต เรายังคง ท�ำการออมอยู่ แต่ว่าไม่มีรายได้ ไม่รู้ว่าจะท�ำ อย่างไร ตัดสินใจรวมตัวกัน เพือ ่ หารายได้เสริม เกิดเป็นกลุ่มผ้าฝ้ายทอมือ” ชืน ่ ชม สุขร่องช้าง ประธานกลุ่มเล่าถึงที่มา กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือ บ้านหนองเงือก ก�ำเนิด ขึ้ น อย่า งเป็น รู ป ธรรมในปี 2542 มี ผู ้ร ่ว ม อุดมการณ์จ�ำนวน 25 คน ทุกคนร่วมลงหุ้น หุ้นละ 100 บาท แต่ไม่เกิน 1,000 บาท เงิน ตรงนี้แปรสภาพเป็นวัตถุดิบ ทั้งฝ้าย ด้าย ฯลฯ ช่วยกันทอ ช่วยกันขาย โดยอาศัยบ้านของ ประธานกลุ่ม ซึง่ อยู่รม ิ ถนน มีคนต่างถิน ่ สัญจร ผ่านไปผ่านมาเสมอ “แรกๆ เราท�ำตุง ผ้าปูโต๊ะ ผ้าม่าน แล้วก็ มีผ้าผืนเป็นม้วน เน้นการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ หลายๆ อย่า ง ต่า งกั บ สมั ย ที่ เ ราท� ำ ส่ง ร้า น เพราะตอนนั้นเขาให้ทำ� เป็นผ้าผืนเล็กๆ อย่าง ผ้ารองจาน แต่เราไม่ท�ำต่อ เพราะดูแล้วไม่น่า ขายได้” ประธานกลุ่มเกริ่นให้ฟัง 70 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ทุ ก คนในกลุ ่ม ที่ ล งมื อ ท� ำ งานจะได้รั บ ค่าแรง ทอผ้า 1 ม้วน ได้ 100 เมตร กลุ่มจ่าย เมตรละ 25 บาท แต่ถ้าแปรรูปเป็นชิ้นงาน สมาชิกจะช่วยก�ำหนด เช่นผ้า 1 เมตร จะท�ำ เป็น กล่อ งทิ ช ชู ไ ด้กี่ ชิ้ น จากนั้ น ค่อ ยค� ำ นวณ ราคาที่เหมาะสมต่อไป โดยกลุ่มจ่ายเงินทันที ที่นำ� สินค้ามาส่ง “เฉลี่ยแล้วต่อเดือน จะมีรายได้ประมาณ 4,000 บาทต่อคน” ประธานว่า แม้จ ะขายได้บ ้า งไม่ไ ด้บ ้า ง แต่ค วาม พยายามของชาวบ้า นก็ เ ป็น ที่ ป ระจั ก ษ์ เมื่ อ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด สนั บ สนุ น งบประมาณต่อยอดให้ รวมถึงส่งเสริมให้ไป ออกร้านตามงานต่างๆ เช่น งานแสดงสินค้าที่ เมืองทองธานี ซึง่ ถือเป็นโอกาสส�ำคัญทีส ่ มาชิก ได้ไปเปิดหูเปิดตา ไปพบเห็นชิน ้ งานทีน ่ ่าสนใจ และน�ำกลับมาเป็นต้นแบบในการผลิตสินค้า ของกลุ่ม โดยใช้วต ั ถุดบ ิ เป็นผ้า ซึง่ เป็นงานถนัด ของกลุ ่ม จนวั น นี้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ข องกลุ ่ม มี ทั้ ง เสื้ อ ผ้า ถุ ง ตุ ๊ก ตา กล่อ งทิ ช ชู หมอนอิ ง เบาะรองนั่ง พรมเช็ดเท้า รองเท้า ฯลฯ


กลุ ่ม ผ้า ฝ้า ยทอมื อ บ้า นหนองเงื อ ก จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ตัง้ แต่ปี 2548 และได้ส่งสินค้าอย่างผ้าปูโต๊ะและผ้าเช็ดมือ เข้ารับการประเมินผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ได้ประดับดาว 2 ดาว ปัจ จุ บั น กลุ ่ม มี ส มาชิ ก ทั้ ง หมด 21 คน ลดน้อยลงไป เพราะส่วนหนึง่ ย้ายทีอ ่ ยู่ อีกส่วน ชราภาพมากจนท� ำ ไม่ไ หว ผลก� ำ ไรที่ ไ ด้ ในแต่ล ะปีจ ะแบ่ง เป็น 4 ส่ว นเท่า ๆ กั น ประกอบด้วยเงินกองกลาง 1 ส่วน เงินจัดซื้อ จัดจ้าง 1 ส่วน เงินให้กรรมการ 1 ส่วน และเงิน ปันส่วนให้สมาชิกตามหุ้น 1 ส่วน ส่วนสวัสดิการ ไม่ไ ด้ระบุไว้ชัดเจน แต่หากสมาชิ กเจ็ บ ป่ว ย ทางกลุ่มจะออกไปเยี่ยมไข้ กรณีเสียชีวิตก็ไป ช่วยรับสังฆทานและมีเงินช่วยเหลือตามอัตภาพ

“ด้วยความที่เราท�ำงานแบบซื้อมาขายไป เลยไม่ค่อยมีเงินเก็บเท่าใด มีเป็นทุนหมุนเวียน ประมาณ 300,000 บาท ส่วนใหญ่หมุนเวียน ในฝ้าย ซึ่งเราไปซื้อจากร้านที่เชียงใหม่” แม้อาชีพทอผ้าของชาวบ้านหนองเงือกจะ ยังเป็นเพียงอาชีพเสริมจากการท�ำนา และท�ำ สวนล�ำไย แต่ทผ ี่ ่านมาสมาชิกพยายามต่อยอด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ข องตั ว เองอย่า งสม�่ ำ เสมอ โดย เข้าอบรมเรื่องการพัฒนาฝีมือ การตลาด และ บรรจุภัณฑ์กับหน่วยงานต่างๆ เช่น พัฒนา ชุมชนจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชย์ จังหวัด และสหกรณ์จังหวัด เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ ของชาวบ้านหนองเงือกสามารถหยัดยืนอยู่ คู่กาลเวลา...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 71


กลุ่มทอผ้าพิณฝ้าย

สุพิณ จันทวรรณ

72 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

จากหมุดหมายหลักทีบ ่ ้านดอนหลวง และ บ้า นหนองเงื อ ก เราเดิ น ทางต่อ ไปยั ง บ้า น แม่แรง หมู่ที่ 2 ยังบ้านของ สุพิณ จันทวรรณ ซึ่ ง ก� ำ ลั ง นั่ ง ปั่น ฝ้า ยอยู ่ห ลั ง บ้า น แม้วั ย จะ ล่วงเลยเข้าสู่เลขเจ็ดไปแล้วก็ตาม เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษแล้วที่ สุพิณ พร้อมกับแม่บ้านอีก 9 ชีวิต จัดตั้งกลุ่มทอผ้า บ้านแม่แรง หมู่ 2 (พิณฝ้าย) โดยใช้พื้นที่ บ้านของตัวเองเป็นศูนย์กลาง “สมัยก่อนชาวบ้านแถวนีต ้ ่างรับจ้างทอผ้า ให้ร้านนันทขว้างที่ตัวอ�ำเภอป่าซาง จนกระทัง่ ปี 2535 ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนร่ว มกั บ โครงการสตรีและเยาวชนล�ำพูน เข้ามาแนะน�ำ ให้ตั้งกลุ่ม มีการระดมหุ้นในหมู่สมาชิก หุ้นละ 10 บาท แต่ไม่เกิ น 10 หุ้น และได้รับการ สนับสนุนอุปกรณ์ในการผลิตมูลค่า 25,000 บาท จากโครงการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ ความเป็นผู้น�ำสตรี ประเทศแคนาดา ซึ่งตั้งใจ ให้กลุ่มเรียนรูท ้ ักษะการทอผ้า ทั้งการย้อมสี การท�ำสี รวมไปถึงวิธผ ี ลิตต่างๆ เพือ ่ เพิม ่ รายได้ ให้แก่คนในหมู่บ้าน” สุพิณเท้าความให้ฟัง สุพิณว่า ตอนนั้นยังปลูกฝ้ายกันเอง และ ได้รั บ การสนั บ สนุ น จากโครงการพั ฒ นา เศรษฐกิจและความเป็นผู้นำ� สตรี ช่วยหาตลาด ให้ โดยมีการน�ำสินค้าไปขายที่จังหวัดล�ำพูน เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ “เราไปถึงเมืองทองธานี เซ็นทรัล แล้วก็ โรงแรมต่างๆ ที่สนใจเรื่องผ้าทอ” สุพณ ิ กล่าว อย่างไรก็ดี เมื่อมีลูกค้ามากขึ้น การปลูก ฝ้ายเองไม่ทันใช้ ประกอบกับพื้นที่การเกษตร เปลี่ยนแปลงไป ในช่วงหลังจึงหันมาซื้อฝ้าย จากร้า นจิ น เฮงฮวดและร้า นสร้อ ยทอง ใน ตัวเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นฝ้ายที่ปลูกบนดอย มาผลิตแทน


จากนั้ น กลุ ่ม ได้พ ยายามสร้า งอั ต ลั ก ษณ์ ด้วยการเน้นผลิตแบบดั้งเดิม ใช้กี่พื้นบ้านทอ ด้วยมือ โดยมีโครงการการพัฒนาเครือข่าย องค์ความรู้ หรือ KBO (Knowledge-Based OTOP) เข้า มาส่ง เสริ ม เรื่ อ งผลิ ต ภั ณ ฑ์ การตลาด และการจั ด ท� ำ บั ญ ชี เ พิ่ ม เติ ม ตลอดจนส่งเสริมให้ชาวบ้านที่นี่ทอผ้าด้วยสี ธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมที่ทำ� กัน มานาน ที่ส�ำคัญยังเป็นที่ต้องการของตลาด ม า ก ก ว ่า ก า ร ย ้อ ม ผ ้า ด ้ว ย สี สั ง เ ค ร า ะ ห ์ ด้ว ยคุ ณ ภาพของผ้า ดี ก ว่า รวมถึ ง เป็น การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สุพิณ เล่าต่ออีกว่า ปัจจุบันกลุ่มมีสมาชิก จ�ำนวน 20 คน แต่วิธีการท�ำงานนั้นแตกต่าง จากสมัยเริม ่ ต้นมาก เพราะสมาชิกหลายคนท�ำ ้ ไม่ไหวแล้ว ด้วยสภาพร่างกายทีร่ ่วงโรยมากขึน บางคนย้ายถิ่นฐานไป ทุกวันนี้จึงเป็นการจ้าง ผลิ ต มากกว่า ชาวบ้า นบางคนก็ ไ ม่ไ ด้เ ป็น สมาชิก แต่มารับงาน มีทั้งทอผ้าส�ำเร็จแล้ว กลั บ มาขายให้ก ลุ ่ม บางคนรั บ ฝ้า ยไปทอ ทอเสร็จมาส่งคืนในราคาเมตรละ 20 บาท ส่วนถ้าคนไหนรับย้อม จะให้เป็นหม้อ หม้อละ 80 บาท โดยแต่ละคนจะน�ำผ้ากลับไปย้อม ที่ บ ้า นของตั ว เอง แต่ถ ้า เป็น งานตั ด จะจ้า ง

คนมีฝีมือด้านนี้ให้รับงานไป แม้ความส�ำคัญของระบบกลุ่มจะลดน้อย ถอยลงไป แต่ทุกสิ้นปีก็ยังมีการปันผลให้แก่ สมาชิกตามหุ้นของแต่ละคน “ส่วนคนที่ท�ำงานกับป้านั้น อย่างน้อยก็มี เดือนละ 3,000 บาท” ประธานกลุ่มฉายภาพ ปัจจุบันกลุ่มทอผ้าหมู่ที่ 2 ยังได้รับการ สนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ อาทิ เทศบาล ต�ำบลแม่แรง ซึง่ ให้ยม ื งบกระตุ้นเศรษฐกิจโดย ไม่มด ี อกเบีย ้ จ�ำนวน 100,000 บาท รวมไปถึง สหกรณ์ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ จังหวัดล�ำพูน ให้ยืม 50,000 บาท โดยทุนเหล่านี้นำ� ไปซื้อ วัตถุดิบต่างๆ ส�ำหรับการผลิต และปล่อยกู้ ให้สมาชิกที่มีความจ�ำเป็นเร่งด่วน ดอกเบี้ย ร้อยละ 1 ต่อเดือน ก�ำหนดส่งคืนภายใน 1 ปี ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม นอกจากผ้าทอ ย้อมสีธรรมชาติแล้ว ยังมีเครือ ่ งแต่งกาย ผ้าถุง ผ้านุ่ง แต่ที่ขายดีที่สุดคือเสื้อส�ำเร็จรูป โดยมี ร้า นขายสิ น ค้า อยู ่ที่ บ ้า นดอนหลวง หมู ่ที่ 7 ซึ่งถือเป็นแหล่งสัญจรหลักของนักท่องเที่ยว รวมทัง้ ไปออกงานตามเทศกาลอย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนี้ สิ น ค้า ของกลุ ่ม ยั ง การั น ตี ด้วยการเป็นสินค้าระดับ 5 ดาว จากการประเมิน ผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน เมื่อปี 2557 ด้วย... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 73


ห้องเรียนชุมชน Community’s classroom

74 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


จริงๆ ทุกทีท ่ เี่ ราไปในต�ำบลแม่แรง ต่างก็ เ ป ็น ห ้อ ง เ รี ย น ข อ ง ชุ ม ช น ด ้ว ย กั น ทั้ ง นั้ น แต่กบ ั ทีน ่ ี่ เรารู้สก ึ ว่า เป็นห้องเรียนของชุมชน ห้องเรียนทีส ่ อนเรือ ่ งการใช้ชวี ต ิ ...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 75


อุ ทยานสมุ นไพรและเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง

จ�ำเริญ ค�ำสุข

76 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

บริเวณบ้านของ จ�ำเริญ ค�ำสุข ร่มรื่น ไปด้ว ยไม้ใ หญ่ที่ ค อยให้ร ่ม เงา บนทางเท้า ประดับประดาด้วยไม้กระถาง มองไปทางใด เห็นแต่สีเขียวของใบ กับสีสดหลากสีที่แซม บางจุ ด ของดวงตาให้รั บ รู ้ถึ ง ความสวยงาม ต้นไม้แต่ละต้นทีน ่ ม ี่ ชี อ ื่ มีสรรพคุณทางยาเขียน ก�ำกับไว้ คล้ายเป็นห้องสมุดสมุนไพรมีชีวิต “ผมอยากให้ทน ี่ เี่ ป็นพืน ้ ทีส ่ เี ขียว เป็นปอด ของชุมชน เพราะผมต่อสู้เรือ ่ งโลกร้อนมานาน กว่า 14 ปี” จ�ำเริญเอ่ยขึ้น เมื่อเริ่มสนทนาถึง ป่าเล็กๆ ในบ้านของเขา เดิมที่แห่งนี้ไม่ได้เป็นป่าร่มรื่นเช่นนี้ แต่ เพราะขณะนัน ้ จ�ำเริญป่วย ต้องเข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาลเชี ย งใหม่น านถึ ง 8 วั น ใช้ ค่ารักษาไป 130,000 บาท แพทย์บอกว่า มี เชื้อตัวหนึ่งเกาะอยู่ที่ผนังล�ำไส้ ให้ปรับอาหาร จ�ำเริ ญ เริ่ ม ศึ กษาเรื่ องชีวจิต มีแ ก่นความว่า อาหารและอารมณ์คื อ ยาชั้ น ดี จึ ง เริ่ ม ปลู ก ต้นไผ่ไว้ 200 กว่าต้นเพื่อเป็นจุดท�ำสมาธิให้ จิตนิง่ มีความสุข สุขภาพจะได้ดขี น ึ้ รับประทาน อาหารประเภทข้าวกล้อง และลงเรียนสปาเพือ ่ สุขภาพและความงามอยู่ 5 ปี ที่โรงพยาบาล แม่แ ละเด็ ก เชี ย งใหม่ เพิ่ ง จบออกมาเมื่ อ ปี 2557 “ผมหันมาศึกษาเรื่องการใช้ชีวิตกับทาง สันติอโศก แต่ว่าแนวทางไม่เหมาะกับเราเท่าไร นัก เลยหันมาเดินตามแนวของท่านพุทธทาส โดยใช้หลัก ‘อย่าไปปรุงแต่งมัน’ ศึกษาเรือ ่ ยมา จนตอนหลังลูกสาวไปเรียนทีอ ่ งั กฤษ ส่งไลน์มา เล่า ให้ฟ ัง ว่า คนที่ นั่ น เขากิ น กั น อย่า งไร พอ


ลู ก เรี ย นจบกลับมา ไม่มีภ าระแล้ว เลยเริ่ ม ตั้งค�ำถามว่า สุดท้ายจะท�ำอะไรดี ก็มามุ่งที่ เรื่องโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดัน อาจารย์ ทีไ่ หนดีกไ็ ปฝากตัว จนมาเรียนจริงจังทีส ่ ถาบัน การแพทย์แผนไทย โดยตั้งใจว่าจะน�ำความรู้ ไปช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์” จ�ำเริญเล่า ใ น ช ่ว ง ป ี 2 5 5 7 จ� ำ เ ริ ญ ตั ด สิ น ใ จ เปลี่ยนแปลงพื้นที่กว่า 10 ไร่ในบ้านอีกครั้ง จากเดิมทีป ่ ลูกแต่ไผ่ ก็เริม ่ ถอนออกไปส่วนหนึง่ เพื่ อ ปลู ก ผั ก อิ น ทรี ย ์ส� ำ หรั บ รั บ ประทานและ จ�ำหน่าย ต่อมาเริ่มคิดว่า ในอนาคตเยาวชน คงไม่ร้จู ก ั สมุนไพรไทยอีกแล้ว ก็เลยหามาปลูก ติ ด ป้า ยบอกสรรพคุ ณ โดยใช้ต� ำ ราของ กระทรวงสาธารณสุ ข เป็น เครื่ อ งมื อ น� ำ ทาง จนปัจจุบันมีพันธุ์พืชอยู่ในบ้านถึง 318 ชนิด “ถ้าไม่เรียนมาก็คงไม่รู้จริงๆ ว่าพืชแต่ละ ชนิดมีประโยชน์อะไร อย่างมะรุมตอนปลูกก็ ไม่รู้ว่าคืออะไร เห็นว่าสวยดี มาตอนหลังถึงรู้ ว่าเป็นยา หรืออย่างต้นโพธิ์ขี้นกนี่ก็ขึ้นมาเอง ไม่รู ้ว ่า มี ส ่ว นช่ว ยรั ก ษามะเร็ ง ได้ เคยฟัน ทิ้ ง ไปแล้ว เผอิ ญ ว่า ยั ง เหลื อ ตออยู ่ก็ เ ลยขึ้ น มา ใหม่” จ�ำเริญเล่าพลางชี้ไปที่ต้น สมุนไพรในอุทยานแห่งนี้ แม้จะสามารถ น� ำ ไปปรุ ง ยาได้ และตั ว เจ้า ของบ้า นเองก็ มี ความรู้ด้านนี้อยู่พอสมควร แต่ความมุ่งหวัง ของเขาคือ การน�ำสมุนไพรเหล่านี้ไปประกอบ อาหารและใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เพราะโรคภัย ไข้เจ็บทุกวันนี้ ส่วนส�ำคัญมาจากอาหารการกิน ดังนั้นเมื่อมีผู้มาเยี่ยมชม จ�ำเริญจึงสอนให้น�ำ สมุนไพรเหล่านี้ไปประกอบอาหาร รวมไปถึง

สอนการฝึกสมาธิ ซึ่งเป็นเคล็ดลับส�ำคัญของ การมีสุขภาพที่ดี “อาหารสัมพันธ์กับร่างกายเราอย่างมาก เช่น กรุ๊ปเลือดนี้ควรกินอะไร ไม่ควรกินอะไร และเวลาคนมาขอค�ำแนะน�ำ ต้องเล่าให้เขา เข้าใจง่าย มีเทคนิค มีการเล่นค�ำ เช่น ตื่นเช้า กินอย่างเศรษฐี กลางวันกินพอดีๆ ตกเย็นกิน อย่างยาจก ลดลงมาเรื่อยๆ ตอนเย็นขอแค่ น�้ำพริกปลา และมะเขือเผาสัก 3 ลูก แค่นี้ก็ ช่วยป้องกันเส้นเลือดในสมองแตกแล้ว” ความมุ ่ง หวั ง ของจ� ำ เริ ญ คื อ การผลั ก ดั น ให้เป็นมูลนิธิของตัวเอง ชื่อว่า ‘เมตตาธรรม ค�ำสุข’ โดยน�ำเงินที่ได้จากการขายผักอินทรีย์ ซึ่งวันนี้กลายเป็นธุรกิ จที่ประสบความส�ำเร็จ ส่งไปขายทัง้ ในตลาดบ้านแซม และตลาดล�ำพูน จตุจักร มาก่อตั้ง เพื่อช่วยเหลือคนทั่วไป “ทุ น ตั้ ง ต้น ในการท� ำ มู ล นิ ธิ ข องผมคื อ เงินบ�ำนาญ ท�ำไปเรื่อยๆ แต่ต้องรีบท�ำเพราะ ผมถือว่าความตายมาเร็ว ทุกวันนี้มีคนมาหา เต็มไปหมด สองเดือนมานี้มี 300 กว่าคนได้ บางคนป่วยหนักจนหมอไม่รับ ก็มาหา เราให้ ค� ำ แนะน� ำ ไป สอนเรื่ อ งการกิ น ควบคู ่กั บ ท� ำ สมาธิ จนสุ ข ภาพร่า งกายดี ขึ้ น มี ค นหนึ่ ง คางเหลื อ งแล้ว หมอบอกอยู ่ไ ด้ป ระมาณ 6 เดือน ผมคอยแนะน�ำ เตือนเรื่องความสุข เรื่องอาหาร เรื่องสมาธิ หลังจากนั้นเดือนกว่า เริ่ ม เดิ น ได้ ส่ว นเงิ น ก็ แ ล้ว แต่ บริ จ าคตาม ศรัทธา ได้เท่าไรก็รวบรวมไว้ส�ำหรับมูลนิธิ” จ�ำเริญกล่าวส่งท้าย น�้ำเสียงของเขาเต็มเปี่ยม ด้วยปณิธานตั้งมั่น... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 77


การศึกษา ‘วิ ช าชี ว ต ิ ’ Education

78 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


เราก�ำลังเดินทางไปเยีย ่ มเด็กๆ ที่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ซึง่ ตัง้ อยู่ด้านหน้า วัดแม่แรง เรารู้มาว่า ศูนย์เด็กทีน ่ เี่ ป็น ความร่วมมือกันระหว่างวัด เทศบาล และชุ ม ชน เป็น ศู น ย์ที่ เ กิ ด ขึ้ น และ ด� ำ รงอยู ่ไ ด้ด ้ว ยความร่ว มมื อ ของ ทุกฝ่าย เพื่อสร้างสรรค์เส้นทางช่วง เริ่ ม ต้น ของลู ก หลานให้มี ต ้น ทุ น ที่ ดี พร้อ มที่ จ ะเติ บ โตไปพบกั บ อะไรอี ก มากมายที่รออยู่ในภายภาคหน้า...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 79


ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  วัดแม่แรง

80 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

“...ท่านทรงเหนือ ่ ยทรงท�ำเพือ ่ เราเรือ ่ ยมา ถึงเวลาท�ำให้ท่านสุขใจ ร่วมกันสร้างความดี ด้ว ยใจและกาย ก้า วตามรอยบาทองค์ พระราชา...” เสี ย งเล็ ก แหลมดั ง เจื้ อ ยแจ้ว ไปทั่ ว ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ด้ว ยหนู น ้อ ยเหล่า นี้ ก� ำ ลั ง ขะมั ก เขม้น เพื่ อ เตรี ย มตั ว ร่ว มแสดงในงาน เฉลิ ม พระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ซึ่งก�ำลังจะมาถึงในอีกไม่กี่วัน บางคนไม่เพียงเปล่งเสียงเท่านัน ้ หากยังแสดง ท่าทาง ดูน่ารักสมวัยจริงเชียว ย้อนกลับไปเมื่อปี 2536 ศูนย์เด็กเล็ก แห่งนีต ้ งั้ อยู่ในพืน ้ ทีข่ องวัดศรีมงคลต้นผึง้ แห่ง บ้า นต้น ผึ้ ง หมู ่ที่ 3 ภายใต้ก ารดู แ ลของ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมา ในปี 2542 ได้ถ่ายโอนงานบางส่วนให้องค์การ บริ ห ารส่ว นต� ำ บลแม่แ รง ที่ ดู แ ลในเรื่ อ ง บุ ค ลากร งบประมาณ และสื่ อ การศึ ก ษา จนกระทั่งในปี 2544 ทางวัดศรีมงคลต้นผึ้ง ต้อ งการน� ำ พื้ น ที่ ไ ปใช้ป ระโยชน์ด ้า นอื่ น ศูนย์เด็กเล็กจึงจ�ำเป็นต้องย้าย ทางศึกษาธิการ อ�ำเภอจึงขอความกรุณา พระครูวรพรตนิวิฐ เจ้า อาวาสวั ด แม่แ รง ซึ่ ง เป็น เจ้า คณะต� ำบล เพื่อใช้สถานที่วัดแม่แรงตั้งเป็นศูนย์เด็กเล็ก แทน รวมทั้งขอให้ท่านช่วยมาเป็นผู้บริหาร ของศูนย์ฯ ด้วย


พระครูวรพรตนิวิฐ

นิ ภ าพร ปาระมี รั ก ษาการหั ว หน้า ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดแม่แรง เล่าว่า แต่เดิมที่ตรงนี้เป็นอาคารของ อสม. พอศูนย์ เด็กเล็กย้ายมา ทาง อสม. เลยย้ายไปอยู่ที่ ศาลาการเปรี ย ญในวั ด แทน ต่อ มาองค์ก าร บริหารส่วนจังหวัดก็มาช่วยสร้างอาคารเพิม ่ ให้ อีกหลังหนึ่ง ปัจจุบันศูนย์เด็กเล็กแห่งนี้มีครู 4 คน มี นักเรียนประมาณ 70 คน แบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ คือ 2-2.5 ปี 2.5-3 ปี และ 3 ปีขึ้นไป ซึ่ง ถื อ เป็น ชั้ น เตรี ย มอนุ บ าล โดยใช้ห ลั ก สู ต ร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ซึ่ ง ประกอบไปด้ว ย 4 สาระการเรียนรู้ คือเรือ ่ งราวเกีย ่ วกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อม เด็ ก ธรรมชาติ ร อบตั ว เด็ ก และสิ่ ง ต่า งๆ รอบตัวเด็ก ซึง่ น�ำไปปรับเข้ากับ 6 ชุดกิจกรรม การศึกษา คือกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ กิ จ ก ร ร ม สร้างสรรค์ กิ จกรรมเสรี กิ จกรรมกลางแจ้ง และเกมการศึกษา “ครูเองก็มห ี น้าทีท ่ ำ� สือ ่ การเรียนรู้ ส่วนใหญ่ ท�ำจากประสบการณ์ และค้นหาความรู้จาก ที่อื่นๆ พยายามบูรณาการระหว่างสิ่งที่เด็ก อยากรู้กับสิ่งที่เด็กควรรู้ บางครั้งซื้อส�ำเร็จรูป

บ้าง” นิภาพรเล่า นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอุ้ยสอนหลาน คือ การน�ำคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้านมาเล่านิทาน สอนพั บ กระดาษ ท� ำ ของเล่น จากวั ส ดุ ท าง ธรรมชาติ ท�ำกรวยดอกไม้ ท�ำขนมพื้นบ้าน ถือเป็นการเชือ ่ มความสัมพันธ์ระหว่างคนสองวัย แต่ทถ ่ี อ ื ว่าโดดเด่นเป็นพิเศษ คือการสอนภาษา ไทยอง ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ดั้งเดิมของคนต�ำบล แม่แรงที่เด็กรุ่นปัจจุบันไม่นิยมพูดเท่าไรนัก “บางคนถามว่า ท� ำ ไมเราถึ ง ให้เ ด็ ก พู ด ภาษาไทยอง ไม่พูดภาษาไทยกลาง เราคิดว่า ตอนนีห ้ รือโตขึน ้ ไป ยังไงเขาพูดไทยกลางได้แน่ และมี ค รั้ ง หนึ่ ง เราพาเด็ ก ออกไปข้า งนอก พอคนเขาถามว่ามาจากป่าซาง มาจากแม่แรง แล้วพูดยองได้ไหม ปรากฏว่าพูดไม่ได้ ก็เลย มาปรึกษาหลวงพ่อว่า เราจะเอาเรือ ่ งนีม ้ าสอน ดีไหม โดยจะให้ความส�ำคัญกับทั้ง 2 ภาษา เช่น แตงโม เราก็จะบอกว่าภาษาพื้นเมืองคือ บ่าเต้า ส่วนภาษาไทยกลางคือ แตงโม ให้เขา ซึมซับไป” อี ก ห นึ่ ง กิ จ ก ร ร ม เ ด ่น ที่ ศู น ย ์เ ด็ ก เ ล็ ก ด�ำเนินการมาต่อเนือ ่ ง คือเรือ ่ งทันตสุขภาพเด็ก ซึ่งได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกัน สุขภาพเทศบาลต�ำบลแม่แรง เพื่อจัดอบรม ผู้ปกครองเรื่องการดูแลฟันของเด็ก สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 81


82 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


(ซ้ายสุด) นิภาพร ปาระมี

เนือ ่ งจากตอนโรงพยาบาลป่าซางมาตรวจ ฟันเด็ก พบว่า เด็กที่นี่ฟันผุมากถึงร้อยละ 70 ดั ง นั้ น ในฐานะหน่ว ยการศึ ก ษาและครู จึ ง ถือเป็นภารกิจที่ต้องแก้ไขโดยด่วน โดยเฉพาะ การปรับทัศนคติของพ่อแม่ ที่หลายคนก็ชอบ ซื้อขนมกรอบ ลูกอมให้ลูกหลานรับประทาน จึ ง นั ด ประชุ ม ผู ้ป กครองเพื่ อ ลงมติ และท� ำ นโยบายสาธารณะร่วมกัน คือ 1) ห้ามน�ำขนม มาที่ศูนย์เด็กเล็ก ถ้าเอามาครูจะยึดโดยไม่คืน 2) เด็ก 2 ขวบขึ้นไป ห้ามน�ำขวดนมมา 3) น�ำ ผลไม้มาแทนขนมกรุบกรอบ 4) ให้ผู้ปกครอง แปรงฟันของเด็ก 2 ครั้ง เช้าและก่อนนอน 5) ให้ดื่ ม นมรสจื ด แทนนมรสหวาน หรื อ นมเปรี้ยว และ 6) ลดปริมาณน�้ำตาลในการ ปรุงอาหารทุกมื้อ “ตอนนีม ้ ป ี ัญหาตามมา คือเด็กไม่อยากมา โรงเรียน เพราะมาแล้วไม่ได้กินขนม บางคน ต้องกินให้หมดก่อนแล้วค่อยเดินเข้าโรงเรียน ครู ก็ เ ห็ น ใจ แต่ต ้อ งเข้ม งวด เพราะเด็ ก ยั ง ไม่ร้จู ก ั การดูแลตัวเอง” ครูนภ ิ าพรกล่าวติดตลก

ปัจจุบัน ศูนย์เด็กเล็กที่วัดแม่แรงนี้ เป็น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน�ำร่อง ซึ่งเข้ารับประเมิน จากส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา โดยมีการท�ำแผนการศึกษา 3 ปี และแผนงบประมาณ 1 ปี ตามมาตรฐาน เ ดี ย ว กั บ โ ร ง เ รี ย น ใ น สั ง กั ด ส� ำ นั ก ง า น คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ท� ำ ให้ ทุ ก ภาคส่ว นไม่ว ่า จะเป็น ตั ว ศู น ย์เ อง กอง การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เทศบาล ต�ำบลแม่แรง ตลอดจนวัดแม่แรง พยายาม พัฒนาหลักสูตรและชุดกิจกรรมให้มีคุณภาพ มากที่สุด แม้จะไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ที่ผ่านมาก็ เริ่มเห็นผล “เราน� ำ หลั ก ศาสนามาผสมผสานกั บ การเรี ย นรู ้ด ว้ ย โดยให้เ ด็ ก แต่ง กายด้ว ย ชุ ด ปฏิ บั ติ ธ รรมทุ ก วั น พระ สอนไหว้พ ระ สวดมนต์ นั่งสมาธิ รวมทั้งนิมนต์พระครูมา แนะน�ำเกีย ่ วกับวัตรปฏิบต ั ข ิ องพุทธศาสนิกชน ซึ่งหากไม่ปลูกฝังตั้งแต่เด็ก โตขึ้นไปก็คงท�ำ ไม่ได้แล้ว” ครูนิภาพรทิ้งท้าย... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 83


วัCulture ฒนธรรม

84 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


วัฒนธรรมกับวัดเป็นของคู่กน ั ยิง่ ในชุมชน ชนบท ยิ่ ง มี ค วามใกล้ชิ ด และแต่ล ะที่ ก็ มี วัฒนธรรมที่แตกต่างกันไป เราเดินทางไปวัด 2 แห่ง กับบ้านอีก 1 หลัง เพื่อไปดูว่า ที่นี่มี วัฒนธรรมอะไรที่น่าค้นหา น่าเข้าไปเรียนรู้...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 85


ศูนย์วัฒนธรรมสายใยชุ มชน วัดป่ าเหียง

พระมหากมล ขนฺติธโล 86 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ย้อนกลับไปเมือ ่ ร้อยกว่าปีก่อน บ้านกองงาม หรือเดิมรู้จักกันในนามบ้านป่าเหียง เป็นเพียง ป่า รกทึ บ วั ด เป็น วั ด ร้า ง ไม่มี พ ระภิ ก ษุ ม า จ�ำพรรษา จนภายหลังมีพระธุดงค์เดินทางมา เจอกับซากปรักหักพังตลอดจนเถาวัลย์คลุม พระพุทธรูปอยู่ จึงตัดสินใจรื้อฟื้นวัดเก่าแก่นี้ ขึ้นมาอีกครั้ง เมือ ่ มีวด ั ผู้คนก็เริม ่ ทยอยเข้ามาอยู่มากขึน ้ จนเกิดเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง ต่อมาทาง รัฐเข้ามาตัดถนน จึงเปลี่ยนชื่อหมู่บ้าน จาก บ้านป่าเหียง เป็นบ้านกองงาม โดยค�ำว่า ‘กอง’ ในภาษายองแปลว่า ‘ถนน’ กระทั่งทุกวันนี้ ความเจริญเข้ามาอย่าง ไม่ห ยุ ด ยั้ ง วิ ถี ชี วิ ต ดั้ ง เดิ ม เริ่ ม ผสมปนเปกั บ กระแสบริโภคนิยม ท�ำลายสมดุลกันไป ดังนั้น เพื่อให้วัฒนธรรมดั้งเดิมยังมีที่ยืนอย่างมั่นคง ในปี 2550 สายฝน นาถพรายพันธุ์ เจ้าหน้าที่ จากส� ำ นั ก งานวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด ล� ำ พู น ได้ ขั บ เคลื่ อ นโครงการศู น ย์วั ฒ นธรรมสายใย ชุ ม ชนขึ้ น ในพื้ น ที่ ต ่า งๆ บ้า นกองงามเป็น พื้ น ที่ ห นึ่ ง ที่ ส มั ค รเข้า ร่ว มโครงการนี้ โดยมี

ดาบต�ำรวจประชัน จันทะวัง ก�ำนันต�ำบล แม่แรงในขณะนั้นเป็นแกนน�ำ พร้อมกับจัดตั้ง คณะกรรมการเพื่ อ ช่ว ยด� ำ เนิ น การ โดยใช้ สถานที่ของวัดป่าเหียงเป็นที่ตั้งศูนย์ฯ มาตอนหลังทางอดีตก�ำนันไม่ค่อยมีเวลา เท่าไร จึงขอร้องให้วัดเข้ามาช่วยดูแลแทน พระมหากมล ขนฺติธโล รองเจ้าอาวาส วัดป่าเหียงเล่าให้ฟังว่า ในครัง้ แรกนัน ้ มีการจัด อบรมตี ก ลองปู จ า (บู ช า) ให้กั บ เยาวชน บ้านกองงาม มีปราชญ์ชาวบ้านในพืน ้ ทีม ่ าช่วย สอน เพื่อฝึกตีเป็นพุทธบูชาในงานบุญต่างๆ เพราะตามประเพณีล้านนา ถือว่าการตีกลอง นี้ เ ป็น การประกาศให้พ ระอิ น ทร์ห รื อ เทวดา ต่างๆ รับรู้ว่าคณะศรัทธาร่วมกันท�ำบุญ “ที่ส�ำคัญเรากลัวว่ามันจะสูญหาย เพราะ คนรุ่นเก่าก็เสียชีวต ิ ไปมากแล้ว” พระมหากมล ขนฺติธโล ว่า หลั ง จากฝึก อบรมอย่า งต่อ เนื่ อ ง ทาง วัดป่าเหียงได้ตั้งทีมกลองบูชาขึ้นมา แบ่งเป็น ชุดเยาวชนหญิง เยาวชนชาย ประชาชนหญิง และประชาชนชาย ชุดหนึง่ ประมาณสิบกว่าคน สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 87


เรียกรวมกันว่า ‘กลุ่มฮ่มป๋าระมี ศรีกองงาม’ โดยทางวั ด จะส่ง ที มเข้าประกวดการแข่งขัน ตีกลองปูจาตามเทศกาลต่างๆ เช่น งานสรงน�ำ้ พระธาตุ ห ริ ภุ ญ ชั ย ซึ่ ง ที่ ผ ่า นมาสามารถ กวาดรางวัลให้ชม ุ ชนบ้านกองงามได้ภาคภูมใิ จ มาแล้วมากมาย กลองประเภทต่อ มาที่ ศู น ย์ฯ ให้ค วาม สนใจ คื อ กลองมองเซิ ง ซึ่ ง เป็น วั ฒ นธรรม ดั้ ง เดิ ม ของคนไทลื้ อ ไทยอง ซึ่ ง ชาวบ้า นที่ บ้านกองงามส่วนใหญ่เป็นคนยอง โดยได้รับ งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด ล�ำพูน และใช้บุคลากรภายในหมู่บ้านซึ่งเคยมี ประสบการณ์ใ นการแข่ง ขั น มาแล้ว หลายที่ เป็นผู้ถ่ายทอด ขณะเดียวกันทางคณะกรรมการ ศูนย์ฯ ได้จัดแข่งขันในงานสรงน�้ำวัดป่าเหียง ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ทุ ก เดื อ นมิ ถุ น ายนของทุ ก ปี เพื่ อ สั ก การบู ช าครู บ าอาจารย์ก ่อ นเข้า พรรษา เมื่ อ เด็ ก มี ทั ก ษะแล้ว ก็ น� ำ ไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ น ขบวนแห่ต่างๆ ส่วนกลองประเภทที่ 3 คือ กลองหลวง เป็นกลองขนาดใหญ่ ชุดหนึง่ มี 4 ลูก ส่วนใหญ่ สร้างไว้ประจ�ำวัด นิยมตีถวายเป็นพุทธบูชา 88 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


อย่า งเวลามี ง านปอยหลวง จะมี ก ารน� ำ กลองหลวงไปแห่ แล้วเวลามีงานสรงน�ำ้ ฉลอง พัดยศต่างๆ จะมีการประชันกันว่า กลองหลวง ลูกไหนเสียงดังกว่า ใหญ่กว่า หรือกว้างกว่ากัน ถื อ เป็น ศิ ล ปะอย่า งหนึ่ ง ที่ อ ยู ่คู ่สั ง คมล้า นนา มาเนิ่นนาน และเป็นกิจกรรมที่เชื่อมสัมพันธ์ ของคนในชุมชนให้แน่นแฟ้นมากขึ้น นอกจากการตีกลองแล้ว อีกกิ จกรรมที่ โดดเด่น ไม่แ พ้กั น คื อ การสร้า งวงดนตรี พื้ น เมื อ ง สะล้อ ซอซึ ง เน้น กลุ ่ม นั ก เรี ย น เป็นหลัก โดยที่วัดมีเครื่องดนตรี และอาศัย ผู้เฒ่าผู้แก่เข้ามาสอนให้ “เวลามีงานศพ หรืองานมงคล เราจะพา เด็ ก กลุ ่ม นี้ไปเล่น ก่อนเล่น เด็ กจะนั่ งสมาธิ เพือ ่ ฝึกจิตใจ นอกจากนี้ เรายังพัฒนาฝีมอ ื ของ พวกเขาด้วยการจัดประกวด ให้โรงเรียนต่างๆ ที่ มี ว งดนตรี พื้ น เมื อ ง ส่ง เด็ ก มาร่ว มแข่ง ขั น ถือว่าเป็นการต่อยอดและสร้างความผูกพันกับ ดนตรี พื้ น เมื อ ง ช่ว งที่ ฝ ีก ส่ว นใหญ่เ ป็น ช่ว ง ปิด เทอม ประมาณเดื อ นมี น าคม-เมษายน ซ้อมกันทุกคืน แต่ถ้าเป็นช่วงเปิดเทอม เราจะ ซ้อมเฉพาะคืนวันศุกร์-เสาร์” พระมหากมล

ขนฺติธโล เล่า กิจกรรมสุดท้ายทีพ ่ ระมหากมลหยิบขึน ้ มา เล่าให้ฟัง คือวัฒนธรรมการฟ้อน ซึ่งที่บ้าน กองงามมีการฟ้อนเล็บ ฟ้อนก๋ายลาย โดยการ ฟ้อนประเภทหลังนี้ เป็นการผสมผสานลีลา ท่าฟ้อนเชิงเข้ากับท่าฟ้อนร�ำ มีรากฐานมาจาก ศิ ล ปะการต่อ สู ้ข องล้า นนา ส่ว นใหญ่ใ ช้ ประกอบการตีกลองมองเซิง นอกจากความโดดเด่นเรื่องกิจกรรมแล้ว เรื่ อ งศาสนสถานที่ นี่ ก็ เ ลื่ อ งชื่ อ ไม่แ พ้กั น โดยเฉพาะหอไตรกลางน�้ำ ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี 2 4 2 0 เ พื่ อ เ ป ็น ที่ เ ก็ บ พ ร ะ คั ม ภี ร ์แ ล ะ พระไตรปิฎ ก นั บ เป็น ภู มิ ป ัญ ญาชาวบ้า น เนือ ่ งจากพระคัมภีร์เหล่านีถ ้ ก ู จารลงในใบลาน ท�ำให้มม ี ด หนู ปลวกเข้าไปกัดแทะท�ำลาย เพือ ่ ป้อ งกั น สั ต ว์เ หล่า นี้ จึ ง สร้า งตั ว อาคารไว้ กลางน�้ำ โดยมีสะพานเดิน แต่ตัวสะพานจะ ไม่ติ ด กั บ หอไตร ปัจ จุ บั น ได้ขึ้ น ทะเบี ย น โบราณสถานไว้กั บ กรมศิ ล ปากร และมี นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ และ ที่อื่นๆ เข้ามาศึกษาอย่างต่อเนื่อง...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 89


วงลูกยอง

90 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2545 กลุ่มเยาวชนใน แถบบ้านป่าเบาะ หมู่ที่ 8 แทบจะไม่มก ี ิจกรรม ทีเ่ ป็นรูปธรรม แต่ด้วยความตัง้ ใจของ พระครู ประภั ศ ร์ส าธุ ก าร เจ้า อาวาสวั ด กอม่ว ง ทีต ่ ้องการเห็นเยาวชนมีส่วนร่วมกับชุมชนบ้าง โดยเฉพาะในงานบุญ งานเทศกาลต่างๆ จึง เกิดแนวคิดที่จะฝึกการเล่นดนตรีพื้นเมืองให้ และตั้ ง เป็น วงลู ก ยอง ซึ่ ง เป็น วงสะล้อ ซอซึ ง นอกจากจะได้ความรู้ติดตัวแล้ว ยังเป็นการ สืบสานวัฒนธรรมพื้นถิ่นให้คงอยู่ต่อไปด้วย ประเสริฐ เป็งกาสิทธิ์ สมาชิกสภาเทศบาล ต�ำบลแม่แรง หนึ่งในแกนน�ำชุมชน ฉายภาพ ให้ฟังว่า ช่วงแรกนั้นมีพระที่มีความสามารถ ด้านนี้ช่วยฝึกสอน ต่อมามีการจ้างครูมาสอน อย่างจริงจัง วงลูกยองแรกมีเด็กมาร่วมประมาณ 10 คน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จนถึง ระดับ ปวช.-ปวส. ส่วนอุปกรณ์ให้ชาวบ้านช่วย บริจาค ช่วยกันซื้อเข้ามา นอกจากวงดนตรีแล้ว อีกองค์ประกอบ หนึ่ ง ของวงลู ก ยอง คื อ คณะนาฏศิ ล ป์ ซึ่ ง ปราชญ์ชาวบ้านจะร่วมกันฝึกเด็กผูห ้ ญิงให้มี ทักษะในการร่ายร�ำ โดยเฉพาะการฟ้อนเล็บ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมือง


พระครูประภัศร์สาธุการ

“เครือ ่ งแต่งกายอย่างสไบ เล็บ เครือ ่ งหน้า ทางชาวบ้านก็ช่วยกันสนับสนุน” ประเสริฐว่า อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ วงดนตรีที่เป็นสะล้อ ซอซึงกับการฟ้อนเล็บนัน ้ ไม่มแี ล้ว ด้วยว่า เด็กๆ ออกไปเรียนต่อข้างนอก ทางวงจึงพัฒนารูปแบบ หั น มาตี ก ลองสะบั ด ชั ย กลองปู จ า ปี่พ าทย์ ฟ้อนดาบ รวมไปถึงการเต้นโต ซึง่ เป็นนาฏลีลา ของคนภาคเหนือ รูปแบบคล้ายการเชิดสิงโต ของคนจีน แต่มีลักษณะแปลกตากว่า คือหัว เป็นกวาง ตัวเป็นสิงโต ส่วนใหญ่เล่นกัน 2 คน เป็นอย่างน้อย โดยผู้เล่นที่สวมหัวโตจะเต้นไป ตามจังหวะกลอง พร้อมแสดงท่าทางเลียนแบบ สั ต ว์นั้ น ซึ่ ง การเต้น แบบนี้ เ ป็น การสื บ ทอด ความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา โดยอิงสถานการณ์ ในช่วงที่พระพุทธองค์เสด็จลงจากสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ หลังจากได้โปรดพุทธมารดา บรรดา สัตว์ทั้งหลายในป่าหิมพานต์จึงพากันไปเฝ้า รับเสด็จ และแสดงความดีใจด้วยอาการต่างๆ ที่ผ่านมาวงลูกยองมีโอกาสเข้าร่วมแสดง ในงานบุญต่างๆ เช่น งานวัด งานทอดผ้าป่า ทอดกฐิน งานบวช ตลอดจนเป็นส่วนหนึ่งของ ขบวนแห่ขันหมากในงานแต่งงาน ทั้งในและ นอกพื้นที่ รายได้ที่เกิ ดขึ้นเล็กๆ น้อยๆ จะ แบ่ง กั น เองในหมู ่ส มาชิ ก และเก็ บ เข้า เป็น

กองกลางของกลุ ่ม ส� ำ หรั บ ใช้จ ่า ยในยาม จ� ำ เป็น เช่น เป็น ค่า รถ ค่า เดิ น ทาง หรื อ ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่องดนตรีต่างๆ “เรามีสมาชิกอยู่ประมาณ 20 คน ทุกวันนี้ ยังมีการซ้อมต่อเนือ ่ ง แต่ว่าไม่ได้กำ� หนดเฉพาะ ว่าเป็นวันไหน หากมีคนติดต่อให้ไปแสดงก็จะ มาซ้อมกันทีหนึง่ เพราะรุ่นใหม่เล่นกันไม่เยอะ แต่เ ราก็ พ ยายามให้เ ด็ ก เขาดู แ ลจั ด การ กันเอง ที่ส�ำคัญอะไรที่วัดพอจะสนับสนุนได้ ก็ท�ำ เพราะอุปกรณ์ต่างๆ ก็อยูท ่ ี่วัดอยู่แล้ว ที่ผ่านมาเด็กรุ่นเก่าๆ บางคนก็คอยสอนเด็ก รุ่นใหม่บ้าง แต่กบ ั บางอย่างทีส ่ อนไม่ไหวจริงๆ เช่น พวกระนาด หรือปี่พาทย์ ท่านพระครูก็ เรี่ ย ไรขอรั บ บริ จ าคเพื่ อ จ้า งครู ม าสอนเสริ ม เข้าไป” ส.ท.ประเสริฐเล่าให้ฟัง ขณะเดียวกันยังมีการสร้างเครือข่ายใน พื้นที่ใกล้เคียง เช่น โรงเรียนบ้านทาวิทยาคม และวงกิจกรรมทีอ ่ ำ� เภอแม่รม ิ จังหวัดเชียงใหม่ เพือ ่ เป็นอะไหล่ให้แก่กน ั ละกัน ยามทีว่ งไม่ครบ แม้วั น นี้ ว งลู ก ยองจะเป็น เพี ย งวงเล็ ก ๆ แต่ก็ถือเป็นความภาคภูมิใจของคนในชุมชน ถื อ เป็นการเชื่ อ มสั มพันธ์ของคนในชุมชนไว้ ด้วยกัน...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 91


บ้านหัวตุง

แม้ที่ต�ำบลแม่แรงจะมีการผลิตตุงล้านนา จ�ำหน่ายกันหลายหลังคาเรือน แต่เชื่อหรือไม่ ว่า มี เ พี ย งบ้า นของ ลุ ง เสย มู ล ชี พ เพี ย ง บ้านเดียวที่ผลิตหัวตุงขาย “ที่ นี่ ไ ม่มี ใ ครท� ำ แล้ว เพราะว่า ท� ำ แล้ว ไม่คุ้ม คือขายได้ แต่ว่าราคาถูกมาก หัวละ 5 บาทเอง ต้องใจรักจริงๆ เท่านั้น เพราะตั้งแต่ จ�ำความได้ มีคนท�ำแค่ 2 คนเท่านั้น คนหนึ่ง ตายไปแล้ว ลุ ง ท� ำ เพราะต้อ งการรั ก ษา วัฒนธรรมประเพณีของต�ำบลแม่แรงเอาไว้” ลุงเสยเล่า ลุ ง เสยย้อ นความให้ฟ ัง ว่า สมั ย เมื่ อ สิ บ กว่าปีก่อน ลุงเสยพยายามรวมกลุ่มผู้สงู อายุใน ต�ำบลแม่แรงประมาณ 20 คน เพื่อท�ำจักสาน ซึ่งหัวตุงก็ถือเป็นหนึ่งในกิ จกรรมนั้น แต่พอ นานวัน สมาชิกที่มาร่วมก็น้อยลงด้วยสาเหตุ สารพัด ลุงเสยเลยตัดสินใจย้ายฐานการผลิต มาอยู ่ที่ บ ้า นของตน ส่ว นความรู ้นั้ น อาศั ย การจดจ�ำ ด้วยลุงเสยเป็นไวยาวัจกรประจ�ำวัด หนองเงือก จึงมีโอกาสได้พบลวดลายสวยๆ เป็นจ�ำนวนมาก “ไม้ทใี่ ช้ทำ� หัวตุง คือไม้ไผ่กบ ั ไม้สก ั โดยลุง 92 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ลุงเสย มูลชีพ

จะไปซื้อเศษไม้ที่เหลือจากคนท�ำเฟอร์นิเจอร์ หรือบางครั้งมีคนรื้อบ้าน ก็ขอซื้อเขา ถูกบ้าง แพงบ้าง แรกๆ ที่เริ่มท�ำ ก็อาศัยดูแบบเขา ท�ำ ไม่ค่อยสวยหรอก แต่พอท�ำไปนานๆ ก็เริ่ม ช�ำนาญ รู้เทคนิค ทั้งการจัด การตอก ต้องใช้ ความประณีต อย่างเวลาตอกตะปูเพือ ่ ประกอบ ก็ต้องใช้สว่านน�ำ ไม่เช่นนั้นไม้จะแตก” นอกจากหัวตุงแล้ว ลุงเสยยังท�ำตาแหลว เป็นเครื่องจักสานชนิดหนึ่ง ท�ำจากตอก น�ำมา สานเป็นรูปร่างคล้ายดาว สามเหลีย ่ มบ้าง ดาว ห้าแฉก หรือดาวแปดแฉกก็มี คนล้านนาเชือ ่ ว่า ตาแหลวเปรียบได้กับดวงตาของเหยี่ยวหรือ นกแหลว ซึ่ ง สามารถมองเห็ น ในระยะไกล ท�ำให้เล็งเห็นอันตรายต่างๆ ได้ก่อน คนล้านนา จึงถือเป็นสัญลักษณ์ทบ ี่ ่งเขตป้องกันสิง่ ชัว่ ร้าย ต่างๆ มักน�ำมาประกอบในพิธีมงคล เช่น การ ท�ำบุญบ้าน ท�ำบุญเมือง การสืบชะตา หรือพิธี บวงสรวงต่างๆ โดยผูกโยงไว้ที่หน้าบ้าน นิยม ท�ำเป็นตาแหลวเจ็ดชั้น หรือซ้อนกัน 7 ชั้น ปัจจุบันลุงเสยขายตัวละ 5 บาท “ชาวบ้านมาซื้อทีหนึ่ง มักขอซื้อกันเป็น ร้อ ยตั ว ปัจ จุ บั น ส่ง ไปขายไกลถึ ง แม่ส อด

ส่วนใหญ่คนที่มาซื้อ จะได้ยินปากต่อปาก อีก อย่างหนึ่งคือผมเป็นไวยาวัจกรวัดหนองเงือก แล้วอดีตเจ้าอาวาสก็เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ มี โอกาสพบปะรู้จก ั คน ก็มก ั มีมาสัง่ มาซือ ้ กันไป” นอกจากนั้น ลุงเสยยังท�ำโคมยี่เป็ง โดย ลุงเสยบอกว่าท�ำจากผ้า ไม่ใช่กระดาษ ท�ำให้ มีความแข็งแรงทนทานมาก “ช่วงเดือนยี่เป็งหรือวันพ่อเขาจะใช้โคม กันเยอะเลย ใช้ประดับประดา ลุงขายได้ตลอด แต่ว่าเป็นงานฝีมอ ื ท�ำได้ไม่ไว ก็เลยต้องค่อยๆ ท�ำ เก็บไปเรื่อยๆ เพราะว่าเขาสั่งทีเป็นร้อยๆ ลูก ถ้าไปรอท�ำช่วงเทศกาลก็ไม่ทน ั ” ลุงเสยเล่า ด้วยรอยยิ้ม พอถามว่าสิง่ ทีท ่ ำ� มาทัง้ หมดนี้ สร้างรายได้ มากน้อยเพียงใด ลุงเสยกล่าวว่าไม่มาก แต่ที่ ยังท�ำอยู่ เพราะท�ำแล้วมีความสุข ที่ส�ำคัญ ลุ ง เสยยั ง น� ำ ความรู ้นี้ ไ ปสอนนั ก เรี ย น เช่น โรงเรี ย นบ้า นหนองเงื อ ก ตามโครงการ อุย ้ สอนหลานของเทศบาลที่น�ำผู้เฒ่าผู้แก่ไป บรรยายภูมิปัญญาแก่เยาวชน แม้จะไม่ส�ำเร็จ ถึ ง ขนาดมี ผู ส ้ ื บ ทอด แต่ก็ ยั ง ดี ที่ ไ ด้บ อกเล่า สิ่งเหล่านี้ให้คนรุ่นหลานฟังกัน... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 93


อาหารการกิน What to eat

94 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ตอนก่อ นมาที่ นี่ เราแจ้ง กั บ ผู ้น� ำ ทางว่า อยากจะฝากท้องกับร้านอาหารของคนในต�ำบล แม่แรงสักมื้อหนึ่ง ซึ่งก็ได้รับการตอบรับ ที่ ส�ำคัญไม่ผิดหวังเลยด้วย เพราะนอกจากจะ รสชาติ ดี มี เ อกลั ก ษณ์เ ป็น ของตั ว เองแล้ว ร้านก๋วยเตีย ๋ วเรือป้ารวยยังบ่งบอกถึงความเป็น คนแม่แรง ด้วยการเป็นร้านอาหารทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 95


ก๋วยเตี๋ยวเรือป้ารวย

ป้ารวย

เดิ น ทางเลาะลั ด ไปยั ง ตรอกซอกซอย ของต� ำ บลแม่แ รง ได้เ ห็ น ได้เ รี ย นรู ้เ รื่ อ งราว หลากหลาย แต่ระหว่างทาง กองทัพต้องหยุดพัก เมื่ อ เสี ย งร้อ งของสิ่ ง ที่ ไ ม่อ าจต้า นทานได้ อุบัติขึ้น จัดเป็นของดีอิ่มอร่อยที่ต�ำบลแม่แรง กับ ร้านก๋วยเตี๋ยวสุดแซบ ฝีมือการรังสรรค์ของ แสงอรุณ พงค์ดา หรือ ป้ารวย ซึ่งเปิดให้ บริ ก ารคนในพื้ น ที่ ไ ด้ม าลิ้ ม ลองความอร่อ ย ตั้งแต่ปี 2552 เจ้าของร้านเล่าถึงที่มาที่ไปของร้านให้ฟัง อย่างสนุกว่า แต่เดิมเป็นแม่ค้าขายข้าวสาร มานานกว่า 20 ปี ต่อมาลูกหลานเรียนจบ มีงานมีการท�ำ จึงเลิกขายข้าวสาร แล้วหันมา ท�ำร้านอาหารแทน 96 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


“ความจริ ง ไม่เ คยคิ ด ขายก๋ว ยเตี๋ ย วเลย ตอนนั้นหันมาท�ำล�ำไยกับร้านเสริมสวย จน วันหนึ่งลูกน้องท้าให้ท�ำก๋วยเตี๋ยว ด้วยความที่ เป็นคนชอบลอง ก็เลยว่า เดี๋ยวอบล�ำไยเสร็จ ให้ตามมาที่บ้านเลยจะท�ำก๋วยเตี๋ยวเลี้ยง พอ พวกเขากินแล้วอร่อย ก็ยุให้เปิดร้าน ก็ลองดู และก็ขายมาตลอด” ป้ารวยว่า ส่ว นสู ต รการปรุ ง ก๋ว ยเตี๋ ย วได้ม าจาก ลู ก น ้อ ง ที่ เ ค ย ไ ป เ ป ด ิ ร ้า น ก ๋ว ย เ ตี๋ ย ว อ ยู ่ท่ี กรุงเทพฯ ซึ่งป้ารวยให้สินน�้ำใจเล็กน้อยเป็น ค่าวิชา โดยเคล็ดลับส�ำคัญอยู่ที่น�้ำก๋วยเตี๋ยว ที่ มี เ ครื่ อ งปรุ ง สารพั ด อย่า ง ตั้ ง แต่ร ากผั ก ชี กระเทียม เต้าหู้ น�้ำมันหอย เต้าเจี้ยว ฯลฯ ซึ่ ง เมนู ที่ ข ายดี ที่ สุ ด คื อ ก๋ว ยเตี๋ ย วเย็ น ตาโฟ รองลงมาคือ สุกี้ ข้าวซอย

“ลูกค้าชอบมาที่นี่ เพราะรสชาติถูกปาก และให้เยอะ เราให้กินจนอิ่ม ไม่ต้องสั่งเพิ่ม ที่ส�ำคัญของป้าสะอาดปลอดภัย แม้แต่ถั่วยัง อบเอง ลงทุ น ซื้ อ ทั้ ง เครื่ อ งอบ เครื่ อ งสั บ เครื่ อ งซอย แม้แ ต่ก ระบวนการจั ด การขยะ และเศษอาหารที่ เ หลื อ ก็ จั ด การเรี ย บร้อ ย ผ่า นมาตรฐานการประเมิ น ของกระทรวง สาธารณสุขทุกปี รับเกียรติบัตรทุกปี” ป้ารวย ย�้ำถึงความใส่ใจ ปัจ จุ บั น ร้า นก๋ว ยเตี๋ ย วเรื อ ป้า รวย เปิด บริการทุกวัน ตั้งแต่ 9 โมงเช้า จนคล้อยบ่าย 3 โมงถึง 4 โมงก็ปิด สนนราคาไม่แพง เพียง 20-25 บาท นอกจากนัน ้ ยังมีเครือ ่ งดืม ่ อย่าง น�้ำชา กาแฟ และใครที่มาจากต่างถิ่น ที่นี่มี ของฝาก เป็นน�้ำผึ้งแท้จากจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ป้ารวยเอามาขายในราคาย่อมเยา... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 97


พักผ่อนหย่อนกาย Stay

98 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ต� ำ บลแม่แ รงในวั น นี้ นอกจากเรื่ อ งผ้า จะโดดเด่น แล้ว เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้อ มของที่ นี่ ก็ ไม่เป็นรองใคร อย่างที่เราได้พาไปเยี่ยมชม กันมา ซึ่งนั่นได้ท�ำให้ต�ำบลแม่แรงกลายเป็น พื้นที่เรียนรู้ที่โดดเด่น มีผู้คนต่างถิ่นเข้าออก ไม่เว้นแต่ละวัน และจากที่เราพาไปดูชุมชน ต่างๆ ซึ่งสามารถจัดการตนเองได้ ระยะเวลา เพียงหนึ่งวันคงไม่เพียงพอ ต้องมีพักค้างคืน บ้างพัก 2 คืน 3 คืน หรือ 4 คืนก็มีมาแล้ว โดยที่ น่ี มี โ ฮมสเตย์ ดู แ ลให้ก ารรั บ รองโดย คนในต� ำ บล แม้จ ะไม่เ ลิ ศ หรู แต่ก็ มี ค วาม สะดวกสบายอยู่ในที...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 99


โฮมสเตย์ป้าทองสุข

ป้าทองสุข

แม้จะอายุใกล้เลขเจ็ด แต่ ทองสุข ปันผสม ยังคงเดินเหินไปมาคล่องแคล่ว ใบหน้ายิม ้ แย้ม และเป็นกันเองกับแขกเหรื่อที่แวะเวียนมาพัก ที่บ้าน บ้า นหลั ง นี้ เ ป็น บ้า นที่ ต กทอดมาตั้ ง แต่ รุ่นพ่อรุ่นแม่ของเธอ “ป้าท�ำเป็นโฮมสเตย์ได้ปีหนึ่งแล้ว ทาง เทศบาลฯ บอกว่า จะมีโครงการต�ำบลสุขภาวะ จึ ง เชิ ญ ชวนบ้า นที่ มี ค วามพร้อ ม มี ห ้อ งว่า ง ห้อ งน�้ ำ ดี เพื่ อ รั บ แขกบ้า นแขกเมื อ ง เลย ตัดสินใจสมัครดู” ป้าทองสุขเริ่มต้นเล่าที่มา ส�ำหรับบ้านหลังนี้มีอายุมากกว่า 40 ปี สมั ย ก่อ นพ่อ แม่ข องป้า ทองสุ ข มี ลู ก เยอะ แต่ภายหลังก็แยกออกไปมีครอบครัว มีเพียง ป้าทองสุขที่ไม่ไปไหน จุ ด เ ด ่น ข อ ง บ ้า น ไ ม ้ห ลั ง นี้ น อ ก จ า ก ความสะอาดสะอ้านแล้ว แต่ละห้องยังถูกจัด เป็น สั ด เป็น ส่ว น โดยเจ้า ของบ้า นจะให้แ ขก ขึ้นไปพักที่ชั้น 2 ซึ่งมีห้องเตรียมไว้ถึง 4 ห้อง โดยแต่ละห้องนอนได้ 2 คน 100 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


“เฮาดู แ ลทุ ก คนเหมื อ นคนในครอบครั ว ข้าวของเครื่องใช้ต้องพร้อม ไม่ให้บกพร่อง เวลาแขกมา อยากกิ น อะไรก็ เ ตรี ย มให้กิ น จนอิ่ม” ป้าทองสุขเล่าไปหัวเราะไป “อาหาร ที่ท�ำบ่อยๆ ก็เป็นพวกอาหารเหนือ ผักก็เก็บ จากหลังบ้านนี่แหละ” นอกจากการดูแลอย่างเต็มที่แล้ว ที่นี่ยังมี มิตรที่แสนดี เป็นสุนัขนาม ‘จิมมี่’ อายุล่วงเลย ไป 17-18 ปีแล้ว แม้จะไม่ค่อยมีแรงวิ่งเล่น ด้วยแล้ว แต่กเ็ ป็นกันเอง และชอบให้คลอเคลีย คนรั ก สั ต ว์ค นใดที่ แ วะเวี ย นมาพั ก ยั ง บ้า น ป้า ทองสุ ข ก็ อ ย่า ลื ม ไปท� ำ ความรู ้จั ก กั บ สุ นั ข อาวุโสตัวนี้ด้วย... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 101


โฮมสเตย์สองพี่น้อง เราเดินทางมาที่บ้านดอนน้อย หมู่ที่ 9 ณ บ้า นสองหลั ง ซึ่ ง อยู ่ใ นบริ เ วณเดี ย วกั น เป็น บ้านของ ศรีพรรณ วัฒนธงชัย และ กุหลาบ เนตรงาม ทั้งสองเป็นพี่น้องกัน บ้า นของป้า ศรี พ รรณเป็น ที่ ท� ำ งานของ กลุ่มแปรรูปผ้าทอบ้านดอนน้อย ผลิตผ้านานา ชนิด ทัง้ ผ้าทอ เสือ ้ กระโปรง หมวก ผ้าเช็ดหน้า และข้าวของอีกสารพัดขาย ขณะที่บ้านของ ป้า กุ ห ลาบถู ก ปิด ไว้ ด้ว ยวั น ที่ เ ราไปนั้ น ป้ากุหลาบไม่อยู่บ้าน “ป้ามีกุญแจ เดี๋ยวพาเข้าไปดู” ป้า ศรี พ รรณว่า บ้า นทั้ ง สองหลั ง นี้ เ ป็น โฮมสเตย์ โดยเป็นบ้านครอบครัว สืบทอดต่อ กันมายาวนาน “บ้า นของป้า กุ ห ลาบ พี่ ส าวของป้า เป็นหลังดั้งเดิม” ป้าศรีพรรณว่า 102 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ป้าศรีพรรณ

จุดเริม ่ ต้นของการเปลีย ่ นบ้านเป็นโฮมสเตย์ เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ปี 2557 ทางเทศบาลติ ด ต่อ ขอความร่ว มมื อ เพื่ อ ใช้พื้ น ที่ บ ้า นต้อ นรั บ แขกบ้า นแขกเมื อ ง ซึ่ ง ทั้ ง คู ่เ องยิ น ดี แ ละให้ ความร่วมมืออย่างเต็มที่ จุดเด่นของบ้านทั้งสองหลังนี้ อย่างแรก เลยก็คอ ื อัธยาศัยของเจ้าของบ้านทีเ่ ป็นกันเอง พร้อมดูแลแขกเหรื่ออย่างเต็มความสามารถ และเพื่ อ ให้ทุ ก คนได้รั บ ความสะดวกสบาย ความสะอาดจึงเป็นเรือ ่ งทีท ่ งั้ ป้าศรีพรรณ และ ป้ากุหลาบให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง “เรามีอินเทอร์เน็ตส�ำหรับผู้ที่ต้องท�ำงาน ในยามค�่ำคืนด้วย” ป้าศรีพรรณโฆษณาบ้าน

ให้เราฟังระหว่างพาเราเดินชมบ้าน บ้า นของป้า ศรี พ รรณนอนได้ 5-6 คน มี 2 ห้องนอน ส่วนบ้านป้ากุหลาบจะนอนได้ เยอะกว่า เพราะมี 4 เตียง “ทุกวันป้าจะให้เด็กๆ มาท�ำความสะอาด ปัด กวาดเช็ ด ถู ส่ว นเรื่ อ งอาหาร ป้า จะท� ำ แกงแค แกงอ่อม แกงฮังเล น�ำ้ พริกปลาร้า หรือ แล้วแต่ที่แขกร้องขอมา” ไม่เ พี ย งแค่นั้ น ด้ว ยความที่ บ ้า นนี้ เ ป็น แหล่งจ�ำหน่ายสินค้าพื้นบ้าน ฉะนั้นจึงไม่ต้อง ไปวิ่ ง หาของฝากที่ ไ หนไกล เลื อ กหยิ บ เอา ที่ บ ้า นของป้า ศรี พ รรณได้เ ลย รั บ ประกั น คุณภาพและราคา เพราะที่นี่เป็นแหล่งผลิต... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 103


ท่องเที่ยวชุมชน Sightseeing

104 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


บ้านหนองเงือกเป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมที่ส�ำคัญของต�ำบลแม่แรง ด้วยมี เ รื่ อ ง ร า ว ค ว า ม เ ป ็น ม า ใ น อ ดี ต ใ ห ้สื บ ค ้น นอกจากนั้นยังเป็นที่ส�ำหรับชนรุ่นหลังที่จะได้ รู้จักรากเหง้าของตนเอง เราเองจึงไม่พลาด ทีจ่ ะเดินทางมายังบ้านหนองเงือก เก็บชิน ้ ส่วน เรื่ อ งราวสุ ด ท้า ย เพื่ อ ให้ห นั ง สื อ เล่ม นี้ มี ความสมบูรณ์มากที่สุด... สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 105


วัดหนองเงือก

ย้อ นกลั บ ไปเมื่ อ ปีพุ ท ธศั ก ราช 2348 ชาวบ้าน 5 ครอบครัว ได้อพยพจากเมืองยอง รัฐฉาน ประเทศพม่า เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณ ที่ราบลุ่มแม่น�้ำทา เขตอ�ำเภอป่าซาง สืบลูก สื บ หลานจนแพร่ข ยายกลายเป็น หมู ่บ ้า น หนองเงื อ กจนปัจ จุ บั น ต่อ มาในปี 2371 เด็กชายอุปปละ วัย 11 ปี ซึ่งเป็นลูกหลาน ในหมู่บ้าน มีความประสงค์จะบรรพชาเป็น สามเณรเพื่อศึกษาพระธรรมวินัย และธ�ำรงไว้ ซึ่ ง พระพุ ท ธศาสนา ทว่า ในบ้า นหนองเงื อ ก เวลานั้นยังไม่มีวัด นายไจยผู้เป็นบิดาจึงเกิด ความคิดที่จะสร้างวัดประจ�ำหมู่บ้านขึ้น เพื่อ เป็นทีพ ่ งึ่ ทางใจ และเป็นสถานทีใ่ ห้บต ุ รชายได้ จ� ำ พรรษา หลั ง จากปรึ ก ษาผู ้เ ฒ่า ผู ้แ ก่ใ น หมู่บ้าน จนได้รับความเห็นชอบให้สร้างวัดขึ้น และได้ไปกราบอาราธนา ครูบาปารมีเถระ 106 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


พื้ น เพเป็น คนเมื อ งยอง ซึ่ ง มาธุ ด งค์แ ละจ� ำ พรรษาอยู่ที่วัดฉางข้าวน้อยป่ายางให้มาเป็น ประธานสร้างวัด โดยตั้งชื่อวัดตามชื่อหมู่บ้าน ว่า ‘อาวาสบวกเงือก’ หรือ ‘วัดหนองเงือก แก้วกว้างดอนทัน สันศรีชุม โชติการาม’ เมื่อสร้างเสร็จชาวบ้านจึงนิมนต์ให้ท่านช่วย รับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสต่อทันที ระหว่างที่ครูบาปารมีเถระด�ำรงต�ำแหน่ง ท่านได้สร้าง ‘คะตึก’ หรือ หอไตร ซึ่งเป็น สถานที่ ร วบรวมคั ม ภี ร ์บ าลี ไ วยากรณ์ใ หญ่ คัมภีร์ปรมัตถธรรม (อภิธรรม) และพระบาลี ไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส ต่า งๆ ตั ว อาคารหอไตรก่อ สร้า งด้ว ยศิ ล ปะ มอญผสมพืน ้ เมืองล้านนา เป็นตึกทรงสีเ่ หลีย ่ ม 2 ชั้ น โดยแต่เ ดิ ม หลั ง คาเป็น แบบดาดฟ้า มุงด้วยแผ่นทองจังโก้ ฝาผนังชัน ้ ล่างมีจต ิ รกรรม ภาพเขียนเรื่อง พุทธประวัติโปรดสัตว์ 3 โลก คื อ เสด็ จ โปรดพุ ท ธมารดาบนสวรรค์ชั้ น ดาวดึงส์ เสด็จโปรดชาวเมืองสาวัตถี และเสด็จ โปรดพญานาคในเมืองนาค ส่วนอีกด้านเป็น ชาดกพื้นเมือง เรื่องลังกาสิบหัว พรหมจักก์ ชาดกตามคติเมืองเหนือ ซึ่งเป็นต้นเรื่องของ วรรณกรรมเรื่องเยี่ยมอย่าง รามเกียรติ์ โดย เป็นภาพ 2 มิติ ใช้สีผสมยางไม้แบบโบราณ

อย่างไรก็ดี ด้วยระยะเวลาอันยาวนานจึงท�ำให้ ทรุดโทรมไปมาก ทางกรมศิลปากรจึงเข้ามา ช่ว ยบู ร ณะซ่อ มแซม ภายใต้ก ารดู แ ลของ ประชาชนชาวหนองเงือก ไม่เพียงเท่านัน ้ จากการพูดคุยกับ 2 ผู้อาวุโส ประจ�ำหมู่บ้าน อาจารย์บุญสุ่ม อินกองงาม และอาจารย์สนั่น ศรีกอก ยิ่งท�ำให้ทราบว่า ที่นี่ยังมีสิ่งปลูกสร้างอีกมากมายที่บ่งบอกถึง อัตลักษณ์ความเป็นยอง เช่น ซุ้มประตูวด ั หรือ ประตู ข ลุ ง ซึ่ ง เป็น ศิ ล ปะมอญสร้า งในสมั ย ครูบาญาณะ โดยมีการบันทึกว่า ได้จ้างช่าง ก่อสร้างชาวพม่า เป็นเงิน 600 รูปีอินเดีย ประดับด้วยลวดลายวิจิตรพิสดาร อย่างวานร กินรี รวมไปถึงเทวดานางฟ้าทัง้ หลาย เช่นเดียวกับ ตัววิหาร ซึ่งเป็นผนังก่ออิฐถือปูน เป็นศิลปะ แบบล้านนา บานประตูท�ำด้วยไม้สักแกะสลัก ลวดลายท้อ งถิ่ น โครงหลั ง คาโบราณแบบ ม้าต่างไหม เสาไม้สก ั ทรงกลมขนาดคนโอบสูง 12 ศอก ประดับด้วยลายค�ำ ข้างในมีปราสาท ธรรมาสน์ไม้สักลายค�ำ ศิลปะพื้นบ้านท้องถิ่น และพระพุทธรูปปูนปั้นลงรักปิดทอง ศิลปะล้านนา สมัยรัตนโกสินทร์ รวมไปถึงพระธาตุเจดีย์ซึ่ง หุ้มทองทั้งองค์ ภายในบรรจุพระแก้วมรกต และพระอรหั น ตธาตุ ถึ ง 101 องค์ โดย สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 107


พระครูรัตนวรรณสาทร

108 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน


ทุ ก วั น แรม 15 ค�่ ำ เดื อ น 9 เหนื อ (หรื อ เดือน 7 ของภาคกลาง) ก็จะมีประเพณีสรงน�ำ้ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา “พระธาตุเจดีย์ที่นี่มีความศักดิ์สิทธิ์ อย่าง ในช่ว งวั น ขึ้ น 15 ค�่ ำ ตอนตี ห นึ่ ง ตี ส องจะมี ดวงไฟลอยอยู่เหนือพระธาตุ แล้วพอใกล้สว่าง ก็ลอยกลับมา โดยประวัติของพระแก้วมรกต กับพระธาตุนี้ ครูบาธรรมจักรทีว่ ด ั พระพุทธบาท ตากฟ้า ได้เ ดิ น ธุ ด งค์แ ล้ว ไปพั ก อยู ่ท่ี วั ด ป่า หนองเจดีย์ แต่ว่าวัดนี้ไม่มีพระประธาน ท่าน เลยให้ญาติโยมช่วยกันหาดูว่ามีหลงเหลืออยู่ ไหม ก็ไปขุดแล้วเจอพระแก้วมรกตและกระปุก พระธาตุ อี ก 101 องค์ แล้ว คื น นั้ น ก็ แ สดง ปาฏิหาริย์ทันที มีดวงไฟลอยขึ้นฟ้า ชาวบ้าน แตกตื่นกันมาดู ท่านก็เห็นว่าหากเก็บเอาไว้ อาจจะมีคนมาขโมย จึงน�ำมาถวายทีว่ ด ั ป่าเหียน ต่อมาส่งมอบให้วด ั หนองเงือกอีกที หลังจากนัน ้ ข่าวรู้ไปถึงเจ้าเมืองล�ำพูน ท่านก็คงอยากได้จงึ นิมนต์เจ้าอาวาสให้ไปพบ เจ้าอาวาสจึงรีบให้ ชาวบ้า นสร้า งเจดี ย ์ค รอบทั บ พระแก้ว มรกต พอรุ่งเช้าไปพบเจ้าเมือง ก็ได้แจ้งว่าสร้างเจดีย์ เก็บไว้แล้ว” สองวิทยากรช่วยกันเล่าต�ำนาน นอกจากสถาปัตยกรรมอันเป็นที่เลื่องลือ วัดหนองเงือกยังมีชอ ื่ เสียงในเรือ ่ งของการเป็น แหล่งเรียนรู้ เพราะมีพระเถระซึ่งได้รับการ ยอมรั บ จากสาธุ ช นในล้า นนาหลายรู ป เช่น ครูบาอุปปละ ครูบาไชยสิทธิ ครูบาเตชะ หรือ

ครู บ าญาณะ ดั ง เช่น ที่ ป รากฏว่า ในช่ว ง พุทธศตวรรษที่ 24 มีพระภิกษุของภาคเหนือ จ�ำนวนมากเข้ามาศึกษาหาความรู้ที่นี่ และยัง มี คั ม ภี ร ์ใ บลานซึ่ ง จากโอวาทของพระเถระ เ ห ล ่า นี้ ล ้ว น เ ป ็น ห ลั ก ฐ า น ซึ่ ง ส ะ ท ้อ น ความรุ่งเรืองของวัดแห่งนี้ได้อย่างดี ปัจ จุ บั น วั ด หนองเงื อ กแห่ง นี้ มี พ ระครู รัตนวรรณสาทร เป็นเจ้าอาวาส และยังถือเป็น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่ ง มี ผู ้ศ รั ท ธาทั้ ง ในและ นอกพื้นที่เข้ามาประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เสมอ ไม่เพียงแค่นั้นที่นี่ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านประวัตศ ิ าสตร์ทงั้ ด้านชาติพน ั ธุ์และศาสนา ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้สนใจเข้ามาศึกษาได้เต็มที่ “วัดหนองเงือกเปรียบเสมือนมหาวิทยาลัย มีเรื่องราวมากมาย ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรม ประเพณี อย่างเช่นสมัยก่อนเวลาชาวบ้านจะ ท�ำบุญสืบชะตา ก็จะให้ช่างมาแกะสลักไม้เป็น พระพุทธรูป ซึง่ หลายองค์กย ็ งั มีเก็บไว้ทน ี่ ี่ หรือ แม้แต่ความรู้เรือ ่ งธรรม อย่างเช่นพระไตรปิฎก ฉบั บ ล้า นนา หรื อ บทอรรถกถาต่า งๆ ซึ่ ง สามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ เพราะฉะนัน ้ การทีเ่ รา พ ย า ย า ม ส ่ง เ ส ริ ม ใ ห ้วั ด ห น อ ง เ งื อ ก เ ป ็น แหล่งเรียนรู้สำ� คัญของพืน ้ ที่ ก็เพือ ่ ให้ประชาชน ได้รับทราบประวัติความเป็นมาของชาติพันธุ์ ของตั ว เอง รวมทั้ ง ยั ง เป็น การรั ก ษาสิ่ ง ที่ บรรพบุรุษสร้างมาให้คงอยู่สืบไป” อาจารย์ บุญสุ่มกล่าวทิ้งท้าย...

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 109


พิพิธภัณฑ์ไทยยอง บ้านหนองเงือก

อาจารย์บุญสุ่ม อินกองงาม

แม้บา้ นหนองเงือกจะร�ำ่ รวยทุนวัฒนธรรม ภูมป ิ ัญญา รวมไปถึงประวัตศ ิ าสตร์อน ั ยาวนาน กว่า 200 ปี ทว่า เมื่ อ ยุ ค สมั ย เปลี่ ย นผ่า น ก็ ส ่ง ผลให้ช าวหนองเงื อ กรุ ่น ใหม่ห ลงลื ม รากเหง้าตรงนี้ไป และเพื่ออนุรักษ์สิ่งดีๆ ที่ บรรพบุรษ ุ สร้างไว้ให้คงอยู่ต่อไป คณะกรรมการ โครงการวั ฒ นธรรมไทยสายใยชุ ม ชน บ้า น หนองเงือก ซึ่งมีอาจารย์บุญสุ่ม อินกองงาม เป็นประธาน และ อาจารย์สนั่น ศรีกอก เป็น รองประธาน จึงมีแนวคิดทีจ่ ะรวบรวมข้าวของ โบร�่ำโบราณ ซึ่งกระจายอยู่ตามบ้านต่างๆ ให้ มาอยู่ทเ่ี ดียวกัน เพือ ่ เป็นแหล่งเรียนรู้ถงึ วิถชี วี ต ิ ของชาวยอง ซึ่ ง ส่ว นมากเป็น ช่า งฝีมื อ ทั้ ง ช่างไม้ ช่างทอผ้า และมีเครื่องไม้เครื่องมือ ที่น่าสนใจและน่าศึกษา ที่ส�ำคัญหากไม่มีการ จัดการอย่างเร่งด่วน โอกาสที่เรื่องราวเหล่านี้

110 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

อาจารย์สนั่น ศรีกอก

จะสูญหายไปก็มีมาก นอกจากนี้ยังรวมไปถึง โบราณวั ต ถุ ซึ่ ง อยู ่ภ ายในวั ด หนองเงื อ กเอง ซึ่งควรมีการดูแลอย่างเป็นระบบ จนเป็นที่มา ของการจัดตัง้ พิพธิ ภัณฑ์ไทยยอง เมือ ่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2552 โดยมีพระครูโพธิโสภณ เจ้า คณะอ� ำ เภอป่า ซาง และเจ้า อาวาสวั ด หนองเงือกในเวลานั้นเป็นผู้อุปถัมภ์ “เราขอบริจาคของจากชาวบ้าน โดยท�ำ เป็นผ้าป่าของเก่า ของบางชิ้นสืบทอดมาจาก ต้นตระกูล เช่น ดาบ กริช เชี่ยนหมาก และ เครื่องใช้อื่นๆ นับพันชิ้น โดยตอนแรกเราฝาก ไว้ทวี่ ด ั ก่อน หลังจากนัน ้ เราได้งบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดล�ำพูน เพือ ่ ก่อสร้าง อาคารใต้ถุ น สู ง โดยสร้า งเสร็ จ เมื่ อ ปลายปี 2554 คณะท�ำงานเลยโยกย้ายข้าวของต่างๆ มาไว้ที่ นี่ แ ทน” อาจารย์บุ ญ สุ ่ม ฉายภาพ การก่อสร้างพิพิธภัณฑ์


ภายในตั ว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์จ ะมี ก ารจั ด แบ่ง โบราณวัตถุออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ด้วยกัน คือกลุ่มศาสนา ซึ่งส่วนมากเป็นคัมภีร์โบราณ ใบระกา หรือเครื่องถวายสักการบูชาพระธาตุ และพระแก้ว มรกต กลุ ่ม สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เชี่ยนหมาก กริช ดาบ คันไถ หม้อ คนโท แก้วน�ำ้ แม้แต่กล่องผงซักฟอก ยุคเก่าๆ ก็มีจัดแสดงที่นี่ และสุดท้าย คือกลุ่ม เครื่ อ งมื อ ท� ำ มาหากิ น โดยเฉพาะการผลิ ต ผ้าฝ้ายทอมือ ซึง่ นับเป็นภูมป ิ ัญญาอันโดดเด่น ที่ ติ ด กั บ ตั ว ชาวยองมานานและถ่า ยทอดมา จนถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้ยังมีรูปถ่ายเก่าๆ ซึ่ง แสดงเรื่ อ งราวต่า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ บ ้า น หนองเงือก ตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา “ตอนนีท ้ เี่ ราก�ำลังท�ำกันอยู่คอ ื รายละเอียด ของวัตถุแต่ละชิน ้ เพือ ่ ให้กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ ส มบู ร ณ์ เพราะต้อ งยอมรั บ ว่า ข้า วของ บางอย่างประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเก่าแก่

มาก คนทัว่ ไปเรียกชือ ่ ไม่ค่อยถูก แต่ถา้ คนอายุ ประมาณ 80-90 ปีขึ้ น ไปก็ จ ะรู ้จั ก กั น อยู ่” อาจารย์สนั่นเสริม ปัจจุบน ั พิพธิ ภัณฑ์ไทยยองเปิดให้เยีย ่ มชม ทุกวัน โดยผู้สนใจต้องติดต่อมาทีว่ ด ั หนองเงือก ก่อน เพือ ่ ให้ช่วยประสานงานมาทีค ่ ณะกรรมการ ด� ำ เนิ น งานพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ซึ่ ง จะคอยอ� ำ นวย ความสะดวกระหว่างการเยี่ยมชม เนื่องจาก พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์แ ห่ง นี้ ช าวบ้า นดู แ ลกั น เอง เป็น จิตอาสา นอกจากนี้ ยั ง มี ร ะเบี ย บปฏิ บั ติ ใ นการ เข้าชม เช่น ไม่น�ำหีบห่อและสิ่งใดๆ ที่อาจ บรรจุ ปกคลุ ม ปิด บั ง หรื อ ซ่อ นเร้น สิ่ ง ของ เข้าไปในบริเวณพิพิธภัณฑ์ ไม่จับต้อง หรือ หยิ บ ฉวยสิ่ ง ของที่ จั ด แสดงไว้ โดยเฉพาะ โบราณวั ต ถุ ที่ อ าจแตกช� ำ รุ ด เสี ย หายได้ง ่า ย ไม่สูบบุหรี่ในอาคารจัดแสดง ฯลฯ

สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน | 111


“พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ไ ทยยองจะแตกต่า งจาก พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์อื่ น ๆ เพราะเราเน้น เรื่ อ งวิ ถี ชี วิ ต ความเป็น มาของหมู ่บ ้า น ซึ่ ง เป็น คุ ณ ค่า ให้ คนในชุมชนรู้จักรากเหง้าของตัวเอง เวลานี้มี หลายๆ หมู่บ้านเข้ามาดูงานทีน ่ ี่ ความจริงแล้ว เรื่ อ งพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์เ ป็น สิ่ ง ที่ ค วรท� ำ ทุ ก หมู ่บ ้า น เพือ ่ จะได้ร้วู ่าต้นตระกูลของตัวเองเป็นอย่างไร มีวถ ิ ชี วี ต ิ อย่างไร เพราะหลายหมู่บ้านไม่ได้เก็บ ของพวกนี้ เริ่ ม สู ญ หายไปหมด ซึ่ ง นั บ ว่า น่าเสียดายเป็นอย่างมาก” ส�ำหรับแผนการจัดการพิพิธภัณฑ์ต่อไป วิ ท ยากรทั้ ง สองบอกว่า จะจั ด ระบบ ท� ำ 112 | สุขด้วยวิถี พอดีและยั่งยืน

ทะเบี ย นรายการโบราณวั ต ถุ ใ ห้เ ป็น ไปตาม หลั ก สากลยิ่ ง ขึ้ น จั ด แสดงป้า ยระบุ ชื่ อ และ แหล่ง ที่ ม าของของวั ต ถุ พร้อ มกั บ ประสาน รั บ ความช่ว ยเหลื อ และความร่ว มมื อ จาก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดล�ำพูน ใน เรื่องการจัดองค์ความรู้ เทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อพัฒนาให้พิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีชีวิต รวมทั้ง ท� ำ วิ จั ย เ ชิ ง พั ฒ น า เ กี่ ย ว กั บ โ บ ร า ณ วั ต ถุ โบราณสถาน การถอดองค์ความรู้ การปริวรรต ภาษาคั ม ภี ร ์อั ก ษรล้า นนา เพื่ อ ส่ง เสริ ม การ เรียนรู้ของคนในชุมชนต่อไป...


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.